investinginequity 8aug10

48
พื้นฐานการลงทุนในหุ1 พื้นฐานการลงทุนในหุพื้นฐานการลงทุนในหุ2 2. นํารอง 1. ลงทุนในหุนไมวุนอยางที่คิด รูจักหุนสักนิด กอนคิดเทรด 3. เทรดหุนอยางมั่นใจ ตองวิเคราะหปจจัยพื้นฐาน 4. จับจังหวะลงทุนอยางมั่นใจ ตองวิเคราะหปจจัยเทคนิค 5. รอบรูเรื่องสิทธิและหนาที่ของผูลงทุน

Upload: pomoga-pommy

Post on 12-Nov-2014

1.240 views

Category:

Education


1 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

1

พื้นฐานการลงทุนในหุน

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

2

2.

นํารอง

1. ลงทุนในหุนไมวุนอยางที่คิด

รูจักหุนสักนิด กอนคิดเทรด

3. เทรดหุนอยางม่ันใจ ตองวเิคราะหปจจัยพื้นฐาน

4. จับจังหวะลงทุนอยางม่ันใจ ตองวิเคราะหปจจัยเทคนคิ

5. รอบรูเรื่องสิทธแิละหนาที่ของผูลงทุน

Page 2: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

3

ลงทนุในหุน ไมวุนอยางที่คิด

กอนเริ่มลงทุน ตองรูจักตลาดจะเริ่มลงทุนในหุนตองทําอยางไร ใครชวยบอกทีซ้ือขายใหถูกกฎ ตองรูจักเครื่องหมาย

1.

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

4

การระดมทุนโดยตรงภายในกิจการ

ตลาดการเงนิ

สถาบนัการเงิน

กอนเริ่มลงทนุ ตองรูจักตลาด

ผูมีเงินทุนสวนเกิน ผูขาดแคลนเงินทุน

Page 3: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

5

ตลาดเงิน (Money Market) เปนแหลงระดมเงินทุนระยะส้ัน (ไมเกิน 1 ป)

ตลาดทุน (Capital Market) เปนแหลงระดมเงินทุนระยะยาว (มากกวา 1 ป ขึ้นไป) สําหรับหนวยงานซ่ึงตองการเงินทุนระยะยาวนําไปใชในวัตถุประสงคตางๆ เชน การขยายธุรกิจของผูประกอบกิจการเอกชน หรือ การลงทุนดานสาธารณูปโภคของภาครัฐบาล เปนตน

รูจักตลาดการเงิน

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

6

ตลาดแรก คือ ตลาดท่ีซ้ือขายหลักทรัพยท่ีออกใหม (Initial Public Offering) ซ่ึงถือเปนการซ้ือขายหลักทรัพยท่ีบริษัทผูออกหลักทรัพยไดรับเงินทุนจากผูซ้ือหลักทรัพยใหม เพื่อใชในการลงทุน

รูจักตลาดแรกและตลาดรอง

บริษทัผูออกหลักทรพัย ผูมีเงินออม

Page 4: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

7

ตลาดรอง คือตลาดท่ีซ้ือขายหลักทรัพยมือสองท่ีมีการซ้ือขายครั้งแรกในตลาดแรกแลว

การซ้ือขายในตลาดรองเปนเพียงการเปลี่ยนมือระหวางผูถือหลักทรัพย

รูจักตลาดแรกและตลาดรอง (ตอ)

SET

ขายหลักทรัพย

ไดรับเงิน

ซื้อหลักทรัพย

ชําระเงินนายมีหุน น.ส. มีเงิน

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

8

มีสถานะเปนนิตบุิคคลจัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. ตลาดหลักทรพัยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2517เปดดาํเนนิงานวนัที่ 30 เมษายน 2518ปจจบัุนอยูภายใต พ.ร.บ. หลักทรพัยและตลาดหลักทรพัย พ.ศ. 2535

สถานภาพทางกฎหมายสถานภาพทางกฎหมาย

รูจักตลาดหลกัทรัพยแหงประเทศไทย

Page 5: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

9

1. สินคา หลักทรัพยจดทะเบยีน

2. ผูซื้อขาย ผูลงทุน

3. นายหนาผูซื้อขาย บริษัทหลักทรัพย

องคประกอบของตลาดหลกัทรัพยฯ

SET

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

10

เปนดัชนีราคาหุนท่ีคํานวณถัวเฉล่ียราคาหุนสามัญแบบถวงนํ้าหนักดวยจาํนวนหุนจดทะเบียนใชสาํหรับเปรียบเทียบตลาดหุนเม่ือวานกับวันน้ี โดยจะเทียบกับ ดัชนีราคาหุนตลาดหลักทรัพยฯ ในวันเปดซื้อขายวันแรก คือ วันท่ี 30 เมษายน 2518 เทากับ 100 จุด

ดัชนี SET Index

SET Index = มูลคาตลาดรวมของวันน้ัน * 100 มูลคาตลาดรวมของวันฐาน

Page 6: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

11

0

200

400

600

800

1000

1200

1400

1600

1800

25

18

25

19

25

20

25

21

25

22

25

23

25

24

25

25

25

26

25

27

25

28

25

29

25

30

25

31

25

32

25

33

25

34

25

35

25

36

25

37

25

38

25

39

25

40

25

41

25

42

25

43

25

44

25

45

25

46

25

47

25

48

25

49

25

50

ดชันี

Black Monday(ต.ค. 2530)

Mini BlackMonday(ต.ค. 2532)

สงครามอาวเปอรเซีย(ส.ค. 2533)

คณะ รสช. ปฏิวัติ(ก.พ. 2534)

เหตุการณจลาจลข้ันรุนแรงจากการประทวงพฤษภาทมิฬ(พ.ค. 2535)

การเก็งกําไรจากการเพิ่มข้ึนของราคาอสังหาริมทรัพย (2532)

วิกฤติคาเงนิเปโซของเม็กซิโก (ม.ค. 2538)แบร่ิง ซิเคียวริต้ีสในสิงคโปรขาดทุนจาก การคาตราสารอนพุันธ (ก.พ. 2538)

คลัง-ธปท. ประกาศคาเงินบาทลอยตัว(ก.ค. 2540)

การปดสถาบันการเงิน(ธ.ค. 2540)

การไดรับความชวยเหลือจาก IMF (ส.ค. 2540)

วิกฤติสถาบันการเงินในเอเชีย (2540)

มาตรการฟนฟูสถาบันการเงิน(14 ส.ค. 2542)

มาตรการกระตุนการใชจายภาคเอกชน (ส.ค. 2542)

การเลือกต้ังรัฐบาลใหม(ม.ค. 2544)การลดน้ําหนกัการลงทุนของMSCI (พ.ค. 2544)

มาตรการกระตุนเศรษฐกิจ(มี.ค. 2542)

การกอวินาศกรรมในสหรัฐฯ (11 ก.ย. 2544)

วิกฤตการณน้ํามันและปญหาบริษัทราชาเงินทนุ (2522) เงินตึง และอัตรา

ดอกเบ้ียสูงทั่วโลก (2524)

เกิดรัฐประหาร (เม.ย. 2524)

เกิดรัฐประหาร (ก.ย. 2528)

ยุบสภา(พ.ค. 2529)

วิกฤตเวิลดคอม(มิ.ย. 2545)สงครามสหรัฐฯกับอิรัก (ก.ค. 45-เม.ย. 46)การแพรระบาดของโรค SARS(มี.ค. 46)การฟนตัวของเศรษฐกิจประเทศ (ม.ค.-ธ.ค. 46)

การแพรระบาดของโรคไขหวัดนก(ม.ค.-ก.พ. 47)ความไมสงบใน พืน้ที ่3 จังหวัดชายแดนภาคใต(ก.พ.- เม.ย. 47)การตอตานการแปรรูป กฟผ.

