manager

185
สารบัญ ผูจัดการตองทําอะไร 1 อํานาจผูจัดการ กปภ.สาขา - งบประมาณ การเงิน 2 - ทรัพยากรบุคคล 4 - พัสดุ และการจัดซื้อจัดจาง 5 - อื่น ๆ 7 อํานาจ ผอ.กปภ.เขต 8 อํานาจ รปก. 10 เกร็ดความรู - ทรัพยากรบุคคล 11 - การติดตั้งประปา 15 - พัสดุ 17 - งบประมาณทําการ/ลงทุน 25 - การดําเนินการทางละเมิด 31 - การดําเนินการทางวินัย 40 การควบคุมภายใน - จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ 42 - การขัดแยงทางผลประโยชน9 44 - การรับคําขอติดตั้งประปา และขยายเขตจําหน;ายน้ํา 45 - การติดตั้งประปา และขยายเขตจําหน;ายน้ํา 46 - การคํานวณและการจัดเก็บรายได 47 - ค;าใชจ;าย (เงินสดย;อย) 49 - การจัดซื้อจัดจาง 51 - สินทรัพย9ถาวร 54 - การบริหารวัสดุคงคลัง 56 - การบริหารลูกคาสัมพันธ9 59

Upload: guest-

Post on 28-May-2015

473 views

Category:

Education


18 download

TRANSCRIPT

Page 1: Manager

สารบัญ

ผูจัดการตองทําอะไร 1

อํานาจผูจัดการ กปภ.สาขา

- งบประมาณ การเงิน 2

- ทรัพยากรบุคคล 4

- พัสดุ และการจัดซื้อจัดจาง 5

- อ่ืน ๆ 7

อํานาจ ผอ.กปภ.เขต 8

อํานาจ รปก. 10

เกร็ดความรู

- ทรัพยากรบุคคล 11

- การติดตัง้ประปา 15

- พัสดุ 17

- งบประมาณทําการ/ลงทนุ 25

- การดําเนินการทางละเมิด 31

- การดําเนินการทางวินยั 40

การควบคุมภายใน

- จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกจิ 42

- การขัดแยงทางผลประโยชน9 44

- การรับคําขอติดตัง้ประปา และขยายเขตจําหน;ายนํ้า 45

- การติดตัง้ประปา และขยายเขตจําหน;ายนํ้า 46

- การคํานวณและการจัดเกบ็รายได 47

- ค;าใชจ;าย (เงินสดย;อย) 49

- การจัดซือ้จัดจาง 51

- สินทรัพย9ถาวร 54

- การบริหารวสัดุคงคลัง 56

- การบริหารลูกคาสัมพันธ9 59

Page 2: Manager

สารบัญ

งานจัดเกบ็รายได 61

งานอํานวยการ 82

งานผลิต 120

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย 146

Page 3: Manager

ผูจัดการ ตองทําอะไรบางผู�จัดการท่ีดีนัน้มีบทบาทอะไรบ�าง ผมขออ�างอิงถึงแนวคิดของนักวิชาการด�านภาวะผู�นําคนหนึ่งท่ีมีชื่อ

เสียง และแนวคิดของท&านเองก็ยังคงใช�ได�ในป*จจุบัน ท&านก็คือ John Adair ท&านได�ให�แนวคิดไว�ว&า คนท่ีเป5นผู�จัดการท่ีดีนัน้ จะต�องมีบทบาท 3 อย&าง ดังนี้ครับ

1. Achieving the task ก็คือทํางานท่ีไดรับมอบหมายใหสําเร็จ

ปกติคนท่ีเป5นผู�จัดการ จะได�รับมอบหมายเป8าหมายในการทํางานของหน&วยงานของตนเอง และจะต�องสร�างผลงานให�ได�ตามเป8าหมายท่ีกําหนดไว� ดังนั้นคนท่ีเป5นผู�จัดการท่ีดีนั้น จะต�องมีความเข�าใจ และมองเห็นเป8าหมายของหน&วยงานท่ีตนดูแล ว&าจะต�องบรรลุเป8าหมายอะไร โดยบริหารงานผ&านทีมงานท่ีตนดูแล และท่ีสําคัญก็คือ จะต�องสร�างความเข�าใจให�กับทีมงาน ได�เห็นภาพของเป8าหมายของทีมด�วย ซ่ึงผู�จัดการหลายคนก็มาพลาดตรงจดุนี้ กล&าวคือ ตนเองรู�ว&าจะต�องรับผิดชอบอะไร แต&กลับไม&เคยคิดท่ีจะบอกลูกทีมเลยว&า เป8าหมายของทีมคืออะไร หรือบางครั้งก็บอกแต&บอกไม&หมด พอลูกทีมทํางานไม&ได�ดั่งใจ ก็ดุด&าว&ากล&าว โดยท่ีไม&ได�ย�อนกลับมามองตนเองว&า เราได�ทําความเข�าใจให�ลกูทีมเห็นภาพเป8าหมายท่ีชัดเจนแบบเดียวกับท่ีเราเหน็หรือเปล&า

2. Building and maintaining the team หนาท่ีต;อมาก็คือ การสรางและรักษาทีมงานท่ีดี

โดยปกติคนท่ีเป5นผู�จัดการจะต�องมีลูกน�อง และจะต�องบริหารความสัมพันธ>ภายในทีมงานของตนให�ได� เนื่องจากการบรรลุผลงานตามเป8าหมายนั้น ตัวผู�จัดการคนเดียวไม&สามารถทําได� ดังนั้นเขาจะต�องสร�างทีมงานท่ีแข็งแกร&งพร�อมท่ีจะทํางานร&วมกัน ให�ไปสู&เป8าหมายอันเดียวกัน ถ�าสมาชิกในทีมงานไม&พูดคุยกัน มีแต&การทะเลาะเบาะแว�ง แก&งแย&งชิงดีกัน ใส&ร�าย อิจฉาริษยาซ่ึงกันและกัน ผลก็คือ งานของทีมงานก็จะไม&ได�ตามเป8าหมายท่ีกําหนด ดังนั้น คนท่ีเป5นผู�จัดการท่ีดีจะต�องเป5นผู�ท่ีประสานทีมงานทุกคนเข�าด�วยกันได� สามารถท่ีจะบริหารความต�องการของทีม และบริหารความขัดแย�งต&าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในทีมงานของตนเองได�

3. Developing the individual บทบาทสุดทายของผูจัดการท่ีดีก็คือ การพัฒนาในทีมงานของตนใหเก;ง และมีความสามารถมากข้ึน

ผู�จัดการจะต�องคอยสงัเกต และพิจารณาผลงานของพนักงานแต&ละคนท่ีตนเองดูแลด�วย ไม&ใช&ทํางานจนลืมว&าพนักงานจะต�องได�รับการพัฒนา สิ่งท่ีจะต�องนํามาใช�ก็คือ ผลงานของพนักงานแต&ละคนภายในทีม ว&าใครมีจุดอ&อน จุดแข็งในด�านใด เพ่ือท่ีจะได�มาวางแผนในการพัฒนาร&วมกับพนักงานเอง ท้ังนี้ก็เพ่ือให�พนักงานในทีมมีความสามารถ ท่ีจะจัดการกับงานท่ียากข้ึน และมีความซับซ�อนมากข้ึน อีกท้ังยังทําให�พนักงานรู�สึกว&า ทํางานกับผู�จัดการคนนี้แล�วมีการเติบโตในหน�าท่ีการงานได�

บทบาทใน 3 ข�อข�างต�น เป5นเรื่องท่ีอ&านแล�วอาจจะมองว&าง&ายมาก แต&เชื่อไหมครับว&า ยังมีผู�จัดการอีกมากมายท่ียังทําไม&ได�ครบ แม�ว&าจะมีเพียงแค& 3 ข�อ ก็ตาม ส&วนใหญ&จะเน�นไปท่ีการทําอย&างไรก็ได�ให�งานบรรลุเป8าหมาย โดยไม&สนใจความสัมพันธ>ในทีมงาน และไม&เคยคิดท่ีจะวางแผนพัฒนาพนักงานในทีมงานของตนเลย

Page 4: Manager

- 2 -

อํานาจผูจัดการ กปภ.สาขาดานงบประมาณ การเงิน 1. ผู�ว&าการฯ มอบอํานาจ อนุมัติ การโอนเปล่ียนแปลงงบประมาณทําการ ของหน&วยงานในวงเงินท่ีได�รับ

จัดสรร ยกเว�น หมวดเงินเดือน ค&าจ�างชั่วคราว และค&าตอบแทน (คําสั่ง 1216/2553 ลงวันท่ี 20 ธันวาคม 2553)

2. ผู�ว&าการฯ มอบอํานาจ อนุมัติ การจ;ายเงินสมนาคุณ ให�แก&ผู�จัดเก็บเงินค&าน้ําค�างชําระ ตามมาตรการ การเร&งรัดจัดเก็บเงินค&าน้ําค�างชําระ ครั้งละไม&เกิน 50,000.- บาท ให�รวมถึงการเบิกจ&ายเงิน (คําสั่ง 311/2544 ลงวันท่ี 18 กรกฎาคม 2544)

3. ผู�ว&าการฯ มอบอํานาจ การขีดฆ;าเลิกใชใบเสร็จรับเงิน ท้ังฉบับ แล�วออกใบเสร็จรับเงินฉบับใหม& เนื่องจากการลงรายการรับเงินผิดพลาด (คําสั่ง 358/2545 ลงวันท่ี 1 ตุลาคม 2545)

4. ผู�ว&าการฯ มอบอํานาจ อนุมัติการเบิกจ;ายเงินค;ารับรอง ท้ังนี้ต�องไม&เกินงบประมาณท่ีได�รับจัดสรร ดังนี้

ผู�จัดการ กปภ.สาขา (ชัน้พิเศษ) ครั้งละไม&เกิน 10,000.- บาท

ผู�จัดการ กปภ.สาขา (ชัน้ 1) ครั้งละไม&เกิน 5,000.- บาท

ผู�จัดการ กปภ.สาขา (ชัน้ 2) ครั้งละไม&เกิน 3,000.- บาท

(คําสั่ง 766/2552 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552)

5. ผู�ว&าการฯ มอบอํานาจ ใน การขอใชโทรศัพท9พ้ืนฐาน รวมถึงการยื่นคําขอลงนามในเอกสาร และสัญญาการชําระเงิน และอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข�องจนแล�วเสรจ็ (คําสั่ง 512/2553 ลงวันท่ี 14 มิถุนายน 2553)

6. ผู�ว&าการฯ มอบอํานาจ ให�มีอํานาจสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ ดังนี้

(1) การเดินทาง ไปปฏิบัติงานในราชอาณาจักรของพนักงานและลูกจ�างในสังกัดภายในเขตท่ีรับผิดชอบ ส&วนการเดินทางไปปฏบัิติงานนอกเขตท่ีรับผิดชอบเม่ืออนุมัติแล�วให�รายงานผู�อํานวยการการประปาส&วนภูมิภาคเขตทราบ

(2) อนุมัติ อนุญาต รับรอง หรือให�ความเห็นชอบเก่ียวกับการทํางานล&วงเวลา และการทํางานในวันหยุด ค&าเช&าบ�าน ค&ารักษาพยาบาล ค&าเล&าเรียนบุตร เงินช&วยเหลือเก่ียวกับการคลอดบุตร เงินช&วยเหลือ เม่ือผู�ปฎิบัติงานถึงแก&ความตาย ตลอดจนให�รบัผิดชอบรับรองสิทธิ การเบิกจ&ายเงินของตนเองด�วย ท้ังนี้ตามข�อบังคับ ระเบียบ คําสั่งของการประปาส&วนภูมิภาคว&าด�วยการนั้น รวมท้ังการอนุมัติก&อนการเบิกจ&าย

(3) ในกรณีเร&งด&วน เพ่ือประโยชน>ของการประปาส&วนภูมิภาค และมีงบประมาณหมวดค&าจ�างลูกจ�างชั่วคราวให�อนุมัติการว&าจ�างและลงนามในสัญญา จางลูกจางช่ัวคราวไดภายในกําหนด 7 วัน หากจําเป5นจะว&าจ�าง เกินกําหนดเวลาดังกล&าว ให�เสนอขออนุมัติในหลักการจากรองผู�ว&าการ (ปฎิบัติการ) ก&อน

(4) อนุมัติการเบิกจ&ายเงินตาม (1), (2), (3) และเก่ียวกับค&าใช�จ&ายเบ็ดเตล็ด ค&าโทรศัพท> ค&าไปรษณีย> ค&าโฆษณา ค&าธรรมเนียมและการจ&ายเงินอ่ืน ๆ ซ่ึงจะต�องจ&ายตามข�อผูกพันท่ีได�กระทําไปตามอํานาจหน�าท่ี รวมท้ังการเบิกจ&ายเงินท่ีกําหนดไว�ในคู&มือปฏบัิติงานบัญชีด�วย

(คําสั่ง 760/2552 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552)

Page 5: Manager

- 3 -

อํานาจผูจัดการ กปภ.สาขาดานงบประมาณการเงิน 7. มีอํานาจ อนุมัติให�สิทธิ ลดราคาจําหน&ายน้ําประปา เฉพาะผู�ใช�น้ําประเภทท่ี 1 ท่ีอยู&อาศัยเท&านั้น

(คําสั่ง 352/2551 ลงวันท่ี 23 มิถุนายน 2551)

8. มีอํานาจ อนุมัติคืนเงินค&าน้ําประปาท่ีรับเกิน หรือซํ้าให�ผู�ใช�น้ํา

(บันทึก กองบัญช ีท่ี มท 57444-03/1439 ลงวนัท่ี 17 พฤษภาคม 2544)

9. มีอํานาจ พิจารณาคืนเงินมัดจํา และค&าติดต้ังประปา ตามข�อบังคับ หลักเกณฑ>วิธกีาร และเง่ือนไขการใช�น้ําฯ พ.ศ.2540 ข�อ 16 และข�อ 17 ดังนี้

9.1 กรณีผู�ขอใช�น้ําได�ชําระค&าติดต้ังประปาไว�แล�ว และอยู&ระหว&างการดําเนินการติดต้ังของ กปภ. ต&อมาผู�ขอใช�น้ํา มีความประสงค>ขอยกเลิกการติดต้ังประปาท้ังหมด หรือบางส&วน ให�หักค&าใช�จ&ายในการดําเนินการเป5นอัตราร�อยละ 20 ของส&วนท่ียกเลกิ

9.2 กรณี กปภ. ไม&สามารถติดต้ังประปาให�กับผู�ขอใช�น้ําได�ด�วยเหตุใดก็ตาม กปภ. จะคืนค&าติดต้ังประปา ท่ีผู�ขอใช�น้ําได�ชําระไว�ท้ังหมด

(ระเบียบ การติดต้ังวางท&อประปาให�แก&ผู�ใช�น้ํา พ.ศ.2540 (ฉบับ 1 – 3) ข�อ 23)

Page 6: Manager

- 4 -

อํานาจผูจัดการ กปภ.สาขาดานทรัพยากรบุคคล1. ผู� ว&าการฯ มอบอํานาจ ให�กรณี ท่ี ผูดํารงตําแหน;งใน กปภ.สาขา ไม;อาจปฏิ บัติหนา ท่ี ได ให�

ผจก.กปภ.สาขา แต&งต้ังพนักงานคนใดคนหนึ่ง ใน กปภ.สาขา นั้น เป5นผู�รักษาการแทน (คําสั่ง 765/2552 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552)

2. กรณีตําแหน;งหัวหนางานว;างลง ผจก.กปภ.สาขา สามารถบังคับบัญชา กํากับ ดูแล สั่งการ การงานท่ีว&างในสังกัดได�อยู&แล�วโดยตําแหน&ง และอํานาจหน�าท่ี โดยไม&ต�องจัดทําคําสั่งอีก เว�นแต& การเสนอแต&งต้ังให�พนักงานผู�อ่ืน รักษาการในตําแหน&ง (บันทึก กปภ. มท 55041/3274 ลงวันท่ี 24 ตุลาคม 2546 เรื่อง การซักซ�อมวธิีปฏิบัติ)

3. ผู�ว&าการฯ มอบอํานาจ ในการ แจงการประสบอันตราย การเจ็บป[วย ของพนักงานหรือลูกจ�าง กปภ. เนื่องมาจากการทํางาน หรือป8องกันรักษาประโยชน>ให� กปภ. หรือการปฏิบัติตามคําสั่งของผู�บังคับบัญชา ตามประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพันธ> และส&งสําเนาให�กองวินัย และพนักงานสัมพันธ>ทราบ เพ่ือพิจารณาดําเนนิการจ&ายเงินทดแทน (คําสั่ง 19/2548 ลงวันท่ี 11 มกราคม 2548)

4. อํานาจการลาของพนักงาน (ระเบียบ ว&าด�วยการลาของพนักงาน พ.ศ.2537)

ลาป[วย ลากิจ ลาพักผ&อน

ลาคลอดบุตร

ลาเลี้ยงดูบุตร

ลาอุปสมบท

ลาประกอบพิธี

ฮัจย>

ลาไปต&าง

ประเทศ

หัวหน�างาน

ผจก.กปภ.สาขา ชัน้ 2

ผจก.กปภ.สาขา ชัน้ 1

ผจก.กปภ.สาขา ชัน้พิเศษ

ผอ.เขต/รองผู�ว&าการ

ผู�ว&าการ

7

7

45

60

60

210

5

5

10

15

15

15

5

5

15

20

20

20

-

-

-

90

90

90

-

-

-

150

150

150

-

-

-

-

120

120

-

-

-

-

70

70

-

-

-

-

-

20

Page 7: Manager

- 5 -

อํานาจผูจัดการ กปภ.สาขาดานการพัสดุ และการจัดซื้อจัดจาง1. ผู�ว&าการมอบอํานาจให�มี อํานาจรับรองผลงาน ของผู�รับจ�างท่ี กปภ.สาขามีอํานาจสั่งจ�าง ตามคําสั่ง กปภ.

ท่ีออกตามข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยการพัสดุ พ.ศ.2539 และท่ีแก�ไขเพ่ิมเติม (คําสั่ง 1230/52 ลงวันท่ี 18 ธันวาคม 2552)

2. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� การส่ังซ้ือหรือส่ังจางครั้งหนึ่ง ภายในวงเงิน (รวมภาษีมูลค&าเพ่ิม) (คําสั่ง 764/52 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552 และข�อบังคับโดยวิธฉุีกเฉิน ฉบับท่ี 3 พ.ศ.2552) ดังนี้

นอกเหนือวิธีพิเศษ วิธีพิเศษ วธิีฉุกเฉิน

1. ผู�จัดการ กปภ.สาขา (ชั้นพิเศษ) ไม&เกิน 4,000,000 2,000,000 1,000,000

2. ผู�จัดการ กปภ.สาขา (ชั้น 1) ไม&เกิน 3,000,000 1,500,000 500,000

3. ผู�จัดการ กปภ.สาขา (ชั้น 2) ไม&เกิน 2,000,000 1,000,000 300,000

3. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� มีอํานาจ ดําเนินการตามระเบียบสํานักนายกฯ ว;าดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และฉบับแก�ไขเพ่ิมเติม รวมท้ังระเบียบท่ีเก่ียวข�องด�วย (คําสั่ง 764/52 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552) ดังนี้

1. แต;งตั้งคณะกรรมการ ดําเนินการซ้ือหรือจ�าง กรณีท่ีมีความจําเป5นต�องแต&งต้ังบุคคล ซ่ึงมิได�เป5นผู�ใต�บังคับบัญชา เข�าร&วมเป5นกรรมการ ในคณะกรรมการเก่ียวกับการพัสดุ ต�องได�รับอนุญาตจากผู�บังคับบัญชาชั้นเหนือข้ึนไปของผู�นั้นก&อน เม่ือได�รับอนุญาตแล�ว จึงแต&งต้ังบุคคลผู�นั้นเป5นกรรมการได�

2. แต;งตั้งเจาหนาท่ี ท่ีไม&มีหน�าท่ีเก่ียวข�องกับการพัสดุ ให�มีหน�าท่ีหรือปฏิบัติงานเก่ียวกับการพัสดุ

3. อนุมัติเบิกจ;ายเงิน ตามวงเงินท่ีได�รับมอบอํานาจ เฉพาะการซ้ือหรือจ�าง ท่ีใช�งบประมาณทําการ

4. ลงนามในสัญญาหรือขอตกลง ตลอดจนการบอกเลิกสัญญา หรือข�อตกลงตามข�อ 137 และ ข�อ 138 แห&งระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว&าด�วยการพัสดุฯ

5. อนุมัติการ เปล่ียนแปลงแกไขสัญญาหรือขอตกลง ท่ีไม&เป5นผลให�วงเงิน และระยะเวลาตามสัญญาหรือข�อตกลงเพ่ิมข้ึน

6. มีอํานาจ แต;งตั้งคณะกรรมการกําหนดราคากลาง ผู�ควบคุมงานจ�างก&อสร�าง

7. ลงนามในประกาศเลื่อนวัน เวลา รับซอง ป̂ดรับซอง และการเป̂ดซองประกวดราคาตามข�อ 47 แห&งระเบียบสํานักนายกรฐัมนตรี ว&าด�วยการพัสดุฯ

8. อนุมัติเพ่ิมวงเงินหรอืเพ่ิมระยะเวลา การส&งมอบของหรือระยะเวลาในการทํางาน สําหรับสัญญาหรือข�อตกลงท่ีได�ดําเนินการซ้ือหรือจ�าง โดยวิธีกรณีพิเศษ

9. อนุมัติ การงดหรือลดค;าปรับ สําหรับสัญญาหรือข�อตกลง ท่ีได�ดําเนินการซ้ือหรือจ�าง โดยวิธีกรณีพิเศษ

10. การแจงเรียกค;าปรับ หรือการบอกสงวนสิทธิ์เรยีกค&าปรับ

4. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� กําหนดราคากลาง สําหรับการจ�างท่ีมีมูลค&างานตํ่ากว&า 100,000 บาท (ระเบียบว&าด�วยการติดต้ังวางท&อประปาให�แก&ผู�ขอใช�น้ํา พ.ศ.2540 และแก�ไขเพ่ิมเติมข�อ 15)

Page 8: Manager

- 6 -

อํานาจผูจัดการ กปภ . สาขาดานการพัสดุ และการจัดซื้อจัดจาง 5. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� มีอํานาจ ลงนามในสัญญารับจางวางท;อประปากับ อปท. กรณีขยายเขต

จําหน&ายน้ําให� อปท. โดย กปภ. เป5นผู�รับจ�างลงนาม เพ่ือรับรองความพร�อมของระบบจ&ายน้ําประปาตามแบบท่ี กปภ. กําหนด และมีอํานาจเป5นผู�แจ�งสงวนสิทธิ์ หรือขอขยายเวลาตามสัญญาได� (คําสั่ง 122/2553 ลงวนัท่ี 8 กุมภาพันธ> 2553)

6. กรณีการวางท&อขยายเขตจําหน&ายน้ํา โดยผู�ใช�น้ําดําเนินการเอง ผจก.กปภ.สาขา มีอํานาจเป5นผู�ออก หนังสือรับรองผลการปฏิบัติงาน (บันทึก ผวก. มท 55000/3983 ลงวันท่ี 11 ธันวาคม 2551)

7. การยืมพัสดุ ให� ผจก.กปภ.สาขา อนุมัติการยืม (คําสั่ง 1251/2552 ลงวนัท่ี 21 ธนัวาคม 2552) ดังนี้

7.1 การยืมพัสดุระหว&าง กปภ.เขต หรอื ระหว&าง กปภ.สาขาในสังกัดเดียวกัน

7.2 การยืมพัสดุ จากหน&วยงานภายนอก กรณีจําเป5นเร&งด&วน โดยต�องรายงาน ผอ.กปภ.เขต ทราบโดยด&วน (หากไม&จําเป5นเร&งด&วนเป5นอํานาจ ผอ.กปภ.เขต) หากมีค&าใช�จ&ายให�เบิกจ&ายได�เสมือนพัสดุของ กปภ.

7.3 หากหน&วยงานภายนอก ท่ีมีอุปการคุณแก& กปภ. ขอยืมพัสดุของ กปภ. ให�เป5นอํานาจของ ผอ.กปภ.เขต (ยกเว�นกรณีจําเป5นเร&งด&วน เป5นอํานาจของ ผจก.กปภ.สาขา)

8. ให� ผจก.กปภ.สาขา พิจารณา อนุมัติงานซ;อมท;อ (ระเบียบ วิธีปฏิบัติและการควบคุมพัสดุในงานซ&อมท&อ พ.ศ.2540) ดังนี้

1. สํานักงานประปาชั้น 2, 3 และ 4 อนุมัติงานซ&อมท&อซ่ึงใช�ท&อมีความยาวไม&เกิน 30 เมตร

2. สํานักงานประปาชั้น 1 อนุมัติงานซ&อมท&อซ่ึงใช�ท&อมีความยาวไม&เกิน 60 เมตร

3. สํานักงานประปาใดท่ีมีผู�ใช�น้ํามากกว&า 25,000 ราย อนุมัติงานซ&อมท&อซ่ึงใช�ท&อมีความยาวไม&เกิน 100 เมตร

4. สํานักงานประปาใดท่ีมีผู�ใช�น้ํามากกว&า 50,000 ราย อนุมัติงานซ&อมท&อซ่ึงใช�ท&อมีความยาวไม&เกิน 200 เมตร

ถ�างานซ&อมท&อเกินอํานาจของ ผจก.กปภ.สาขา ตามกําหนดข�างต�น ให� ผอ.กปภ.เขต เป5นผู�พิจารณาอนุมัติ ในความยาวไม&เกิน 400 เมตร

ท้ังนี้ จะติดป̂ญหา เรื่อง งบประมาณลงทุน ได�ระบุไว� หากเปลี่ยนขนาด ชนิด ทดแทน ย�าย หรือปรับปรุง ท&อท่ีวางแล�ว ซ่ึงถือเป5นสินทรัพย>ถาวรบางส&วน และความยาวมากกว&า 30 เมตร ต�องใช�งบประมาณลงทุน ไม&สามารถใช�งบประมาณทําการได� (คู&มืองบประมาณ กปภ. ป̀ 2555)

Page 9: Manager

- 7 -

อํานาจผูจัดการ กปภ.สาขาอ่ืน ๆ1. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� ทําสัญญาการใชน้ํา กับผู�ใช�น้ําปกติท่ัวไป และ บอกเลิกสัญญา และเม่ือดําเนิน

การแล�ว ให�รวบรวมรายงานผู�ว&าการเพ่ือทราบทุกเดือน (คําสัง่ 1152/2552 ลงวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2552)

2. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� หัวหน�างานอํานวยการ พิจารณาอนุมัติการขอใช�รถยนต>ส&วนกลาง เพ่ือปฏิบัติงานภายในเขตพ้ืนท่ีรับผดิชอบ

ผู�ว&าการมอบอํานาจให� ผจก.กปภ.สาขา พิจารณา อนุมัติการขอใชรถยนต9ส;วนกลาง เพ่ือปฏิบัติงานนอกเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ รวมท้ังกรณีท่ีต�องปฏิบัติงานข�ามคืน

กรณีขอใช�รถส&วนกลาง เพ่ือใช�ในงานส&วนตัวให�หัวหน�างานอํานวยการ (กรณีในเขตพ้ืนท่ี) พิจารณาอนุมัติโดย ผจก.กปภ.สาขา พิจารณาเหน็เป5นการสมควร ซ่ึงผู�ขอใช�รถส&วนกลางต�องออกค&าใช�จ&ายเอง เช&น ค&าน้ํามันรถยนต> หรือค&าเสียหาย (หากมี) เป5นต�น (คําสั่ง 847/2554 ลงวันท่ี 22 สิงหาคม 2554)

3. คําสัง่ให�ปฏิบัตหิน�าท่ีเก่ียวกับ การแจงความรองทุกข9 โดยให� ผจก.กปภ.สาขา ท่ีครอบครองดูแลทรัพย>สนิท่ีเสียหาย พิจารณาแจ�งความร�องทุกข>ต&อเจ�าพนักงานตํารวจในท�องท่ี ให�ดําเนินคดีกับผู�ท่ีทําให�เกิดความเสียหายได� (คําสั่ง 224/2531 ลงวนัท่ี 10 พฤษภาคม 2531)

4. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� เป5นผู�มีอํานาจ ระวังช้ีแนวเขต และลงช่ือรับรองเขตท่ีดิน รวมท้ังการคัดค�านการชี้แนวเขตท่ีดินของ กปภ. และร&วมระวังชี้แนวเขต และลงชื่อรับรองเขตท่ีดิน ร&วมกับราชพัสดุ หรือหน&วยงานอ่ืน ๆ ท่ี กปภ. ครอบครองใช�สอยอยู&ด�วย (คําสั่ง 1229/2552 ลงวันท่ี 18 ธันวาคม 2552)

5. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� มีอํานาจหน�าท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติตาม พรบ. การส;งเสริมการอนุรักษ9พลังงาน พ.ศ.2535 (คําสั่ง 1250/2552 ลงวนัท่ี 21 ธนัวาคม 2552)

6. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� มีอํานาจลงนามในเอกสารต&าง ๆ เก่ียวกับ การจดทะเบียน และใบทะเบียนต&าง ๆ เพ่ือให�ได�มา และหรือ จําหน&ายไป ซ่ึงรถท่ีอยู&ในครอบครอง ตลอดจนมีอํานาจลงนามในหนังสอืมอบอํานาจให�พนักงานในสังกัด ดําเนินการเก่ียวกับการจดทะเบียนดังกล&าวแทน กปภ. จนเสร็จการ (คําสั่ง 846/2554 ลงวันท่ี 22 สิงหาคม 2554)

7. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� ยื่นคําขอรับ ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ต&อสํานักงานอุตสาหกรรมจงัหวดั (คําสั่ง 347/2553 ลงวันท่ี 20 เมษายน 2553)

Page 10: Manager

- 8 -

อํานาจ ผอ.กปภ.เขต 1. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� ดําเนนิคดี ของ กปภ. รวม 8 ข�อ (คําสั่ง 149/2553 ลงวนัท่ี 16 กุมภาพันธ> 2553)

และบันทึกข�อความ กองคดี ท่ี มท 55604-3/116 ลงวันท่ี 22 มีนาคม 2555)

2. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� จ;ายเงินรางวัล ให�แก&ผู�แจ�งลักใช�น้ําประปา (คําสั่ง 734/2538 สั่ง ณ วันท่ี 7 พฤศจิกายน 2538)

3. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� เก่ียวกับ งบประมาณ (คําสั่ง 1216/2553 ลงวนัท่ี 20 ธนัวาคม 2553)

4. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� พิจารณาอนุมัติ ยกเลิกใบเสรจ็รับเงิน และผ&อนชําระค&าน้ํา (คําสั่ง 358/2545 ลงวนัท่ี 1 ตุลาคม 2545)

5. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� อนุมัติ การจ;ายเงินสมนาคุณ ภายในวงเงินไม&เกิน 1,000 บาท ต&อราย (คําสั่ง 766/2552 ลงวนัท่ี 30 กันยายน 2552)

6. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� มีอํานาจในการสั่งการ อนุญาต การอนุมัติ รวม 8 ข�อ (คําสั่ง 760/2552 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552

7. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� การส่ังซ้ือหรือส่ังจาง ครั้งหนึ่งภายในวงเงิน (รวมภาษีมูลค&าเพ่ิม) (คําสั่ง 764/2552 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552 และข�อบังคับว&าด�วยการพัสดุ โดยวธิีฉุกเฉินฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2552) ดังนี้

1. นอกเหนือวธิีพิเศษ ไม&เกิน 30,000,000.- บาท

2. วิธีพิเศษ ไม&เกิน 15,000,000.- บาท

3. วิธฉุีกเฉิน ไม&เกิน 2,000,000.- บาท

8. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� เป5นผู�ลงนามในสัญญาจ�าง ลูกจางรายเดือน ของหน&วยงานในสังกัด (คําสั่ง 359/2545 ลงวนัท่ี 1 ตุลาคม 2545)

9. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� กรณี ผจก.กปภ.สาขา ไม;อาจปฏิบัติหนาท่ีได ให�ผู�อํานวยการการประปาส&วนภูมิภาคเขต ตามสายงาน แต&งต้ังผู�ช&วยผู�จัดการการประปาส&วนภมิูภาคสาขา เป5นผู�รักษาการแทน ถ�าไม&มีผู�ดํารงตําแหน&งผู�ช&วยผู�จัดการการประปาส&วนภูมิภาคสาขา หรือมีแต&ไม&อาจปฏิบัติหน�าท่ีได� ให�ผู�อํานวยการการประปาส&วนภูมิภาคเขต แต&งต้ังหัวหน�างานคนใดคนหนึ่งเป5นผู�รักษาการแทน (คําสั่ง 765/2552 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552)

10. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� ผู�ท่ีมีอํานาจอนุมัติ การเดินทางของผู�ปฏิบัติงาน เป5นผู� พิจารณาการยายส่ิงของส;วนตัว โดยยานพาหนะอ่ืน ตามข�อ 25 แห&งข�อบังคับ ว&าด�วยค&าใช�จ&ายในการเดินทางฯ (คําสั่ง 373/2546 ลงวนัท่ี 14 ตุลาคม 2546)

11. ผู�ว&าการมอบอํานาจให�มีอํานาจแต&งต้ัง คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กรณีการละเมิดท่ีเกิดจากเจ�าหน�าท่ี ในสายงานบังคับบัญชา กระทําให�เกิดความเสียหายแก& กปภ. และกรณีผู�รับผิดขอผ&อนชําระ เป5นผู�อนุมัติให�ผ&อนได� (คําสั่ง 200/2548 ลงวนัท่ี 12 พฤษภาคม 2548)

12. ผู�ว&าการมอบอํานาจให�ว&า จางบุคคลภายนอกใหติดตามหนี้ และดําเนินคดี โดยพิจารณาว&าจํานวนทุนทรัพย>ในเวลายื่นฟ8องไม&เกิน 40,000.- บาท และหากว&าจ�างบุคคลภายนอกติดตามหนี้ และดําเนินคดีแล�วคุ�มกับค&าใช�จ&าย ก็ให�ว&าจ�างได� (คําสั่ง 1035/2552 ลงวนัท่ี 10 พฤศจิกายน 2552)

Page 11: Manager

- 9 -

อํานาจ ผอ.กปภ.เขต 13. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� กรณี อปท. วางท;อขยายเขตโดยดําเนนิการเอง ให� ผอ.กปภ.เขต มีอํานาจ

13.1 แต&งต้ังผู�ควบคุมงานเข�าร&วมตรวจและควบคุมงาน

13.2 ลงนามเป5นผู�รับโอนสิทธเิรียกร�องจาก อปท.

(คําสั่ง 1085/2554 ลงวนัท่ี 26 ตุลาคม 2554)

14. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� กรณีการวางท&อขยายเขตโดย ผูขอใชน้ําเป_นผูดําเนินการเอง ให� ผอ.กปภ.เขต มีอํานาจลงนามรับโอนสิทธิเรียกร�อง (บันทึก ผวก. มท 55000/3983 ลงวนัท่ี 11 ธนัวาคม 2551)

15. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� พิจารณาหาผู�ปฏิบัติงาน ซ่ึงต�องรับผิดในทางแพ&ง ในกรณี ทรัพย>สิน กปภ. ท่ีอยู&ในครอบครอง ดูแล เกิดการสูญหายหรือเสียหาย

1. หากผลปรากฎว&าทรัพย>สินท่ีสูญหาย หรือเสียหายมีมูลค&าเกินกว&า 50,000 บาท หรือเกิดจากการทุจริต ให�รายงานไปยังผู�ว&าการเพ่ือพิจารณาสั่งการ

2. หากผลปรากฎว&าทรัพย>สินท่ีสูญหาย หรือเสียหายมีมูลค&าไม&เกิน 50,000 บาท ให�พิจารณาสั่งการตามรายละเอียดในคําสั่งต&อไป

(คําสั่ง กปภ. 424/2543 ลงวันท่ี 24 สิงหาคม 2543)

16. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� มีอํานาจแต&งต้ังคณะกรรมการสอบข�อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด กรณีการละเมิดท่ีเกิดจากเจ�าหน�าท่ีในสายงานบังคับบัญชา กระทําให�เกิดความเสยีหายแก& กปภ.

(คําสั่ง กปภ. 200/2548 ลงวันท่ี 12 พฤษภาคม 2548)

17. มีอํานาจ พิจารณาคืนเงินมัดจํา และค&าติดต้ังประปา ตามข�อบังคับ หลักเกณฑ>วิธกีาร และเง่ือนไขการใช�น้ําฯ พ.ศ.2540 ข�อ 16 และข�อ 17 ดังนี้

17.1 กรณีผู�ขอใช�น้ําได�ชําระค&าติดต้ังประปาไว�แล�ว และอยู&ระหว&างการดําเนินการติดต้ังของ กปภ. ต&อมาผู�ขอใช�น้ํา มีความประสงค>ขอยกเลิกการติดต้ังประปาท้ังหมด หรือบางส&วน ให�หักค&าใช�จ&ายในการดําเนินการเป5นอัตราร�อยละ 20 ของส&วนท่ียกเลิก

17.2 กรณี กปภ. ไม&สามารถติดต้ังประปาให�กับผู�ขอใช�น้ําได�ด�วยเหตุใดก็ตาม กปภ. จะคืนค&าติดต้ังประปา ท่ีผู�ขอใช�น้ําได�ชําระไว�ท้ังหมด

(ระเบียบ การติดต้ังวางท&อประปาให�แก&ผู�ใช�น้ํา พ.ศ.2540 (ฉบับ 1 – 3) ข�อ 23)

Page 12: Manager

- 10 -

อํานาจ รปก. 1. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� ยกเลิกใบเสร็จรับเงินและผ;อนชําระค;าน้ํา ท่ีเกินอํานาจ ผอ.กปภ.เขต (ตามคําสั่ง

358/2545 ลงวนัท่ี 1 ตุลาคม 2545)

2. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� อนุมัติการ จ;ายเงินสมนาคุณ ภายในวงเงินไม&เกิน 1,000 บาท ต&อราย (คําสั่ง 766/2552 ลงวนัท่ี 30 กันยายน 2552)

3. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� อนุมัติให�ผู�ปฏิบัติงานท่ีดํารงตําแหน&งตํ่ากว&า หัวหน�ากองหรือเทียบเท&า เดินทางโดยเครื่องบิน ในการเดินทางไปปฏิบัติงานในราชอาณาจักรได� โดยให�ผู�ปฏิบัติงานแสดงเหตุผลความจําเป5นประกอบการอนุมัติ ท้ังนี้ให�คํานึงถึงความเหมาะสม และความประหยัด เพ่ือประโยชน>ของ กปภ. (คําสั่ง 1057/2553 ลงวนัท่ี 17 พฤศจิกายน 2553)

4. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� การส่ังซ้ือหรือส่ังจาง ครั้งหนึ่ง ภายในวงเงิน (รวมภาษีมูลค&าเพ่ิม) (คําสั่ง 764/2552 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552 และข�อบังคับฯ โดยวิธีฉุกเฉินฉบับท่ี 3 พ.ศ.2552) ดังนี้

4.1 นอกเหนือวธิีพิเศษ ไม&เกิน 40,000,000.- บาท

4.2 วิธีพิเศษ ไม&เกิน 20,000,000.- บาท

4.3 วิธฉุีกเฉิน ไม&เกิน 4,000,000.- บาท

5. ผู�ว&าการมอบอํานาจ หากการเปลี่ยนแปลง แกไขสัญญา หรือข�อตกลงท่ีต�องเพ่ิมระยะเวลาส&งมอบของ หรือเพ่ิมระยะเวลาการทํางาน การขยายเวลาการทําการตามสัญญา หรือข�อตกลง ซ่ึงไม&เพ่ิมวงเงินรวมท้ังการงดหรอืลดค&าปรับ ให�เป5นอํานาจรองผู�ว&าการ ผู�ช&วยผู�ว&าการ หรือ ตําแหน;งท่ีเทียบเท;าพิจารณาอนุมัติ (คําสั่ง 1219/2552 ลงวันท่ี 16 ธันวาคม 2552)

6. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� เป5นผู� รับทราบรายงานผลการรื้อถอน จําหน&าย แปรสภาพ พัสดุ อาคาร หรือสิ่งก&อสร�าง (คําสั่ง 51/2546 ลงวนัท่ี 4 กุมภาพันธ> 2546)

7. ระเบียบ กปภ. ว&าด�วยการกําหนดอํานาจหน�าท่ีของส&วนงาน พ.ศ.2545 กําหนดให� รองผู�ว&าการภาค มีอํานาจในการ โยกยายผูบริหาร หรือพนักงานในสังกัด ท่ีดํารงตําแหน&งต้ังแต&ชั้น 8 ลงมา รวมท้ังการแต&งต้ังเลื่อนชั้นพนักงานในกรณีชั้นควบ (ยกเว�นตําแหน&ง ผจก.กปภ.สาขา และตําแหน&ง ผช.ผจก.กปภ.สาขา) และไม&รวมถึงกรณีดังต&อไปนี้

7.1 การเปลี่ยนตําแหน&ง เช&น ย�ายพนักงานบริการฯ ไปผลิตน้ํา หรือย�ายพนักงานเก็บเงินไปพนักงานอ&านมาตร

7.2 การให�พ�นจากตําแหน&งทางบริหาร เช&น ย�ายหวัหน�างาน 7 หรือ 8 ไปเป5นพนักงาน

7.3 แต&งต้ังหรือโยกย�ายให�ดํารงตําแหน&งทางบรหิาร เช&น แต&งต้ังนายช&างเครื่องกล 7 เป5น หวัหน�างาน

7.4 การให�รักษาการในตําแหน&งบริหาร

(บันทึก มท 55041/3274 ลงวันท่ี 24 ตุลาคม 2546 เรื่อง ซักซ�อมวิธีปฏิบัติการแต&งต้ัง โยกย�ายพนักงาน ในสงักัดรองผู�ว&าการภาค)

8. ผู�ว&าการมอบอํานาจให� มีอํานาจ จําหน;ายทรัพย9สิน และหนี้สูญ ของสายงานในสังกัด จํานวนเงินไม&เกิน 50,000 ต&อราย (คําสั่ง 17/2555 ลงวนัท่ี 12 มกราคม 2555)

Page 13: Manager

- 11 -

เกร็ดความรูดานทรัพยากรบุคคล1. มอบหมายหน�าท่ี ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน (เสมือนเป5นข�อตกลงในการปฏิบัติงาน) โดยการจัดทํา

คําส่ังใหปฏิบัติงาน (ตามอํานาจ การจดัแบ&งส&วนงานฯ) ซ่ึงคําสั่งให�สอดคล�องกับ Job งานและเพ่ิมเติม สิง่ท่ี ผู�จัดการจัดวางระบบการทํางาน ตามสภาพแวดล�อมของ กปภ.สาขา ด�านบุคลากรพร�อมกับ จัดทําเกณฑ>ประเมินผลการปฏิบัติงาน ( ฺBSC)

2. เม่ือผ&านไปสักระยะเวลาหนึ่ง (ตามความเหมาะสม) ให�มีการ ปรับปรุงการมอบหมายหนาท่ีการปฏิบัติงานตาม ข�อ 1 เพ่ือลดจุดอ&อน และอุปสรรค โดยเพ่ิมจุดเข�า และโอกาส ให�เหมาะสมมากยิ่งข้ึน เช&น พบจุดอ&อนจากประมาณราคาติดต้ังประปาล&าช�า พบจุดอ&อนด�านการรับค&าน้ําประปา เป5นต�น

3. หัวหนางานเป_นส่ิงสําคัญในการควบคุมระบบ ดังนั้น การสั่งงานต�องให�หัวหน�างานรับทราบและรับผิดชอบ โดยหากพบหัวหน�างานท่ีไม&รับผิดชอบ ต�องเพ่ิมมาตราการต&าง ๆ โดยทุกมาตรการท่ีเพ่ิมเข�าไป ต�องติดตามอย&างต&อเนื่อง อย&าล�มเลิกเพราะเข็นไม&ข้ึนแต&ให�นึกเสมอว&า “เราต�องการช&วยให�ไปถึงฝ*iง” โดยอธิบายเหตุผลในการท่ีต�องดําเนินการทุกครั้ง โดยเตรยีมใจไว�ได�เลย วิธีดงักล&าวต�องใช�เวลาอย&างน�อย 1 ป̀ แล�วหัวหน�างานคนนัน้จะเข�าใจ

4. ควรมี การประชุม เพ่ือถ;ายทอดนโยบาย ทุกเรื่องถึงพนักงานโดยตรง อย&างน�อยไตรมาสละ 1 ครั้ง เพ่ือใกล�ชิดกับพนักงาน หรือใช�โอกาสการสงัสรรค>ต&าง ๆ สักช&วงเวลาน�อย ๆ ไม&เกิน 1 ชั่วโมง ในการถ&ายทอดนโยบายถึงพนักงานโดยตรง

5. การ ประชุมระดับหัวหนางาน ควรประชมุทุกเดือน เพ่ือติดตามผลการดําเนินงานร&วมกันแก�ไขป*ญหา อุปสรรคท่ีพบ ถ&ายทอดความรู� และนโยบายใหม& ๆ เพ่ือจุดประสงค> “ก�าวไปด�วยกัน”

6. หลักเกณฑ9การเล่ือนข้ัน พนักงานเพ่ือแต&งต้ังให�ดํารงตําแหน&งในชั้นท่ีสูงข้ึน ดังนี้

1. การแต&งต้ังให�ดํารงตําแหน&งในชั้น 2 ต�องดํารงตําแหน&งชั้น 1 มาแล�วไม&น�อยกว&า 4 ป̀

2. การแต&งต้ังให�ดํารงตําแหน&งในชั้น 3-9 ต�องดํารงตําแหน&งตํ่ากว&า มาแล�วไม&น�อยกว&า 2 ป̀

7. หลักเกณฑ> การเล่ือนช้ันพนักงาน (ช้ันควบ) ผู�ท่ีได�รับแต&งต้ังให�ดํารงตําแหน&งในชั้นใด สามารถเลื่อนชั้นได�อีก 3 ชั้น เช&น เข�า กปภ. ชั้น 1 เลื่อนได�ไม&เกินชั้น 4

8. วิธีการแต;งตั้งและเล่ือนช้ัน ของพนักงานในกรณีชั้นควบ หรือกรณีตําแหน&งว&าง ให�กระทําโดยวิธีการสอบแข&งขัน หรือการคัดเลือก หรือการประเมินผลการปฏิบัติงานหรือฝkกอบรม แล�วแต&กรณีตามท่ีผู�ว&าการกําหนด(ข�อ 7 – 8 ตามระเบียบว&าด�วยคุณสมบัติสําหรับตําแหน&งฯ พ.ศ.2534)

9. พนักงาน หรือ ลูกจ�างของ กปภ. ต�องมี การประกันการปฏิบัติงาน 2 วธิี คือ ประกันด�วยเงินสด หรือ คํ้าประกันด�วยบุคคล (ระเบียบว&าด�วยการประกันฯ พ.ศ. 2525)

Page 14: Manager

- 12 -

เกร็ดความรูดานทรัพยากรบุคคลการประกันด�วยเงินสด สามารถผ&อนเป5นงวด ๆ ได� ไม&เกิน 36 เดือน โดยระหว&างผ&อนต�องจัดให�มีผู�คํ้าประกันจํานวนเงินประกันดังนี้

1. พนักงานรักษาความปลอดภัย 2,000.- บาท2. พนักงานพัสดุ 5,000.- บาท3. พนักงานการเงิน 10,000.- บาท4. หวัหน�างานจัดเก็บรายได� 20,000.- บาท5. หวัหน�างานอํานวยการ 20,000.- บาท

10. หลักเกณฑ> การยายและการหมุนเวียน พนักงาน (ระเบียบว&าด�วยการย�ายและการหมุนเวียนพนักงาน ฉบับ 2 พ.ศ. 2554)

10.1 ให�ผู�บงัคับบัญชาพิจารณาดําเนนิการให�มีการหมุนเวยีนผู�บรหิารท่ีได�ดํารงในตําแหน&งใดติดต&อกันเป5นระยะเวลาครบ 4 ปa นับต้ังแต&วันท่ีได�รับการแต&งต้ังให�ดํารงตําแหน&งนั้น ให�ผู�บังคับบัญชาพิจารณาดําเนินการหมุนเวียนผู�บรหิารไปดํารงตําแหน&งในหน&วยงานอ่ืนตามท่ีเห็นสมควร เว�นแต&ผู�บริหารท่ีปฏิบัติงานตามโครงการอยู&ในระยะท่ีต�องปฏบัิติอย&างต&อเนื่อง หากมิได�ปฏิบัติงานต&อจะเกิดความเสียหายแก&งาน หรือผู�บริหารท่ีปฏิบัติงานในหน�าท่ีจนเป5นผลดีแก&การประปาส&วนภูมิภาค หรือมีความจําเป5นอ่ืนจนไม&อาจหมุนเวียนไปปฏิบัติหน�าท่ียังตําแหน&งงานอ่ืนใดได� และหากหมุนเวียนแล�วอาจทําให�เกิดความเสยีหายแก&การประปาส&วนภูมิภาค ให�ผู�บังคับบัญชาชี้แจงเหตุผลความจําเป5นเสนอผู�บังคับบัญชาตามสายงานจนถึงผู�ว&าการพิจารณาเป5นราย ๆ ไป

10.2 กรณีผู�บริหารมี อายุงานในตําแหน;งไม;ครบ 4 ปa หากมีการหมุนเวียนแล�วจะทําให�เกิดประโยชน>ในการพัฒนาผู�บริหารเหล&านั้น ผู�บังคับบัญชาอาจเสนอให�ดําเนินการได�

10.3 กรณีผู�บรหิารมี อายุงานคงเหลือไม;เกิน 2 ปa แม�จะได�ดํารงตําแหน&งใดติดต&อกันเป5นระยะเวลาเกิน 4 ป̀ แล�วก็ตาม หากผู�บังคับบัญชาพิจารณาถึงความเหมาะสม และเพ่ือประโยชน>การประปาส&วนภูมิภาค จะไม&หมุนเวียนผู�บรหิารนัน้ก็ได�

10.4 หลักเกณฑ>ดังกล&าวมิให�ใช�บังคับ กับตําแหน&งผู�บรหิารท่ีมีลักษณะงานท่ีต�องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะด�าน

11. หลักเกณฑ> การกําหนดบทบาทตําแหน;งงาน (Role Clarification : RC) มาใช�ประกอบในการแต&งต้ังให�ดํารงตําแหน&งทางการบริหาร (บันทึก มท.55601/403 ลว.28 ธ.ค. 2554) และให�ชะลอไว�ก&อน (บันทึก มท.55000/957 ลว. 15 มี.ค. 2555) ดังนี้

1. ตําแหน&งรองผู�ว&าการ คุณวุฒิข้ันตํ่าปริญญาตรี มีประสบการณ>ทํางานไม&ต่ํากว&า 15 ป̀ และเคยดํารง ตําแหน&งทางการบรหิารไม&ต่ํากว&า 15 ป̀

2. ตําแหน&งผู�ช&วยผู�ว&าการ / ผู�อํานวยการการประปาส&วนภูมิภาคเขต

คุณวฒุิข้ันตํ่าปริญญาตรี มีประสบการณ>ทํางานไม&ตํ่ากว&า 15 ป̀ และเคยดํารงตําแหน&งทางการบรหิารไม&ต่ํากว&า 12 ป̀

Page 15: Manager

- 13 -

เกร็ดความรูดานทรัพยากรบุคคล3. ตําแหน&งผู�อํานวยการฝ[าย / ผู�อํานวยการสํานัก / ผู�ช&วยผู�อํานวยการการประปาส&วนภูมิภาคเขต / ผู�จัดการการประปาส&วนภมิูภาค (ชั้นพิเศษ)

คุณวฒุิข้ันตํ่าปริญญาตรี มีประสบการณ>ทํางานไม&ตํ่ากว&า 12 ป̀ และเคยดํารงตําแหน&งทางการบรหิารไม&ต่ํากว&า 10 ป̀

4. ตําแหน&งผู�อํานวยการกอง / ผู�จัดการการประปาการประปาส&วนภูมิภาค สาขา (ชั้น 1) / ผู�ช&วยผู�จัดการการประปาส&วนภมิูภาค (ชัน้พิเศษ)

คุณวฒุิข้ันตํ่าปริญญาตร ีมีประสบการณ>ทํางานไม&ตํ่ากว&า 8 ป̀ และเคยดํารงตําแหน&งทางการบรหิารไม&ต่ํากว&า 5 ป̀

5. ตําแหน&งผู�จัดการการประปาส&วนภูมิภาค (ชัน้ 2) / ผู�ช&วยผู�จัดการการประปาส&วนภมิูภาค (ชั้น 1)

คุณวฒุิข้ันตํ่าปริญญาตรี มีประสบการณ>ทํางานไม&ต่ํากว&า 5 ป̀ และเคยดํารงตําแหน&งทางการบรหิารไม&ต่ํากว&า 2 ป̀

6. ตําแหน&งหัวหน�างาน (ชัน้ 8) คุณวุฒิข้ันตํ่าปริญญาตรี มีประสบการณ>ทํางานไม&ต่ํากว&า 5 ป̀

7. ตําแหน&งหัวหน�างาน (ชัน้ 7) ท่ีสังกัดการประปาส&วนภมิูภาคสาขา

คุณวฒุิข้ันตํ่าประกาศนียบัตรวิชาชีพ / ประกาศนยีบัตรวิชาชีพชั้นสงู และมีประสบการณ>ทํางานไม&ตํ่ากว&า 5 ป̀

12. หลักเกณฑ9การเล่ือนข้ันเงินเดือนของพนักงาน (ข�อบังคับ ว&าด�วยการกําหนดตําแหน&งฯ พ.ศ. 2522)

1. การนับช;วงเวลาพิจารณาในการเล่ือนข้ันเงินเดือน จะต�องพิจารณาท้ังในรอบป̀พิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) และรอบป̀งบประมาณ (1 ต.ค. - 30 ก.ย.)

