fall biomass assessment in mea hong son province by using modis data

17
การประเมินมวลชีวภาพที่ร่วงหล่นในจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยใช้ข้อมูล MODIS Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province by Using MODIS Data คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ประชุมทางวิชาการ “สารสนเทศภูมิศาสตร์นเรศวร” ครั้งที่ 1 วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553 ชิงชัย หุมห้อง ผศ.ดร.ชนินทร์ อัมพรสถิร และ รศ.ดร.ชฎา ณรงค์ฤทธิ

Upload: chingchai-humhong

Post on 11-Feb-2017

139 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

การประเมินมวลชีวภาพที่ร่วงหล่นในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

โดยใช้ข้อมูล MODIS

Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province

by Using MODIS Data

คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

ประชุมทางวิชาการ “สารสนเทศภูมิศาสตร์นเรศวร” ครั้งที่ 1 วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553

ชิงชัย หุมห้อง ผศ.ดร.ชนินทร์ อัมพรสถิร และ รศ.ดร.ชฎา ณรงค์ฤทธิ์

Page 2: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

ที่มาและความส าคัญไฟป่า นับเป็นมหันตภัยร้ายแรงที่สร้างความสูญเสียให้แก่ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพย์สิน

ของประชาชนเป็นจ านวนมาก รวมไปถึงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ป่า ซึ่งไฟป่ามักจะเกิดขึ้น

ในช่วงระหว่างเดือนธันวาคม-เมษายนของแต่ละปี

ไฟป่าเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากขบวนการทางเคมี เมื่อมีองค์ประกอบทั้ง 3 ประการมารวมตัวกัน

ในสัดส่วนที่เหมาะสมและเกิดการสันดาปให้เกิดไฟขึ้น คือ

1. เชื้อเพลิง

2. ความร้อน

3. ออกซิเจน

Page 3: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

วัตถุประสงค์

- ประเมินปริมาณมวลชีวภาพที่ร่วงหล่นทุก ๆ ช่วง 10 วัน

ในฤดูเกิดไฟป่าในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

http://news.nipa.co.th/news.action?newsid=207620 http://locals.in.th/index.php?topic=4515.0

Page 4: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

พื้นที่ศึกษาการศึกษาครั้งนี้ได้เลือกพื้นที่ป่าไม้

ของจังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นพื้นที่ศึกษา

จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีพื้นท่ีป่าไม้

ประมาณ 7,076,217 ไร่ คิดเป็นร้อย

ละ 89 ของพื้นที่ท้ังหมด

ประกอบด้วย ป่าเบญจพรรณ ป่า

เต็งรัง ป่าดิบเขา ป่าสนเขา และป่า

เสื่อมโทรม

Page 5: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

●ข้อมูลภาพจากดาวเทียม Terra/MODIS และ Aqua/MODIS

●โปรแกรมทางด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์

Page 6: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

น าค่า NDVI มาค านวณในรูปดัชนีพ้ืนที่ใบ (Leave Area

Index, LAI) แล้วเปรียบเทียบกับค่าดัชนีพื้นที่เรือนยอด

(Plant Area Index) ของป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณที่มี

การศึกษาในภาคสนามโดย ดุริยะ และคณะ (2547) พบว่า

การเปลี่ยนแปลงของค่า LAI ที่ค านวณจากข้อมูลภาพ MODIS

และ ค่าดัชนีพ้ืนที่เรือนยอดของป่าเบญจพรรณตั้งแต่ เดือน

พฤศจิกายนถึงเมษายน มีรูปแบบ (pattern) เหมือนกัน

กล่าวคือ ค่า LAI และค่าดัชนีพ้ืนที่เรือนยอดเริ่มลดลงตั้งแต่

เดือนธันวาคมและลดลงสูงสุดในเดือนเมษายน ซึ่งชี้ให้เห็นว่า

ในช่วงเวลาดังกล่าวพืชพรรณเกิดการทิ้งใบ ในการศึกษานี้ จึง

ใช้ข้อมูลภาพในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายนเป็นตัวแทน

ในการศึกษาดัชนีพื้นที่เรือนยอดและการร่วงหล่นของใบไม้ที่

เป็นชั้นเรือนยอด

ดัชนีพ้ืนที่ใบ (Leave Area Index, LAI)