(ก.พ. - มี.ค. 47)แนวโนมราคาน้าํมันและอัตราดอกเบ้ีย

เพิ่มข้ึน(พ.ค. – ก.ค. 47)

ความเคล่ือนไหวดัชนีตลาดหลักทรัพยฯ ป พ.ศ. 2518 - 2550ดชันตี่ําสดุในป 2519 ที่ระดับ 76.43 จดุเม่ือวันที่ 17 มี.ค. 2519ดชันีสูงสดุในป 2537 ที่ระดับ 1,753.73 จุดเม่ือวันที่ 4 ม.ค. 2537

Source : The Stock Exchange of Thailand

เกิดรัฐประหาร(ก.ย. 2549)

มาตรการกันสํารอง 30%

(ธ.ค. 2549)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

12

ขั้นตอนการลงทุนในหุนสามัญกําหนด

วัตถุประสงค และระยะเวลาการลงทุน

1

ประเมินมูลคาท่ีแทจริง

3หาจังหวะการลงทุน

4ตัดสินใจซ้ือขาย5

ติดตามผลการลงทุน

6

จะเร่ิมลงทุนในหุนตองทําอยางไร ใครชวยบอกที..??

วิเคราะหปจจัยพ้ืนฐาน2

วิเคราะหเศรษฐกิจ วิเคราะหอุตสาหกรรม วิเคราะหบริษัท

เพื่อกําหนดกลยุทธการลงทุน

และสัดสวนเงินลงทุน

เพื่อประเมินสถานการณ และผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีตออุตสาหกรรม

เพื่อเลือกบริษัทที่ตองการลงทุน

Page 7: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

13

เตรียมความพรอมกอนการลงทุน

วัตถุประสงคในการลงทนุ เงินลงทนุ

ความเสีย่งและผลตอบแทน

ภาระทีต่องรับผิดชอบ

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

14

ชองทางการลงทนุ ผานเจาหนาท่ีการตลาด

ผานระบบอินเทอรเน็ต

คาคอมมิชชัน่ 0.18 - 1%

คาคอมมิชชัน่ 0.11 - 1%

* คาคอมมชิช่ันยังไมรวม VAT 7%** เร่ิมใชคา Commission แบบข้ันบันได ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. 53 เปนตนไป

อัตราท่ีตกลงกัน แตไมเกินกวารอยละ 1X > 20 ลาน> 0.11-1> 0.15-1> 0.18-110 ลาน < X < 20 ลาน> 0.13-1> 0.18-1> 0.22-15 ลาน < X < 10 ลาน> 0.15-1> 0.20-1> 0.25-1X < 5 ลาน

Cash Balance/Credit BalanceCash Account

อัตราคา Commissionผานอินเตอรเน็ต* (%)

อัตราคา Commissionผานเจาหนาที่การตลาด* (%)

มูลคาการซื้อขายตอวัน (บาท)

Page 8: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

15

เปนการซื้อขายหลักทรัพยผานเจาหนาที่การตลาดของบริษัทหลักทรัพย เจาหนาที่การตลาดสามารถรับคําสั่งซื้อขาย รวมทั้งการยืนยันคําสั่งซื้อขายวาซื้อหรือขายไดหรือไม ผานทางโทรศัพทหรือที่หองคาก็ได

การลงทนุผานเจาหนาที่การตลาด

บริษัทหลักทรัพย คือ บริษทัท่ีไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพยประเภทการเปนนายหนาซ้ือขายหลักทรัพยหรือคาหลักทรัพย

เจาหนาท่ีการตลาด คือ เจาหนาท่ีของบริษัทหลักทรัพยท่ีทําหนาท่ีติดตอชักชวนรับคําสัง่ซื้อขายหรือใหคําแนะนําเก่ียวกับการลงทุนแกลูกคา

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

16

ประเภทของบัญชีซื้อขายหลักทรัพยบัญชีเงินสด (Cash Account)

โบรกเกอรจะกําหนดวงเงินซ้ือขายใหคุณ ตามความนาเช่ือถอืทางการเงิน ซ้ือขายหุนไดไมเกินวงเงินน้ัน ชําระเงินคาซ้ือขายหุนโดยตัดบัญชีธนาคาร (ระบบ ATS-Automatic Transfer System)

บัญชีแคชบาลานซ(Cash Balance/Pre-paid/ Cash Deposit)

ฝากเงินไวกับโบรกเกอรจํานวนหน่ึงกอนไดวงเงินซ้ือขายหุนเทากับจํานวนเงินฝากเงินฝากจะไดรับดอกเบี้ย**ถาตองการซ้ือแตวงเงินไมพอ กส็ามารถโอนเงนิเพิม่

** อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก จะข้ึนอยูกับแตละ Broker โดยคํานวณตามวันที่เงินอยูในบัญชี

ขอดี วางเงินประกันเพียง 15% ของวงเงินอนุมัติ ทําใหไมจําเปนตองนําเงินลงทุนทั้งหมดไปฝากไวกับ Broker กอนการลงทุน

ขอควรระวัง อาจซ้ือหุนมากเกินกวาเงินลงทุนที่มีอยู

ขอดี ปองกันการซ้ือหุนมากเกินความสามารถในการชําระเงิน

ขอควรระวัง ไมไดรับประโยชนจากการเพ่ิมอํานาจซ้ือของเงินที่มีอยู

Page 9: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

17

บัญชเีงินใหกูยืมเพื่อซ้ือหลักทรัพย หรือ บัญชีมารจ้ิน(Margin Account)

เปนบัญชีที่ผูลงทนุจายชําระคาซ้ือหลักทรัพยสวนหน่ึง และกูยืมเงินจากโบรกเกอรอีกสวนหน่ึง โดยมีหลักทรัพยที่ซ้ือวางเปนหลักประกัน และมีขอตกลงวา ผูลงทนุจะตองจาย

ดอกเบ้ียสําหรับเงินในสวนที่กูยืมดวย ปจจัยทีกํ่าหนดหลักทรัพยและอัตรามารจ้ิน โดยคํานึงถึงสภาพคลอง ความผันผวน

ของราคา ความเส่ียงของแตละหลักทรัพย

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

18

สวนที่ 1 เมนูหลัก และขอมูลภาพรวมตลาดหลักทรัพย

สวนที่ 2 ขอมูลที่แสดงตามการเลือกจากเมนูหลัก

สวนที่ 3 การสงคําสั่งซ้ือขาย และแสดงรายละเอียดคําสั่งพรอมสถานะ

โปรแกรมการซื้อขายหุนทางอินเทอรเน็ต ประกอบดวยหนาจอหลัก 3 สวน ดังนี้การลงทุนผานอินเตอรเน็ต

Page 10: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

19

เลือกซื้อหลักทรัพย

1. วธิวีเิคราะหปจจัยพืน้ฐาน • วิเคราะหเศรษฐกิจโดยรวม• วิเคราะหอุตสาหกรรม• วิเคราะหบริษัท• ประเมินมูลคาหลักทรัพย

2. วธิวีเิคราะหปจจัยทางเทคนิค• เพื่อหาจังหวะในการซื้อหรือขาย

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

20

สั่งซือ้สั่งขาย งายนิดเดียว

1. วนั - เวลาทาํการซ้ือขายหลักทรพัย2. กระบวนการซ้ือขายและสงมอบหลักทรพัย 3. การจบัคูคาํสั่งซ้ือขายผานระบบคอมพวิเตอร 4. การจดัเรียงลําดับคาํสัง่ตามหลัก Price Then Time Priority5. ชวงราคาและ Ceiling & Floor 6. ประเภทคาํสั่งซ้ือขาย

Page 11: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

21

วัน - เวลาทําการซื้อขายหลักทรัพย

Off-hour Trading and

MarketRunoffPeriod

Call Market

Afternoon Trading Session

Pre -Opening II

IntermissionTrading Session IPre -Opening I

9.30 T1 12.30 14.00 T3T2 17.0016.30

T1 เปนเวลาท่ีไดรบัการสุมเพ่ือเลือกหาเวลาเปดในชวง 9.55 – 10.00 น.