2. หลักเกณฑ9การเล่ือนข้ันเงินเดือนไม;เกิน 1 ข้ัน

2.1 ในรอบป̀งบประมาณท่ีแล�วมา (1 ต.ค. - 30 ก.ย.) มีระยะเวลาทํางานรวมกันไม&น�อยกว&า 8 เดือน

2.2 ในรอบป̀ของการพิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) ต�องไม&ถูกลงโทษทางวนิัย เว�นแต&โทษภาคทัณฑ>

2.3 ในรอบป̀ของการพิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) ต�องไม&ถูกสั่งพักงานเกินกว&า 4 เดือน

2.4 ในรอบป̀ของการพิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) มีวนัลาอ่ืน ๆ (เช&น วันลาป[วย / ลากิจ (ส&วนตัว / เลี้ยงดูบุตร...) ไม&เกิน 45 วนั โดยไม&ให�นบัรวมถึง การลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจย> ณ เมืองเมกกะฯ (เฉพาะวันลาท่ีมีสทิธไิด�รับเงินเดือน) / การลาคลอดบุตรไม&เกิน 90 วัน / การลาป[วยซ่ึงจําเป5นต�องรักษาตัวเป5นเวลานานไม&ว&าคราวเดียวหรือหลายคราวรวมกันไม&เกิน 125 วัน / การลาป[วยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบติังานตามหน�าท่ีฯ / การลาเนื่องจากราชการทหาร (เฉพาะวันท่ีมีสิทธิได�รับเงินเดือน) และการลาพักผ&อน (เนื่องจากตามระเบียบ กปภ.ว&าด�วยการลาฯ พ.ศ.2537 ข�อ 23 ได�กําหนดไม&ให�ถือเป5นวันลา)

Page 16: Manager

- 14 -

เกร็ดความรูดานทรัพยากรบุคคล2.5 ในรอบป̀ของการพิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) ต�องไม&ลาบ&อยครั้งหรือไม&มาทํางานสายเกิน 30 ครั้ง

2.6 ในรอบป̀ของการพิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) ต�องไม&ขาดงานโดยไม&มีเหตุผลอันสมควร

2.7 ในรอบป̀งบประมาณท่ีแล�วมา (1 ต.ค. -30 ก.ย.) ถ�าเป5นผู�ได�รับอนุญาตให�ไปศึกษาในประเทศหรือไปศึกษาอบรมหรือดูงาน ณ ต&างประเทศ ต�องปฏิบติังานในรอบป̀งบประมาณท่ีแล�วมาเป5นเวลาไม&น�อยกว&า 8 เดือน

3. หลักเกณฑ9การเล่ือนข้ันเงินเดือนเกิน 1 ข้ัน

3.1 ในรอบป̀งบประมาณท่ีแล�วมา (1 ต.ค. - 30 ก.ย.) มีเวลาทํางานครบ 12 เดือน

3.2 ในรอบป̀การพิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) มีวนัลาทุกประเภทรวมกันไม&เกิน 15 วนั โดยไม&ให�นับรวมถึงวันลาพักผ&อนประจําป̀ เนื่องจากตามระเบียบกปภ.ว&าด�วยการลา ฯ พ.ศ. 2537 ข�อ 23 ได�กําหนดไม&ให�ถือเป5นวันลา

3.3 ในรอบป̀การพิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) ไม&ลาบ&อยครั้ง หรือไม&มาทํางานสายเกิน 10 ครั้ง

3.4 ในรอบป̀ของการพิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) ต�องไม&ถูกลงโทษทางวนิัย

3.5 ในรอบป̀พิจารณาความดีความชอบ (1 ก.ค. - 30 มิ.ย.) ต�องไม&ขาดงานโดยไม&มีเหตุผลอันสมควร

3.6 ในรอบป̀งบประมาณท่ีแล�วมา (1 ต.ค. - 30 ก.ย.) ไม&ได�ลาไปศึกษาฝkกอบรม หรือดูงานท้ังในและนอกประเทศ ยกเว�นการไปปฏิบัติหน�าท่ีตามท่ีได�รบัมอบหมาย หรือปฏิบัติงานหน�าท่ีอ่ืน ตามข�อตกลงเก่ียวกับสภาพการจ�างท่ีทําไว�กับ กปภ.

13. อัตราจางของลูกจางช่ัวคราวรายวัน ให�จ&ายอัตราสูงสุดของค&าจ�างข้ันตํ่ารายวนั ตามกฎหมายเก่ียวกับแรงงานท่ีมีผลใช�บังคับกับรัฐวสิาหกิจ โดยไม&ต�องมีการออกคําสัง่ กปภ. กําหนดอัตราค&าจ�างข้ันตํ่า สําหรับลูกจ�างชัว่คราวรายวันอีก (ข�อบังคับว&าด�วยการกําหนดตําแหน&งฯ ของลูกจ�าง (ฉบับ 2) พ.ศ.2553 และ บันทึกกองกฎระเบียบฯ มท 55604-4/6 ลว. 7 ม.ค. 2554)

Page 17: Manager

- 15 -

เกร็ดความรูในดานการตดิตัง้ประปา

1. ค;าอากรแสตมปb กรณีติดต้ังประปาให�ส&วนราชการ หรือรฐัวสิาหกิจ ซ่ึงตามประมวลรัษฎากรจะได�กําหนดให�ผู�รับจ�างเป5นผู�ชําระค&าอากรแสตมปs แต&เพ่ือประโยชน>ในทางธุรกิจ และเป5นการลดภาระค&าใช�จ&ายของ กปภ. ในฐานะผู�รบัจ�าง จึงควรคํานวณค&าอากรแสตมปs รวมเป5นค&าใช�จ&ายในการดําเนินการไว�ในรายการประมาณราคาด�วย (ผู�ว&าการเห็นชอบตามบันทึก กองกฎหมาย มท.57442-021/2217 ลว. 14 ก.ค. 2543)

2. การเปล่ียนมาตรวัดน้ําใหกับผูใชน้ํา

1. การเปลีย่นมาตรวัดน้ําให�ผู�ใช�น้ํา ขนาดต้ังแต& Ø 1 1/2 นิ้ ว ข้ึนไป ให�เล็กลง เม่ือเป5นความประสงค>ของ กปภ. เฉพาะกรณีท่ีผู�ใช�น้ําใช�น้ําน�อยลง อัตราการใช�น้ําเฉลี่ยตํ่าสุด ตํ่ากว&าจุดเริ่มทํางานของมาตรวัดน้ํา เป5นเวลาติดต&อกัน 6 เดือน ให�ทําการเปลี่ยนได� โดยแจ�งผู�ใช�น้ําทราบและไม&คิดค&าใช�จ&าย ยกเว�น ค&าประกันการใช�น้ํา ให�เรียกเท&าท่ีเป5นจริง ส&วนท่ีเกินให�เบิกคืนแก&ผู�ใช�น้ํา

2. ผู�ใช�น้ําประปายังคงมีสิทธิ์ท่ีจะขอติดต้ังมาตรวัดน้ํา ไม&เกินกว&าขนาดท่ีติดต้ังไว�ในครั้งแรกเม่ือข�อเท็จจริง ปรากฎว&าผู�ใช�น้ํามีความจําเป5นต�องใช�น้ําปริมาณท่ีสูงข้ึน โดยต�องชําระเงินค&าประกันการใช�น้ําเพ่ิมข้ึนตามระเบียบของ กปภ.

3. อัตราค&าบริการท่ัวไปเรียกเก็บจากผู�ใช�น้ําเป5นรายเดือนตามขนาดมาตรวัดน้ํา ให�เรียกเก็บตามขนาดมาตรวัดน้ําท่ี กปภ. เปลี่ยนให�ใหม&

(บันทึก กปภ. มท 57116-03/25 ลงวันท่ี 19 มีนาคม 2541)

3. การขยายเขตจําหน;ายน้ําประปาให อปท. โดย อปท. เป5นผู�ชําระเงินให� กปภ. ดําเนินการ ดังนี้

3.1 ผู�จัดการมีอํานาจลงนามเป5นผู�รับจ�างของ อปท. ลงนามรับรองความพร�อมของระบบจ&ายน้ําประปา ตามแบบ ท่ี กปภ.กําหนด และแจ�งสงวนสทิธ ิหรือ ขอขยายเวลาได�

3.2 ไม&คิดค&าสํารวจ และไม&คิดส&วนเพ่ิม 10%

3.3 ไม&มีการคืนเงินค&าจ�างส&วนท่ีเหลือจากการจ�างผู�รับจ�าง ให� อปท.

(คําสั่ง 122/2553 ลว. 8 ก.พ. 2553)

4. กรณี อปท. ดําเนนิการขยายเขตเอง ให�คิดค&าใช�จ&ายค&าปรึกษาออกแบบ และค&าควบคุมงาน ดังนี้

4.1 งานก&อสร�างระบบประปาท่ีงบประมาณค&าก&อสร�างไม&เกิน 10 ล�านบาท ในอัตราร�อยละ 2

4.2 งานก&อสร�างระบบประปาท่ีงบประมาณค&าก&อสร�างเกิน 10 ล�านบาท ในอัตราร�อยละ 1.75

(คําสั่ง 1086/2554 ลว. 26 ต.ค. 2554)

5. กรณีของ อปท. ท่ีสนับสนุนเงินให กปภ. และ อปท.ดําเนนิการเอง ท&อและอุปกรณ>ประปาดังกล&าวถือเป5นทรพัย>สินของ อปท. โดย กปภ. ถือเป5นผู�ใช�ทรัพย>สนิของ อปท. เท&านัน้ และ กปภ. สามารถดําเนินการกับท&อและอุปกรณ>ของ อปท. ได�ดงันี้

5.1 เสียค&าใช�จ&ายในการซ&อมแซม ตามระเบียบว&าด�วยวิธปิฏิบติั และควบคุมพัสดุให�งานซ&อมท&อ พ.ศ.2540

5.2 เรยีกค&าเสียหาย หากมีบุคคลภายนอกทําการละเมิด ตามมาตรา 644 แห&ง ประมวลกฎหมายแพ&งและพาณิชย>

Page 18: Manager

- 16 -

เกร็ดความรูในดานการตดิตัง้ประปา

5.3 ติดต้ังประปาให�กับผู�ขอใช�น้ําได� เนื่องจาก อปท. ได�ส&งมอบท&อให� กปภ. แล�ว(ผู�ว&าการ เห็นชอบตามบันทึกกองกฎระเบียบฯ มท.55604-4/233 ลว. 29 มิ.ย. 2553)

6. การขอขยายเขตวางท;อประปาของกํานนั ผูใหญ;บาน กปภ. อนุโลมให�เป5นการดําเนินการในฐานะเจ�าหน�าท่ีของรัฐ โดย ไม&ต�องเรียกเก็บเงินมัดจํา และสามารถแบ&งชําระเงิน 50% แรก และ 50% ท่ีเหลือได�

(ผู�ว&าการ เห็นชอบตามบันทึกกองกฎระเบียบฯ มท.55604-4/376 ลว. 20 ต.ค. 2553)

7. อํานาจการวางท;อประปาผ;านท่ีดนิของบุคคลใดๆ ตาม ม.30 แห&ง พรบ. กปภ. พ.ศ. 2522 ดังนี้

7.1 กรณีท&อไม&ถึง 80 ซม. ไม&ต�องจ&ายค&าทดแทนในการใช�ท่ีดิน ค&ารื้อถอน ตัดฟ*นสิ่งปลูกสร�าง หรือต�นไม�

7.2 กรณีท&อต้ังแต& 80 ซม. ข้ึนไป และ กปภ. กําหนดบริเวณท่ีดินท่ีเดินท&อน้ํา และติดต้ังอุปกรณ>ด�านละไม&เกิน 2.50 ซม. และทําเครื่องหมายแสดงเขตไว�ในบรเิวณดังกล&าวต�องจ&ายค&าทดแทน (ต�องครบองค>ประกอบท้ัง 2 ส&วน)

(ผู�ว&าการ เห็นชอบตามบัตทึกกองนิติการ ท่ี มท.55604-1/141 ลว. 16 มี.ค. 2554)

8. การคิดค;าน้ําทดสอบท;อ และลางท;อ ให�คิดในอัตราค&าน้ําท&อธาร และภาษีมูลค&าเพ่ิม (การไม&ใช�น้ําประปา ให�คิดราคาเดียวกัน)

(บันทึกผ&ายตรวจสอบปฏิบัติการ ท่ี มท.55022/87 ลว. 7 เม.ย. 2549)

9. กรณีวางท;อขยายเขต โดยผูใชน้ําดําเนนิการเอง หลักประกันผลงานเป_นเวลา 1 ปa นับจากวันท่ีรับมอบงานงวดสุดท�าย

(หนงัสอืยอมรับเง่ือนไขของ กปภ. ตามบันทึก 55000/3923 ลว. 11 ธ.ค. 2551)

10. ท;อ-อุปกรณ9ท่ีใชในงานซ;อมท;อ ให�เบิกได�เฉพาะท่ีจะใช�ภายนอกมาตรวัดน้ําเท&านั้น เว�นแต& กรณีมีความจําเป5นต�องยก หรือย�าย จุดติดต้ังมาตรวัดน้ํา ท่ีไม&เหมาะสม และเป5นป*ญหาในการปฏิบัติงาน เพราะเหตุการรับโอนกิจการประปา มาดําเนินการต&อเนื่อง หรือสภาพพ้ืนท่ีบริเวณจุดติดต้ังมาตรวัดน้ํา เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ท้ังนี้ให� กปภ.สาขา จัดทํารายงาน กปภ.เขต เพ่ีอทราบ

(ระเบียบ วิธปีฏิบัติ และควบคุมพัสดุในงานซ&อมท&อ (ฉบับ 3) พ.ศ.2555)

Page 19: Manager

- 17 -

เกร็ดความรูดานพัสดุ1. ผู�ว&าการแต&งต้ังหัวหนางานเจาหนาท่ีพัสดุประจํ า กปภ.สาขา คือ หัวหน�างานอํานวยการ สําหรับ

กปภ.เขต คือ ผู�อํานวยการกองบรหิารท่ัวไป (คําสั่ง 355/2545 ลว. 1 ต.ค.45)

2. สรุปแนวทางการเปcด PO และการเบิกจ;ายเงิน

รายการ การเปcด PO การเบิกจ;ายเงิน

1. ค&าติดต้ังและวางท&อ 1.1 การประปาดําเนินการเอง การซ้ือวัสดุอุปกรณ>ไม&ต�องเป̂ด PO.

- ให� ป/ปปข. พิจารณาดําเนินการจัดซ้ือแบบ Open End โดยยึดหลักการให�ร�านเป5นคลังวสัดุแทน กรณีไม&มีร�านค�าท่ีจะดําเนินการได� ให� ปปข. พิจารณาเป5นแต&ละ ป. ไป

- วงเงินเบิกจ&ายไม&เกิน 12,000.-บาท ให�จ&ายจากเงินสดย&อยท่ี ป.- วางเงินเบิกจ&ายเกิน 12,000.- บาท ให�เบิกจ&ายโดย ปปข. วนัท่ี กปภ.ข. กําหนด

1.2 จ�างเหมาเอกชนดําเนินการ วงเงินสัญญาไม&เกิน 100,000.- บาท ไม&ต�องเป̂ด PO.

- วงเงินเบิกจ&ายไม&เกิน 12,000.-บาท ให�จ&ายจากเงินสดย&อยท่ี ป.- วางเงินเบิกจ&ายเกิน 12,000.- บาท ให�เบิกจ&ายโดย ปปข. วันท่ีกปภ.ข.กําหนด

2. การซ้ือสนิทรัพย>ถาวรและวัสดุเข�าคลัง

เป̂ด PO. ไม&ว&าจะมีมูลค&าเท&าใด ซ้ือวัสดุเข�าคลัง- เบิกจ&ายโดย ปปข. ทุกวนัท่ี 10, 25 ของทุกเดือน (15 ป. ขนาดใหญ&เบิกจ&ายท่ี ป.)ซ้ือสนิทรัพย>ถาวร- เบิกจ&ายโดย สนญ.

3. การซ้ือวสัดุอุปกรณ>ซ&อมท&อ 3.1 ป. ดําเนินการเอง หรือ จ�างเอกชนดําเนินการ

- วงเงินสัญญาไม&เกิน 12,000.-บาท ไมต�องเป̂ด PO.- วงเงินสัญญาเกิน 12,000.- บาท ต�องเป̂ด PO.

- วงเงินเบิกจ&ายไม&เกิน 12,000.-บาท ให�จ&ายจากเงินสดย&อยท่ี ป.- วางเงินเบิกจ&ายเกิน 12,000.- บาท ให�เบิกจ&ายโดย ปปข. วนัท่ี 10, 25 ของเดือน

3.2 กรณีฉุกเฉินและจําเป5นเร&งด&วนถ�าไม&รีบดําเนินการจะทําให� กปภ. เกิดผลเสียหาย

ไม&ต�องเป̂ด PO. ไม&ว&าจะมีมูลค&าเท&าใด - วงเงินเบิกจ&ายไม&เกิน 12,000.-บาท ให�จ&ายจากเงินสดย&อยท่ี ป.- วางเงินเบิกจ&ายเกิน 12,000.- บาท ให�เบิกจ&ายโดย ปปข. ได�ทุกวัน

Page 20: Manager

เกร็ดความรูดานพัสดุ- 18 -

4. เงินประกันการใช�น้ํา 4.1 ขอถอนคืนเงินประกันการใช�น้ํา

ไม&ต�องเป̂ด PO. ไม&ว&าจะมีมูลค&าเท&าใด - วงเงินเบิกจ&ายไม&เกิน 50,000.-บาท ถ�าจํานวนเงินขอคืนตํ่ากว&าวงเงินสดย&อย ให�จ&ายจากเงินสดย&อยของ ป. ถ�าจํานวนเงินขอคืนสงูกว&าวงเงินสดย&อยให�จ&ายจากเงินรายได�- วงเงินเบิกจ&ายเกิน 50,000.-บาท ให�เบิกจ&ายท่ี ปปข. และเบิกจ&ายได�ทุกวนั

5. จ�างเหมาบุคคลปฏิบัติงาน 5.1 การเบิกจ&ายงวดแรก เป̂ด PO. ทุกสัญญาไม&ว&าวงเงินเท&าใด - เบิกจ&ายโดย ปปข. ทุกวนัจันทร>,

พุธ, ศุกร>

5.2 การเบิกจ&ายงวดถัดไป ไม&ต�องเป̂ด PO. - วงเงินเบิกจ&ายไม&เกิน 12,000.- บาท ให�จ&ายจากเงินสดย&อยท่ี ป.

เป̂ด PO. เป5นรายบรรทัดต&อเดือน (งวด)

- วงเงินเบิกจ&ายเกิน 12,000.-บาท ให�เบิกจ&ายโดย ปปข. ทุกวันจันทร>, พุธ, ศุกร>

หมายเหตุ : การจ&ายเงิน กรณีข�อ 1-5 สําหรับการจ�างเหมาบุคคลธรรมดา ให�พิจารณาตาม บันทึก ฝงบ. ท่ี มท. 55603/83 ลว. 25 มิ.ย. 51

3. ผู�ว&าการเห็นชอบ กรณีการจางอ;านมาตรฯ มีความจําเป_นตองจางต;อเนื่อง ให�ดําเนินการโดยอนุโลมตามระเบียบสํานักนายกรฐัมนตรี ว&าด�วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ข�อ 14 ดังนี้

3.1 ดําเนินการจัดจ�างใหม&โดยวิธีพิเศษ (Repeat Order) ตามระเบียบฯ ข�อ 24 (5)

3.2 ก&อนดําเนินการจดัจ�าง จะต�องมีการจัดทํารายงานขอจ�าง โดยให�เจ�าหน�าท่ีพัสดุจดัทํารายงานเหตุผล และความจําเป5นท่ีต�องจัดจ�างฯ ตามระเบียบฯ ข�อ 27

3.3 แต&งต้ังคณะกรรมการจดัจ�างโดยวธิีพิเศษเพ่ือเจรจาต&อรองกับคู&สัญญารายเดิมตามสญัญาซ่ึงยังไม&สิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญา เพ่ือขอให�มีการจ�างตามรายละเอียด และราคาท่ีตํ่ากว&า หรือในราคาเดิม โดยคํานึงถึงราคาต&อหน&วยตามสัญญาเดิม เพ่ือให�เกิดประโยชน>สูงสุดแก& กปภ. ตามระเบียบฯ ข�อ 58 (2) และรายงานผลการพิจารณา พร�อมความเห็นต&อผู�มีอํานาจอนุมัติ

(บันทึกฝ[ายกฎหมาย มท.55606/272 ลว. 20 ก.ค. 2552)

Page 21: Manager

- 19 -เกร็ดความรูดานพัสดุ

4. ลักษณะการทําสัญญาจาง (บันทึก กองจัดหา มท. 55603-2/2825 ลว. 19 ส.ค. 54) ดังนี้

4.1 หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา 5% ของราคาจ�าง รวมภาษีมูลค&าเพ่ิม

4.2 ค&าจ�างและการจ&ายเงิน จํานวนเงินไม&รวมภาษีมูลค&าเพ่ิม

4.3 การจ&ายเงินแต&ละงวด ผู�ว&าจ�างต�องหักเงิน 10% ของเงินท่ีต�องจ&ายในงวดนั้น รวมภาษีมูลค&าเพ่ิม

4.4 การจ&ายเงินค&าจ�างล&วงหน�า ไม&เกิน 15% ของเงินค&าจ�างตามสัญญารวมภาษีมูลค&าเพ่ิม

4.5 การหักเงินค&าจ�างชดใชัค&าจ�างล&วงหน�า ครั้งละ 15% ของเงินค&าจ�างงวดนัน้ ๆ รวมภาษีมูลค&าเพ่ิม

4.6 ค&าปรับตามท่ีกําหนดโดยรวมภาษีมูลค&าเพ่ิม

5. แนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการบอกเลิกสัญญา (บันทึก กปภ. มท.55606-1/3046 ลว. 24 ส.ค. 49) ดังนี้

1. การดําเนินการก&อนการบอกเลิกสัญญา

1.1 ผู�ควบคุมงาน มีหน�าท่ีเสนอรายงานเหตุผลตามสัญญา ข�อ 6 หรือข�อ 16 ต&อคณะกรรมการตรวจการจ�าง เพ่ือให�คณะกรรมการตรวจการจ�าง มีหนังสือเร&งรัดการทํางานของผู�รับจ�าง หากผู�รับจ�างเพิกเฉย หรือไม&ดําเนินการให�เป5นไปตามหนังสือเร&งรัด ให�คณะกรรมการตรวจการจ�างเสนอรายงาน พร�อมความเห็นไปยังผู�ว&าการ หรือผู�รับมอบอํานาจ แล�วแต&กรณี

1.2 คณะกรรมการตรวจการจ�างมีหน�าท่ีเสนอความเห็น ให�มีการบอกเลิกสัญญา ในกรณีท่ีผู�รับจ�างผิดสัญญาจ�าง เช&น

- ไม&ลงมือทํางานภายในกําหนดเวลา หรือ

- ไม&สามารถทํางานให�แล�วเสรจ็ตามกําหนดเวลา หรือ

- มีเหตุให�เชื่อได�ว&า ผู�รับจ�างไม&สามารถทํางานให�แล�วเสรจ็ภายในกําหนดเวลา หรือจะแล�วเสรจ็ล&าช�าเกินกําหนดเวลา หรือ

- เกินสัญญาแล�ว มีค&าปรับจะเกินร�อยละ 10 ของวงเงินค&าจ�าง และผู�รับจ�างไม&ยินยอมให�ปรับ หรือ

- ผิดสัญญาข�อใดข�อหนึ่ง หรือ ตกเป5นผู�ล�มละลาย หรือ

- เพิกเฉยไม&ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการตรวจการจ�าง / ผู�ควบคุมงาน หรอื

- ได�รับแจ�งเวยีนให�เป5นผู�ท้ิงงาน

1.3 หากคณะกรรมการตรวจการจ�างเห็นควรบอกเลิกสัญญาใด จะต�องทําบันทึกนําเสนอผู�ว&าการ โดยชี้แจงข�อเท็จจริง ความจําเป5น และเหุตผลประกอบ เม่ือผู�ว&าการเห็นชอบ หรืออนุมัติให�มีการบอกเลิกสัญญาแล�ว จึงส&งเรื่องให�งานกฎหมายฯ ของเขต หรือฝ[ายกฎหมายแล�วแต&กรณี ดําเนินการบอกเลิกสัญญา

Page 22: Manager

- 20 -

เกร็ดความรูดานพัสดุ2. การดําเนนิการบอกเลิกสัญญา

2.1 มีหนังสือถึงผู�รับจ�าง บอกกล&าวให�ผู�รับจ�างทํางานตามสัญญาให�แล�วเสร็จภายในเวลาท่ีกําหนด (ปกติกให�เวลา 30 วัน) หากไม&ไปดําเนินการหรือดําเนินการไม&แล�วเสร็จภายในเวลาท่ีกําหนด ให�ถือหนังสือฉบับดังกล&าว เป5นหนังสือบอกเลิกสัญญา โดยผู�ว&าการ หรือผู�รับมอบอํานาจ (ท่ีมีอํานาจบอกเลิกสัญญา) แล�วแต&กรณี เป5นผู�ลงนามในหนงัสือบอกเลิกสัญญา

2.2 มีหนังสอืถึงธนาคารผู�คํ้าประกันสัญญา โดยแจ�งให�ทราบถึงความรับผิดตามสัญญาคํ้าประกัน

6. การส;งมอบพัสด/ุส;งมอบงานท่ีตรงกับวันหยุดทํางาน (บันทึก กองกฎหมาย มท. 57442-02/2439 ลว. 19 ส.ค. 2545)

6.1 กรณีเป_นสัญญาซ้ือขาย หากวันครบกําหนดส&งมอบพัสดุตรงกับวันหยุดทํางานของ กปภ. ยกตัวอย&างวันครบกําหนดส&งมอบเป5นวันเสาร> ผู�ขายมีสิทธิส&งมอบพัสดุแก& กปภ.ในวันจันทร> ซ่ึงเป5นวันเริ่มหรือเป̂ดทํางานวันแรกได� โดยไม&ถือว&าผิดนัด แต&หากผู�ขายมาส&งมอบพัสดุหลังจากครบกําหนดส&งมอบตามสญัญาแล�ว เช&นมาส&งมอบในวันพุธ ดังนี้ ถือว&าผู�ขายผิดนัด จึงต�องปรับผู�ขาย ต้ังแต&วันถัดจากวันครบกําหนดส&งมอบ ต้ังแต&วันอาทิตย> จนถึงวันท่ีผู�ขายส&งมอบพัสดุท่ีถูกต�องตามสัญญาในวันพุธ รวมปรับเป5นเวลา 4 วนั เป5นต�น

6.2 กรณเีป_นสัญญาจาง เนื่องจากตามระเบียบสํานักนายกรฐัมนตรวี&าด�วยการพัสดุฯ ข�อ 72 ได�กําหนดให�ผู�ควบคุมงาน มีหน�าท่ีตรวจและควบคุมงาน ณ สถานท่ีท่ีกําหนดไว�ในสัญญาทุกวัน ดังนั้นหากวันครบกําหนดส&งมอบงานจ�างตรงกับวันหยุดทํางานตามประกาศของ กปภ. ผู�รับจ�างก็สามารถแสดงเจตนาขอส&งมอบงานในวันหยุดงานตามประกาศของ กปภ. ได� เนื่องจากในพ้ืนท่ีก&อสร�างมีตัวแทนผู�ว&าจ�างอยู&ประจําแต&หากข�อเท็จจริงปรากฎว&า ผู�รับจ�างไม&อาจส&งมอบงานในวันดังกล&าวได� ด�วยเหตุขัดข�องอันเกิดจาก กปภ. เอง ผู�รับจ�างก็มีสิทธิส&งมอบงานจ�างท่ีถูกต�องตามสัญญาต&อตัวแทนผู�ว&าจ�าง หรือ หน&วยงานของ กปภ. ในวันแรกท่ีเป̂ดทํางานได� โดยไม&ถือว&าผิดนัด หากแต&ถือว&าผู�รับจ�างได�ส&งมอบงานตามกําหนดระยะเวลาตามสัญญาแล�ว โดยใช�หลักการพิจารณาเช&นเดียวกับกรณีตามสญัญาซ้ือขายดังกล&าวข�างต�น

7. แนวทางปฏิบัติการตรวจรับงานจาง (บันทึกกองจดัหา มท.57444-02/5303 ลว.19 พ.ย.44) ดังนี้

7.1 ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว&าด�วยการพัสดุ ตามข�อ 72 (3) กล&าวคือ คณะกรรมการตรวจการจ�างจะต�องทําการตรวจรับงานภายใน 3 วันทําการ ซ่ึงจะเป5นกรณีปกติ ไม&มีเหตุอุปสรรคใด ๆ แต&หากเป5นกรณีไม&ปกติ มีเหตุอุปสรรคเกิดข้ึน อาจเป5นเหตุไม&สามารถไปทําการตรวจรับภายใน 3 วันทําการได� คณะกรรมการตรวจการจ�างสามารถรายงานหรือชี้แจงเหตุผลต&อผู�ว&าการได� ดังนั้นการท่ีเข�าใจว&า หากไม&ทําการตรวจรับภายในกําหนดระยะเวลา 3 วันปฏิทิน จะเป5นการขัดคําสั่ง และไม&ปฏิบัติตามบันทึกซักซ�อมความเข�าใจ จึงเป5นความเข�าใจท่ีคลาดเคลื่อน เนื่องจากการนับกรณีช&วงเวลาของวันหยุดจะนับเฉพาะวันทําการ

Page 23: Manager

- 21 -เกร็ดความรูดานพัสดุ

7.2 ในการตรวจรับงานจ�างตาม 7.1 นอกจากจะต�องตรวจรับภายใน 3 วันทําการ นับแต&วันท่ีประธานกรรมการ ฯ ทราบแล�ว ในการตรวจรับงาน เม่ือเห็นว&า งานเสร็จถูกต�องตามสัญญาแล�ว คณะกรรมการฯทุกคน ควรลงนามในใบรับรองผลการปฏิบัติงานพร�อมกัน ในวันเดียวกันนั้นด�วย แล�วมอบใบรับรองผลการปฏิบัติงานให�ผู�รับจ�าง 1 ฉบับ และเจ�าหน�าท่ีพัสดุ 1 ฉบับ เพ่ือผู�รับจ�างและเจ�าหน�าท่ีพัสดุจะได�นําไปดําเนินการประกอบเรื่องเบิกจ&ายเงินโดยเร็วต&อไป ท้ังนี้ เพ่ือความโปร&งใสและป8องกันคําครหา อันอาจเกิดข้ึนได� และเพ่ือให�เป5นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว&าด�วยการพัสดุฯ ข�อ 72 ด�วย

8. การพิจารณางดหรือลดค;าปรับใหแก;คู;สัญญาฯ ตามระเบียบสํานักนายกฯ ข�อ 139 (หนังสือท่ี กค.(กวพ) 0421.3/ว.268 ลว.16 ก.ค.55) ดังนี้

8.1 เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร&องของส&วนราชการ

8.2 เหตุสุดวิสยั

8.3 เหตุเกิดจากพฤติการณ>อันหนึ่งอันใดท่ีคู&สัญญาไม&ต�องรับผิดตามกฎหมาย

หมายเหตุ ถึงแม�จะเป5นสัญญาของ กปภ.สาขา แต&ผู�จัดการ กปภ. สาขาไม&มีอํานาจโดยผู�มีอํานาจ คือ ผู�อํานวยการ กปภ.เขต ข้ึนไป (คําสั่ง 1219/52 ข�อ 6.5)

9. วิธีปฏิบัติกรณีเกิดความชํารุดบกพร;องแก;งานจาง หรือพัสดุท่ีจัดซ้ือ ในระหว&างคํ้าประกันตามสัญญา และการคืนหลักประกันสัญญา (คําสั่ง 363/2545 ลว. 1 ต.ค. 2545)

เม่ือเกิดความชํารุดบกพร&องให�งานการพัสดุ ของหน&วยงานท่ีดูแลทรัพย>สิน ดําเนินการ ดังนี้

1. รายงานความชํารุดบกพร&อง สาเหตุและวนัท่ีของการชํารุด ต&อผู�จัดการ กปภ.สาขา และแจ�งผู�รับจ�างให�มาทําการซ&อมแซมภายในระยะเวลา และเง่ือนไขท่ีกําหนดในสัญญา

2. สําเนาหนังสือตามข�อ 1 ให�ผู�คํ้าประกันทราบ

ท้ังนี้การส&งหนงัสือตามข�อ 1 และ 2 ทางไปรณีย>ให�ลงทะเบียนตอบรับ หรือให�พนักงานไปส&ง โดยต�องมีผู�ลงลายมือชื่อรับเอกสาร

3. เม่ือผู�รับจ�างหรือผู�ขาย ไม&มาทําการซ&อมภายในระยะเวลาท่ีกําหนดโดยไม&มีเหตุอันสมควรให�ดําเนินการดังนี้

3.1 มีบันทึกแจ�งให�หน&วยงานท่ีจัดทําสัญญาทราบโดยด&วนเพ่ือระงับการคืนหลักประกันไว�ก&อน

3.2 ให�ดําเนินการจัดซ&อมโดยของบประมาณจาก กปภ.เขต

3.3 เม่ือซ&อมแล�วเสรจ็หากเป5นสัญญาของ กปภ.เขต หรอื กปภ. ให�แจ�งผู�เก่ียวข�องเพ่ือเรียกค&าใช�จ&ายในการซ&อมแซมจากผู�รับจ�างหรือผู�คํ้าประกันต&อไป

3.4 ระยะเวลาข�างต�นไม&ควรเกิน 3 เดือน นับแต&วันท่ีความชํารุดบกพร&องปรากฎ

Page 24: Manager

- 22 -

เกร็ดความรูดานพัสดุ10. การขายทรัพย9สินท่ีก;อสรางบนท่ีราชพัสดุแบ;งเป_น 2 กรณี ดังนี้

10.1 ทรัพย>สินได�ก&อนวันท่ี 28 ก.พ. 22 เม่ือจําหน&ายไม&ต�องเรียกเก็บภาษีมูลค&าเพ่ิม

10.2 ทรัพย>สินได�หลังวันท่ี 28 ก.พ. 22 และก&อสร�างโดยใช�เงินรายได� กปภ. เม่ือจําหน&ายต�องเรียกเก็บภาษีมูลค&าเพ่ิม

(บันทึกกองการเงิน ท่ี มท.55051-1/2642 ลว. 30 มี.ค. 2548)

11. หลักเกณฑ9การรับเงินหรือทรัพย9สินท่ีมีผูบริจาคให

1. การรับบริจาคเงินหรือทรัพย>สินไม&ว&ากรณีใด ๆ ให�คํานึงถึงผลได�ผลเสียและประโยชน> ท่ี กปภ.จะพึงได�รับ และจะพึงให�ตอบแทนท้ังในป*จจุบันและอนาคตเป5นสําคัญ

2. การรับบริจาคท่ีมีเง่ือนไขเป5นการผูกพันจะต�องไม&เป5นการให�ประโยชน>ต&อบุคคลใดโดยเฉพาะ

3. การรับบริจาคเงินหรือทรัพย>สินท่ีมีภาระติดพัน หรือมีภาระต�องเรียกร�องหรือซ&อมบํารุงรักษา ให�หน&วยงานท่ีจะรับบริจาคพิจารณาว&า ผลตอบแทนท่ีจะได�รับคุ�มกับค&าใช�จ&ายท่ี กปภ. จะต�องเสียไปหรือไม&

4. การรับบริจาคทรัพย>สินอ่ืนนอกจากเงิน ให�ตรวจสอบก&อนว&า ทรัพย>สินท่ีจะบริจาคมีเอกสารสิทธิสมบูรณ> ท้ังนี้ เพ่ือมิให�ต�องเกิดคดีฟ8องร�องภายหลัง

ผู�จัดการ กปภ. เป5นผู�พิจารณาอนุมัติ และรายงานให�ผู�บังคับบัญชาทราบ (ระเบียบ กปภ. ว&าด�วย

การรับเงินหรือทรัพย>สินท่ีมีผู�บริจาคให� พ.ศ. 2530)

12. ความหมายเก่ียวกับ “รถยนต>นัง่”

รถยนต>นั่ง หมายความว&า รถประจําตําแหน&งและรถส&วนกลาง

รถประจําตําแหน&ง หมายความว&า รถยนต>ท่ีการประปาส&วนภูมิภาคจัดให�เพ่ือใช�ประจําตําแหน&ง พนักงานระดับผู�อํานวยการฝ[ายหรือผู�ดํารงตําแหน&งเทียบเท&าข้ึนไป

รถส&วนกลาง หมายความว&า รถยนต>ท่ีการประปาส&วนภูมิภาคมอบให�หน&วยงานของการประปา ส&วนภูมิภาค สําหรับใช�เป5นพาหนะติดต&อกิจการงานท่ัวไป ท่ีตาม

สภาพแห&งกิจการงานนั้นต�องมีรถยนต>สําหรับใช�เป5นพาหนะ

การใชรถยนต9

- รถส&วนกลาง ให�เบิกค&าน้ํามันได�เท&าท่ีจ&ายจริง

- รถประจําตําแหน&ง หรือรถส&วนกลางท่ีใช�ในลักษณะรถประจําตําแหน&งเป5นการชั่วคราว ให�ผู�ใช�รถเป5นผู�จ&ายค&าน้ํามันเอง

(ข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยรถยนต>นัง่ พ.ศ. 2548)

Page 25: Manager

- 23 -

เกร็ดความรูดานพัสดุ13. ผู�ว&าการเห็นชอบต&อท�ายบันทึก ฝ[ายการเงินและบัญชี ท่ี มท.55703/30 ลว. 25 ม.ค. 53 ใหจัดสรรรถยนต9กระบะ ใหผูจัดการ กปภ. สาขา ใช�ปฏิบัติงานเพ่ือดําเนินงานกิจการของ กปภ. มีประสิทธิภาพ โดยเป5นรถยนต>ส&วนกลางให�ผู�จัดการ กปภ.สาขาใช�ปฏิบัตงิาน และกําหนดวิธปีฏิบัติ ดังนี้

1. การใช�รถยนต>กระบะท่ีการประปาส&วนภูมิภาคสาขาได�รับจัดสรร ให�เป5นดุลพินิจของผู�จัดการการประปาส&วนภูมิภาคสาขา ในการบริหารจัดการควบคุม กํากับ ดูแล และรับผิดชอบ เพ่ือการใช�งานในกิจการของ กปภ. ให�เกิดความคล&องตัว มีประสิทธิภาพ และเสริมสร�างภาพลักษณ>ท่ีดีต&อองค>กรต&อบุคคลภายนอก ท้ังนี้ เพ่ือให�เกิดประโยชน>สูงสุดในกรณีจําเป5นและเม่ือได�รับอนุญาตจากผู�จัดการ

2. กรณีการใช�งานท่ีนอกเหนือจากการใช�งานในกิจการของ กปภ. ให�ผู�จัดการการประปาส&วนภูมิภาคสาขารับผิดชอบน้ํามันเชื้อเพลิงเอง

(บันทึกฝ[ายอํานวยการ ท่ี มท. 55603/81 ลว. 25 พ.ค. 2553)

14. ผู�จัดการ กปภ.สาขา ต�องมอบหมายให�มีพนักงาน/ลูกจ�าง ท่ีประจําโรงกรองน้ําหน&วยบริการฯ หรอืเขตจําหน&ายน้ํา ใหดูแลสินทรัพย9ถาวร และวัสดุถาวร โดยมีหน�าท่ีควรรับผิดชอบดังนี้

1. เม่ือมีการดําเนินการเก่ียวกับสนิทรัพย>ถาวรและวัสดุถาวรทุกครั้ง พนกังานผู�รับผิดชอบดูแลสินทรัพย>ถาวรและวสัดุถาวรในแต&ละหน&วยงานบริการหรือพ้ืนท่ีฯ ต�องรายงายผลมายังพนักงานพัสดุประจําหน&วยงาน (ในสํานักงาน) เช&นกรณี กปภ.ข. นําสินทรัพย>ถาวรออกจากพ้ืนท่ีเพ่ือไปซ&อม และนํา/ไม&นําสินทรัพย>ถาวรอ่ืนมาทดแทน หรือกรณีให�ยืม/โอนให�กับหน&วยงานอ่ืน, รายงานผลการชํารุด รวมถึงการรับบริจาค ฯลฯ

2. พนักงานผู�รับผิดชอบดูแลสนิทรัพย>ถาวรและวสัดุถาวรในแต&ละหน&วยบริการหรือพ้ืนท่ีฯ ต�องรายงานหัวหน�าหน&วยงานทราบถึงความครบถ�วนของสินทรัพย>ถาวร และวัสดุถาวร ในทะเบียนสินทรัพย>ถาวรประจําหน&วยงานและทะเบียนวัสดุประจําหน&วยงาน (ตามพ้ืนท่ี) กับท่ีมีตัวตนอยู& ทุกเดือน/รายไตรมาส แล�วแต&หัวหน�างานพิจารณา

3. พนักงานผู�รบัผิดชอบดูแลสินทรัพย>ถาวรและวสัดุถาวรในแต&ละหน&วยบริการหรือพ้ืนท่ีฯ ต�องร&วมเป5นผู�นําชีแ้ละรับผิดชอบในกรณีท่ีมีสินทรัพย>ถาวรหรือวัสดุถาวรประจําหน&วยงาน ขาด – เกินจากการตรวจนับประจําป̀ และต�องเป5นผู�ชี้แจง ต&อ สตส. หรือ สตง. ฯลฯ

(บันทึกกองบริหารทรัพย>สิน ท่ี มท.55703-4/512 ลว. 1 เม.ย. 2554)

15. เม่ือเกิดสาธารณภัย เช&น ก&อวินาศกรรม อัคคีภัย วาตภยั หรือ อุทกภัย เป5นต�น ให�ดําเนินการดังนี้

1. เม่ือเกิดสาธารณภัยข้ึนท่ีสํานักงาน หรือท่ีปฏบัติงานของ กปภ. ในส&วนภูมิภาค ให�หัวหน�าหน&วยงานนั้น ๆ รายงานทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส> (E-mail) หรือโทรสารหรือโดยวิธีอ่ืนใดโดยด&วน ต&อผู�บังคับบัญชาในส&วนกลาง เพ่ือทราบโดยสังเขปถึง วนั เวลา สถานท่ี ท่ีเกิดสาธารณภัยในทันทีท่ีสามารถกระทําได� และบันทึกชี้แจงรายละเอียดจัดทําแผนผังบริเวณสถานท่ีเกิดสาธารณภัยและบริเวณใกล�เคียง พร�อมท้ังประมาณการค&าเสียหายเสนอผู�บังคับบัญชาจนถึงผู�ว&าการ ภายในกําหนด 3 วัน นับต้ังแต&เกิดสาธารณภยัข้ึนหรือบรรเทาลง

2. สาธารณภัยกรณีการก&อวินาศกรรม อัคคีภัย หรืออุทกภัย ให�แจ�งสถานีตํารวจท�องท่ีหรือรายงานอําเภอ หรือจังหวัด เพ่ือทราบแล�วแต&กรณี

Page 26: Manager

- 24 -

เกร็ดความรูดานพัสดุ3. กรณีเกิดอัคคีภัย ให�การประปาส&วนภูมิภาคสาขาจ&ายน้ําประปาเพ่ือการอุปโภคบริโภค โดยไม&คิดเงินได�เป5นเวลาไม&เกิน 30 วัน ในบริเวณท่ีพักอาศัยชั่วคราว สําหรับผู�ประสบอัคคีภัยซ่ึงทางราชการหรือหน&วยงานอ่ืนเป5นผู�จัดสร�างข้ึนในเขตจําหน&ายน้ํา

4. ในกรณีผู�ใช�น้ําของการประปาส&วนภูมิภาค ได�รับความเสียหายเนื่องจากเหตุสาธารณภัย และประสงค>จะใช�น้ําต&อไปอีก ให�ผู�ใช�น้ํายื่นคําร�องว&าตนเองเป5นผู�ประสบเหตุสาธารณภยัไว�เป5นหลักฐาน โดยมีเอกสารรับรองของทางราชการออกให� ภายในกําหนด 45 วัน นับต้ังแต&วันท่ีเกิดเหตุสาธารณภัยข้ึน และจะต�องยื่นคําร�องขอติดต้ังประปาเพ่ือใช�น้ําต&อไป ภายใน 240 วัน นับต้ังแต&วันท่ีเกิดเหตุสาธารณภัย หากพ�นกําหนดให�ถือว&าเป5นผู�สละสิทธิ

การขอติดต้ังประปาตามวรรคแรก โดยติดต้ังมาตรวัดน้ําตามขนาดเดิมท่ีใช�อยู&จะต�องชําระค&าใช� จ&ายต&าง ๆ ตามท่ี กปภ. เรยีกเก็บ ยกเว�นเงินประกันการใช�น้ํา และค&ามาตรวดัน้ํา

5. กรณีผู�ใช�น้ําประสบอัคคีภัย ให�การประปาส&วนภูมิภาคสาขา แต&งต้ังคณะกรรมการพิจารณา งดเก็บเงินค&าน้ําประปาประจําเดือน สําหรับการใช�น้ําประปาประจําเดือนหลังสุดเฉพาะรายท่ียังไม&ได�เรียกเก็บว&ามีท้ังหมดก่ีราย แล�วรายงานข�อเท็จจริงขออนุมติผู�ว&าการหรือผู�ท่ีได�รับมอบหมายจากผู�ว&าการยกเลิกไม&เก็บเงิน(ระเบียบ กปภ. ว&าด�วย วิธปีฏิบัติในกรณีเกิดสาธารณภัย พ.ศ. 2536 ฉบับ 1 – 3)

Page 27: Manager

- 25 -

เกร็ดความรูดานงบประมาณทําการ งบประมาณลงทนุประเภทของงบประมาณ

1. งบประมาณทําการ (OPERATING BUDGETS)

งบประมาณทําการ หมายถึง งบประมาณท่ีจัดทําข้ึนเพ่ือใช�ในการดําเนินงานตามปกติ ประกอบด�วย เป8าหมายการผลิต จําหน&ายและบริการ เป8าหมายรายได� รายจ&าย กําไรสุทธิ เนื่องจากงบนี้ เป5นงบท่ีแสดงให�เห็นความสามารถของผู�บริหารกิจการ ว&าจะสามารถดําเนินการเพ่ือให�มีกําไรได�อย&างไร กปภ. จึงพยายามควบคุมและลดรายจ&ายโดยใช�งบประมาณทําการนี้เป5นเครื่องมืออย&างมีประสิทธิภาพ และกําหนดหลักเกณฑ>การปฏิบัติงานโดยใช�ต�นทุนต&อหน&วย (UNIT COST) เข�ามาช&วยและพยายามท่ีจะพัฒนาไปให�ได�ต�นทุนมาตรฐาน อันเป5นส&วนหนึ่งของงบประมาณท่ีได�พัฒนาอย&างสมบูรณ>แล�วในอนาคต

2. งบประมาณลงทุน (INVESTING BUDGETS)

งบประมาณลงทุน หมายความว&า รายการท่ีประมาณว&าจะจ&าย เพ่ือก&อให�เกิดสินทรัพย>ถาวรหลัก รวมท้ังเพ่ือขยายงาน หรือการทดแทนสินทรัพย>เดิม ซ่ึงมีลักษณะเป5นสาระสําคัญ หรือเป5นการปรับปรุงงานให�ดีข้ึน หรือรายจ&ายเพ่ือซ้ือกิจการหรือหุ�นของหน&วยงานอ่ืน

สินทรัพย9ถาวร หมายความว&า สินทรัพย>ซ่ึงตามปกติโดยสภาพของสภาพของสินทรัพย>นั้นมีอายุการใช�งานเกินกว&า 1 ป̀ หรือตามความหมายในระบบบัญชีของรัฐวิสาหกิจท่ีกระทรวงการคลังเห็นชอบด�วย

