faq xx rcep 12 apr 2013 - bank of thailand...ออสเตรเลีย...

9

Upload: others

Post on 03-Feb-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ
Page 2: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ

FOCUSED AND QUICK (FAQ) Issue 81

RCEP: การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ท่ีแนนแฟนขึ้นในภูมิภาค?

หฤษฎ รอดประเสริฐ และ ธนิดา ลอเสรีวานิช

June 6, 2013

ฝายวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทย หฤษฎ รอดประเสริฐ และธนิดา ลอเสรีวานิช 1

การท่ีประเทศสมาชิกจะเก็บเกี่ยว โอกาสจากการจัดทําความตกลง

RCEP ไดอยางแทจริงนั้น RCEP จะตองปรับปรุงหรือตอยอดจาก FTA ท่ีมีอยูเดิมไดจริง ซึ่งจะตองอาศัย

ความรวมมือของประเทศสมาชิก

บทคัดยอ

RCEP (Regional Comprehensive Economic Partnership) เปนความตกลงซึ่งจะเจรจาจัดทําระหวางอาเซียนกับกลุมประเทศผูทรงอิทธิพลทางเศรษฐกิจของเอเชีย (จีน ญ่ีปุน เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด) ซึ่งมีแนวโนมท่ีจะเปนหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและเศรษฐกิจโลกในอนาคต ท้ังน้ี RCEP ไมใช FTA ฉบับแรกท่ีประเทศเหลาน้ีจัดทําระหวางกัน เน่ืองจากอาเซียนไดจัดทํา FTA แยกฉบับกับประเทศคูเจรจาท้ัง 6 ประเทศแลว จึงมีคําถามวา การจัดทํา ความตกลง RCEP จะซ้ําซอนกับความตกลงแยกฉบับเหลาน้ีหรือไม

บทความน้ีจึงมีวัตถุประสงคเพ่ือชี้ถึงความไมสมบูรณของ FTA แยกฉบับระหวางอาเซียนและประเทศคูเจรจาในขางตน ซึ่งอาจจะเปนสิ่งท่ี RCEP สามารถปรับปรุงหรือตอยอดไดท้ังในดานสินคา ดานบริการ และดานการลงทุนท่ีมีความไมสมบูรณ ซึ่งถาหากทําสําเร็จยอมจะเกิดประโยชนตอประเทศสมาชิกรวมท้ังไทยดวย

* Source: [RCEP] n.d. [image online] Available at: < http://cdn.arstechnica.net/wp-content/uploads/2012/09/cooperation-

international2.jpg> [accessed 29 Mar 2012]

*

Page 3: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ

FAQ ISSUE 81 RCEP: การรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีแนนแฟนขึ้นในภมิูภาค? June 6, 2013

ฝายวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทย หฤษฎ รอดประเสริฐ และธนิดา ลอเสรีวานิช 2

รูปที่ 1 ประเทศสมาชิก RCEP

ขอมูลจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ

กรอบที่ 1 จุดมุงหมาย/แรงจูงใจของการจัดทําความตกลง RCEP

การจัดทําความตกลง RCEP นั้นมีจุดมุงหมายหรือแรงจูงใจดังนี้

ความมุงมั่นของอาเซียนที่จะบูรณาการเขากับเศรษฐกิจภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก โดยพยายามใหอาเซียนเปนศูนยกลางในการจัดทําความตกลง

การที่อาเซียนพยายามพัฒนาตอยอดจาก FTAs ระหวางอาเซียนกับประเทศคูสัญญาที่มีอยูแลวในปจจุบัน

บางประเทศ เชน จีน อาจมองวาความตกลง RCEP จะชวยถวงดุลกับ TPP ซ่ึงเปนเวทีที่สหรัฐฯ พยายามผลักดันเพ่ือขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจในภูมิภาค

บทนํา

ขณะน้ี การจัดทําความตกลง Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP) กําลังไดรับความสนใจจากหลายฝาย เน่ืองจากจะเปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางอาเซียนกับประเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจของเอเชีย ซึ่งมีแนวโนมจะเปนกลุมเศรษฐกิจที่ใหญที่สุดกลุมหน่ึงของโลก (กรอบที่ 1) และถือวาเปนการคานอํานาจความตกลง Trans-Pacific Partnership Agreement (TPP) ที่นําโดยสหรัฐอเมริกาไดอีกดวย

RCEP มีประเทศสมาชิกรวม 16 ประเทศ คือ ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ จีน ญี่ปุน เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด1 (รูปที่ 1) อยางไรก็ตาม RCEP ไมใช FTA2 ฉบับแรกที่ประเทศเหลาน้ีจัดทําระหวางกัน แต RCEP เกิดข้ึนในขณะที่อาเซียนไดจัดทํา FTA แยกฉบับ (ASEAN+1 FTA) กับประเทศจีน เกาหลี ออสเตรเลียและนิวซีแลนด

