การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2....

58
การตั้งท้องและการคลอด สพ..ดวงสุดา ทองจันทร์

Upload: buikien

Post on 20-Mar-2018

220 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

การตั้งท้องและการคลอด

สพ.ญ.ดวงสุดา ทองจันทร ์

Page 2: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

• สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนมเกือบทุกชนิดออกลูกเป็นตัว (viviparous) การเจริญของตัวอ่อนจนกระทั่งสมบูรณ์ภายในมดลูกของแม่และพร้อมจะออกจากท้องแม่ได้ เรียกว่า การตั้งท้อง (gestation หรือ pregnancy)

• ตัวอ่อนที่อยู่ในมดลูกจะได้รับอาหารจากแม่โดยผ่านทางรก ระยะเวลาตั้งแต่วันผสมครั้งที่ติดจนถึงคลอด เรียกว่า ระยะเวลาการตั้งท้อง (gestation period)

Page 3: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระยะเวลาการต้ังท้อง มีดังต่อไปนี้ 1. ปัจจัยจากตัวแม่ (maternal factor)

สภาพความพร้อมและความสมบูรณ์ของแม่สัตว์เป็นส่วนส าคัญต่อการตั้งท้อง กล่าวคือ สัตว์ที่อยู่ในวัยเจริญพันธุ์จะมีความพร้อมมากกว่าวัยอื่น ๆ

ในสัตว์ที่มีอายุมากจะมีระยะการตั้งท้องนานกว่าปกติเล็กน้อย เช่น ในแกะที่อายุ 8 ปี มักมีการตั้งท้องนานกว่าปกติประมาณ 2 วัน ในโคสาวจะมีระยะการตั้งท้องสั้นกว่าโคที่มีอายุมาก

Page 4: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

2. ปัจจัยจากลูก (fetal factor)

จ านวนลูกที่อยู่ในท้อง เพศของลูก ขนาดของลูก และการท างานของต่อมใต้สมอง และต่อมหมวกไตของลูก

จ านวนลูกในท้อง ในสัตว์ที่ออกลูกเป็นครอกถ้าครอกใหญ่จะออกเร็วกว่าครอกเล็ก ยกเว้น สุกร

ส าหรับสัตว์ที่ออกลูกคราวละตัว ถ้าลูกแฝดจะคลอดเร็วกว่าปกติในโคที่เกิดลูกแฝดจะคลอดเร็วกว่าปกติประมาณ 3 – 6 วัน

Page 5: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

เพศของลูก สัตว์ที่ให้ลูกครั้งละตัว หากลูกในท้องเป็นเพศผู้จะมีระยะเวลาการตั้ งท้องนานกว่ าลูกที่ เป็น เพศเมีย ประมาณ 1 – 2 วัน

ขนาดของลูกที่ปกติจะท าให้มดลูกมีความตื่นตัว และกระตุ้นให้เกิดการคลอดได้เร็วกว่าปกต ิ

นอกจากนั้นเมื่อลูกเจริญขึ้น มีการเจริญเติบโตของต่อมใต้สมองและต่อมหมวกไต จนท าหน้าที่ในการสร้างฮอร์โมนได้ คาดว่าฮอร์โมนนี้อาจจะมีผลต่อระยะเวลาการตั้งท้อง

Page 6: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

3. ปัจจัยทางพันธุกรรม ( genetic factor )

พันธุ์ ชนิดสัตว์ รวมถึงการถ่ ายทอดลักษณะทางกรรมพันธุ์ของสัตว์ เช่น โคที่มีการผสมเลือดชิดมาก จะเกิดลักษณะด้อยออกมา ท าให้ระยะการตั้งท้องของลูกตัวนั้นยาวกว่าปกติ

Page 7: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

4. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม (enveronmental factor)

• สิ่งแวดล้อมที่มีผลโดยตรงต่อระการตั้งท้อง เช่น ฤดูกาล อาหาร และอุณหภูมิ

• ในม้าความหนาวจัดท าให้เกิดความล่าช้าในการฝังตัวของตัวอ่อนในมดลูก มีผลท าให้ระยะการตั้งท้องยาวออกไป

Page 8: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของสัตว์ตั้งท้อง 1. ปากช่องคลอดและช่องคลอด

ในระยะท้ายของการตั้งท้องจะเกิดการบวมน้ าเพราะเซลล์เกิดการสะสมน้ า (edema)