สินทรัพย9ถาวรหลัก หมายความว&า สินทรัพย>ถาวรท่ีใช�ในการดําเนินกิจการหลักของรัฐวิสาหกิจนั้น ๆ แบ&งออกเป5น 5 หมวด ได�แก& หมวดท่ีดิน หมวดสิ่งก&อสร�าง หมวดเครื่องจักรอุปกรณ> หมวดยานพาหะ และหมวดอ่ืน ๆ ซ่ึงถือเป5นสินทรัพย>ถาวรหลัก เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในลักษณะงานของการประปาส&วนภูมิภาค แบ&งย&อยเป5นดังนี้

หมวดท่ีดิน การจัดหาเพ่ือเตรียมท่ีดินไว�รองรับโครงการก&อสร�างปรับปรุงขยายการประปา หรือกรณีจําเป5นต�องจัดซ้ือท่ีดิน เนื่องจากเดิมใช�หรือเช&าท่ีดินของบุคคล หรือหน&วยงานอ่ืนและถูกแจ�งความจํานงให�ย�าย

หมวดส่ิงก;อสราง - งานก&อสร�างปรับปรุงขยายโครงการใหญ&

- งานวางท&อขยายเขตจําหน&ายน้ํา

- งานก&อสร�างระบบประปาและอาคาร

- งานปรับปรุงเส�นท&อเพ่ือเปลี่ยนแทนท&อเดิมท่ีชํารุดหรือหมดอายุ

การใช�งานเพ่ือลดการสูญเสียของน้ํา

- งานก&อสร�างปรับปรุงแหล&งน้ํา

- งานติดต้ังไฟฟ8ากําลัง

- งานติดต้ังประปาบ�านพัก

หมวดเครือ่งจักรอุปกรณ9 ได�แก& การจดัหาเครื่องจักร เครื่องยนต> เครื่องสูบน้ํา เป5นต�น

หมวดยานพาหนะ ได�แก& การจัดหายานพาหนะเพ่ือใช�ในกิจการ เป5นต�น

Page 28: Manager

- 26 -

เกร็ดความรูดานงบประมาณทําการ งบประมาณลงทนุหมวดเครือ่งใชสํานักงานและเครื่องมือเครื่องใชขนาดเล็ก

หมวดอ่ืน ๆ ได�แก& การลงทุนซ้ือหุ�นของหน&วยงานอ่ืน เป5นต�น

ประเภทของงบประมาณลงทุน

แบ&งออกเป5นงบลงทุนท่ีทําเป5นโครงการและงบลงทุนท่ีมิได�ทําเป5นโครงการ

1. งบลงทุนท่ีทําเป_นโครงการ เป5นงบลงทุนระยะยาวท่ีมีระยะเวลาเริ่มต�นและสิ้นสุดปกติตามระยะเวลาของแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห&งชาติ คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห&งชาติเป5นผู�พิจารณาเสนอความเห็นไปยังคณะรัฐมนตรีเพ่ืออนุมัติ ถ�าโครงการนั้นได�รับอนุมัติแล�ว รัฐวสิาหกิจจะเสนอโครงการแต&ละป̀มาในงบลงทุนประจําป̀

2. งบลงทุนท่ีมิไดทําเป_นโครงการหรือเพ่ือการดําเนินงานปกติ เป5นงบลงทุนประจําป̀จัดทําเป5นป̀ ๆ ไป จะต�องนําเสนอคณะรฐัมนตรี เพ่ือพิจารณาและให�ความเห็นชอบ

ในส&วนงานของ กปภ. จําแนกเป5นรายการต&าง ๆ ดังนี้

- งานก&อสร�างระบบประปาอาคาร

- งานวางท&อขยายเขตจําหน&ายน้ํา

- งานปรับปรุงเส�นท&อ หรืองานควบคุม หรือลดการสูญเสียของน้ํา

- งานปรับปรุงระบบประปา

- งานปรับปรุงอาคาร

- งานติดต้ังไฟฟ8ากําลัง

- งานติดต้ังประปาบ�านพัก

- ครภุัณฑ>

- ท่ีดิน

- สํารองกรณีจําเป5นเร&งด&วน

- สํารองราคา

ในการจําแนกรายการต&าง ๆ ข�างต�นจะสอดคล�องกับระเบียบว&าด�วยงบลงทุน หรือจําแนกประเภทตามท่ี กปภ. กําหนด

การพิจารณารายการค&าใช�จ&ายบางประเภทท่ีจะดําเนินการว&าจะเป5นงบลงทุน หรืองบทําการซ่ึงจะพิจารณา ดังนี้ (ตารางท่ี 1)

Page 29: Manager

- 27 -

เกร็ดความรูดานงบประมาณทําการ งบประมาณลงทนุตารางท่ี 1

พิจารณาว;ารายการค;าใชจ;ายใดเป_นงบลงทุนหรืองบทําการ

รายการ งบประมาณลงทุน งบประมาณทําการ

1.งานปรบัปรุงเส�นท&อกับงานซ&อมท&อ

1.1 ท&อท่ีวางแล�ว ซ่ึงถือเป5นสินทรัพย>ถาวรของการประปาส&วนภูมิภาคมีลักษณะดังนี้.-

ก) ท&อและอุปกรณ>ท่ีใช�ในระบบการผลิตน้ํา เช&น ท&อส&งน้ําดิบ ท&อส&งน้ําบาดาล ท&อระบบตะกอน ท&อดูด เป5นต�น

ข) ท&อและอุปกรณ>ท่ีใช�ในระบบจําหน&าย เช&น

ข.1 ท&อประสาน ท&อส&งน้ําและท&อจ&ายน้ําในบรเิวณประปาพร�อมอุปกรณ>

ข.2 ท&อและอุปกรณ>ท่ีการประปาจัดวางข้ึนเพ่ือใช�ในการส&งจ&ายน้ําประปาไปให�ผู�ใช�น้ํา แบ&งออกเป5น 2 ประเภท ดังนี้.-

- ท& อ เมนหลัก คือ ท& อ ท่ี มี ขนาดเส�นผ& าศูนย>กลางต้ังแต& 4 นิ้ว หรือ 100 มิลลิเมตรข้ึนไป พร�อมอุปกรณ>

- ท&อเมนรองคือ ท&อ ท่ี มีขนาดเส�นผ&าศูนย>กลางต้ังแต& 2 นิ้ว หรือ 50 มิลลิเมตรข้ึนไป พร�อมอุปกรณ>ท&อท่ีใช�ในระบบจําหน&ายน้ํานี้ จะไม&รวมถึงท&อท่ีวางจากท&อเมนหลักหรือท&อเมนรอง เพ่ือต&อให�ผู�ใช�น้ําเฉพาะราย

ค) ท&อท่ีได�รับบริจาค รวมถึงการรับท&อเมนขยายเขตจําหน&ายน้ํา (ท่ีวางแล�ว) พร�อมอุปกรณ>ซ่ึงบริจาคโดยราชการและเอกชน

ง) ท&อท่ีวางแล�วซ่ึงได�รับจากการรบัโอนกิจการประปาเทศบาล สุขภิบาล หมู&บ�านหรือเอกชน ตามระเบียบและคําสั่งของการประปาส&วนภูมิภาคเรื่องการรับโอนกิจการประปา

1.2 ค& าใช�จ& ายในการเปลี่ยนแปลงทดแทนหรือปรับปรุงท&อ ตามรายการต&อไปนี้ให�ต้ังและเบิกจ&ายจาก งบประมาณลงทุน

1. ค& า ใช�จ& ายในการเปลี่ ยนแปลงทดแทนหรือปรับปรุงท&อตามรายการต&อไปนี้

1.1 ก า ร เ ป ลี่ ย น ข น า ด ช นิ ด ทดแทน ย�ายหรือปรับปรุง ท&อท่ีวางแล�ว ซ่ึงถือเป5นสินทรัพย>ถาวรบางส&วน และความยาวไม&เกิน 30 เมตร (ทุกขนาด และน�อยกว&า 30 เมตร)

1.2 การปรับเปลี่ยนขนาด ชนิด ทดแทน ย�ายหรือปรับปรุง ท&อท่ีวางแล�วท้ังเส�น หรือบางส&วนของท&อท่ีวางให�ผู�ใช�น้ําท่ีมีขนาดตํ่ากว&า 4 นิ้ว หรือ 100 มิลลิเมตร (ไม&จํากัดความยาว เช&น 2 นิ้ว วางได� 50 เมตร)

ความเห็นส;วนตัว

1. แย�งกันในตัว 2. ต&างกันตรงข�อ 1.1 มีคําว&าสินทรัพย>ถาวรบางส&วน (โดยสินทรัพย>ถาวร จะไม&รวมการต&อท&อ ให�ผู�ใช�น้ําเฉพาะราย จะใช�งบทําการได�ตามข�อ 1.2 เท&านั้น

สรุป เปลี่ยนท&อท่ัวไป คือ (ทุกขนาด และน�อยกว&า 30 เมตร)

2. การวางท&อในระบบผลิ ตและจําหน&ายชั่วคราว ไม&เกิน 1 ป̀ ค&าใช�จ& าย ท่ี เ กิด ข้ึน ถือเป5นค& าใช�จ& ายดําเนินการ (งบทําการ) ไม&ต�องมีการบันทึกสินทรัพย>ถาวร หากมีการชํารุดเสียหายให�ตัดเป5นค&าใช�จ&ายในป̀การเงินนั้น ๆ

Page 30: Manager

- 28 -

เกร็ดความรูดานงบประมาณทําการ งบประมาณลงทนุ

รายการ งบประมาณลงทุน งบประมาณทําการ

1.2.1 การเปลี่ยนขนาด ชนิด ทดแทน ย�ายหรือปรับปรุงท&อท่ีวางแล�ว ซ่ึงถือเป5นสินทรัพย>ถาวร บางส&วน และความยาวมากกว&า 30 เมตร (ทุกขนาดท&อ และมากกว&า 30 เมตร)

1.2.2 การเปลี่ยนขนาด ชนิด ทดแทน ย�ายหรือปรับปรุงท&อท่ีวางแล�ว ท้ังเส�นของท&อท่ีวางให�ผู�ใช�น้ําท่ีมีขนาดต้ังแต& 4 นิ้ว หรือ 100 มิลลิเมตร (ต้ังแต& 4 นิ้วข้ึนไป และท้ังเส�น)

1.3 ค&าใช�จ&ายในการประสานท&อของผู�ใช�น้ํา เข�ากับท&อท่ีวางใหม& เนื่องจากปรับปรุงขยายการประปา หรือจากงานขยายเขตจําหน&ายน้ํา ให�ถือเป5นงบลงทุน

1.4 การวางท&อในระบบผลิตและจําหน&ายชั่วคราว เกินกว&า 2 ป̀ ให�บันทึกทะเบียนเป5นสนิทรัพย>ถาวร

1.5 ค&าใช�จ&ายเก่ียวกับการติดต้ังประตูน้ํา

- กรณีเป5นการเปลี่ยน ทดแทนหรือย�ายแนวท&อพร�อมติดต้ังประตูน้ําใหม& ให�จัดทําเป5นงบลงทุน

- กรณีเป5นการติดต้ังประตูน้ําใหม& (ติดต้ังเพ่ิมเติม) กับเส�นท&อท่ีวางไว�เดิมให�จัดทําเป5นงบลงทุน

- กรณีเป5นการเปลี่ยนประตูน้ําท่ีชํารุด หรือหมดสภาพการใช�งาน เป5นประตูน้ําใหม&ให�จัดทําเป5นโครงการ

2.งานปรบัปรุงอาคารกับงานซ&อมแซม

งานปรับปรุงอาคาร ท่ีเป5นการปรับปรุงสภาพให�อายุการใช�งานมากข้ึนกว&าเดิม หรือก้ันห�องเพ่ิมเติม

งานซ&อมแซมท่ี เป5นการเปลี่ยนแปลงของเดิม ท่ีมีสภาพชํารุด ให�อยู&ในสภาพท่ีใช�งานได�ดังเดิม หรือการทาสีของเก&าให�ดูใหม&ข้ึน

3.งานติดต้ังไฟฟ8ากําลังกับงานซ&อมเปลี่ยนไฟฟ8า

งานติดต้ังไฟฟ8า จําแนกตามหลักเกณฑ> กําหนดดังนี้.-- ค&าติดต้ังระบบไฟฟ8า และอุปกรณ>ท่ีเก่ียวข�องครั้งแรกในบริเวณสถานท่ีราชการหรือในอาคารพร�อมการก&อสร�าง หรอืภายหลังการก&อสร�าง- ค&าติดต้ังไฟฟ8าในท่ีสาธารณะ ค&าปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงระบบไฟฟ8า

Page 31: Manager

- 29 -

เกร็ดความรูดานงบประมาณทําการ งบประมาณลงทนุ

รายการ งบประมาณลงทุน งบประมาณทําการ

นอกจากนี้ยังถือเป5นหลักเกณฑ>กรรมสิทธิ์ในการพิจารณา เป5นสินทรัพย> โดยยึดเง่ือนไขในการติดต้ังไฟฟ8าของการไฟฟ8าส&วนภูมิภาค สําหรับผู�ใช�ไฟท่ีเป5นหน&วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจดังนี้.-

การก;อสรางและติดตั้งอุปกรณ9ไฟฟpาภายนอก

- หม�อแปลงไฟฟ8าและอุปกรณ>ป8องกันท่ีอยู&ภายนอก ติดต้ังเพ่ือใช�เฉพาะรายถือเป5นทรัพย>สินของผู�ใช�ไฟฟ8า

การก;อสรางและติดตั้งอุปกรณ9ไฟฟpาภายใน

- อุปกรณ>ไฟฟ8าภายใน หมายถึง อุปกรณ>ไฟฟ8าท่ีนํามาก&อสร�างและติดต้ังอยู&ภายในเขตท่ีดินของผู�ขอใช�ไฟฟ8ารวมท้ังอุปกรณ>ไฟฟ8าภายใน ถือเป5นทรัพย>สินของผู�ใช�ไฟฟ8า

การก;อสรางและติดตั้งอุปกรณ9ไฟpฟpาภายนอก

- หม�อแปลงไฟฟ8าและอุปกรณ>ป8องกันท่ีติดต้ังภายนอกให�แก&ผู�ใช�น้ํา ไฟฟ8าเกิน 1 ราย ถือเป5นทรัพย>สินของการไฟฟ8าส&วนภมิูภาค

4.งานเปลี่ยนมาตรวดัน้ําผู�ใช�น้ํา 8 ป̀

มาตรวัดน้ําท่ีใช�สําหรับเปลี่ยนให�กับผู�ใช�น้ําท่ีมีอายุครบ 8 ป̀

ครุภณัฑ9กับวัสดุ

ครุภัณฑ9 หมายถึง สินทรัพย>ถาวรท่ีซ้ือหรือได�มา ซ่ึงมีอายุการใช�งานตามปกติเกินกว&า 1 ป̀ ข้ึนไป ตามประเภทและชนิดท่ีระบุไว�ในรายละเอียดคู&มือระบบสินทรัพย>ถาวร นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงสิ่งท่ีซ้ือหรือได�มานอกเหนือจากท่ีระบุไว�ในรายละเอียดสินทรัพย>ถาวรซ่ึงมีอายุการใช�งานตามปกติเกินกว&า 1 ป̀ ข้ึนไป และมีราคาต&อหน&วยไม&ต่ํากว&า 5,000 บาท

ครุภณัฑ>ของ กปภ. แบ&งออกเป5น 9 หมวด ดังนี้.-

- ครุภัณฑ>สํานักงาน

- ครุภัณฑ>ยานพาหนะและขนส&ง

- ครุภัณฑ>ก&อสร�าง

- ครุภัณฑ>ไฟฟ8าและวิทยุ

- ครุภัณฑ>โฆษณาและเผยแพร&

- ครุภัณฑ>วทิยาศาสตร>และการแพทย>

- ครุภัณฑ>โรงงานและจักรกล

- ครุภัณฑ>ประปา

- ครุภัณฑ>อ่ืน ๆ

Page 32: Manager

- 30 -

เกร็ดความรูดานงบประมาณทําการ งบประมาณลงทนุ

ค;าวัสดุ หมายถึง รายจ&ายเพ่ือให�ได�มาซ่ึงสิ่งของซ่ึงโดยสภาพเม่ือใช�งานแล�วย&อมสิ้นเปลืองหมดไปเอง แปรสภาพ หรือไม&คงสภาพเดิม มีอายุการใช�งานในระยะเวลาประมาณต้ังแต& 1 ป̀ ข้ึนไป มีลักษณะคงทนถาวร มีราคาต&อหน&วยหนึ่ง หรือชุดหนึ่งไม&เกิน 5,000 บาท เพ่ือซ&อมแซมหรือบํารุงรักษาทรัพย>สิน รวมท้ังค&าใช�จ&ายท่ีต�องชําระพร�อมกับค&าวัสดุนั้น เช&น ค&าวัสดุถาวรในการซ้ือโต�ะ เก�าอ้ี

Page 33: Manager

- 31 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิ

1. วิธปีฏิบัต ิเมื่อบุคคลภายนอก กระทําใหทรัพย9สนิของ กปภ.เสียหาย1. ให� กปภ.สาขา ตรวจสอบหาสาเหตุ และตัวบุคคลผู�จะต�องรับผิด โดยการจัดทําบันทึกข�อเท็จจริงโดยเร็ว

ตามแบบแนบท�ายคําสั่ง กปภ.ท่ี 364/2545 ลงวันท่ี 1 ตุลาคม 2545 เพ่ือบันทึกรายละเอียดต&าง ๆ เช&น

- วนั เดือน ป̀ เวลา สถานท่ีเกิดเหตุ ณ บริเวณ ถนน ซอย ตําบล จังหวดั

- สภาพความเสยีหาย จํานวนค&าเสียหาย

- ผู�กระทําผิดเป5นใคร มีภูมิลําเนาอยู&ท่ีใด เป5นนิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดา

- หมายเลขทะเบียนรถ สําเนาบัตรประจําตัว ภาพถ&ายสถานท่ีเกิดเหตุ

- แผนท่ีแสดงท่ีเกิดเหตุ หลักฐานการทําประกันภัย

2. ให�ดําเนินการแจ�งความร�องทุกข>ต&อพนักงานสอบสวนทันที

3. ถ�ามีผู�รับผดิชอบชดใช�ค&าเสยีหาย ให�ทําหลักฐานเป5นหนังสอื

4. ในการดําเนินคดี ไม&ว&าจะส&งเรื่องให�อัยการ หรอืฝ[ายกฎหมายดําเนินคดีก็ตามจะต�องดําเนินการภายในอายุความ 1 ป̀ นับแต&รู�ถึงการละเมิด และรู�ตัวผู�กระทําละเมิด จึงต�องปฏิบัติตามรายละเอียดและข้ันตอน ตามคําสั่ง กปภ.ท่ี 364/2545 ลงวนัท่ี 1 ตุลาคม 2545 และ 260/2538 ลงวันท่ี 18 เมษายน 2538

(คําสั่ง กปภ.364/2545 ลว. 1 ต.ค. 2545 และบันทึกซักซ�อมแนวทางปฏิบัติ ท่ี มท 55606/2511 ลว. 17 ก.ค. 2549)

2. วิธปีฏิบัต ิการเรียกค;าเสียหาย กรณีบุคคลภายนอกทําใหท;อประปาชํารุด

1. เม่ือมีเหตุละเมิดเกิดข้ึนจากการกระทําของบุคคลภายนอก ให� กปภ.สาขาท่ีครอบครองหรือดูแลทรัพย>สินของ กปภ. รีบดําเนินการตรวจสอบเหตุการณ>ท่ีเกิดข้ึนโดยให�ปฏิบัติและบันทึกข�อเท็จจริง รายละเอียดตามคําสั่ง กปภ.ท่ี 364/2545 ลงวนัท่ี 1 ตุลาคม 2545 ให�ครบถ�วน

2. ให�นําเหตุการณ>ท่ีเกิดข้ึนไปแจ�งความร�องทุกข>ไว�ต&อพนักงานสอบสวนในท�องท่ีเกิดเหตุและคัดรายงานประจําวันเก็บไว�ด�วย

3. ในกรณีผู�ทําละเมิดยอมรับผิดชดใช�ค&าเสียหายให�แต&ยังไม&ชดใช�ให�ในทันที ให�ทําหนังสือแสดงการยอมรับผิดฯ ตามคําสั่งของ กปภ. หรือให�พนักงานสอบสวนบันทึกไว�ในรายงานประจําวันของพนักงานสอบสวนและคัดรายงานเก็บไว�ด�วย

4. ในกรณีผู�ทําละเมิดเป5นลกูจ�างหรือตัวแทนของบุคคลหรือนิติบุคคล ยอมรับผิดและยินยอมชดใช�ค&าเสียหายให� แต&ยังไม&ชดใช�ให�ในทันทีให�ปฏิบัติตามข�อ 3 เท&านั้น อย;าทําสัญญาหรือตกลงประนีประนอมยอมความกับลูกจาง หรือตัวแทนผู�ทําละเมิดดังกล&าว เพราะจะทําให�หนี้ในมูลละเมิดระงับอันจะทําให�นายจ�างหรือตัวการหลุดพ�นไม&ต�องรับผิดในผลแห&งละเมิด ท่ีลูกจ�างหรือตัวแทนกระทําไป

5. ในกรณีผู�ทําละเมิดขอผ&อนชําระค&าเสียหายให�ปฏิบัติตามข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยชําระหนี้ และค&าเสียหายของบุคคลภายนอก พ.ศ. 2536

Page 34: Manager

- 32 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิ

6. ในกรณีท่ีผู�ทําละเมิดไม&ยอมรับผิดชดใช�ค&าเสียหายให�แก& กปภ. ให� กปภ.สาขาแจ�งให� กปภ.เขต ดําเนินคดีกับผู�ทําละเมิดภายใน 30 วัน และ กปภ.เขต ต�องดําเนินการเรียกร�องค&าเสียหาย โดยไม&ชักช�าและอย&าให�ขาดอายุความ 1 ป̀ นับแต&วนัท่ีรู�ถึงการละเมิดและรู�ตัวผู�จะพึงต�องใช�ค&าสินไหมทดแทน

(คําสั่ง กปภ.145/2544 ลว. 3 เม.ย. 2544 และบันทึกกองคดี ท่ี มท 55606-3/369 ลว. 20 ก.ย. 2550)

3. หลกัเกณฑ9การคํานวณมูลค;าทรัพย9สินที่ตองเรียกรองได ตามความผิดละเมดิ

1. กรณีทรัพย>สนิท่ีสูญหายหรือเสียหาย ยังไม;ไดใชงาน ให�ชดใช�ตามราคาป*จจุบันโดยไม&หักค&าเสื่อมราคา2. กรณีทรัพย>สนิท่ีสูญหายได� ใชงานแลว

2.1 ความเสียหายเกิดข้ึนในระหว&างท่ีทรัพย>สินนั้นยังมีอายุการใช�งานอย&างมีประสิทธภิาพอยู& ให�ชด ใช�ตามราคาป*จจุบัน หักด�วยค&าเสื่อมราคาสะสมถึงป̀ท่ีสูญหายหรือเสียหาย2.2 ความเสียหายเกิดข้ึนเม่ือทรัพย>สินท่ีสูญหายหรอืเสียหายหมดอายุการใช�งานอย&างมีประสทิธิภาพ แล�ว ราคาท่ีเรียกชดใช� = ราคาป*จจุบัน x อัตรามูลค&าซากป̀ท่ีสูญหาย / เสียหาย

3. ทรัพย>สินท่ีสูญหายหรือเสยีหายรายการใดท่ีมีราคาป*จจุบันไม&เกิน 2,000.- บาท ให�ชดใช�ตามราคาป*จจุบัน4. ราคาป*จจุบัน หมายถึง ราคาของทรัพย>สินในป̀ท่ีสูญหาย ตามบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑ>ของสํานักงบ

ประมาณ หรอืราคาตลาดท่ีซ้ือขายกันในขณะนัน้

(บันทึกกองบริหารทรัพย>สิน ท่ี มท 55603/131 ลว. 17 ก.ย. 2551)

Page 35: Manager

- 33 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิ4. แนวทางการกําหนดสัดส;วนความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี

แนวทางการกําหนดสัดส;วนความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี

กรณีอุบัตเิหตุ

กรณี ลักษณะความเสียหายสัดส&วนความรบัผดิของ

เจ�าหน�าท่ี (ร�อยละ) หมายเหตุ

พนักงานขับรถ

1 ฝ[าฝ�นกฎหมายเก่ียวกับการจราจร 100 กรณีพนักงานขับรถกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลนิเล&ออย&างร�ายแรงและฝ[าฝ�นกฎหมายเก่ียวกับการจราจรแต&เพียงฝ[ายเดียวหรือโดยลําพัง

2 ฝ[าฝ�นกฎหมายเก่ียวกับการจราจรและมีเหตุป*จจัยภายนอกประกอบด�วย

75 กรณีมีเหตุป*จจัยภายนอกมาประกอบด�วย เช&น ได�รับมอบหมายให�ปฏิบัติหน�าท่ีขับรถมิได�มีตําแหน&งหน�าท่ีโดยตรงเป5นพนักงานขับรถ, ไม&ชํานาญเส�นทาง, สภาพถนนหรือทัศนวิสัยไม&ดี, สภาพยานพาหนะก&อนนํามาใช�ไม&สมบูรณ>, หรือมีความจําเป5นเร&งด&วน เช&น พนักงานขับรถพยาบาลต�องรีบนําผู�ได�รับบาดเจบ็ไปส&งโรงพยาบาลโดยเร็ว เป5นต�น

3 ฝ[าฝ�นกฎหมายเก่ียวกับการจราจร และคู&กรณีมีส&วนประมาทร&วมอยู&อาศัย

50

คําอธิบายเพ่ิมเติม

1. กรณีท่ีมีการนํายานพาหนะของทางราชการไปใช�ในกิจการส&วนตัวหรือเดินทางออกนอกเส�นทางจากท่ีได�รับอนุญาตให�ไปปฏิบัติหน�าท่ีราชการ เจ�าหน�าท่ีผู�เก่ียวข�องต�องรับผิดในความเสียหายท่ีเกิดข้ึนตามประมวลกฎหมายแพ&งและพาณิชย> เต็มจํานวนความเสยีหาย (ร�อยละ 100)

2. แนวทางการกําหนดสัดส&วนความรับผดิทางละเมิดของเจ�าหน�าท่ีนี้ เป5นเพียงแนวทางประกอบการพิจารณาในเบ้ืองต�นเท&านั้น หากมีกรณีนอกเหนือจากแนวทางดังกล&าว ให�ดําเนินการดังนี้

2.1 กรณีท่ีมีความเสียหายทํานองเดียวกับลักษณะความเสียหายข�างต�นก็ให�นําสัดส&วนดังกล&าวมาเทียบเคียงและปรับใช�ตามความเหมาสม

2.2 กรณีมีข�อเท็จจริงหรือลักษณะความเสียหายท่ีแตกต&างหรือนอกเหนือจากแนวทางข�างต�น ให�กําหนดสัดส&วนความรับผิดทางละเมิดของเจ�าหน�าท่ีแต&ละกรณีได�ตามความเหมาะสม

Page 36: Manager

- 34 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิแนวทางการกําหนดสัดส;วนความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี

กรณีไม;ปฏิบัตติามกฎหมายหรือระเบียบ

สดัส&วนความรบัผิดของเจ�าหน�าท่ี (ร�อยละ)

กรณี ลกัษณะความเสยีหาย คณะกรรมการผู�เก่ียวข�อง

(ตรวจสอบ/เสนอความเห็น)

ผู�บังคับบัญชา (ผบ.) หมายเหตุ

ช่ือ สดัส&วน

ตําแหน&ง สัดส&วน

ช้ันต�น-กลาง

ผู�ผ&านงาน

ช้ันสูง /ผู�อนุมตัิ

1 การจัดจาง/จัดซ้ือ ราคาแพง1.1 วิธีการจัดซ้ือ/จ�างไม&ถูกต�อง

กก.พิจารณาผลกก.พิจารณาผลกก.พิจารณาผล

606060

ฝ[ายพัสดุ--

20 1020

102040

กรณีผ&าน จนท.ฝ[ายพัสดุกรณีไม&ผ&าน จนท.ฝ[ายพัสดุกรณีไม&ผ&าน จนท.ฝ[าย-พัสด/ุผบ.ช้ันต�น-กลาง

1.2 กําหนดราคากลางสูงกว&าความเป5นจรงิ(1) ใช�ค&า Factor F/ราคาวัสดุ ไม&ถูกต�อง

(2) คํานวณปริมาณงานผดิพลาด

กก.กําหนด-ราคากลางกก.กําหนด-ราคากลางกก.กําหนด-ราคากลาง

กก.กําหนด-ราคากลาง

70

70

70

100

ฝ[ายพัสดุ

-

-

-

15 10

20

-

-

5

10

30

-

กรณีผ&าน จนท.ฝ[ายพัสดุ

กรณีไม&ผ&าน จนท.ฝ[ายพัสดุ

กรณีไม&ผ&าน จนท.ฝ[ายพัสด/ุผบ.ช้ันต�น-กลาง

1.3 ไม&คัดเลือกผู�เสนอราคาต่ําสดุท่ีมคุีณสมบัติถูกต�องตามเง่ือนไขท่ีกําหนด(1) วิธีสอบราคา

(2) วิธีประกวดราคา

กก.เป̂ดซอง

กก.พิจารณาผล

60

60

ฝ[ายพัสดุ

ฝ[ายพัสดุ

15

15

15

15

10

10

กรณีตาม(1)และ(2)

จนท.ฝ[ายพัสดุ/ผู�ผ&านงานทักท�วงแล�วแต&ผู�บังคับบัญชาใช�อํานาจสั่งอนุมัต ิให�ผู�อนุมัตริับผดิร�อยละ 40 (จนท.ฝ[ายพัสด/ุผู�ผ&านงาน ไม&ต�องรับผดิ)

Page 37: Manager

- 35 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิกรณีไม;ปฏิบัตติามกฎหมายหรือระเบียบ (ต;อ)

สดัส&วนความรบัผิดของเจ�าหน�าท่ี (ร�อยละ)

กรณี ลกัษณะความเสยีหาย คณะกรรมการผู�เก่ียวข�อง

(ตรวจสอบ/เสนอความเห็น)

ผู�บังคับบัญชา (ผบ.) หมายเหตุ

ช่ือ สดัส&วน

ตําแหน&ง สัดส&วน

ช้ันต�น-กลาง

ผู�ผ&านงาน

ช้ันสูง /ผู�อนุมตัิ

2 การตรวจการจาง/ตรวจรับ ไม;ถกูตอง2.1 การก&อสร�างไม&เป5นไปตามแบบรปูรายการ

กก.ตรวจการ-จ�าง

กก.ตรวจการ-จ�าง

30

40

ผู�ควบคุมงาน

ผู�ควบคุมงาน

50

60

10

-

10

-

กรณีข�อเท็จจริงปรากฎเป5นท่ีประจักษ>ชัดแจ�งว&าผู�บังคับบัญชามีเหตุน&าเช่ือว&าควรจะได�รู�ถึงการตรวจรบังานไม&เป5นไปตามแบบรปูรายการ

กรณีผู�บังคับบัญชาไม&น&าจะรู�ว&าการตรวจรับงานไม&เป5นไปตามรปูแบบรายการ ไม&ต�องรับผดิ

2.2 ส&งของไม&ตรงตามสญัญา กก.ตรวจรับ

กก.ตรวจรับ

60

100

ฝ[ายพัสดุ

-

20 10

-

10

-

กรณีข�อเท็จจริงปรากฎเป5นท่ีประจักษ>ชัดแจ�งว&า จนท.ฝ[ายพัสดุ/ผู�บังคับบัญชา มีเหตุน&าเช่ือว&าควรได�รู�ถึงการส&งของไม&ตรงตามสัญญา

กรณี จนท.ฝ[ายพัสด/ุผู�บังคับบัญชา ไม&น&าจะรู�ว&าการส&งของไม&ตรงตามสญัญา ไม&ต�องรับผดิ

Page 38: Manager

- 36 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิกรณีไม;ปฏิบัตติามกฎหมายหรือระเบียบ (ต;อ)

สดัส&วนความรบัผิดของเจ�าหน�าท่ี (ร�อยละ)

กรณี ลกัษณะความเสยีหาย คณะกรรมการผู�เก่ียวข�อง

(ตรวจสอบ/เสนอความเห็น)

ผู�บังคับบัญชา (ผบ.) หมายเหตุ

ช่ือ สดัส&วน

ตําแหน&ง สัดส&วน

ช้ันต�น-กลาง

ผู�ผ&านงาน

ช้ันสูง /ผู�อนุมตัิ

3 ไม;เรียกค;าปรับกรณีส;งมอบงาน / ของล;าชา

กก.ตรวจการจ�าง/รับ

กก.ตรวจการจ�าง/รับ

70

100

ฝ[ายพัสดุ

-

10

-

10

-

10

-

กรณีข�อเท็จจริงปรากฎเป5นท่ีประจักษ>ชัดแจ�งว&า จนท.ฝ[ายพัสดุ/ผู�บังคับบัญชา มีเหตุน&าเช่ือว&าควรจะได�รู�ถึงการส&งมอบงาน/ของล&าช�า

กรณี จนท.ฝ[ายพัสด/ุผู�บังคับบัญชา ไม&อาจทราบข�อเท็จจริงได�ว&ามีการส&งมอบงาน/ชองล&าช�า ไม&ต�องรับผดิ เช&น กก.ตรวจการจ�าง/รับ ปกป̂ดไม&แจ�งให�ทราบ, ลงนามตรวจรับย�อนหลัง เป5นต�น

4 การใชเงินผิดระเบียบ4.1 ไม&นําเงินรายได�เข�าบัญชีท่ีเก่ียวข�องแต&นําไปใช�โดยผดิระเบียบ

ฝ[ายการเงิน

-

20 30

-

50

100

กรณีเป5นเรือ่งท่ีผู�เสนอและผู�บังคับบัญชาปฏิบัติผดิหลกัการเงินการคลัง

กรณีผู�อนุมัตใิช�อํานาจสั่งการและเป5นผู�อนุมัต ิให�รบัผดิเตม็จํานวนร�อยละ 100 (จนท.ฝ[ายการเงิน/ผู�อ&านงาน ไม&ต�องรับผดิ)

4.2 จ&ายเงินเกินสทิธิ/ไม&มีสทิธิ/ผดิระเบียบ

ฝ[ายการเงิน

60 20 20 กรณีมีเงินงบประมาณ/เงินราชการสําหรับใช�จ&ายแล�ว แต&จ&ายผดิระเบียบหรือจ&ายเกินกว&าสิทธิท่ีควรได�รับ

Page 39: Manager

- 37 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิคําอธิบายเพ่ิมเติม

1. กรณีเจ�าหน�าท่ีอยู&ในกลุ&มท่ีต�องรับผิดมากกว&า 1 คน เช&น คณะกรรมการกําหนดราคากลางมีจํานวน 3 คน หรือเจ�าหน�าท่ีฝ[ายพัสดุท่ีเก่ียวข�องมีจํานวน 2 คน ให�แต&ละคนรับผิดคนละส&วนเท&า ๆ กัน

2. ฝ[ายพัสดุ/ฝ[ายการเงิน หมายถึง เจ�าหน�าท่ีท่ีปฏิบติังานในฝ[ายพัสดุ/ฝ[ายการเงินหรือท่ีมีชื่อเรียกอย&างอ่ืนแต&มีลักษณะการปฏบัติหน�าท่ีราชการและความรับผดิชอบเช&นเดียวกัน

3. แนวทางการกําหนดสัดส&วนความรับผดิทางละเมิดของเจ�าหน�าท่ีนี้ เป5นเพียงแนวทางประกอบการพิจารณาในเบ้ืองต�นเท&านั้น หากมีกรณีนอกเหนือจากแนวทางดังกล&าว ให�ดําเนินการดังนี้

3.1 กรณีท่ีมีความเสียหายทํานองเดียวกับลักษณะความเสียหายข�างต�นก็ให�นําสัดส&วนดังกล&าวมาเทียบเคียงและปรับใช�ตามความเหมาะสม

3.2 กรณีมีข�อเท็จจริง / กลุ&มเจ�าหน�าท่ีผู�เก่ียวข�องหรือผู�บังคับบัญชาแตกต&างไปจากแนวทางข�างต�น ให�ปรับเปลี่ยนสดัส&วนใหม&ได�ตามความเหมาะสม

3.3 กรณีท่ีมีลักษณะความเสียหายนอกเหนือจากแนวทางข�างต�น ให�กําหนดสัดส&วนความรับผิดทางละเมิดของเจ�าหน�าท่ีแต&ละกรณีได�ตามความเหมาะสม

Page 40: Manager

- 38 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิแนวทางการกําหนดสัดส;วนความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี

กรณีทุจริตทางการเงินหรือทรัพย9สิน

สดัส&วนความรับผดิของเจ�าหน�าท่ี (ร�อยละ)

กรณี ลักษณะความเสยีหาย ผู�ทุจรติ

คณะกรรมการ ผู�เก่ียวข�อง(ตรวจสอบ/เสนอ

ความเห็น)

ผู�บังคับบัญชาหมายเหตุ

ช่ือ สดัส&วน

ตําแหน&ง สัดส&วน

ช้ันต�น-กลาง-ผู�ผ&านงาน

ช้ันสูง / ผู�อนุมัติ

1 รับเงินแลวนําไปใชส;วนตัว1.1 รับเงินแลวไม;ออกใบเสร็จรับเงิน/แกไขหรือปลอมใบเสร็จรับเงิน

100 ฝ[ายการเงิน 60 20 20

1.2 ออกใบเสร็จรับเงินแล�วไม&นําเงินส&ง

100

100

กก.เก็บ-รักษาเงิน

-

60 ฝ[ายการเงิน

ฝ[ายการเงิน

20

60

10

20

10

20

กรณี กก.เก็บรกัษาเงิน ไม&ปฏบัิติหน�าท่ีตามระเบียบ

กรณี กก.เก็บรกัษาเงิน ปฏิบัติหน�าท่ีครบถ�วนถูกต�องตามระเบียบแล�ว ไม&ต�องรับผดิ

1.3 ไม&นําเงินฝากคลงัหรือธนาคารให�ครบจํานวนตามระเบียบกลับนําไปใช�ส&วนตัว

100 ฝ[ายการเงิน 60 20 20

2 เบิกจ;ายเงินโดยทุจริต2.1 ไม&มหีลักฐานการจ&าย

2.2 ทําหลักฐานการจ&ายเท็จ

2.3 แก�ไขเอกสารการเบิกจ&าย

100

100

100

ฝ[ายการเงิน

ฝ[ายการเงิน

ฝ[ายการเงิน

60

60

60

20

40

40

20

-

-

กรณีตาม 2.2 และ 2.3 ผู�อนุมตัิปล&อยปละละเลยไม&ควบคุมดูแล

ปล&อยให�มีการทุจริตอย&างต&อเน่ือง ให�ผู�อนุมตัิรับผดิด�วย โดยปรับสดัส&วนเท&ากับ

Page 41: Manager

- 39 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางละเมดิกรณีทุจริตทางการเงินหรือทรัพย9สิน (ต;อ)

สดัส&วนความรับผดิของเจ�าหน�าท่ี (ร�อยละ)

กรณี ลักษณะความเสยีหาย ผู�ทุจรติ

คณะกรรมการ ผู�เก่ียวข�อง(ตรวจสอบ/เสนอ

ความเห็น)

ผู�บังคับบัญชาหมายเหตุ

ช่ือ สดัส&วน

ตําแหน&ง สัดส&วน

ช้ันต�น-กลาง-ผู�ผ&านงาน

ช้ันสูง / ผู�อนุมัติ

2.4 แก�ไขหรอืเตมิจํานวนเงินในเช็ค / ใบถอนเงินให�สงูข้ึน

100 ผู�ลงนามในเช็ค / ใบถอนเงิน

100 - - กรณีผู�ลงนามในเช็ค/ใบถอนเงิน ไม&ปฏิบัติตามระเบียบ เช&น ลงนามไว�ล&วงหน�าโดยยังไม&ได�กรอกจํานวนเงิน, เขียนจํานวนเงินโดยเว�นช&องว&างข�างหน�าไว�ให�เติมได�, ไม&ขีดคร&อมเช็คสัง่จ&ายให�เจ�าหน้ีโดยตรง เป5นต�น ให�ผู�ลงนามในเช็ค/ใบถอนเงินรับผดิคนละส&วนเท&า ๆ กัน

คําอธิบายเพ่ิมเติม

1. กรณีเจ�าหน�าท่ีอยู&ในกลุ&มท่ีต�องรับผิดมากกว&า 1 คน เช&น คณะกรรมการกําหนดราคากลางมีจํานวน 3 คน หรือเจ�าหน�าท่ีฝ[ายพัสดุท่ีเก่ียวข�องมีจํานวน 2 คน ให�แต&ละคนรับผิดคนละส&วนเท&า ๆ กัน

2. ฝ[ายการเงิน หมายถึง เจ�าหน�าท่ีท่ีปฏบัิติงานในฝ[ายการเงินหรือท่ีมีชือ่เรียกอย&างอ่ืนแต&มีลักษณะการปฏิบัติหน�าท่ีราชการและความรับผิดชอบเช&นเดียวกัน

3. แนวทางการกําหนดสัดส&วนความรับผดิทางละเมิดของเจ�าหน�าท่ีนี้ เป5นเพียงแนวทางประกอบการพิจารณาในเบ้ืองต�นเท&านั้น หากมีกรณีนอกเหนือจากแนวทางดังกล&าว ให�ดําเนินการดังนี้

3.1 กรณีท่ีมีความเสียหายทํานองเดียวกับลักษณะความเสียหายข�างต�นก็ให�นําสัดส&วนดังกล&าวมาเทียบเคียงและปรับใช�ตามความเหมาะสม

3.2 กรณีมีข�อเท็จจริง / กลุ&มเจ�าหน�าท่ีผู�เก่ียวข�องหรือผู�บังคับบัญชาแตกต&างไปจากแนวทางข�างต�น ให�ปรับเปลี่ยนสดัส&วนใหม&ได�ตามความเหมาะสม

3.3 กรณีมีลักษณะความเสียหายนอกเหนือจากแนวทางข�างต�น ให�กําหนดสัดส&วนความรับผิดทางละเมิดของเจ�าหน�าท่ีแต&ละกรณีได�ตามความเหมาะสม

(หนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี 0406.2/ว.66 ลว. 25 ก.ย. 2550)

Page 42: Manager

- 40 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางวินัย1. พนกังานตองรักษาวินัยต;อไปนี ้โดยเคร;งครัด

1. ต�องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ และสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด�วยความบริสทุธิ์ใจ

2. ต�องสนับสนุนนโยบายของ กปภ. และปฏิบัตติามข�อบังคับตลอดจนระเบียบแบบแผนของ กปภ.

3. ต�องเคารพเชื่อฟ*งผู�บังคับบัญชา และปฏิบัติตามคําสั่งของผู�บังคับบัญชา ซ่ึงสั่งในหน�าท่ีโดยชอบด�วยกฎหมาย ข�อบังคับ ระเบียบแบบแผนและแบบธรรมเนียมของ กปภ. ไม&ปฏิบัติงานข�ามผู�บังคับบัญชาเหนือตน เว�นแต&ผู�บังคับบัญชาเหนือข้ึนไปเป5นผู�สั่งให�กระทํา หรือได�รับอนุญาตเป5นพิเศษชั่วครั้งคราว ในกรณีเช&นว&านี้ให�ผู�รับคําสั่งรายงานให�ผู�บังคับบัญชาชั้นต�นทราบด�วย

4. ต�องไม&รายงานเท็จต&อผู�บังคับบัญชา การรายงานโดยปกป̂ดข�อความ ซ่ึงควรต�องบอกถือว&าเป5นการรายงานเท็จด�วย

5. ต�องเอาใจใส&ต&อหน�าท่ีรับผิดชอบต&อหน�าท่ี และระมัดระวังรักษาผลประโยชน>ของ กปภ.

6. ต�องมาทํางานตรงกําหนดเวลา อุทิศเวลาของตนให�แก&งาน ไม&ละท้ิงหรือทอดท้ิงหน�าท่ีและไม&ใช�เวลาทํางานไปหาประโยชน>ส&วนตัว

7. ต�องปฏิบัติงานด�วยความซ่ือสัตย>สุจริต เท่ียงธรรม ไม&อาศัยหรือยอมให�ผู�อ่ืนอาศัยอํานาจหน�าท่ีการงานของตนหาประโยชน>ให�แก&ตนเองหรือผู�อ่ืน ไม&ว&าจะโดยทางตรงหรือทางอ�อมก็ตาม

8. ต�องไม&ประพฤติชั่ว หรือประพฤติในทางซ่ึงอาจทําให�เสือ่มเสียเกียรติศักด์ิของตําแหน&งหน�าท่ีของตน

9. ต�องต�อนรับ ให�ความสะดวก ให�ความเป5นธรรม และช&วยเหลือประชาชนผู�มาติดต&อในกิจการอันเก่ียวกับหน�าท่ีการงานของตนหรอืของ กปภ.

10. ต�องสุภาพเรียบร�อยต&อประชาชน ไม&ดูหม่ินเหยียดหยามบุคคลใด ๆ

11. ต�องรักษาความสามัคคีระหว&างพนักงาน อํานวยความสะดวกและร&วมมือช&วยเหลือซ่ึงกันและกันในหน�าท่ีการงาน

12. ต�องรักษาความลับของทางราชการและของ กปภ.