1 สถานะลาสุดของ RCEP – ในการประชุม ASEAN Summit ครั้งที่ 21 ในเดือนพฤศจิกายน 2012 ผูนําของประเทศสมาชิก RCEP ไดประกาศเปดการเจรจาจัดทําความตกลง RCEP โดยคาดวาจะเริ่มเจรจาในครึ่งหลังของป 2013 และมีเปาหมายเจรจาใหเสร็จภายในป 2015

2 Free Trade Agreement (FTA) คือ สัญญาระหวางประเทศ ซ่ึงประเทศคูเจรจาตกลงกันวาจะปรับลดกฎระเบียบและพิธีปฏิบัติที่เปนอุปสรรคตอการคาสินคา การบริการ และการลงทุนระหวางประเทศ

และอยูระหวางการจัดทํากับญี่ปุนและอินเดีย จึงมีคําถามวา การจัดทําความตกลง RCEP จะซ้ําซอนกับความตกลงแยกฉบับ ASEAN+1 FTA เหลาน้ีหรือไม

เน่ืองดวยถาหากมีการจัดทําความตกลงฉบับใหมที่ซ้ําซอนกับความตกลงฉบับเดิมหรือฉบับอื่นที่จะเกิดข้ึนอยูแลวระหวางกลุมประเทศภาคีเดียวกัน อาจจะไมเกิดประโยชนเทาใดนัก แตถาหาก RCEP สามารถปรับปรุ งหรือตอยอดจากความตกลง ASEAN+1 FTA ไดจริง ก็จะเกิดประโยชนตอประเทศสมาชิกรวมทั้งไทย

บทความน้ีจึงมีวัตถุประสงคหลักเพื่อช้ีถึงความไมสมบูรณของ ASEAN+1 FTA ซึ่งอาจจะเปนสิ่งที่ RCEP สามารถปรับปรุงหรือตอยอดเพื่อใหเกิดประโยชนตอไทยและอาเซียนย่ิงข้ึน ตลอดจนช้ีถึงประเด็นทาทายและสิ่งที่ควรคํานึงเกี่ยวกับการจัดทําความตกลง RCEP

1. สิ่งท่ี RCEP อาจจะปรับปรุงจาก ASEAN+1 FTA เพ่ือใหเกิดประโยชนตอไทยยิ่งขึ้น

สําหรับการจัดทําความตกลง FTA โดยทั่วไป มักประกอบไปดวย 3 ดานหลัก คือ การคาสินคา การค าบริ ก าร และการลงทุน ทั้ ง น้ี ภายใต ASEAN+1 FTA ในสวนการคาสินคา ไดมีการบังคับใชแลวทุกฉบับ แตดานการคาบริการและการลงทุนหลายฉบับยังอยูในระหวางการเจรจา (ตารางที่ 1)

Page 4: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ

FAQ ISSUE 81 RCEP: การรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีแนนแฟนขึ้นในภมิูภาค? June 6, 2013

ฝายวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทย หฤษฎ รอดประเสริฐ และธนิดา ลอเสรีวานิช 3

รูปที่ 2 กราฟแสดงสัดสวนรายการสินคาที่จะลดภาษี และระยะเวลาที่ใชในการลดภาษีในแตละ ASEAN+1 FTA (%= รอยละของจํานวนรายการสินคาที่จะลดภาษีเหลือ

รอยละ 0 จากรายการสินคาทั้งหมด)

ขอมูลจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ

ตารางที่ 1 สถานการณเปดเสรีในปจจุบันของ ASEAN+1 FTA

ขอมูลจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ

เชน ASEAN-Japan FTA ที่ยังอยูในระหวางการเจรจาดานการคาบริการและการลงทุน

เน่ืองดวยอาเซียนทํา ASEAN+1 FTA แยกฉบับกับประเทศจีน เกาหลี ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด ญี่ปุน และอินเดียแลว ดังน้ัน การที่ RCEP จะเกิดประโยชนได จําเปนตองปรับปรุงหรือตอยอดจาก ASEAN+1 FTA เดิม ทั้งน้ี เมื่อพิจารณา ASEAN+1 FTA แลว พบวา ยังมีความไมสมบูรณ ซึ่งอาจจะเปนสิ่งที่ RCEP สามารถตอเติม เพื่อใหเกิดประโยชนตอไทยย่ิงข้ึน ทั้งในดานการคาสินคา บริการ และการลงทุนได ดังน้ี