ค านวณในรูปดัชนีพื้นที่ใบ (Leave Area Index, LAI) ด้วยสมการด้านล่าง

Page 7: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

วิธีการศึกษาในการศึกษา ปริมาณมวลชีวภาพเชิงพื้นที่ถูกวิเคราะห์จากข้อมูลภาพเชิงเลขในช่วงคลื่นของแบนด์

1 และ แบนด์ 2 ที่ส ารวจจากดาวเทียม Terra และ Aqua แต่เนื่องจากการปรากฏเมฆใน

ข้อมูลภาพเป็นอุปสรรคในการน าข้อมูลภาพทั้ง 2 แบนด์มาใช้ในการค านวณเพื่อสร้างชั้นข้อมูล

ปริมาณเชื้อเพลิงเชิงพื้นที่ ดังนั้น จึงท าการสร้างข้อมูลปริมาณมวลชีวภาพจากภาพเชิงเลขโดย

อาศัยหลักการ Maximum Value Composite (MVC) โดยในการศึกษานี้ แบ่งการค านวณ

ปริมาณมวลชีวภาพของแต่ละเดือนออกเป็น 3 ช่วง คือ 1-10, 11-20, 21-วันสิ้นเดือน โดยมี

รายละเอียดของขั้นตอนการศึกษา ดังนี้

Page 8: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

วิธีการศึกษา

1. ให้ค่าพิกัดภูมิศาสตร์แก่ข้อมูลภาพ โดยการน าข้อมูลภาพเชิงเลขในช่วงคลื่น

ของแบนด์ 1 และ แบนด์ 2 ที่ส ารวจจากดาวเทียม Terra และ Aqua มา

ปรับแก้เชิงเรขาคณิต (Geometric Correction)

2. ค านวณค่าดัชนีพืชพรรณในรูปค่า Normalized Different Vegetation Index

(NDVI) ด้วยสมการ ดังนี้

Page 9: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

วิธีการศึกษา

3. สร้างข้อมูลภาพแบบ 10 Day NDVI MVC โดยการน าข้อมูลภาพของค่า

NDVI ที่ค านวณได้มา คัดหาค่า NDVI สูงสุดภายใน 10 วันของชุดข้อมูลภาพ

เพื่อแสดงค่า NDVI ในแต่ละวันที่น ามาท า MVC

Page 10: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

วิธีการศึกษา4. ค านวณปริมาณมวลชีวภาพในหน่วย Kg/ha จากค่า NDVI ในข้อมูลภาพ Maximum

NDVI Composite สมการส าหรับค านวณปริมาณชีวภาพแสดงดังสมการด้านล่าง

LOG (BM) = 3.1909 NDVI + 2.9687 (R2 =

0.9)

Page 11: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

5. ค านวณปริมาณมวลชีวภาพที่ร่วงหล่นสะสมบนดิน โดยคิดในรูปปริมาณมวลชีวภาพที่ร่วง

หล่นสัมพัทธ์ (Relative Fall Biomass) ซึ่งค านวณจากผลต่างของปริมาณมวลชีวภาพในต้น

ฤดูไฟป่า (Mdec ซึ่งค านวณจากข้อมูล 10-Day MVC ในช่วง 21-31 ธันวาคม) กับปริมาณ

มวลชีวภาพในช่วงเวลาต่าง ๆ ในฤดูไฟป่า (BMt ซึ่งค านวณจากข้อมูล 10-Day MVC ในช่วง

ทุก ๆ 10 วันของเดือนมกราคม ถึงเมษายน) ดังสูตรด้านล่าง

วิธีการศึกษา

Fall BM = ปริมาณมวลชีวภาพที่ร่วงหล่นสะสมบนดิน

Page 12: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

ค่า 10-Day Maximum NDVI Composite ในบางช่วงของ

เดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน แม้มีค่ามากกว่า 0 แต่มีค่าต่ า