(ข�อบังคับ ว&าด�วยการกําหนดตําแหน&ง....................ระเบียบวินัยฯ พ.ศ.2522 ข�อ 33)

2. ผูบังคับบัญชา มีหนาท่ีส;งเสริมการรักษาวินยั

1. พึงปฏิบัตตินเองให�เป5นตัวอย&างท่ีดีในการรักษาวนิัย2. ดูแลระมัดระวังให�พนักงานใต�บังคับบัญชาปฏิบัติตามวินยั3. ถ�าเห็นว&าพนักงานใต�บังคับบัญชาคนใดกระทําผิดวินัยท่ีจะต�องได�รับโทษและอยู&ในอํานาจท่ีจะลงโทษได�

ให�สั่งลงโทษ แต&ถ�าเห็นว&าควรจะต�องได�รับโทษสูงกว&าท่ีตนมีอํานาจสั่งลงโทษ ให�รายงานต&อผู�บังคับบัญชาเหนือข้ึนไป เพ่ือให�พิจารณาดําเนินการสั่งลงโทษตามควรแก&กรณี

4. ต�องเอาใจใส&ดูแลการปฏิบัติงานของผู�ใต�บังคับบัญชาโดยใกล�ชิด(ข�อบังคับ ว&าด�วยการกําหนดตําแหน&ง....................ระเบียบวินัยฯ พ.ศ.2522 ข�อ 34)

Page 43: Manager

- 41 -

เกร็ดความรู การดําเนินการทางวินัย3. โทษผิดวินัย

1. ภาคทัณฑ>2. ตัดเงินเดือน3. ลดข้ันเงินเดือน4. ให�ออก5. ไล&ออก

(ข�อบังคับ ว&าด�วยการกําหนดตําแหน&ง....................ระเบียบวินัยฯ พ.ศ.2522 ข�อ 36)

4. การลงโทษไล;ออก กระทําผิดวินัยอย;างรายแรง

1. ทําความผิดต�องรับโทษจําคุกหรือหนักกว&าจําคุก โดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดให�จําคุกหรือให�รับโทษท่ีหนักกว&าจําคุก เว�นแต&ความผิดท่ีเป5นลหุโทษ หรือความผิดอันได�กระทําโดยประมาทท่ีไม&เสียหายแก&งานเก่ียวกับหน�าท่ีของตน

2. ต�องคําพิพากษาให�เป5นบุคคลล�มละลาย เพราะกระทําหนี้สินข้ึนด�วยความทุจริตหรือต�องคําพิพากษาในคดีแพ&งอันแสดงว&าเป5นการเสื่อมเสยีเกียรติศักด์ิแห&งตําแหน&งหน�าท่ีอย&างร�ายแรง

3. ทุจริตต&อหน�าท่ี4. ขัดคําสั่งผู�บังคับบัญชาซ่ึงสั่งในหน�าท่ีโดยชอบ และการขัดคําสั่งนั้นเป5นเหตุให�เสียหายแก&การงานอย&างร�าย

แรง5. เป̂ดเผยความลับของทางราชการหรือของ กปภ. เป5นเหตุให�เสียหายแก&ทางราชการหรือ กปภ. อย&างร�าย

แรง6. ประมาทเลินเล&อในการงาน เป5นเหตุให�เสียหายแก&การงานอย&างร�ายแรง7. ดูหม่ินเหยียดหยาม หรือกดข่ีข&มเหงประชาชนผู�มาติดต&อในกิจการของ กปภ.8. ประพฤติชั่วอย&างร�ายแรง

(ข�อบังคับ ว&าด�วยการกําหนดตําแหน&ง....................ระเบียบวินัยฯ พ.ศ.2522 ข�อ 37)

5. การลงโทษใหออก ให�ผู�ว&าการสั่งลงโทษได�เม่ือพนักงานกระทําผิดวนิัยอย&างร�ายแรงตามข�อ 4 แต&ยังไม&ถึงกับจะต�องถูกไล&ออก หรือมีเหตุอันควรลดหย&อน

(ข�อบังคับ ว&าด�วยการกําหนดตําแหน&ง....................ระเบียบวินัยฯ พ.ศ.2522 ข�อ 38)

Page 44: Manager

- 42 -

การควบคุมภายในดานจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจจรรยาบรรณในการดําเนนิธุรกิจ

1. แจ�งเวียนมาตรฐานจรรยาบรรณของผู�บริหารและพนักงานการประปาส&วนภูมิภาคให�พนักงานทุกคนได�รับ

ทราบ

2. ซักซ�อมจรรยาบรรณ ให�พนักงานทุกคนรับทราบและนําไปปฏบัิติเป5นประจํา

3. สร�างจิตสํานึกให�พนักงานทุกคนคํานึงถึงการประหยัดค&าใช�จ&าย และไม&ใช�ทรพัยากรของ กปภ. อย&างสิน้เปลือง

จัดการดูแลทรัพย>สนิของ กปภ. มิให�เสื่อมค&าหรือสญูหายโดยมิชอบ

4. กํากับให�พนักงานทุกคนไม&แสวงหาประโยชน>ให�ตนเองและผู�อ่ืนท้ังทางตรงและทางอ�อม

5. กํากับให�พนักงานทุกคนไม&เป̂ดเผยข�อมูลลับขององค>กรต&อบุคคลภายนอก

6. กํากับให�พนักงานทุกคนไม&ดําเนินการใดๆ ในลักษณะท่ีอาจก&อให�เกิดความขัดแย�งทางผลประโยชน>ต&อองค>กร

7. กํากับให�พนักงานทุกคนดูแลรักษาสภาพแวดล�อมในการทํางานให�มีความปลอดภยัต&อชีวิตและทรัพย>สินของ

พนักงานอยู&เสมอ

8. ให�ความสําคัญต&อการพัฒนาทักษะความรู�สมรรถนะความสามารถของพนักงาน รวมถึงการเสริมสร�าง

ประสบการณ>เก่ียวกับกิจการประปา โดยให�โอกาสแก&พนักงานอย&างท่ัวถึงและสมํ่าเสมอ

9. รับฟ*งข�อคิดเห็นและข�อเสนอแนะของพนักงานเพ่ือเป5นแนวทางในการปรับปรุงการดําเนินงานขององค>กรให�มี

ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

10. กํากับให�พนักงานทุกคนปฏิบัติตามกฎหมายกฎระเบียบ และข�อบังคับต&าง ๆ ท่ีเก่ียวข�องอย&างเคร&งครัด

11. กํากับให�พนักงานทุกคนหลีกเลี่ยงการดําเนินการใดๆ ท่ีไม&เป5นธรรม ซ่ึงอาจคุกคามและสร�างความกดดันต&อ

สภาพจิตใจของพนักงานด�วยกัน

12. เป̂ดโอกาสให�พนักงานให�ข�อคิดเห็นหรือท�วงติงการดําเนินงานขององค>กรท่ีขัดต&อกฎหมาย ระเบียบและข�อ

บังคับ

13. ย้ําให�พนักงานตระหนักถึงการใช�ทรพัยากรท่ีมีอยู&อย&างจํากัดในองค>กร และเกิดประโยชน>สูงสุด

14. ให�ความสําคัญต&อการพัฒนาความรู�และความสามารถของพนักงาน โดยให�โอกาสพนักงานอย&างท่ัวถึงและ

สมํ่าเสมอ ตลอดจนสนับสนนุพนักงานทุกระดับให�มีการพัฒนาอย&างเท&าเทียมกัน

15. เป̂ดเผยข&าวสารข�อมูลเก่ียวกับการบริการอย&างครบถ�วน ถูกต�องและไม&บิดเบือนข�อเท็จจริง

16. จัดระบบเพ่ือให�ลูกค�าและประชาชนสามารถร�องเรียนเก่ียวกับบริการ และดําเนนิการอย&างดีท่ีสุด เพ่ือให�

ลูกค�าและประชาชนได�รับการตอบสนองผลอย&างรวดเร็ว

17. รักษาความลับของลูกค�าและประชาชนอย&างจริงจัง และสมํ่าเสมอรวมถึงไม&นํามาใช� เพ่ือประโยชน>ของตนเอง

และผู�ท่ีเก่ียวข�องโดยมิชอบ

Page 45: Manager

- 43 -

การควบคุมภายในดานจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ18. ปฏิบัติตามเง่ือนไขต&างๆ ท่ีมีต&อลูกค�าและประชาชนอย&างเคร&งครัด

19. เร&งรดัติดตามทวงหนี้ เพ่ือประโยชน>ขององค>กร

20. ปลูกฝ*งจิดสํานึกของความรับผิดชอบต&อสังคมและสิ่งแวดล�อมให�เกิดข้ึนในหมู&พนักงานทุกระดับอย&างต&อเนื่อง

และจริงจัง

21. ไม&กระทําการช&วยเหลือ สนับสนนุ หรือยอมเป5นเครื่องมือท่ีจะทําให�เกิดการหลีกเลี่ยงการปฏิบัตติามกฎหมาย

หรือกฎระเบียบต&างๆ

22. ให�ความร&วมมือกับหน&วยงานกํากับดูแล และรายงานข�อมูลท่ีเก่ียวกับการฝ[าฝ�น หรือการไม&ปฏิบัติตาม

กฎหมายหรือกฎระเบียบต&าง ๆ ต&อหน&วยงานนั้น

23. ปฏิบัติหน�าท่ีด�วยความสุจริต โปร&งใส เสมอภาค และเป5นธรรมโดยปราศจากอคติ ตลอดจนละเว�นการกระทํา

ใดๆ อันอาจก&อนให�เกิดความขัดแย�งทางผลประโยชน>กับองค>กร

24. ปฏิบัติหน�าท่ีอย&างเต็มกําลังความสามารถด�วยความขยันหม่ันเพียรและรอบคอบ โดยคํานึงถึงประโยชน>

ขององค>กรเป5นสําคัญ

25. ตรงต&อเวลา ปฏิบัติหน�าท่ีด�วยความเสียสละ และใช�เวลาราชการเพ่ือประโยชน>ขององค>กรอย&างเต็มท่ี

26. สนับสนุนกิจกรรมท้ังปวงท่ีจะช&วยเสริมสร�างคุณภาพและประสิทธภิาพขององค>กรอย&างเต็มท่ี

27. มีกิริยามารยาทท่ีสุภาพเรียบร�อยต&อผู�ร&วมงาน ลูกค�า และผู�มาติดต&อเพ่ือรักษาและเผยแพร&ภาพลักษณ>ท่ีดี

ขององค>กรให�เป5นท่ียอมรับของคนท่ัวไป

28. รักษามาตรฐานการให�บรกิารให�เป5นท่ีประจักษ> เพ่ือสร�างความม่ันใจให�กับลูกค�า และปรบัปรุงมาตรฐานการ

บริการให�ดีข้ึนอย&างไม&หยุดยั้ง

29. รับฟ*งความคิดเห็น ข�อเสนอแนะ ตลอดจนข�อร�องเรยีนของลูกค�าด�วยความเต็มใจ เพ่ือเป5นช&องทางให�มีการ

ปรบัปรุงการให�บริการลูกค�าให�ดีข้ึนอยู&ตลอดเวลา

Page 46: Manager

- 44 -

การควบคุมภายในดานขัดแยงทางผลประโยชน9ความขัดแยงทางผลประโยชน9

1. เวียนคําสั่งการประปาส&วนภูมิภาคท่ี 353/2551 เรื่องหลักเกณฑ>และแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับความขัดแย�งทาง

ผลประโยชน>ให�พนักงานทุกคนได�ทราบ

2. มอบหมายให�มีผู�รับผิดชอบในการกํากับในการจัดทํารายงานความขัดแย�งทางผลประโยชน>และรวบรวมส&งตาม

สายงานภายในเดือนตุลาคมของทุกป̀

3. เม่ือมีผู�ได�รับตําแหน&งใหม& ได�รับการบรรจใุหม& หรือเม่ือมีความขัดแย�งทางผลประโยชน>เกิดข้ึนระหว&างป̀ ได�มี

การจัดทํารายงานความขัดแย�งทางผลประโยชน>ระหว&างป̀

4. ผู�ได�รับมอบหมาย (รับผิดชอบ) ได�จัดเก็บสําเนารายงานดังกล&าวไว�ท่ีหน&วยงานอย&างน�อยเป5นเวลา 2 ป̀

5. ผู�บังคับบัญชาได�กํากับในเรื่องให�ของขวัญ หรือรับของขวัญ ไม&ให�มีมูลค&าเกินกว&าประกาศคณะกรรมการป8องกัน

และปราบปรามการทุจริตแห&งชาติ (3,000.00 บาท)

6. ต�องไม&แต&งต้ังหรือมอบหมานให�ผู�ท่ีอาจจะมีความขัดแย�งทางผลประโยชน>ในเรื่องใดมาเป5นกรรมการ หรอืเป5นผู�

พิจารณา หรือเก่ียวข�องในการประมูล ให�ความเห็นหรือมีอํานาจสัง่การในเรื่องนั้น ๆ

7. มีการกํากับผู�ปฏิบัติงานไม&ใช�ข�อมูลของ กปภ. เพ่ือผลประโยชน>ให�ตนเอง หรือผู�อ่ืน

8. มีการกํากับให�ไม&มีพนักงานในสังกัด และบุคคลในครอบครวัไปดํารงตําแหน&งกรรมการผู�จัดการ ผู�จัดการ หรือ

เป5นผู�ถือหุ�นสําคัญในกิจการท่ีเป5นคู&สัญญากับ กปภ.

Page 47: Manager

- 45 -

การควบคุมภายในดานการรับคําขอติดตัง้ประปา และขยายเขตจําหน;ายนํ้าการรับคําขอติดตั้งประปา และขยายเขตจําหน;ายน้ํา

1. มีการกําหนดแนวทางในการพิจารณารับคําขอติดต้ังมาตรวัดน้ํา และการขยายเขตจําหน&ายน้ําอย&างเป5นลาย

ลักษณ>อักษร และได�รบัการอนุมัติจากผู�มีอํานาจ และมีการสื่อสารให�ผู�ท่ีเก่ียวข�องรับทราบ

2. มีการกําหนดเอกสารมาตรฐานท่ีใช�ในการประกอบคําขอติดต้ังมาตรวดัน้ํา และการขยายเขตจําหน&ายน้ํา

3. ผู�รับคําขอ มีความเข�าใจ และสามารถให�บริการลูกค�าได�อย&างมีประสิทธภิาพ และสามารถชี้แจงลูกค�าได�ถึง

ความจําเป5นและความสําคัญของเอกสารประกอบ

4. มีการตรวจสอบความเป5นไปได�ในการดําเนินการตามของคําขอต&าง ๆ โดยหน&วยงานท่ีเก่ียวข�องก&อนการรับ

ดําเนินการตามคําขอเช&น การตรวจสอบหนี้ค�างชําระของผู�ขอติดต้ังมาตร/ขยายแนวเขตจําหน&ายน้ํา และแนว

เส�นท&อก&อนการดําเนนิการตามคําขอเพ่ือป8องกันไม&ให�มีการดําเนินการตามคําขอของผู�ใช�น้ําท่ียังมีหนี้ค�าง

ชําระ หรือ ดําเนินการรับคําขอในเขตท่ียังไม&มีเส�นท&อ

5. ข�อมูลประกอบการอนุมัติ เช&น ประวัติการชําระหนี้ แนวเส�นท&อ ในระบบงาน GIS ได�รบัการปรับปรุงใน

ป*จจุบันอยู&เสมอ

6. มีการกําหนดผู�รับผดิชอบในการปรับปรุงข�อมูลผู�ใช�น้ําในระบบงาน Billing ให�เป5นป*จจุบนั

7. มีการกําหนดให�มีการสอบทานความครบถ�วน ถูกต�องในการปรับปรงุข�อมูลในระบบงาน Billing

8. มีการกําหนดผู�รับผดิชอบในการปรับปรุงข�อมูลในระบบงาน GIS

9. มีการกําหนดให�มีการสอบทานความครบถ�วน ถูกต�องในการปรับปรงุข�อมูลในระบบงาน GIS

10. มีการสํารวจพ้ืนท่ีจริงก&อนรับดําเนินการตามคําขอ

11. มีการศึกษาข�อกฎหมายและข�อบังคับท�องถ่ินและแนบข�อมูลท่ีเก่ียวข�องประกอบการอนุมัติคําขอต&าง ๆ

Page 48: Manager

- 46 -

การควบคุมภายในดานการติดตัง้ประปา และขยายเขตจําหน;ายนํ้าการดําเนินการติดตั้งประปา และขยายเขตจําหน;ายน้ํา

1. มีการกําหนดข้ันตอนในการดําเนินการตามแบบคําขอต&าง ๆ ของผู�ใช�น้ําอย&างเป5นลายลักษณ>อักษร โดยได�รับ

การอนุมัติจากผู�มีอํานาจ และมีการสื่อสารให�ผู�ปฏบัิติงานรับทราบ

2. มีการกําหนดเลขท่ีเอกสารในการดําเนินการติดต้ังมาตรวัดน้ํา และขยายเขตจําหน&ายน้ํา

3. มีการจัดทําทะเบียนคุมเพ่ือใช�ในการติดตามความก�าวหน�า และความครบถ�วนในการดําเนนิการติดต้ังมาตร

วัดน้ําและขยายเขตจําหน&ายน้ํา

4. ทะเบียนคุมเพ่ือใช�ในการติดตามความก�าวหน�า และความครบถ�วนในการดําเนินการติดต้ังมาตรวัดน้ําและ

ขยายเขตจําหน&ายน้ําติดต้ังมาตรได�รับการสอบทาน และอนุมัติจากผู�มีอํานาจเป5นประจํา

5. กําหนดให�มีการจัดหาผู�รับจ�างเพ่ือดําเนินการตามแบบคําขอให�สอดคล�องกับคําสั่งของ กปภ. ท่ีเก่ียวข�องกับ

การจัดหา

6. กําหนดให�มีผู�ควบคุมงานผู�รับจ�างในการติดต้ังมาตรวัดน้ํา หรือ ขยายเขตจําหน&ายน้ําอย&างใกล�ชดิ

7. กําหนดให�มีคณะกรรมการในการตรวจรบังาน ในการตรวจรับงานติดต้ังมาตรวัดน้ํา หรือ ขยายเขตจําหน&าย

น้ํา ตามท่ี กปภ. กําหนดไว�

8. มีการกําหนดมาตรฐาน ขอบเขตงาน และรายละเอียดของวสัดุท่ีจําเป5นต�องใช�ในการดําเนินการตามคําขอ

แต&ละประเภท และไว�เป5นลายลักษณ>อักษร

9. กําหนดให�มีการเปรียบเทียบค&าใช�จ&ายท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามคําขอ และประมาณการค&าใช�จ&าย โดย

หากมีค&าใช�จ&ายการดําเนินการตามคําขอ สูงกว&าประมาณการค&าใช�จ&ายนัน้ จะต�องมีการรายงานให�ผู�มีอํานาจ

รับทราบ

10. การกําหนดราคาตามแบบคําขอต&าง ๆ สอดคล�องกับมาตรฐานท่ีกําหนดไว�หรือไม&

11. การจัดหาผู�รับจ�างดําเนินการตามแบบคําขอต&าง ๆ สอดคล�องกับมาตรฐานท่ีกําหนดไว�หรือไม&

12. มีการกําหนดผู�รบัผิดชอบในการติดตามการข้ึนทะเบียนผู�ใช�น้ํา

13. การข้ึนทะเบียนผู�ใช�น้ําเป5นไปตามมาตรฐานกําหนดและได�รับการอนุมัติทุกครั้ง

Page 49: Manager

- 47 -

การควบคุมภายในดานการคํานวณและจัดเกบ็รายได1. มีการกําหนดความรับผิดชอบให�กับเจ�าหน�าท่ีผู�รับผิดชอบในการคํานวณและจัดเก็บรายได�ไว�อย&างชดัเจนหรือไม&

2. มีการกําหนดประเภทผู�ใช�น้ําอย&างเป5นลายลักษณ>อักษร

3. แนวทางการกําหนดส&วนลดมีความเหมาะสมและได�รับการอนุมัติ

4. ข�อมูลท่ีใช�ในการคํานวณรายได�มีความเหมาะสม ถูกต�อง และทันเวลา

5. มีการแบ&งแยกหน�าท่ีระหว&างผู�รับผิดชอบในการกําหนดราคา การสอบทานราคา และการอนุมัติราคาก&อนการบันทึกข�อมูลในระบบงาน Billing

6. มีการจํากัดสทิธิในการเข�าถึงข�อมูลท่ีใช�ประกอบการคํานวณราคาและการคํานวณราคา

7. ผู�ท่ีมีหน�าท่ีรับผิดชอบในการคํานวณราคามีความรู�ความสามารถและความชํานาญ ในการวิเคราะห>ข�อมูลท่ีใช�ประกอบการคํานวณราคา

8. การคํานวณราคาเป5นไปตามแนวทางและมาตรฐานท่ีกําหนดและได�รับอนุมัติไว�

9. การคํานวณภาษีมูลค&าเพ่ิมถูกต�อง

10. การต้ังค&าในการคํานวณภาษีมูลค&าเพ่ิมในระบบงาน Billing ได�รับการอนุมัติอย&างถูกต�อง

11. ผลการคํานวณรายได�มีการสอบทาน และรายงานให�ผู�บริหารท่ีมีอํานาจทราบ

12. มีการกําหนดช&วงระยะเวลาท่ีให�เครดิตแก&ลูกหนี้รายได�ท่ีเหมาะสมสอดคล�องกับแนวทางท่ีได�รับอนุมัติไว�จาก กปภ.

13. การดําเนนิการจัดส&งใบแจ�งหนีเ้ป5นไปตาม มาตรฐานและแนวทางท่ีกําหนดไว�โดย กปภ.

14. มีกระบวนการยืนยันการรับใบแจ�งหนี้ หรือยืนยันการส&งใบแจ�งหนี้

15. มีการกําหนดผู�รับผดิชอบท่ีได�รับอนุมัติในการปรับปรุงหนี้ โดยท่ีสิทธิ์ในการปรับปรงุหนี้นัน้ถูกจํากัดให�แก&ผู�รับผิดชอบท่ีได�รับอนุมัตินัน้ ๆ เท&านั้น

16. ผู�รับผิดชอบในการปรับปรุงหนี้ ไม&มีสิทธิ์และไม&ได�รับผิดชอบในการอนุมัติการปรับปรุงหนี้

17. การปรับปรุงหนี้ได�รับการอนุมัติก&อนการดําเนินการทุกครั้ง

18. มีการแบ&งแยกหน�าท่ีระหว&างผู�ปรับปรุงยอดลูกหนี้ และผู�สอบทานอนุมัติ

19. มีมาตรฐานในการขายสินค�าในราคาพิเศษเป5นลายลักษณ>อักษรและได�รับการอนุมัติ

20. การขายสินค�าในราคาพิเศษสอดคล�องกับมาตรฐานท่ีกําหนดไว�

21. ข้ันตอนการติดตามการชําระหนี้เป5นไปตามมาตรฐานและแนวทางท่ีกําหนดไว�โดย กปภ.

Page 50: Manager

- 48 -

การควบคุมภายในดานการคํานวณและจัดเกบ็รายได22. มีการกําหนดช&องทางการรับชําระเงินท่ีเป5นมาตรฐานสอดคล�องกับนโยบายของ กปภ.

- ช&องทางการรับชําระเงิน ได�รับการอนุมัติอย&างถูกต�อง

- ไม&มีช&องทางพิเศษนอกเหนือจากช&องทางมาตรฐาน

- ช&องทางชําระหนี้มีการประชาสัมพันธ>ให�แก&ประชาชนทราบ

- สําหรับการจ�างผู�รับจ�างทําการเก็บเงิน มีการทําสัญญาระหว&างกันและรับอนุมัติจากผู�มีอํานาจท้ัง 2 ฝ[าย

23. มีการกําหนดผู�รับผิดชอบในการติดตามการชําระหนี้

24. มีการกําหนดมาตรฐานการติดตามการชําระหนี้เป5นลายลักษณ>อักษรและได�รับการอนุมัติ

25. การติดตามการชําระหนี้สอดคล�องกับมาตรฐานท่ีกําหนดไว�

26. มีการสอบทานความถูกต�องของภาษีโดยผู�มีอํานาจ

27. มีการสอบทานรายการรับชําระซํ้า หรือ รายการรับเงินท่ีไม&สามารถบันทึกรบัชําระลูกหนี้ได�

28. มีการกําหนดสิทธิ์ในการเข�าถึงระบบการปรับปรุงยอดหนี้

29. มีการรายงานการรับชําระเงินเป5นรายวันให�แก&ผู�มีอํานาจอนุมัติรับทราบและอนุมัติเป5นลายลักษณ>อักษร

30. การนําส&งรายได�มีความรัดกุม เหมาะสม และได�รับการอนุมัติจากผู�มีอํานาจอนุมัติท่ีกําหนดไว�

31. มีการกระทบยอดเงินนําส&ง กับ ยอดรายได�รับ ยอดเงินฝากธนาคาร และเอกสารประกอบต&างๆ

32. มีการรายงานยอดรายรับ และผลการติดตามการชําระหนี้ให�กับผู�บรหิาร และผู�ท่ีเก่ียวข�องรับทราบ

33. มีการกําหนดผู�รับผิดชอบในการวิเคราะห>ผลการติดตามการชําระหนี้ และความถูกต�องของผลการวิเคราะห>

34. มีการวเิคราะห>ผลการปฏิบัติงานจริงเปรียบเทียบกับเป8าหมายและรายงานให�กับผู�บรหิาร กปภ. และ ผู�ท่ี เก่ียวข�องรับทราบเป5นประจําทุกเดือน ในกรณีท่ีมีผลต&าง ผลต&างจะต�องได�รับการดําเนินการแก�ไขอย&างทัน ท&วงที

Page 51: Manager

- 49 -การควบคุมภายในดานค;าใชจ;าย (เงินสดย;อย) การควบคุมเงินสดย;อยและการจดัการเงินสดย;อย

1. มีการสอบทานความเหมาะสมของวงเงินสดย&อยเป5นครั้งคราว เพ่ือพิจารณาว&าวงเงินสดย&อยท่ีมีอยู&สภาพคล&องพอเพียงหรือไม&พอเพียง

2. มีการกําหนดผู�รักษาเงินสดย&อย และกําหนดความรับผิดชอบไว�อย&างชัดเจน

3. มีการแต&งต้ังคณะกรรมการตรวจนับเงินสดย&อย โดยคณะกรรมการตรวจนับได�ทําการตรวจนับเงินสดย&อยคงเหลือทุกสิ้นวัน พร�อมกับกระทบยอดให�ตรงกับวงเงินสดย&อย

4. มีการกําหนดอํานาจอนุมัติจ&ายเงินสดย&อยไว�เป5นลายลักษณ>อักษร และได�รับอนุมัติจากผู�บริหาร กปภ. และสอดคล�องกับแนวทางท่ี กปภ. กําหนดไว�

5. มีการกําหนดวัตถุประสงค>และแนวทางการจ&ายเงินสดย&อยไว�เป5นลายลักษณ>อักษร และได�รบัอนุมัติจากผู�บรหิาร กปภ. และ สอดคล�องกับแนวทางท่ี กปภ. กําหนดไว�

6. มีการกําหนดแนวทาง และกระบวนการอนุมัติและจัดการเงินสดย&อยไว�เป5นลายลักษณ>อักษร

7. การต้ังช&วงระยะเวลาการชําระเงินสดย&อยสอดคล�องกับมาตรฐานและแนวทางท่ีกําหนดไว�โดย กปภ.

8. มีการกําหนดแนวทางและระยะเวลาการกระทบยอดเงินสดย&อยไว�เป5นลายลักษณ>อักษร อย&างน�อยเดือนละครัง้

9. การเก็บเงินสดย&อยเป5นไปอย&างเหมาะสมและปลอดภัย

9.1 เก็บไว�ในตู�นิรภัยกันไฟ

9.2 ผู�ท่ีเก็บรหสัไม&ได�เป5นคนถือกุญแจ

9.3 ผู�ท่ีถือกุญแจไม&ทราบรหัส

10. มีการกําหนดหน�าท่ีคนท่ีรบัผดิชอบบริหารจัดการเงินสดย&อย

11. คนท่ีมีหน�าท่ีรบัผดิชอบเก็บรักษาเงินสดย&อย บันทึกบัญชีเงินสดย&อย และ อนุมัติจ&ายเงินสดย&อยเป5นคนละคน

กัน

12. มีการจัดส&งข�อมูลสวสัดิการของพนักงานเพ่ือปรับปรุงในระบบ SAP ให�ทันสมัยสอดคล�องกับมาตรฐานของ

กปภ. อยู&เสมอ

13. มีการสื่อสารให�ผู�ท่ีเก่ียวข�องในกระบวนการจ&ายเงินรับทราบถึงอํานาจการเบิกจ&ายเงินสดย&อย

14. มีการติดตามและรวบรวมระเบียบคําสั่งท่ีเก่ียวกับการเบิกจ&ายค&าใช�จ&ายต&าง ๆ เพ่ือประกอบการตรวจจ&าย

15. การจ&ายเงินสดย&อยทุกครั้งได�จัดทําใบสําคัญจ&ายเงินสดย&อย มีการกันเงินงบประมาณ และได�รับอนุมัติจากผู�

จัดการประปา

16. มีการสอบทานความครบถ�วนของเอกสารการจ&ายเงินจากหัวหน�างานอํานวยการก&อนนําเสนอขออนุมัติจากผู�

จัดการ

Page 52: Manager

- 50 -

การควบคุมภายในดานค;าใชจ;าย (เงินสดย;อย) 17. มีการประทับตราว&า “จ&ายแล�ว” ท่ีใบสําคัญจ&ายและเอกสารประกอบการจ&ายเงินทุกฉบับ

18. มีการแยกต�นฉบับใบกํากับภาษีซ้ือเก็บไว�เรยีงตามลําดับ และถ&ายสําเนาแนบเอกสารการจ&ายเงิน

19. กรณีการจ&ายเงินท่ีกันเงินสดย&อย/จ&ายเงินท่ี ปปข.

- มีการสอบทานความครบถ�วนของเอกสารโดยหวัหน�างานอํานวยการก&อนส&งเบิกสํานักงานประปาเขต

การขอเบิกชดเชยเงินสดย;อย

20. มีการจัดทําใบขอเบิกชดเชยเงินสดย&อยโดยผู�รักษาเงินสดย&อย และสอบทานจํานวนเงินท่ีขอเบิกชดเชยกับใบ สําคัญเงินสดย&อยโดยหัวหน�างานอํานวยการหรือผู�มีอํานาจการจ&ายชดเชย

21. มีการกําหนดผู�รบัผิดชอบในการสอบทานรายการจ&ายชดเชยเงินสดย&อยกับรายการท่ีบันทึกในระบบ TEMPLATE

22. กรณีสํานักงานประปาท่ีไม&มีระบบ SAP

- ใบขอเบิกชดเชยเงินสดย&อยและใบสําคัญเงินสดย&อยท่ีได�จ&ายชดเชยแล�ว มีการรวบรวมส&งให�สํานักงาน ประปาเขตเพ่ือบันทึกในระบบ SAP ทันที

การหักภาษี ณ ท่ีจ;าย และรายการเก่ียวกับภาษีมูลค;าเพ่ิม

23. มีการร�องขอหนังสือรับรองการหักภาษ� ณ ท่ีจ&าย จากผู�ท่ีได�รับเงินจาก กปภ. หรือไม&มีการแก�ไขหรือยกเลิก

หนังสือรับรอง

24. มีการกําหนดผู�รบัผิดชอบในการจัดทําหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ท่ีจ&าย การสอบทานรายงานท่ีเก่ียวกับ

ภาษีมูลค&าเพ่ิม

25. มีการตรวจสอบรายงานภาษีซ้ือท่ีงานบัญชเีจ�าหนี้สํานักงานประปาเขตส&งมาให� กับต�นฉบับใบกํากับภาษีซ้ือ

26. มีการยืน่เพ่ิมเติมภาษีมูลค&าเพ่ิม หรือไม&มีค&าปรับเก่ียวกับภาษีมูลค&าเพ่ิม

Page 53: Manager

- 51 -

การควบคุมภายในดานการจัดซือ้จัดจางเรื่องท่ัวไป

1. งบทําการและงบลงทุนได�รับการอนุมัติจากผู�มีอํานาจอนุมัติเป5นลายลักษณ>อักษร

2. มีการรายงานผลการวเิคราะห>รายจ&ายจรงิเปรียบเทียบกับงบทําการเป5นประจําทุกเดือน ให�แก&ผู�บรหิาร กปภ. และผู�ท่ีเก่ียวข�องรับทราบ

3. มีการรายงานเจ�าหนี้การค�า และรายจ&ายท่ีค�างนาน (ถ�ามี) ให�กับผู�บริหาร และผู�ท่ีเก่ียวข�องรับทราบ และมีการแก�ไข

4. มีการกําหนดผู�รับผดิชอบในการตรวจตรา และติดตามรายจ&ายค�างนาน

การดําเนินการขอซ้ือ/ขอจาง

5. มีการตรวจสอบและยืนยันงบการเงิน หรือ งบลงทุนก&อนการดําเนินการขอเบิก/ขอจ�างเพ่ือใช�ประกอบการอนุมัติการขอซ้ือ/ขอจ�าง

6. การกําหนดหลักเกณฑ>ในการโอนย�ายงบทําการ ในกรณีท่ีงบทําการไม&เพียงพอ อย&างเป5นลายลักษณ>อักษร และหลักเกณฑ>ฯ จะต�องได�รับการอนุมัติจากผู�มีอํานาจ

7. กําหนดอํานาจในการอนุมัติใบขอเบิก/ขอจ�างอย&างเป5นลายลักษณ>อักษร

8. จัดให�มีแบบฟอร>มมาตรฐานในการขอเบิก/ขอจ�าง

9. กําหนดให�มีการระบุถึงความจําเป5นและเหตุผลในการขอเบิก/ขอจ�าง

10. กําหนดให�มีการระบุวันท่ีต�องการใช�งานในใบขอเบิก/ขอจ�าง

11. การทําทะเบียนคุมใบขอเบิก/ขอจ�าง

การดําเนินการจัดหา

12. มีการกําหนดผู�รบัผิดชอบในการติดตามใบสั่งซ้ือท่ีได�รับการอนุมัติแล�ว เพ่ือให�ความม่ันใจได�ว&ามีการดําเนิน

การสั่งซ้ืออย&างเหมาะสมและทันเวลา

13. กําหนดให�คณะกรรมการการจัดซ้ือจัดจ�างประกอบไปด�วยผู�ทรงคุณวุฒิท่ีไม&มีส&วนได�เสียกับการจัดซ้ือจัดจ�าง

14. เกณฑ>ในการพิจารณาการจัดหาจะต�องคํานึงถึงทุกองค>ประกอบดังนี้

- องค>ประกอบทางด�านเทคนิค

- องค>ประกอบด�านราคาและผลประโยชน>ควบ

- รายละเอียดของผู�ขายและประวัติการทํางาน

15. มีการกําหนดแนวทางการจัดหา และคัดสรรคณะกรรมการกําหนดราคากลางท่ีสอดคล�องกับมาตรฐานท่ี กําหนดโดย กปภ.

Page 54: Manager

- 52 -

การควบคุมภายในดานการจัดซือ้จัดจาง16. คณะกรรมการการกําหนดราคากลางประกอบไปด�วยผู�ทรงคุณวุฒิท่ีไม&มีส&วนได�เสียกับการจัดซ้ือจัดจ�าง

17. ราคากลางท่ีใช�สําหรับการจัดซ้ือจัดจ�างได�รับการปรับปรุงให�ทันสมัย เป5นป*จจุบนัและสอดคล�องกับสภาพแวดล�อมและสถานการณ>ป*จจุบัน อย&างน�อยป̀ละครั้ง

18. มีการกําหนดแนวทางป8องกันการทุจริต การจัดซ้ือรวมถึงกําหนดบทลงโทษผู�ทุจริตการจัดซ้ือ อย&างเป5นลายลักษณ>อักษร และแนวทางฯ จะต�องได�รับอนุมัติ พร�อมท้ังเผยแพร&แก&ผู�ท่ีมีส&วนเก่ียวข�อง เช&น

- การสมรู�ร&วมคิดกันของผู�มีส&วนเก่ียวข�อง

- การแบ&งการซ้ือเพ่ือให�อยู&ในงบประมาณและอํานาจอนุมัติ

- การกําหนดคุณสมบัติพิเศษเพ่ือเอ้ืออํานวยให�แก&ผู�ขายรายใดรายหนึ่งเป5นพิเศษ

- การสมรู�ร&วมคิดกันของผู�ขายเพ่ือกําหนดราคา

- การจัดซ้ือ จัดจ�างในราคาท่ีไม&เหมาะสมหรือสูงกว&าราคากลาง

- การมีส&วนได�เสียกับผู�ขายท้ังทางตรงและทางอ�อม

19. คณะกรรมการการตรวจสอบมาตรฐานและคุณสมบัติของผู�ขายประกอบไปด�วยผู�ทรงคุณวฒุิท่ีไม&มีส&วนได�เสียกับการจัดซ้ือจัดจ�าง

20. ผลการคัดเลือกผู�ขายโดยคณะกรรมการจัดหาได�รบัการอนุมัติจากผู�มีอํานาจอนุมัติตามมาตรฐานท่ีกําหนด ไว� โดย กปภ.

21. ผลการอนุมัติการจัดหามีความสอดคล�องกับผลการคัดเลือกผู�ขายท่ีได�รบัการนําเสนอโดยคณะกรรมการ จัด ซ้ือจัดจ�าง

การดําเนินการส่ังซ้ือ

22. มีการกําหนดอํานาจในการอนุมัติใบสั่งซ้ือ

23. การตรวจสอบข�อมูลผู�ขาย รายละเอียดการสั่งซ้ือ ราคา และจํานวนหน&วยในใบสั่งซ้ือกับ รายงานสรปุผลการจัดหาผู�รับจ�าง

24. การบันทึกใบสั่งซ้ือในระบบงาน SAP กระทําโดยผู�รบัผดิชอบได�รับอนุญาตและสอดคล�องกับมาตรฐาน

การปฏิบัติงานท่ีได�กําหนดไว�

25. การแบ&งแยกหน�าท่ีสําหรับ การขอเบิก/ขอจ�าง การอนุมัติการขอเบิก/ขอจ�าง การดําเนินการสั่งซ้ือ การต้ังหนี้และการจ&ายเงิน

26. การประทับตรา “ยกเลิก” พร�อมท้ังขีดฆ&า ใบสั่งซ้ือท่ียกเลกิ เพ่ือป8องกันการนํามาใช�น้ํา และมีการเก็บใบสั่งซ้ือท่ียกเลิก โดยเก็บเรียงลําดับตามเลขท่ีใบสั่งซ้ือ

27. ใบสั่งซ้ือท่ีได�รับการอนุมัติหรือยกเลิก ได�รับการจัดเก็บอย&างเป5นระเบียบเรียบร�อยและเหมาะสม

28. มีการสอบทานใบขอเบิก/ขอจ�างท่ีได�รับจากฝ[ายงานท่ีเก่ียวข�องแต&ยังได�การดําเนินการสั่งซ้ือ

29. การสอบทานใบสั่งซ้ือท่ีค�างนาน

Page 55: Manager

- 53 -การควบคุมภายในดานการจัดซือ้จัดจางการรับสินคา

30. มีการกําหนดระเบียบ วิธีการในการบัสนิค�า อย&างเป5นลายลักษณ>อักษร และได�รับอนุมัติจากผู�มีอํานาจ31. มีการแบ&งแยกหน�าท่ีสําหรับ การขอเบิก/ขอจ�าง การอนุมัติการขอเบิก/ขอจ�าง การดําเนินการสั่งซ้ือ การรับ

สินค�า การต้ังหนีแ้ละการจ&ายเงิน32. มีการกําหนดความรับผิดชอบให�กับเจ�าหน�าท่ีผู�รับผิดชอบในการตรวจสอบและตรวจรบัสินค�าไว�อย&างชดัเจน33. ในกรณีท่ีต�องมีการส&งมอบงาน หรือเป5นสินค�าท่ีต�องการการตรวจสอบโดยละเอียด มีการจัดต้ังคณะ

กรรมการผู�ทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบและตรวจรับงาน- เชิงปริมาณ- เชิงคุณภาพ

Page 56: Manager

- 54 -การควบคุมภายในดานสินทรัพย9ถาวรการซ้ือและการรับโอนสินทรัพย9ถาวร

1. มีการสอบทานรายงานงบประมาณการซ้ือสินทรพัย>ถาวร ได�รับการจัดทํา และสอบทานความถูกต�องโดยผู�มีอํานาจ

2. รายงานเปรียบเทียบงบประมาณการซ้ือสินทรัพย>ถาวรกับสนิทรัพย>ถาวรท่ีซ้ือ ได�รับการจัดทํา และสอบทานความถูกต�องโดยผู�มีอํานาจ

3. มีการแบ&งแยกหน�าท่ีระหว&างผู�รับ ผู�ดูแล และผู�บันทึกข�อมูลสินทรัพย>ถาวร

4. มีการตรวจสอบงบประมาณว&ามีความเพียงพอก&อนการจัดซ้ือ

5. มีข้ันตอนการจัดหาเป5นไปตามนโยบายของ กปภ.

6. มีข้ันตอนการรับสินทรัพย>ถาวรเป5นไปตามนโยบายของ กปภ.

7. สนิทรัพย>ถาวรได�รับการติดหมายเลขสินทรพัย>อย&างครบถ�วน

8. การบันทึกจํานวน ราคา ท่ีต้ังและรหัสบัญชขีองสนิทรัพย>ถาวรเป5นไปอย&างถูกต�อง และตรงตามงวดเวลา

การตัดจําหน;ายสินทรัพย9ถาวร

1. มีเอกสารสนับสนุนรายการตัดจําหน&ายสนิทรัพย>ถาวร อย&างครบถ�วน ถูกต�อง

2. รายการตัดจําหน&ายสินทรพัย>ถาวร ได�รับอนุมัติจากผู�มีอํานาจอย&างถูกต�อง

3. การบันทึกรายการตัดจําหน&ายสินทรัพย>ถาวร เป5นไปอย&างครบถ�วนถูกต�อง ตรงงวดเวลา

การบํารุงรักษาสินทรพัย9ถาวร

1. มีการจัดทําแผนการบํารุงรักษาสนิทรัพย>ถาวร และมีการปรับปรุงให�เป5นป*จจุบนั

2. มีการจัดทําทะเบียนประวัติการบํารุงรักษาสินทรัพย>ถาวรแต&ละประเภท

3. มีการสอบทานการบํารุงรักษาสินทรัพย>จากทะเบียนประวัติการบํารงุรักษาสินทรัพย>ถาวรกับตารางการบํารุง รักษาสินทรัพย>ถาวร

4. การเก็บรักษาสินทรัพย>ถาวรและเอกสิทธิ์ต&าง ๆ ในสถานท่ีท่ีปลอดภัย และมีการป8องกันมิให�ผู�ท่ีไม&เก่ียวข�อง เข�าถึงได�

5. มีการรักษาความปลอดภัยโดยมีการตรวจสอบยานพาหนะท่ีเข�าออกการประปาเพ่ือให�แน&ใจว&าการเคลื่อนย�าย

สนิทรัพย>ถาวรจะต�องมีเอกสารท่ีได�รับการอนุมัติจากผู�ท่ีมีอํานาจอย&างถูกต�อง

6. มีการให�รหัสสินทรัพย>ถาวร และมีการติดรหัสสินทรัพย>ถาวรท่ีสนิทรัพย>ถาวร

7. สินทรัพย>ถาวรอยู&ในตําแหน&งท่ีระบุไว�ในทะเบียนสินทรัพย>ถาวร

8. มีการตรวจนับสินทรัพย>ถาวรประจําเดือนตามแผนงานท่ีกําหนดไว�

9. ผู�ตรวจนบัเป5นบุคคลท่ีเป5นอิสระจากการจัดเก็บ และการบันทึกข�อมูลสินทรัพย>ถาวร

10. ผลต&างจากการตรวจนับจะต�องได�รับการสอบทานหาสาเหตุ และดําเนินการแก�ไขอย&างทันที

Page 57: Manager

- 55 -

การควบคุมภายในดานสินทรัพย9ถาวร11. แผนการตรวจนบัได�รับการอนุมัติจากผู�มีอํานาจ

12. มีการอบรมผู�ตรวจนับก&อนการตรวจนับ

13. มีการตรวจนับสินทรัพย>ถาวรอย&างครบถ�วน จากบุคคลท่ีเป5นอิสระจากการจดัเก็บ และการบันทึกข�อมูลสนิทรัพย>ถาวร

14. ผลการตรวจนับได�รับการสอบทานและอนุมัติจากผู�มีอํานาจ

15. ผลต&างจากการตรวจนับจะต�องได�รับการสอบทานหาสาเหตุ และดําเนินการแก�ไขอย&างทันที

16. เอกสารสิทธิ์และเอกสารสําคัญได�รับการจัดเก็บอย&างปลอดภัย เช&น โฉนดท่ีดิน สัญญาการกู�ยืมต&าง ๆ สัญญาเช&า เป5นต�น

17. ในกรณีเอกสารสิทธิ์ ตรวจสอบว&าเจ�าของสิทธิ์เป5นของ กปภ.

18. การจัดเก็บ หรือ การเบิกใช�เอกสารสิทธิจ์ะต�องได�รับอนุมัติจากผู�มีอํานาจ

19. มีการจัดทําประกันภัยทรัพย>สินของ กปภ. อย&างครบถ�วน

20. มีการต&ออายุกรมธรรม>ครบถ�วน

Page 58: Manager

- 56 -การควบคุมภายในดานการบริหารวสัดุคงคลังการประมาณการส่ังซ้ือวัสดุ

1. มีนโยบาย กฎระเบียบ ข�อบังคับ และข้ันตอนการปฏิบัติงานการสั่งซ้ือวัสดุ ปริมาณการจัดเก็บวัสดุ การบรหิารจดัการวสัดุ การสอบทานวสัดุล�าสมัย และการทําลายวสัดุเสื่อมสภาพ

2. มีการติดตามแผนการใช�วัสดุเปรียบเทียบกับผลการใช�วสัดุจริง

3. การกําหนดปริมาณข้ันตํ่าในการจัดเก็บวัสดุจะต�องมีเอกสารสนับสนุนอย&างเพียงพอ และได�รับอนุมัติจากผู�มีอํานาจก&อนการบันทึกข�อมูลดังกล&าวในระบบงาน TEMPLATE

4. ปริมาณข้ันตํ่าในการจัดเก็บเอกสารในระบบงาน TEMPLATE จะต�องสอดคล�องกับเอกสารกําหนดปริมาณการจัดเก็บวัสดุข้ันตํ่าท่ีจะต�องจัดเก็บ ซ่ึงได�รับการอนุมัติจากผู�มีอํานาจ

5. มีการติดตามหรืออธิบายถึงสาเหตุท่ีมีการใช�ปริมาณวัสดุเกินกว&าแผนท่ีวางไว�

6. รายงานอายุของวัสดุคงคลังได�รับการสอบทาน และอนุมัติโดยผู�มีอํานาจในกรณีท่ีมีวัสดุไม&เคลื่อนไหว เคลื่อนไหวช�า หรือล�าสมัย จะต�องมีการดําเนินการตามนโยบายของ กปภ. เช&น จําหน&าย เป5นต�น

การรับสินคา

1. มีนโยบาย กฎระเบียบ ข�อบังคับ และข้ันตอนการปฏิบติังานกับการรับวสัดุ การส&งคืนวัสดุท่ีไม&มีคุณภาพให�ผู�

ขาย การจัดเก็บวัสดุ

2. มีการกําหนดสิทธิใ์นการเข�าถึงข�อมูลในระบบงาน TEMPLATE และการสอบทานสิทธิ์การเข�าถึงข�อมูลดังกล&าว

อย&างสมํ่าเสมอ

3. มีการตรวจสอบคุณภาพวัสดุก&อนการตรวจรับวัสดุ

4. ใบตรวจรับวัสดุได�รับการลงนามจากผู�ขายหรือตัวแทนของผู�ขาย

5. จํานวนวสัดุท่ีรบัในระบบงาน TEMPLATE สอดคล�องกับจํานวนท่ีระบุใบตรวจรับวสัดุ และใบแจ�งหนี้หรือใบส&ง

ของ

6. รายการรับวัสดุได�รับการบันทึกในระบบงาน TEMPLATE ท้ัง Module MM และ FI เป5นไปอย&างครบถ�วน ถูก

ต�อง

7. การบันทึกในระบบงาน TEMPLATE ท้ัง Module MM และ FI จะต�องบันทึกรับภายหลังจากการตรวจรับ

วสัดุ และการบันทึกรับวัสดุจะต�องเป5นไปอย&างทันท&วงที และตรงงวดเวลา

8. มีการแบ&งแยกการจดัเก็บระหว&างวัดสุท่ีเสื่อมสภาพกับวัสดุท่ีมีสภาพปกติ

Page 59: Manager

- 57 -การควบคุมภายในดานการบริหารวสัดุคงคลังการเบิกจ;ายวัสดุ

1. มีนโยบาย กฎระเบียบ ข�อบังคับ และข้ันตอนการปฏิบติังานสําหรับการเบิกวัสดุ การจ&ายวสัดุ การโอนวสัดุ การคํานวณต�นทุน และการบันทึกต�นทุน

2. การกําหนดสิทธิ์ในการเข�าถึงข�อมูลในระบบงาน TEMPLATE และสอบทานสิทธิ์การเข�าถึงข�อมูลดังกล&าวอย&าง สมํ่าเสมอ

3. ใบเบิกวัสดุมีการระบุปรมิาณท่ีต�องการและปริมาณท่ีจ&ายจริง

4. ใบเบิกวัสดุมีการระบุถึงเลขท่ีงานท่ีนําวัสดุดังกล&าวไปใช�

5. ใบเบิกวัสดุได�รับการอนุมัติจากผู�มีอํานาจอย&างถูกต�อง

6. ใบเบิกวัสดุได�รับการลงนามโดยผู�จ&ายวัสดุ

7. ใบเบิกวัสดุได�รับการลงนามโดยผู�รับวสัดุ

8. ใบเบิกวัสดุได�รับการบันทึกในระบบงาน TEMPLATE หลังจากจ&ายวัสดุ

9. การบันทึกข�อมูล ปริมาณการเบิกวัสดุในระบบงาน TEMPLATE ใน Module MM และ FI ตรงงวดเวลา

10. การบันทึกต�นทุนวัสดุจ&ายเป5นไปอย&างครบถ�วน ถูกต�อง

การขอโอนวัสดุระหว;างโรงงาน

1. ใบโอนวัสดุมีการระบุปริมาณท่ีต�องการ และปริมาณท่ีจ&ายจริง

2. มีการระบุถึง กปภ. สาขา หรือ กปภ. เขต ท่ีต�องการนําวสัดุดังกล&าวไปใช�

3. ใบขอโอนวสัดุได�รับการอนุมัติจากผู�มีอํานาจอย&างถูกต�อง

4. ใบขอโอนวสัดุได�รับการลงนามโดยผู�จ&ายวัสดุ

5. ใบขอโอนได�รับการลงนามโดยผู�รับวสัดุ

6. ใบขอโอนได�รับการบันทึกในระบบงาน TEMPLATE หลังจากท่ีรับโอนวัสดุ

7. การบันทึกข�อมูลปรมิาณการโอนวัสดุในระบบงาน TEMPLATE ถูกต�องท้ังใน Module MM และ FI

8. การบันทึกข�อมูลปรมิาณการโอนวัสดุในระบบงาน TEMPLATE ใน Module MM และ FI ตรงงวดเวลา

9. การคํานวณและการบันทึกต�นทุนวสัดุโอนเป5นไปอย&างครบถ�วนถูกต�อง

การรับคืนวัสดุ

1. มีนโยบาย กฎระเบียบ ข�อบังคับ และข้ันตอนการปฏิบัติงานในการรับคืนวสัดุ และการบันทึกการรับคืน

2. มีหลักเกณฑ> วธิีการ แนวทางในการพิจารณาสภาพของวัสดุท่ีได�รับคืน

3. วธิีการในการคํานวณราคาวสัดุรบัคืน

4. การกําหนดสิทธิ์ในการเข�าถึงข�อมูลในระบบงาน TEMPLATE และการสอบทานสิทธิ์การเข�าถึงข�อมูลดังกล&าว อย&างสมํ่าเสมอ5. ใบส&งคืนวัสดุได�รับการลงนามจากผู�ส&งคืน

Page 60: Manager

- 58 -

การควบคุมภายในดานการบริหารวสัดุคงคลัง6. ใบส&งคืนวัสดุได�รบัการอนุมัติจากผู�มีอํานาจ (หัวหน�างานหรือผู�จัดการ กปภ. แล�วแต&กรณี)

7. ใบส&งคืนวัสดุได�รบัการลงนามจากผู�รับ

8. มีการกําหนดสาเหตุของการส&งคืนวัสดุในใบส&งคืนวสัดุ

9. ใบส&งคืนได�รับการบันทึกในระบบงาน TEMPLATE หลังจากการรับคืนวสัดุ

10. การคํานวณและการบันทึกต�นทุนการรับคืนวสัดุเป5นไปอย&างครบถ�วน ถูกต�อง

11. ปรมิาณและราคาของวสัดุได�รับการบันทึกในทะเบียนคุมเท&านั้น และไม&ได�รับการบันทึกในระบบงาน TEMPLATE (กรณีไม&สามารถนําไปใช�งานได�)

การบันทึกบัญชีวัสดุและการตัดจําหน;ายวัสดุ

1. มีนโยบาย กฎระเบียบ ข�อบังคับ และข้ันตอนการปฏิบัติงานในการตรวจนับวัสดุประจําเดือน ประจําป̀ การตัด

จําหน&ายวัสดุท่ีเกินความจําเป5น เอกสารท่ีเก่ียวข�อง ผู�รบัผดิชอบ

2. มีการกําหนดข้ันตอนในการดําเนินการปรับปรงุผลต&างท่ีเกิดจากการตรวจนับวัสดุ (หากมี)

3. มีการกําหนดข้ันตอนในการขายทอดตลาดและการตัดจําหน&ายวัสดุ

4. มีการแบ&งแยกหน�าท่ีระหว&างผู�จัดเก็บพัสดุ ผู�ตรวจนับพัสดุ ผู�อนุมัติ ผู�ดําเนินการขายทอดตลาด และตัด

จําหน&ายวัสดุชํารุด ผู�บันทึกข�อมูลในระบบงาน TEMPLATE และผู�จดัทํารายงานการกระทบยอดคงเหลือวัสดุ

กับ G/L

5. ในกรณีท่ีเกิดผลต&างจากการตรวจนับ หรือสิ่งผิดปกติ จะต�องมีการจัดต้ังคณะกรรมการตรวจสอบข�อเท็จจริง

6. มีการจัดต้ังคณะกรรมการดําเนินการสอบข�อเท็จจริงกรณีพัสดุ ขาดบัญชี เกินบัญชี และชํารุดเสื่อมคุณภาพ

เพ่ือจําหน&าย

7. มีการจัดต้ังคณะกรรมการดําเนินการขายทอดตลาด และส&งมอบสินทรัพย>ถาวรชํารุด

8. มีการจําหน&ายทอดตลาดตามระเบียบสํานักนายกฯ การจําหน&ายข�อ 157-158

9. การบันทึกข�อมูลวัสดุในระบบงาน TEMPLATE เป5นไปอย&างครบถ�วน ถูกต�อง

Page 61: Manager

- 59 -

การควบคุมภายในดานการบริหารลูกคาสมัพันธ9เรื่องท่ัวไป

1. โครงสร�างของฝ[ายงานได�มีการกําหนดหน�าท่ี ความรับผดิชอบของหน&วยงานด�านการบริหารลูกค�าสัมพันธ>ไว� อย&างชัดเจน

2. การกําหนด KPI ของหน&วยงานด�านการบริหารลูกค�าสัมพันธ>ไว�เป5นลายลักษณ>อักษร

3. มีการกําหนดความรับผิดชอบให�กับเจ�าหน�าท่ีผู�รับผิดชอบในการงานด�านการบริหารลูกค�าสัมพันธ>ไว�อย&าง ชัดเจน

4. มีนโยบายเก่ียวกับงานด�านการบริหารลูกค�าสัมพันธ>และคู&มือในการปฏิบัติงานท่ีเขียนไว�เป5นลายลักษณ>อักษร

5. หน&วยงานด�านการบริหารลูกค�าสัมพันธ>ได�คํานึงถึงเรื่องดังต&อไปนี้

5.1 การให�บริการในการแก�ไขเรื่องร�องเรียนน้ําจากผู�ใช�น้ําได�อย&างมีประสิทธภิาพและประสิทธผิล

5.2 การสื่อสารข�อมูลข&าวสารของการประปาส&วนภูมิภาคสาขาไปสู&ผู�ใช�น้ําอย&างมีประสิทธภิาพ

6. มีการจดัทํารายงานด�านการบริหารลูกค�าสัมพันธ>ต&อผู�บริหารเป5นประจํา

7. มีบุคลากรในการปฏิบติังานท่ีมีทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงานอย&างเพียงพอ

8. มีระบบงานท่ีใช�ในการปฏิบัตงิานท่ีมีประสิทธภิาพ

9. มีจํานวนบุคลากรสอดคล�องกับปริมาณงาน

การรับเรื่องรองเรียนจากผูใชน้ํา

10. มีการกําหนดช&องทางการรับเรื่องร�องเรียนได�แก&

- มีกล&องรับเรื่องร�องเรียนและการแจ�งผ&านโทรศัพท> (24 ชัว่โมง)

- มีการแจ�งผ&าน Call Center

- มีการแจ�งผ&าน Website ของ กปภ.