1.1 การคาสินคา

หาก RCEP สามารถผลักดันใหมีการลดภาษีสินคาใหเร็วขึ้นและครอบคลุมจํานวนรายการมากขึ้น โดยเจรจาใหมีการเปดตลาดสินคาสงออกท่ีมีศักยภาพของไทย ซึ่งยังถูกกีดกันจากประเทศคูเจรจาอยู ก็จะเปนประโยชนยิ่งขึ้น

การเปดตลาดการคาสินคามักจะครอบคลุมถึงการปรับลดมาตรการที่เปนอุปสรรคตอการคาสินคาระหวางประเทศภาคี โดยเฉพาะภาษีศุลกากร และมาตรการกีดกันการคาที่ไมใชภาษี เชน การจํากัดปริมาณการนําเขาสินคาในรูปของโควตา ทั้งน้ี ขอกําหนดเรื่องการปรับลดภาษีศุลกากรจะรวมถึงการกําหนดสัดสวนของรายการสินคาที่จะมีการลด

ภาษี และระยะเวลากอนที่จะมีการลดภาษีตามเปาหมายจริง (รูปที่ 2)

สําหรับสถานะและขอจํากัดของความตกลงดานการคาสินคาภายใต ASEAN+1 FTA สรุปไดดังน้ี

ความครอบคลุมของสินคาและระยะเวลาในการลดภาษี: แมวาการเปดเสรีดานสินคาภายใต ASEAN+1 FTA น้ันไดบังคับใชแลวทุกฉบับ แตการลดภาษียังไมครอบคลุมทุกรายการสินคา และใชระยะเวลานานในการลดภาษี เชน ภายใต ASEAN-Australia-New Zealand FTA น้ันแมวาจะลดภาษีแลวประมาณรอยละ 90 ของรายการสินคา แตระยะเวลาที่ใชในการลดภาษีน้ันยาวนานถึงป 2020 และภายใต ASEAN-Japan FTA ขณะน้ีการลดภาษีสิ นค าออกขอ ง ไทยให เ ห ลื อร อยล ะ ศูนย น้ั น ครอบคลุมเพียงรอยละ 31 ของรายการสินคา

Page 5: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ

FAQ ISSUE 81 RCEP: การรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีแนนแฟนขึ้นในภมิูภาค? June 6, 2013

ฝายวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทย หฤษฎ รอดประเสริฐ และธนิดา ลอเสรีวานิช 4

ทั้งหมด โดยจะใชเวลาถึง 6 ป ถึงจะครอบคลุม รอยละ 80 ของรายการสินคาทั้งหมด

สินคาศักยภาพ3: ขาวเปนสินคาสําคัญท่ีไทยมีศักยภาพ แตมักถูกจัดอยูในกลุมสินคาท่ีไมลดภาษี หรือลดภาษีลาชา เชน ใน ASEAN-China FTA แมวาจะมีการเปดเสรีต้ังแตป 2004 แตขาวถูกกําหนดใหลดภาษีเหลือรอยละ 0-5 ในป 2018 สําหรับ ASEAN-Korea FTA ขาวถูกจัดเปนสินคาออนไหว ซึ่งจะไมลดภาษี สวน ASEAN-Japan FTA น้ันยังไมมีการเปดตลาดสินคาขาว และใน ASEAN-India FTA น้ัน ขาวเปนสินคาที่จะไมลดภาษีของทั้งฝายไทยและอินเดีย โดยอินเดียกําหนดภาษีสูงถึงรอยละ 30-150 ขณะที่ไทยกําหนดเพียงรอยละ 40-60 เทาน้ัน

สินคาเกษตรอ่ืนๆ ท่ีไทยมีศักยภาพ 4: นํ้าตาล มันสําปะหลัง ไก อาหารทะเลกระปอง และผลไม เมืองรอน เปนสินคาเกษตรท่ีไทยมีศักยภาพ แต ยั ง คง ไ ม ไ ด รั บปร ะ โ ยชน จ า ก ASEAN+1 FTA อยางเต็มท่ี เชน ใน ASEAN-Japan FTA ยังไมมีการเปดตลาดใหมันสําปะหลังและไก สวนอาหารทะเลกระปองและแปรรูปน้ัน จะลดภาษีในป 2016 ใน ASEAN-Korea FTA สินคาไก ทูนากระปอง และผลไม เมืองรอนถูกจัดอยู ในรายการสินคาออนไหว ซึ่งจะถูกลดภาษีในป 2016 นอกจากน้ี ภายใต ASEAN-China FTA จะลดภาษีนํ้าตาลเหลือรอยละ 0-5 ภายในป 2018 แมวาจะมีการเปดเสรีสินคามาต้ังแตป 2004

