guidelines for improving social welfare for the disabled ... · pdf...

10
*นักศึกษารัฐประศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน ** รองศาสตราจารย คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน แนวทางการพัฒนาดานสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบล หนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled by Nong Wang Nang Bao Sub District Administrative Organization, Phon District, Khon Kaen Province ประมวล พื้นผักหวาน* รองศาสตราจารย ดร. ชนะพล ศรีฤาชา** บทคัดยอ การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาความตองการในการรับสวัสดิการสังคมของคน พิการ และเพื่อหาแนวทางพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม ใหแกคนพิการขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวง นางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน เก็บรวบรวมขอมูลโดย ใชแบบสอบถามโดยมีกลุมตัวอยาง คือ คนพิการที่อาศัยอยู ในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอ พล จังหวัดขอนแกน จํานวน 144 คน ใชวิธีเลือกแบบ เจาะจงทั้งหมด สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล คือ สถิติเชิง พรรณนาไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษาพบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมี ความตองการรับสวัสดิการทางสังคมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายดาน พบวา มีความตองการสวัสดิการดาน สังคมอยูในระดับมาก รองลงมาคือ ความตองการดานที่อยู อาศัย สวนดานที่มีความตองการนอยสุด คือ ความตองการ ดานนันทนาการ และความตองการดานสุขภาพอนามัยและ สาธารณสุข แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม สําหรับคนพิการควรจะอยูในรูปแบบการดูแลของชุมชนและ ครอบครัวเปนฐาน และการจัดบริการสวัสดิการระยะยาว ควรมีการฝกอาชีพ การปรับปรุงสภาพแวดลอมที่อยูอาศัย การสงเคราะหเครื่องอุปโภคโดยพิจารณาเปนรายบุคคล การสงเคราะหใหสามารถเขาถึงบริการทางดานสุขภาพอยาง เทาเทียม อันจะชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมการ พึ่งตนเองในระยะยาว ABSTRACT This research has the objective to assess needs for improving social welfare for the disabled by the Nong Wang Nang Bao Tambon Administrative Organization, Phon District, Khon Kaen, and propose guidelines for doing this. Data were collected using a questionnaire with a purposively selected sample of 144 disabled persons who are residents of the Tambon. Data were analyzed using descriptive statistics. This study found that, overall, this sample of disabled had moderate level of need for social welfare services. The highest need was for basic social services followed by need for housing support. Least need for social welfare was for recreation and health/public health Guidelines for improving social welfare for the disabled who receive disabled subsidy payments from the TAO include the need for a foundation of community and family care for the disabled. A longer-term and more sustainable solution to caring for the disabled include occupational development support, modifying the domicile environment, support for utilities, equal access to health care, and other interventions to help the disable to be as self-reliant as possible. รายงานสืบเนองการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 “นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0” 54

Upload: haphuc

Post on 06-Feb-2018

215 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

*นักศึกษารัฐประศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน** รองศาสตราจารย คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

แนวทางการพัฒนาดานสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน

Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled by Nong Wang Nang Bao SubDistrict Administrative Organization, Phon District, Khon Kaen Province

ประมวล พ้ืนผักหวาน*รองศาสตราจารย ดร. ชนะพล ศรีฤาชา**

บทคัดยอการวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ มีวัตถุประสงค

เพ่ือศึกษาความตองการในการรับสวัสดิการสังคมของคนพิการ และเพ่ือหาแนวทางพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมใหแกคนพิการขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามโดยมีกลุมตัวอยาง คือ คนพิการท่ีอาศัยอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน จํานวน 144 คน ใชวิธีเลือกแบบเจาะจงท้ังหมด สถิติ ท่ีใช วิเคราะหขอมูล คือ สถิติเชิงพรรณนาไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาพบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความตองการรับสวัสดิการทางสังคมอยูในระดับปานกลางเมื่อพิจารณารายดาน พบวา มีความตองการสวัสดิการดานสังคมอยูในระดับมาก รองลงมาคือ ความตองการดานท่ีอยูอาศัย สวนดานท่ีมีความตองการนอยสุด คือ ความตองการดานนันทนาการ และความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการควรจะอยูในรูปแบบการดูแลของชุมชนและครอบครัวเปนฐาน และการจัดบริการสวัสดิการระยะยาวควรมีการฝกอาชีพ การปรับปรุงสภาพแวดลอมท่ีอยูอาศัยการสงเคราะหเคร่ืองอุปโภคโดยพิจารณาเปนรายบุคคลการสงเคราะหใหสามารถเขาถึงบริการทางดานสุขภาพอยางเทาเทียม อันจะชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมการพ่ึงตนเองในระยะยาว

ABSTRACTThis research has the objective to assess

needs for improving social welfare for the disabledby the Nong Wang Nang Bao Tambon AdministrativeOrganization, Phon District, Khon Kaen, and proposeguidelines for doing this. Data were collected using aquestionnaire with a purposively selected sample of144 disabled persons who are residents of theTambon. Data were analyzed using descriptivestatistics. This study found that, overall, this sampleof disabled had moderate level of need for socialwelfare services. The highest need was for basicsocial services followed by need for housing support.Least need for social welfare was for recreation andhealth/public health Guidelines for improving socialwelfare for the disabled who receive disabledsubsidy payments from the TAO include the needfor a foundation of community and family care forthe disabled. A longer-term and more sustainablesolution to caring for the disabled includeoccupational development support, modifyingthe domicile environment, support for utilities, equalaccess to health care, and other interventions tohelp the disable to be as self-reliant as possible.

คําสําคัญ : สวัสดิการสังคม, ผูพิการ, องคการบริหารสวนตําบล

Keywords : Social Welfare, Disabled, Sub districtAdministrative Organization (SAO)

บทนําส วัสดิ ก า รสั งคมมี ค วามสํ าคัญอย า งยิ่ ง ต อ

การดํารงชีวิตของมนุษยทุกคนเน่ืองจากเปนบริการขั้นพ้ืนฐานท่ีจะชวยใหมนุษยสามารถตอบสนองความจําเปนขั้นพ้ืนฐานท่ีจะนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีได ซึ่งประเทศไทยก็ไดเห็นความสําคัญดังกลาวเชนกัน โดยไดกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการพ.ศ. 2550 เปนตนโดยกําหนดใหรัฐมีหนาท่ีในการจัดสวัสดิการสังคมประเภทตาง ๆ ท่ีกําหนดไวใหกับประชาชนทุกกลุมเปาหมายรวมท้ังผูดอยโอกาสท่ีไดรับความเดือดรอนดวย สถานการณการจัดสวัสดิการสังคมผูพิการในประเทศไทย ในปจจุบันการจัดสวัสดิการสังคมมคีวามครอบคลมุและสามารถตอบสนองความตองการของแตละกลุมเปาหมายและในเชิงพ้ืนท่ีมากขึ้น โดยมีการดําเนินงานจัดสวัสดิการสั งคมตามองคประกอบ 4 ด านหลัก ประกอบด วยการบริการสงัคม การชวยเหลือทางสังคม การประกันสังคม และการชวยเหลือเกื้อกูลของภาคประชาชน

ถึงแม ว า รัฐบาลจะไดกําหนดไว ในกฎหมายเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการของผูพิการ แตสภาพในความเปนจริงแลว คนพิการยังไมไดรับการจัดสวัสดิการท่ีควรจะไดรับยังมีผูพิการอีกเปนจํานวนมากท่ีตองการความชวยเหลือในดานตางๆ จากทางภาครัฐ และเห็นในสื่อแทบทุกวันวาคนพิการจํานวนมากยังไมไดเขาถึงสวัสดิการอยางท่ัวถึงยกตัวอยางเชน ยังไมมีกระบวนการสงเสริมและสนับสนุนดานการประกอบอาชีพ ท่ีเปนรูปธรรมแบบครบวงจรและขาดการบูรณาการ ดังจะเห็นไดจากการเสนอโครงการสงเสริมการประกอบอาชีพตาง ๆ ของคนพิการไมมีกระบวนการพัฒนาท่ีตอเนื่องและไมมีการลงพ้ืนท่ีในการใหคําปรึกษาหรือใหความรูกับคนพิการและญาติในการประกอบอาชีพตาง ๆ เทาท่ีควร ดังนั้นจึงสงผลใหผูพิการ

สวนใหญตองประกอบอาชีพท่ีขาดความมั่นคง มีรายไดไมแนนอนและตองแบงรายไดในแตละวันออกเปนหลายสวนและเปนคาจางสําหรับผูนําพาไปประกอบอาชีพ เปนตน

องคการบริหารสวนตําบล เปนรูปแบบหนึ่งของการปกครองสวนทองถิ่น ท่ีดําเนินการจัดบริการสาธารณะใหแกประชาชน ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบลพ.ศ. 2537 มาตรา 66 ไดกําหนดใหองคการบริหารสวนตําบล มีอํานาจหนาท่ีในการพัฒนาตําบลท้ังในดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และมาตรา67 ไดกําหนดอํานาจหนาท่ีประการหนึ่ง คือสงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และคนพิการ และตามพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ในมาตรา 16ไดกําหนดอํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนตําบล31 เร่ือง และในจํานวนนี้ไดระบุถึงหนาท่ีในการสงเสริมและพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และผูดอยโอกาสอยูในความรับผิดชอบดวย นอกจากนี้ ยังตองรับถายโอนงานดานสงเสริมคุณภาพชีวิต เชน การสงเสริมอาชีพ งานสวัสดิการสังคม นันทนาการการศึกษา สาธารณสุข การปรับปรุงแหลงชุมชนแออัดและจัดหาท่ีอยูอาศัย จากหนวยงานภาครัฐมาดําเนินการเอง ซึ่งขณะนี้บางหนวยงานของภาครัฐไดมีการถายโอนภารกิจงานบริการสาธารณะใหองคการบริหารสวนตําบลไปดําเนินการเองบางแลว เชน กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (กรมประชาสงเคราะหเดิม) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดถายโอนงานสงเคราะหเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยโรคเอดสใหองคการบริหารสวนตําบลดําเนินการแลว สําหรับงานดานสวัสดิการสังคมดานอื่น ๆ จะมีถายโอนภารกิจในระยะตอไปดังนั้น การกระจายอํานาจใหองคการบริหารสวนตําบลดําเนินการจัดสวัสดิการสังคมแกประชาชน โดยเฉพาะกลุมคนพิการเปนบทบาทหนึ่งท่ีมีความสําคัญตอการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมแกคนพิการ ซึ่งรวมถึงบริการดานสุขภาพอนามัย การศึกษา การมีอาชีพและรายได ความมั่นคงทางสังคม ท่ีอยูอาศัย นันทนาการ และบริการทางสังคมเพ่ือใหบริการดังกลาวครอบคลุมท่ัวถึง เปนธรรม และสอดคลองกับปญหาและความตองการของคนพิการ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”54

Page 2: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

*นักศึกษารัฐประศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน** รองศาสตราจารย คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

แนวทางการพัฒนาดานสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน

Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled by Nong Wang Nang Bao SubDistrict Administrative Organization, Phon District, Khon Kaen Province