นอกจากนี้จะมีการขยายตัวของเซลล์ รวมทั้งมีเส้นเลือดฝอยที่ไปหล่อเลี้ยงเพิ่มขึ้น

เยื่อบุช่องคลอดมีการเปลี่ยนแปลงจ านวนชั้นน้อยลงกว่าเดิม ซึ่งลักษณะการเปลี่ยนแปลงในเยื่อบุช่องคลอดสามารถน าเอาไปใช้ในการตรวจการตั้งท้องได้

Page 9: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

2. คอมดลูก

จะมีการผลิตสารเหนียวปิดคอมดลูก เพื่อป้องกันสิ่งแปลกปลอมและเชื้อเข้าสู่ช่องคลอดตลอดการตั้งท้อง

สารเหนียวนี้จะสลายตัว และถูกขับออกก่อนถึงก าหนดคลอด

Page 10: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

3. มดลูก

มีการขยายตัวเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของตัวอ่อน การปรับสภาพของมดลูก

ระยะแรกเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนจะท าให้เซลล์ของผนังเยื่อมดลูกมีการแบ่งตัวและขยายตัวใหญ่ขึ้น เส้นเลือดมีการขยายตัว ต่อมที่เยื่อมดลูกมีการเจริญ การเปลี่ยนแปลงระยะนี้เกิดขึ้นก่อนการฝังตัวของเอ็มบริโอ

Page 11: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ส่วนในระยะที่สองเกิดภายหลังการฝังตัว มีการขยายตัวของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันในมดลูก

ระยะที่สามการเจริญของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันในมดลูกหยุดการเจริญ แต่จะมีการเจริญของมดลูกไปทางด้านกว้างและยาว

Page 12: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

4. รังไข่

คอร์ปัสลูเทียม ที่รังไข่จะมีการคงอยู่ เรียกว่า คอร์ปัสลูเทียม เวอร์รุม

ต าแหน่งของรังไข่จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย เนื่องจากปีกมดลูกขยายตัวขึ้นและเคลื่อนตัวลงในช่องท้อง

สัตว์ไม่มีวงรอบการเป็นสัด ในระยะแรก ๆ ของการตั้งท้องในโคบางตัว เพราะมีการพัฒนาของถุงไข่แต่จะไม่มีการตกไข่

Page 13: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ในม้าจะมีการพัฒนาของถุงไข่ประมาณ 10 – 15 ใบ เมื่อตั้งท้องได้ 40 -150 วัน และจะตกไข่เพื่อเปลี่ยนไปเป็นปัสลูเทียมส ารอง ในม้าคอร์ปัสลูเทียมทั้งหมดขณะตั้งท้องจะฝ่อไปเมื่ออายุการตั้งท้องได้ประมาณ 5 – 7 เดือน เมื่อรกสามารถผลิตโปรเจสเตอโรนได้เพียงพอ

ในโคคอร์ปัสเทียมจะคงอยู่ตลอดการตั้งท้อง

Page 14: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

5. กระดูกเชิงกรานและเอ็นเชิงกราน

กระดูกเชิงกรานจะมีการยืดหยุ่นตัวได้มากขึ้น เอ็นเชิงกรานก็เริ่มคลายตัวอย่างช้า ๆ

ระยะแรกของการตั้งท้องและเริ่มคลายตัวเร็วขึ้นเมื่อใกล้คลอด เนื่องจากเอสโตรเจนและรีแลคซินที่ผลิตคอร์ปัสลูเทียมและรกที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นในขณะที่สัตว์ใกล้คลอด

Page 15: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

6. ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการตั้งท้อง

• โปรเจสเตอโรน ท าหน้าที่ด ารงการตั้งท้องตลอดการตั้งท้องในสัตว์ฟาร์ม

• การผ่าตัดเอารังไข่ออก ( ovariectomy) ในขณะที่สัตว์ตั้งท้องจะท าให้เกิดการแท้งลูก

• ม้าและแกะการตัดรังไข่ในระยะปลายของการตั้งท้องจะไม่ท าให้เกิดการแท้ง เนื่องสามารถผลิตออร์โมนเอสโตรเจนได้เพียงพอ

Page 16: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ในคนหลังจากที่ทารกฝังตัวจะผลิตเฮดซีจีท าหน้าที่ช่วยให้คอร์ปัสลูเทียมด ารงอยู่