สินคาอุตสาหกรรม5: ภายใต ASEAN+1 FTA น้ัน แมวาสินคาอุตสาหกรรมบางรายการไดลดภาษีแลว แตมีบางรายการท่ีไทยนาจะไดประโยชนเพ่ิมขึ้น หากสามารถลดภาษีไดมากขึ้น เชน แมวามีบางรายการในหมวดสินคาสิ่งทอซึ่งออสเตรเลียไดลดภาษีเปนศูนยแลวภายใต ASEAN-

3 ขอมูลจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ และสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 4 ขอมูลจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ และสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 5 ขอมูลจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ

Australia-New Zealand FTA แตบางรายการก็อาจจะยังไมลดภาษีเปนศูนยจนกระทั่งป 2020 นอกจากน้ี สินคาเครื่องปรับอากาศ เม็ดพลาสติกและผลิตภัณฑพลาสติก จะยังไมลดภาษีเหลือรอยละ 5 และ 0 ตามลําดับจนกระทั่งป 2016 ภายใต ASEAN-India FTA 1.2 การคาบริการ

ในความเปนจริง ASEAN+1 FTA ยังไมคอยไดเปดตลาดบริการเพ่ิมจาก WTO เทาใดนัก

การเปดตลาดการคาบริการ มักจะครอบคลุม ถึงการปรับลดมาตรการที่ เปนอุปสรรคตอการใหบริการระหวางประเทศภาคี เชน ขอกําหนดเรื่องสัดสวนการถือหุนของตางชาติในธุรกิจบริการ ขอกําหนดเรื่องการเขามาใหบริการโดยบุคคลธรรมดาที่เปนชาวตางชาติ ทั้งน้ี เน่ืองจากบริการเปนสิ่งที่จับตองไมได (กรอบที่ 3) และบริการแตละประเภทก็มีลักษณะเฉพาะของตน ทําใหการเปรียบเทียบหรือประมวลภาพรวมของบริการประเภทตางๆ ทําไดยากกวาในกรณีของสินคา

กรอบที่ 3 การใหบริการระหวางประเทศ

รูปแบบของการใหบริการระหวางประเทศมี 4 รูปแบบ

1. การใหบริการขามพรมแดน (Cross-Border Supply) คือ การใหบริการระหวางประเทศ โดยที่ผูใหบริการและผูใชบริการไมตองเดินทางมาพบกัน เชน แพทยใหคําปรึกษาผานระบบ Online

2. การไปใชบริการในตางประเทศ (Consumption Abroad) คือ การที่ผูใชบริการเดินทางไปรับการบริการในประเทศของผูใหบริการ เชน การเดินทางไปตางประเทศเพ่ือรับการรักษาโรค

3. การเขามาจัดตั้งธุรกิจเพ่ือใหบริการ (Commercial Presence) คือ การที่ผูใหบริการเขามาใหบริการในประเทศของผูใชบริการ โดยการจัดตั้งสถานประกอบการ เชน ตางชาติเขามาจัดตั้งโรงพยาบาลเพ่ือใหบริการทางการแพทย

4. การเขามาใหบริการโดยบุคคลธรรมดา (Presence of Natural Persons) คือ การที่ผูใหบริการซึ่งเปนบุคคลธรรมดาเขามาใหบริการในประเทศของผูใชบริการ เชน พยาบาลตางชาติเขามาใหบริการในโรงพยาบาลในประเทศของคนไข

Page 6: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ

FAQ ISSUE 81 RCEP: การรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีแนนแฟนขึ้นในภมิูภาค? June 6, 2013

ฝายวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทย หฤษฎ รอดประเสริฐ และธนิดา ลอเสรีวานิช 5

ตารางที่ 2 สาขาบริการที่มีเปดและไมเปดตลาด ภายใต ASEAN+1 FTA

ขอมูลจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ

นอกจากน้ี ประเทศสมาชิก RCEP ตางก็เปนสมาชิก WTO จึงไดเขารวมจัดทําความตกลงดานการคาบริการภายใต WTO แลว ดวยเหตุน้ี การเปดตลาดบริการภายใต ASEAN+1 FTA ควรจะเปดตลาดไมนอยกวาใน WTO (ยกเวนในกรณีของสาขาบริการที่ไมผูกพันการเปดตลาดภายใต ASEAN+1 FTA)