ประมวล พ้ืนผักหวาน*รองศาสตราจารย ดร. ชนะพล ศรีฤาชา**

บทคัดยอการวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ มีวัตถุประสงค

เพ่ือศึกษาความตองการในการรับสวัสดิการสังคมของคนพิการ และเพ่ือหาแนวทางพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมใหแกคนพิการขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามโดยมีกลุมตัวอยาง คือ คนพิการท่ีอาศัยอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน จํานวน 144 คน ใชวิธีเลือกแบบเจาะจงท้ังหมด สถิติ ท่ีใช วิเคราะหขอมูล คือ สถิติเชิงพรรณนาไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาพบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความตองการรับสวัสดิการทางสังคมอยูในระดับปานกลางเมื่อพิจารณารายดาน พบวา มีความตองการสวัสดิการดานสังคมอยูในระดับมาก รองลงมาคือ ความตองการดานท่ีอยูอาศัย สวนดานท่ีมีความตองการนอยสุด คือ ความตองการดานนันทนาการ และความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการควรจะอยูในรูปแบบการดูแลของชุมชนและครอบครัวเปนฐาน และการจัดบริการสวัสดิการระยะยาวควรมีการฝกอาชีพ การปรับปรุงสภาพแวดลอมท่ีอยูอาศัยการสงเคราะหเคร่ืองอุปโภคโดยพิจารณาเปนรายบุคคลการสงเคราะหใหสามารถเขาถึงบริการทางดานสุขภาพอยางเทาเทียม อันจะชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมการพ่ึงตนเองในระยะยาว

ABSTRACTThis research has the objective to assess

needs for improving social welfare for the disabledby the Nong Wang Nang Bao Tambon AdministrativeOrganization, Phon District, Khon Kaen, and proposeguidelines for doing this. Data were collected using aquestionnaire with a purposively selected sample of144 disabled persons who are residents of theTambon. Data were analyzed using descriptivestatistics. This study found that, overall, this sampleof disabled had moderate level of need for socialwelfare services. The highest need was for basicsocial services followed by need for housing support.Least need for social welfare was for recreation andhealth/public health Guidelines for improving socialwelfare for the disabled who receive disabledsubsidy payments from the TAO include the needfor a foundation of community and family care forthe disabled. A longer-term and more sustainablesolution to caring for the disabled includeoccupational development support, modifyingthe domicile environment, support for utilities, equalaccess to health care, and other interventions tohelp the disable to be as self-reliant as possible.

คําสําคัญ : สวัสดิการสังคม, ผูพิการ, องคการบริหารสวนตําบล

Keywords : Social Welfare, Disabled, Sub districtAdministrative Organization (SAO)

บทนําส วัสดิ ก า รสั งคมมี ค วามสํ าคัญอย า งยิ่ ง ต อ

การดํารงชีวิตของมนุษยทุกคนเนื่องจากเปนบริการขั้นพ้ืนฐานท่ีจะชวยใหมนุษยสามารถตอบสนองความจําเปนขั้นพ้ืนฐานท่ีจะนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีได ซึ่งประเทศไทยก็ไดเห็นความสําคัญดังกลาวเชนกัน โดยไดกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการพ.ศ. 2550 เปนตนโดยกําหนดใหรัฐมีหนาท่ีในการจัดสวัสดิการสังคมประเภทตาง ๆ ท่ีกําหนดไวใหกับประชาชนทุกกลุมเปาหมายรวมท้ังผูดอยโอกาสท่ีไดรับความเดือดรอนดวย สถานการณการจัดสวัสดิการสังคมผูพิการในประเทศไทย ในปจจุบันการจัดสวัสดิการสังคมมคีวามครอบคลมุและสามารถตอบสนองความตองการของแตละกลุมเปาหมายและในเชิงพ้ืนท่ีมากขึ้น โดยมีการดําเนินงานจัดสวัสดิการสั งคมตามองคประกอบ 4 ด านหลัก ประกอบด วยการบริการสงัคม การชวยเหลือทางสังคม การประกันสังคม และการชวยเหลือเกื้อกูลของภาคประชาชน

ถึงแม ว า รัฐบาลจะไดกําหนดไว ในกฎหมายเก่ียวกับการจัดสวัสดิการของผูพิการ แตสภาพในความเปนจริงแลว คนพิการยังไมไดรับการจัดสวัสดิการท่ีควรจะไดรับยังมีผูพิการอีกเปนจํานวนมากท่ีตองการความชวยเหลือในดานตางๆ จากทางภาครัฐ และเห็นในสื่อแทบทุกวันวาคนพิการจํานวนมากยังไมไดเขาถึงสวัสดิการอยางท่ัวถึงยกตัวอยางเชน ยังไมมีกระบวนการสงเสริมและสนับสนุนดานการประกอบอาชีพ ท่ีเปนรูปธรรมแบบครบวงจรและขาดการบูรณาการ ดังจะเห็นไดจากการเสนอโครงการสงเสริมการประกอบอาชีพตาง ๆ ของคนพิการไมมีกระบวนการพัฒนาท่ีตอเนื่องและไมมีการลงพ้ืนท่ีในการใหคําปรึกษาหรือใหความรูกับคนพิการและญาติในการประกอบอาชีพตาง ๆ เทาท่ีควร ดังนั้นจึงสงผลใหผูพิการ

สวนใหญตองประกอบอาชีพท่ีขาดความมั่นคง มีรายไดไมแนนอนและตองแบงรายไดในแตละวันออกเปนหลายสวนและเปนคาจางสําหรับผูนําพาไปประกอบอาชีพ เปนตน

องคการบริหารสวนตําบล เปนรูปแบบหนึ่งของการปกครองสวนทองถิ่น ท่ีดําเนินการจัดบริการสาธารณะใหแกประชาชน ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบลพ.ศ. 2537 มาตรา 66 ไดกําหนดใหองคการบริหารสวนตําบล มีอํานาจหนาท่ีในการพัฒนาตําบลท้ังในดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และมาตรา67 ไดกําหนดอํานาจหนาท่ีประการหนึ่ง คือสงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และคนพิการ และตามพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ในมาตรา 16ไดกําหนดอํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนตําบล31 เร่ือง และในจํานวนนี้ไดระบุถึงหนาท่ีในการสงเสริมและพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และผูดอยโอกาสอยูในความรับผิดชอบดวย นอกจากนี้ ยังตองรับถายโอนงานดานสงเสริมคุณภาพชีวิต เชน การสงเสริมอาชีพ งานสวัสดิการสังคม นันทนาการการศึกษา สาธารณสุข การปรับปรุงแหลงชุมชนแออัดและจัดหาท่ีอยูอาศัย จากหนวยงานภาครัฐมาดําเนินการเอง ซึ่งขณะนี้บางหนวยงานของภาครัฐไดมีการถายโอนภารกิจงานบริการสาธารณะใหองคการบริหารสวนตําบลไปดําเนินการเองบางแลว เชน กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (กรมประชาสงเคราะหเดิม) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดถายโอนงานสงเคราะหเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยโรคเอดสใหองคการบริหารสวนตําบลดําเนินการแลว สําหรับงานดานสวัสดิการสังคมดานอื่น ๆ จะมีถายโอนภารกิจในระยะตอไปดังนั้น การกระจายอํานาจใหองคการบริหารสวนตําบลดําเนินการจัดสวัสดิการสังคมแกประชาชน โดยเฉพาะกลุมคนพิการเปนบทบาทหน่ึงท่ีมีความสําคัญตอการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมแกคนพิการ ซึ่งรวมถึงบริการดานสุขภาพอนามัย การศึกษา การมีอาชีพและรายได ความมั่นคงทางสังคม ท่ีอยูอาศัย นันทนาการ และบริการทางสังคมเพ่ือใหบริการดังกลาวครอบคลุมท่ัวถึง เปนธรรม และสอดคลองกับปญหาและความตองการของคนพิการ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”55

Page 3: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

องคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา ซึ่งมีอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายในการสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชี วิต เด็ ก สต รี คนชรา ผู พิ การและผูดอยโอกาส ตามตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้ นตอนการกระจายอํ านาจ ให แก อ งค กรปกครอ งสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพ่ือประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ผูศึกษาในฐานะเปนผู รับผิดชอบเก่ียวกับงานจัดสวัสดิการชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา จึงไดตระหนักและเล็งเห็นความสําคัญของความตองการดานการจัดสวัสดิการสังคมของผู พิการ จึงไดทําการศึกษาปญหาและหาแนวทางการพัฒนาด านสวัสดิการสังคมของผูพิการในเขตตําบลขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกนตอไป

วตัถุประสงค1. เพ่ือศึกษาความตองการในการรับสวัสดิการสังคม

ของผู พิการในเขตตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพลจังหวัดขอนแกน

2. เพ่ือหาแนวทางพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมใหแก ผูพิการ ขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน

วิธีการดําเนินงานวิจัยก า ร วิ จั ย นี้ เ ป น ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง ป ริ ม า ณ โ ด ย ใ ช

แบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการวิจัยเพ่ือสํารวจความปญหา คิดเห็นและความตองการในการจัดสวัสดิการและนํามากําหนดเปนแนวทางในการจัดสวัสดิการทางสังคมใหแกผูพิการ

1. ประชากรและกลุมตวัอยาง1.1 ประชากรท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ผูพิการ

ทุกประเภทท่ีอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา จํานวน 13 หมูบาน จํานวน 144 คน

1.2 กลุมตัวอยาง ใชวิธีเลือกแบบเจาะจง โดยเลือกเฉพาะผูท่ีขึ้นทะเบียนผูพิการกับองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบาเทานั้น

2. เคร่ืองมือท่ีใชในการวจิัยเคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาแนวทางการพัฒนาดาน

สวัสดิการสังคมผูพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน เปนแบบสอบถามท่ีผูวิจัยสรางขึ้น โดยรวบรวมจากการศึกษางานวิจัยท่ีเกี่ยวของ แลวนํามาปรับปรุงใหเหมาะสมและสอดคลองกับงานวิจัย โดยแบงรายละเอียดของแบบสอบถามออกเปน 5 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

สวนท่ี 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสวัสดิการท่ีไดรับอยูในปจจุบันจากหนวยงานภาครัฐและหนวยงานอื่น ๆ มีระดับการวัดเปนนามสเกล (Nominal Scale) วัดเปน การไดรับความชวยเหลือ ใหคะแนน 1 สวน ไมไดรับความชวยเหลือ ใหคะแนน 0

สวนท่ี 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความตองการรับสวัสดิการทางสังคมของผูพิการจากหนวยงานภาครัฐ ประกอบดวย ความตองการดานการศึกษา ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข ความตองการดานท่ีอยูอาศัย ความตองการดานการทํางานและการมีรายได ความตองการดานความมั่นคงทางสังคม ความตองการดานบริการสังคม และความตองการดานนันทนาการ ตัวลักษณะแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scales) มีคําตอบใหเลือกตอบ 3ระดับ (3, 2, 1) มีระดับการวัดเปนชวงสเกล (IntervalScale)

สวนท่ี 4 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการไดรับหรือเคยไดรับสวัสดิการจากภาครัฐหรือหนวยงานอื่นวาเพียงพอหรือไม