ส าหรับในม้าผลิตพีเอ็มเอสจี ซึ่งจะเริ่มเมื่อตั้งท้องได้ประมาณ 40 วัน และจะหายไปหลังวันที่ 70 – 80 พีเอ็มเอสจีจะกระตุ้นให้เกิดพัฒนาของถุงไข่และตกไข่ เพื่อเพิ่มจ านวนคอร์ปัสลูเทียม

Page 17: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ระยะเวลาการยอมรับการตั้งท้อง

• ในโค ประมาณวันที่ 16-17 ของการผสมติด

• แกะ 12-13

• สุกร 10-12

• ม้า 14-16

Page 18: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

การยอมรับการตั้งท้อง

• CL จะคงอยู่ และผลิตโปรเจสเตอโรนเพื่อด ารงการตั้งท้อง

• แกะ จะผลิตโปรตีนพวกพลาเซนตัล แลกโตรเจน และแอนติเจน ที่เกี่ยวกับการตั้งท้อง เพ่ือยับยั้งการสร้าง PGF2α

• สุกร บลาสโตซีสผลิตเอสโตรเจน เอสตราไดออล 17 เบต้าและเอสโตรเจน ไปลด PGF2α

• โค บลาสโตซีส ผลิตสารโปรตีน เอสโตรเจน และโปรเจสเตอโรนรักษา CL

Page 19: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

Placenta • รกเกิดจากการรวมตัวกันระหว่างหนังหุ้มภายนอกของตัว

อ่อนและเยื่อบุมดลูก

หน้าที่ของรก

เป็นแหล่งอาหาร

แลกเปลี่ยนอากาศ O2 และ CO2

ขับถ่ายของเสียในรูปของเหลวจากตัวอ่อนสู่แม่ทางรก

Page 20: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ช่วยป้องกันสิ่งแปลกปลอม เช่น จุลินทรีย์ สารโมเลกุลใหญ่

สร้างฮอร์โมนและสารที่เป็นประโยชน์ต่อการเจริญของตัวอ่อน

เช่น เอสโตรเจน โปรเจสเตอร์โรน โกนาโดโทรปิน และน้ าย่อยบางชนิด

Page 21: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

วิธีการส่งผ่านสารต่างๆทางรก

• Simple diffusion เป็นกระบวนการซึมผ่านอย่างง่าย เป็นการเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นโมเลกุลสูง ---- ต่ า

• Active transport เป็นกระบวนการโภชนะผ่านเนื้อเยื่อของรก จากบริเวณที่มีความเข้มข้นโมเลกุลต่ า ---- สูง โดยอาศัยเอ็นไซม์และตัวน าพา กระบวนการนี้จะท าให้ตัวอ่อนสามารถสะสมโภชนะไว้ และมีความเข้มข้นสูงกว่าโภชนะที่มีในเลือดแม่

Page 22: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

• Phagocytosis เป็นกระบวนการล าเลียงอาหารผ่านรก โดยการกลืนอาหารชนิดแข็งของเซลล์

• Pinocytosis เป็นกระบวนการล าเลียงอาหารผ่านรก โดยการกลืนอาหารชนิดเหลวของเซลล์

Page 23: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

• สารอิเลคโทรไลท์ น้ า และวิตามินที่ละลายน้ า ส่งผ่านแบบ Active transport

• ฮอร์โมนส่งผ่านโดย diffusion

• สารที่ใช้เป็นยา พลาสมาโปรตีน แอนติบอดี้ และเซลล์ต่างๆส่งผ่านแบบ pinocytosis ผ่านผนังของรก

Page 24: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ส่วนประกอบของรก

• รกเกิดจากผนังหุ้มภายนอกของตัวอ่อนมาแนบชิดกับผนังเยื่อบุมดลูก ปกด. 4 ชั้น

ถุงแอมเนียน เป็นถุงชั้นในที่อยู่รอบตัวอ่อน ช่วยป้องกันการกระทบกระเทือน และท าให้ตัวอ่อนสามารถเจริญได้ทุกทิศทาง

ถุงอัลแลนตอยด์ เป็นถุงชั้นกลางเก็บของเสียของตัวอ่อน

Page 25: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ถุงโคเรียน เป็นถุงชั้นนอกติดผนังมดลูกเป็นทางผ่านของอาหารและออกซิเจน ระหว่างแม่ไปยังลูก

ถุงไข่แดง เป็นแหล่งสะสมอาหารส าหรับตัวอ่อน ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีน้อย