อยางไรก็ตาม ปจจุบันมีการเปดตลาดบริการภายใต ASEAN+1 FTA ในหลายสาขาแลว แตยังมีบริการบางสาขาแทบจะไมผูกพันการเปดตลาดเลย (ตารางที่ 2) เชน ภายใต ASEAN-China FTA น้ัน แมวาจะเปดเสรีดานการคาบริการแลว แตยังมีหลายสาขาที่ไมผูกพันการเปดเสรี หรือเปดเสรีใหเทากับที่ผูกพันไวใน WTO เทาน้ัน

ทั้ง น้ี สามารถสรุปสถานะการเปดตลาดบริการภายใต ASEAN+1 ได ดังน้ี

ในกรณีของไทย ธุรกิจบริการของไทยสวนใหญจะอยูในสถานะเตรียมต้ังรับการแขงขันจากตางชาติ มากกวาที่จะแสดงความจํานงใหตางชาติเปดตลาดใหตนเขาไปแขงขันในตางประเทศ ทําให

ยังไมคอยมีสัญญาณของความพรอมที่จะแขงขันเชิงรุกในตลาดตางประเทศ

สาขาบริการบางประเภท เชน บริการทางการเงิน โดยเฉพาะอยางย่ิงดานการธนาคาร ยังเปนสาขาบริการที่ออนไหวสําหรับประเทศสมาชิก RCEP หลายประเทศ รวมทั้งไทย โดยที่ ภายใต ASEAN+1 FTA ไทยยังไมไดเปดตลาดบริการดานการธนาคาร เกินกวาที่ผูกพันไวภายใต

WTO6 ทั้งน้ี ไมวาจะมีการเปดตลาดบริการทาง

การเงินภายใต RCEP เพียงใด จําเปนตองมีชองทางในการดูแลระบบสถาบันการเงินใหมีเสถียรภาพและมั่นคง เพื่อใหระบบสถาบันการเงินสามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจ การคา และการลงทุน ไดอยางย่ังยืนในระยะยาว

ธุรกิจบริการบางประเภทท่ีไทยมีศักยภาพ ยังไมมีการเปดตลาดใน ASEAN+1 FTA เทาใดนัก โดยเฉพาะอยางย่ิง ธุรกิจบริการ สปาและรานอาหารไทย โดยในธุรกิจดังกลาว ยังไมเปดให นักธุรกิจและพอครัวไทยเขาไปใหบริการในจีนภายใต ASEAN-China FTA หรือในเกาหลีภายใต ASEAN-Korea FTA หรือในออสเตรเลียและนิวซีแลนดภายใต ASEAN-AUS/NZ FTA แตอยางใด ดังน้ัน ถาหาก RCEP สามารถผลักดันใหประเทศคูเจรจาของอาเซียนเปดตลาดบริการในธุรกิจเหลาน้ีซึ่งไทยมีศักยภาพสูงก็จะเปนประโยชนย่ิงข้ึน

6 ภายใต ASEAN-Australia/New Zealand FTA และ ASEAN-Korea FTA นั้น ไทยผูกพันการเปดตลาดบริการดานการธนาคาร เทากับท่ีผูกพันภายใต WTO กลาวคือ ใน Mode 1 และ Mode 2 ไทยเปดตลาดเฉพาะบริการใหคําปรึกษาทางการเงินและบริการประมวลผลขอมูลทางการเงิน ในขณะท่ี ใน Mode 3 และ Mode 4 ไทยระบุขอกําหนดและเงื่อนไขใหตางชาติ เข ามาทํา ธุรกิจผ านสถานประกอบการ และใหชาวตางชาติท่ีเปนบุคคลธรรมดาเดินทางเขามาใหบริการในไทย โดยแยกตามลักษณะของกิจการ เชน Representative Office และ Foreign Bank Branch เปนตน สวน ASEAN+1 FTA ฉบับอื่นๆ ยังไมมีการผูกพันเปดตลาดบริการดานนี้

Page 7: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ

FAQ ISSUE 81 RCEP: การรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีแนนแฟนขึ้นในภมิูภาค? June 6, 2013

ฝายวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทย หฤษฎ รอดประเสริฐ และธนิดา ลอเสรีวานิช 6

ตารางที่ 3 การเปดตลาดการลงทุนภายใต ASEAN+1 FTA

ขอมูลจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ

1.3 การลงทุน

โดยสรุป ความตกลงดานการลงทุนของ ASEAN+1 FTA สวนใหญจะเนนดานการคุมครองการลงทุน สวนการเปดเสรีดานการลงทุนน้ัน ยังไมมีการจัดทําขอผูกพันการเปดเสรีดานการลงทุนแตอยางใด ดังน้ัน RCEP จะเกิดประโยชนก็ตอเมื่อสามารถผลักดันใหมีการเปดเสรีการลงทุนตอยอดจาก ASEAN+1 FTA