สวนท่ี 5 ขอเสนอแนะอื่น ๆ เปนแบบสอบถามสามารถเพ่ิมเติมขอเสนอแนะในดานความตองการและสิ่งท่ีองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพลจังหวัดขอนแกน ควรไดรับการพัฒนา สนับสนุน ปรับปรุง

เพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาการพัฒนางานดานสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการตอไป

3. การเก็บรวบรวมขอมลูหลังจากท่ีผูศึกษาไดศึกษากรอบแนวความคิด

ทฤษฎีและผลงานท่ีเกี่ยวของเพ่ือนํามาเปนแนวทางในการสรางเคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาตามกรอบแนวคิดในการวิจัยโดยผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้อยางเปนขั้นตอน ดังนี้

3.1 นําหนังสือขออนุญาตจากวิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน ถึงกลุมเปาหมายเพ่ือขอความอนุเคราะหขอมูลในการสอบถาม

3.2 ลง พ้ืน ท่ีดวยตนเองเ พ่ือดํ า เนินการสอบถามกับกลุมเปาหมาย ท้ัง 13 หมูบาน จํานวน 144 คน

3.3 ตรวจสอบความสมบูรณของคําตอบในแบบสอบถาม

3.4 จัดหมวดหมูของขอมูล ท่ีไดจากการสอบถามและวิเคราะหผลการศึกษา

4. การวิเคราะหขอมูลหลังจากเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม และ

ผานการตรวจสอบความถูกตองเรียบรอยแลว จึงนําขอมูลท่ีไดมาทําการวิเคราะหดวยขอมูลจากผลการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis Method) ซึ่งเปนการนําขอมูลท่ีไดจากการสอบถามมาสังเคราะหและแยกเปนประเด็นตามเนื้อหา โดยสถิติท่ีใชในการศึกษา คือ คารอยละ(Percentage) โดยผูศึกษานําแบบสอบถามท่ีไดคนืมา นํามาตรวจสอบความสมบูรณเพ่ือดําเนินการจัดทําขอมูลและวิเคราะหขอมูล ดังตอไปนี้

4.1 ตรวจสอบขอมูล (Editing) ผูวิจัยทําการตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามท่ีไดรับกลับคืนมาโดยพิจารณาเลือกเฉพาะฉบับท่ีมีความสมบูรณท่ีสุด

4.2 ท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามและความตอ งการในการ รับส วัสดิ การสั งคมของผู พิ การตามแบบสอบถาม วิ เค ราะห โ ดย ใ ช ส ถิ ติ เ ชิ งพรรณนา(Descriptive Statistics) เพ่ือบรรยายลักษณะของกลุมตัวอยางท่ีศึกษา โดยใชคาสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังนี้

กรณีขอมูลเปนขอมูลแจงนับใชสถิติ การแจกแจงความถี่(Frequency) และรอยละ (Percentage) กรณีขอมูลตอเนื่องและมีการแจกแจงแบบปกติจะใชคาเฉลี่ย (Mean)และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และกรณีขอมูลแจกแจงไมปกติจะใช คามัธยฐาน (Median)และคาต่ําสุด (Minimum) กับคาสูงสุด (Maximum)

5. สถติิท่ีใชในการวจิัยนําขอมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะหดวย

โปรแกรม SPSS for Windows โดยวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ไดแก คารอยละ(Percentage) เพ่ือศึกษาความตองการในการรับสวัสดิการสังคมของผูพิการและศึกษาหาแนวทางพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมใหแกผูพิการ ขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพลจังหวัดขอนแกน

โดยมีเกณฑในการใหคะแนน (Likert. 1967) ดังนี้ความหมาย การใหคะแนน

ระดับความตองการมาก 3ระดับความตองการปานกลาง 2ระดับความตองการนอย 1

การแปลผลคะแนนระดับความตองการตองการรับสวัสดิการทางสังคมของผู พิการจากหนวยงานภาครัฐประกอบดวย ความตองการดานการศึกษา ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข ความตองการดานท่ีอยูอาศัย ความตองการดานการทํางานและการมีรายไดความตองการดานความมั่นคงทางสังคม ความตองการดานบริการสังคม และความตองการดานนันทนาการ ซึ่งการแปลผลโดยนํามาจัดระดับ 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง นอยซึ่ ง ไ ด จ า ก ก า รแบ ง ช ว งคะแนน เฉลี่ ย ดั ง นี้ ( สํ า เ ริ งจันทรสุวรรณ และสุวรรณ บัวทวน. 2547)

สรุปผล1. ขอมูลท่ัวไปจากการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศ

หญิงจํานวน 82 คน คิดเปนรอยละ 56.9 เพศชาย 62 คนคิดเปนรอยละ 43.1 อายุระหวาง 20- 29 ป จํานวน 68 คนคิดเปนรอยละ47.2 ขึ้นทะเบียนประเภทพิการทางกาย/

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”56

Page 4: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

องคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา ซึ่งมีอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายในการสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชี วิต เด็ ก สต รี คนชรา ผู พิ การและผูดอยโอกาส ตามตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้ นตอนการกระจายอํ านาจ ให แก อ งค กรปกครอ งสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพ่ือประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ผูศึกษาในฐานะเปนผู รับผิดชอบเกี่ยวกับงานจัดสวัสดิการชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา จึงไดตระหนักและเล็งเห็นความสําคัญของความตองการดานการจัดสวัสดิการสังคมของผู พิการ จึงไดทําการศึกษาปญหาและหาแนวทางการพัฒนาด านสวัสดิการสังคมของผูพิการในเขตตําบลขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกนตอไป

วตัถุประสงค1. เพ่ือศึกษาความตองการในการรับสวัสดิการสังคม

ของผู พิการในเขตตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพลจังหวัดขอนแกน

2. เพ่ือหาแนวทางพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมใหแก ผูพิการ ขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน

วิธีการดําเนินงานวิจัยก า ร วิ จั ย นี้ เ ป น ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง ป ริ ม า ณ โ ด ย ใ ช

แบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการวิจัยเพ่ือสํารวจความปญหา คิดเห็นและความตองการในการจัดสวัสดิการและนํามากําหนดเปนแนวทางในการจัดสวัสดิการทางสังคมใหแกผูพิการ

1. ประชากรและกลุมตวัอยาง1.1 ประชากรท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ผูพิการ

ทุกประเภทท่ีอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา จํานวน 13 หมูบาน จํานวน 144 คน

1.2 กลุมตัวอยาง ใชวิธีเลือกแบบเจาะจง โดยเลือกเฉพาะผูท่ีขึ้นทะเบียนผูพิการกับองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบาเทานั้น

2. เคร่ืองมือท่ีใชในการวจิัยเคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาแนวทางการพัฒนาดาน

สวัสดิการสังคมผูพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพล จังหวัดขอนแกน เปนแบบสอบถามท่ีผูวิจัยสรางขึ้น โดยรวบรวมจากการศึกษางานวิจัยท่ีเก่ียวของ แลวนํามาปรับปรุงใหเหมาะสมและสอดคลองกับงานวิจัย โดยแบงรายละเอียดของแบบสอบถามออกเปน 5 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

สวนท่ี 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสวัสดิการท่ีไดรับอยูในปจจุบันจากหนวยงานภาครัฐและหนวยงานอื่น ๆ มีระดับการวัดเปนนามสเกล (Nominal Scale) วัดเปน การไดรับความชวยเหลือ ใหคะแนน 1 สวน ไมไดรับความชวยเหลือ ใหคะแนน 0

สวนท่ี 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความตองการรับสวัสดิการทางสังคมของผูพิการจากหนวยงานภาครัฐ ประกอบดวย ความตองการดานการศึกษา ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข ความตองการดานท่ีอยูอาศัย ความตองการดานการทํางานและการมีรายได ความตองการดานความมั่นคงทางสังคม ความตองการดานบริการสังคม และความตองการดานนันทนาการ ตัวลักษณะแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scales) มีคําตอบใหเลือกตอบ 3ระดับ (3, 2, 1) มีระดับการวัดเปนชวงสเกล (IntervalScale)

สวนท่ี 4 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการไดรับหรือเคยไดรับสวัสดิการจากภาครัฐหรือหนวยงานอื่นวาเพียงพอหรือไม

สวนท่ี 5 ขอเสนอแนะอื่น ๆ เปนแบบสอบถามสามารถเพ่ิมเติมขอเสนอแนะในดานความตองการและสิ่งท่ีองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพลจังหวัดขอนแกน ควรไดรับการพัฒนา สนับสนุน ปรับปรุง

เพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาการพัฒนางานดานสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการตอไป

3. การเก็บรวบรวมขอมลูหลังจากท่ีผูศึกษาไดศึกษากรอบแนวความคิด

ทฤษฎีและผลงานท่ีเกี่ยวของเพ่ือนํามาเปนแนวทางในการสรางเคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาตามกรอบแนวคิดในการวิจัยโดยผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้อยางเปนขั้นตอน ดังนี้

3.1 นําหนังสือขออนุญาตจากวิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน ถึงกลุมเปาหมายเพ่ือขอความอนุเคราะหขอมูลในการสอบถาม

3.2 ลง พ้ืน ท่ีดวยตนเองเ พ่ือดํ า เนินการสอบถามกับกลุมเปาหมาย ท้ัง 13 หมูบาน จํานวน 144 คน

3.3 ตรวจสอบความสมบูรณของคําตอบในแบบสอบถาม

3.4 จัดหมวดหมูของขอมูล ท่ีไดจากการสอบถามและวิเคราะหผลการศึกษา

4. การวิเคราะหขอมูลหลังจากเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม และ

ผานการตรวจสอบความถูกตองเรียบรอยแลว จึงนําขอมูลท่ีไดมาทําการวิเคราะหดวยขอมูลจากผลการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis Method) ซึ่งเปนการนําขอมูลท่ีไดจากการสอบถามมาสังเคราะหและแยกเปนประเด็นตามเนื้อหา โดยสถิติท่ีใชในการศึกษา คือ คารอยละ(Percentage) โดยผูศึกษานําแบบสอบถามท่ีไดคนืมา นํามาตรวจสอบความสมบูรณเพ่ือดําเนินการจัดทําขอมูลและวิเคราะหขอมูล ดังตอไปนี้

4.1 ตรวจสอบขอมูล (Editing) ผูวิจัยทําการตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามท่ีไดรับกลับคืนมาโดยพิจารณาเลือกเฉพาะฉบับท่ีมีความสมบูรณท่ีสุด

4.2 ท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามและความตอ งการในการ รับส วัสดิ การสั งคมของผู พิ การตามแบบสอบถาม วิ เค ราะห โ ดย ใ ช ส ถิ ติ เ ชิ งพรรณนา(Descriptive Statistics) เพ่ือบรรยายลักษณะของกลุมตัวอยางท่ีศึกษา โดยใชคาสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังนี้

กรณีขอมูลเปนขอมูลแจงนับใชสถิติ การแจกแจงความถี่(Frequency) และรอยละ (Percentage) กรณีขอมูลตอเนื่องและมีการแจกแจงแบบปกติจะใชคาเฉลี่ย (Mean)และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และกรณีขอมูลแจกแจงไมปกติจะใช คามัธยฐาน (Median)และคาต่ําสุด (Minimum) กับคาสูงสุด (Maximum)

5. สถติิท่ีใชในการวจิัยนําขอมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะหดวย

โปรแกรม SPSS for Windows โดยวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ไดแก คารอยละ(Percentage) เพ่ือศึกษาความตองการในการรับสวัสดิการสังคมของผูพิการและศึกษาหาแนวทางพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมใหแกผูพิการ ขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบา อําเภอพลจังหวัดขอนแกน

โดยมีเกณฑในการใหคะแนน (Likert. 1967) ดังนี้ความหมาย การใหคะแนน

ระดับความตองการมาก 3ระดับความตองการปานกลาง 2ระดับความตองการนอย 1

การแปลผลคะแนนระดับความตองการตองการรับสวัสดิการทางสังคมของผู พิการจากหนวยงานภาครัฐประกอบดวย ความตองการดานการศึกษา ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข ความตองการดานท่ีอยูอาศัย ความตองการดานการทํางานและการมีรายไดความตองการดานความมั่นคงทางสังคม ความตองการดานบริการสังคม และความตองการดานนันทนาการ ซึ่งการแปลผลโดยนํามาจัดระดับ 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง นอยซึ่ ง ไ ด จ า ก ก า รแบ ง ช ว งคะแนน เฉลี่ ย ดั ง นี้ ( สํ า เ ริ งจันทรสุวรรณ และสุวรรณ บัวทวน. 2547)

สรุปผล1. ขอมูลท่ัวไปจากการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศ

หญิงจํานวน 82 คน คิดเปนรอยละ 56.9 เพศชาย 62 คนคิดเปนรอยละ 43.1 อายุระหวาง 20- 29 ป จํานวน 68 คนคิดเปนรอยละ47.2 ขึ้นทะเบียนประเภทพิการทางกาย/

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”57

Page 5: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

การเคลื่อนไหว จํานวน 78 คน คิดเปนรอยละ 54.2สถานภาพ โสด จํานวน 68 คน คิดเปนรอยละ47.2ระยะเวลาการขึ้นทะเบียนรับสวัสดิการผูพิการ เกิน 5 ปจํานวน 104 คน คิดเปนรอยละ 72.2 การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย จํ านวน 55 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 38 . 2อาชีพรับจาง จํานวน 79 คน คิดเปนรอยละ 54.86 รายไดเฉลี่ยตอเดือนของผูพิการระหวาง 2,001 – 3,990 บาทจํานวน 66 คน คิดเปนรอยละ 45.8

2. สวัสดิการท่ีไดรับอยูในปจจุบันจากการศึกษา พบวา สวัสดิการท่ีผูพิการ

ทุกประเภทไดรับมากท่ีสุด คือ ไดรับเบี้ยยังชีพผูพิการจํานวน 144 คน คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ ไดรับบริการตามระบบสาธารณสุขจาก รพ.สต./โรงพยาบาลชุมชน/โรงพยาบาลของจังหวัด จํานวน 35 คิดเปนรอยละ24.3 และ ไดรับแจกเคร่ืองอุปโภค บริโภคเปนคร้ังคราวจํานวน 31 คน คิดเปนรอยละ 21.5 ในสวนของสวัสดิการท่ีผูพิการยังไมไดรับจากหนวยงานภาครัฐและหนวยงานอื่น ๆนอยท่ีสุด คือ ไมไดรับทุนการศึกษา (ของตัวทานเองหรือบุตร) จํานวน 141 คน คิดเปนรอยละ 97.9 รองลงมา คือไมไดรับเบี้ยยังชีพผูพิการ จํานวน 139 คน คิดเปนรอยละ96.5 และไมไดรับเงินสงเคราะหหรือเงินชวยเหลือกรณีฉุกเฉิน จํานวน 136 คน คิดเปนรอยละ 94.4

3. ระดับความตองการรับสวัสดิการทางสังคมของผูพิการจากหนวยงานภาครัฐ

เมื่อพิจารณาระดับความตองการรับสวัสดิการทางสังคมของกลุมตัวอยางพบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความตองการรับสวัสดิการทางสังคมอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.23 (S.D. = 0.45) เมื่อพิจารณารายดาน พบวามีความตองการสวัสดิการดานบริการสังคมมีคาเฉลี่ยสูงสุดอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 2.46 (S.D. = 0.50) รองลงมาคือความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย2.31 (S.D. = 0.50) สวนดานท่ีมีคาเฉลี่ยนอยสุดโดยมีความตองการอยู ในระดับปานกลาง คือ ความตองการดานนันทนาการคาเฉลี่ย 2.04 (S.D. = 0.20) รองลงมาคือ ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข มีความตองการ

อยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15 (S.D. = 0.43) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

3.1 ความตองการดานการศึกษากลุมตัวอยางมีความตองการดานการศึกษาอยู

ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.16 (S.D.= 0.44) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับปานกลางคือ การจัดศูนยการเรียนรูชุมชนสําหรับผูพิการ คาเฉลี่ย2.16 (S.D.= 0.47) และ การเปดโอกาสใหผูพิการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นในการประชุม อยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.16 (S.D.= 0.45) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การไดรับความรูดานสุขภาพสิทธิตาง ๆ และสวัสดิการท่ีรัฐใหการสนับสนุน คาเฉลี่ย2.15 (S.D.= 0.42) และ การจัดศูนยถายทอดวัฒนธรรมทองถิ่นประจําตําบล อยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15(S.D.= 0.45)

3.2 ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข

กลุมตัวอยางมีความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุขอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.15(S.D.=0.43) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การใหบริการตรวจสุขภาพประจําปสําหรับผูพิการ คาเฉลี่ย 2.17 (S.D.=0.46) และการใหคําแนะนําการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมแกผูพิการอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.17 (S.D.=0.42) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยู ในระดับปานกลาง คือ การจัดบริการรถรับสงผูปวยกรณีฉุกเฉิน คาเฉลี่ย 2 .13(S.D.=0.42) และการจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ อยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15 (S.D.=0.42)

3.3 ความตองการดานท่ีอยูอาศัยกลุมตัวอยางมีความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยู

ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.31 (S.D.=0.50) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือการจัดบริการซอมแซมบานพักผู พิการ คาเฉลี่ย 2.78(S.D.=0.45) รองลงมา คือ การจัดบริการบานพักกรณีฉุกเฉินสําหรับผูพิการอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.24(S.D.=0.47) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับ

ปานกลาง คือ การจัดบริการครอบครัวอุปการะสําหรับผูพิการท่ีอยูคนเดียวไร ท่ี พ่ึงคาเฉลี่ย 2.15 (S.D.=0.42)รองลงมา คือ การจัดกิจกรรมพัฒนาท่ีอยูอาศัยแก ผูพิการโดยชุมชนมีสวนรวมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15(S.D.=0.42)

3.4 ความตองการดานการทํางานและการมีรายได

กลุมตัวอยางมีความตองการดานการทํางานและการมีรายไดอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.24(S.D.=0.45) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือ การสนับสนุนงบประมาณประกอบอาชีพสําหรับผูพิการ หรือผูดูแล คาเฉลี่ย 2.44 (S.D.=0.51)รองลงมา คือ การฝกอบรมฝมือแรงงานอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.21 (S.D.=0.42) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การศึกษาดูงานดานอาชีพท้ังในและตางจังหวัด คาเฉลี่ย 2.17 (S.D.=0.42)รองลงมา คือ การจัดใหมีสถานท่ีจําหนายผลิตภัณฑ จากผูพิการอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.19 (S.D.=0.41)

3.5 ความตองการดานความมั่นคงทางสังคม

กลุมตัวอยางมีความตองการดานความมั่นคงทางสังคมอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.24 (S.D.=0.45)เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับปานกลาง คือการบริการศาสนกิจ และฌาปนกิจใหผูพิการท่ีไมมีญาติ คาเฉลี่ย 2.26 (S.D.=0.45) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การบริการดานกฎหมาย เพ่ือปองกันรักษาความปลอดภัย สิทธิ และสวัสดิการ คาเฉลี่ย 2.20 (S.D.=0.42) และการอํานวยความสะดวก และความ ปลอดภัยแกผูพิการในอาคาร สถานท่ียานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่น คาเฉลี่ย 2.20(S.D.=0.42)

3.6 ความตองการดานบริการสังคมตัวอยางมีความตองการดานบริการสังคมอยูใน

ระดับมาก คาเฉลี่ย 2.46 (S.D.=0.50) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือ การจัดเบี้ยผูพิการเพ่ิมขึ้น คาเฉลี่ย 2.94 (S.D.=0.24) และ การจัด

เคร่ืองอุปโภคบริโภค อยูในระดับมากเชนเดียวกัน คาเฉลี่ย2.94 (S.D.=0.20) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การใหคําปรึกษาและแนวทางแกปญหาการดําเนินชีวิต คาเฉลี่ย 2.20 (S.D.=0.40) รองลงมา คือการสนับสนุนอาสาสมัครบริการดูแลผูพิการท่ีบานอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.21 (S.D.=0.41) ดังรายละเอียดในตารางท่ี 9

3.7 ความตองการดานนันทนาการกลุมตัวอยางมีความตองการดานนันทนาการ

อยู ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.04 (S.D.=0.20) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือ การสนับสนุนกิจกรรมวันสําคัญทางศาสนาคาเฉลี่ย 2.06 (S.D.=0.24) รองลงมา คือการสนับสนุนกิจกรรมวันผูพิการอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.05(S.D.=0.22) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การสนับสนุนกิจกรรมการละเลนพ้ืนบานคาเฉลี่ย 2.03 (S.D.=0.16) และการสนับสนุนกิจกรรมรองเพลง และเตนรําอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.03(S.D.=0.16)

4. ระดับความเพียงพอของสวัสดิการจากภาครัฐหรือหนวยงานอื่นท่ีสนับสนุนกลุมผู พิการทุกประเภท

เมื่อพิจารณาความเพียงพอของสวัสดิการจากภาครัฐหรือหนวยงานอื่นท่ีสนับสนุน พบวา กลุมตัวอยางท้ังหมด คิดเปนรอยละ 100 เห็นวา การไดรับหรือเคยไดรับสวัสดิการจากองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบาสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน กรมประชาสงเคราะหสํานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูพิการแหงชาติ และหนวยงานภาครัฐหรือองคกรอื่น ๆ ไมเพียงพอ

อภิปรายผลจากการศึกษาพบว าระดับความตองการรับ

สวัสดิการทางสังคมของกลุมตัวอยางพบวาในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความตองการรับสวัสดิการทางสังคมอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.23 (S.D. = 0.45) สอดคลองกับ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”58

Page 6: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

การเคลื่อนไหว จํานวน 78 คน คิดเปนรอยละ 54.2สถานภาพ โสด จํานวน 68 คน คิดเปนรอยละ47.2ระยะเวลาการขึ้นทะเบียนรับสวัสดิการผูพิการ เกิน 5 ปจํานวน 104 คน คิดเปนรอยละ 72.2 การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย จํ านวน 55 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 38 . 2อาชีพรับจาง จํานวน 79 คน คิดเปนรอยละ 54.86 รายไดเฉลี่ยตอเดือนของผูพิการระหวาง 2,001 – 3,990 บาทจํานวน 66 คน คิดเปนรอยละ 45.8