T2 เปนเวลาท่ีไดรบัการสุมเพ่ือเลือกหาเวลาเปดในชวง 14.25 – 14.30 น.

T3 เปนเวลาท่ีไดรบัการสุมเพ่ือเลือกหาเวลาปดในชวง 16.35 – 16.40 น.

วันทําการ : วันจันทร – ศุกร (ยกเวนวันหยุดทําการของธนาคารพาณิชย)เวลาทําการ : 9.30 – 17.00 น.

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

22

กระบวนการซื้อขายและสงมอบหลักทรัพย

ระบบการซ้ือขาย (ARMS)

ผูขายโบรกเกอร

สั่งขาย

ผูซ้ือ โบรกเกอร

สั่งซื้อ

ยืนยัน ยืนยัน

ยืนยัน ยืนยัน

ชําระราคาและสงมอบหุน

Page 12: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

23

การจับคูคาํส่ังซื้อขายผานระบบคอมพวิเตอร

Advanced Resilience Matching System

ARMS

• คําสั่งเสนอซ้ือหุนตามราคา และหรือเงื่อนไขที่กําหนด

• ราคาเสนอซื้อหุนทีแ่พงที่สดุจะอยูในลาํดับแรก

• หากราคาเสนอซื้อที่แพงที่สดุมีมากกวา 1 ราคา ราคาที่สัง่ซ้ือกอนจะไดอยู ในลําดับแรก

• คําสั่งเสนอขายหุนตามราคา และหรือเงื่อนไขที่กําหนด

• ราคาเสนอขายหุนที่ถูกที่สุดจะอยูในลําดบัแรก

• หากราคาเสนอขายท่ีถูกที่สุดมีมากกวา 1 ราคา ราคาที่สัง่ซ้ือ

กอนจะไดอยูในลําดบัแรก

คําส่ังซื้อ (Bid) คําส่ังขาย (Offer)

Automatic Order Matching (AOM)จับคูอัตโนมัติโดยใชหลักราคาและเวลาท่ีดีท่ีสุด

(Price Then Time Priority)

กอนสงคําสั่งตองรูชวงราคา Ceiling/Floorและจํานวนซ้ือขาย (ข้ันต่ํา 1 Board Lot = 100 หุน)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

24

11:041011,00011:061001,500

2,5001,000

1,500Vol

103102

101Offer

9999.5

100Bid

11:0611:05

11:03Time

11:1011:07

11:05Time

3,5001,000

1,000Vol

การจัดเรียงลําดับคาํส่ัง ตามหลัก Price Then Time Priority

Page 13: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

25

1,5001,0002,500

Vol10099.5

99

Bid101 102 103

1,0001,0003,500

OfferVol

5001,0002,500

Vol10099.5

99

Bid101102 103

1,5001,0003,500

OfferVol

Bid 100 บาท จาํนวน 500 หุน

Bid 101 บาท จาํนวน 1,000 หุนBid 102 บาท

จาํนวน 2,000 หุน

- ยังจับคูไมได - ถูกจัดเปน Bid ที่ 100 บาท

จับคูกับคําสั่งขายที่ 101 บาท

- จับคูกับคําสั่งขายที่ 101 และ 102 บาท - จํานวนทีเ่หลือ 500 หุน ตั้งรอเปน Bid ที่ 102 บาท

การจับคูคาํส่ัง ตามหลัก Price Then Time Priority

1,5001,0002,500

Vol10099.5

99

Bid101102 103

1,5001,0003,500

OfferVol

2,500Vol

10210099.5

99

Bid103 500

1,0001,0003,500

OfferVol

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

26

ราคาหลักทรัพยท่ีจะเสนอซื้อหรือเสนอขายขึ้นกับระดับราคาตลาดของหลักทรัพย

ชวงราคา (Price Spread)

บาท2.00ขึ้นไปบาท400ต้ังแตบาท1.00บาท400แตตํ่ากวาบาท200ต้ังแตบาท0.50บาท200แตตํ่ากวาบาท100ต้ังแตบาท0.25บาท100แตตํ่ากวาบาท25ต้ังแตบาท0.10บาท25แตตํ่ากวาบาท10ต้ังแตบาท0.05บาท10แตต่ํากวาบาท5ต้ังแตบาท0.02บาท5แตตํ่ากวาบาท2ต้ังแตบาท0.01บาท2ต่ํากวา

ชวงราคาระดับราคาตลาด

Page 14: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

27

Ceiling & Floor Price Spread

หุน PTT1,000 หุน

ราคา 244.50ราคาเคลื่อนไหวได

ไมเกิน 30% ของราคาปด (Close) ของวันทําการ

กอนหนา

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

28

** มีเฉพาะใน Internet Trading การสงคําสั่งซ้ือขายในชวงปดตลาดนั้นจะถูกนํามาใชในการคํานวณหาราคาเปดของหุนนั้น ๆ

ประเภทคําส่ังซื้อขาย

- คําสั่งซ้ือขายที่ระบุราคา- คําสั่ง ATC

ชวงกอนปดตลาด (Pre-close)

- คําสั่งซ้ือขายที่ระบุราคาชวงปดตลาด (Market Close)**

- คําสั่งซ้ือขายที่ระบุราคา.- คําสั่ง MP

ชวงซ้ือขาย (Market Open)

- คําสั่งซ้ือขายที่ระบุราคา- คําสั่ง ATO

ชวงกอนเปดตลาด (Pre-Open)

ประเภทคําสั่งซื้อขายท่ีสงไดชวงเวลา

คําส่ังซ้ือขายท่ีระบุราคาแนนอน (Limit Price Order) – คําส่ังซื้อขายหลักทรัพย ณ ราคาที่กําหนดหรือราคาที่ดีกวา (หรือตั้งซื้อ/ตั้งขาย)คําส่ังซ้ือขายแบบมีเง่ือนไขอ่ืนๆ

– At-the-open order (ATO)– At-the-close order (ATC) – Market Price (MP)– Immediate or Cancel (IOC)– Fill or Kill (FOK)– Publish Volume

FirstPriority

Page 15: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

29

กระดานหลัก (Main Board): รองรับการซ้ือขายหลักทรัพยท่ีมีปรมิาณหรือจํานวนหุนท่ีตรงตามหนวยการซ้ือขาย (Board Lot)กระดานใหญ (Big Lot Board): รองรบัการซ้ือขายหลักทรัพยตั้งแต 1 ลานหลักทรัพยขึ้นไป หรอืมมีูลคาการซ้ือขายตั้งแต 3 ลานบาทขึ้นไปกระดานตางประเทศ (Foreign Board): รองรับการซ้ือขายหลักทรัพยระหวางผูลงทุนตางประเทศดวยกัน กระดานหนวยยอย (Odd Lot Board): รองรับการซ้ือขายหลักทรัพยต่ํากวา 1 หนวยการซ้ือขาย (Board Lot)กระดานพเิศษ: รองรับการซ้ือขายพันธบัตร หุนกู หุนกูแปลงสภาพ หรอืใบสําคัญแสดงสิทธิ์ซ้ือหุนกู

ประเภทของกระดานซื้อขาย (Trading Boards)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