Page 26: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

รกเกิดจากบริเวณที่เป็นรอยต่อระหว่างผนังของแม่และผนังของลูก จะมีการสร้าง chorionic villi จากผนังของโคเรียนที่เป็นโครงสร้างลักษณะคล้ายนิ้วมือ แทรกเข้าไปในช่อง หรือหลืบของผนังมดลูกของแม่ที่เรียกว่า crypt ภายใน chorionic villi จะมีเส้นเลือดเป็นองค์ประกอบจ านวนมาก หน้าที่ส่งผ่านอาหารและสารต่างๆให้แก่ลูก

Page 27: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ประเภทของรก แบ่งตามลักษณะรูปร่างชนิดของรก และปริมาณการเกาะตัว

ของ chorionic villi ต่อผนังมดลูก

Diffuse type ส่วนของ chorionic villi กระจายอยู่ทั่วโคเรียน ประสานกับชั้นเยื่อเมือกของมดลูก โดยตลอด พบในสุกร

Coteledonnary type ส่วนของ chorionic villi อยู่กันเป็นกลุ่ม ไปเกาะกับ คารังเคิล ที่อยู่ในชั้นเยื่อบุมดลูกรวมกันเป็น placentome พบในโค กระบือ แกะ กวาง

Page 28: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

Coteledonnary type

Page 29: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

• Zonary type มีวิลไลเกาะอยู่เฉพาะบริเวณกลางโดยรอบมีลักษณะคล้ายเข็มขัด กว้างประมาณ 2 ใน 3 ของพื้นที่ผิวของถุงโคเรียน พบในสุนัข แมว สุนัขป่า และสุนัขจิ้งจอก

• Discoidal type วิลไลจัดตัวรวมกันเป็นกลุ่มมีลักษณะกลมขนาดใหญ่ คล้ายจานเกาะอยู่ที่ชั้นเยื่อเมือกของมดลูก โดยทั่วไปมี 1 กลุ่ม พบในค้างคาว คน และลิง

Page 30: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

Zonary type

Page 31: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

แบ่งตามลักษณะผนังกัน้ระหว่างแม่และลูก ของรก เนื้อเยื่อที่ขวางกั้นการดูดซึม และแลกเปลี่ยนก็าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซค์ระหว่างแม่และลูก มี 6 ชั้น

Uterine capillary epithelium,endothelium

Uterine connective tissue

Uterine epithelium

Chorionic epitherium

Chorionic connective tissue

Chorionic capillary epithelium

Page 32: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

Epitheliochorial type

• ส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะพบ microvilli ของแม่และลูกสัมผัสกัน

• โดยจะมีเยื่อบุหลอดเลือดฝอย ของเยื่อบุมดลูกและเยื่อเกี่ยวพันของมดลูกมารวมกับเยื่อบุ เยื่อเกี่ยวพันและเยื่อบุที่หลอดเลือดฝอยของโคเรียน พบในสุกรและม้า

Page 33: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

Endotheliochorial type

• ชนิดนี้ เยื่อเกี่ยวพันและเยื่อบุมดลูกถูกท าลายไป

• ดังนั้นเยื่อบุหลอดเลือดฝอยของมดลูกจึงคลุมอยู่บนชั้นเยื่อบุเยื่อเกี่ยวพัน และเยื่อบุหลอดเลือดฝอยของโคเรียน จึงมีเนื้อเยื่อที่ขวางกั้นเพียง 4 ชั้นพบในสุนัข และแมว

Page 34: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

Hemochorial type

• ชั้นของเยื่อเกี่ยวพันเยื่อบุผิวและเยื่อบุผิวที่หลอดเลือดฝอยของมดลูกถูกท าลายไป

• ดังนั้นเลือดของแม่จึงอาบอยู่บนชั้นเยื่อบุเยื่อเกี่ยวพัน และเยื่อบุที่หลอดเลือดฝอยของโคเรียน

• จึงมีเยื่อที่ขวางกั้นเพียง 3 ชั้นพบในค้างคาวคน และลิง

Page 35: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

การคลอด (parturition)