11. มีการสื่อสารช&องทางร�องเรียนแก&ผู�ใช�น้ําได�รบัทราบ

12. การแบ&งประเภทข�อเรื่องร�องเรียน และมีการสอบทานความถูกต�องจากหวัหน�างานก&อนการประสานงานกับ หน&วยงานท่ีเก่ียวข�อง

13. มีการกําหนดระยะเวลาในการแก�ไขป*ญหาเรื่องร�องเรียนแต&ละประเภท

14. มีการกําหนดระยะเวลาในการแจ�งข�อมูลผลการแก�ไขป*ญหาให�กับผู�ร�องเรียนทราบ

15. มีการกําหนดกระบวนการติดตามความก�าวหน�าของการแก�ไขป*ญหาอย&างสมํ่าเสมอ

16. มีการอบรมให�ความรู�และทักษะในการให�บริการผู�ใช�น้ํา แก&พนักงานอย&างสมํ่าเสมอ

17. มีการกําหนดเจ�าหน�าท่ีเพ่ือให�บริการแก&ผู�ใช�น้ํา

18. การประปาส&วนภูมิภาคสาขา จดัทํารายงานประจําเดือนในการรับเรื่องร�องเรยีนและส&งให�การประปาส&วน ภูมิภาคเขตรวบรวม และส&งต&อสํานักงานใหญ&เพ่ือนําเสนอต&อผู�บริหารเป5นประจําทุกเดือน

Page 62: Manager

- 60 -

การควบคุมภายในดานการบริหารลูกคาสมัพันธ919. มีการจํากัดสิทธิ์ในการเข�าถึงเรื่องร�องเรียน และมีการสอบทานสิทธิ์ดังกล&าวอย&างสมํ่าเสมอ

การประชาสัมพันธ9ขอมูลข;าวสารใหกับผูใชน้ํา

20. มีการกําหนดแผน วธิีการ และระยะเวลาในการประชาสัมพันธ>ข�อมูลข&าวสารให�กับผู�ใช�น้ําอย&างเป5นลาย ลักษณ>อักษร

21. มีการกําหนดงบประมาณสําหรบัการประชาสัมพันธ>ข�อมูล ข&าวสารให�กับผู�ใช�น้ํา และมีการเปรียบเทียบผล การปฏิบติังานจริงกับงบประมาณท่ีวางไว�

22. มีการวัดผลการใช�สื่อท่ีใช�ในการประชาสัมพันธ>ข�อมูลข&าวสารให�กับผู�ใช�น้ําอย&างชัดเจน

23. มีการกําหนดสื่อท่ีใช�ในการประชาสัมพันธ>ข�อมูลข&าวสารให�กับผู�ใช�น้ําอย&างชัดเจน

การเก็บขอมูลและจัดทํารายงาน

24. มีการจัดทํารายงาน การเก็บข�อมูลเป5นประจํา

25. มีการสอบทานความถูกต�องของข�อมูลในรายงานจากหัวหน�างานทุกครั้ง

Page 63: Manager

- 61 -งานจัดเกบ็รายได1. ความเส่ียงในการปฏิบัติงานการอ;านมาตรวัดน้ํา

1. ไม&มีการตรวจสอบความถูกต�องข�อมูลผู�ใช�น้ําในระบบ Billing กับข�อมูลผู�ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค&าเพ่ิมท่ีได�รับจากกรมสรรพกร

2. ไม&ได�จัดเรียงลําดับผู�ใช�น้ํา ในสายการอ&านมาตรวัดน้ํา ให�เป5นป*จจุบัน

3. พนักงานอ&านมาตรวดัน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือ ผู�ปฏบัิติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา ขาดความรู�ความเข�าใจในการจัดประเภทผู�ใช�น้ํา

4. พนักงานอ&านมาตรวดัน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏบัิติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา บันทึกหน&วยน้ําในบัตรอ&านมาตรไม&ตรงกับหน&วยน้ําท่ีเกิดข้ึนจริง

5. พนักงานอ&านมาตรวดัน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏบัิติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา รับผิดชอบผู�ใช�น้ําเกินมาตรฐาน ทําให�ไม&สามารถอ&านมาตรอ&านได�จริงทุกราย

6. พนักงานอ&านมาตรวดัน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏบัิติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา ไม&ได�ทําบันทึกแจ�งหัวหน�างานอํานวยการ/หัวหน�างานจัดเก็บฯ ทราบ เม่ือพบผู�ใช�น้ํามีพฤติกรรมการใช�น้ํา/สภาพการใช�น้ําต&างไปจากเดิม

7. พนักงานอ&านมาตรวดัน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏบัิติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา อ&านมาตรวดัน้ําของผู�ใช�น้ํารายใหม&ไม&ถูกต�อง ครบถ�วน

8. ไม&ได�ส&งผังการติดต้ังมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ํารายใหม&ให� พนักงานอ&านมาตรวัดน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏิบัติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา ศึกษาเส�นทางผู�ใช�น้ํารายใหม&ก&อนการอ&านมาตรวัดน้ําปกติ

9. พนักงานอ&านมาตรวดัน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏบัิติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา ประจําสายให�รายละเอียดเก่ียวกับรหัสประเภทผู�ใช�น้ําไม&ถูกต�องต้ังแต&เริ่มการอ&านมาตรวัดน้ําครั้งแรก

10. หวัหน�างานอํานวยการ/หวัหน�างานจัดเก็บ ไม&ได�สอบทานผลการปฏิบติังานของพนักงานอ&านมาตรวดัน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏิบัติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา

11. พนักงานอ&านมาตรวัดน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏบัิติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา เพ่ือพบมาตรวัดน้ําชํารุด (ตาย) ไม&ใส&รหสัสภาพมาตรเป5นชํารุดทันทีท่ีพบ หรอืใส&รหัสไม&ถูกต�อง

12. มีมาตรวัดน้ําชํารดุ (ตาย) เกิน 3 เดือน ยังไม&แก�ไขให�เป5นปกติ

13. การคํานวณหน&วยน้ํา ไม&นําหน&วยน้ํามาตรย&อยไปหักออกจากมาตรใหญ&

14. พนักงานอ&านมาตรวัดน้ํา หรือตัวแทนอ&านมาตรวัดน้ํา หรือผู�ปฏบัิติหน�าท่ีอ&านมาตรวัดน้ํา ไม&ครบถ�วน

Page 64: Manager

- 62 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)2. ความเส่ียงในการปฏิบัติงานระบบบิลล่ิง

1. บรษัิทมีการบันทึกหน&วยน้ําไม&ถูกต�องตามความเป5นจริง (บันทึกสูง/ตํ่า กว&าบัตรอ&านมาตร)

2. การพิมพ>ใบแจ�งหนี้มีความผิดพลาด

3. การปรับอัตราค&าน้ําประปาในระบบ Billing ไม&ถูกต�อง/ล&าช�า ตามท่ี กปภ. กําหนด

4. มีการยกเลิกใบแจ�งหนี้ค&าน้ําประปา โดยไม&ได�แจ�งให�หัวหน�างานทราบ ทําให�แจ�งหนี้ผิด

3. ความเส่ียงข้ันตอนการจัดเก็บเงินรายไดค;าน้ําผ;านมาตร/รายไดอ่ืน

1. รับชําระค&าน้ําโดยไม&บันทึกข�อมูลในระบบบิลลิง่ หรือในทะเบียนการเก็บเงิน ไม&ครบถ�วน

2. พนักงานคอมพิวเตอร>ไม&ได�ดึงข�อมูลการรับชําระเงินผ&านช&องทางอ่ืนทาง Internet เป5นประจําทุกวนั

3. บันทึกข�อมูลการรับชําระเงินเข�าระบบบิลลิ่ง ไม&ครบถ�วน

4. หัวหน�างานไม&ได�ตรวจดูความถูกต�องยอดเงินนําฝากในสําเนา ใบนําฝากกับสมุดเงินฝากธนาคาร

5. มีใบเสรจ็รบัเงินท่ีไม&ได�พิมพ>ออกจากระบบบิลลิ่ง และระบบรับ-จ&าย

6. มีใบเสรจ็รบัเงินท่ียกเลิก เนื่องจากชํารุด พิมพ>ผดิ ไม&ได�ขออนุมัติยกเลิกจากผู�จัดการประปา

4. ความเส่ียงข้ันตอนการจัดเก็บเงินรายไดค;าน้ําท;อธาร

1. พิมพ>ชื่อ/ท่ีอยู& ของผู�รับจ�าง หรือจํานวนวงเงินตามสญัญาไม&ถูกต�อง

2. คํานวณหน&วยน้ําในสมุดอ&านมาตรท&อธารไม&ถูกต�อง ทําให�เก็บเงินค&าน้ําท&อธารไม&ถูกต�อง

3. จ&ายน้ําภัยแล�ง โดยไม&มีการอนุมัติจากผู�จัดการประปาและเป5นการจ&ายเพ่ือภัยแล�ง

5. ความเส่ียงในการปฏิบัติงานรับและคืนเงินประกันสัญญา

1. พิมพ>ชื่อ/ท่ีอยู& ของผู�รับจ�าง หรือจํานวนวงเงินตามสญัญาไม&ถูกต�อง

2. เม่ือพบมีความชํารดุบกพร&องสิ่งก&อสร�างก&อนครบอายุสญัญาไม&แจ�งผู�รับจ�างทําการซ&อมแซม/แก�ไข ให�กลับสู&สภาพเดิมก&อนครบกําหนดอายุคํ้าประกันสัญญา

3. เม่ือสํานักงานประปาดําเนนิการซ&อมแซมแล�ว ไม&แจ�งค&าใช�จ&ายให�ผู�รับจ�างมาจ&ายชําระ หรือทําการหักเงินประกันสัญญา

Page 65: Manager

- 63 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)6. ความเส่ียงในการปฏิบัติงานปcดงาน

1. ระบบสํารองไฟฟ8าของเครื่องคอมพิวเตอร> (UPS) ชํารุด ทําให�ขณะระบบ (โปรแกรม) กําลังประมวลผลป̂ดงาน ณ สิน้วนั หรือดําเนินการอ่ืน ๆ เกิดมีไฟฟ8าตก หรือไฟฟ8าดับ จะทําให�การประมวลผลคลาดเคลื่อนไปจากความจริง

2. มีการต้ังหนี้ค&าน้ําในระบบบิลลิง่ สูง / ตํ่า กว&าความเป5นจรงิ

3. ไม&บันทึกข�อมูลรายวนัท่ัวไปในระบบ Template เป5นประจําทุกวัน

4. มีหนี้ค�างชําระคงเหลือไม&เป5นไปตามเกณฑ>ท่ี กปภ. กําหนด

5. ผู�ใช�น้ําเลิกใช�น้ําชั่วคราว หรือเลกิการใช�น้ําถาวร ยังมีหนี้ค&าน้ําค�างชําระ

7. ตารางอัตราค;าธรรมเนียมต;าง ๆ

รายการ 0.50(1/2) 0.75(3/4) 1" 1.50” 2” หมายเหตุ

ค&ามัดจําคําขอมาตร - - 1,000 1,500 2,500 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าประกันการใช�น้ํา (ถาวร)

500 1,000 1,500 3,000 4,000 เริ่ม ต.ค. 2549

ค&าประกันการใช�น้ํา (ชั่วคราว)

5,000 7,000 12,500 30,000 50,000 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าบริการท่ัวไปรายเดือน

30 50 60 90 350 เริ่ม ก.ค. 2543

ค&าประสานมาตร 500 600 850 1,200 2,900 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าฝากมาตรป̀ท่ี 1 400 500 700 1,000 2,500 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าฝากมาตรป̀ท่ี 2 300 400 550 800 2,100 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าบรรจบมาตร 100 100 150 200 400 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าทดสอบมาตร 250 250 500 800 1,600 เริ่ม พ.ค. 2540

หมายเหตุ ค&าประสานมาตร ขนาด 1/2" จาก 500.- บาท เหลือ 300.- บาท (1 พ.ย. 2554 – 30 พ.ย. 2555)

Page 66: Manager

- 64 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

7. ตารางอัตราค;าธรรมเนียมต;าง ๆ (ต;อ)

รายการ 2.50" 3.00” 4.00” 6.00” 8.00” หมายเหตุ

ค&ามัดจําคําขอมาตร 4,000 5,000 10,000 20,000 20,000 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าประกันการใช�น้ํา (ถาวร)

4,000 10,000 15,000 21,000 30,000 เริ่ม ต.ค. 2549

ค&าประกันการใช�น้ํา (ชั่วคราว)

50,000 50,000 50,000 50,000 50,000 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าบริการท่ัวไปรายเดือน

450 450 550 950 1,200 เริ่ม ก.ค. 2543

ค&าประสานมาตร 3,400 4,100 5,500 7,700 9,500 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าฝากมาตรป̀ท่ี 1 3,000 3,500 4,500 6,500 8,000 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าฝากมาตรป̀ท่ี 2 2,600 2,900 3,500 5,300 6,500 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าบรรจบมาตร 400 600 1,000 1,200 1,500 เริ่ม พ.ค. 2540

ค&าทดสอบมาตร 1,600 2,400 4,000 5,400 7,000 เริ่ม พ.ค. 2540

หมายเหตุ ค&าประสานมาตร ขนาด 1/2" จาก 500.- บาท เหลือ 300.- บาท (1 พ.ย. 2554 – 30 พ.ย. 2555)

Page 67: Manager

- 65 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)8. ตารางค;าน้ําประปา (ข�อบังคับ การกําหนดราคาจําหน&ายน้ําประปา (ฉบับ 17) พ.ศ.2554 เริม่บังคับสําหรับหน&วยน้ําประปาประจําเดือน มีนาคม 2554 เป5นต�นไป)

ตารางหมายเลข 1

อัตราค&าน้ําประปาพ้ืนท่ีเอกชนร&วมลงทุนและพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี

ท�ายข�อบังคับการประปาส&วนภูมิภาค ว&าด�วยการกําหนดราคาจําหน&ายน้ําประปา (ฉบับท่ี 17) พ.ศ.2554

ช&วงการใช�น้ํา (ลบ.ม./เดือน)

ประเภทผู�ใช�น้ํา

1.ท่ีอยู&อาศัยและอ่ืน ๆ 2.ราชการและธุรกิจขนาดเล็ก 3.รัฐวิสาหกิจ อุตสาหกรรม และธุรกิจขนาดใหญ&

(บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร) (บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร) (บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร)

ค&าน้ําข้ันตํ่า (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 50 บาท) (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 150 บาท) (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 300 บาท)

0 - 10 10.20 1.020 17.00 1.700 18.25 1.825

11 – 20 16.00 1.600 20.00 2.000 21.50 2.150

21 – 30 19.00 1.900 21.00 2.100 25.50 2.550

31 – 50 21.20 2.120 22.00 2.200 28.50 2.850

51 – 80 21.30 2.130 23.00 2.300 31.00 3.100

81 – 100 21.50 2.150 24.00 2.400 31.25 3.125

101 – 300 - - 27.40 2.740 31.50 3.150

301 – 1,000 - - 27.50 2.750 31.75 3.175

1,001 – 2,000 - - 27.60 2.760 32.00 3.200

2,001 – 3,000 - - 27.80 2.780 32.25 3.225

> 3,000 - - 28.00 2.800 32.50 3.250

หมายเหตุ : 1.ผู�ใช�น้ําประเภท 1 หากเดือนใดใช�น้ํามากกว&า 100 ลบ.ม./เดือน ให�คิดอัตราค&าน้ําประปา

เท&ากับผู�ใช�น้ําประเภท 2 ณ เวลานั้น

2.พ้ืนท่ีเอกชนร&วมลงทุน หมายถึง การประปาส&วนภูมิภาคสาขาปทุมธานี สาขารังสิต

สาขาราชบุรี สาขาสมุทรสงคราม สาขาอ�อมน�อย สาขาสามพราน สาขาสมุทรสาคร

สาขาฉะเชิงเทรา สาขาบางปะกง สาขานครสวรรค> และสาขาระยอง

3.พ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี หมายถึง การประปาส&วนภูมิภาคสาขาชลบุรี สาขาพัทยา สาขาแหลมฉบัง

สาขาศรีราชา สาขาพนัสนิคม และสาขาบ�านบึง

Page 68: Manager

- 66 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)8. ตารางค;าน้ําประปา (ข�อบังคับ การกําหนดราคาจําหน&ายน้ําประปา (ฉบับ 17) พ.ศ.2554 เริม่บังคับสําหรับหน&วยน้ําประปาประจําเดือน มีนาคม 2554 เป5นต�นไป)

ตารางหมายเลข 2

อัตราค&าน้ําประปา การประปาส&วนภมิูภาคสาขาภูเก็ต สาขาเกาะสมุย และสาขาเกาะพะงัน

ท�ายข�อบังคับการประปาส&วนภูมิภาค ว&าด�วยการกําหนดราคาจําหน&ายน้ําประปา (ฉบับท่ี 17) พ.ศ.2554

ช&วงการใช�น้ํา (ลบ.ม./เดือน)

ประเภทผู�ใช�น้ํา

1.ท่ีอยู&อาศัยและอ่ืน ๆ 2.ราชการและธุรกิจขนาดเล็ก 3.รัฐวิสาหกิจ อุตสาหกรรม และธุรกิจขนาดใหญ&

(บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร) (บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร) (บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร)

ค&าน้ําข้ันตํ่า (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 50 บาท) (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 150 บาท) (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 300 บาท)

0 - 10 10.20 1.020 18.00 1.800 18.50 1.850

11 – 20 16.00 1.600 21.00 2.100 22.00 2.200

21 – 30 19.00 1.900 22.00 2.200 26.00 2.600

31 – 50 21.20 2.120 23.00 2.300 29.00 2.900

51 – 80 21.30 2.130 24.00 2.400 31.50 3.150

81 – 100 21.50 2.150 26.00 2.600 32.50 3.250

101 – 300 - - 30.25 3.025 33.50 3.350

301 – 1,000 - - 30.25 3.025 34.75 3.475

1,001 – 2,000 - - 30.25 3.025 34.75 3.475

2,001 – 3,000 - - 30.25 3.025 34.75 3.475

> 3,000 - - 30.25 3.025 34.75 3.475

หมายเหตุ : ผู�ใช�น้ําประเภท 1 หากเดือนใดใช�น้ํามากกว&า 100 ลบ.ม./เดือน ให�คิดอัตราค&าน้ําประปา

เท&ากับผู�ใช�น้ําประเภท 2 ณ เวลานั้น

Page 69: Manager

- 67 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

8. ตารางค;าน้ําประปา (ข�อบังคับ การกําหนดราคาจําหน&ายน้ําประปา (ฉบับ 17) พ.ศ.2554 เริม่บังคับสําหรับหน&วยน้ําประปาประจําเดือน มีนาคม 2554 เป5นต�นไป)

ตารางหมายเลข 3

อัตราค&าน้ําประปา การประปาส&วนภมิูภาคสาขาอ่ืน (ท่ัวประเทศ)

ยกเว�นท่ีกําหนดไว�ในตารางหมายเลข 1 และ 2

ท�ายข�อบังคับการประปาส&วนภูมิภาค ว&าด�วยการกําหนดราคาจําหน&ายน้ําประปา (ฉบับท่ี 17) พ.ศ.2554

ช&วงการใช�น้ํา (ลบ.ม./เดือน)

ประเภทผู�ใช�น้ํา

1.ท่ีอยู&อาศัยและอ่ืน ๆ 2.ราชการและธุรกิจขนาดเล็ก 3.รัฐวิสาหกิจ อุตสาหกรรม และธุรกิจขนาดใหญ&

(บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร) (บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร) (บาท/ลบ.ม.) (สตางค>/ลิตร)

ค&าน้ําข้ันตํ่า (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 50 บาท) (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 150 บาท) (อัตราค&านํ้าประปาข้ันต่ํา 300 บาท)

0 - 10 10.20 1.020 16.00 1.600 18.00 1.800

11 – 20 16.00 1.600 19.00 1.900 21.00 2.100

21 – 30 19.00 1.900 20.00 2.000 24.00 2.400

31 – 50 21.20 2.120 21.50 2.150 27.00 2.700

51 – 80 21.30 2.130 21.60 2.160 29.00 2.900

81 – 100 21.50 2.150 21.65 2.165 29.25 2.925

101 – 300 - - 21.70 2.170 29.50 2.950

301 – 1,000 - - 21.75 2.175 29.75 2.975

1,001 – 2,000 - - 21.80 2.180 29.50 2.950

2,001 – 3,000 - - 21.85 2.185 29.25 2.925

> 3,000 - - 21.90 2.190 29.00 2.900

หมายเหตุ : ผู�ใช�น้ําประเภท 1 หากเดือนใดใช�น้ํามากกว&า 100 ลบ.ม./เดือน ให�คิดอัตราค&าน้ําประปา

เท&ากับผู�ใช�น้ําประเภท 2 ณ เวลานั้น

Page 70: Manager

- 68 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

9. อัตราค;าน้ําข้ันต่ํา (ข�อบังคับ การกําหนดราคาจําหน&ายน้ําประปา (ฉบับ 18) พ.ศ.2554 เริ่มบังคับสําหรบัหน&วยน้ําประปาประจําเดือนกันยายน 2554 เป5นต�นไป)

ประเภท 1 50 บาท

ประเภท 2 150 บาท

ประเภท 3 300 บาท

10. อัตราค;าน้ําท;อธาร (ประกาศ กปภ. เรื่อง การกําหนดราคาจําหน&ายน้ําท&อธาร ลงวนัท่ี 30 สิงหาคม 2554 เริ่มบังคับต้ังแต& 1 กันยายน 2554 เป5นต�นไป)

1. สําหรับพ้ืนท่ีเอกชนร&วมลงทุนและพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี 23 บาท / ลบ.ม.

2. สําหรับพ้ืนท่ีจังหวดัภเูก็ต เกาะสมุย เกาะพงัน 24 บาท / ลบ.ม.

3. สําหรับพ้ืนท่ีท่ัวไป นอกเหนือจากข�อ 1 และ 2 18 บาท / ลบ.ม.

11. อัตราค;าน้ําประปาแบบขายส;ง (Bulk Sale) ประกาศ กปภ. ลงวนัท่ี 27 ธนัวาคม 2554 เริ่มบังคับค&าน้ําประจําเดือนเมษายน 2555 เป5นต�นไป

ตาราง 1 ราคาขายส&ง (Bulk Sale) สําหรับองค>กรปกครองส&วนท�องถ่ิน (อปท.)

พ้ืนท่ีบริการ อัตราค&าน้ํา (บาท/ลบ.ม.)

เอกชนร&วมลงทุน/จังหวัดชลบุรี 19.00

จังหวัดภูเก็ต เกาะสมุย และเกาะพะงัน 21.00

พ้ืนท่ีท่ัวไป 15.00

ตาราง 2 ราคาขายส&ง (Bulk Sale) สําหรับผู�ใช�น้ําประเภทธุรกิจ อุตสาหกรรมขนาดใหญ&ท่ีมีการประกันปริมาณน้ําซ้ือ ข้ันตํ่า

พื้นท่ีบริการ เอกชนร&วมลงทุนและจังหวัดชลบุรี

จังหวัดภูเก็ต เกาะสมุย และเกาะพะงัน

พ้ืนท่ีท่ัวไป

จํานวนน้ําท่ีใช�ข้ันตํ่า (ลบ.ม./เดือน)

อัตราค&าน้ํา (บาท/ลบ.ม.)

อัตราค&าน้ํา (บาท/ลบ.ม.)

อัตราค&าน้ํา(บาท/ลบ.ม.)

ต้ังแต& 3,001 ข้ึนไป 23.50 24.50 20.50

ต้ังแต& 20,001 ข้ึนไป 23.00 24.00 20.00

ต้ังแต& 50,001 ข้ึนไป 22.75 23.75 19.75

ต้ังแต& 90,001 ข้ึนไป 22.50 23.50 19.50

ต้ังแต& 300,001 ข้ึนไป 22.00 23.00 19.00

Page 71: Manager

- 69 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

12. หลักเกณฑ9การคํานวณค;าน้ําประปาในอาคารแฟลตของการเคหะแห;งชาติ

1. นําจํานวนห�อง (ท่ีมีผู�อยู&อาศัยจริงในเดือนท่ีมีการใช�น้ํา) ไปหารปริมาณการใช�น้ําของมาตรวัดน้ําของ กปภ.

2. คํานวณเงินค&าน้ําประปาแต&ละห�อง

3. นําผลรวมของค&าน้ําประปาแต&ละห�อง เพ่ือเรียกเก็บเงินค&าน้ําประปา

(หนังสือ กปภ. แจ�ง การเคหะแห&งชาติ ท่ี มท 57551/45 ลงวันท่ี 28 กุมภาพันธ> 2538)

13. การคดิราคาค;าจําหน;ายน้ําประปาพรอมรถนําส;ง

1. ค&าน้ําประปา ให�จําหน&ายตามอัตราค&าน้ําท&อธาร

2. ค&าบริการขนส&งน้ํา หากตํ่ากว&า 10 ก.ม. จากจดุรับน้ําอัตรา 250 บาท / เท่ียว

หากเกินกว&า 10 ก.ม. จากจดุรบัน้ําให�คิดเพ่ิมอีก 25 บาท / ก.ม.

(ผู�ว&าการอนุมัติ ต&อท�ายบันทึก กปภ.สาขาหนองเรือ ท่ี มท 55202-17/2146 ลงวนัท่ี 27 พ.ย. 2545)

14. การคํานวณอัตราค;าน้ําประปา กรณีมาตรวัดน้ําชํารุด

ให�คิดถัวเฉลี่ยโดยนับจากเดือนก&อนชํารุดย�อนหลงัไปสามเดือน (เดือนท่ีชํารุดไม&นํามาคิด) ได�หน&วยน้ําเท&าใด ให�นํามาหารด�วยสาม เป5นจํานวนหน&วยน้ําถัวเฉลีย่ท่ีนํามาคิดค&าน้ําในเดือน ท่ีมาตรวัดน้ําชํารุดและเดือนต&อ ๆ ไป

ในกรณีท่ีมีการบันทึกข�อมูลการใช�น้ําในแต&ละช&วงเวลาไว�แล�ว ให�คิดจํานวนน้ํา ถัวเฉลี่ยย�อนหลังเจ็ดช&วงเวลา แล�วหาค&าเฉลี่ยการใช�น้ําต&อวนั เป5นจํานวนหน&วยน้ําถัวเฉลีย่เพ่ือนํามาคิดค&าน้ําในช&วงเวลาท่ีมาตรวดัน้ําชํารุด

การถัวเฉลี่ยนอกเหนือจากวิธีดังกล&าวข�างต�นให�ขออนุมัติผู�ว&าการ

(ข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยหลักเกณฑ>และเง่ือนไขในการใช�น้ําประปาฯ พ.ศ. 2540 ข�อ 12)

15. การฝากมาตรวัดน้ําเป_นการช่ัวคราว

ให�ผู�ใช�น้ํายื่นคําร�องขอฝากมาตรวัดน้ําเพ่ือเก็บรักษาไว�ท่ีสํานักงานประปา ในการฝากมาตรวัดน้ําจะฝากต&อเนื่องได�ไม&เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม&เกิน 1 ป̀ ผู�ใช�น้ําจะต�องชําระเงินค&าน้ําในส&วนท่ีใช�ไปก&อนฝากมาตรวัดน้ํา และชําระค&าธรรมเนียมถอด และฝากมาตรวัดน้ําในป̀แรก

เม่ือครบกําหนดเวลาหนึ่งป̀ ถ�าผู�ใช�น้ํามีความประสงค>จะฝากมาตรวัดน้ําไว�กับ กปภ. ต&อไปอีกก็ให�ยื่นคําร�องขอภายในเวลาสามสบิวัน นับแต&วนัครบกําหนด และชําระค&าธรรมเนียมฝากมาตรวัดน้ํา

การฝากมาตรวัดน้ํา จะทําการฝากต&อเนื่องได�ไม&เกิน 2 ป̀ หากเกินกําหนดให�ถือว&าสิทธิการใช�น้ําเป5นอันระงับไป

เม่ือผู�ใช�น้ํามีความประสงค>จะใช�น้ําต&อไปอีก ให�ยื่นคําร�องขอให� กปภ. บรรจบมาตรวดัน้ําให�ใหม&

การบรรจบมาตรวัดน้ํา ถ�าจําเป5นต�องใช�ท&อและอุปกรณ>เพ่ิมเติมให�คิดค&าใช�จ&ายเพ่ิมได�เท&าท่ีเป5นจริง

(ข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยหลักเกณฑ>และเง่ือนไขในการใช�น้ําประปาฯ พ.ศ. 2540 ข�อ 13)

Page 72: Manager

- 70 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

16. การเรยีกเก็บอัตราค;าบริการท่ัวไป ให�เรียกเก็บจากผู�ใช�น้ําเป5นรายเดือน หากเดือนใดไม&มีน้ําประปาจ&ายให�แก&ผู�ใช�น้ํา ให�ผู�ว&าการมีอํานาจงดเก็บค&าบริการท่ัวไปในเดือนนั้นได�

ในเดือนใดไม&มีน้ําประปาจ&ายให�แก&ผู�ใช�น้ํา ให�ผู�ว&าการมีอํานาจสั่งงดเก็บค&าบริการท่ัวไปในเดือนนั้นได�

(ข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยหลักเกณฑ>และเง่ือนไขในการใช�น้ําประปาฯ พ.ศ. 2540 ข�อ 11)

17. กรณีผูใชน้ําถูกงดจ;ายน้ําประปา ไม&ว&ากรณีใด หากผู�ใช�น้ําจะขอใช�น้ําประปาในอาคารนัน้อีก ผู�ขอใช�น้ําต�องชําระค&าน้ําประปาท่ีค�างชําระท้ังหมดก&อน การติดต้ังมาตรวัดน้ํา ให�คิดค&าธรรมเนียมถอด ฝาก และบรรจบมาตรวัดน้ํา แต&ท้ังนี้ต�องไม&เกิน 6 เดือน ต้ังแต&วนัท่ีถูกงดการจ&ายน้ําประปา หากเกินกําหนดให�ถือว&าสิทธิการใช�น้ําเป5นอันระงับไป

(ข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยหลักเกณฑ>และเง่ือนไขในการใช�น้ําประปาฯ พ.ศ. 2540 ข�อ 18)

18. กรณีผูใชโอนกรรมสิทธิ หรือ สิทธิครอบครองในบาน หรือ อาคาร หากไม&มีข�อตกลงให�ถือปฏิบัติ ดังนี้

1. ถือว&าผู�ใช�น้ํารายเดิมสละสิทธิ ท้ังมาตรวัดน้ํา และ เงินประกันการใช�น้ํา

2. ผู�ใช�น้ํารายใหม& มีสิทธิ เปลี่ยนชื่อผู�ใช�น้ํา โดยไม&ต�องจ&ายเงินประกันการใช�น้ํา หรือค&าใช�จ&ายอ่ืนใด (ถ�าเงินประกันเดิมยังมีอยู&)

(ประกาศ กปภ. เรื่อง การแก�ไขปรับปรุงสัญญาการใช�น้ําประปา (ฉบับ 3) ลว.30 ก.ย. 2553)

19. ตอบขอหารือ กรณี การจัดประเภทผูใชน้ํา

1. บริษัทฯ (โครงการหมู&บ�านจัดสรร) ท่ีได�ยื่นขอใช�น้ําประปาในนามบริษัทฯ เพ่ือติดต้ังวางท&อประปาเข�าบ�านพักอาศัยในโครงการ ให�จัดประเภทผู�ใช�น้ําให�กับบ�านพักอาศัยในแต&ละหลังเป5นประเภทท่ี 1 ท่ีอยู&อาศัย

2. โครงการหมู&บ�านจดัสรรท่ี กปภ. ได�จัดประเภทเป5นประเภทอ่ืนไปแล�ว ถ�าปรากฎว&าการใช�น้ําในบ�านหลังนั้น เป5นการใช�น้ําเพ่ือการอยู&อาศัยก็ให�ดําเนินการจัดประเภทผู�ใช�น้ําให�กับบ�านหลงัดังกล&าวเป5นประเภทท่ี 1 ท่ีอยู&อาศัย

(บันทึก กองข�อบังคับฯ ท่ี มท.55606-4/274 ลว. 21 ธ.ค. 2550)

3. ป*�มน้ํามันรถยนต> ท่ีเลิกกิจการแล�วเป5นท่ีอยู&อาศัย แต&ยังไม&ได�ยกเลิกการจดทะเบียนภาษีมูลค&าเพ่ิม เห็นได�ว&า จุดมุ&งหมายหลักเป5นท่ีอยู&อาศัยแล�ว เห็นควรจัดเป5นประเภทผู�ใช�น้ํา รหสั 139

(บันทึก กองข�อบังคับฯ มท 55604-4/69 ลงวันท่ี 23 พฤศจิกายน 2552)

4. บริษัท ไทยฮิตาชิ ลวดอาบน้ํายา จํากัด สร�างตึกในเขตพ้ืนท่ีของ บริษัทฯ โดยมีมาตรวัดน้ําเฉพาะตึกท่ีสร�างเพ่ือให�พนักงานอยู&อาศัย โดยชื่อผู�ใช�น้ําเป5นบริษัทฯ เห็นควรจัดเป5นประเภทท่ีอยู&อาศัย ตามพฤติกรรมการใช�น้ํา และจุดมุ&งหมายหลักของการใช�น้ํา

(งานกฎหมาย กปภ.ข.1 เทียบเคียง บันทึก กองข�อบังคับฯ มท. 55606/76 ลว. 24 ก.พ. 2552)

Page 73: Manager

- 71 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

5. กรณีผู�ใช�น้ําประกอบธรุกิจห�องเช&า อาคารชุด แฟลต หอพัก แต&ได�ขอติดต้ัง ในนามของบริษัทฯ หรือ หจก. โดยชัน้ล&างของอาคารไม&ได�ประกอบธุรกิจอ่ืน เหน็ควรจดัเป5นประเภท 1 ท่ีอยู&อาศัย รหัส 113 เนือ่งจาก จุดมุ&งหมายหลักการขอใช�น้ําก็เพ่ือการอยู&อาศัย

6. ตามข�อ 1 หากแต&ชัน้ล&างได�ดําเนินการเป5นร�านสะดวกซ้ือ หรือ ร�านซักอบรีด ร�านอาหาร เห็นควรจดัเป5นประเภท 1 ท่ีอยู&อาศัย รหสั 113 ซ่ึงถือได�ว&าร�านค�าเป5นส&วนน�อย

(บันทึกกองข�อบังคับฯ มท. 55606-4/76 ลว. 24 ก.พ. 2552)

20. การจําหน;ายหนี้จากบัญชีเป_นสูญ 5 กรณี ดังนี้

1. ลกูหนี้ตกเป5นบุคคลล�มละลายตามคําพิพากษาของศาล และไม&มีทรัพย>สินท่ีจะให�เฉลี่ยชําระหนี้ได� หรือ

2. ลกูหนี้ถึงแก&ความตาย เป5นคนสาบสูญ หรือมีหลักฐานว&าหายสาบสูญ และได�สอบสวนแล�วปรากฎว&า ไม&มีทรพัย>สินใดๆ ท่ีจะชําระหนีไ้ด�หรือมีแต&ไม&คุ�มค&าในการดําเนินคดี หรือ

3. ลกูหนี้ไม&ชําระหนี้เป5นเวลาเกินกว&าห�าป̀ นับจากวันท่ีหนี้ถึงกําหนดชําระ และได�สอบสวนแล�วปรากฎว&า ลูกหนี้ไม&มีทรัพย>สินท่ีจะชําระหนี้ได�หรือมีแต&ไม&คุ�มค&าในการดําเนินคดี หรือ

4. หนีค้&าน้ําประปาท่ีได�มีการติดตามแล�วปรากฎว&า ลูกหนี้ไม&มีทรพัย>สนิท่ีจะชําระหนี้ได� หรือมีแต&ไม&คุ�มค&าในการดําเนนิคดี หรือไม&ทราบภูมิลําเนา และหาตัวลูกหนี้ไม&ได�เป5นเวลาเกินกว&าสองป̀ นบัจากวันท่ีออกใบแจ�งหนี้ หรือ

5. หนีข้าดอายุความ

(ข�อบังคับ การจําหน&ายทรัพย>สนิสูญหาย และหนี้จากบัญชเีป5นสูญ พ.ศ. 2539 และแก�ไข)

21. แนวทางปฏิบัติในการจําหน;ายหนี้สูญ

1. ก&อนจําหน&ายหนี้จากบัญชีเป5นสูญ กปภ.สาขา ซ่ึงเป5นหน&วยงานต�นสังกัด ต�องดําเนินการหักหนี้ค&าน้ําประปาจากเงินประกันการใช�น้ําของลูกหนี้ และจะต�องมีการติดตามหนี้ค&าน้ําประปาอย&างต&อเนื่อง และเต็มความสามารถ (คําสั่ง กปภ. ท่ี 155/2554 เรื่อง การดําเนินการเร&งรัดติดตามทวงหนี้ค&าน้ําประปา)

2. กปภ.สาขา ต�องดําเนินการตรวจสอบขอคัดสําเนาทะเบียนราษฎร> (ทร.14) เพ่ือให�ทราบภูมิลําเนาของลูกหนี้ หากปรากฎภูมิลําเนาของลูกหนี้ ก็ให�ติดตามทวงถามกับลูกหนี้จนกว&าจะได�รับชําระหนี้ แต&หากติดตามแล�วหาตัวลูกหนี้ไม&ได�เป5นเวลาเกินกว&า 2 ป̀ นับจากท่ีออกใบแจ�งหนี้ ก็ให�ดําเนินการเพ่ือจําหน&ายหนีจ้ากบัญชีเป5นสูญต&อไป

3. ให� กปภ.สาขา ต้ังคณะกรรมการสอบสวนการดําเนินงาน โดยมีผู�จัดการประปาเป5นประธานคณะกรรมการ และกรรมการอ่ืนรวมกันไม&น�อยกว&า 3 คน

Page 74: Manager

- 72 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)4. กปภ.สาขา ต�องยืนยันต&อคณะกรรมการสอบสวนการดําเนินงาน ว&าเป5นหนี้ค&าน้ําประปาท่ีได�มีการติดตามแล�วหาตัวลูกหนี้ไม&ได�เป5นเวลาเกินกว&า 2 ป̀ นับจากท่ีออกใบแจ�งหนี้ หรือลูกหนี้ไม&มีทรัพย>สินท่ีจะชําระหนี้ได� โดยได�ติดตาม ณ สถานท่ีขอใช�น้ําท่ีลกูหนี้ให�ไว�ในการยืน่ขอใช�น้ํา หรือสอบถามจากบุคคลท่ีอาศัยข�างเคียงกับสถานท่ีขอใช�น้ําของลูกหนี้ หรือตรวจสอบการถือครองทรัพย>สินท่ีมีทะเบียน จากหน&วยงานท่ีเก่ียวข�อง อาทิ สํานักงานท่ีดิน, สํานักงานขนส&ง เป5นต�น และต�องสอบสวนจนได�ข�อเท็จจริงว&าผู�ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข�องในขณะนั้น หรือพนักงานอ่ืนท่ีปฏิบัติงานในขณะนั้น ได�มีการติดตามหนี้ค&าน้ําประปาอย&างต&อเนื่อง และเต็มความสามารถหรือไม& อย&างไร พร�อมท้ังเสนอความเห็นต&อคณะกรรมการสอบสวนการดําเนินงานว&าถ�าหากมีการฟ8องร�องดําเนินคดีแล�วจะคุ�มค&าใช�จ&ายหรือไม& อย&างไร (มติคณะกรรมการ ครั้งีท่ี 8/2548 ".... ให� กปภ. ดําเนินการฟ8องร�อง กับผู�ใช�น้ําท่ีค�างชําระค&าน้ําประปา (หักเงินประกันการใช�น้ําแล�ว) ต้ังแต& 3,000 บาท...")

5. เม่ือพิจารณาแล�วเสร็จให�ผู�จัดการประปาในฐานะประธานคณะกรรมการสอบสวนเสนอความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนมายัง กปภ.เขต

6. กปภ.สาขา เขตซ่ึงเป5นหน&วยงานกํากับดูแล ควรให�งานกฎหมายเขตเสนอความเห็นว&าลูกหนี้ไม&มีทรัพย>สินใด ๆ ท่ีจะชําระหนี้ได� และ กปภ.เขต ต�องเสนอความเห็นประกอบข�อเท็จจริงในการพิจารณาขออนุมัติ ถ�าหาก กปภ.เขต พิจารณาแล�วเห็นว&า กปภ.สาขา ได�ปฏบัิติตามข้ันตอนแล�ว และเหน็ควรจําหน&ายหนี้ของลูกหนี้จากบัญชีเป5นสูญให�เสนอผ&านสายงานจนถึงผู�มีอํานาจพิจารณาอนุมัติ (ข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยการจําหน&ายทรัพย>สินสูญหาย ฯ ข�อ.9)

7. การจําหน&ายหนี้จากบัญชีเป5นสูญเพ่ือประโยชน>ในทางบัญชีเท&านั้น ผู�มีหน�าท่ีติดตามหนี้สินจะต�องติดตามทวงถามกับลกูหนี้จนกว&าจะได�รับชําระหนีต้&อไป

22. การคิดเงินทดแทน และค;าน้ําสูญเสีย กรณีการลักใชน้ําประปา

1. ค&าเงินทดแทน ให�คิดจากขนาดท&อท่ีแยกจากท&อประปาของ กปภ. หรือของรูท่ีถูกเจาะ

2. ค&าน้ําสูญเสยี ให�คิดจาก จํานวนน้ําท่ีได�ใช�หรือเสียไป ตลอดระยะเวลาท่ีมีการลักใช�น้ําประปา ในราคาจําหน&ายน้ําท&อธาร โดยไม&เรียกเก็บภาษีมูลค&าเพ่ิม

(ระเบียบ การปฏิบติัการคิดเงินทดแทน และค&าน้ําสูญเสีย การลักใช�น้ําประปา พ.ศ. 2538 และแก�ไขป̀ 2551)

(หนงัสอืสรรพากรภาค 6 ตอบข�อหารือ ค&าน้ําสูญเสีย ไม&อยู&ในบังคับต�องเสียภาษีมูลค&าเพ่ิม)

23. หลักเกณฑ9การคิดดอกเบ้ีย จากผูลักใชน้ํา

1. คิดดอกเบ้ียอัตรา 1.25% ต&อเดือน หรือ 15% ต&อป̀ โดยวธิีลดเงินต�นตามงวดท่ีผ&อนชําระ

2. ถ�าหากเงินค&าดอกเบ้ียมีเศษสตางค>ให�ป*ดไปไว�ในงวดแรก

3. เริ่มนับเวลาการผ&อนชําระต้ังแต&วันท่ีผู�ลกัใช�น้ํายอมรับสภาพหนี้

(บันทึก กปภ. ท่ี มท.5707-02/71 ลว. 28 ธ.ค. 2527)

24. การดําเนินการติดตามหนี้ค;าน้ําประปาให�ถือปฏิบัติ (คําสั่ง 155/2554 ลว. 4 ก.พ. 2554)

Page 75: Manager

- 73 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

25. การตรวจนับใบเสร็จรับเงินคงคาง และลูกหนีค้งคาง

1. ให�ผู�จัดการประปาแต&งต้ังคณะกรรมการตรวจนับใบเสร็จรับเงินค&าน้ําประปาท่ียังเก็บเงินไม&ได� สําหรับ กปภ.สาขา ท่ีอ&านมาตรโดยวิธจีดบันทึกในบัตรอ&านมาตร ประกอบด�วย

(1) หวัหน�างานบริการหรือหัวหน�างานผลิต เป5นประธานกรรมการ

(2) พนักงานผู�ปฏิบัติหน�าท่ีการเงินและบัญชี เป5นกรรมการ

(3) พนักงานผู�ปฏิบัติหน�าท่ีช&าง เป5นกรรมการ

2. ในคณะกรรมการฯ ตามข�อ 1 มีหน�าท่ีตรวจนับใบเสร็จรับเงินค&าจําหน&ายน้ําท่ีจัดพิมพ>แล�วแต&ยังไม&ได�รับชําระเงินทุกสิ้นเดือน โดยให�คณะกรรมการตรวจนับใบเสรจ็ ลงนามท�ายรายงานใบเสร็จรบัเงินค&าน้ําประปาคงค�าง/ลกูหนี้คงค�างท�ายคําสั่งนี ้ แล�วรายงานให�ผู�จดัการประปาเพ่ือพิจารณาติดตามหนี้คงค�างต&อไป

3. สําหรับ กปภ.สาขา ท่ีอ&านมาตรด�วยเครื่องอ&านมาตรมือถือ ไม&ต�องแต&งต้ังคณะกรรมการฯ ตามข�อ 2 โดยให�พนักงานผู�ปฏิบัตงิานด�านการเงินและบัญชี ท่ีผู�จัดการประปากําหนดเป5นผู�ลงนามในช&องผู�จัดทํ า และให�หัวหน�างานอํานวยการ หรือหวัหน�างานจดัเก็บรายได�เป5นผู�ลงนามในช&องผู�ตรวจสอบ ท�ายรายงานใบเสร็จรับเงินค&าน้ําประปาคงค�าง/ลูกหนี้คงค�างแล�วรายงานให�ผู�จัดการประปาเพ่ือพิจารณาติดตามหนี้คงค�างต&อไป

(คําสั่ง 70/2552 ลงวนัท่ี 21 มกราคม 2552)

26. การอ;านมาตรวัดน้ําของผูใชน้ํารายใหม;

1. วนัท่ีติดต้ังประปากําหนดให�วันท่ีเบิกจ&ายมาตรวัดน้ําจากพัสดุ เป5นวันท่ีติดต้ังประปา

2. การอ&านมาตรวัดน้ําสําหรบัผู�ใช�น้ํารายใหม& เพ่ือการออกใบเสร็จรับเงินค&าน้ําประปาประจําเดือนจะต�องอ&านมาตรวดัน้ําครั้งแรกในเดือนถัดไป และวันท่ีอ&านให�ตรงกับวันท่ีติดต้ังประปา ยกเว�นกรณีท่ีตรงกับวนัหยุดราชการ ให�อ&านล&วงหน�าก&อนถึงวนัหยุด

3. การอ&านมาตรวัดน้ําในเดือนต&อไปของผู�ใช�น้ํารายใหม& ให�ปฏบัิติเช&นเดียวกับการอ&านมาตรวัดน้ําตามปกติของผู�ใช�น้ํารายอ่ืน ๆ

4. การเบิกจ&ายมาตรวดัน้ําจากคลังพัสดุ เพ่ือทําการติดต้ังประปาให�กับผู�ใช�น้ํา กรณีไม&สามารถเริ่มดําเนินการติดต้ังได�ภายใน 3 วนั นับจากวันท่ีเบิกจ&ายมาตรวดัน้ําจะต�องส&งคืนมาตรวัดน้ําเข�าคลังพัสดุ โดยมีเหตุผลชี้แจงประกอบ

(คําสั่งท่ี 1077/2539 ลว. 19 พ.ย. 2539)

27. การปฏิบัติตามคู;มือปฏิบัติงานจางอ;านมาตรดวยเครื่องอ;านมาตร (คําสั่ง 499/2555 ลว. 31 พ.ค.2555)

Page 76: Manager

- 74 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

28. การลดราคาจําหน;ายน้ําประปา (คําสั่ง 587/2530 ลงวันท่ี 8 ตุลาคม 2530)

1. ลดให�พนักงาน 6 ลบ.ม. / เดือน

วธิีคํานวณ 1. รวมจํานวนน้ําท่ีใช�ท้ังหมดแล�วนําจํานวนน้ํา 6 ลบ.ม. ไปหักออก แล�วจึงคํานวณ เงินค&าน้ําประปา

2. ถ�าจํานวนหน&วยน้ํา คงเหลือหลังหกัส&วนลดแล�ว ไม&ถึงข้ันตํ่า ไม&ต�องชําระค&าน้ําและ ค&าบริการท่ัวไป (ไม&ออกบิล)

2. ลดให�ผู�ได�รับส&วนลด 1 ใน 3 หรือ 10%

วธิีคํานวณ 1. ให�คํานวณราคาค&าน้ําท้ังหมดได�เท&าใด แล�วจึงลดให� 1 ใน 3 หรือ 10% แล�วแต&กรณี

2. หากลดตามข�อ 1 แล�วเหลือน�อยกว&าข้ันตํ่าให�คิดค&าน้ําข้ันตํ่าบวกด�วยค&าบริการท่ัวไป และภาษีมูลค&าเพ่ิม

29. หลักเกณฑ9การใหสิทธิลดอัตราหนึ่งในสามราคาจําหน;ายน้ําประปา (คําสัง่ 352/2551 ลงวนัท่ี 23 มิถุนายน 2551) ดังนี้

1. เฉพาะประเภท 1 ท่ีอยู&อาศัย เท&านั้น

2. ได�รบัสทิธิเพียง 1 หลัง

3. ใช�น้ําไม&เกิน 100 ลบ.ม. / เดือน

4. หากผิดข�อใดข�อหนึ่ง สิทธิเป5นอันยกเลิกในเดือนนัน้ ๆ

5. เม่ือสิทธิถูกระงับ สามารถจะขอใช�สิทธิอีกก็ได� โดยยืน่คําขอใหม&

30. แนวทางปฏิบัติกรณีมาตรวัดน้ําสูญหาย / เสียหาย การประปาส;วนภูมิภาคสาขา ดําเนินการดังนี้

1. แจ�งความต&อเจ�าพนักงานตํารวจในท�องท่ีเกิดเหตุ

2. ติดต้ังมาตรวัดน้ํา แทนมาตรท่ีสญูหาย โดยไม&เรียกเก็บเงินค&าใช�จ&ายใด ๆ

3. ต้ังคณะกรรมการสอบสวนหาข�อเท็จจริง ประเด็นดังนี้

3.1 ตรวจสอบสถิติการใช�น้ําย�อนหลัง 1 ป̀

3.2 ตรวจสอบหน&วยน้ําท่ีอ&านครั้งสุดท�ายก&อนมาตรวัดน้ําหาย

3.3 ตรวจสอบตําแหน&งท่ีต้ังมาตรวัดน้ําว&ามีโอกาสหายหรือไม&

3.4 ตรวจสอบผู�ใช�น้ําว&าเคยมีประวติัมาตรวัดน้ําหายหรือไม&

3.5 ตรวจสอบสถานท่ีติดต้ังมาตรวดัน้ําว&าประกอบธุรกิจอะไร น&าจะใช�น้ํามากน�อยเพียงใด