กว่าสัปดาห์ข้างเคียงค่อนข้างมาก ซึ่งเมื่อดูจากข้อมูลภาพในช่วง

ดังกล่าวนี้จะพบว่ายังคงมีลักษณะการกระจายของจุดภาพที่เป็น

เมฆปรากฏบนข้อมูลภาพ จึงแสดงให้เห็นว่าข้อมูล 10-Day

Maximum NDVI Composite ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึง

พฤศจิกายน นั้นไม่สามารถน ามาใช้ในการค านวณปริมาณมวล

ชีวภาพได้

หากพิจารณาเฉพาะช่วงเดือนมกราคมจนถึงเมษายนซึ่งถือเป็น

ช่วงร่วงหล่นของมวลชีวภาพในฤดูไฟป่า พบว่า ปริมาณ NDVI

ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงต้นปีไปจนถึงปลายเดือนเมษายน

ซึ่งแสดงให้เห็นว่า พืชพรรณที่ขึ้นปกคลุมพื้นที่ของจังหวัด

แม่ฮ่องสอนมีการทิ้งใบร่วงหล่นเป็นมวลชีวภาพสะสมบนพื้นดิน

ในการศึกษานี้ จึงใช้ข้อมูลภาพในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือน

เมษายนเป็นตัวแทนในการศึกษาดัชนีพื้นที่เรือนยอดและการ

ร่วงหล่นของใบไม้ที่เป็นชั้นเรือนยอด

10-Day Maximum NDVI Composite ของสิ่งปกคลุม/การใช้ที่ดิน

ผลการศึกษา

Page 13: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

ผลการศึกษา

ปริมาณมวลชีวภาพท่ีร่วงหล่นสะสมเป็นเชื้อเพลิงในทุก ๆ 10 วัน ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน พบว่า

สิ่งปกคลุมดิน/การใช้ท่ีดินทุกประเภทในช่วงเริ่มต้นปี (1-10 มกราคม) มีปริมาณมวลชีวภาพท่ีร่วงหล่น

ใกล้เคียงกัน คือประมาณ 926 กิโลกรัมต่อเฮกตาร์ สิ่งปกคลุมดิน/การใช้ท่ีดินทุกประเภทเร่ิมมีปริมาณมวล

ชีวภาพร่วงหล่นเพิ่มขึ้นและมีปริมาณแตกต่างกันเมื่อเร่ิมเข้าสู่เดือนกุมภาพันธ์ และมีปริมาณมวลชีวภาพร่วง

หล่นสูงสุดในเดือนมีนาคม โดยป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรังมีปริมาณมวลชีวภาพท่ีร่วงหล่นมากกว่าป่าอื่น ๆ

รวมทั้งมากกว่าพื้นที่เกษตร

Page 14: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

ปริมาณมวลชีวภาพที่

ร่วงหล่นสะสมเปน็

เช้ือเพลิง ปี 2551

ปริมาณมวลชีวภาพทีร่่วงหลน่

สะสมเป็นเช้ือเพลิง ปี 2550

Page 15: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

ปริมาณมวลชีวภาพที่ร่วงหล่นสะสมเป็นเชื้อเพลิง

เฉลี่ย 2 ปีในปี 2550 และ 2551

Page 16: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

สรุปและอภิปรายผล

1. ค่า LAI ที่ค านวณจากข้อมูลภาพ MODIS เมื่อเทียบกับค่าดัชนีพื้นที่เรือนยอดของป่าเบญจ

พรรณและป่าดิบแล้งจากภาคสนาม ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน ซึ่งมีรูปแบบที่

เหมือนกัน

2. จากการศึกษาพบว่า ป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง มีปริมาณมวลชีวภาพที่ร่วงหล่นมากกว่า

ป่าอื่น ๆ รวมทั้งมากกว่าพื้นที่เกษตร

3. ป่าทุกประเภท มีปริมาณมวลชีวภาพร่วงหล่นมาก ในช่วงเดือนมีนาคม

Page 17: Fall Biomass Assessment in Mea Hong Son Province  by Using MODIS Data

ขอบคุณครับ