กลไกการเริ่มต้นการคลอด ความเข้มข้นของโปรเจสเตอโรนลดลง ท าให้กล้ามเนื้อมดลูกเกิดการบีบตัวและเกิดการคลอด ความเข้มข้นของเอสโตรเจนเพิ่มขึ้น ไปลดปริมาณโปรเจสเตอโรน โดยมีผลท าให้กล้ามเนื้อมดลกูหดตัว ปริมาตรของมดลูกเพิ่มขึ้น ตามระยะเวลาการตั้งท้อง และมีการดิ้นของลูก ท าให้เลือดมาหล่อเลี้ยงตัวอ่อนนอ้ยลง กล้ามเนื้อมดลูกมีความไวต่อเอสโตรเจนและออกซิโตซินท าให้การบีบตัวของมดลูกและการคลอด

Page 36: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

การหลั่งของออกซิโตรซินก่อนการคลอดจะท างานรวมกับเอสโตรเจนในการกระตุ้นให้มดลูกหดตัว การหลั่งของพรอสตาแกลนดิน กระตุ้นให้เกิดการบีบตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ท าให้ CL ฝ่อ โปรเจสเตอโรนลดลง การท างานของไฮโปธาลามัส ต่อมใต้สมองและต่อมหมวกไตของตัวอ่อน คอร์ติโคสเตอรอยด์ของตัวอ่อนจะกระตุ้นให้ระดับโปรเจสเตอโรนลดลง แต่ระดับของเอสโตรเจนสูงขึ้น และเกิดการหลั่งพรอสตาแกลนดิน เอฟสองอัลฟา ท าให้มดลูกบีบตัว

Page 37: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

อาการที่แสดงว่าสัตว์ใกล้คลอด

• เชิงกรานเกิดการคลายตัว

• การขยายใหญ่และบวมน้ าของปากช่องคลอด

• การเต่งของเต้านม รวมทั้งการไหลของน้ าเหลือง

• มีการสร้างรังคลอดในสัตว์บางประเภท หรือการแยกตัวออกจากฝูง

Page 38: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ขั้นตอนการคลอด แบ่งเป็น 3 ช่วง

1. ช่วงเตรียมการคลอด (preparatory)

มดลูกเริ่มมีการบีบตัว แต่ไม่เป็นจังหวะ

ต่อมาการบีบตัวจะเป็นจังหวะและถี่ขึ้น

ปากมดลูกถ่างออก เนื่องจากของเหลวในรก

ถุงโคริอัลแลนตอยและตัวอ่อนจะเข้ามาอยู่ในช่องกระดูกเชิงกราน ถุงนี้จะแตกออก และของเหลวจะไหลมาทางช่องคลอด

Page 39: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

2. ช่วงการคลอดของตัวอ่อน (expulsion of fetus) มีการบีบตัวของกล้ามเนือ้กระบังลม ช่องท้อง และมดลูก ถุงแอมเนียนปลายขาของตัวอ่อนจะโผล่ออกมาทางช่องคลอด และจะแตกออก การคลอดใช้เวลาไม่นาน ในม้าและสุกรจะเร็วที่สุดเพราะรกจะหลุดจากผนังมดลูกได้ง่าย ถ้าช่วงนี้ใช้เวลานานสัตว์จะขาดออกซิเจนและเกิดการตาย ในสัตว์เคี้ยวเอื้องรกเป็นแบบคอไทลีนดอน ขณะคลอดคารังเคิลยังไม่หลุดจากคอไทลีนดอน ตัวอ่อนจะยังได้รับออกซิเจนจากแม่ การคลอดช้าไม่มีปัญหา

Page 40: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

ช่วงการขจัดรก(expulsion of placenta)

การกลับตัวของถุงโคริโออัลแลนตอย การแยกตัวของวิลไลจากส่วนครีฟท์ ของมดลูก เนื่องจากการลดกระแสเลือดที่มาเลี้ยงวิลไลจากการขาดของสายสะดือ จึงท าให้เกิดการหลุดลอกของรก

Page 41: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล

การกลับเข้าอู่ของมดลูก(uterine involution)

• การกลับเข้าอู่ของมดลูกจะช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับ

• การบีบตัวของไมโอมีเทรียม

• การติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์

• การเปลี่ยนแปลงทางสรีระ กายวิภาค และรังไข่

• สุกรใช้เวลา 3 สัปดาห์

• โค กระบือ ใช้เวลา 1-2 เดือน

Page 42: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 43: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 44: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 45: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 46: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 47: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 48: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 49: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 50: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 51: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 52: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 53: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 54: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 55: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 56: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 57: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล
Page 58: การตั้งท้องและการคลอดfat.surin.rmuti.ac.th/teacher/duangsuda/attach/news...2. ป จจ ยจากล ก (fetal factor) จ านวนล