3.6 ตรวจสอบข�อมูลอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข�อง

Page 77: Manager

- 75 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)4. หากผลการสอบข�อเท็จจรงิ เกิดจากการกระทําของผู�ใช�น้ํา ให�ผู�ใช�น้ําชําระค&ามาตรวัดน้ํา

5. หากไม&ใช&ความผิดผู�ใช�น้ํา สรุปผล รายงาน การประปาส&วนภูมิภาคเขต

(บันทึก กปภ.ท่ี มท 55011/1386 ลงวันท่ี 17 เมษายน 2551)

31. หลักเกณฑ9การใชหลักประกันอ่ืนแทนเงินสดในการเรียกเก็บค;าประกันการใชน้ําประปา

1. เงินประกันการใช�น้ําต้ังแต& 10,000 บาท ข้ึนไป

2. หลักประกันแทนเงินสด ดังนี้

2.1 หนงัสอืคํ้าประกัน ของธนาคาร

2.2 หนงัสอืคํ้าประกัน บริษัท บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห&งประเทศไทย

2.3 พันธบัตรรัฐวสิาหกิจ หรอืพันธบัตรท่ีกระทรวงการคลังคํ้าประกัน

3. เก็บหลักประกันเช&นเดียวกับหลักประกันสัญญา

(คําสั่ง 300/2546 ลงวันท่ี 4 กันยายน 2546)

32. ไม;ตองเรียกเก็บเงินค;าธรรมเนียมบรรจบมาตรและค;าน้ําประปาข้ันต่ํา โดยมีเหตุผล หนี้ค&าน้ําจะเกิดข้ึนไม&ได� เพราะมาตรวัดน้ํามิได�ติดต้ังในท่ีใช�น้ําของผู�ใช�น้ํา แต&ถูกเก็บรักษาไว� ณ การประปาส&วนภูมิภาคสาขา ดังนี้

1. ถูกตัดมาตรแล�ว มายกเลิกการใช�น้ําถาวรหรือฝากมาตร

2. มาตรวัดน้ําหายแล�ว ประปานํามาตรวดัน้ําตัวใหม&ไปติดต้ัง

(บันทึกกองข�อบังคับฯ ท่ี มท 55606-4/144 ลงวนัท่ี 5 มิถุนายน 2551)

3. กรณีฝากมาตรวัดน้ําครบ 2 ป̀ แล�ว ขอฝากต&อ ผู�ใช�น้ําต�องชําระค&าธรรมเนียมบรรจบมาตรและค&าน้ําข้ันตํ่า

หรือไม& (อยู&ระหว&างหารือ)

33. สามารถรับเช็คหนีค้;าน้ําประปาจากเอกชน โดยมีเง่ือนไข ดังนี้

1. เฉพาะธนาคารในท�องท่ี หากมีค&าธรรมเนียม ต�องเรียกเก็บจากผู�ใช�น้ํา

2. ใบเสร็จรบัเงินค&าน้ําประปาท่ีมอบให�ผู�ใช�น้ําต�องมีข�อความระบุว&า “ ใบเสร็จรับเงิน จะสมบูรณ>เม่ือธนาคาร

เรียกเก็บเงินตามเชค็ได�แล�ว ”

3. ขีดคร&อมเช็ค

4. จัดทําทะเบียนคุมเช็ค

(บันทึกสํานักตรวจสอบ ท่ี มท 55020/17 ลงวันท่ี 23 มกราคม 2549)

Page 78: Manager

- 76 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

34. แนวทางปฏิบัติในการบังคับคดี และสืบหาหลักทรัพย9หรือทรัพย9สิน ของลูกหนี้ตามคําพากษา ดังนี้

1. ประสานงานกับกรมท่ีดินเพ่ือตรวจสอบหลักทรัพย>ประเภทอสังหาริมทรัพย>ท่ีปรากฎรายชื่อลูกหนี้ ครอบครัวของลูกหนี้ ตลอดจนผู�ท่ีเก่ียวข�องกับลูกหนี้เป5นผู�ถือกรรมสิทธิ์ ซ่ึงอาจนํายึดมาบังคับคดีได� โดยให�ตรวจสอบตามภูมิลําเนาเดิมท่ีเคยอยู&อาศัย สถานท่ีท่ีเคยย�ายไปดํารงตําแหน&งและภูมิลําเนาป*จจุบันด�วย

2. ตรวจสอบทรัยพ>สินประเภทสังหาริมทรัพย>ของลูกหนี้ เช&น รถยนต> รถจักรยานยนต> เรือ หุ�นส&วนในบริษัท หรือหลักประกันการขอใช�ไฟฟ8า น้ําประปา โทรศัพท> โดยประสานงานกับส&วนราชการหรือหน&วยงานท่ีจัดทําทะเบียนควบคุมสังหาริมทรัพย>ดังกล&าว

3. สืบหาทรัพย>สินอ่ืนของลูกหนี้ในสํานักงาน บ�านพักของลูกหนี้หรือจากครอบครัวหรือผู�ท่ีเก่ียวข�องอันอาจมีทรัพย>สินของลูกหนี้ไว�ในครอบครอง

4. ขอความร&วมมือจากธนาคารหรือสถาบันการเงินเพ่ือตรวจสอบหลักทรัพย>หรือบัญชีเงินฝากในธนาคารและสถาบันการเงินนั้น ๆ

5. ดําเนินการอ่ืนใดในการบังคับคดีและสืบหาหลกัทรัพย>หรือทรัพย>สินของลูกหนี้ให�เป5นไปอย&างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน>สูงสุดต&อทางราชการ

(หนังสือ กระทรวงการคลัง ท่ี กค 0530.71/ว.107 ลงวันท่ี 4 ตุลาคม 2544)

35. การตรวจสอบการรับเงินและการนําฝากธนาคาร

1. ขอมูลเบ้ืองตน

1.1 รายรบัประจําวัน

1.1.1 รายได�จากระบบ Billing = รายได�ค&าน้ําประปาและรายได�ท่ีเก่ียวกับผู�ใช�น้ํา

1.1.2 รายได�จากระบบรับจ&าย = รายได�ค&าติดต้ังประปาและรายได�อ่ืน ๆ

1.2 รายจ&ายประจําวัน

1.2.1 เบิกชดเชยเงินสดย&อย

1.2.2 จ&ายคืนตามใบลดหนี้ในระบบ

1.3 ตัวแทนเก็บเงินค&าน้ํา = เคาน>เตอร>เซอร>วสิ, โลตัส, จ&ายผ&านธนาคารไทยพาณิชย>, ไปรษณีย>, Jay Mart และ อ่ืน ๆ ท่ี กปภ. กําหนด

1.4 ค&าน้ําส&วนกลางเก็บแทน = ผู�ใช�น้ําของ กปภ. สาขา ท่ีขอชําระเงินค&าน้ําท่ีส&วนกลาง โดยสาขาส&งใบแจ�งหนี้ไปเรียกเก็บท่ีส&วนกลาง ส&วนกลางเม่ือเรียกเก็บเงินได� จะแจ�งยอดเงินมาท่ีสาขา

1.5 การหักผ&านบัญชธีนาคารรวมศูนย> = กปภ.สาขาส&งข�อมูลให�ส&วนกลาง เพ่ือส&วนกลางส&งให�ธนาคาร หักบัญชีลูกค�าเม่ือหักเงินได�จะแจ�งกลบัมาท่ี กปภ.สาขา

1.6 GFMIF = ส&วนราชการท่ีจ&ายระบบ GFMIF โดยเม่ือ กปภ.สาขาแจ�งหนีไ้ปยังหน&วยงาน หน&วยงานจะส&งฎีกาไปให�คลัง ทาง E-mail เพ่ือจ&ายเงินโดยการโอนเงินเข�าไปท่ีกองการเงินของ กปภ. ส&วนกลาง เม่ือได�รับ กปภ.ส&วนกลางจะแจ�งท่ี กปภ.สาขา เพ่ือตัดลูกหนี้ และออกใบเสร็จจดัส&งให�หน&วยงานราชการนั้น

Page 79: Manager

- 77 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

2. ระบบ Billing

2.1 รายงานสรุปการรับชําระเงินค&าน้ํา (PRP1012D) มีข�อมูลการรับชําระเงิน ท่ีแยกว&ารับจากตัวแทนเก็บเงิน, ส&วนกลางและรับท่ี กปภ.สาขา จํานวนเท&าไร (แยกกลุ&มผู�ใช�น้ํา) ซ่ึงจะตรงกับรายงาน (R-WW-BS-D-23)

2.2 รายงานรายรบัอ่ืน ๆ ประจําวัน (M120001) ข�อมูลรบัเงินรายได�อ่ืนในระบบ Billing เช&น ค&าประสานมาตร, เงินประกันการใช�น้ําโอนสิทธิ์, ค&าธรรมเนียมบรรจบมาตร

3.ระบบรับ-จ;าย

3.1 รายงานสรุปรับเงินประจําวันแต&ละประเภทรายรับ (PTRM019) ข�อมูลรับเงินรายได�จากค&าติดต้ัง และรายได�อ่ืน ๆ ท่ีไม&เก่ียวกับผู�ใช�น้ํา เช&น เงินรับค&าติดต้ังและเงินประกันผู�ใช�น้ํารายใหม&, ค&าน้ําท&อธาร, เงินรายได�อ่ืน ๆ

4. การเบิกค;าใชจ;าย – เบิกชดเชยเงินสดย;อย

4.1 รายงานการเบิกชดเชยเงินสดย&อย (ถ�ามี) การเบิกชดเชยเงินสดย&อยจะเบิกจากเงินรายได� โดยเบิกจากเงินรับค&าน้ําในระบบบิลลิง่ก&อน หากไม&เพียงพอจึงเบิกจากรายได�ค&าติดต้ังต&อไป (เพ่ือเป5นการง&ายในการตรวจสอบ)

4.2 จํานวนเงินตามใบลดหนี้ในระบบบิลลิ่ง = การคืนเงินผู�ใช�น้ํา จากการรับซํ้า การจ&ายคืนเงินประกันการใช�น้ํา

เอกสารท่ีเก่ียวของ

1. สมุดเงินสดและเงินฝากธนาคาร

2. ใบนําฝาก (Pay In) ธนาคาร และใบถอนเงิน (โอนเงิน) ธนาคาร

3. รายงานรายวันมาตรฐานท่ัวไป (007) เป5นการบันทึกข�อมูลการรับเงิน (รายได�ในมือ) จากระบบ Billing และ ระบบ รับ-จ&าย

4. รายงานรายวันมาตรฐานท่ัวไป (008) เป5นการบันทึกข�อมูลการนําเงินฝากธนาคาร

5. รายงานรายวันมาตรฐานท่ัวไป (009) เป5นการบันทึกข�อมูลการโอนเงินไปส&วนกลาง

6. รายงานรายวันมาตรฐานท่ัวไป (026) เป5นการบันทึกข�อมูลเช็คเรียกเก็บเงินได�

7. รายงานรายวันมาตรฐานท่ัวไป (012) เป5นการบันทึกข�อมูลการเบิกชดเชยเงินสดย&อย

5. ข้ันตอนการตรวจสอบ

1. เงินรายได�ท้ังหมดในวัน = 2.1 + 2.2 + 3.1

2. รายได�ท่ีเป5นเงินสดในมือ = เงินรายได�ท้ังหมด (1) – เงินรายได�ท่ีรับตัวแทนเก็บเงินและส&วนกลางเก็บแทน (1.4 + 1.5 + 1.6)

3. เงินนําฝากธนาคาร = เงินรายได�ท่ีเป5นเงินสดในมือ (2) – จํานวนเงินท่ีเบิกชดเชยเงินสดย&อย (4.1) และจํานวนเงินตามใบลดหนี้ในระบบบิลลิ่ง (4.2)

Page 80: Manager

- 78 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

36. การตรวจสอบหนี้คางชําระ

1. ทุกสิ้นเดือน ตรวจสอบรายงานหนีค้�างชําระ (M40) - มีค�างชําระเกิน 1 เดือน หาสาเหตุ

- มีค�างชําระข�ามเดือนหรือไม&

- มีหนี้ค�างชําระจํานวนเงินมาก ค�างชําระประจํา

- มีค�างชําระเกิน 1 เดือน ยังไม&ตัดมาตร

- ไม&ควรมี บิลค�างชําระ ระบุว&า ยกเลกิถาวร

- ผู�ใช�น้ํา ชําระไม&ทันในเดือนเนื่องจาก แจ�งหนี้ช�า,

ใบแจ�งหนี้ระบุให�ชําระเลยเดือน หาสาเหตุ

เพ่ือแก�ไข

2. ระหว&างเดือน ติดตามหนี้ค�างชําระ (ยอดรวมสายการเก็บเงิน) ได�จาก M3B

3. หนี้ค�างราชการ - ไม&เคยติดตาม พูดคุย

- ทําหนังสือ แจ�ง ให�บอกสาเหตุค�างชําระเพ่ือเก็บไว�ตอบผู�บรหิาร

4. หนี้ค�างเกิน 6 เดือน ขออนุมัติหักเงินประกันการใช�น้ํา

5. หนี้ค�างเกิน 6 เดือน หลงัหกัเงินประกัน – ส&งฟ8องหรือตัดหนี้สูญ

6. ถือปฏิบัติตามคําสั่ง 155/2554 เรื่อง ดําเนินการเร&งรัดติดตามหนี้ค&าน้ําประปา

37. ตรวจสอบการอ;านมาตร / ประเภทผูใชน้ํา

1. มีการสุ&มอ&านมาตร / ประเภท

2. ต�องอ&านให�ตรงวันทุกเดือน

3. ควรอ&านมาตรให�แล�วเสร็จ เร็วท่ีสุด (ภายใน 10 วนั)

4. ระยะเวลากําหนดให�ชําระเงินในใบแจ�งหนี้ไม&ควรเกิน 7+7 วนั

5. ต�องทราบแผนการอ&านมาตรของผู�รบัจ�าง

6. เข�าใจคู&มือการจัดประเภทผู�ใช�น้ํา ป̀ 2545

7. ในสัญญาการอ&านมาตร ระบุหากผู�รับจ�างอ&านผิด จัดประเภทผิด ต�องรับผิดชอบ เพราะหาก

สตส. ตรวจเจอ ต�องมีผู�รับผิดชอบชดใช�

8. ผู�ใช�น้ํารายใหม& อ&านครั้งแรก ต�องตรงวันท่ีติดต้ังมาตร ตามคําสั่ง 1077/2539

9. ควรแต&งต้ัง เจ�าหน�าท่ี BILLING รายงาน ข�อมูลการอ&านมาตร ประเภท การส&งข�อมูล (รายละเอียดตาม

สัญญา) เป5นหนังสือ ต&อกรรมการตรวจรับ เพ่ือรองรับกรรมการตรวจรับ

Page 81: Manager

- 79 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

38. ตรวจสอบการรับชําระเงิน

1. เคาน>เตอร>รบัชําระเงิน ทุกสิ้นวนั มียอดสรุปว&ารับเงินมาเท&าใด

2. รับชําระผ&านตัวแทน / โอนเข�าส&วนกลาง / หักธนาคารในพ้ืนท่ี จํานวนเท&าใด

3. สรุปการรับชําระเงินค&าน้ําประจําวัน (D23) มีรายละเอียด แยกตามสายเก็บเงิน ดังนี้

3.1 รับชําระท่ี กปภ.สาขา

3.2 รับชําระผ&านตัวแทน (เซเว&น , โลตัส , ไปรษณีย> , ธนาคาร)

4. สรุปรายได�ค&าน้ําและชําระเงินประจําวนั (D24) มีรายละเอียด แยกตามสายการเก็บเงิน ดังนี้

4.1 รายได�ค&าน้ําจากการแจ�งหนีป้ระจําวนั

4.2 รับชําระค&าน้ําประจําวัน

4.3 มีการปรับปรุงลูกหนี้ - ต�องตรวจสอบสาเหตุ ทําไมถึงหนี้ลดลง มีการอนุมัติหรือไม&

39. การตรวจสอบค;าน้ําผ;านธนาคาร

1. ต�องส&งให�ส&วนกลาง / เขต ภายในวันท่ี 13 ของเดือน

2. ทราบยอดจํานวนฉบับ / เงิน การหักผ&านธนาคาร

40. การตรวจสอบระบบ BILLING

1. งานประจําวัน บันทึกผู�ใช�น้ํารายใหม& บันทึกการเปลี่ยนแปลงของผู�ใช�น้ํา ส&งข�อมูลต้ังหนี้หน&วยน้ํา

ป̂ดสิ้นวนั พิมพ>รายงาน D23 D25

2. ทุกสิ้นเดือน ป̂ดงานสิ้นเดือน พิมพ>รายงานประจําเดือน (M)

3. สิง่ท่ีต�องเฝ8าระวงั (หาสาเหตุ)

3.1 การยกเลิกใบเสร็จ / ใบแจ�งหนี้ ดูจากรายงาน D25, M30, M3A, M3B

3.2 มีการปรับปรุงลูกหนี้ ดูจากรายงาน D25, M30, M3A, M3B

3.3 ทุกเดือน พิมพ>ใบเสร็จ ผู�ใช�น้ําทุกรายครบหรือไม&

41. รายงานส้ินเดือน สําหรับการบริหาร

1. รายงานรายได�ค&าน้ําและการรับเงินประจําเดือน (M30) มีข�อมูล ดังนี้

รายได�ค&าน้ําประปา, ค&าบริการ, การรับชําระเงิน, รายได�อ่ืน ๆ, เงินประกันการใช�น้ํา, รับชําระค&าน้ําซํ้า,

กระทบยอดลูกหนี้

Page 82: Manager

- 80 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

2. รายงานวิเคราะห>อายุหนีร้าชการ (M31) มีข�อมูล ดังนี้

หนี้ค�างราชการ (มีรหัสต�นสงักัด) - ช&องระยะเวลาค�างและจํานวนฉบับ เดือนอะไร แยกตาม

ป. ผู�ใช�น้ํา

- กปภ.ส&วนกลาง จะติดตามหนี้ค�างให�

3. รายงานวิเคราะห>อายุหนี้ เอกชน (M32) มีข�อมูล ดังนี้หนี้ค�างเอกชน – ช&วงระยะเวลาและจํานวนฉบับ เดือนอะไร แยกตาม ป. ผู�ใช�น้ํา

4. รายงานสรุปการใช�น้ําท้ังหมดแยกตามประเภท (M08) มีข�อมูล แยกตามประเภทผู�ใช�น้ํา จํานวนผู�ใช�น้ํา ปริมาณน้ําใช� อัตราร�อยละ เฉลี่ยการใช�น้ําต&อราย

5. รายงานจํานวนผู�ใช�น้ํา แยกตามขนาดมาตรวดัน้ํา (M09) มีข�อมูล ผู�ใช�น้ํายกมา เพ่ิม ลด สิ้นเดือน เปลี่ยนขนาดมาตร พิมพ>ใบเสร็จ ไม&พิมพ>ใบเสร็จ ลดราคา

6. รายงานจํานวนผู�ใช�น้ําแยกตามประเภทผู�ใช�น้ํา (M10) มีข�อมูลช&วงการใช�น้ําแต&ละช&วง แยกจํานวนผู�ใช�น้ํา ตามแต&ละประเภทการใช�น้ํา ทราบจํานวนผู�ใช�น้ําท่ีพิมพ>ใบเสรจ็ก่ีราย ใช�น้ําเท&าใด จํานวนเงินค&าน้ําเท&าใด

7. รายงานผู�ใช�น้ํา ได�รับสิทธิ์ส&วนลด (M39) มีข�อมูล แต&ละรายท่ีได�รับสิทธิ์ส&วนลดต�องดูว&า ได�รับอนุมัติ หรือไม& (ในป̀ป*จจุบัน) ตามระเบียบ ต�องขออนุมัติทุกป̀

8. รายงานเปลี่ยนแปลงรายละเอียดผู�ใช�น้ํา (M41) มีข�อมูล แก�ไขประเภท, ย�ายสายการเก็บเงิน

9. สรุปรวมเส�นทางการเก็บเงิน (M3A) มีข�อมูล ทะเบียนรายได�ค&าน้ําประจําเดือน ตามเส�นทางการเก็บ เงิน น้ําขาย ค&าน้ํา หนีค้�างยกมา หนี้ค�างสิน้เดือน

10. สรุปรวมสายการเก็บเงิน (M3B) เหมือน (M3A) แต&รวมเป5นสายเก็บเงิน

42. ขอมูลท่ีควรรู

1. มีข�อมูล จําแนก จํานวนราย / ประเภทผู�ใช�น้ํา / อัตราร�อยละ

2. มีข�อมูล จํานวนเงินท่ีรับชําระค&าน้ํา แยกตามการรับชําระ

3. ต�องรู�ราคาค&าน้ํา, ท&อธาร ซ่ึงกําลังปรับข้ึนทุกเดือน ราคาเท&าใด

4. ต�องรู�สัญญาการใช�น้ํา, เง่ือนไขการใช�น้ํา – เพ่ือตอบคําถามผู�ใช�น้ํา

5. การยกเลิกใบแจ�งหนี้ / ผ&อนชําระค&าน้ํา ต�องปฏิบัติตามคําสั่ง 358/2545 ลว. 1 ต.ค. 2545

6. ผวก.ประกาศ ต้ังแต& 1 ธ.ค.2554 – 30 พ.ย. 2555 ลดค&าประสานมาตร ½ นิ้ว เหลือ 300 บาท (เดิม 500 บาท)

7. ผวก. มอบให� ผอ.กปภ.เขต จ�างบุคคลภายนอกให�ติดตามหนี้และดําเนินคดี คําสั่ง 1035/2552 ลว. 10 พ.ย. 2552

8. ผู�ใช�น้ําใช�สิทธิ์ส&วนลด ต�องมีการอนุมัติภายในเดือน ม.ค. ของทุกป̀ เฉพาะประเภท 1 คําสั่ง 352/2551 ลว. 23 มิ.ย. 2551 และบันทึก 11 พ.ย. 2524

Page 83: Manager

- 81 -

งานจัดเกบ็รายได (ต;อ)

9. มาตรวัดน้ําสูญหาย ต�องต้ังคณะกรรมการสอบสวนหาข�อเท็จจริง มีแนวทางปฏิบัติและหัวข�อตรวจ สอบ ตามรายละเอียด บันทึก มท 55011/1386 ลว. 17 เม.ย. 2551

10. การฝากมาตรวัดน้ํา มีแนวทางปฏบัิติ บันทึก มท 55604-4/2181 ลว. 1 มิ.ย. 53

11. รับเช็คค&าน้ําจากเอกชนได� โดยมีวิธปีฏิบัติจาก สตส. บันทึก มท 55020/17 ลว. 23 ม.ค. 2549

12. ผจก. มีอํานาจคืนค&าน้ําชําระซํ้า โดยมีวธิีปฏิบัติจาก กองบัญชี บันทึก มท 57441-03/1437 ลว. 20 พ.ค. 2544

13. ราคาค&าน้ําใหม& เริ่ม เดือน ส.ค. 54 – ม.ค. 56 รวม 18 เดือน ตามข�อบังคับ ฉบับท่ี 17 พ.ศ. 2554

14. ค&าน้ําข้ันตํ่า ประเภท 1 = 50 บาท ประเภท 2 = 150 บาท ประเภท 3 = 300 บาท

Page 84: Manager

- 82 -

งานอํานวยการการเบิกค;าสวัสดิการ

ค;ารักษาพยาบาล

1. เอกสารท่ีเก่ียวของ

1.1 ข�อบังคับ การสงเคราะห>เก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 (ฉบับ 1-9)

1.2 หนังสือกรมบัญชกีลาง เรื่อง ประเภทและอัตราค&าอวัยวะเทียม และอุปกรณ>ในการบําบัดรักษาโรค

ลว. 15 ก.พ.2548

1.3 หนังสือกรมบัญชกีลาง เรื่อง ประเภทและอัตราค&าอวัยวะเทียม และอุปกรณ>ในการบําบัดรักษาโรค

เก่ียวกับฟ*นเทียม ลว. 7 ก.ค. 2551

1.4 หนังสือกรมบัญชกีลาง เรื่อง อัตราค&าบริการสาธารณสขุ เพ่ือใช�สําหรับการเบิกจ&าย ค&ารักษาพยาบาล

ในสถานพยาบาลของทางราชการ (เพ่ิมเติม) ลว. 5 ก.ย. 2551

1.5 ประเทศกระทรวงการคลัง เรื่อง ค&าตรวจสขุภาพ ลว. 24 พ.ย. 2549

1.6 หนังสือกรมบัญชกีลาง เรื่อง การเบิกด�วยวิธีการแพทย>แผนไทย (ค&านวดรักษา) ลว. 6 ก.พ. 2547

2. คําจํากัดความ

2.1 ผู�ปฏิบัติงาน หมายถึงพนักงานและลูกจ�างของ กปภ. แต&ไม&รวมถึงลูกจ�างท่ีมีสัญญาจ�างตํ่ากว&า 120 วัน หรือลูกจ�างท่ีมีลักษณะเป5นครั้งคราว เป5นการจร เป5นไปตามฤดูกาล หรือเป5นงานตามโครงการท่ีได�ทําสัญญาจ�างเป5นหนังสือมีกําหนดวันเริ่มต�น และวันสิ้นสุดของการจ�างไว�

2.2 ค&ารักษาพยาบาล หมายถึงเงินท่ีสถานพยาบาลเรียกเก็บในการรักษาพยาบาล ประกอบด�วย

- ค&ายา ค&าเลือด และส&วนประกอบของเลอืดหรือสารทดแทน ค&าน้ํายาหรืออาหารทางเส�นเลือด

ค&าอ�อกซิเจน และอ่ืน ๆ ทํานองเดียวกันท่ีใช�ในการบําบัดรักษาโรค

- ค&าอวัยวะเทียม รวมท้ังค&าซ&อมแซมอวัยวะเทียมและอุปกรณ>ในการบําบัดรกัษาโรคท้ังนี้ตาม

ประเภทและอัตราท่ีกระทรวงการคลงักําหนด

- ค&าบริการทางการแพทย> ค&าตรวจ ค&าวิเคราะห>โรค แต&ไม&รวมถึงค&าจ�างพยาบาลพิเศษ ค&าธรรมเนียม

พิเศษ และค&าบริการอ่ืนทํานองเดียวกันท่ีมีลักษณะเป5นเงินตอบแทนพิเศษ

- ค&าห�องและค&าอาหาร

- ค&าตรวจสุขภาพ (ในสถานพยาบาลเอกชน หรือราชการ)

Page 85: Manager

- 83 -งานอํานวยการ (ต;อ)3. หลักเกณฑ91. เบิกค&ารักษาพยาบาล

สถานพยาบาลราชการ ผู�ป[วยใน ผู�ป[วยนอก ตรวจสุขภาพประจําป̀

- ผู�ปฏิบัติงาน

- บุคคลในครอบครวั

1.ค&ารักษาเต็มจํานวนท่ีจ&ายจริง2.ค&าอวัยวะเทียมฯตามประเภทและ อัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนด3.ค&าห�องและค&าอาหารท่ีจ&ายจรงิแต& รวมกันไม&เกิน 1,200 บาท/วัน

1.ค&ารักษาเต็มจํานวนท่ีจ&ายจริง2.ค&าอวัยวะเทียมฯตามประเภทและ อัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนด3.ค&าห�องและค&าอาหารท่ีจ&ายจรงิแต& รวมกันไม&เกิน 800 บาท/วนั

ช&องเบิกได�หรือช&องเบิกไม&ได�แต&มีหนังสือรับรอง

ช&องเบิกได�หรือช&องเบิกไม&ได�แต&มีหนังสือรับรอง

ตามอัตราท่ีกระทรวงการคลงักําหนด

ไม&มีสิทธิเบิก

สถานพยาบาลเอกชน ผู�ป[วยใน ผู�ป[วยนอก ตรวจสุขภาพประจําป̀

- ผู�ปฏิบัติงาน (เจ็บป[วยปกติ)

- บุคคลในครอบครวั (เจ็บป[วยปกติ)

1.ค&ารักษาครึ่งหนึ่งของท่ีจ&ายจริงแต& ไม&เกิน 9,000 บาท/30 วนั***2.ค&ารักษาเกิน 30 วัน จ&ายครึ่งหนึง่ ของท่ีจ&ายจรงิแต&ไม&เกิน 300 บาท/วนั***3.ค&าอวัยวะเทียมฯ ตามประเภทและ อัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนด4.ค&าห�องและค&าอาหารท่ีจ&ายจริงแต& รวมกันไม&เกิน 1,200 บาท / วนั

1.ค&ารักษาครึ่งหนึ่งของท่ีจ&ายจริงแต& ไม&เกิน 3,000 บาท / 30 วัน***2.ค&ารักษาเกิน 30 วัน จ&ายครึ่งหนึง่ ของท่ีจ&ายจรงิแต&ไม&เกิน 100 บาท / วนั***3.ค&าอวัยวะเทียมฯตามประเภทและ อัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนด4.ค&าห�องและค&าอาหารท่ีจ&ายจริงแต& รวมกันไม&เกิน 800 บาท / วัน

ไม&มีสิทธิเบิก

ไม&มีสิทธิเบิก

ตามอัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนด

ไม&มีสิทธิเบิก

Page 86: Manager

- 84 -งานอํานวยการ (ต;อ)

สถานพยาบาลเอกชน ผู�ป[วยใน ผู�ป[วยนอก ตรวจสุขภาพประจําป̀

ผู�ปฏิบัติงานประสบอันตรายจากการปฏบัิติงาน

ผู�ปฏิบัติงานเจ็บป[วยกระทันหันจากอุบัติเหตุ / การละเมิดของผู�อ่ืน / จําเป5นเร&งด&วน หากมิได�รับการรักษาทันทีทันใดอาจเป5นอันตรายต&อชีวติได�

ค&ารักษาเต็มจํานวนท่ีจ&ายจรงิ

1.ค&ารักษาเต็มจํานวนท่ีจ&ายจรงิไม& เกิน 7 วัน ถ�าเกินให�อยู&ในดุลพินิจ ของแพทย>อีกไม&เกิน 7 วัน ถ�าเกิน กว&านี้ให�นําเสนอ ผวก. พิจารณา โดยมีความเหน็ของแพทย>ท่ีรักษา ประกอบ2.ค&าห�องและค&าอาหารท่ีจ&ายจริงแต& รวมกันไม&เกิน 1,200 บาท / วนั

ค&ารักษาเต็มจํานวนท่ีจ&ายจรงิ

เต็มจํานวนท่ีจ&ายจริงครั้งแรกครั้งเดียวเนือ่งจากอุบัติเหตุ/ จากการละเมิดของผู�อ่ืน

2. การเบิกจ&ายค&ารักษาพยาบาล กรณีเข�ารับการรักษาในสถานพยาบาลของทางราชการ รวมท้ังกรณีผู�มีสิทธิซ้ือหรือ รับการตรวจทางห�องทดลองหรือเอ็กซเรย>จากสถานท่ีอ่ืนซ่ึงอยู&ในประเทศไทย ให�เบิกจ&ายตามประกาศกระทรวงการ คลัง เรื่องอัตราค&าบริการสาธารณสขุเพ่ือใช�สําหรับการเบิกจ&ายค&ารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ ลงวนัท่ี 24 พฤศจิกายน 2549 ซ่ึงมีผลใช�บังคับต้ังแต&วันท่ี 1 ธันวาคม 2549 เว�นแต&การเบิกจ&ายเงินค&ารักษา พยาบาลผู�ป[วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท�ายซ่ึงต�องทําการรกัษาด�วยการฟอกเลือดด�วยเครื่องไตเทียมให�เบิกตาม หนังสือกระทรวงการคลัง ด&วนท่ีสุด ท่ี กค.0417/ว 122 ลงวันท่ี 31 สิงหาคม 2548 (รอดูหนังสือท่ี กค.0417/ ว 122 ลงวนัท่ี 31 สิงหาคม 2548) อัตราค&าตรวจสุขภาพประจําป̀ตามอัตราค&าบริการสาธารณสุข กําหนดให�เบิกจ&ายดังนี้

2.1 ค&าตรวจสําหรับผู�มีอายุไม&เกิน 35 ป̀ บริบูรณ>

2.1.1 Chest X – Ray

- Film Chest (41001) ราคาไม&เกิน 170 บาท

- Mass Chest (41301) “ 50 “

2.1.2 Urine Examination – Urine Analysis(31001) “ 50 “

2.1.3 Stool Examination – Routine Direct Smear(31201) “ 70 “

2.1.4 Complete Blood Count – CBC(30101) “ 90 “

2.1.5 ตรวจมะเร็งปากมดลูก

- ตรวจภายใน (55620) “ 100 “

- Pap Smear (38302) “ 100 “

Page 87: Manager

- 85 -

งานอํานวยการ (ต;อ)2.2 การตรวจสําหรบัผู�มีอายุมากกว&า 35 ป̀ บริบูรณ>ข้ึนไป

2.2.1 รายการการตรวจสําหรับผู�ท่ีมีอายุไม&เกิน 35 ป̀บริบูรณ> รายการท่ี 2.1.1 – 2.1.5

2.2.2 Blood Chemistry

- Glucose (32203) “ 40 “

- Cholesteral (32501) “ 60 “

- Triglyceride (32502) “ 60 “

- Blood Urea Nitrogen – BUN (32201) “ 50 “

- Creatinine (32202) “ 50 “

- SGOT (AST) (32310) “ 50 “

- SGPT (ALT) (32311) “ 50 “

- Alkaline Phosphatase (32309) “ 50 “

- Uric Acid (32205) “ 60 “

3. สิทธิการเบิกค&ารักษาพยาบาล

3.1 ค&ารักษาพยาบาลสําหรบับุตร กรณีท่ีคู&สมรสเป5นข�าราชการ ให�ผู�ปฏิบัติงานใช�สิทธิขอเบิกกับ กปภ . หากคู&สมรสเป5นพนกังานรัฐวิสาหกิจท้ังสองฝ[าย ให�คู&สมรสฝ[ายสามีเป5นผู�ใช�สิทธิก&อน หากสิทธิท่ีได�รับจากฝ[ายสามีตํ่ากว&า ให�ฝ[ายภรรยาเป5นผู�ใช�สิทธิเบิกจ&ายเพ่ิมเติมเฉพาะส&วนท่ีต่ํากว&า

3.2 ในกรณีท่ีได�รับค&าสินไหมทดแทนสําหรับค&ารักษาพยาบาลจากผู�อ่ืนแล�ว ไม&มีสิทธิได�รับค&ารักษาพยาบาลอีก เว�นแต&ได�รับตํ่ากว&าก็ให�ได�รับค&ารักษาพยาบาลเฉพะส&วนท่ียังขาดอยู&

3.3 หากได�รับค&ารักษาพยาบาลไปแล�ว ภายหลังได�รับค&าสินไหมทดแทนค&ารักษาพยาบาลจากผู�อ่ืนมีจํานวนเท&าหรือเกินกว&าท่ีได�รับจาก กปภ.ก็ให�นําส&งคืนภายใน 7 วนั นับแต&วันท่ีได�รบัค&าสินไหมทดแทนค&ารักษาพยาบาล

แต&ถ�าได�รับค&าสินไหมทดแทนค&ารักษาพยาบาลตํ่ากว&าท่ีได�รับจาก กปภ. ให�ส&งคืนเท&าจํานวนท่ีได�รับจากผู�อ่ืน

3.4 กรณีผู�ปฏิบัติงานหรือบุคคลในครอบครัวท่ีได�ประกันสุขภาพ ประกันอุบัติเหตุ หรือประกันชีวิตไว�กับบริษัทประกันภัยไว�เป5นการส&วนตัว ให�ใช�สําเนาหลักฐานใบเสร็จรับเงินเป5นหลักฐานในการขอรับเงินค&ารักษาพยาบาลตามสทิธจิาก กปภ.ได�

3.5 ผู�ปฏิบัติงานไม&มีสิทธิได�รับค&ารักษาพยาบาลเม่ือเสพเครื่องดองของเมาจนไม&สามารถครองสติได� หรือเสพยาเสพติดให�โทษ หรอืจงใจทําให�ตนเองหรือผู�อ่ืนประสบอันตรายหรือยอมให�ผู�อ่ืนทําให�ตนประสบอันตราย

3.6 กรณีเข�ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชนหลายครั้ง แต&ละครั้งห&างกันไม&เกิน 15 วัน ให�นับระยะเวลาการเข�ารับการรักษาพยาบาลครั้งหลังติดต&อกับการเข�ารับการรักษาพยาบาลในครั้งก&อน

Page 88: Manager

- 86 -

งานอํานวยการ (ต;อ)4. ป*ญหาการเบิกค&ารักษาพยาบาล

4.1 การตรวจสุขภาพประจําป̀ ให�ตรวจตามป̀งบประมาณป̀ละ 1 ครั้ง และให�ยื่นคําขอเบิกค&ารักษาพยาบาลภายใน 1 ป̀ นับถัดจากวนัท่ีปรากฎในหลักฐานการรับเงินของสถานพยาบาล

4.2 กรณีผู�ป[วยโรคไต ท่ีสถานพยาบาลราชการส&งผู�ป[วยไปล�างไตจากสถานพยาบาลเอกชน ให�เบิกได�เท&าท่ีจ&ายจริงแต&ไม&เกินครั้งละ 2,000 บาท โดยไม&มีสิทธิเบิกจ&ายค&าอุปกรณ>ในการบําบัดรักษาโรคตามท่ีกระทรวงการคลังกําหนด ในการเบิกให�ใช�หนังสือรับรองของคณะกรรมการแพทย>ท่ีระบุระยะเวลาและจํานวนครั้งท่ีจําเป5นแนบเพ่ือประกอบการเบิกจ&าย โดยให�ใช�สําเนาหนังสือรับรองฯ ได� แต&ถ�าหนังสือรับรองของคณะกรรมการแพทย>ไม&ได�กําหนดระยะเวลา และจํานวนครั้งท่ีจําเป5นในการล�างไต ต�องให�แพทย>รับรองเพ่ิมเติม

4.3 การเบิกค&ารักษาพยาบาลเป5นค&าหัตถบําบัด – ค&าประคบสมุนไพร และค&านวดฝ[าเท�าจะต�องมีใบรับรองแพทย>ประกอบว&าเป5นการรักษาพยาบาล / แพทย>สั่งเพ่ือให�ผู�ป[วยหากจากโรคหรืออาการผิดปกติ

4.4 ค&าตรวจและค&าวิเคราะห>โรค แม�ไม&มีค&ายาควบคู&มาด�วย หากเป5นรายการท่ีแพทย>สั่งให�ทําการตรวจเพ่ือค�นหาโรคท่ีเกิดจากความเจ็บป[วย ตลอดจนความบกพร&องหรือความผิดปกติทางจิต และแพทย>เห็นว&าจําเป5นต�องทําการรักษให�กลับคืนสู&สภาพปกติ แต&ต�องมิใช&เป5นการตรวจสุขภาพ ให�นํามาเบิกเป5นค&ารักษาพยาบาลได�

4.5 ค&าเอ�กซเรย> ค&าตรวจพิเศษ ค&าทะเบียนและค&าส&งผล หรือค&าตรวจมะเร็งในระยะเริ่มแรกหากเป5นการตรวจสุขภาพ ซ่ึงยังไม&มีอาการเจ็บป[วย ไม&สามารถเบิกเป5นค&ารักษาพยาบาลได�

4.6 ค&าฉีดวัคซีนป8องกันโรคตับ เป5นการป8องกันโรค มิใช&เพ่ือบําบัดรักษาโรค เบิกเป5นค&ารักษาพยาบาลไม&ได�

4.7 โรคอ&อนเพลีย หากแต&เพียงมีอาการอ&อนเพลีย ซ่ึงแพทย>ตรวจแล�วไม&ปรากฎโรคอะไร เบิกเป5นค&ารักษาพยาบาลไม&ได�

4.8 ค&าใช�จ&ายในการรักษาครองรากฟ*น ตามข้ันตอนท่ี 1 ถือเป5นค&ารกัษาพยาบาลท่ีสามารถนํามาเบิกได� ส&วนการใส&เดือย และค&าครอบฟ*นตามข้ันตอนท่ี 2 และ 3 เป5นการใส&อุปกรณ>ในการบําบัดรักษาโรคและอวัยวะเทียมท่ีแระทรวงการคลังไม&ได�กําหนดให�เบิกจ&าย จึงไม&สามารถเบิกได�

4.9 ค&าแบบพิมพ>ปากเพ่ือการรักษาเก่ียวกับโรคฟ*นมีลักษณะเป5นค&าบริการทางการแพทย> สามารถนํามาเบิกค&ารักษาพยาบาลได� แต&ถ�าเป5นการพิมพ>ปากท่ีมีวัตถุประสงค>ในทางศัลยกรรมตกแต&งหรือความสวยงาม เช&น การจัดฟ*น ไม&ใช&การรักษาพยาบาล

4.10 ค&าขูดหนิปูนท่ีเกาะฟ*นออก ค&าทําหมัน นํามาเบิกเป5นค&ารักษาพยาบาลได�

4.11 ค&าเฝ�อก ค&าเข�าเฝ�อก หรือค&าใส&เฝ�อก เป5นลักษณะค&าบริการทางการแพทย>สามารถนํามาเบิกค&ารักษาพยาบาลได�

4.12 ในกรณีท่ีสถานพยาบาลท่ีทําการตรวจรักษาแห&งนั้นไม&มียา เลือด ส&วนประกอบของเลือด หรือสารทดแทนฯ อวัยวะเทียม หรือไม&อาจให�ตรวจทางห�องทดลอง หรือเอ็กซเรย> ถ�าแพทย>ผู�ตรวจรักษา หรือหัวหน�าสถานพยาบาลนั้นลงชื่อรับรองตามแบบท่ีกระทรวงการคลังกําหนดแล�ว ผู�เข�ารับการรักษาซ้ือหรือรับบริการท่ีอยู&ในประเทศไทยได� (หนังสือกระทรวงการคลังท่ี กค.0502/3649 ลว. 27 มกราคม 2527)

Page 89: Manager

- 87 -

งานอํานวยการ (ต;อ)การศึกษาบุตร

1. เอกสารท่ีเก่ียวของ

1.1 ข�อบังคับ การส&งเอกสารเก่ียวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ.2523 (ฉบับท่ี 1-4)

1.2 หนังสือกรมบัญชกีลาง เรื่อง ค&าเล&าเรยีนหลักสตูรปริญญาตรี ลว. 7 ส.ค. 2551

1.3 หนังสือกรมบัญชกีลาง เรื่อง ค&าเล&าเรยีนสถานศึกษาเอกชน(ตํ่ากว&าปริญญาตร)ี ลว. 13 พ.ค. 2552

1.4 หนังสือกรมบัญชกีลาง เรื่อง ค&าเล&าเรยีนท่ีเบิกไม&ได� ลว. 30 มิ.ย. 2552

2. คําจํากัดความ

เงินบํารุงการศึกษา หมายถึง เงินประเภทต&าง ๆ ท่ีสถานศึกษาของทางราชการเรียกเก็บไม&เกินอัตราตามท่ี

กระทรวงการคลังกําหนด

เงินค&าเล&าเรียนบุตร หมายถึง เงินค&าเรียน หรือค&าธรรมเนียมต&าง ๆ ท่ีสถานศึกษาเอกชนเรียกเก็บตามท่ีได�รับ

อนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ หรือทบวงมหาวิทยาลัย (ป*จุจุบันให�ผู�ว&าราชการจังหวัด

เป5นผู�อนุมัติ)

บุตร หมายถึง บุตรชอบด�วยกฎหมายซ่ึงอายุไม&เกิน 25 ป̀ ในวนัท่ี 1 พฤษภาคม ของทุกป̀ แต&

ไม&รวมถึงบุตรบุญธรรม บุตรซ่ึงบิดามารดาได�ยกให�เป5นบุตรบุญธรรมของผู�อ่ืน และบุตร

ท่ีมีรายได�ของตนเอง และอยู&ในฐานะท่ีจะจ&ายเงินเก่ียวกับการศึกษาของตนเองได�

3. ระดบัการศึกษาท่ีเบิกได

3.1 ปรญิญาตรี

- สถานศึกษาของทางราชการ ให�เบิกจ&ายได�เต็มจํานวนท่ีได�จ&ายไปจริง แต&ไม&เกินป̀การศึกษา

ละ 20,000 บาท

- สถานศึกษาของเอกชน ให�เบิกจ&ายครึ่งหนึ่งของจํานวนท่ีได�จ&ายไปจริง แต&ไม&เกินป̀การศึกษา

ละ 20,000 บาท

3.2 ตํ่ากว&าปริญญาตรี

- ระดับอนุบาลหรือเทียบเท&าไม&เกินป̀ละ 4,650 บาท

- ระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท&าไม&เกินป̀ละ 3,200 บาท

- ระดับมัธยมศึกษาตอนต�นหรือเทียบเท&าไม&เกินป̀ละ 3,900 บาท

- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย / หรือหลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท&าไม&เกินป̀ละ 3,900 บาท

- ระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท&าไม&เกินป̀ละ 11,000 บาท

Page 90: Manager

- 88 -

งานอํานวยการ (ต;อ)4. การขอใชสิทธิเบิก

4.1 คู&สมรสของพนักงานหรือลูกจ�างเป5นข�าราชการ หรือลูกจ�างประจําของส&วนราชการ ให�เบิกกับ กปภ.ก&อน

4.2 พนักงานหรือลูกจ�าง และคู&สมรสเป5นพนักงานรัฐวิสาหกิจท้ังสองฝ[าย ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจเดียวกันหรือต&างรัฐวิสาหกิจ ให�ฝ[ายสามีเป5นผู�ใช�สิทธิเบิกก&อน หากสิทธิท่ีได�รับจากฝ[ายสามีตํ่ากว&า ให�ภรรยาเป5นผู�ใช�สิทธิเพ่ิมเติมเฉพาะส&วนท่ีต่ํากว&าจาก กปภ. ได�

4.3 คู&สมรสหย&า หรือแยกกันอยู&โดยมิได�หย&ากันตามกฎหมาย ให�พนักงานหรอืลูกจ�างฝ[ายท่ีใช�อํานาจปกครองหรืออุปการะเลี้ยงดูบุตรเป5นผู�ใช�สทิธิขอเบิกตามข�อบังคับ

5. ป̂ญหาการเบิกค;าเล;าเรียนบุตร

5.1 กรณีท่ีศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ หรือสถานศึกษาของเอกชนท่ีเป̂ดสอนหลักสูตรภาษาอังกฤษ หรือภาคสมทบ หรือภาคคํ่า หากหลักสูตรนั้นได�รับอนุมัติให�เป̂ดการเรียนการสอนจากส&วนราชการเจ�าสังกัด มีสิทธิเบิกจ&ายได�

5.2 การยื่นขอเบิกเงิน ให�ยืน่ภายในระยะเวลา 1 ป̀ นับแต&วนัท่ีเป̂ดภาคเรียนของแต&ละภาค

5.3 หากในภาคเรียนแรกผู�มีสิทธินําหลักฐานการเบิกจ&ายสูงกว&าอัตราท่ีกําหนด เช&นหลักสูตรระดับปริญญาตรีมีสิทธิเบิกจ&ายได�ป̀ละไม&เกิน 20,000 บาท หากผู�มีสิทธินําหลักฐานสูงกว&า 20,000 บาท สามารถเบิกจ&ายได�เต็ม 20,000 บาท โดยภาคเรียนท่ี 2 ไม&มีสิทธิเบิก

5.4 การเรียนซํ้าชั้นเดียวกัน 2 ป̀ ป̀ท่ีเรียนซํ้าชั้นมีสิทธิขอเบิกได�

5.5 กรณีบุตรอายุครบ 25 ป̀ ในภาคเรียนใด มีสทิธิเบิกได�ในภาคเรยีนนัน้

5.6 การเบิกในการศึกษานอกโรงเรียน จะต�องเป5นการศึกษาเฉพาะหลักสูตรท่ีกําหนดให�ผู�เรียนต�องเข�าเรียนในสถานศึกษาท่ีมีระดับชัน้การศึกษาเท&านั้น

5.7 บุตรท่ีศึกษาในสถานศึกษาเกินกว&า 1 แห&งในป̀การศึกษาเดียวกัน จะเบิกได�เพียง 1 แห&งเท&านั้น เว�นแต&ต�องย�ายสถานศึกษาตามบิดามารดาท่ีได�รบัคําสั่ง กปภ.