การจัดทําความตกลงดานการลงทุน มักจะครอบคลุมถึง (1) การคุมครองการลงทุน และ (2) การเปดเสรีการลงทุน โดยการคุมครองการลงทุน คือ การที่ประเทศเจาบานคุมครองสิทธิของนักลงทุนตางชาติในมิติสําคัญ เชน การโอนเงิน การไดรับการปฏิบัติที่เปนธรรม การไดรับคาชดเชยจากการถูกเวนคืนทรัพย สินหรื อจากความ เสียหายอื่นๆ ในขณะที่การเปดเสรีการลงทุน คือ การที่ประเทศเจาบานมีขอผูกพันที่จะปรับลดกฎระเบียบที่เปนอุปสรรคตอการจัดต้ังกิจการลงทุนของตางชาติ

สวนใหญ ASEAN+1 FTA จะมีบทบัญญัติคุมครองการลงทุนเรียบรอยแลว (ตารางที่ 3) ยกเวน ASEAN-Japan FTA และ ASEAN-India FTA ซึ่งยังอยูระหวางการเจรจาจัดทําความตกลงดานการลงทุน โดยสามารถสรุปประเด็นสําคัญดานการลงทุนภายใต ASEAN+1 ได ดังน้ี

ในเรื่องการเปดเสรีการลงทุน ยังไมมี ASEAN+1 FTA ฉบับใดที่ไดมีการจัดทําตารางขอผูกพันการเปดเสรีการลงทุน มีเพียงกําหนดวาจะจัดทําตารางขอผูกพันฯ หลังจากที่ความตกลงมีผลบังคับใชแลวตามจํานวนปที่กําหนด นอกจากน้ี ความตกลง ASEAN-China FTA ก็จะไมครอบคลุมถึงการเปดเสรีการลงทุนแตอยางใด ดังน้ัน จึงกลาวไดวา ASEAN+1 FTA มีความไมสมบูรณในแงท่ียังไมมีการเปดเสรีการลงทุนเลย จึง เปนโอกาสสําหรับ RCEP ที่จะพิจารณาจัดทําขอผูกพันการเปดเสรีการลงทุน เพื่อชวยลดกฎระเบียบที่เปนอุปสรรคตอการจัดต้ังกิจการลงทุนในภูมิภาค

แมวาไดมกีารคุมครองสิทธิของนักลงทุนในการเคลื่อนยายเงินทุน และมีแนวโนมที่จะเปดเสรีการลงทุนภายใตความตกลงในภูมิภาคมากข้ึน แตภาครัฐก็ยังจําเปนตองมีชองทางดานการดูแลเงินทุนเคลื่อนยาย ซึ่งความตกลงดานการลงทุนภายใต ASEAN+1 FTA ฉบับที่มีผลบังคับใชแลว ก็ไดมีชองทางการกํากับดูแลดังกลาวในระดับที่ยอมรับกันในภูมิภาค

2. ความทาทาย

การจัดทํา RCEP อาจจะเผชิญความทาทายหลายประการ ดังน้ี

ประการแรก แมประเทศสมาชิก RCEP ไดแสดงเจตนารมณจะให RCEP ตอยอดจาก ASEAN+1 FTA แตยังตองจับตาดูวาระดับการเปดตลาดที่จะใหระหวางกันในกลุมใหญภายใต RCEP จะลึกข้ึนกวาที่ใหกันใน ASEAN+1 FTA ไดจริงหรือไม เน่ืองดวยโดยปกติ ความตกลงกลุมใหญมักเปดตลาดระหวางกันในระดับที่ไมลึกเทากับในความตกลงกลุมเล็ก

ประการ ท่ีสอง ปญหากรณีพิพาทเรื่ อ งพรมแดนระหวางประเทศสมาชิกบางประเทศ ยังไมแนชัดวาจะมีผลตอความมุงมั่นในการจัดทําความตกลง RCEP หรือไม แตทั้งน้ี ถาหากประเทศสมาชิก RCEP คํานึงถึงประโยชนระยะยาวจากการรวมกลุม

Page 8: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ

FAQ ISSUE 81 RCEP: การรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีแนนแฟนขึ้นในภมิูภาค? June 6, 2013

ฝายวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทย หฤษฎ รอดประเสริฐ และธนิดา ลอเสรีวานิช 7

ทางเศรษฐกิจอยางแทจริง ก็นาจะสามารถกาวขามกรณีพิพาทเหลาน้ีไปไดในทายที่สุด โดยเฉพาะอยางย่ิงเน่ืองดวยคูกรณีพิพาทหลัก คือ จีนและญี่ปุน ตางยังไมเขารวม TPP ดวยเหตุน้ี ทั้ง 2 ประเทศน้ีจึงนาจะยังตองเก็บเกี่ยวโอกาสจากเวที RCEP ตอไป