30

1. XD (Excluding Dividend): ผูซื้อหลักทรัพยไมไดสิทธิรับเงินปนผล2. XI (Excluding Interest): ผูซื้อหลักทรัพยไมไดสิทธิรับดอกเบ้ีย3. XR (Excluding Right): ผูซื้อหลักทรัพยไมไดสทิธิจองซื้อหุนออกใหม 4. XW (Excluding Warrants): ผูซื้อหลักทรัพยไมไดสิทธิรับใบสําคัญแสดงสทิธิท่ีจะซ้ือหลักทรัพย

5. XA (Excluding All): ผูซื้อหลักทรพัยไมไดสิทธิทุกประเภทท่ีบริษัทประกาศใหในคราวน้ัน

ซื้อขายใหถูกกฎ ตองรูจักเคร่ืองหมาย

Page 16: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

31

6. NP (Notice Pending): บรษิัทจดทะเบียนตองรายงาน และตลาดหลักทรัพยฯ อยูระหวางรอขอมูลจากบรษิทั

7. NR (Notice Received): ตลาดหลักทรพัยฯ ไดรับการช้ีแจงขอมูลจากบรษิทั จดทะเบียนท่ีขึ้นเครือ่งหมาย NP แลว และจะขึ้นเครื่องหมาย NR เปนเวลา 1 วัน

8. SP (Suspension): หามซื้อขายหลักทรพัยจดทะเบียนเปนการช่ัวคราว โดยแตละครั้งมีระยะเวลาเกินกวาหน่ึงรอบการซ้ือขาย

9. H (Halt): หามซื้อขายหลกัทรัพยจดทะเบียนเปนการช่ัวคราวโดยแตละครั้งมีระยะเวลาไมเกินกวาหน่ึงรอบการซ้ือขาย

ซื้อขายใหถูกกฎ ตองรูจักเคร่ืองหมาย (ตอ)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

32

รูจักหุนสักนิด กอนคิดเทรด

รูจักหุนสามัญเขาใจผลตอบแทนและความเส่ียงภาษีจากการลงทุนในหุนสามัญ

2.

Page 17: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

33

เปนตราสารประเภทหุนทุนออกโดยบริษัทจํากัดมหาชนท่ีตองการระดมเงินทุนผูลงทุนมีสวนรวมเปนเจาของกิจการมีสิทธิเขารวมประชุมผูถือหุนและลงคะแนนเสียงเพือ่รวมตัดสินใจในปญหาสําคัญๆ ของบริษัท

เจาของกิจการ

รูจักหุนสามัญ

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

34

กําไรจากการขายหุน

เงินปนผล / หุนปนผล

฿ ไมคงที่ ข้ึนอยูกับนโยบายของบริษัทและผลประกอบการของบริษัทในปนัน้ๆ

ซ้ือ ขาย

“ซื้อถูก ขายแพง”

สิทธิในการจองซื้อหุนใหม

หุนสามัญ

สิทธิ

เขาใจผลตอบแทนและความเสี่ยง

ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุนสามัญ

Page 18: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

35

ความเสีย่งจากการลงทุนในหุนสามัญ

หุนสามัญ

เจาของ

ความเส่ียงทางธรุกิจ

ความเส่ียงทางการเงิน

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

36

ผลกระทบที่เกิดข้ึนจาก Corporate ActionCorporate Action คือ การประกาศดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง

ของกิจการ ซึ่งจะมีผลตอมูลคาของสวนของผูถอืหุน เชน• การเปล่ียนแปลงนโยบายการดําเนินงาน• การเปล่ียนแปลงนโยบายทางการเงิน (โครงสรางเงินทุน)

ลดลง*ลดลงลดลงมูลคาตอหุนเพ่ิมข้ึนคงเดิมคงเดิมสวนของผูถือหุนมากข้ึนมากข้ึนมากข้ึนจาํนวนหุนจดทะเบียน

Right Issue

Stock DividendStock Split

Page 19: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

37

หุน กําไรจากการขายหุน

เงินปนผลหรือ เงินสวนแบงกําไร

ในตลาดหลักทรัพยฯไดรับยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

นอกตลาดหลักทรัพยฯถกูหักภาษี ณ ท่ีจายตามอตัรากาวหนาและตองนํามารวมคํานวณตอนสิน้ป

ภาษีจากการลงทุนในหุนสามัญ

ถูกหักภาษี ณ ท่ีจาย 10%โดยมีสิทธิเลือกไมนําไปรวมคํานวณภาษี

ตอนส้ินปได และถาเลือกนํามารวมคํานวณภาษีสิ้นป มีสิทธิไดรับเครดิตภาษเีงินปนผล

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

38

เงินปนผล และ/หรอื เงินสวนแบงกําไร x อัตราภาษี100 - อัตราภาษี

เครดิตภาษีเงินปนผล

อัตราภาษีเงินไดของนิตบุิคคลที่จายเงินปนผล

ภาษีจากการลงทุนในหุนสามัญ (ตอ)

Page 20: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

39

เทรดหุนอยางมั่นใจตองวิเคราะหปจจัยพ้ืนฐาน

เรียนรูวิธีวิเคราะหปจจัยพื้นฐานการประเมินมูลคาหลักทรัพย

3.

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

40

• มุงประเมินมูลคาท่ีแทจริงของหลักทรัพยในปจจบุัน เพ่ือตัดสนิใจซื้อหรือขาย– ราคาตลาดของหลักทรัพยตํ่ากวามูลคาท่ีแทจริง (Underpriced)ตัดสินใจ ซ้ือ

– ราคาตลาดของหลักทรัพยสูงกวามูลคาท่ีแทจริง (Overpriced)ตัดสินใจ ไมซ้ือหรือขาย

การวิเคราะหปจจัยพ้ืนฐาน

เรียนรูวิธีวิเคราะหปจจัยพ้ืนฐาน

Page 21: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

41

(ABC) XYZ,000,MNO,JKL,PQR และหลกัทรัพยอ่ืนๆ

หลักทรัพย ABC หลักทรัพยที่ใหอัตราผลตอบแทนสูงสดุ ณ ระดับความเสี่ยงหน่ึงกลุมหลักทรัพย

ท่ีเลือกลงทุน

องคประกอบที่ตองวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค : วัฏจักรธุรกิจ ผลติภณัฑมวลรวมประชาชาติเบ้ืองตน ผลผลิตอุตสาหกรรม อัตราดอกเบ้ียทั้งในและตางประเทศ นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายเศรษฐกิจอ่ืนๆ ฯลฯ

การวิเคราะหเศรษฐกิจ

องคประกอบที่ตองวิเคราะห : วัฏจักรธุรกิจ วงจรการขยายตัวของอุตสาหกรรม โครงสรางการแขงขันของอุตสาหกรรม ฯลฯ

การวิเคราะหอุตสาหกรรม

องคประกอบที่ตองวิเคราะห : ประเภทของบริษัท ลักษณะของบริษัทในเชิงคุณภาพ (ขนาดของบริษัท อัตราการขยายตัวในอดตี เปนตน) ลักษณะของบริษัทในเชงิประมาณ ฯลฯ

การวิเคราะหบริษัท

องคประกอบของการวเิคราะหปจจัยพื้นฐาน

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

42

คือ การวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจประเทศ โดยรวม และปจจัยท่ีตางๆ ท่ีมีผลกระทบ

ปจจัยทางเศรษฐกิจท่ีผูลงทุนควรคํานึงถึง ไดแก

นโยบายเศรษฐกิจของประเทศ

วัฎจักรธุรกิจ และขอมูลทางเศรษฐกิจ

1. การวิเคราะหเศรษฐกิจ (Economic Analysis)

Page 22: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

43

นโยบายการคลัง งบประมาณแผนดิน ประกอบดวยประมาณการรายรับและรายจายของรัฐบาล

- งบประมาณสมดุล เกินดุล ขาดดุลนโยบายการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทย เปนผูดําเนินนโยบาย ไดแก