5.8 กรณีบุตรได�รับทุนการศึกษาซ่ึงเป5นลักษณะให�เปล&า โดยผู�รับทุนไม&ต�องเสียค&าใช�จ&ายใด ๆ ไม&มีสิทธิเบิกเว�นแต&ทุนการศึกษาท่ีได�รับน�อยกว&าค&าการศึกษาของบุตร ให�เบิกในส&วนท่ีจ&ายเพ่ิม แต&ไม&เกินอัตราท่ีกระทรวงการคลังกําหนด

Page 91: Manager

- 89 -

งานอํานวยการ (ต;อ)ค;าสงเคราะห9บุตร

1. เอกสารท่ีเก่ียวของ

1.1 ข�อบังคับ การสงเคราะห> เก่ียวกับบุตรของพนักงาน พ.ศ.2537 (ฉบับ 1-3)

1.2 ข�อบังคับ การสงเคราะห> ผู�ปฏิบัติงานในการคลอดบุตร พ.ศ.2523 (ฉบับ 1-2)

1.3 ระเบียบ การเบิกจ&ายเงินสงเคราะห>เก่ียวกับบุตรของพนักงาน พ.ศ.2553 ลว. 19 ก.พ. 2553

2. หลักเกณฑ9

2.1 จ&ายเงินครั้งละ 400 บาท ในกรณีท่ีผู�ปฏิบัติงาน (พนักงานหรือลูกจ�างประจํา) หรือภรรยาของผู�ปฏิบัติงาน คลอดบุตร

2.2 ให�ยืน่ขอรับเงินภายใน 60 วัน นับแต&วันคลอดบุตร

2.3 ลูกจ�างมีสิทธิได�รับค&าจ�างเท&าเวลาท่ีลาแต&ไม&เกิน 30 วัน เม่ือได�ทํางานมาแล�วไม&น�อยกว&า 180 วนั

2.4 จ&ายเดือนละ 200 บาทต&อบุตรหนึ่งคนให�แก&พนักงานหรือลูกจ�าง แต&ไม&รวมถึงบุตรบุญธรรม บุตรท่ีมิได�อยู&ในอํานาจปกครอบของตน บุตรท่ีมีอายุเกิน 18 ป̀บริบรูณ> หรือมีอายุไม&ถึง 18 ป̀ แต&บรรลุนิติภาวะโดยการสมรส

2.5 การนับจํานวนบุตรคนท่ี 1 ถึงคนท่ี 3 ให�นับเรียงตามลําดับการเกิดก&อนหลัง ไม&ว&าเป5นบุตรท่ีเกิดจากการสมรสครั้งใด หรืออยู&ในอํานาจปกครอบของตนหรือไม& ไม&ว&าจะเป5นบุตรท่ีเกิดก&อนหรือหลังการเข�าเป5นพนักงาน

2.6 ถ�าบุตรคนใดตายลงก&อนมีอายุครบ 18 ป̀บริบูรณ> ให�มีสิทธิได�รับเงินช&วยเหลือเพ่ิมข้ึนอีกเท&าจํานวนบุตรท่ีตาย และให�นับบุตรคนท่ีอยู&ในลําดับถัดไปก&อน

การสงเคราะห9เม่ือผูปฏิบัติงานถึงแก;ความตาย

จ&ายเป5นจํานวน 3 เท&าของเงินเดือน แต&ไม&ตํ่ากว&า 6,000 บาท เม่ือพนักงานหรือลกูจ�างถึงแก&ความตายเว�นแต&ตายในระหว&างละท้ิงหน�าท่ี หรือขาดงานติดต&อคราวเดียวกันเกิน 7 วนัทําการ และสืบสวนแล�วไม&มีเหตุผลอันสมควร

ค;าใชจ;ายเดินทาง

1. เอกสารท่ีเก่ียวของ

1.1 ข�อบังคับ ค&าใช�จ&ายเดินทางไปปฏิบัติงานในราชอาณาจักร พ.ศ.2522 (ฉบับท่ี 1-10)

1.2 ระเบียบ ค&าใช�จ&ายเดินทางไปปฏิบัติงานในราชอาณาจักร โดยยานพาหนะประจําทาง พ.ศ.2543

(ฉบับ 1-2)

1.3 บันทึก กปภ.ซักซ�อม การเบิกเงินค&ารถรับจ�าง ลว. 3 พ.ย. 2548

1.4 คําสั่ง 373/2546 ผวก.มอบอํานาจ การขนย�ายสิง่ของส&วนตัวโดยยานพาหนะอ่ืน ลว. 14 ต.ค. 2546

1.5 ข�อบังคับ การจ&ายค&าพาหนะและน้ํามัน พ.ศ.2533 (ฉบับ 1-2)

1.6 คําสั่ง 19/2544 การเบิกค&าเบ้ียเลี้ยงและค&าเช&าท่ีพัก 60% ลว. 22 ม.ค. 2544

Page 92: Manager

- 90 -งานอํานวยการ (ต;อ)2. หลักเกณฑ9

2.1 เงินยืมทดรองจ&าย

2.1.1 ถ�าไม&ได�ใช�เงินตามวตัถุประสงค>ให�ผู�ยืมส&งคืนภายใน 5 วัน นบัแต&วันท่ีมีเหตุขัดข�อง

2.1.2 ให�ส&งคืนภายใน 5 วนัทําการนับแต&วันท่ีได�รับจัดซ้ือสิ่งของหรอืได�จ&ายเป5นค&าใช�จ&าย

2.1.3 ให�ส&งคืนภายใน 10 วัน นับแต&วันท่ีได�เดินทางกลับถึงท่ีทําการ

2.1.4 ต�องออกเดินทางภายใน 15 วันนับแต&วันท่ีได�รับเงินยืมทดรองจ&าย (ขอเลื่อนได�อีกไม&เกิน

15 วัน)

2.2 การคํานวณวันเพ่ือขอเบิกค&าเบ้ียเลีย้งเดินทาง

ให�นับเวลาต้ังแต&เวลาออกจากสถานท่ีอยู&หรือสถานท่ีปฏิบัติราชการตามปกติ จนกลับถึงสถานท่ีอยู&หรือสถานท่ีปฏิบัติงานตามปกติ หรือจนถึงสถานท่ีปฏิบัติงานใหม&แล�วแต&กรณี (ให�นับเวลาชนเวลาของวันใหม&) โดย 24 ชัว่โมง = 1 วัน เศษเกิน 12 ชั่วโมง = 1 วนั

2.3 การเดินทางไปปฏิบัติงานระหว&างสํานักงานประปาแม&ข&ายกับเขตจําหน&ายน้ํา ให�เบิกค&าเบ้ียเลี้ยงเดินทางและค&าเช&าท่ีพักในอัตราร�อยละ 60 ของอัตราปกติ

2.4 ห�ามไม&ให�เบิกค&าเช&าท่ีพัก กรณี

2.4.1 พักแรมในยานพาหนะท่ีเสียค&าโดยสารแล�ว

2.4.2 การพักแรมในท่ีพัก กปภ. จัดให�

2.4.3 การเดินทางไปในท�องท่ีท่ีตนเองหรือคู&สมรสมีเคหะสถานของตนเองท่ีจะอยู&อาศัยได�

2.4.4 การพักรักษาตัวในสถานพยาบาลและได�ใช�สิทธิเบิกค&าห�องในสถานพยาบาลนั้นแล�ว

2.5 การเบิกค&าเบ้ียเลี้ยงเดินทางค&าเช&าท่ีพัก ถ�าเกิน 90 วันต�องไปรับอนุมัติจากผู�ว&าการฯ

2.6 กรณีเจ็บป[วยระหว&างเดินทางและจําเป5นต�องหยุดพักเพ่ือรักษาพยาบาล ให�เบิกค&าเบ้ียเลี้ยงเดินทางและค&าเช&าท่ีพักสําหรับวนัหยุดพักนั้นได�ไม&เกิน 10 วัน โดยต�องมีใบรับรองแพทย> ถ�าไม&มีต�องชี้แจงประกอบ

2.7 การเดินทางถ�า กปภ. มิได�จัดยานพาหนะให� ให�ใช�ยานพาหนะประจําทาง โดยให�เบิกค&าพาหนะท่ีจ&ายจริง และโดยประหยัด กรณีไม&มียานพาหนะประจําทางหรือมี แต&ต�องการความรวดเร็วหรือปลอดภัยเพ่ือประโยชน>แก&งานของ กปภ. ให�ใช�ยานพาหนะอ่ืนได� แต&ต�องได�รับอนุมัติจากผู�มีอํานาจ โดยในส&วนกลางเป5นอํานาจของผู�อํานวยการกองหรือเทียบเท&าข้ึนไป ในส&วนภูมิภาคเป5นอํานาจของผู�อํานวยการสํานักงานประปาเขตสําหรับวิธีการขออนุมัติ อาจขอไปพร�อมกับการขออนุมัติเดินทาง หรือหลังกลับจากเดินทางแล�วก็ได� โดยผู�เดินทางจะต�องชี้แจงเหตุผลและความจําเป5นไว�ในรายงานการเดินทางหรือหลักฐานการขอเบิกเงินค&าพาหนะนั้น

2.8 การนั่งรถรับจ�างในเขต กทม.(ยกเว�นการเดินทางไปกลับระหว&างสถานท่ีอยู&กับสํานักงาน รวมท้ังการเดินทางไปกลบัระหว&างสถานท่ีอยู&กับสถานท่ีอบรมประชุมสัมมนา) ผู�ปฏิบัติงานจะต�องมีตําแหน&งต้ังแต&หัวหน�าแผนกข้ึนไป(ตําแหน&งชั้น 6 ข้ึนไป) แต&หากผู�ปฏิบัติงานตําแหน&งตํ่ากว&าชั้น 6 ต�องไปรับอนุมัติจากผู�มีอํานาจโดยในส&วนกลางเป5นอํานาจของผู�อํานวยการกองหรือเทียบเท&าข้ึนไป ในส&วนภูมิภาคเป5นอํานาจของผู�อํานวยการสํานักงานประปาเขต (อาจขอไปพร�อมกับการขออนุมัติเดินทางหรือหลงักลับจากเดินทางแล�วก็ได�)

Page 93: Manager

- 91 -

งานอํานวยการ (ต;อ)2.9 การใช�ยานพาหนะส&วนตัวเดินทางไปปฏิบัติงาน ต�องได�รับอนุมัติจากผู�บังคับบัญชาต้ังแต&ผู�อํานวยการกอง

หรือเทียบเท&าข้ึนไป สําหรับในเขตของการประปาส&วนภูมิภาคเขตต�องได�รับอนุมัติจากผู�อํานวยการการประปาส&วนภูมิภาคเขต โดยเบิกชดเชยได�ดังนี้

2.9.1 รถยนต>ส&วนบุคคล เบิกชดเชยได� กม.ละ 4.50 บาท

2.9.2 รถจักรยานยนต> เบิกชดเชยได� กม.ละ 2.30 บาท

กรณีใช�ยานพาหนะส&วนตัวเดินทาง ไม&สามารถเบิกค&าผ&านทางด&วนพิเศษได�

2.10 สทิธิการเดินทางโดยยานพาหนะประจําทาง

2.10.1 การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทางระหว&างจังหวัด

- ชัน้ 1-6 เดินทางโดยรถประจําทางธรรมดา รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 รถโดยสารปรบั

อากาศชั้น 1 รวมท้ังรถปรับอากาศชั้น 1 ชนิด 32 ท่ีนั่ง

- ชัน้ 7 ข้ึนไปเดินทางรถโดยสารปรบัอากาศชั้น 1 ชนิดไม&เกิน 24 ท่ีนั่ง

2.10.2 การเดินทางโดยรถไฟ

- ชัน้ 1-8 เดินทางโดยรถธรรมดา รถด&วน หรือรถด&วนพิเศษ ชั้นท่ี 2 , ชัน้ท่ี 3

- ชัน้ 9 ข้ึนไป เดินทางโดยรถด&วนหรือรถด&วนพิเศษชั้น 1

2.11 สทิธิการเดินทางโดยเครื่องบิน

2.11.1 ตําแหน&งหัวหน�ากองหรือเทียบเท&าข้ึนไป (ตําแหน&งชั้น 8 ข้ึนไป) เดินทางได�โดยไม&ต�องขอ

อนุมัติ

2.11.2 ตําแหน&งต้ังแต&ชั้น 7 ลงมาต�องได�รับอนุมัติจากผู�ว&าการ (ผู�ว&าการมอบให�รองผู�ว&าการอนุมัติใน

ส&วนท่ีสังกัดรองผู�ว&าการ, ผู�อํานวยการสํานักตรวจสอบ, ผู�ช&วยฯ) ถ�าไม&ได�รับอนุมัติหรือไม&มี

สิทธิ ให�เบิกค&าโดยสารได�ไม&เกินค&าพาหนะทางพ้ืนดินตามสิทธขิองตน

2.12 การเดินทางโดยเครื่องบิน รถไฟ รถยนต>รับจ�างของสนามบิน รถยนต>ประจําทางปรับอากาศต้ังแต&ชั้น 1 เรือรับส&งข�ามฟากทะเล จะต�องแนบหลักฐานการโดยสารยานพาหนะประกอบการเบิกจ&ายด�วยถ�าผู�ปฏิบัติงานไม&สามารถนําหลักฐานการ โดยสารมาประกอบการเบิกจ&ายได� ให�รายงานในแบบใบรับรองแทนหลักฐานการโดยสาร (แนบท�ายบันทึก ท่ี มท 57003/3009 ลว.24 กันยายน 2542) เสนอผู�บังคับบัญชาชัน้ต�นรับรองแล�วแนบเป5นหลักฐานประกอบเพ่ือขอเบิกค&าใช�จ&าย

2.13 ค&าธรรมเนียมในการคืนต๋ัว เปลี่ยนต๋ัว หรือไม&สามารถคืนต๋ัวในการเดินทางโดยเครื่องบินและรถไฟ ซ่ึงเกิดจากส&วนราชการสั่งให�งดหรือเลื่อนการเดินทาง ให�เบิกจ&ายได�เท&าท่ีจ&ายจริง (ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค. 0409.7/ว.40842 ลว.31 ธ.ค. 2546)

2.14 ผู�ปฏิบัติงานในหน�าท่ีเลขานุการไม&เกิน 1 คนเดินทางกับผู�บังคับบัญชาตําแหน&งผู�อํานวยการฝ[ายหรือเทียบเท&าข้ึนไปให�เบิกค&าพาหนะ ได�เช&นเดียวกับผู�บังคับบัญชา และถ�าต�องเบิกค&าเช&าท่ีพักในอัตราเดียวกับผู�บังคับบัญชาด�วยจะต�องได�รับอนุมัติจากผู�ว&าการ

Page 94: Manager

- 92 -

งานอํานวยการ (ต;อ)2.15 ค&าระวางบรรทุกสิ่งของท่ีนําไปใช�เพ่ือการปฏิบัติงาน ค&าใช�จ&ายเบ็ดเตล็ดท่ีจําเป5นต�องจ&ายในการปฏิบัติ

งาน ให�เบิกได�เท&าท่ีจ&ายจริง

2.16 การเดินทางไปประจําต&างสํานกังาน หรือการเดินทางกลับภมิูลําเนาเดิม

2.16.1 ให�เบิกค&าเบ้ียเลี้ยงเดินทาง ค&าเช&าท่ีพัก และค&าพาหนะได� รวมท้ังบุคคลในครอบครวัซ่ึงอยู&ใน

อุปการะ(คู&สมรส บุตร บิดามารดาของผู�เดินทาง บิดามารดาของคู&สมรส) โดยให�เบิกค&าเช&า

ท่ีพักและค&าพาหนะเท&าจํานวนท่ีผู�ปฏิบัติงานมีสิทธิเบิก

2.16.2 เม่ือไปถึงท�องท่ีต้ังสํานักงานใหม& ถ�าไม&อาจหาท่ีพักได�และได�รับอนุมัติจากผู�ว&าการแล�ว (ให�ใช�

คําสัง่ย�ายได�เลยโดยไม&ต�องทําเรื่องอนุมัติการพักแรม) ให�เบิกค&าเช&าท่ีพักสําหรับตนเองและ

บุคคลในครอบครัวได�อีกไม&เกิน 7 วัน

2.16.3 ค&าขนย�ายสิ่งของส&วนตัวให�เบิกเท&าท่ีจ&ายจริง แต&ต�องขนย�ายโดยทางรถไฟ หรือจ�างบริการ

รฐัวสิาหกิจหากใช�ยานพาหนะอ่ืน จะต�องได�รับอนุมัติจากผู�ว&าการหรือ ผู�อํานวยการ

กปภ.เขต ตามคําสั่ง 373/2546 ซ่ึงผู�ว&าการมอบอํานาจให� ผู�อํานวยการ กปภ.เขต

2.17 ในกรณีท่ีผู�ปฏิบติังานถึงแก&ความตาย ให�ทายาทเบิกค&าเช&าท่ีพัก ค&าพาหนะ และค&าขนย�ายสิ่งของส&วนตัวกลับภมิูลําเนาเดิมท่ี กปภ. สั่งบรรจุผู�นั้นเข�าปฏิบัติงานตามสิทธขิองผู�ถึงแก&ความตาย

2.18 อัตราค&าเบ้ียเลี้ยงเดินทางและอัตราค&าเช&าท่ีพัก

ผู�ดํารงตําแหน&งหรือเทียบเท&า ค&าเบ้ียเลี้ยงเดินทาง ค&าเช&าท่ีพัก

- กรรมการ อนุกรรมการ ผวก.

- รองผู�ว&าการ

- ผู�ช&วยผู�ว&าการ

- ผู�อํานวยการฝ[าย (ชัน้ 10)

- หัวหน�ากองข้ึนไป (ชัน้ 8-9)

- หัวหน�าแผนกข้ึนไป (ชัน้ 6-7)

- ประจําแผนกข้ึนไป (ชัน้ 3-5)

- ผู�ปฏิบัติงานอ่ืน (ชั้น 1-2)

- ลูกจ�างชัว่คราวรายเดือน

550

520

500

400

380

340

300

260

260

เท&าท่ีจ&ายจรงิ

แต&ไม&เกิน

2,400 บาท

เหมาจ&าย 600

Page 95: Manager

- 93 -

งานอํานวยการ (ต;อ)ค;าล;วงเวลา

1. เอกสารท่ีเก่ียวของ

1.1 ข�อบังคับ ค&าทํางานล&วงเวลาและค&าทํางานในวนัหยุด พ.ศ.2522

1.2 บันทึก ซักซ�อม การจ&ายค&าล&วงเวลา ให�คํานึงงบประมาณเป5นสําคัญ ลว.2 มี.ค. 2555

2. หลักเกณฑ9

1. หลักเกณฑ>การจ&ายเงิน

การทํางานล&วงเวลาและทํางานในวันหยุด อัตราการจ&ายเงิน

ทํางานล&วงเวลาในวนัทํางานปกติ 1 เท&าครึ่งของอัตราเงินเดือน / ค&าจ�างท่ีคํานวณเป5นรายชัว่โมง

ทํางานในวันหยุด (ไม&เกินเวลาวนัทํางานปกติ)- กรณีท่ีมีสิทธิได�รับค&าจ�างในวันหยุด- กรณีไม&มีสิทธไิด�รับค&าจ�างในวนัหยุด

1 เท&าของอัตราเงินเดือน/ค&าจ�างท่ีคํานวณเป5นรายชั่วโมง2 เท&าของอัตราเงินเดือน/ค&าจ�างท่ีคํานวณเป5นรายชั่วโมง

ทํางานในวันหยุด (เกินเวลาวนัทํางานปกติ)- กรณีท่ีมีสิทธิได�รับค&าจ�างในวันหยุด- กรณีไม&มีสิทธไิด�รับค&าจ�างในวนัหยุด

3 เท&าของอัตราเงินเดือน/ค&าจ�างท่ีคํานวณเป5นรายชั่วโมง3 เท&าของอัตราเงินเดือน/ค&าจ�างท่ีคํานวณเป5นรายชั่วโมง

2. การคํานวณอัตราต&อชั่วโมง

พนักงาน = อัตราเงินเดือน 30 x จํานวนชั่วโมงท่ีทํางานปกติในหนึ่งวนั

ลูกจ�าง = อัตราค&าจ�างต&อหนึ่งวัน จํานวนชั่วโมงท่ีทํางานปกติในหนึ่งวนั

*** กรณีมีเงินค&าครองชีพและเงินเพ่ิมพิเศษชั่วคราว ให�นํามารวมกับเงินเดือนเพ่ือเป5นฐานในการคํานวณด�วย

3. พนักงานหรือลกูจ�างท่ีดํารงตําแหน&งสงูกว&าหัวหน�ากองหรือสูงกว&าตําแหน&งท่ีเทียบเท&าหวัหน�ากอง ไม&มีสิทธิได�รับ เงินค&าทํางานล&วงเวลาและค&าทํางานในวนัหยุด

Page 96: Manager

- 94 -

งานอํานวยการ (ต;อ)4. ไม&ให�เบิกค&าทํางานล&วงเวลาและค&าทํางานในวันหยุด ในกรณีต&อไปนี้

- การทํางานต&อเนื่องในคราวเดียวกันน�อยกว&า 1 ชั่วโมง

- การทํางานท่ีเกิน 8 ชัว่โมงใน 1 วนั

- จํานวนชั่วโมงทํางานท่ีเกิน 80 ชัว่โมงในหนึ่งเดือน เว�นแต&จะได�รับอนุมัติจากผู�ว&าการ

- การทํางานระหว&างเวลา 12.00 – 13.00 น.

5. งานท่ีจะทํางานล&วงเวลาหรือทํางานในวนัหยุดจะต�องเป5น

- เป5นงานท่ีไม&สามารถทําให�แล�วเสรจ็ได�ในเวลาทํางานปกติ หรอื

- เป5นงานท่ีมีความจําเป5นเร&งด&วนท่ีจะต�องทําให�แล�วเสร็จไปโดยเร็ว มิฉะนั้นจะเกิดความเสียหายแก&กิจการ

ของ กปภ.

ค;าเช;าบาน

1. เอกสารท่ีเก่ียวของ

1.1 ข�อบังคับ การจ&ายเงินค&าเช&าบ�าน พ.ศ.2530 (ฉบับ 1-5)

1.2 คําสั่ง 167/53 หลักเกณฑ>และวิธกีารเบิกจ&ายค&าเช&าบ�าน (ก.พ.2553)

2. หลักเกณฑ9

2.1 พนักงานหรือลูกจ�างประจํา ไม&มีสิทธิได�รับเงินค&าเช&าบ�าน เม่ือ กปภ. ได�จัดท่ีพักอาศัยให�อยู&แล�ว หรือ ปฏิบัติงานในท�องท่ีท่ีได�รับการบรรจุและแต&งต้ังให�เริ่มปฏิบัติงานครั้งแรก หรือแต&งต้ังให�กลับไปปฏิบัติงานใหม& หรือมีท่ีพักอาศัยของตนเองในท�องท่ีซ่ึงปฏิบัติงานหรือของสามีหรือภรรยาหรือบุตรท่ีสามารถพักอาศัยอยู&ร&วมกันได�ในท�องท่ีนั้น

2.2 ผู�ปฏิบัติงานซ่ึงได�รับค&าเช&าบ�านอยู&แล�วในท�องท่ีหนึ่ง หรือใช�สิทธินําหลักฐานการชําระค&าเช&าซ้ือหรือค&าผ&อนชําระเงินกู� และต&อมาได�รับแต&งต้ังให�ไปปฏิบัติงานประจําในท�องท่ีอ่ืนและมีสิทธิได�รับค&าเช&าบ�าน ให�ผู�ปฏิบัติงานมีสิทธินําหลักฐานการชําระค&าเช&าบ�านในท�องท่ีเดิมมาเบิกค&าเช&าบ�านในท�องท่ีใหม&ได� ถ�าคู&สมรสหรือบุตรไม&อาจติดตามไปได� หรือให�นําหลักฐานการชําระค&าเช&าซ้ือหรือค&าผ&อนชําระเงินกู�ในท�องท่ีเดิมมาเบิกค&าเช&าบ�านในท�องท่ีใหม&ได� ท้ังนี้จะต�องไม&เบิกค&าเช&าบ�านในท�องท่ีใหม&อีก

ค;าเครื่องแบบ

1. เอกสารท่ีเก่ียวของ1.1 ข�อบังคับ การจ&ายเงินค&าเครื่องแบบพนักงาน พ.ศ.2534 (ฉบับ 1-3)1.2 ระเบียบ การจ&ายเงินค&าเครื่องแบบพนักงาน พ.ศ.2534 (ฉบับ 1-3)

Page 97: Manager

- 95 -

งานอํานวยการ (ต;อ)2. หลักเกณฑ9

2.1 จ&ายค&าเครื่องแบบพนักงานแก&พนักงานป̀ละ 1 ครั้ง เหมาจ&ายคนละไม&เกิน 1,500 บาท

2.2 ต�องเป5นพนักงานชั้น 1-3 และปฏิบัติงานด�านบริการประชาชนท่ีดํารงตําแหน&งพนักงานสถานท่ี พนักงานบริการ ช&างฝ`มือ พนักงานอ&านมาตร และเก็บเงิน พนักงานอ&านมาตร พนักงานเก็บเงิน และพนักงานรักษาความปลอดภัย

2.3 ให�พนักงานท่ีมีสิทธิยื่นคําขอรับเงินค&าเครื่องแบบพนักงานเสนอผู�บังคับบัญชาตามลําดับ และให�ผู�บังคับบัญชาต้ังแต&ผู�จัดการประปาหรือเทียบเท&าข้ึนไป เป5นผู�รับรองว&าขณะขอเบิกเป5นผู�ท่ีดํารงตําแหน&ง ชั้นและสังกัดตามท่ีระบุจริง โดยให�ยืน่คําขอรับเงินป̀ละครั้งเป5นแต&ละป̀งบประมาณ จะยื่นคําขอรับเงินย�อนป̀งบประมาณไม&ได�

ค;ารับรอง เงินสมนาคณุ และเงินการกุศล

1. เอกสารท่ีเก่ียวของ

1.1 ข�อบังคับ ค&ารบัรอง เงินสมนาคุณ และเงินการกุศล พ.ศ.2536

1.2 ระเบียบ วิธกีารเบิกจ&ายค&ารับรอง เงินสมนาคุณ และเงินการกุศล พ.ศ.2540 (ฉบับ 1-2)

1.3 คําสั่ง 766/52 ผู�ว&าการมอบอํานาจ ลว.30 ก.ย. 2552

2. ความหมาย

ค&ารับรอง หมายถึง เงินซ่ึง กปภ.จ&ายเป5นค&าบุหรี่ ค&าสรุา ค&าอาหาร ค&าเครื่องด่ืม ค&าบริการค&าใช�จ&ายอ่ืน ๆ ตามควรแก&กรณี หรือค&าซ้ือสิ่งของเพ่ือเป5นท่ีระลึกในการรับรองบุคคลภายใน และบุคคล ภายนอก และกรณีบุคคลภายนอกให�รวมถึงค&าพาหนะและค&าท่ีพักด�วย

เงินสมนาคุณ หมายถึง เงินหรือสิ่งของท่ี กปภ. มอบให�แก&ผู�ทําคุณประโยชน> หรือประกอบคุณงามความดี ให�แก& กปภ. หรือประเทศชาติ

เงินการกุศล หมายถึง เงินหรือสิ่งของท่ี กปภ.จ&ายในพีธีทางศาสนาท่ี กปภ. เป5นเจ�าภาพหรือจ&ายเพ่ือการ กุศลให�แก&องค>การกุศล มูลนธิิ หรือสถาบันท่ีทางราชการรับรอง หรือจ&ายเพ่ือสาธารณประโยชน>

3. หลักเกณฑ9

1. ให�เบิกจ&ายภายในกําหนดเวลา 1 เดือนนับแต&วันท่ีจ&าย เว�นแต&กรณีเดินทางไปปฏิบติังานต&างท�องท่ีให�เบิกจ&าย ภายใน 15 วนั นับแต&วันท่ีได�กลับถึงสํานักงาน

2. การจ&ายค&ารับรองบุคคลภายนอก ให�เบิกจ&ายได�เฉพาะ

2.1 การเยี่ยมชมกิจการ กปภ. ท่ีจัดเป5นหมู&คณะ โดยส&วนราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษา ตลอดจน หน&วยงานเอกชนท่ีต�องการมาทัศนะศึกษาระบบงานของ กปภ. และต�องมีหนังสอืขอความร&วมมือจาก หน&วยงานดังกล&าวเป5นหลักฐาน

2.2 การมาเจรจาธุรกิจกับ กปภ. ท่ีเป5นการเจรจาธุรกิจในระดับตัวแทนของ กปภ.กับผู�ร&วมเจรจา และจะต�อง เจรจาในเรื่องท่ีเก่ียวกับธุรกิจการลงทุน การกู�เงิน และการให�ความช&วยเหลือในกิจการของ กปภ. แต&ไม& รวมถึงการขอใช�บรกิารจาก กปภ.

Page 98: Manager

- 96 -

งานอํานวยการ (ต;อ)3. การจ&ายค&ารับรองบุคคลภายใน

3.1 การเบิกจ&ายเงินจะต�องได�รับการอนุมัติจากผู�มีอํานาจก&อนเบิกจ&ายทุกครั้ง โดยให�หน&วยงานจัดประชมุฯ

เป5นผู�เบิก และให�เบิกได�เพียงครั้งเดียวต&อการประชุม 1 ครั้ง โดยมิให�แบ&งเบิกหรือซอยการเบิก

3.2 ให�เบิกจ&ายจากงบประมาณประเภทค&ารับรองและพิธีกรในหมวดค&าใช�จ&ายดําเนินงานอ่ืน ๆ ตามวงเงินท่ี

ได�รับจัดสรรไว� และต�องได�รับการกันเงินทุกครั้ง

4. เอกสารประกอบการจ&ายเงิน

4.1 ใบอนุมัติการจ&ายเงินค&ารับรองตามวงเงินของผู�มีอํานาจ

4.2 วาระการประชมุ / สัมมนา หรือกําหนดการประชุม / สัมมนา พร�อมสถานท่ี

4.3 รายชื่อผู�เข�าร&วมประชมุหรือสัมมนา พร�อมลงลายมือชือ่และเวลาเข�าประชุม

4.4 ใบเสรจ็รบัเงิน

ข้ันตอน วิธกีาร เบิกจ;ายเงินสดย;อย, เบิกจ;ายเงินสดจ;าย

1. ตรวจสอบใบขอเบิก/ขอจ�าง ในใบขอเบิกต�องมีเลขท่ีขอเบิกจากพัสดุ ชื่อรหัสหน&วยงานของผู�เบิกและลง รหสังบ ประมาณเพ่ือนําไปตัดงบประมาณทําการท่ีได�รับจัดสรรมา ตรวจสอบลายเซ็นผู�ขอเบิก ผู�เห็นชอบ ผู�อนุมัติ และผู�บันทึก ให�ครบถ�วน

2. ตรวจสอบเอกสารต&าง ๆ ให�ถูกต�อง เช&น ใบเสร็จรับเงิน,ใบแจ�งหนี้ ตรวจสอบชือ่ท่ีอยู&ของการประปาส&วนภูมิภาคสาขา ใบเสร็จรับเงินท่ีถูกต�องมีเลขท่ี เล&มท่ี และวันท่ีท่ีซ้ือของ ตรวจสอบลายเซ็นกรรมการตรวจรับ ตรวจสอบลายเซ็นผู�รบัของ ให�ครบถ�วน

3. การตรวจสอบ “ใบกํากับภาษี” ต�องตรวจสอบให�ถูกต�องจํานวน 8 รายการ ดังนี้

(1) คําว&า "ใบกํากับภาษี"

(2) เลขประจําตัวผู�เสียภาษีอากรของผู�ขายสินค�าหรือให�บริการ

(3) ชื่อ ท่ีอยู& ของผู�ขายสินค�าหรือให�บริการ

(4) ชื่อ ท่ีอยู& ของผู�ซ้ือสินค�าหรือรับบริการ

(5) หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีและหมายเลขลําดับของเล&ม (ถ�ามี)

(6) วนั เดือน ป̀ ท่ีออกใบกํากับภาษี

(7) ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณและมูลค&าของสนิค�าหรือของบริการ

(8) จํานวนภาษีมูลค&าเพ่ิมท่ีคํานวณจากมูลค&าของสินค�าหรือของบริการ โดยให�แยกออกจากมูลค&าของ สนิค�าหรือของบริการให�ชดัแจ�ง

Page 99: Manager

- 97 -งานอํานวยการ (ต;อ)4. ตีตรายางตรวจจ&าย หลังใบเสร็จหรือใบแจ�งหนี้ เสนอผู�ตรวจสอบ (หวัหน�างานอํานวยการ) และผู�อนุมัติจ&าย (ผู�

จัดการ) ลงนามเพ่ืออนุมัติจ&าย ถ�าใบแจ�งหนี้นัน้เป5นใบแจ�งหนี้ / ใบเสรจ็รบัเงิน / ใบกํากับภาษี ให�ถ&ายสําเนาใบแจ�งหนี้ / ใบเสร็จรับเงิน / ใบกํากับภาษี และนําต�นฉบับเก็บใส&แฟ8มไว�เพ่ือขอคืนภาษี แล�วนําใบแจ�งหนี้ / ใบเสรจ็รับเงิน / ใบกํากับภาษี ท่ีเป5นสําเนาทําเรื่องเบิกจ&ายเงิน และให�ประทับตรายาง “ต�นฉบับเก็บไว�ขอคืนภาษี” บนฉบับท่ีเป5นสําเนา และหวัหน�างานอํานวยการ ลงนามรับรอง

5. การจ&ายเงินสดย&อย วงเงินการจ&ายนัน้ต�องไม&เกิน 12,000.- บาท นําใบสําคัญจ&ายเงินสดย&อย (บง.42) ออกเลขท่ี การจ&ายเงินในทะเบียนคุมการจ&ายเงินสดย&อย, ระบุรหัสบัญช,ี ระบุศูนย>ต�นทุน, และระบุรหัสงบประมาณ

6. การจ&ายเงินให�บุคคลธรรมดา จํานวนเงินต้ังแต& 10,000.- บาทข้ึนไป การประปาฯ จะต�องหักภาษี ณ ท่ีจ&าย 1 เพ่ือนําส&งสรรพากรในวันสิ้นเดือน และออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ท่ีจ&ายให�แก&บุคคลนัน้ ๆ

7. การจ&ายเงินให�นิติบุคคล จํานวนเงินต้ังแต& 500.- บาท ข้ึนไป ประปาต�องหักภาษี ณ ท่ีจ&าย 1 % เพ่ือนําส&ง สรรพากรในวันสิ้นเดือน และออกหนังสือรบัรองการหักภาษี ณ ท่ีจ&ายให�แก&นิติบุคคลนั้น ๆ

8. การจ&ายเงินท่ีมีวงเงินเกิน 12,000.- บาท จะต�องทําเรื่องเบิกจ&ายไปยังการประปาส&วนภูมิภาคเขต ซ่ึงการประปา ส&วนภูมิภาคเขตจะต�องเป5นผู�ดําเนินการออกเช็คสั่งจ&ายให� ซ่ึงนอกจากจะมีใบขอเบิก / ขอจ�าง แล�ว พัสดุจะต�อง จัดทําใบขออนุมัติจัดซ้ือ / จัดจ�าง และใบสั่งซ้ือ / สัง่จ�างเพ่ิม เพ่ือนําไปเป̂ด PO ท่ีประปาเขต

10. กรณีการซ้ือวัสดุอุปกรณ>ซ&อมท&อ งานจ�าง งานซ&อมท&อ งานซ้ือของเข�าคลังโดยท่ีในกรณีเป5นงานจ�าง วงเงินต้ังแต& 10,000.- บาทข้ึนไป ต�องมีกรรมการตรวจรับงานจ�างอย&างน�อย 3 คน ถ�าวงเงินไม&เกิน 10,000.- บาท ใช�กรรมการตรวจรบัเพียงอย&างน�อย 1 คน

11. กรณีเป5นงานจ�าง ใบสั่งจ�างจะต�องติดอากรแสตมปs (อากรแสตมปs 1.- บาท / ราคาจ�าง 1,000.-บาท (ก&อนภาษีมูลค&าเพ่ิม)) พร�อมท้ังในใบสัง่จ�างจะต�องมีการลงนามของผู�รบัจ�าง, ผู�สั่งจ�าง, เจ�าหน�าท่ีจัดหาและเจ�าหน�าท่ีผู�รับผดิชอบให�ครบถ�วน เช&นเดียวกับในใบขออนุมัติจัดจ�างก็จะต�องมีเจ�าหนี้ท่ีจัดหาและผู�มีหน�าท่ีอนุมัติเช&นเดียวกัน

12. การเบิกชดเชยเงินสดย&อย ทําได�ในกรณีท่ีวงเงินสดย&อยท่ีได�รับอนุมัติจากประปาเขตใกล�หมดจะต�องทําการเบิกขอเชยเงินสดย&อยโดยใบเบิกชดเชยเงินสดย&อย ออกเลขท่ีและนําเอกสารเงินสดย&อยท่ีทําการจ&ายเงินแล�วทุกฉบับเรียงตามเลขท่ี รวบรวมเบิกเงินสดย&อยจากเงินรายได�ค&าติดต้ังทางด�านงานอํานวยการ หรือรายได�ค&าน้ําจากงานจัดเก็บรายได�และนํามาบันทึกใน Template JV / ใบสําคัญท่ัวไปประเภทรายการบัญชี 012 และรวบรวมเอกสารท่ีทําการเบิกชดเชยเงินสดย&อยจากรายได�ส&งประปาเขตให�งานเจ�าหนี้กองบัญชแีละการเงินเพ่ือตรวจสอบและบันทึกบัญชีต&อไป

Page 100: Manager

- 98 -งานอํานวยการ (ต;อ)1. ข้ันตอนการรับคําขอใชน้ําถึงปcดงาน

1.1 ข้ันตอนการรับคําขอติดตั้งประปา และประมาณการค;าตดิตัง้วางท;อ

1. ผู�ขอใช�น้ํายืน่คําขอใช�น้ําท่ี กปภ.สาขา พร�อมกับสําเนาบัตรประชาชน สําเนาทะเบียนบ�าน ตามคําสั่ง กปภ.ท่ี 412/2549 เรื่องหลักเกณฑ>และวิธีการขอติดต้ังประปา

2. งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) รวบรวมเอกสารลงทะเบียนคุมเลขท่ีคําขอติดต้ังประปา พร�อมบันทึกข�อมูลลงระบบรับ – จ&าย และส&งแบบคําขอใช�น้ําให�งานบริการและควบคุมน้ําสูญเสีย

3. งานบริการและควบคุมน้ําสูญเสีย เม่ือได�รับแบบคําขอใช�น้ําแล�วต�องไปดูสถานท่ีท่ีจะติดต้ัง เพ่ือ ประเมินการติดต้ังว&าสามารถดําเนิน การได�หรือไม& และแจ�งให�งานอํานวยการทราบ

4. กรณีการติดต้ังและวางท&อสามารถดําเนินการได� ให�งานบริการจดัทําใบประมาณการค&าติดต้ัง และวางท&อ โดยแจกแจงค&าใช�จ&ายท่ีต�องใช�ในการดําเนินการ นําส&งให�งานอํานวยการ เพ่ือเรียกเก็บเงินส&วนเพ่ิมจากผู�ขอใช�น้ํา

5. กรณี กปภ.สาขา ไม&สามารถดําเนินการติดต้ังและวางท&อได�เอง หรือประเมินแล�วว&าไม&สามารถดําเนินการติดต้ังได� ให�งานบริการและควบคุมน้ําสูญเสียแจ�งงานอํานวยการเพ่ือดําเนนิการแจ�งผู�ใช�น้ําให�ทราบต&อไป และขออนุมัติผู�จัดการยกเลิกคําขอฯ พร�อมบันทึกข�อมูลในระบบรับ – จ&าย

1.2 ข้ันตอนการรับเงินส;วนเพ่ิมค;าติดตั้งและวางท;อ และเงินประกันการใชน้ํา

1. ผู�ขอใช�น้ํา นําหนังสือแจ�งราคาติดต้ังวางท&อประปา มายื่นท่ีงานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) เพ่ือ ชําระเงิน

2. งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) รับเงินค&าติดต้ังและวางท&อจากผู�ใช�น้ํา บันทึกการรับเงินส&วนเพ่ิมค&าติดต้ังและวางท&อและประมาณการค&าใช�จ&ายท่ีต�องใช�ในการดําเนินการ ในระบบรายรับ – รายจ&าย พร�อมกับทําการพิมพ>ใบเสรจ็รบัเงิน / ใบกํากับภาษี - เงินส&วนเพ่ิม และทําการเซ็นชื่อรับเงินโดย

ต�นฉบับ ให�ผู�ขอให�น้ํา

สําเนาท่ี 1 งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) เก็บเข�าแฟ8มภาษีขาย เพ่ือใช�เป5นหลักฐานประกอบการบัญทึกบัญชี

ทําการแจ�งให�งานบริการและควบคุมน้ําสญูเสยี เพ่ือทราบ และดําเนินการติดต้ังและวางท&อ

3. งานอํานวยการบันทึกประมาณการในการติดต้ังมาตรวัดน้ํา (กําหนดข�อมูลวันท่ีเริ่ม ทําการติดต้ังและ วันท่ีคาดว&าจะดําเนินการแล�วเสรจ็ โดยท้ังนี้ให�ใช�หลักเกณฑ>การกําหนดตาม TRIS) และการรบัชําระเงินประกันการใช�น้ํา ในระบบรายรับ – รายจ&าย

Page 101: Manager

- 99 -งานอํานวยการ (ต;อ)

4. งานอํานวยการ พิมพ>ใบเสรจ็รับเงิน / ใบกํากับภาษี - เงินประกันการใช�น้ํา จากระบบรายรับ – รายจ&าย และทําการเซ็นชื่อรับเงิน โดย

ต�นฉบับ ให�ผู�ขอให�น้ํา

สําเนาท่ี 1 งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) เก็บเข�าแฟ8มภาษีขาย เพ่ือใช�เป5นหลักฐานประกอบการบันทึกบัญชี

ประทับตรา “ชําระเงินแล�ว” ลงบนแบบฟอร>มประเมินราคาค&าติดต้ังและวางท&อและส&งคืนงานบรกิารและควบคุมน้ําสูญเสีย

5. งานบริการและควบคุมน้ําสูญเสีย พิจารณาว&าเป5นงานท่ี กปภ. สาขา จะดําเนินการเอง / จ�างเหมา ให�จัดทําบันทึกแจ�งงานอํานวยการเพ่ือบันทึกสถานะงานโดยกรณีดําเนินการเองหรือจ�างเหมา ให�บันทึกเป5น “อยู&ระหว&างดําเนนิการ”

6. ทุกสิ้นวัน ให�งานอํานวยการปฏิบัติตามข้ันตอนการปฏิบัติงาน ณ สิ้นวัน (กระบวนการสําหรับระบบบัญชีลูกหนี้) เพ่ือทําการบันทึกบัญชีรายการรบัเงินส&วนเพ่ิมค&าติดต้ัง และวางท&อสําหรบัการเชื่อมโยงข�อมูลเข�าระบบหลกั (G/L – SAP) โดยอัตโนมัติ ซ่ึงจะถูกสรุปเป5นยอดรวม ณ สิ้นวนัและทําการบันทึกบัญชีรายการรบัเงินประกันการใช�น้ํ า สําหรับการเชื่อมโยงข�อมูลเข�าระบบหลกั (SAP) โดยอัตโนมัติ ซ่ึงจะสรุปเป5นยอดรวม ณ สิ้นวัน

เม่ือข�อมูลถูกโอนย�ายเข�าระบบ SAP แล�ว หน&วยงานท่ีเก่ียวข�องจะปฏบัิติตามข้ันตอนการปฏบัิติงานประจําวัน (กระบวนการของระบบบัญชีแยกประเภท)

1.3 ข้ันตอนการดําเนินการติดตั้งและวางท;อ โดย กปภ. สาขา ดําเนินการเอง

1. งานบริการและควบคุมน้ําสูญเสยี บันทึกลงทะเบียนคุมงาน “ติดต้ังประปา (ดําเนินการเอง)” เพ่ือ ควบคุมงานให�ทราบระยะเวลาการดําเนินการ ต�นทุน ค&าใช�จ&าย ผู�รับผิดชอบ

2. งานบริการและควบคุมน้ําสูญเสยี เบิกจ&ายวสัดุเพ่ือใช�ในการติดต้ังและวางท&อ ตามข้ันตอนการปฏิบัติ งาน การเบิกจ&ายวสัดุเพ่ือการติดต้ัง (1) ซ่ึงจะถือเป5นค&าใช�จ&ายในหมวด ค&าวัสดุดําเนินการใช�ไปในการ ติดต้ัง ได�แก& การเบิกมาตรวัดน้ํา ท&อ – อุปกรณ> จากคลังพัสดุ

3. กรณีมีการสั่งซ้ือวัสดุ และอุปกรณ>สําหรบัใช�ในงานติดต้ังและวางท&อ ซ่ึงซ้ือมาแล�วใช�หมดไป โดยไม&นํา เข�าคลงัในให�งานอํานวยการดําเนินการจ&ายค&าใช�จ&ายตามข้ันตอน ซ่ึงจะถือเป5นค&าใช�จ&ายในหมวดวัสดุ สิ้นเปลืองใช�ไปในการติดต้ัง

4. งานอํานวยการ บันทึกรายการการเบิก และ ค&าใช�จ&ายในระบบรายรับ – รายจ&ายโดยแยกยอดสําหรับ แต&ละงาน โดยอ�างอิงเลขท่ีใบสําคัญจ&าย (ชดุเอกสารของ กปภ. สาขา) ไว�ในระบบรายรับ – รายจ&าย พร�อมกับระบุเลขท่ีดังกล&าวในเอกสารสั่งจ&าย เพ่ือให� กปภ. เขต บันทึกเลขท่ีดังกล&าว ในช&องเลขท่ี อ�างอิง ซ่ึงจะปรากฏในรายงานกระทบยอดค&าใช�จ&ายจากระบบ SAP ณ สิ้นเดือน

5. งานบริการและควบคุมน้ําสูญเสีย ดําเนินการติดต้ังและวางท&อ โดยสรปุความก�าวหน�าในการดําเนิน การให�หัวหน�างานบริการและควบคุมน้ําสูญเสียทราบ และแจ�งผลความก�าวหน�าในการดําเนินงานให� งานอํานวยการ ทราบทุก ๆ เดือน เพ่ือทําการบันทึกสถานะของงานในระบบรายรับ – รายจ&าย ทุก ๆ สิ้นเดือน หรือเม่ืองานแล�วเสร็จ

Page 102: Manager

- 100 -

งานอํานวยการ (ต;อ)6. งานอํานวยการติดตามสอบถามสถานะงานจากงานบริการและควบคุมน้ําสูญเสยี และบันทึกผลการ ติดต้ังและวางท&อในระบบ รายรบั – รายจ&าย สําหรับแต&ละงาน

7. กรณีงานบริการและควบคุมน้ําสูญเสียไม&สามารถดําเนินการติดต้ังได� ให�งานอํานวยการบันทึกสถานะ “ยกเลิก / คืนเงินค&าติดต้ัง” ในระบบรายรับ – รายจ&าย และจัดทําเรื่องคืนเงินค&าติดต้ังและวางท&อ และเงินประกันการใช�น้ํา ตามข้ันตอนปฏิบัติงาน คืนเงินประกันการใช�น้ําค&าติดต้ังและวางท&อ (กรณี ติดต้ังไม&ได�)

8. กรณีงานบริการและควบคุมน้ําสูญเสีย สามารถดําเนินการติดต้ังได� ให�งานอํานวยการบันทึกสถานะ “อยู&ระหว&างดําเนินการ” ในระบบรายรับ – รายจ&าย

9. งานอํานวยการบันทึกรายการค&าใช�จ&าย และการเบิกพัสดุ สําหรับใช�ในการดําเนินการติดต้ังและวาง ท&อในระบบรายรับ – รายจ&าย โดยแยกยอดตามแต&ละเลขท่ีงานในระบบ และอ�างอิงเลขท่ีใบสําคัญ จ&าย (ชุดเอกสารของ กปภ. สาขา) ไว�ในระบบรายรับ – รายจ&าย พร�อมกับระบุเลขท่ีดังกล&าวใน เอกสารสั่งจ&าย เพ่ือให� กปภ. เขต บันทึกเลขท่ีดังกล&าวในช&องเลขท่ีอ�างอิง ซ่ึงจะปรากฎในรายงาน กระทบยอดค&าใช�จ&ายจากระบบ SAP ณ สิ้นเดือน

10. เม่ืองานบริการและควบคุมน้ําสูญเสีย ดําเนินการติดต้ังและวางท&อเรียบร�อยแล�วให�งานอํานวยการ ทําการปรับปรุงสถานะของงานในระบบรายรับ – รายจ&าย เป5นสถานะ “ป̂ดงาน” พร�อมกับระบุวัน ท่ีดําเนินการแล�วเสร็จ พร�อมกับแจ�งให�ผู�ขอใช�น้ําทราบ และโอนรายการข�อมูลผู�ขอใช�น้ํา เพ่ือเตรียม ข�อมูลประวติัเบ้ืองต�น เช&น ชื่อ – ท่ีอยู&, หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน, ข�อมูลใบเสร็จรับเงิน ประกันการใช�น้ําของผู�ใช�น้ําให�ระบบ Billing

1.4 ข้ันตอนการดําเนินการติดตั้งและวางท;อโดย กปภ.สาขา จางผูรับเหมา

1. งานอํานวยการ ดําเนินการจัดจ�างผู�รับเหมาเพ่ือดําเนินการติดต้ังและวางท&อ ตามข้ันตอนการจัดจ�าง โดยงานบริการและควบคุมน้ําสญูเสียบันทึกข�อมูลอ�างอิงท่ีงานติดต้ังและวางท&อในรายละเอียดของ รายการ2. งานบริการและควบคุมน้ําสูญเสีย เบิกจ&ายวัสดุเพ่ือการติดต้ังให�กับผู�รับเหมา ซ่ึงจะถือเป5นค&าใช�จ&าย ในหมวด ค&าวัสดุดําเนินการใช�ไปในการติดต้ัง โดยให�บนัทึกข�อมูลอ�างอิงเลขท่ีงานติดต้ังและวางท&อใน รายละเอียดของประมาณการ

3. ผู�รับจ�างดําเนนิการติดต้ังและวางท&อ และรายงานผลการติดต้ังและวางท&อให�หวัหน�างานบริการและ ควบคุมน้ําสูญเสียทราบ

4. หวัหน�างานบริการและควบคุมน้ําสญูเสีย แจ�งผลการติดต้ังและวางท&อให�งานอํานวยการทราบ เพ่ือ บันทึกสถานะ การติดต้ังและวางท&อในะระบบรายรับ – รายจ&าย

5. งานอํานวยการบันทึกผลการติดต้ังและวางท&อในระบบรายรับ – รายจ&ายสําหรับแต&ละงาน5.1 กรณีไม&สามารถดําเนินการติดต้ังได� ให�บันทึกสถานะ “ยกเลิก / คืนเงิน” ในระบบรายรับ – รายจ&าย และทําเรื่องคืนเงินค&าติดต้ังและวางท&อ และเงินประกันการใช�น้ําให�กับผู�ขอใช�น้ํา5.2 กรณีสามารถดําเนินการติดต้ังได� ให�บันทึกสถานะ “อยู&ระหว&างดําเนินการ” ในระบบรายรับ – รายจ&าย

Page 103: Manager

- 101 -

งานอํานวยการ (ต;อ)5.3 กรณีมีการเบิกวัสดุหรือค&าใช�จ&ายเกิดข้ึนในการติดต้ังและวางท&อ ให�ทําการบันทึกรายละเอียด แต&ละเลขท่ีงานในระบบรายรับ – รายจ&าย โดยกรณีเบิกวสัดุ เช&น มาตรวัดน้ํา ท&อ – อุปกรณ> ให�บันทึกค&าใช�จ&ายเป5นหมวด ค&าวัสดุดําเนินการใช�ไปในการติดต้ัง โดยอ�างอิงเลขท่ีใบสําคัญจ&าย ไว�ในระบบรายรับ – รายจ&าย พร�อมกับระบุเลขท่ีดังกล&าวในเอกสารสั่งจ&ายเพ่ือให� กปภ. เขต บันทึกเลขท่ีดังกล&าวในช&องเลขท่ีอ�างอิง ซ่ึงจะปรากฎในรายงานกระทบยอดค&าใช�จ&ายจากระบบ SAP ณ สิ้นเดือน

5.4 เม่ือดําเนินการจนงานแล�วเสร็จ ให�จัดทําเรื่องเบิกจ&ายค&าจ�างเหมาจากเงินสดย&อยกรณีค&าจ�าง เหมาไม&เกิน 12,000.- บาท หรือจัดทําใบสําคัญส&งไปเบิกเงินท่ี กปภ. เขต เพ่ือจัดทําเช็ค กรณี ค&าจ�างเหมาเกิน 12,000.- บาท

5.5 บันทึกสถานะการติดต้ังและวางท&อ ในระบบรายรับ – รายจ&าย เป5น “ป̂ดงาน” พร�อมกับระบุ วันท่ีดําเนินการแล�วเสรจ็

1.5 ข้ันตอนการบันทึกตนทุนการตดิตั้งและวางท;อ1. ทุกสิ้นเดือนงานอํานวยการสรุปค&าใช�จ&ายของแต&ละงาน โดยแยกตามสถานะ (อยู&ระหว&างดําเนินการ / ป̂ดงาน) ตามรายงานการติดต้ังและวางท&อ (2) และรายงานการติดต้ังและวางท&อ (3)