2. สวัสดิการท่ีไดรับอยูในปจจุบันจากการศึกษา พบวา สวัสดิการท่ีผูพิการ

ทุกประเภทไดรับมากท่ีสุด คือ ไดรับเบี้ยยังชีพผูพิการจํานวน 144 คน คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ ไดรับบริการตามระบบสาธารณสุขจาก รพ.สต./โรงพยาบาลชุมชน/โรงพยาบาลของจังหวัด จํานวน 35 คิดเปนรอยละ24.3 และ ไดรับแจกเคร่ืองอุปโภค บริโภคเปนคร้ังคราวจํานวน 31 คน คิดเปนรอยละ 21.5 ในสวนของสวัสดิการท่ีผูพิการยังไมไดรับจากหนวยงานภาครัฐและหนวยงานอื่น ๆนอยท่ีสุด คือ ไมไดรับทุนการศึกษา (ของตัวทานเองหรือบุตร) จํานวน 141 คน คิดเปนรอยละ 97.9 รองลงมา คือไมไดรับเบี้ยยังชีพผูพิการ จํานวน 139 คน คิดเปนรอยละ96.5 และไมไดรับเงินสงเคราะหหรือเงินชวยเหลือกรณีฉุกเฉิน จํานวน 136 คน คิดเปนรอยละ 94.4

3. ระดับความตองการรับสวัสดิการทางสังคมของผูพิการจากหนวยงานภาครัฐ

เมื่อพิจารณาระดับความตองการรับสวัสดิการทางสังคมของกลุมตัวอยางพบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความตองการรับสวัสดิการทางสังคมอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.23 (S.D. = 0.45) เมื่อพิจารณารายดาน พบวามีความตองการสวัสดิการดานบริการสังคมมีคาเฉลี่ยสูงสุดอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 2.46 (S.D. = 0.50) รองลงมาคือความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย2.31 (S.D. = 0.50) สวนดานท่ีมีคาเฉลี่ยนอยสุดโดยมีความตองการอยู ในระดับปานกลาง คือ ความตองการดานนันทนาการคาเฉลี่ย 2.04 (S.D. = 0.20) รองลงมาคือ ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข มีความตองการ

อยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15 (S.D. = 0.43) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

3.1 ความตองการดานการศึกษากลุมตัวอยางมีความตองการดานการศึกษาอยู

ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.16 (S.D.= 0.44) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับปานกลางคือ การจัดศูนยการเรียนรูชุมชนสําหรับผูพิการ คาเฉลี่ย2.16 (S.D.= 0.47) และ การเปดโอกาสใหผูพิการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นในการประชุม อยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.16 (S.D.= 0.45) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การไดรับความรูดานสุขภาพสิทธิตาง ๆ และสวัสดิการท่ีรัฐใหการสนับสนุน คาเฉลี่ย2.15 (S.D.= 0.42) และ การจัดศูนยถายทอดวัฒนธรรมทองถิ่นประจําตําบล อยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15(S.D.= 0.45)

3.2 ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข

กลุมตัวอยางมีความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุขอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.15(S.D.=0.43) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การใหบริการตรวจสุขภาพประจําปสําหรับผูพิการ คาเฉลี่ย 2.17 (S.D.=0.46) และการใหคําแนะนําการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมแกผูพิการอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.17 (S.D.=0.42) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยู ในระดับปานกลาง คือ การจัดบริการรถรับสงผูปวยกรณีฉุกเฉิน คาเฉลี่ย 2 .13(S.D.=0.42) และการจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ อยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15 (S.D.=0.42)

3.3 ความตองการดานท่ีอยูอาศัยกลุมตัวอยางมีความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยู

ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.31 (S.D.=0.50) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือการจัดบริการซอมแซมบานพักผู พิการ คาเฉลี่ย 2.78(S.D.=0.45) รองลงมา คือ การจัดบริการบานพักกรณีฉุกเฉินสําหรับผูพิการอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.24(S.D.=0.47) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับ

ปานกลาง คือ การจัดบริการครอบครัวอุปการะสําหรับผูพิการท่ีอยูคนเดียวไร ท่ี พ่ึงคาเฉลี่ย 2.15 (S.D.=0.42)รองลงมา คือ การจัดกิจกรรมพัฒนาท่ีอยูอาศัยแก ผูพิการโดยชุมชนมีสวนรวมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15(S.D.=0.42)

3.4 ความตองการดานการทํางานและการมีรายได

กลุมตัวอยางมีความตองการดานการทํางานและการมีรายไดอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.24(S.D.=0.45) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือ การสนับสนุนงบประมาณประกอบอาชีพสําหรับผูพิการ หรือผูดูแล คาเฉลี่ย 2.44 (S.D.=0.51)รองลงมา คือ การฝกอบรมฝมือแรงงานอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.21 (S.D.=0.42) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การศึกษาดูงานดานอาชีพท้ังในและตางจังหวัด คาเฉลี่ย 2.17 (S.D.=0.42)รองลงมา คือ การจัดใหมีสถานท่ีจําหนายผลิตภัณฑ จากผูพิการอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.19 (S.D.=0.41)

3.5 ความตองการดานความมั่นคงทางสังคม

กลุมตัวอยางมีความตองการดานความมั่นคงทางสังคมอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.24 (S.D.=0.45)เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับปานกลาง คือการบริการศาสนกิจ และฌาปนกิจใหผูพิการท่ีไมมีญาติ คาเฉลี่ย 2.26 (S.D.=0.45) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การบริการดานกฎหมาย เพ่ือปองกันรักษาความปลอดภัย สิทธิ และสวัสดิการ คาเฉลี่ย 2.20 (S.D.=0.42) และการอํานวยความสะดวก และความ ปลอดภัยแกผูพิการในอาคาร สถานท่ียานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่น คาเฉลี่ย 2.20(S.D.=0.42)

3.6 ความตองการดานบริการสังคมตัวอยางมีความตองการดานบริการสังคมอยูใน

ระดับมาก คาเฉลี่ย 2.46 (S.D.=0.50) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือ การจัดเบี้ยผูพิการเพ่ิมขึ้น คาเฉลี่ย 2.94 (S.D.=0.24) และ การจัด

เคร่ืองอุปโภคบริโภค อยูในระดับมากเชนเดียวกัน คาเฉลี่ย2.94 (S.D.=0.20) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การใหคําปรึกษาและแนวทางแกปญหาการดําเนินชีวิต คาเฉลี่ย 2.20 (S.D.=0.40) รองลงมา คือการสนับสนุนอาสาสมัครบริการดูแลผูพิการท่ีบานอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.21 (S.D.=0.41) ดังรายละเอียดในตารางท่ี 9

3.7 ความตองการดานนันทนาการกลุมตัวอยางมีความตองการดานนันทนาการ

อยู ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.04 (S.D.=0.20) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือ การสนับสนุนกิจกรรมวันสําคัญทางศาสนาคาเฉลี่ย 2.06 (S.D.=0.24) รองลงมา คือการสนับสนุนกิจกรรมวันผูพิการอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.05(S.D.=0.22) สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดและอยูในระดับปานกลาง คือ การสนับสนุนกิจกรรมการละเลนพ้ืนบานคาเฉลี่ย 2.03 (S.D.=0.16) และการสนับสนุนกิจกรรมรองเพลง และเตนรําอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.03(S.D.=0.16)

4. ระดับความเพียงพอของสวัสดิการจากภาครัฐหรือหนวยงานอื่นท่ีสนับสนุนกลุมผู พิการทุกประเภท

เมื่อพิจารณาความเพียงพอของสวัสดิการจากภาครัฐหรือหนวยงานอื่นท่ีสนับสนุน พบวา กลุมตัวอยางท้ังหมด คิดเปนรอยละ 100 เห็นวา การไดรับหรือเคยไดรับสวัสดิการจากองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงนางเบาสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดขอนแกน กรมประชาสงเคราะหสํานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูพิการแหงชาติ และหนวยงานภาครัฐหรือองคกรอื่น ๆ ไมเพียงพอ

อภิปรายผลจากการศึกษาพบว าระดับความตองการรับ

สวัสดิการทางสังคมของกลุมตัวอยางพบวาในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความตองการรับสวัสดิการทางสังคมอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.23 (S.D. = 0.45) สอดคลองกับ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”59

Page 7: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

การศึกษาของ ขนิษฐา ทองเรือง, วิทยา เจริญศิริ และสัญญา เคณาภูมิ (2558) ท่ีศึกษาความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม พบวา ระดับความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม โดยรวมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 3.14เชนเดียวกันกับการศึกษาของเอื้องทิพย ไตรบํารุง (2550)ศึกษาความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวา ความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมาโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวาความตองการสวัสดิการสังคมดานการแพทยและดานสังคมอยูในระดับมากส วนด านความต อ งการส วัสดิ ก ารสั งคมดานการศึกษาและดานอาชีพพบวาอยูในระดับปานกลางเชนเดียวกับการศึกษาของ สุเนตร สุวรรณละออง (2558)ศึกษาความรับผิดชอบตอสังคมของภาคธุรกิจในการพัฒนาศักยภาพผูพิการ จากการศึกษาพบวา พบวากลุมตัวอยางมีความตองการ 4 ประการ คือ การยอมรับและความเขาใจโอกาส ความมั่นคงและปลอดภัยในการดํารงชีวิตและการไดรับบริการพ้ืนฐานจากภาครัฐท่ีมีคุณภาพ สิ่งท่ีผูพิการตองการมากท่ีสุด คือ การยอมรับและความเขาใจจากสังคมไมใชความสงสาร ท้ังน้ีอาจเปนเพราะการยอมรับและความเขาใจเปนแรงขับภายในใจ

เมื่อพิจารณารายดาน พบวา มีความตองการสวัสดิการดานบริการสังคมมีคาเฉลี่ยสูงสุดอยูในระดับมากคาเฉลี่ย 2.46 (S.D. = 0.50) รองลงมาคือ ความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.31 (S.D. =0.50) สวนดานท่ีมีคาเฉลี่ยนอยสุดโดยมีความตองการอยูในระดับปานกลาง คือ ความตองการดานนันทนาการคาเฉลี่ย2.04 (S.D. = 0.20) รองลงมาคือ ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข มีความตองการอยู ในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15 (S.D. = 0.43) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. ดานการศึกษากลุมตัวอยางมีความตองการดานการศึกษาอยู

ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.16 (S.D.= 0.44) สอดคลองกับการศึกษาของเอื้องทิพย ไตรบํารุง (2550) ศึกษาความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ท่ีพบวา ความตองการสวัสดิการสังคมดานการศึกษาอยูในระดับปานกลาง

2. ดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุขกลุมตัวอยางมีความตองการดานสุขภาพอนามัย