- การเปลี่ยนแปลงเงินสํารองตามกฎหมาย- การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบ้ียซ้ือลด (Discount Rate)- การซ้ือหรือขายหลักทรัพยในตลาดพันธบัตร (Open Market Operation)

นโยบายเศรษฐกิจของประเทศ

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

44

1Expansionขยายตัว

5Revivalฟนตัว

4Depression

ตกตํ่า3

Recessionถดถอย

2Boomรุงเรือง

วัฏจักรธุรกิจ

วัฏจักรธุรกิจ และขอมูลทางเศรษฐกิจผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ(Gross Domestic Product : GDP)ผลผลิตอุตสาหกรรม(Industrial Production) รายไดสวนบุคคล (Personal Income)ดัชนีราคาผูบริโภค (Consumer Price Index)ดัชนีราคาผูผลิต (Producer Price Index) อัตราการวางงาน (Unemployment Rate)อัตราดอกเบ้ียในประเทศและอัตราดอกเบ้ียตางประเทศปริมาณการขายปลีก (Retail Sales)

Page 23: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

45

คือ การศึกษาศักยภาพในดานการเติบโตของยอดขายและการทํากําไรของอุตสาหกรรมตางๆ เพื่อคัดเลือกอุตสาหกรรมท่ีเหมาะสมนาลงทุนท่ีสุด โดยตองพิจารณาถึง

วงจรชีวิตของอุตสาหกรรม

โครงสรางการแขงขันของอุตสาหกรรม

2. การวิเคราะหอุตสาหกรรม (Industry Analysis)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

46

วงจรชีวิตของอุตสาหกรรม (Industry Life Cycle)

Page 24: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

47

เปนการจําแนกประเภทอุตสาหกรรม โดยจําแนกตามโครงสรางทางเศรษฐกิจ ซ่ึงจําแนกออกเปน 4 ประเภท

การแขงขันสมบูรณ (Pure Competitions)การแขงขันก่ึงสมบูรณ (Imperfect Competitions)ผูผลิตนอยราย (Oligopoly)การผูกขาด (Monopoly)

โครงสรางการแขงขันของอุตสาหกรรม

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

48

คือ การวิเคราะหขอมูลของบริษัทเพื่อหาบริษัท และประเภทหลักทรัพยท่ีนาสนใจลงทุน ซ่ึงจะตองวิเคราะหท้ัง

วิเคราะหเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis)

วิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)

3. การวิเคราะหบริษัท (Company Analysis)

Page 25: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

49

เปนการประเมินระดับความสามารถในการแขงขันและทํากําไรของบริษัทในดานตาง ๆ ท่ีไมเก่ียวของกับตัวเลข เชน

ขนาดของบริษัท

ลักษณะของผลิตภัณฑ

การกระจายของผลิตภัณฑ

โครงสรางเงินทุน

การวิเคราะหเชิงคุณภาพ

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

50

เปนการวิเคราะหตัวเลขตาง ๆ ในงบการเ งิน อันไดแก งบดุล งบกําไรขาดทุน ซ่ึงปกติจะใชเครื่องมือวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน และการประเมินราคาหลักทรัพยเปนหลัก

การวิเคราะหเชิงปริมาณ

Page 26: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

51

งบดุลเรียนรูวิธีการอานรายงานการเงินอยางงาย

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

52

งบกําไรขาดทุน

Page 27: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

53

งบกระแสเงินสด

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

54

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Page 28: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

55

การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน

x x

ROE

ความสามารถในการทํากําไร

กําไรสุทธิยอดขาย

ประสิทธิภาพการใชสินทรัพย ความสามารถ

ในการกอหน้ี

สินทรัพยรวมสวนของเจาของ

ยอดขายสินทรัพยรวม

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

56

1. รูสภาพคลองของบริษัท

อัตราสวนเงินทนุหมุนเวียน (Current Ratio)

อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพยหมุนเวียน

(Current Ratio) หน้ีสินหมุนเวียน

อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio)

Page 29: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

57

อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio) (ตอ)

อัตราหมุนเวียนของลูกหน้ี = ขายเช่ือสุทธิ

(Receivable Turnover) ลูกหน้ีเฉลี่ย

2. รูประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยของบริษัท

อัตราหมนุเวียนของลูกหนี ้(Receivable Turnover)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

58

อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio) (ตอ)

อัตราหมุนเวียนของสินคาคงคลัง = ตนทุนสินคาการขาย

(Inventory Turnover) สินคาคงเหลือเฉลี่ย

2. รูประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยของบริษัท

อัตราหมนุเวียนของสินคาคงคลัง (Inventory Turnover)

Page 30: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

59

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย = กําไรสุทธิ * 100

(Return on Asset) สินทรัพยท้ังหมด

3. รูความสามารถในการบริหารงาน

อัตราผลตอบแทนจากสินทรพัย (Return on Asset)

อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio) (ตอ)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

60

อัตราผลตอบแทนจากสวนของผูถือหุน = กําไรสุทธิ * 100

(Return on Equity) สวนของผูถือหุนท้ังหมด

3. รูความสามารถในการบริหารงาน

อัตราผลตอบแทนจากสวนของผูถือหุน (Return on Equity)

อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio) (ตอ)

Page 31: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

61

อัตราสวนแหงหน้ี = หน้ีสินรวม

(Debt Ratio) สินทรัพยรวม

4. รูความสามารถในการชําระหนี้

อัตราสวนแหงหนี้ (Debt Ratio)

อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio) (ตอ)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

62

อัตราสวนของแหลงเงินทุน = หน้ีสินท้ังหมด

(Debt to Equity Ratio) สวนของผูถือหุน

4. รูความสามารถในการชําระหนี้

อัตราสวนของแหลงเงินทนุ (Debt to Equity Ratio)

อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio) (ตอ)

Page 32: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

63

สรุปการวเิคราะหอัตราสวนทางการเงิน

4. รูความสามารถในการชําระหน้ีสิน

อัตราสวนแหงหนี้ ตํ่าอัตราสวนหนี้สินตอทุน ตํ่า(มีความสามารถในการชําระหนี้สินสูง)

2. รูประสิทธิในการใชสินทรัพยของบริษัท

อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ สูงอัตราหมุนเวียนของสินคาคงคลัง สูง(บริหารสินทรัพยไดดี)

3. รูความสามารถในการบริหารงาน

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย สูงอัตราผลตอบแทนจากสวนผูถือหุน สูง(มีผลประกอบการที่นาพอใจ)

1. รูสภาพคลองบริษัท

อัตราสวนเงินทุนหมนุเวียน สูง(มีสภาพคลองสูง)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

64

1. Growth Stock: ใหผลตอบแทนสูงกวาหุนอ่ืน ณ ระดับความเส่ียงท่ีเทากันมรีาคาต่ํากวามูลคาท่ีแทจริง (Under Valued)

2. Defensive Stock: ใหอตัราผลตอบแทนในระดบัท่ีไมตกต่าํตามตลาดหลักทรัพย หรอืถาตกต่ําลงก็จะไมต่ําลงเทาตลาด มคีาเบตาต่ํา

3. Cyclical Stock: มีการเปลี่ยนแปลงของอตัราผลตอบแทนมากกวาการเปล่ียนแปลงของอัตราผลตอบแทนของตลาด มคีาเบตาสูง

4. Speculative Stock: มีการเปลี่ยนแปลงของราคารวดเร็ว

ประเภทของหลักทรัพย หลังจากวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และบริษัทท่ีควรลงทุน เพ่ือ