ประการท่ีสาม RCEP มักจะไดรับการเปรียบเทียบกับ TPP เพราะตางก็เปนเวทีซึ่งมีแนวโนมที่จะขับเค่ียวและชวงชิงความเปนเวทีช้ันนําของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของภูมิภาค โดยที่ประเทศมหาอํานาจที่หนุนหลังแตละเวทีน้ี คือ จีน และสหรัฐฯ ตางก็พยายามคานอํานาจซึ่งกันและกัน ทั้งน้ี แมวา TPP จะมีจุดเดนในเรื่องของมาตรฐานที่สูง แต RCEP ก็มีจุดดึงดูดในแงของการใหความยืดหยุนแกประเทศกําลังพัฒนาโดยคํานึงถึงระดับของพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่แตกตางกันระหวางประเทศคูเจรจา ดังน้ัน RCEP จึงอาจจะไมทะเยอทะยานเปดเสรีในระดับสูงมากเทากับ TPP แตคํานึงถึงความพรอมของแตละประเทศมากกวา

ทั้งน้ี สําหรับกรณีของไทย ซึ่งขณะน้ีไดเขารวม RCEP แลว ในขณะเดียวกันรัฐบาลไทยก็ไดแสดงทาทีสนใจจะเขารวม TPP จึงมีความเปนไปไดที่ไทยอาจไดเขารวมทั้ง RCEP และ TPP ในทายที่สุด ทําใหในระยะตอไป ไทยอาจจะตองช่ังนํ้าหนักระดับการเปดเสรีระหวาง RCEP และ TPP อยางรอบคอบ โดยเฉพาะในประเด็นที่วา ถาหากจะเปดเสรีภายใต TPP มากกวาที่เปดเสรีภายใต RCEP หรือภายใต AEC ของอาเซียนเอง น้ัน จะเหมาะสมหรือไม เน่ืองจากหากดําเนินการเชนน้ัน อาจทําใหประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใต AEC มีความสําคัญนอยลง

3. สรุป

ความตกลง RCEP ไมใช FTA ฉบับแรกที่อาเซียนและประเทศสมาชิก RCEP อื่นจัดทําระหวางกัน เน่ืองจากอาเซียนไดจัดทําหรืออยูระหวางจัดทํา FTA แยกฉบับ (ASEAN+1 FTA) กับประเทศสมาชิก RCEP อื่นแตละประเทศแลว

บทความน้ีไดช้ีวาหาก RCEP สามารถปรับปรุงหรือตอยอดจากความตกลง ASEAN+1 FTA ท้ังในดานสินคา ดานบริการ และดานการลงทุนท่ีมีความไมสมบูรณไดสําเร็จ ก็จะเกิดประโยชนตอประเทศสมาชิกรวมท้ังไทย

เมื่อพิจารณา 3 ดานหลักของการจัดทําความตกลง ASEAN+1 FTA คือดานการคาสินคา ดานการคาบริการและการลงทุนน้ัน อาจสรุปได ดังน้ี

การคาสินคา: RCEP นาจะสามารถผลักดันใหมีการลดภาษีสินคาใหเร็วขึ้นและครอบคลุมจํานวนรายการมากขึ้นกวา ASEAN+1 FTA โดยเจรจาใหมีการเปดตลาดสินคาสงออกที่มีศักยภาพของไทย เชน ขาว นํ้าตาล มันสําปะหลัง ไก อาหารทะเลกระปอง และผลไมเมืองรอน ที่ ยังคงไมไดประโยชนจาก ASEAN+1 FTA อยางเต็มที่ และสินคาอุตสาหกรรม เชน สิ่งทอ เครื่องปรับอากาศ พลาสติก เปนตน

การคาบริการ: มีบางสาขาที่ไทยมีศักยภาพ แตยังไมมีการเปดตลาดใน ASEAN+1 FTA เทาใดนัก เชน ธุรกิจบริการสปา และรานอาหารไทย โดยรวมแลว ไทยอาจจะตองพัฒนาความสามารถในการแขงขันดานบริการในหลายสาขา เพื่ อเตรียมพรอมในการเปดตลาดในอนาคต พรอมท้ังมองหาโอกาสในการออกไปแขงขันเชิงรุกในตลาดตางประเทศใหมากขึ้น แทนที่จะเนนต้ังรับการแขงขันจากตางชาติในประเทศไทยเปนสวนใหญ