และสาธารณสุขอยู ในระดับ ปานกลางคาเฉลี่ย 2.15(S.D.=0.43) สอดคลองกับการศึกษาของแพรว เอี่ยมนอย(2550) ท่ีศึกษาการสนับสนุนทางสังคมของผูพิการทางรางกายในจังหวัดนครปฐม ผลการศึกษาพบวา การสนับสนุนดานการแพทยอยูในระดับปานกลาง เชนเดียวกับการศึกษาของระพีพรรณ ฉลองสุข (2558) ศึกษาสิทธิประโยชนดานการดูแลสุขภาพของคนพิการผลการศึกษาพบวา สิทธ์ิในดานการดูแลสุขภาพของคนพิการอาจจะมีการกําหนดไวในกฎหมายอยางครบถวนสมบูรณเพียงใดก็คงไมกอใหเกิดประโยชนตอคนพิการ หากในทางปฏิบัติ ผู ท่ีเกี่ ยวของไมคํ านึ งถึ งอุปสรรคของการเข าถึ งบริการโดยเฉพาะทรัพยากรท่ีใชในการดําเนินงาน อาทิ จํานวนบุคลากรท่ีผานการฝกอบรมในการใหบริการคนพิการจํานวนของสถานบริการ งบประมาณในการใหบริการ ระบบการขนสงท่ีเอื้อตอคนพิการ เพราะการเขาไมถึงบริการก็ทําใหเกิดการริดรอนสิทธ์ิของคนพิการเชนกัน นอกจากนี้ในการใหบริการดานสุขภาพการใหบริการสุขภาพแกคนพิการจําเปนตองคํานึงถึงเคร่ืองมือ/อุปกรณทางการแพทยท่ีจะนํามาใชตองมีความเหมาะสม กับสภาวะทางรางกายท่ีแตกตางจากคนท่ัวไปดวย

3. ดานท่ีอยูอาศัยกลุมตัวอยางมีความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยูใน

ระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.31 (S.D.=0.50) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือการจัดบริการซอมแซมบานพักผู พิการ คาเฉลี่ย 2.78(S.D.=0.45) ซึ่งมีความสอดคลองกับงานวิจัยของ ณฤทัยเกตุหอม (2555) ศึกษาความตองการไดรับสวัสดิการสังคม

ของคนพิการในเขตอําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี ผลการวิจัยพบวา คนพิการมีความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยูในระดับมาก เชนเดียวกับการศึกษาของ อนัญญา เจียนรัมย (2557)ศึกษาความตองการไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลสนามชัย อําเภอบางไทรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา คนพิการมีความตองการได รั บกา ร พัฒ นาคุณภาพชี วิ ต ด า น ท่ี อยู อ าศั ยแล ะสภาพแวดลอมอยูในระดับมาก

4. ดานการทํางานและการมีรายไดกลุมตัวอยางมีความตองการดานการทํางานและ

การมี ร าย ได อยู ใ นระดับปานกลาง ค า เฉลี่ ย 2 .2 4(S.D.=0.45) สอดคลองกับการศึกษาของอนัญญา เจียนรัมย(2557) ศึกษาความตองการไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลสนามชัยอําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา มีความตองการไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดานอาชีพและรายไดอยูในระดับปานกลาง เชนเดียวกับการศึกษาของขนิษฐาทองเรือง, วิทยา เจริญศิริ และสัญญา เคณาภูมิ (2558)ศึกษาความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม พบวา ระดับความคาดหวังในการจัดสวัสดิการสิทธิไดรับการฟนฟูสมรรถภาพดานอาชีพอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย = 3.00 เชนเดียวกันกับการศึกษาของเอื้องทิพย ไตรบํารุง (2550) ศึกษาความตองการสวัสดิการสังคมขอ งคน พิการ ใน เขต เทศบาลนครราชสี ม า จั งห วั ดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวา ความตองการสวัสดิการสังคมดานอาชีพพบวาอยูในระดับปานกลาง เชนเดียวกับการศึกษาของยศพล เหลืองโสมนภา, สาคร พรอมเพราะและ สุกัญญา ขันวิเศษ (2554) ศึกษาคุณภาพชีวิต ปญหาและความตองการของผูพิการในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบลทาชาง จังหวัดจันทบุรี ผลการศึกษาพบวา สิ่งท่ีผูพิการทางการมองเห็น ทางกายและการเคลื่อนไหวตองการสนับสนุนมากท่ีสุดไดแก การจัดหาอาชีพ ท้ังนี้ สามารถอธิบายไดวา ผูพิการสวนใหญยังไมมีอาชีพ และมีงานทําท่ีมั่นคง ผูพิการจึงประสงคจะประกอบ

อาชีพเพ่ือเลี้ยงตนเองและครอบครัวเหมือนเชนคนปกติเทาท่ีจะสามารถทําได

5. ดานความมั่นคงทางสังคมกลุมตัวอยางมีความตองการดานความมั่นคงทาง

สังคมอยู ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.24 (S.D.=0.45)สอดคลองกับการศึกษาของขนิษฐา ทองเรือง, วิทยา เจริญศิริ และสัญญา เคณาภูมิ (2558) ศึกษาความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม พบวา ระดับความคาดหวังในการจัดสวัสดิการดานสิทธิในการไดรับการยอมรับและมีสวนรวมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย =2.68

6. ดานบริการสังคมกลุมตัวอยางมีความตองการดานบริการสังคมอยู

ในระดับมาก คาเฉลี่ย 2.46 (S.D.=0.50) สอดคลองกับการศึกษาของขนิษฐา ทองเรือง, วิทยา เจริญศิริ และสัญญาเคณาภูมิ (2558) ศึกษาความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชยั อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม พบวา ระดับความคาดหวังในการจัดสวัสดิการดานสิทธิในการไดรับการชวยเหลือใหเขาถึงนโยบายสาธารณะอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย =3.68เชนเดียวกันกับการศึกษาของเอื้องทิพย ไตรบํารุง (2550)ศึกษาความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวาความตองการสวัสดิการสังคมดานสังคมอยูในระดับมาก

7. ดานนันทนาการกลุมตัวอยางมีความตองการดานนันทนาการอยูใน

ระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.04 (S.D.=0.20) ซึ่งตางจากการศึกษาของ วณัฐพงศ เบญจพงศ, อุษากร พันธุวานิช,มยุรี ศุภวิบูลย และสุวิมล ตั้งสัจพจน (2557) ศึกษาการบริการนันทนาการบําบัดในชุมชนสาหรับคนพิการทางรางกายและการเคลื่อนไหว พบวา คนพิการทางรางกายและการเคลื่อนไหวมีระดับความตองการกิจกรรมนันทนาการทางกายอยูระหวางมากถึงมากท่ีสุด คาเฉลี่ย = 3.44 –4.54 กิจกรรมนันทนาการดานจิตใจคนพิการมีระดับความตองการระหวางปานกลางถึงมาก คาเฉลี่ย = 2.96 – 4.12กิจกรรมนันทนาการดานสังคมคนพิการมีความตองการอยู

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”60

Page 8: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

การศึกษาของ ขนิษฐา ทองเรือง, วิทยา เจริญศิริ และสัญญา เคณาภูมิ (2558) ท่ีศึกษาความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม พบวา ระดับความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม โดยรวมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 3.14เชนเดียวกันกับการศึกษาของเอื้องทิพย ไตรบํารุง (2550)ศึกษาความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวา ความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมาโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวาความตองการสวัสดิการสังคมดานการแพทยและดานสังคมอยูในระดับมากส วนด านความต อ งการส วัสดิ ก ารสั งคมดานการศึกษาและดานอาชีพพบวาอยูในระดับปานกลางเชนเดียวกับการศึกษาของ สุเนตร สุวรรณละออง (2558)ศึกษาความรับผิดชอบตอสังคมของภาคธุรกิจในการพัฒนาศักยภาพผูพิการ จากการศึกษาพบวา พบวากลุมตัวอยางมีความตองการ 4 ประการ คือ การยอมรับและความเขาใจโอกาส ความมั่นคงและปลอดภัยในการดํารงชีวิตและการไดรับบริการพ้ืนฐานจากภาครัฐท่ีมีคุณภาพ สิ่งท่ีผูพิการตองการมากท่ีสุด คือ การยอมรับและความเขาใจจากสังคมไมใชความสงสาร ท้ังนี้อาจเปนเพราะการยอมรับและความเขาใจเปนแรงขับภายในใจ

เมื่อพิจารณารายดาน พบวา มีความตองการสวัสดิการดานบริการสังคมมีคาเฉลี่ยสูงสุดอยูในระดับมากคาเฉลี่ย 2.46 (S.D. = 0.50) รองลงมาคือ ความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.31 (S.D. =0.50) สวนดานท่ีมีคาเฉลี่ยนอยสุดโดยมีความตองการอยูในระดับปานกลาง คือ ความตองการดานนันทนาการคาเฉลี่ย2.04 (S.D. = 0.20) รองลงมาคือ ความตองการดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุข มีความตองการอยู ในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 2.15 (S.D. = 0.43) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. ดานการศึกษากลุมตัวอยางมีความตองการดานการศึกษาอยู

ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.16 (S.D.= 0.44) สอดคลองกับการศึกษาของเอื้องทิพย ไตรบํารุง (2550) ศึกษาความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ท่ีพบวา ความตองการสวัสดิการสังคมดานการศึกษาอยูในระดับปานกลาง

2. ดานสุขภาพอนามัยและสาธารณสุขกลุมตัวอยางมีความตองการดานสุขภาพอนามัย

และสาธารณสุขอยู ในระดับ ปานกลางคาเฉลี่ย 2.15(S.D.=0.43) สอดคลองกับการศึกษาของแพรว เอี่ยมนอย(2550) ท่ีศึกษาการสนับสนุนทางสังคมของผูพิการทางรางกายในจังหวัดนครปฐม ผลการศึกษาพบวา การสนับสนุนดานการแพทยอยูในระดับปานกลาง เชนเดียวกับการศึกษาของระพีพรรณ ฉลองสุข (2558) ศึกษาสิทธิประโยชนดานการดูแลสุขภาพของคนพิการผลการศึกษาพบวา สิทธ์ิในดานการดูแลสุขภาพของคนพิการอาจจะมีการกําหนดไวในกฎหมายอยางครบถวนสมบูรณเพียงใดก็คงไมกอใหเกิดประโยชนตอคนพิการ หากในทางปฏิบัติ ผู ท่ีเกี่ ยวของไมคํ านึ งถึ งอุปสรรคของการเข าถึ งบริการโดยเฉพาะทรัพยากรท่ีใชในการดําเนินงาน อาทิ จํานวนบุคลากรท่ีผานการฝกอบรมในการใหบริการคนพิการจํานวนของสถานบริการ งบประมาณในการใหบริการ ระบบการขนสงท่ีเอื้อตอคนพิการ เพราะการเขาไมถึงบริการก็ทําใหเกิดการริดรอนสิทธ์ิของคนพิการเชนกัน นอกจากนี้ในการใหบริการดานสุขภาพการใหบริการสุขภาพแกคนพิการจําเปนตองคํานึงถึงเคร่ืองมือ/อุปกรณทางการแพทยท่ีจะนํามาใชตองมีความเหมาะสม กับสภาวะทางรางกายท่ีแตกตางจากคนท่ัวไปดวย

3. ดานท่ีอยูอาศัยกลุมตัวอยางมีความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยูใน

ระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.31 (S.D.=0.50) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยูในระดับมาก คือการจัดบริการซอมแซมบานพักผู พิการ คาเฉลี่ย 2.78(S.D.=0.45) ซึ่งมีความสอดคลองกับงานวิจัยของ ณฤทัยเกตุหอม (2555) ศึกษาความตองการไดรับสวัสดิการสังคม

ของคนพิการในเขตอําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี ผลการวิจัยพบวา คนพิการมีความตองการดานท่ีอยูอาศัยอยูในระดับมาก เชนเดียวกับการศึกษาของ อนัญญา เจียนรัมย (2557)ศึกษาความตองการไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลสนามชัย อําเภอบางไทรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา คนพิการมีความตองการได รั บกา ร พัฒ นาคุณภาพชี วิ ต ด า น ท่ี อยู อ าศั ยแล ะสภาพแวดลอมอยูในระดับมาก

4. ดานการทํางานและการมีรายไดกลุมตัวอยางมีความตองการดานการทํางานและ

การมี ร าย ได อยู ใ นระดับปานกลาง ค า เฉลี่ ย 2 .2 4(S.D.=0.45) สอดคลองกับการศึกษาของอนัญญา เจียนรัมย(2557) ศึกษาความตองการไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลสนามชัยอําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา มีความตองการไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดานอาชีพและรายไดอยูในระดับปานกลาง เชนเดียวกับการศึกษาของขนิษฐาทองเรือง, วิทยา เจริญศิริ และสัญญา เคณาภูมิ (2558)ศึกษาความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม พบวา ระดับความคาดหวังในการจัดสวัสดิการสิทธิไดรับการฟนฟูสมรรถภาพดานอาชีพอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย = 3.00 เชนเดียวกันกับการศึกษาของเอื้องทิพย ไตรบํารุง (2550) ศึกษาความตองการสวัสดิการสังคมขอ งคน พิการ ใน เขต เทศบาลนครราชสี ม า จั งห วั ดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวา ความตองการสวัสดิการสังคมดานอาชีพพบวาอยูในระดับปานกลาง เชนเดียวกับการศึกษาของยศพล เหลืองโสมนภา, สาคร พรอมเพราะและ สุกัญญา ขันวิเศษ (2554) ศึกษาคุณภาพชีวิต ปญหาและความตองการของผูพิการในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบลทาชาง จังหวัดจันทบุรี ผลการศึกษาพบวา สิ่งท่ีผูพิการทางการมองเห็น ทางกายและการเคลื่อนไหวตองการสนับสนุนมากท่ีสุดไดแก การจัดหาอาชีพ ท้ังนี้ สามารถอธิบายไดวา ผูพิการสวนใหญยังไมมีอาชีพ และมีงานทําท่ีมั่นคง ผูพิการจึงประสงคจะประกอบ

อาชีพเพ่ือเลี้ยงตนเองและครอบครัวเหมือนเชนคนปกติเทาท่ีจะสามารถทําได

5. ดานความมั่นคงทางสังคมกลุมตัวอยางมีความตองการดานความมั่นคงทาง

สังคมอยู ในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.24 (S.D.=0.45)สอดคลองกับการศึกษาของขนิษฐา ทองเรือง, วิทยา เจริญศิริ และสัญญา เคณาภูมิ (2558) ศึกษาความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม พบวา ระดับความคาดหวังในการจัดสวัสดิการดานสิทธิในการไดรับการยอมรับและมีสวนรวมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย =2.68

6. ดานบริการสังคมกลุมตัวอยางมีความตองการดานบริการสังคมอยู

ในระดับมาก คาเฉลี่ย 2.46 (S.D.=0.50) สอดคลองกับการศึกษาของขนิษฐา ทองเรือง, วิทยา เจริญศิริ และสัญญาเคณาภูมิ (2558) ศึกษาความคาดหวังในการจัดสวัสดิการของคนพิการในเขตองคการบริหารสวนตําบลมหาชยั อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม พบวา ระดับความคาดหวังในการจัดสวัสดิการดานสิทธิในการไดรับการชวยเหลือใหเขาถึงนโยบายสาธารณะอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย =3.68เชนเดียวกันกับการศึกษาของเอื้องทิพย ไตรบํารุง (2550)ศึกษาความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวาความตองการสวัสดิการสังคมดานสังคมอยูในระดับมาก

7. ดานนันทนาการกลุมตัวอยางมีความตองการดานนันทนาการอยูใน

ระดับปานกลางคาเฉลี่ย 2.04 (S.D.=0.20) ซึ่งตางจากการศึกษาของ วณัฐพงศ เบญจพงศ, อุษากร พันธุวานิช,มยุรี ศุภวิบูลย และสุวิมล ตั้งสัจพจน (2557) ศึกษาการบริการนันทนาการบําบัดในชุมชนสาหรับคนพิการทางรางกายและการเคลื่อนไหว พบวา คนพิการทางรางกายและการเคลื่อนไหวมีระดับความตองการกิจกรรมนันทนาการทางกายอยูระหวางมากถึงมากท่ีสุด คาเฉลี่ย = 3.44 –4.54 กิจกรรมนันทนาการดานจิตใจคนพิการมีระดับความตองการระหวางปานกลางถึงมาก คาเฉลี่ย = 2.96 – 4.12กิจกรรมนันทนาการดานสังคมคนพิการมีความตองการอยู

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”61

Page 9: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

ในระดับมาก คาเฉลี่ย = 3.70 – 4.06 และกิจกรรมนันทนาการดานสิ่งแวดลอมคนพิการมีระดับความตองการระหวางปานกลางถึงมาก คาเฉลี่ย = 3.34 – 4.14 และยังพบวาการศึกษาของยศพล เหลืองโสมนภา, สาคร พรอมเพราะ และ สุกัญญา ขันวิเศษ (2554) ศึกษาคุณภาพชีวิตปญหา และความตองการของผูพิการในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบลทาชาง จังหวัดจันทบุ รีผลการศึกษาพบวา การเขารวมกิจกรรมของชุมชนเปนกิจกรรมท่ีทําใหผูพิการไดพบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอื่นท้ังท่ีพิการและไมพิการ การท่ีจะเขารวมกิจกรรมของชุมชนไดนั้นยอมจะตองมีสภาพความพรอมของรางกายและมีอุปกรณท่ีเอื้อตอการเคลื่อนไหวไดระดับหนึ่งผลจากการเขารวมกิจกรรมของชุมชน จะทําใหผูพิการเกิดการรับรูความรูสึกภาคภูมิใจในตนเองท่ียังคงสามารถมีความสัมพันธของตนกับบุคคลอื่นและมีอิสรภาพจึงทําใหการเขารวมกิจกรรมเปนตัวแปรท่ีสามารถทํานายคุณภาพชีวิตของผูพิการได

ดังนั้นการยอมรับและความเขาใจจากสังคม จึงทําใหผูพิการมีความกลาท่ีจะออกมาเผชิญกับโลกแหงความเปนจริงและมีความมุงมั่นในการตอสูกับปญหาอุปสรรคตาง ๆสวนในเร่ืองโอกาส พบวา ผูพิการตองการโอกาส 4 ประการคือ 1) โอกาสทางการศึกษา 2) โอกาสการเมือง 3) โอกาสเศรษฐกิจ และ 4) โอกาสทางสังคม ความมั่นคงและปลอดภัยในการดํารงชี วิต ซึ่งแบงเปน 4 ประเด็น คือ1) สิ่งจําเปนขั้นพ้ืนฐาน 2) ความรักและไดรับการยอมรับจากสังคม 3) ความตองการสมหวังในชีวิตหรือการประสบความสําเร็จสูงสุด และ 4) การไดรับบริการพ้ืนฐานจากภาครัฐท่ีมีคุณภาพ จากการศึกษาพบวาความตองการตาง ๆเหลานี้ของผูพิการเปนสิ่งสําคัญในการดําเนินชีวิต เพราะเปรียบเสมือนใบเบิกทางในการวางรากฐานชีวิตท่ีมั่นคงและแข็งแรงใหกับคนพิการแตอยางไรก็ตามยังคงพบวา สภาพปจจุบันความตองการเหลานี้ของผูพิการยังคงไดรับการตอบสนองไมเต็มท่ีนัก โดยเฉพาะอยางยิ่งเร่ืองโอกาสทางเศรษฐกิจหรือการมีงานทํา

แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผูพิการ

แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผูพิการท่ีรับเบี้ยยังชีพ ควรจะเปนรูปแบบการดูแลของชุมชนและครอบครัวเปนฐาน ซึ่งมีความจําเปนและสําคัญในการจัดบริการสวัสดิการระยะยาวสําหรับการดูแลผูพิการในอนาคตยังคงตองเปนหนาท่ีหลักของครอบครัว โดยเฉพาะการดูแลสวนบุคคลซึ่งควรประกอบดวยปจจัยตาง ๆ ท่ีสัมพันธกันหลากหลายปจจัยในลักษณะเครือขายการดูแลและในสวนของระบบบริการในชุมชนโดยมีขอมูลเปนฐานเปนสิ่ ง ท่ี ช วย ให การดู แลผู พิการมีความสามารถ ใชชีวิตประจําวันไดอยางสมบูรณยิ่งขึ้น ภายใตการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในชุมชนซึ่งรวมถึงตัวผูพิการเองดวย อันจะทําใหบริการสวัสดิการสังคมสําหรับผูพิการมีความสอดคลองกับความตองการของผูพิการ สงผลใหผูพิการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีตอไป การจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการควรมีแนวทางดังนี้ 1) กลไกในการดําเนินงานสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการมีความสําคัญอยางยิ่งในการขับเคลื่อนงานดานผูพิการ โดยตองกําหนดหนาท่ีใหกับผูพิการควรเปนตัวหลักในดําเนินงานภายใตคณะทํางานในระดับตาง ๆ 2) ใชมาตรการทางกฎหมายมาบังคับใชหนวยงานของรัฐควรมอบหมายใหมีการจัดบริการในดานตาง ๆ ตามท่ีระบุไวในกฎหมายใหครบทุกดานของการจัดสวัสดิการสังคม 3) การสงเสริมและการสนับสนุน ควรมีงบประมาณท่ีตอเนื่องในแตละประเภทของการบริการและครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีซึ่งบุคลากรท่ีเกี่ยวของควรมีความรูความเขาใจในความตองการตามความจําเปนของแตละบุคคล และ 4) การรับรูขอมูลขาวสาร ควรมีการสื่อสารความรูเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมโดยการลงพ้ืนท่ีในระดับอําเภอ โดยเปนการใหความรูครอบคลุมผูพิการ ญาติและผูดูแลและผูท่ีเกี่ยวของ

ขอเสนอแนะ1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช

1.1 ควรสงเคราะหและจัดสวัสดิการดานอาชีพแกคนพิการและผูดูแล และควรจัดหาตลาดรองรับ

1.2 จัดส วัสดิการเบี้ ยคนพิการทันเวลาพรอมท้ังจัดตั้งกองทุนเพ่ือการศึกษาสําหรับคนพิการ

1.3 ควรสรางทีมสหสาขาวิชาชีพท่ี เปนเครือขายของ อบต. เพ่ือดูแลคนพิการท่ีมีตองการความชวยเหลืออยางเรงดวน เชน การปรับสภาพแวดลอมท่ีอยูอาศัย

1.4 พัฒนาระบบจัดหาผูชวยเหลือคนพิการใหมีมาตรฐาน และจัดใหมีการอบรมหลักสูตรของผูชวยเหลือผูพิการในระดับตําบล

1.5 สนับสนุนการจัดตั้งชมรมคนพิการเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูและถายทอดประสบการณรวมกัน

1.6 ควรจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู และเวทีแสดงผลงานของคนพิการในแตละหมูบาน อยางนอยปละ 1คร้ัง

2. ขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัยคร้ังตอไป2.1 การศึกษาประสิทธิผลของการสนับสนุน

ดานงบประมาณจากภาครัฐสําหรับผูพิการ2.2 การศึกษานวัตกรรมท่ีสามารถชวย

สนับสนุน เอื้ออํานวยความสะดวกใหแกผูพิการ ใหสามารถดํารงชีวิตประจําวันและสามารถพ่ึงพาตนเองได

รายการอางอิง

ชินชยั ชี้เจริญ. (2551). การพัฒนาระบบสวสัดิการสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาต.ิ

ณรงค เพ็ชรประเสริฐ. (2546). รายงานวิจัยฉบับสัมบูรณ บทสังเคราะหภาพรวมการพัฒนาระบบสวสัดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษา

พิมพา ขจรธรรม. (2546). โครงการวิจัย การสังเคราะหองคความรูดานการประกอบอาชีพของคนพิการ. กรุงเทพฯ :สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั.