ศึกษาถึงภาวะการลงทุนและประเภทของธุรกิจหรอือุตสาหกรรมท่ีจะเลือกลงทุนแลว ขั้นตอไปจะเปนการศึกษาถึงประเภทของหลักทรัพย โดยจําแนกไดเปน 4 ประเภท คือ

Page 33: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

65

ใชเปนเกณฑการตัดสินใจวาจะซื้อหรือขายหุนเกิดจากการเปรียบเทียบระหวางมูลคาท่ีแทจริงท่ีไดจากการประเมินกับราคาตลาด ณ ปจจุบนั

มูลคาทีแ่ทจรงิ มากกวา ราคาตลาด ณ ปจจุบัน

ซ้ือ

มูลคาทีแ่ทจรงิ นอยกวา ราคาตลาด ณ ปจจุบัน

ขาย

การประเมินมูลคาหลักทรัพย

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

66

1. การประเมินมูลคาท่ีเหมาะสม (Intrinsic Value)

แบบจาํลองเงินปนผลคิดลด (Dividend Discounted Model)

2. การประเมินมูลคาท่ีตลาดตอบรับ

ราคาตลาดตอกําไรตอหุน (P/E Ratio : PER)

ราคาตลาดตอมูลคาหุนตามบัญชี (Price to Book Value : PBV)

วิธีการประเมินมูลคาหลักทรัพย

Page 34: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

67

แบบจําลองเงินปนผลคิดลด (Dividend Discounted Model : DDM)

การประเมินมูลคาที่เหมาะสม (Intrinsic Value)

โดยท่ี P = มูลคาที่แทจริงของหุนสามัญDt = เงินปนผลในปที่ t โดย t = 1,2,3…, ∝ks = อัตราผลตอบแทนข้ันต่ําที่นักลงทุนตองการ (Required Rate of Return)

P0 = =ts

t

ss k

D

k

D

k

D

)1(...

)1()1( 22

11

+++

++

+ ∑∝

= +1 )1(tt

s

t

k

D

เปนการประเมินราคาหุนจากมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดท่ีนักลงทุนไดมีพ้ืนฐานมาจากหลักการ Discount Cash Flow วา มูลคาของสินทรพัย ณ ขณะใดๆ มคีาเทากับกระแสเงินสดท่ีจะไดรับจากการลงทุนในสินทรพัยน้ันๆ ในอนาคตท้ังหมดคิดลดมาเปนมูลคาปจจุบันดวยอัตราผลตอบแทนท่ีนักลงทุนตองการ

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

68

ราคาตลาดตอกําไรตอหุน (P/E Ratio : PER)

ราคาตลาดของหุนกําไรตอหุน (EPS)*

P/E Ratio

การประเมินมูลคาที่ตลาดตอบรับ

เปนอัตราสวนทีแ่สดงวา ราคาตลาดของหุนเปนก่ีเทาของกําไรตอหุนนักลงทนุจะเต็มใจซื้อหุนนี้ในราคาเทาใดเพ่ือแลกกับกําไรและเงินปนผลที่จะไดรับในอนาคตหุนตัวนัน้จะใชเวลาก่ีปที่ผลตอบแทนหรือกําไรที่บริษัททําไดจะรวมกันเทากับเงินทัง้หมดที่ใชซ้ือหุนไป

*กําไรตอหุน (EPS) = กําไรกอนรายการพิเศษ - เงินปนผลหุนบุริมสิทธิ จาํนวนหุนสามัญท่ีออกและเรียกชําระแลว

Page 35: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

69

เราสามารถใช P/E Ratio ประเมินมูลคาที่เหมาะสมของหุนสามัญไดโดย

มูลคาท่ีเหมาะสมของหุนสามัญ = PER * EPS

หุนที่มีคา P/E ระดับสูง แสดงวาผูลงทุนในตลาดยินดีจะจายเงินลงทุนซื้อหุนดังกลาวในราคาสูง คาดหมายวาผลกําไรของบริษัทผูออกหุนจะขยายตัวในอัตราที่สูงมีความเสี่ยงสูง

ราคาตลาดตอกําไรตอหุน (ตอ)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

70

ตัวอยาง 1 หุน ข มีกําไรตอหุน (EPS) เทากับ 3 บาท และราคาตลาดในปจจุบันเทากับ 15 บาทตอหุน

PER = 15 / 3 = 5 เทา

ถาสํารวจหุนตัวอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันพบวามี PER เทากับ 7 เทา แสดงวาราคาหุน ข ตํ่าเกินไป เพราะ หุน ข มี PER ตํ่ากวาคาเฉล่ียของอุตสาหกรรม

ดังนั้น มูลคาหุนที่เหมาะสมของหุน ข ควรมีคาเทากับ PER ของอุตสาหกรรม x EPS ซึ่งก็คือ 21 บาท (คิดจาก 7 * 3)

ราคาตลาดตอกําไรตอหุน (ตอ)

Page 36: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

71

ตัวอยาง 2 หุน ABC มีราคาปด (Price) 100 บาท และมีกําไรตอหุน (Earnings Per Share) 20 บาท เพราะฉะน้ัน PER = 100 / 20 = 5 เทา หมายความวา หุน ABC ณ เวลาท่ีคํานวณน้ี จะใชเวลาเพียง 5 ป ในการที่กําไรตอหุนจะรวมกันเทากับราคาของมัน

ในทางกลับกัน ถาหุน DEF มีราคาปด 200 บาท และมีกําไรตอหุน 20 บาท เพราะฉะน้ัน PER = 200 / 20 = 10 เทา หมายความวา หุน DEF ณ เวลาท่ีคํานวณน้ีจะใชเวลา 10 ป ในการที่กําไรตอหุนจะรวมกันเทากับราคาของมัน

เม่ือเปรียบเทียบกันแลว หุน ABC มีคุณภาพดีกวาหุน DEF

กลาวโดยสรุป คอื หุนท่ีมีคา P/E Ratio ตํ่ากวา แสดงวา มีความสามารถในการทํากําไรไดดีกวา หรือราคาหุนน้ันตํ่ากวาหุนท่ีมีคา P/E Ratio สูง เม่ือคิดจากประสิทธิภาพในการดําเนินงาน หรือผลกําไรของบริษัทท่ีออกหุนนั้น

ราคาตลาดตอกําไรตอหุน (ตอ)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

72

คือ อัตราสวนที่แสดงวาราคาซื้อขายของหุนเปนก่ีเทาของมูลคาหุนตามบัญชี

ราคาตลาดตอมูลคาหุนตามบัญชี (Price to Book Value : PBV)

ราคาตลาดของหุนมูลคาตามบัญชีตอหุน (BPS)*

PBV Ratio

*มูลคาตามบญัชีตอหุน (Book Value Per Share : BPS) คือ มูลคาของสินทรัพยตามท่ีบันทึกไวในบัญชีหักหน้ีสินและสวนของผูถือหุนบุริมสิทธ์ิ หารดวยจํานวนหุนสามัญท่ีออกและเรยีกชําระแลว

มูลคาตามบัญชีตอหุน (BPS) = สวนของผูถือหุนสามัญ (บาท)

จํานวนหุนท่ีออกและเรียกชําระแลว

Page 37: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

73

PBV บอกใหนักลงทุนทราบวาราคาหุนควรเปนกี่เทาของมูลคาตามบัญชีของหุนหรือสินทรัพยสุทธิท่ีบริษทัมีอยู ดังน้ัน จึงสามารถใช PBV ประเมินมูลคาของหุนสามัญท่ีเหมาะสมได

มูลคาท่ีเหมาะสมของหุนสามัญ = PBV * BPS

ราคาตลาดตอมูลคาหุนตามบัญชี (ตอ)