การลงทุน: ASEAN+1 FTA โดยสวนใหญไดมีบทบัญญัติคุมครองการลงทุนเรียบรอยแลว สวนในเรื่องการเปดเสรีการลงทุน ยังไมมี ASEAN+1 FTA ฉบับใดที่ไดจัดทําขอผูกพันการเปดเสรีการลงทุน มี เพี ยงกํ าหนดวาจะจัดทํ าขอผู กพันฯ หลังจากที่ความตกลงมีผลบังคับใชแลวตามจํานวนปที่กําหนด จึงเปนโอกาสสําหรับ RCEP ที่จะพิจารณาจัดทําขอผูกพันการเปดเสรีการลงทุน

Page 9: FAQ XX RCEP 12 Apr 2013 - Bank of Thailand...ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ) ซึ่งมีแนวโน มที่จะเป นหัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภูมิภาคและ

FAQ ISSUE 81 RCEP: การรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีแนนแฟนขึ้นในภมิูภาค? June 6, 2013

ฝายวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทย หฤษฎ รอดประเสริฐ และธนิดา ลอเสรีวานิช 8

เพ่ือชวยลดกฎระเบียบท่ีเปนอุปสรรคตอการจัดต้ังกิจการลงทุนในภูมิภาค

ในภาพรวมปจจุบัน การจัดทําความตกลง RCEP กําลังถูกจับตามองจากหลายฝาย เน่ืองจากเปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางอาเซียนกับกลุมประเทศผูทรงอิทธิพลทางเศรษฐกิจของเอเชีย โดยเฉพาะอยางย่ิง จีนซึ่งมีแนวโนมที่จะเปนหัวจักรสําคัญในการ ขับเคลื่ อนเศรษฐกิจภูมิภาคและเศรษฐกิจโลกในอนาคต อยางไรก็ตาม ประเด็นที่สําคัญที่สุดในขณะน้ี คือ การที่ประเทศสมาชิก RCEP (รวมทั้งไทย) จะเก็บเกี่ยวโอกาสจากการจัดทํา RCEP ไดอยางแทจริงน้ัน ความตกลง RCEP จะตองปรับปรุงหรือตอยอดจาก ASEAN+1 FTA ไดจริง ซึ่งจะตองอาศัยความมุงมั่นของประเทศสมาชิก RCEP ในระยะตอไป

References

ASEAN and Australia, China, India, Japan, Korea,

and New Zealand, “Guiding Principles and

Objectives for Negotiating the Regional

Comprehensive Economic Partnership”,

finalized at the First ASEAN Economic

Ministers Plus ASEAN FTA Partners

Consultations, Siem Reap, Cambodia, 30

August 2012, endorsed and released at the

21st ASEAN Summit and Related Summits,

Phnom Penh, Cambodia, 20 November

2012.

ASEAN and Australia, China, India, Japan, Korea,

and New Zealand, “Joint Declaration on

the Launch of Negotiations for the Regional

Comprehensive Economic Partnership”,

endorsed and released at the 21st ASEAN

Summit and Related Summits, Phnom

Penh, Cambodia, 20 November 2012.

กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย, 2551. สรุปสาระสําคัญความตกลงการคาเสรี อาเซียน-อินเดีย, ความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญ่ีปุน, ความตกลงการคาเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด (AANZFTA) สรุปภาพรวมความตกลงการคาเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (AKFTA) อาเซียน-จีน (ACFTA) และอาเซียน-ญ่ีปุน (AJCEP)

สํานักเศรษฐกิจการเกษตรระหวางประเทศ สํานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, http://www2.oae.go.th/biae/

Contact authors :

หฤษฎ รอดประเสริฐ เศรษฐกรอาวุโส [email protected]

ธนิดา ลอเสรีวานิช เศรษฐกร [email protected]

ฝายเศรษฐกิจระหวางประเทศ สายนโยบายการเงิน

บทความน้ีสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เพราะความชวยเหลือแ ล ะ คํ า แ น ะ นํ า จ า ก คุ ณ ป ฤ ษั น ต จั น ท น ห อ ม คุณสุพัฒนพงษ นาวารัตน คุณสุชาดา เดชตระกูล คุณปริวรรต กนิษฐะเสน คุณเกง ใจ วัจนะพุกกะ คุ ณสุ รั ช แ ท นบุ ญ คุ ณ ศุ ภ โ ช ค ถ า ว ร ไ ก ร ว ง ศ คุณไพลิน ผลิตวานนท คุณฐิติพร บรรจงกาลกุล คุณวิสาข โตโพธ์ิไทย และคุณสุริยา สิริวุฒิจรุงจิตต ผูเขียนขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ ท่ีน้ี