แพรว เอี่ยมนอย. (2550). การสนับสนุนทางสังคมของผูพิการทางรางกายในจังหวดันครปฐม. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (งานบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุนันท โพธ์ิทอง. (2543). วาระแหงนโยบายสวัสดิการสังคมไทยในสหัสวรรษใหม ทิศทางใหมสําหรับแรงงานและสวสัดกิารสังคม. วิทยานิพนธ ส.ม. (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม). กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร.สําเริง จันทสุวรรณ และสุวรรณ บัวทวน. (2547). ระเบียบวิจัยทางสังคมศาสตร. ขอนแกน : ภาควิชาสังคมวิทยาและ

มานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลยัขอนแกน.วราภรณ ศรีปาน. (2546). ความพรอมในการจดัสวสัดกิารคนพิการองคการบริหารสวนตําบล

ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ ส.ม. (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

อาภาวดี พรหมจอม. (2547). บทบาทองคการบริหารสวนตําบลกับงานสงเสริมคุณภาพชวีิต เดก็ สตรี ผูสูงอายุ และผูดอยโอกาส ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอเมืองนครพนม. วิทยานิพนธ ส.ม. (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”62

Page 10: Guidelines for Improving Social Welfare for the Disabled ... · PDF fileพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ

ในระดับมาก คาเฉลี่ย = 3.70 – 4.06 และกิจกรรมนันทนาการดานสิ่งแวดลอมคนพิการมีระดับความตองการระหวางปานกลางถึงมาก คาเฉลี่ย = 3.34 – 4.14 และยังพบวาการศึกษาของยศพล เหลืองโสมนภา, สาคร พรอมเพราะ และ สุกัญญา ขันวิเศษ (2554) ศึกษาคุณภาพชีวิตปญหา และความตองการของผูพิการในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบลทาชาง จังหวัดจันทบุ รีผลการศึกษาพบวา การเขารวมกิจกรรมของชุมชนเปนกิจกรรมท่ีทําใหผูพิการไดพบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอื่นท้ังท่ีพิการและไมพิการ การท่ีจะเขารวมกิจกรรมของชุมชนไดนั้นยอมจะตองมีสภาพความพรอมของรางกายและมีอุปกรณท่ีเอื้อตอการเคลื่อนไหวไดระดับหนึ่งผลจากการเขารวมกิจกรรมของชุมชน จะทําใหผูพิการเกิดการรับรูความรูสึกภาคภูมิใจในตนเองท่ียังคงสามารถมีความสัมพันธของตนกับบุคคลอื่นและมีอิสรภาพจึงทําใหการเขารวมกิจกรรมเปนตัวแปรท่ีสามารถทํานายคุณภาพชีวิตของผูพิการได

ดังนั้นการยอมรับและความเขาใจจากสังคม จึงทําใหผูพิการมีความกลาท่ีจะออกมาเผชิญกับโลกแหงความเปนจริงและมีความมุงมั่นในการตอสูกับปญหาอุปสรรคตาง ๆสวนในเร่ืองโอกาส พบวา ผูพิการตองการโอกาส 4 ประการคือ 1) โอกาสทางการศึกษา 2) โอกาสการเมือง 3) โอกาสเศรษฐกิจ และ 4) โอกาสทางสังคม ความมั่นคงและปลอดภัยในการดํารงชี วิต ซึ่งแบงเปน 4 ประเด็น คือ1) สิ่งจําเปนขั้นพ้ืนฐาน 2) ความรักและไดรับการยอมรับจากสังคม 3) ความตองการสมหวังในชีวิตหรือการประสบความสําเร็จสูงสุด และ 4) การไดรับบริการพ้ืนฐานจากภาครัฐท่ีมีคุณภาพ จากการศึกษาพบวาความตองการตาง ๆเหลานี้ของผูพิการเปนสิ่งสําคัญในการดําเนินชีวิต เพราะเปรียบเสมือนใบเบิกทางในการวางรากฐานชีวิตท่ีมั่นคงและแข็งแรงใหกับคนพิการแตอยางไรก็ตามยังคงพบวา สภาพปจจุบันความตองการเหลานี้ของผูพิการยังคงไดรับการตอบสนองไมเต็มท่ีนัก โดยเฉพาะอยางยิ่งเร่ืองโอกาสทางเศรษฐกิจหรือการมีงานทํา

แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผูพิการ

แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผูพิการท่ีรับเบี้ยยังชีพ ควรจะเปนรูปแบบการดูแลของชุมชนและครอบครัวเปนฐาน ซึ่งมีความจําเปนและสําคัญในการจัดบริการสวัสดิการระยะยาวสําหรับการดูแลผูพิการในอนาคตยังคงตองเปนหนาท่ีหลักของครอบครัว โดยเฉพาะการดูแลสวนบุคคลซึ่งควรประกอบดวยปจจัยตาง ๆ ท่ีสัมพันธกันหลากหลายปจจัยในลักษณะเครือขายการดูแลและในสวนของระบบบริการในชุมชนโดยมีขอมูลเปนฐานเปนสิ่ ง ท่ี ช วย ให การดู แลผู พิการมีความสามารถ ใชชีวิตประจําวันไดอยางสมบูรณยิ่งขึ้น ภายใตการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในชุมชนซึ่งรวมถึงตัวผูพิการเองดวย อันจะทําใหบริการสวัสดิการสังคมสําหรับผูพิการมีความสอดคลองกับความตองการของผูพิการ สงผลใหผูพิการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีตอไป การจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการควรมีแนวทางดังนี้ 1) กลไกในการดําเนินงานสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการมีความสําคัญอยางยิ่งในการขับเคลื่อนงานดานผูพิการ โดยตองกําหนดหนาท่ีใหกับผูพิการควรเปนตัวหลักในดําเนินงานภายใตคณะทํางานในระดับตาง ๆ 2) ใชมาตรการทางกฎหมายมาบังคับใชหนวยงานของรัฐควรมอบหมายใหมีการจัดบริการในดานตาง ๆ ตามท่ีระบุไวในกฎหมายใหครบทุกดานของการจัดสวัสดิการสังคม 3) การสงเสริมและการสนับสนุน ควรมีงบประมาณท่ีตอเนื่องในแตละประเภทของการบริการและครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีซึ่งบุคลากรท่ีเก่ียวของควรมีความรูความเขาใจในความตองการตามความจําเปนของแตละบุคคล และ 4) การรับรูขอมูลขาวสาร ควรมีการสื่อสารความรูเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมโดยการลงพ้ืนท่ีในระดับอําเภอ โดยเปนการใหความรูครอบคลุมผูพิการ ญาติและผูดูแลและผูท่ีเกี่ยวของ

ขอเสนอแนะ1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช

1.1 ควรสงเคราะหและจัดสวัสดิการดานอาชีพแกคนพิการและผูดูแล และควรจัดหาตลาดรองรับ

1.2 จัดส วัสดิการเบี้ ยคนพิการทันเวลาพรอมท้ังจัดตั้งกองทุนเพ่ือการศึกษาสําหรับคนพิการ

1.3 ควรสรางทีมสหสาขาวิชาชีพท่ี เปนเครือขายของ อบต. เพ่ือดูแลคนพิการท่ีมีตองการความชวยเหลืออยางเรงดวน เชน การปรับสภาพแวดลอมท่ีอยูอาศัย

1.4 พัฒนาระบบจัดหาผูชวยเหลือคนพิการใหมีมาตรฐาน และจัดใหมีการอบรมหลักสูตรของผูชวยเหลือผูพิการในระดับตําบล

1.5 สนับสนุนการจัดตั้งชมรมคนพิการเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูและถายทอดประสบการณรวมกัน

1.6 ควรจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู และเวทีแสดงผลงานของคนพิการในแตละหมูบาน อยางนอยปละ 1คร้ัง

2. ขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัยคร้ังตอไป2.1 การศึกษาประสิทธิผลของการสนับสนุน

ดานงบประมาณจากภาครัฐสําหรับผูพิการ2.2 การศึกษานวัตกรรมท่ีสามารถชวย

สนับสนุน เอื้ออํานวยความสะดวกใหแกผูพิการ ใหสามารถดํารงชีวิตประจําวันและสามารถพ่ึงพาตนเองได

รายการอางอิง

ชินชยั ชี้เจริญ. (2551). การพัฒนาระบบสวสัดิการสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาต.ิ

ณรงค เพ็ชรประเสริฐ. (2546). รายงานวิจัยฉบับสัมบูรณ บทสังเคราะหภาพรวมการพัฒนาระบบสวสัดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษา

พิมพา ขจรธรรม. (2546). โครงการวิจัย การสังเคราะหองคความรูดานการประกอบอาชีพของคนพิการ. กรุงเทพฯ :สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั.

แพรว เอี่ยมนอย. (2550). การสนับสนุนทางสังคมของผูพิการทางรางกายในจังหวดันครปฐม. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (งานบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุนันท โพธ์ิทอง. (2543). วาระแหงนโยบายสวัสดิการสังคมไทยในสหัสวรรษใหม ทิศทางใหมสําหรับแรงงานและสวสัดกิารสังคม. วิทยานิพนธ ส.ม. (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม). กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร.สําเริง จันทสุวรรณ และสุวรรณ บัวทวน. (2547). ระเบียบวิจัยทางสังคมศาสตร. ขอนแกน : ภาควิชาสังคมวิทยาและ

มานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลยัขอนแกน.วราภรณ ศรีปาน. (2546). ความพรอมในการจดัสวสัดกิารคนพิการองคการบริหารสวนตําบล

ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวดัสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ ส.ม. (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

อาภาวดี พรหมจอม. (2547). บทบาทองคการบริหารสวนตําบลกับงานสงเสริมคุณภาพชวีิต เดก็ สตรี ผูสูงอายุ และผูดอยโอกาส ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอเมืองนครพนม. วิทยานิพนธ ส.ม. (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”63