PBV ต่าํ แสดงวาการดําเนินงานของบริษัทอาจมีปญหา ความสามารถในการทํากําไรของบริษัทไมคอยดี ราคาตลาดของหุนอยูในระดับต่ําเกินไป

PBV สูง แสดงวาบริษัทมีแนวโนมการทํากําไรและมีการเติบโตท่ีด ีราคาตลาดของหุนอาจสูงเกินไป มีความเสี่ยงสูงดวย

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

74

ตัวอยาง 1 บรษิัทหน่ึงมีสวนของผูถือหุน 40 ลานบาท มีจํานวนหุนท้ังหมด 4 ลานหุน BPS = 40 / 4 = 10 บาทตอหุน

ถาบริษทัมคีา PBV เทากับ 1.2 เทา ราคาประเมินของหุนควรเทากับ…Price = PBV * BPS

= 1.2 * 10 = 12 บาท

ตัวอยาง 2 ถาหุน ค ม ีราคาตลาดเทากับ 9.85 บาท และ BPS เทากับ 4.14 บาท ดังน้ันPBV = 9.85 / 4.14 = 2.83 เทา

ในขณะนั้น PBV ของอตุสาหกรรม คอื 3 เทา ดังน้ัน มูลคาท่ีเหมาะสมของหุน ค ควรเทากับ 12.42 บาท (คดิจาก 3 * 4.14) น่ันคอื PBV ของหุน ค ต่ําไป เพราะราคาตลาดของหุน ค ต่ําเกินไป สรุป นักลงทุนควรซ้ือหุน ค

ราคาตลาดตอมูลคาหุนตามบัญชี (ตอ)

Page 38: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

75

Good Company

ประเมินมูลคาหุน

สรุปการวิเคราะหปจจัยพ้ืนฐานการวิเคราะหเศรษฐกิจ, อุตสาหกรรม, บริษัท

++ Good Stock

ซื้อหุน

แลว...ผูลงทุนควรซื้อหุนใน ชวงเวลาไหน ???

การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

76

จับจังหวะลงทุนอยางมั่นใจตองวิเคราะหปจจัยเทคนิค

นิยามและขอสมมติของการวิเคราะหหลักทรัพยทางเทคนิคทฤษฎีดาว (Dow Theory)แนวโนมและเสนแนวโนมรูปแบบของการเคล่ือนไหวของราคา

4.

Page 39: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

77

เปนการวิเคราะหพฤติกรรมของหลักทรัพย โดยการหาราคาท่ีเหมาะสมตอการซ้ือหรือสัญญาณซ้ือ (Buy Signal) และการหาราคาท่ีนาขายหรือสัญญาณขาย (Sell Signal)

โดยวิเคราะหจากราคาหลักทรัพย ปริมาณการซื้อขายและชวงจังหวะเวลา โดยมิไดหาสาเหตุหรือปจจัยท่ีทําใหราคาหลักทรัพยเปลี่ยนแปลง

นิยามและขอสมมติของการวิเคราะหหลักทรัพยทางเทคนิค

ขอสมมติฐาน1. พฤติกรรมของราคาหุนที่แสดงออกมานัน้ไดดูดซับเหตุการณทุกส่ิงทุกอยางที่เกิดข้ึนเอาไวแลว

(รวมทั้งขอมูลปจจยัพ้ืนฐานดวย)2. ราคาหุนจะยังคงเคล่ือนไหวไปตามแนวโนมเดมิจนกระทั่งแนวโนมเดิมหมดลงจริง3. รูปแบบหรือพฤติกรรมของหุนที่เกิดข้ึนในอดีตสามารถที่จะนํามาใชไดในปจจบัุนและอนาคต

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

78

1. แนวโนมใหญ/แนวโนมหลัก (Primary Trend)แนวโนมหุนระยะยาว

2. แนวโนมรอง (Secondary Trend)แนวโนมระยะกลาง

3. แนวโนมยอย (Minor Trend)แนวโนมระยะเวลาสัน้

ทฤษฎีดาว (Dow Theory)

แนวโนมรองแนวโนมรอง

แนวโนมใหญข้ึนแนวโนมใหญข้ึน แนวโนมใหญลงแนวโนมใหญลง

เวลาเวลา

ราคาหุนราคาหุนเปนการวิเคราะหแนวโนมราคาหุนซึ่งประกอบดวย 3 สวน ไดแก

Page 40: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

79

ราคาหลักทรัพยมักเคล่ือนไหวขึ้นลงจนกลายเปนแนวโนม (Trend) และแนวโนมจะไมเปล่ียนทิศทางตราบจนมีปจจัยมาสงผลใหราคาหุนเปล่ียนทิศทาง

แนวโนมและเสนแนวโนม

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

80

เสนแนวโนมข้ึน

ราคาหุนสูงสุดจะสูงกวาราคาสูงสดุคร้ังกอน หรือราคาหุนตํ่าสุดจะสูงกวาราคาหุนคร้ังกอน น่ันคือราคาหุน

เคลื่อนไหวเปนแนวลาดขึ้น

Page 41: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

81

เสนแนวโนมลดลง

ราคาหุนตํ่าสุดจะต่ํากวาราคาต่ําสดุคร้ังกอน หรือราคาหุนสูงสุดจะตํ่ากวาราคาหุนคร้ังกอน น่ันคือราคาหุน

เคลื่อนไหวเปนแนวลาดลง

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

82

เสนแนวโนมแนวราบ

ราคาหุนข้ึนลงอยูภายในชวงแคบๆ ซ่ึงการคาดการณราคาหุนทําไดยาก จนกวาจะมีปจจัยมาทําให Demand และ Supply เปลี่ยนแปลง ทําใหราคาหุนทะลุผานชวงราคาตํ่าสุดหรือสูงสุดไป

Page 42: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

83

เสนแนวรับและแนวตาน

ราคาหุนสูงถึงแนวตานจะมแีรงขายมาก ราคามีแนวโนมไมสูงไปกวาน้ี

ราคาหุนลดมาถึงแนวรับจะมแีรงซ้ือเขามารองรับ ราคามีแนวโนมไมลดตํ่าลง

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

84

รูปแบบตัววี

รูปแบบการเคลื่อนไหวของราคา

สัญญาณการกลับตัวของตลาดท่ีพิจารณายาก เกิดข้ึนไดท้ังในตลาดขาข้ึนและขาลง แนวโนมจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไป

Page 43: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

85

รูปแบบสามเหลีย่มลาดข้ึน

เปนการสะสมหุนเพื่อจะปรับตัวไปในทิศทางเดิมตอ เกิดข้ึนท้ังในตลาดขาขึ้นและขาลง ตลาดเกิดการตอสูระหวางแรงซ้ือกับแรงขาย ปริมาณการซ้ือขายมีไมมาก ราคาจะทะลผุานแนวตานหรือแนวรับของสามเหลี่ยมได จะตองเกิดจากขาวภายนอกเขามากระทบและมีปริมาณการซ้ือขายเพิ่มข้ึน

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

86

รูปแบบธงสี่เหลี่ยมขาข้ึน

จะเกิดหลังจากท่ีราคามีการปรับตัวข้ึนหรือปรับลงแรงๆ มากอน ในภาวะท่ีตลาดขาข้ึน โดยท่ัวไปชายธงจะลดลงตํ่า เมื่อมีแรงซ้ือเขามามาก ราคาปรับทะลแุนวตานข้ึนไป จะเกิดสญัญาณซ้ือ

Page 44: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

87

รูปแบบธงสี่เหลี่ยมขาลง

จะเกิดหลังจากท่ีราคามีการปรับตัวข้ึนหรือปรับลงแรงๆ มากอน ในตลาดขาลงชายธงจะมีความลาดชันข้ึน เมื่อราคาปรับตัวลดลงทะลุ

แนวรับลงไป จะเกิดสญัญาณขาย

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

88

รอบรูเรื่องสทิธิและหนาที่ของผูลงทุน

สิทธิและหนาท่ีของผูลงทุนในฐานะลูกคาของโบรกเกอรสิทธิและหนาท่ีของผูลงทุนในฐานะผูถือหุน

5.

Page 45: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

89

สิทธิและหนาที่ของผูลงทนุในฐานะลูกคาของโบรกเกอร

ไดรับคําแนะนําท่ีดี (Good Advice) เหมาะกับวัตถุประสงค และขอจํากัดการลงทุน ไดรับบทวิเคราะหหุนมีการสงคําส่ังซ้ือขายหลักทรัพยท่ีเปนธรรม ไดราคาดีท่ีสุด (Best Execution) และรวดเร็วไดรับเอกสารการทําธรุกรรมเพ่ือใชตรวจสอบความถูกตองทรัพยสินของลูกคาไดรบัการดแูลเปนอยางดี ท้ังเงินและหุนท่ีฝากไว รวมท้ังสิทธิประโยชนอื่นท่ีจะไดรบั เชน เงินปนผล การจองซ้ือหุนเพ่ิมทุน/ใบสําคญัแสดงสิทธิสามารถรองเรยีนกรณีไมไดรบัความเปนธรรมหรอืไมปฏิบัตติามสัญญา

สิทธ ิของผูลงทุนในฐานะลูกคาของโบรกเกอร

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

90

เลือกโบรกเกอรท่ีมี CLASSC – Capital มีทุนเพียงพอหรือฐานะการเงินที่ม่ันคงL – License ไดรับใบอนุญาตในการประกอบธุรกิจและ

เจาหนาที่การตลาดข้ึนทะเบียนกับ ก.ล.ต.A – Advice ใหคําแนะนํา/รายงานวิจัยที่เหมาะสมตามหลักวิชาS – System & Control มีระบบการปฏิบัติงานและระบบควบคุมภายในที่ดี

รวมทั้งมีระบบรับขอรองเรียนS – Staff มีความพรอมดานบุคลากรที่มีความรู

ความสามารถและมีจรรยาบรรณ

สิทธิ ของผูลงทุนในฐานะลูกคาของโบรกเกอร (ตอ)

Page 46: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

91

ใหขอมูลที่ตรงตามความเปนจริง โบรกเกอรจะไดใหคําแนะนําที่เหมาะสมศึกษาและทําความเขาใจหนังสือหรือสัญญากอนลงนาม เก็บสําเนาเอกสารตาง ๆ ไวเปนหลักฐานเพื่อตรวจสอบความถูกตองตรวจสอบความถูกตองในเอกสารที่โบรกเกอรจัดสงให เชน ใบยืนยันการซื้อขาย (ใบ Confirm) รายงานทรัพยสินคงเหลือรายเดือน (Statement)หากเอกสารไมถูกตองหรือไมไดรับเอกสารตองแจงให Back Office ทราบใหความรวมมือในการปฏิบัติตามระบบที่โบรกเกอรวางไว

หนาที ่ของผูลงทนุในฐานะลูกคาของโบรกเกอร

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

92

DOs1. สั่งซ้ือขายหุนท่ีหมายเลขโทรศัพทท่ีโบรกเกอรกําหนด (ผานระบบบันทึกเทป)2. เขียนใบคําสั่งซื้อขายหรือใบยกเลิกทุกครั้ง ท่ีสั่งซื้อขายหุน ณ ท่ีทําการ

โบรกเกอรและเก็บไวเปนหลักฐาน3. ตรวจสอบขอมูลการซ้ือขายในใบ Confirm และ Statement ท่ีโบรกเกอรสงให

ทุกครั้ง หากพบวาไมถูกตองหรือไมไดรบัเอกสารใหรีบติดตอ Back Office4. ชําระเงินคาซ้ือหุนใหโบรกเกอรเทาน้ัน และเกบ็สําเนาไวเปนหลักฐาน5. เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงขอมูล แจงเปนลายลักษณอักษรตอ Back Office

เทาน้ัน

ปฏิบัตติามระบบที่โบรกเกอรวางไว

Page 47: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

93

DON’Ts ... ปองกันชองทางทีท่ําใหเกิดการทุจริต1. อยามอบอํานาจใหเจาหนาท่ีการตลาด ตดัสินใจซ้ือขายหุนในบัญชี

เปนผูรบัเอกสารสําคญั เปนผูรับสงมอบหุน หรอืเปลี่ยนแปลงขอมลู2. อยายินยอมใหเจาหนาท่ีการตลาดใชบัญชีซ้ือขายหลักทรัพยเพ่ือบุคคลอื่น3. อยาสงคําส่ังซ้ือขายหุนผานโทรศัพทมอืถือของเจาหนาท่ีการตลาด4. อยาเซ็นช่ือในเอกสารเปลา (Blank Form)5. อยาส่ังจายเช็คเงินสดหรอืเช็คขดีครอม6. อยาใหกูยืมเงินแกเจาหนาท่ีการตลาด7. อยารวมมือกับเจาหนาท่ีการตลาดในการหลีกเล่ียงการปฏิบัตติามเกณฑของบรษิทัหรอื

ทางการ เพราะอาจเขาขายปฏิบัติผิดกฎหมายดวย

ปฏิบัตติามระบบที่โบรกเกอรวางไว (ตอ)

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

94

1. ไดรับผลตอบแทนจากการดําเนนิงานของบริษทั: เงินปนผลและกําไรจากการขายหุน2. สิทธิทีจ่ะไดรบัขอมูล: งบการเงิน หนังสือนัดประชุมผูถือหุน รายงานการประชุม และ

รายงานประจําป3. ออกเสยีงในการบรหิารงานบริษทั: การแตงตั้งกรรมการและผูสอบบัญชี กําหนด

ขอบังคบัของบรษิทั ตดิตามและตรวจสอบการทํางานของกรรมการบรษิัท ตรวจสอบและรับรองงบการเงินของบรษิทั การเพ่ิม/ลดทุน การใหหุนแกผูบริหารและพนักงาน การทําธรุกรรม/สัญญาท่ีมขีนาดใหญกับบุคคลท่ีเกี่ยวของกับผูบริหารหรอืผูลงทุนรายใหญของบรษิัท การผอนผันการทําคําเสนอซ้ือ และการเพิกถอนหุนออกจากตลาดหลักทรัพยฯ

สิทธิ ของผูลงทุนในฐานะผูถอืหุน

สิทธิและหนาที่ของผูลงทุนในฐานะผูถือหุน

Page 48: Investinginequity 8aug10

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

95

1. ติดตามขอมูลขาวสารเก่ียวกับการดําเนินงานของบริษัท ผูบริหาร และกรรมการ เชน ขาวการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานรายไตรมาส/ป การเปลี่ยนแปลงการถือหุนของผูบริหาร/ผูถือหุนรายอ่ืนที่จะมีอํานาจในการบริหารบริษัท

2. ศึกษาขอมูลในหนังสือนัดประชุม และเอกสารตางๆ ที่บริษัทสงให3. เขาประชุมผูถือหุนเพื่อใชสิทธิออกเสียงในการบริหารบริษัท4. ใชสิทธิของผูถือหุนในการสอบถามขอมูล และแสดงความคิดเห็น

หนาที ่ของผูลงทนุในฐานะผูถือหุน

พืน้ฐานการลงทนุในหุน

96

UESTIONS &

NSWERS

ศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุนสถาบันกองทุนเพื่อพัฒนาตลาดทุนตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยS-E-T Call Center 0-2229-2222

www.tsi-thailand.org