2. งานอํานวยการบันทึกบัญชีต�นทุนงานติดต้ังและวางท&อระหว&างทํา ของแต&ละศูนย>ต�นทุนใน JV Template พิมพ>รายวนัท่ัวไป และกระทบยอดให�ตรงกับรายงานติดต้ังและวางท&อ (2) และรายงาน การติดต้ังและวางท&อ (3) เม่ือถูกต�องแล�วให�หวัหน�างานอํานวยการทําการเซ็นชื่อยืนยันการตรวจ สอบในรายวันท่ัวไป และเก็บเอกสารเข�าแฟ8มรายวันท่ัวไปไว�เพ่ือเป5นหลักฐาน

2. รายไดอ่ืน ๆ

2.1 ข้ันตอนการรับชําระรายไดอ่ืน ๆ

1. บุคคลภายนอก ยื่นคําร�องหรือใบแจ�งหนี้ท่ีงานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) และ ชําระเงิน

2. งานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) จําแนกประเภทของรายการท่ีจะรบัชําระ2.1 กรณีเป5นรายรับท่ีได�รับจากการให�บริการในส&วนท่ีเก่ียวข�องกับผู�ใช�น้ําท่ีข้ึนทะเบียนไว�ในระบบ Billing ให�บนัทึกรับเงินและพิมพ>ใบเสร็จรับเงิน / ใบกํากับภาษีจากระบบ Billing โดย

ต�นฉบับ ให�บุคคลภายนอกท่ีชําระเงิน

สําเนาท่ี 1 ให�งานจัดเก็บรายได�เก็บเข�าแฟ8มภาษีขาย

2.2 กรณีเป5นรายรับอ่ืน ๆ ท่ีไม&เก่ียวข�อง ตามข�อ 2.1 ให�บันทึกรับเงินและพิมพ>ใบเสร็จรับเงิน / ใบ กํากับภาษี จากระบบรายรับ – รายจ&าย โดย

ต�นฉบับ ให�บุคคลภายนอกท่ีชําระเงิน

สําเนาท่ี 1 ให�งานอํานวยการเก็บเข�าแฟ8มภาษีขาย

Page 104: Manager

- 102 -

งานอํานวยการ (ต;อ)3. ณ สิ้นวัน งานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) ปฏิบัติงานตามข้ันตอนการปฏิบัติงาน

ณ สิน้วัน เพ่ือบันทึกรายการบัญชีและโอนย�ายข�อมูลเข�าระบบ SAP ซ่ึงรายการบัญชจีะถูกกําหนดจากรหัสประเภทรายรับท่ีกําหนดไว�

4. ณ วนัสิ้นเดือน หัวหน�างานจัดเก็บรายได� / หัวหน�างานอํานวยการ สามารถพิมพ>รายงานภาษีขายรายได�อ่ืน ๆ ได�จาก

ระบบ Billing สําหรับรายงานภาษีขายรายได�อ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข�องกับผู�ใช�น้ํา

ระบบ รายรับ – รายจ&าย สําหรับรายงานภาษีขายรายได�อ่ืน ๆ ท่ีไม&เก่ียวข�องกับผู�ใช�น้ํา

2.2 ข้ันตอนการรับชําระเงินค;าน้ําท;อธาร

1. ผู�ใช�น้ํายื่นคําร�องขอซ้ือน้ําท&อธาร ท่ีงานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) และชําระเงิน

2. งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) บันทึกข�อมูลการรับชําระเงินค&าน้ําท&อธารในระบบรายรับ – รายจ&าย รับเงิน และพิมพ>ใบเสร็จรับเงิน / ใบกํากับภาษี โดย

ต�นฉบับ ให�ผู�ใช�น้ําเก็บไว�เป5นหลักฐาน

สําเนาท่ี 1 เก็บเข�าแฟ8มภาษีขาย

3. ณ สิ้นวัน งานอํานวยการปฏิบติัตามข้ันตอนการปฏิบัติงาน ณ สิ้นวนั เพ่ือบันทึกรายการบัญชี สําหรับโอนย�ายเข�าระบบ SAP

4. ณ สิ้นเดือน งานอํานวยการจัดทํารายงานภาษีขายจากระบบรายรับ – รายจ&าย และส&งมอบให� หัวหน�างานอํานวยการ เพ่ือตรวจสอบและนําส&งภาษีขายให�กรมสรรพากร

2.3 ข้ันตอนการรับชําระเงินประกันสัญญา1. ผู�รับเหมา / ผู�รับจ�าง นําสัญญาจ�าง / ใบสั่งจ�างท่ีได�รับการอนุมัติแล�วมายื่นชําระเงินท่ีงานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>)

2. งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) บันทึการรับชําระเงินประกันสญัญาในระบบรายรับ – รายจ&าย รับ เงินและเซ็นชื่อรับเงินบนใบเสร็จรับเงินโดย

ต�นฉบับ ให�ผู�รบัเหมา / ผู�รับจ�างเก็บไว�เป5นหลักฐาน

สําเนาท่ี 1 ให�งานอํานวยการ แนบกับสําเนาสญัญาจ�าง / ใบสั่งจ�าง

3. งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) ยืนยันการชําระเงินบนสัญญาจ�าง /ใบสั่งจ�าง และส&งคืนให�ผู�รบัเหมา / ผู�รับจ�าง

4. ณ สิ้นวนั งานอํานวยการปฏบัิติตามข้ันตอนการปฏิบัติงาน ณ สิ้นวนั เพ่ือบันทึกรายการบัญชีสําหรับ โอนย�ายเข�าระบบ SAP

Page 105: Manager

- 103 -

งานอํานวยการ (ต;อ)3. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน ณ ส้ินวัน

1. ทุก ๆ สิ้นวัน งานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (คอมพิวเตอร>) ต�องมีการปฏิบัติตามข้ันตอนเหล&านี้เพ่ือ ทําการรวบรวมข�อมูลการบันทึกบัญชีท่ีเกิดข้ีนท่ี กปภ.สาขา และโอนย�ายข�อมูลเข�าระบบ SAP ท่ี กปภ.เขต

1.1 ปฏิบัติตามข้ันตอนสรุปรายการบัญชดี�านรายรับ ซ่ึงเป5นข้ันตอนป̂ดระบบของระบบรายรับ – รายจ&าย, ระบบ Billing และระบบ JV Template และการกระทบยอดรายการบัญชตี&าง ๆ เพ่ือเตรียมตรวจสอบข�อมูลก&อนโอนเข�าระบบ SAP

1.2 ปฏิบัติตามข้ันตอนฝากเงินเข�าธนาคาร ซ่ึงเป5นข้ันตอนการสรุปรวบรวมเงินสด / เช็คในมือ และ บันทึกรายการบัญชีใน JV

1.3 พิมพ>รายงานสรุปรายวันท่ัวไปประจําวันจากโปรแกรม Template เพ่ือให�หัวหน�างานจัดเก็บ รายได� / หัวหน�างานอํานวยการ และผู�จัดการ กปภ. สาขา เซ็นชื่อยืนยันการตรวจสอบและ รับรองข�อมูลท่ีจะโอนย�ายเข�าระบบ SAP

2. งานจัดเก็บรายได� โอนข�อมูลรายวันท่ัวไปและรายการแจ�งหนี้ / เพ่ิมหนี้ / ลดหนี้ ลกูหนี้ค&าน้ําผ&านมาตร และข�อมูลการรับชะระหนีค้&าน้ําผ&านมาตร ให�งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ กปภ. เขต ซ่ึงจัดทําโดย อัตโนมัติผ&านชุดโปรแกรม Template

3. ทุกสิ้นวัน หวัหน�างานจดัเก็บรายได� / หวัหน�างานอํานวยการ ให�ปฏบัิติตามข้ันตอนโอนเงินรายรบั ระหว&างหน&วยงาน เพ่ือโอนเงินให�ส&วนกลาง และส&วนกลางรับโอนเงินจากส&วนภูมิภาค

4. ทุกสัปดาห>หวัหน�างานจัดเก็บรายได� / หวัหน�างานอํานวยการ ให�ปฏบัิติตามข้ันตอนตรวจสอบข�อมูลราย วันท่ัวไปจากระบบรายรับ – รายจ&าย, ระบบ Billing กับระบบ SAP

4. ข้ันตอนสรุปรายการบัญชีดานรายรับ

1. งานอํานวยการ (คอมพิวเตอร>) ประมวลผลป̂ดงานสิ้นวนัของระบบรายรับ – รายจ&าย เพ่ือสรุปรายการ ข�อมูล และจัดพิมพ>รายงานการรับชําระเงินประจําวัน ซ่ึงสามารถจําแนกประเภทรายการรับเงินแต&ละ เรื่องของแต&ละศูนย>ต�นทุนได�แก&

- รายงานการรับเงินส&วนเพ่ิมค&าติดต้ังและวางท&อประจําวนั- รายงานการรับเงินประกันการใช�น้ําประจําวัน- รายงานการรับเงินประกันสัญญาประจําวัน- รายงานการรับเงินค&าน้ําท&อธารประจําวัน- รายงานการรับเงินรายรับอ่ืนประจําวัน (จัดกลุ&มตามรหสัประเภทรายรับ)

ให�กับงานอํานวยการ เพ่ือใช�ประกอบการตรวจนับเงิน

2. งานจัดเก็บรายได� (คอมพิวเตอร>) ประมวลผลป̂ดงานสิ้นวันของระบบ Billing เพ่ือสรุปรายการข�อมูล และจัดพิมพ>รายงานการรับชําระเงินประจําวนั ซ่ึงสามารถจําแนกประเภทรายการรับแต&ละช&องทางการ รับเงินของแต&ละศูนย>ต�นทุน และรายงานการต้ังหนี้ค&าน้ําผ&านมาตรประจําวนั ซ่ึงสามารถจําแนกยอดของ แต&ละศูนย>ต�นทุน

Page 106: Manager

- 104 -

งานอํานวยการ (ต;อ)3. งานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (คอมพิวเตอร>) ประมวลผลสร�างข�อมูลรายวันท่ัวไปจากระบบรายรับ – รายจ&าย และระบบ Billing โดยอัตโนมัติ และพิมพ>รายวนัท่ัวไป / รายงานสรุปรายวนัท่ัวไปให�หวัหน�า งานจัดเก็บรายได� / หวัหน�างานอํานวยการ

4. หัวหน�างานอํานวยการ ตรวจสอบและกระทบยอดการรับชําระรายได�ค&าติดต้ังและวางท&อ, รายได�ค&าน้ํา ท&อธาร, รายได�อ่ืน ๆ, การรับเงินประกันสัญญา และการรับเงินประกันการใช�น้ําของระบบรายรบั – ราย จ&าย โดยเปรียบเทียบยอดรายรับสําหรับแต&ละศูนย>ต�นทุน

5. หัวหน�างานจัดเก็บรายได� ตรวจสอบและกระทบยอดการต้ังหนี้ค&าน้ําจากรายงานการต้ังหนี้ค&าน้ําผ&าน มาตรประจําวันจากระบบ Billing กับรายวันท่ัวไป โดยเปรียบเทียบยอดต้ังหนี้สําหรับแต&ละกลุ&มประเภท ลูกหนี้ของแต&ละศูนย>ต�นทุน

6. หัวหน�างานจัดเก็บรายได� ตรวจสอบและกระทบยอดการรับชําระค&าน้ําผ&านมาตรประจําวันสําหรับกรณี รับชําระผ&าน Counter Service, ไปรษณีย> และหักบัญชธีนาคารแบบรวมศูนย>กับรายวันท่ัวไป จาก รายงานของระบบ Billing โดยเปรียบเทียบยอดรับชําระหนี้รวมท้ังหมดสําหรับช&องทางรับชําระข�างต�น แบ&งตามแต&ละศูนย>ต�นทุน

6.1 กรณีกระทบยอดได�เท&ากัน ให�เซ็นชื่อยืนยันการตรวจสอบในรายวนัท่ัวไป และเก็บเข�าแฟ8มราย วันท่ัวไป

6.2 กรณีกระทบยอดได�ไม&เท&ากัน ให�แจ�งงานจดัเก็บรายได� (คอมพิวเตอร>) เพ่ือตรวจสอบข�อมูล

5. การตรวจนับและฝากเงินเขาบัญชีธนาคาร

5.1 ข้ันตอนการตรวจนับและฝากเงินเขาบัญชีธนาคาร ณ ส้ินวัน กรณรีับเป_นเงินสด

1. งานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) นําเงินสดเข�าบัญชฝีากธนาคารของ กปภ.สาขา ภายในวันทําการหรืออย&างช�าในวันรุ&งข้ึนในกรณีท่ีไม&สามารถนําฝากธนาคารได�ทันเวลา

2. หวัหน�างานจดัเก็บรายได� / หวัหน�างานอํานวยการ ติดต&อกับธนาคารให�ธนาคารโอนเงินในบัญชเีงิน ฝากธนาคารของ กปภ.สาขา เข�าบัญชีเงินฝากธนาคารของสํานักงานใหญ&โดยอัตโนมัติทุกสิ้นวัน

3. ผู�จัดการ กปภ.สาขา กําหนดเง่ือนไขการถอนเงินบัญชเีงินฝากธนาคารว&าห�ามถอนเป5นเงินสดแต& สามารถโอนเข�าบัญชีเงินฝากธนาคารของสํานักงานใหญ&โดยอัตโนมัติได�เท&านั้น

4. หากนําเงินสดฝากธนาคารไม&ทันเวลาในวันทําการนั้นให�คณะกรรมการตรวจนับฯ ดําเนินการตรวจ นับ นําเงินสดเก็บไว�ในตู�เซฟของ กปภ.สาขา และนําเข�าบัญชีเงินฝากของ กปภ.สาขา ในวันทําการ ถัดไป

5.2 ข้ันตอนการตรวจนบัและฝากเงินเขาบัญชีธนาคาร ณ ส้ินวัน กรณรีับเป_นเช็ค

1. งานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) จะต�องรับเฉพาะเชค็ท่ีถึงกําหนดแล�วเท&านั้น และให�นําเช็คฝากเข�าบัญชีเงินฝากธนาคารของ กปภ.สาขา ทุกสิ้นวัน

2. กรณีท่ีนําเช็คเข�าธนาคารไม&ทันเวลาให�คณะกรรมการตรวจนับฯ ดําเนินการตรวจนับ นําเช็คนั้นเก็บ ไว�ในตู�เซฟของ กปภ.สาขา และนําฝากเข�าบัญชีเงินฝากธนาคารของ กปภ.สาขา ในวันทําการถัดไป

Page 107: Manager

- 105 -งานอํานวยการ (ต;อ)

5.3 ข้ันตอนการปฏิบัติงาน กรณเีบิกชดเชยเงินสดย;อยดวยเงินรายได

1. เม่ือวงเงินสดย&อย ลดลงถึงยอดท่ีต�องขอเบิกชดเชย ให�ผู�รักษาเงินสดย&อย กรอกแบบฟอร>มของเบิก ชดเชยเงินสดย&อยพร�อมกับเซ็นชื่อยืนยันการขอเบิก และยื่นให�หัวหน�างานจัดเก็บรายได� / หัวหน�า งานอํานวยการเพ่ือขอเบิกชดเชยด�วยเงินรายได�ท่ีหน�าเคาน>เตอร>รบัชําระไว� ณ วันท่ีขอเบิก

2. หวัหน�างานจดัเก็บรายได� / หวัหน�างานอํานวยการ ตรวจเช็คเงินสดหน�าเคาน>เตอร>หากยอดเงินหน�า เคาน>เตอร>มีมากกว&าหรอืเท&ากับวงเงินสดย&อย ให�ทําการบันทึกรายการขอเบิกเงินสดย&อยจากรายได� ด�วยยอดเงินเท&ากับวงเงินสดย&อยของ กปภ.สาขา นั้น ๆ ใน JV Template และพิมพ>แบบฟอร>มราย วันท่ัวไป เม่ือตรวจสอบจนถูกต�องแล�วให�เซ็นชื่อยืนยันการตรวจสอบ และให�ผู�จัดการ กปภ.สาขา เซ็น ชื่ออนุมัติการขอเบิกชดเชยเงินสดย&อย ก&อนเก็บเข�าแฟ8มรายวันท่ัวไป และทําการจ&ายเงินรายได�ให�กับ ผู�รักษาเงินสดย&อย หวัหน�างานจัดเก็บรายได� / หัวหน�างานอํานวยการเซ็นชื่อยืนยันการจ&ายชดเชยลง บนแบบฟอร>มขอเบิกชดเชยเงินสดย&อย และส&งคืนให�ผู�รักษาเงินสดย&อยเก็บเข�าแฟ8มเงินสดย&อย

5.4 ข้ันตอนการปฏิบัติงาน ณ ส้ินวัน กรณีรับเงินหนาเคาน9เตอร9

1. งานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) กระทบยอดเงินกับรายงานการรับเงินประจําวนั โดยพิจารณาดังนี้

1.1 กรณีภายในวันนีไ้ม&มีการเบิกชดเชยเงินสดย&อย กระทบยอดรายงานการรับเงินประจําวนัต�อง เท&ากับยอดเงินท่ีตรวจนับได�

1.2 กรณีในวันนั้นมีการเบิกชดเชยเงินสดย&อย กระทบยอดรายงานการรับเงินประจําวนัต�องเท&ากับ ยอดเงินท่ีตรวจนับได�รวมเงินจํานวนเงินสดย&อยท่ีผู�รกัษาเงินสดย&อยเบิกไป

2. เม่ืองานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) กระทบยอดเงินถูกต�องแล�วให�นําส&งรายงาน การรับเงินประจําวนัให�หวัหน�างานจัดเก็บรายได� / หัวหน�างานอํานวยการ

3. หวัหน�างานจัดเก็บรายได� บันทึกแจกแจงเงินสด / เช็คในมือบน JV Template และพิมพ>แบบฟอร>ม รายวันท่ัวไป และตรวจสอบยอดเงิน กรณีถูกต�องให�เซ็นชื่อยืนยันการตรวจสอบและเก็บเข�าแฟ8มราย วันท่ัวไป และยืนยันการโอนรายการเข�าระบบ SAP

4. งานจัดเก็บรายได� / งานอํานวยการ (หน�าเคาน>เตอร>) นําเงินสด / เช็ค ฝากเข�าบัญชธีนาคาร และนํา สําเนาใบนําฝากส&งมอบให�หัวหน�างานจัดเก็บรายได� / หัวหน�างานอํานวยการ

5. หวัหน�างานจัดเก็บรายได� / หัวหน�างานอํานวยการ บันทึกแจกแจงรายการนําฝากธนาคารตาม เอกสาร Pay In Slip ใน JV Template และพิมพ>แบบฟอร>มรายวันท่ัวไป ตรวจสอบยอดให�เท&ากับ สําเนาใบนําฝาก เซ็นชื่อยืนยันการตรวจสอบ และเก็บเข�าแฟ8มรายวันท่ัวไปพร�อมกับยืนยันข�อมูลเพ่ือ โอนย�ายเข�าระบบ SAP

Page 108: Manager

- 106 -

งานอํานวยการ (ต;อ)6. ข้ันตอนการโอนเงินจากบัญชีการประปาส;วนภูมิภาค สาขา เขาบัญชีธนาคารสํานักงานใหญ;

1. ธนาคารสาขาท่ีสํานักงานประปาฝากเงิน แจ�งยอดการโอนเงินประจําวันโดยอัตโนมัติจากบัญชขีอง กปภ. สาขา ไปยังบัญชธีนาคารของสํานักงานใหญ&

2. หวัหน�างานจัดเก็บรายได� ตรวจสอบการโอนเงินท่ีธนาคารโอนโดยอัตโนมัติ และบันทึกรายการโอนเงินใน JV Template

3. งานการเงิน กองการเงิน บันทึกรายการรับโอนเงินเข�าบัญชีธนาคารของสํานักงานใหญ&

7. ข้ันตอนการตรวจสอบขอมูลรายวันท่ัวไปจากระบบรายรับ – รายจ;าย และระบบ Billing กับระบบ SAP

1. ทุกสัปดาห> งานประมวลบัญชี กปภ.เขต จะนําส&งรายงานเอกสารรายวันท่ัวไปท่ีได�มีการนําเข�าระบบ SAP ภายในสัปดาห> จัดส&งให� กปภ.สาขา ภายใต�สังกัด

2. หัวหน�างานอํานวยการ ตรวจสอบความถูกต�องและครบถ�วนของเอกสารรายวันท่ัวไป จากรายงานสรุปราย วนัท่ัวไป (พิมพ>จาก Template) กับรายงานเอกสารรายวันท่ัวไปในระบบ SAP โดยอาศัยเลขท่ีเอกสารราย วนัท่ัวไปท่ีพิมพ>จาก Template เป5นตัวอ�างอิงข�อมูลระหว&างกันโดยกําหนดให�ดําเนินการให�แล�วเสรจ็ ภายใน 1 วนั ทําการนับจากวันท่ีได�รับรายงานจาก กปภ.เขต และแจ�งต&องานประมวลบัญช ีกปภ.เขต เพ่ือ ทราบ

8. ข้ันตอนการกระทบยอดจากระบบรายรับ – รายจ;าย และระบบ Billing กับระบบ SAP ณ ส้ินเดือน

1. งานประมวลบัญช ีกปภ.เขต ปฏิบัติตามข้ันตอนการปฏิบัติงานประจําวนัและนําส&งรายงานบัญชีแยก ประเภทจากระบบ SAP ให�หวัหน�างานจัดเก็บรายได� / หัวหน�างานอํานวยการ กปภ.สาขา

2. หวัหน�างานจดัเก็บรายได� / หวัน�างานอํานวยการ กระทบยอดบัญชท้ัีงสองระบบ กับบัญชีแยกประเภทใน ระบบ SAP หากเท&ากับยอดใน SAP ให�แจ�งยืนยันยอดคงเหลือของแต&ละบัญชีให�งานประมวลบัญชี กปภ.เขตทราบ

3. หากกระทบยอดบัญชท้ัีงสองระบบไม&เท&ากับบัญชีแยกประเภทใน SAP ให�ตรวจสอบความครบถ�วนของ เอกสารรายวันท่ัวไป ตามข้ันตอนการตรวจสอบข�อมูลรายวันท่ัวไปจากระบบรายรับ – รายจ&าย และระบบ Billing กับระบบ SAP

3.1 กรณีครบถ�วน สร�างรายการปรับปรุงยอดในระบบรายรับ – รายจ&าย หรือระบบ Billing และโอน ย�ายรายการบัญชี ตามข้ันตอนการปฏบัิติงาน ณ สิ้นวัน

3.2 กรณีไม&ครบถ�วน ทําการสร�างรายวันท่ัวไปจาก Back up ของระบบรายรับ – รายจ&าย / ระบบ Billing และโอนย�ายรายการบัญชตีามข้ันตอนการปฏิบัติงาน ณ สิน้วัน

9. ข้ันตอนการกระทบยอดภาษีขายเพ่ือเตรียมนําส;งกรมสรรพากร

1. หวัหน�างานอํานวยการ กระทบยอดบัญชภีาษีขายของ กปภ.สาขา จากรายงานบัญชีแยกประเภท SAP กับ ยอดภาษีขายในรายงานภาษีขายจากระบบรายรับ – รายจ&าย และระบบ Billing ของ กปภ.สาขา ให�แล�ว เสร็จภายในวันท่ี 10 ของเดือนถัดไป

Page 109: Manager

- 107 -

งานอํานวยการ (ต;อ)2. กรณีกระทบยอดแล�วไม&เท&ากัน ให�แจ�งยืนยันยอดท่ีถูกต�องกับงานประมวลบัญชี กปภ.เขต

3. กรณีกระทบยอดแล�วเท&ากัน ให�ปฏบัิติตามข้ันตอนการวบรวมรายงานภาษีขายยื่นต&อกรมสรรพากร

4. งานบัญชีเจ�าหนี้ กปภ.เขต ตรวจสอบความถูกต�องของรายงานภาษีมูลค&าเพ่ิมของ กปภ.สาขา และนําส&ง ข�อมูลให�งานบัญชีเจ�าหนี้ สํานักงานใหญ&

5. งานบัญชีเจ�าหนี้ สํานกังานใหญ& รวบรวมนําส&งภาษีมูลค&าเพ่ิมของทุก กปภ.สาขา ต&อกรมสรรพากร

การรวบรวมรายงานภาษีขาย ย่ืนต;อกรมสรรพากร1. ณ สิ้นเดือนให�หวัหน�างานอํานวยการทําการรวบรวมรายงานภาษีขายของ กปภ.สาขา เพ่ือจัดทํารายงาน ภาษีมูลค&าเพ่ิมส&งงานบัญชเีจ�าหนี้ กปภ.เขต

1.1 รวบรวมรายงานภาษีขายจากระบบ Billing ประกอบด�วย

- รายงานภาษีขาย (ค&าน้ําผ&านมาตร และอ่ืน ๆ) ณ สิน้เดือน

- รายงานภาษีขาย (รายการเพ่ิมหนี้ - ลดหนี้)

1.2 รวบรวมรายงานภาษีขายจากระบบรายรับ – รายจ&าย ประกอบด�วย

- รายงานภาษีขาย (ค&าติดต้ังและวางท&อ)

- รายงานภาษีขาย (รายได�ค&าน้ําท&อธาร)

- รายงานภาษีขาย (รายได�อ่ืน ๆ)

- รายงานภาษีขาย (รายได�เพ่ิมหนี้ - ลดหนี้)

1.3 รวบรวมรายงานภาษีขายจากระบบบัญชีลูกหนี้ SAP ประกอบด�วย

- รายงานภาษีเขต (รายได�อ่ืน ๆ)

2. งานบัญชีเจ�าหนี้ กปภ.เขต รวบรวมรายงานภาษีขายจากระบบรายรับ – รายจ&าย และจากระบบบัญชีลูก หนี ้- SAP ของทุก กปภ.สาขา ส&งงานบัญชีเจ�าหนี้ สํานักงานใหญ&เพ่ือรวบรวมส&งกรมสรรพากร

Page 110: Manager

- 108 -

งานอํานวยการ (ต;อ)การจัดซ้ือจัดจาง

วิธีการซ้ือและวิธีการจาง

มี 6 วิธ ีได�แก&

1. วธิีตกลงราคา

2. วธิีสอบราคา

3. วธิีประกวดราคา

4. วธิีพิเศษ

5. วธิีกรณีพิเศษ

6. วธิีฉุกเฉิน

1. การดําเนินการจัดซื้อ / จางโดยวิธีตกลงราคา

วงเงินไม&เกิน 100,000 บาท

วธิีการปฏบัิติ

- ให�พนักงานพัสดุตดิต&อตกลงราคากับผู�ขาย / ผู�รับจ�าง

- หวัหน�าเจ�าหน�าท่ีพัสดุจดัซ้ือ / จ�างได�ภายในวงเงินท่ีได�รับความเห็นชอบจากหัวหน�าหน&วยงาน

- กรณี จําเป_นเร;งด;วน ไม;ไดคาดหมายไวก;อน ไม;อาจดําเนนิการปกติไดทัน ให�พนักงานพัสดุ / ผู�รบัผิดชอบในการปฏิบติังานนั้น ดําเนินการไปก&อนแล�วรีบรายงานขอความเห็นชอบต&อหัวหน�า หน&วยงาน เม่ือได�รับความเหน็ชอบแล�ว ให�ถือว&ารายงานนั้น เป5นหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม

2. การดําเนินการจัดซื้อ / จาง โดยวธิีสอบราคา

วงเงินเกิน 100,000 บาท แต&ไม&เกิน 2,000,000 บาท

วธิีการปฏบัิติ

- พนักงานพัสดุจัดทําเอกสารสอบราคาโดยอย&างน�อยให�แสดง 15 รายการ ตามระเบียบฯ ข�อ 40

- ก&อนเป̂ดซองไม&น�อยกว&า 10 วนั ให�พนักงานพัสดุส&งประกาศเผยแพร&และเอกสารสอบราคาไปยัง ผู�ขาย / รับจ�าง โดยตรงหรือทางไปรษณีย>ให�มากรายท่ีสุดและป̂ดประกาศโดยเป̂ดเผย ณ ท่ีทําการ

- ผู�เสนอราคาต�องผนึกซองจ&าหน�าถึงคณะกรรมการเป̂ดซองสอบราคาซ้ือ / จ�างและยื่นโดยตรงต&อ หน&วยงานก&อนวันเป̂ดซอง

- ให�เจ�าหน�าท่ีลงรบัโดยไม&เป̂ดซอง พร�อมระบุวันเวลารับซอง และให�ส&งมอบซองให�หัวหน�าเจ�าหน�าท่ี พัสดุ ทันที

Page 111: Manager

- 109 -

งานอํานวยการ (ต;อ)ข้ันตอนการดําเนินการจัดจางโดยวิธีสอบราคา

1. รายงานขอจางเหมา เจ�าหน�าท่ีพัสดุรวบรวมเอกสารและจัดจ�างตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว&าด�วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แก�ไขเพ่ิมเติมโดย ซ่ึงข�อบังคับกปภ. ว&าด�วยการพัสดุ พ.ศ. 2539 ข�อ 4 นํามาบังคับใช�โดยอนุโลม โดยทํารายงานขอจ�างเหมาผ&านหัวหน�าเจ�าหน�าท่ีพัสดุ (ระเบียบพัสดุข�อ 27) และใช�วธิสีอบราคาตามข�อ 18 (2) และข�อ 20พร�อมรวบรวมเอกสารประกอบการสอบราคา ดังนี้

1.1 สําเนาเอกสารหลักฐาน แหล&งท่ีมาทางการเงิน งบประมาณ มีท่ีมาดังนี้

- เงินรายได�จากกปภ. (เอกสารจากกองงบประมาณกปภ.)

- เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (เอกสารจากสํานกังบประมาณ)

- เงินผู�ใช�น้ํา (สําเนาใบเสร็จรับเงินเอกชนชําระ 100% ส&วนราชการชําระ 50% แรก)

- เงินสมทบจังหวัด (ประชาชนบท)

1.2 ประมาณราคาและวงเงินท่ีจะจ�างเหมา (เงินผู�ใช�น้ํางานบริการต�องจัดทําบัญชวีงเงินท่ีจะดําเนินการจ�าง

เหมาโดยหักวงเงินท่ีไม&ได�จ�างออกจากวงเงินท่ีรับชําระท้ังหมด ส&วนเงินอ่ืน ๆ ใช�วงเงินตามประมาณราคา เป5นวงเงินท่ีจะจ�างเหมา)

1.3 เอกสารแนบท�ายเอกสารสอบราคา (แบบรูปรายการละเอียด)

1.31 แบบแปลนแผนผัง

1.32 รายการต&อท�ายสัญญาจ�างเหมา

1.33 รายการประกอบแบบแปลนการวางท&อ

1.34 รายละเอียดการติดต้ังอุปกรณ>ประกอบท&อ

1.35 ข�อกําหนดพัสดุท่ีใช�ในโครงการ

1.36 การแบ&งงวดงาน การจ&ายเงิน กําหนดเวลาแล�วเสรจ็

1.37 มาตรฐานการก&อสร�างงานวางท&อ

1.38 มาตรฐานประกอบงานวางท&อ - รายการใดท่ีไม&ได�ใช�ในการวางท&อนั้น ๆ ก็ไม&จําเป5นต�องใส&แนบท�ายเอกสารประกอบการจัดจ�าง

1.4 เอกสารแนบท�ายเอกสารสอบราคา (แบบใบเสนอราคา)

1.41 บัญชีรายการเอกสารและหลักฐานประกอบการสอบราคา (ผู�เสนอราคากรอกเฉพาะรายการ เอกสารท่ีได�แนบมาพร�อมใบเสนอราคา)

1.42 ใบเสนอราคา

1.43 บัญชีแสดงปริมาณวสัดุ ค&าแรงงาน

Page 112: Manager

- 110 -

งานอํานวยการ (ต;อ)1.5 การจัดทําเอกสารสอบราคา (ระเบียบฯ ข�อ 40)

1.51 เจ�าหน�าท่ีพัสดุเป5นผู�จัดทําเอกสารสอบราคาและหัวหน�าเจ�าหน�าท่ีพัสดุลงนามกํากับในเอกสาร สอบราคาทุกหน�า

1.52 กําหนดยืนราคานับแต&วันเป̂ดซอง

1.53 ผู�เสนอราคาต�องยื่นซองเป̂ดผนึกเรียบร�อย จ&าหน�าซองถึงประธานคณะกรรมการเป̂ดซองสอบ ราคาและกําหนดยื่นซอง เป̂ดซอง ตามกําหนดเวลาในประกาศสอบราคา และส&งถึงกปภ.สาขา

ก&อนวันเป̂ดซองโดยให�ส&งเอกสารหลักฐานต&าง ๆ พร�อมจัดทําบัญชีรายการเอกสาร เสนอไป พร�อมกับซองราคาด�วย

1.54 การสอบราคาครั้งนี้ จะพิจารณาตัดสนิด�วย “ ราคารวม ”

1.55 ผู�ชนะการสอบราคา &จะต�องทําสัญญาจ�างภายใน 7 วนันับจากวันท่ีได�รบัแจ�ง และจะต�องวาง หลักประกันสัญญา (ระเบียบพัสดุข�อ 141) กําหนดอัตราร�อยละ 5 ของวงเงินท่ีสอบราคาได�

1.56 อัตราค&าปรับ (ระเบียบพัสดุข�อ 134) กําหนดอัตราค&าปรับเป5นรายวันเป5นจํานวนเงินตายตัวใน อัตราร�อยละ 0.01-0.20 ของงานจ�างนั้น แต&ต�องไม&ตํ่ากว&าวันละ 100 บาทและตามมติ ครม. (หนังสือ สร.ท่ี0202/ว.6 ลว.14 ม.ค.37) กําหนดอัตราค&าปรบัในอัตราสงูสดุท่ีกําหนดไว�ใน ระเบียบพัสดุในงานรับเหมาท่ีมีผลกระทบต&อการจราจร ดังนัน้ในส&วนท่ีมีผลกระทบกับการ

จราจรต�องกําหนดในอัตราร�อยละ 0.25

1.6 การจัดทําประกาศสอบราคา [ระเบียบพัสดุข�อ 27(7)]

1.61 การประกาศสอบราคาต�องประกาศและป̂ดประกาศโดยเป̂ดเผย ณ.ท่ีทําการของส&วนราชการ ก&อนวันเป̂ดซองสอบราคาไม&น�อยกว&า 10 วันและให�เจ�าหน�าท่ีพัสดุส&งประกาศเผยแพร&การ

สอบราคาไปยังผู�มีอาชีพขายหรือรับจ�างทํางานนั้น โดยตรงหรือโดยทางไปรษณีย>ลงทะเบียน ให�มากท่ีสุดเท&าท่ีจะทําได� [ระเบียบพัสดุข�อ 41(1)]

1.62 การให�หรือขายให�ดําเนินก&อนเป̂ดซองสอบราคาไม&น�อยกว&า 10 วันและให�กําหนดราคาขายพอ สมควรกับค&าใช�จ&ายท่ีต�องเสียไปในการจดัทําสําเนาเอกสารสอบราคานั้น ควรกําหนดราคาขาย ตามระเบียบของการประปาส&วนภูมิภาค

1.63 การยื่นซองสอบราคาต�องยื่นก&อนถึงวันเป̂ดซองสอบราคา และต�องยื่นตามวนัท่ีกําหนดใน ประกาศสอบราคาในเวลาราชการ

1.7 คําสั่งแต&งต้ังคณะกรรมการเป̂ดซองสอบราคา, คณะกรรมการตรวจการจ�างและผู�ควบคุมงาน (ระเบียบพัสดุ ข�อ 34, ข�อ 35 และข�อ 37)

1.71 แต&งต้ังเป5นครั้ง ๆ ตามรูปแบบกําหนดปกติแต&งต้ังข�าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท&าข้ึนไปประกอบ ด�วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอย&างน�อย 2 คน คณะกรรมการทุกคณะ ควรแต&งต้ัง

ผู�ชํานาญหรือผู�ทรงคุณวุฒิเก่ียวกับพัสดุหรืองานจ�างนั้น ๆ มติกรรมการโดยท่ัวไป ถือเสียงข�างมาก เว�นแต&คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือคณะกรรมการตรวจการจ�าง ให�ถือมติเอกฉันท> กรณีกรรมการของคณะใด ไม&เห็นด�วยกับมติของคณะกรรมการ ให�ทําบันทึกความเห็นแย�งไว�ด�วย

Page 113: Manager

- 111 -

งานอํานวยการ (ต;อ)1.72 ผู�ควบคุมงานควรมีคุณวฒุิตามท่ีผู�ออกแบบเสนอแนะ และโดยปกติจะต�องมีคุณวุฒิไม&ตํ่ากว&า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี

2. เจาหนาท่ีพัสดุจัดทําแบบสัญญาจาง (ระเบียบพัสดุขอ 132) และแบบหลักประกันสัญญา (หนังสือค้ําประกัน)

2.1 หลักประกันสัญญาให�กําหนดมูลค&าเป5นจํานวนเต็มในอัตราร�อยละ 5 ของวงเงินหรือราคาพัสดุท่ีจัดหาใน ครั้งนั้นแล�วแต&กรณี เว�นแต&การจัดหาพัสดุท่ีหัวหน�าส&วนราชการเห็นว&ามีความสําคัญเป5นพิเศษจะกําหนด

อัตราสูงกว&าร�อยละ 5 แต&ไม&เกินร�อยละ 10 ก็ได� (ระเบียบพัสดุข�อ 142)

2.2 กรณีหลักประกันสัญญาเป5นหนังสือคํ้าประกัน ให�ส&งสําเนาหนังสือคํ้าประกันให�ธนาคารหรือบริษัทเงินทุนผู�ออกหนังสือคํ้าประกันทราบโดยทางไปรษณีย>ลงทะเบียนตอบรับด�วยหลักประกันสัญญาให�คืนแก&คู&สัญญาหรือผู�คํ้าประกันโดยเร็ว และอย&างช�าไม&เกิน 15 วัน นับแต&วันท่ีคู&สัญญาพ�นจากข�อผูกพันตามสัญญาแล�ว การคืนหลักประกันท่ีเป5นหนังสือคํ้าประกันของธนาคารหรือบริษัทเงินทุน ในกรณีท่ีผู�เสนอราคาหรือคู&สัญญาไม&มารับภายในกําหนดเวลา ให�รีบส&งต�นฉบับหนังสือคํ้าประกันให�แก&ผู�เสนอราคาหรือโดยทางไปรษณีย>ลงทะเบียนโดยเร็ว พร�อมกับแจ�งให�ธนาคารหรือบริษัทเงินทุนผู�คํ้าประกันทราบด�วย (ระเบียบพัสดุข�อ 144)

2.3 การประกันความชํารุดบกพร&องรับประกัน 2 ป̀ และเพ่ิมเติมให�ใช�หนังสือคํ้าประกันของบริษัทเงินทุนเป5นหลักประกันสัญญาได� ในกรณีท่ีสัญญาจ�างมีวงเงินไม&เกิน 10 ล�านบาท (มติครม.มาตรการท่ี 3 หนังสือสร.ท่ี0202 / ว.1 ลว.3 ม.ค.37)

2.4 ให�หวัหน�าส&วนราชการส&งสําเนาสัญญาหรือข�อตกลงเป5นหนังสือ ซ่ึงมีมูลค&าต้ังแต& 1 ล�านบาทข้ึนไปให�สํานักงานตรวจเงินแผ&นดินหรือสํานักงานตรวจเงินแผ&นดินภูมิภาคแล�วแต&กรณี กรมสรรพกรภายใน 30 วัน นบัแต&วันทําสัญญาหรือข�อตกลง (ระเบียบพัสดุข�อ 135)

2.5 เม่ือครบกําหนดส&งมอบพัสดุตามสญัญาหรือข�อตกลง ให�รีบแจ�งการเรียกค&าปรับตามสญัญาหรือข�อตกลงจากคู&สัญญา และเม่ือคู&สัญญาได�ส&งมอบพัสดุให�ส&วนราชการบอกสงวนสทิธิการเรียกค&าปรับในขณะท่ีรับมอบพัสดุนัน้ด�วย (ระเบียบพัสดุข�อ 134)

3. เจาหนาท่ีรับซองสอบราคา(พนักงานพัสดุ) ลงรับโดยไม&เป̂ดซองพร�อมระบุวันเวลาท่ีรับซอง ในกรณีท่ีผู�เสนอราคามายื่นซองโดยตรง ให�ออกไปรับให�แก&ผู�ยื่นซอง และให�ส&งมอบซองให�แก&หัวหน�าเจ�าหน�าท่ีพัสดุทันที [ระเบียบพัสดุข�อ 41(3)]

3.1 ให�หวัหน�าเจ�าหน�าท่ีพัสดุเก็บรักษาซองเสนอราคาทุกรายโดยไม&เป̂ดซอง และเม่ือถึงกําหนดเวลาเป̂ดซองสอบราคาแล�ว ให�ส&งมอบซองเสนอราคา พร�อมท้ังรายงานผลการรบัซองต&อคณะกรรมการเป̂ดซองสอบราคา เพ่ือดําเนินการต&อไป [ระเบียบพัสดุข�อ 41(4)]

3.2 หัวหน�าเจ�าหน�าท่ีพัสดุมอบซองราคากลางป̂ดผนึกเป5นความลบั ส&งมอบให�ประธานกรรมการเป̂ดซองก&อนวนัเป̂ดซองไม&น�อยกว&า 3 วัน

Page 114: Manager

- 112 -

งานอํานวยการ (ต;อ)3.3 หัวหน�าเจ�าหน�าท่ีพัดสุ รวบรวมและจัดทําบันทึก ส&งคณะกรรมการเป̂ดซองสอบราคาดังนี้

3.31 ส&งซองสอบราคา (บัญชีผู�ส&งซองเสนอราคา)

3.32 ใบรับซองเสนอราคาแต&ละราย

3.33 ราคากลางของคณะกรรมการฯ

3.34 ต�นเรื่องการดําเนินการตามข้ันตอนการสอบราคา

4. คณะกรรมการเปcดซองสอบราคา มีหนาท่ี (ระเบียบพัสดุข�อ 42) ดังนี้4.1 เป̂ดซองเสนอราคา และอ&านแจ�งราคาพร�อมบัญชรีายการเอกสารหลกัฐานต&าง ๆ ของผู�เสนอราคาทุกราย

โดยเป̂ดเผย ตามวนัเวลาและสถานท่ีท่ีกําหนด และตรวจสอบรายการเอกสารตามบัญชีของผู�เสนอราคาทุกราย แล�วให�กรรมการทุกคนลงลายมือชื่อกํากับไว�ในใบเสนอราคาและเอกสารประกอบใบเสนอราคาทุกแผ&น

4.2 ตรวจสอบคุณสมบัติของผู�เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล�อกหรือรูปแบบและรายการละเอียดแล�วคัดเลือกผู�เสนอราคาท่ีถูกต�องตามเง่ือนไขในเอกสารสอบราคา

4.3 พิจารณาคัดเลือกพัสดุ หรืองานจ�างของผู�เสนอราคาท่ีถูกต�องตาม 4.2 ท่ีมีคุณภาพและคุณสมบัติเป5น ประโยชน>ต&อทางราชการ และเสนอให�ซ้ือหรือจ�างจากรายท่ีคัดเลือกไว�แล�ว ซ่ึงเสนอราคาตํ่าสุดในกรณี

ท่ีผู�เสนอราคาตํ่าสดุดังกล&าว ไม&ยอมเข�าทําสัญญาหรือข�อตกลง กับส&วนราชการในเวลาท่ีกําหนด ตามเอกสารสอบราคา ให�คณะกรรมการพิจารณาจากผู�เสนอราคาตํ่ารายถัดไป ตามลําดับถ�ามีผู�เสนอราคาเท&ากันหลายราย ให�เรยีกผู�เสนอราคาดังกล&าว มาขอให�เสนอราคาใหม&พร�อมกัน ด�วยวิธียื่นซองเสนอราคา ถ�าปรากฎว&าราคาของผู�เสนอราคารายท่ีคณะกรรมการ เห็นสมควรซ้ือหรือจ�างสูงกว&าวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจ�าง ให�คณะกรรมการเป̂ดซองสอบราคาดําเนินการตามข�อ 5

4.4 ในกรณีท่ีมีผู�เสนอราคาถูกต�องตรงตามรายการละเอียด และเง่ือนไขท่ีกําหนดไว�ในเอกสารสอบราคาเพียงรายเดียวให�คณะกรรมการดําเนินการตาม 4.3 โดยอนุโลม

4.5 ให�คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณาและความเห็นพร�อมด�วย เอกสารท่ีได�รับไว�ท้ังหมด ต&อหัวหน�าส&วนราชการเพ่ือสั่งการ โดยเสนอผ&านหวัหน�าเจ�าหน�าท่ีพัสดุ

5. การซ้ือหรือจางโดยวิธีสอบราคาท่ีปรากฎว;าราคาของผูเสนอราคารายท่ีคณะกรรมการเห็นสมควรซ้ือหรือจางยังสูงกว;าวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจาง ให�คณะกรรมการเป̂ดซองสอบราคาดําเนินการตามลําดับ(ระเบียบพัสดุข�อ 43) ดังนี้

5.1 เรยีกผู�เสนอราคารายนัน้ มาต&อรองราคาให�ต่ําสุดเท&าท่ีจะทําได� หากผู�เสนอราคารายนัน้ยอมลดราคาแล�วราคาท่ีเสนอใหม&สูงกว&าวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจ�างหรือสูงกว&า แต&ส&วนท่ีสงูกว&านั้นไม&เกินร�อยละ 10 ของวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจ�าง หรือต&อรองแล�วไม&ยอมลดราคาลงอีก แต&ส&วนท่ีสูงกว&าวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจ�างนั้นไม&เกินร�อยละ 10 ของวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจ�าง ถ�าเห็นว&าราคาดังกล&าวเป5นราคาท่ีเหมาะสมก็ให�เสนอซ้ือหรือจ�างจากผู�เสนอราคารายนัน้

Page 115: Manager

- 113 -

งานอํานวยการ (ต;อ)5.2 ถ�าดําเนินการตาม 5.1 แล�วไม&ได�ผลให�เรียกผู�เสนอราคาท่ีคณะกรรมการเหน็สมควรซ้ือหรือจ�างทุกรายมา

ต&อรองราคาใหม&พร�อมกัน ด�วยวิธียืน่ซองเสนอราคาภายในกําหนดระยะเวลาอันสมควร หากรายใดไม&มายื่นซองให�ถือว&ารายนั้นยืนราคาตามท่ีเสนอไว�เดิม หากผู�เสนอราคาตํ่าสุดในการต&อรองราคาครั้งนี้เสนอราคาไม&สูงกว&าวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจ�างหรือสงูกว&าแต&ส&วนท่ีสูงกว&านัน้ไม&เกินร�อยละ 10 ของวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจ�าง ถ�าเห็นว&าราคาดังกล&าวเป5นราคาท่ีเหมาะสมแล�ว ก็ให�เสนอซ้ือหรือจ�างจากผู�เสนอราคารายนัน้

5.3 ถ�าดําเนินการ 5.2 แล�วไม&ได�ผล ให�เสนอความเหน็ต&อหัวหน�าส&วนราชการ เพ่ือประกอบการใช�ดุลพินิจว&าสมควรลดรายการ ลดจํานวน หรือลดเนื้องาน หรอืขอเงินเพ่ิมเติม หรือยกเลกิการสอบราคาเพ่ือดําเนินการสอบราคาใหม&

5.4 - กําหนดระยะเวลายืนราคาในใบเสนอราคา ต�องไม&น�อยกว&าระยะเวลายืนราคาในเอกสารสอบราคา กําหนด

- กําหนดส&งมอบงานในใบเสนอราคา ต�องไม&มากกว&าระยะเวลาส&งมอบงานในเอกสารสอบราคากําหนด

- ใบเสนอราคาและเอกสารหลักฐานต�องครบถ�วนถูกต�องตามเง่ือนไขในเอกสารสอบราคาถือเป5นสาระ สําคัญ

6. คณะกรรมการเปcดซองสอบราคา รวบรวมเอกสารและจัดทําบันทึกเสนอหัวหนาส;วนราชการ ผ;านหัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุ ดังนี้

6.1 รายงานผลการเป̂ดซองสอบราคา

6.2 บันทึกผลการตรวจสอบใบเสนอราคา และเอกสารหลักฐานต&าง ๆ ของผู�เสนอราคาแต&ละราย

6.3 จัดทําบัญชีเทียบราคา (รายชื่อผู�เสนอราคา ราคาท่ีเสนอ ยืนราคา กําหนดส&งมอบ ผลการตรวจสอบ หลกัฐานถูกต�องหรือไม&ถูกต�อง ถ�าไม&ถูกต�องให�รายงานเหตุผลในช&องหมายเหตุ และจัดอันดับผู�เสนอราคาถูก ต�องตามเง่ือนไขสอบราคาและเสนอราคาตํ่าสดุเรียงตามลําดับข้ันไป

7. หัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุนําเสนอความเห็นขออนุมัติหลักการหรือขออนุมัติยกเลิก

7.1 เม่ือได�รับอนุมัติหลักการจ�างผู�เสนอราคารายท่ีคัดเลือกได�แล�ว ซ่ึงเสนอราคาตํ่าสุด หวัหน�าส&วนราชการแจ�งผลการเป̂ดซองสอบราคา และกําหนดวันและเวลาทําสัญญา ถึงผู�เสนอราคาตํ่าสุดและเป5นผู�ได�งานจ�างในการสอบราคาครั้งนี้

หากผู�เสนอราคาตํ่าสุดไม&ยอมเซ็นสัญญาตามกําหนดให�ทําบันทึกเร&งรดั และกําหนดวันและเวลาทําสญัญาอีกครั้ง และหากยังไม&ยอมเซ็นสัญญาให�คณะกรรมการพิจารณาจากผู�เสนอราคาตํ่ารายถัดไปตามลําดับ

7.2 เจ�าหน�าท่ีพัสดุตรวจสอบเอกสารหลักฐานต&าง ๆ ก&อนทําสัญญา ดังนี้ - หลักฐานทางการเงิน – รายงานขอจ�างเหมา – คําสั่งแต&งต้ังคณะกรรมการเพ่ือดําเนินการจดัจ�าง - ประกาศสอบราคา – เอกสารแนบท�ายสัญญา – เอกสารแบบใบเสนอราคา

Page 116: Manager

- 114 -

งานอํานวยการ (ต;อ)7.3 เจ�าหน�าท่ีพัสดุพิมพ>สัญญา [ต�นฉบับ – คู&ฉบับ] เพ่ือจัดเตรียมและลงนามสัญญาและตรวจสอบเอกสาร หลักฐานท่ีผู�รับจ�างจัดเตรียมมาดังนี้

- ใบมอบอํานาจลงนามสัญญา (ติดอากรแสตมปsถูกต�อง, ผู�มอบมีอํานาจจริง, ประทับตราถูกต�อง)

- หลกัประกันสัญญา (เป5นไปตามรูปแบบและเง่ือนไข, วงเงินคํ้าประกันถูกต�อง, ติดอากรแสตมปsถูกต�อง)

- ต�นฉบับและคู&ฉบับสัญญาจ�าง (ผู�รบัจ�างป̂ดอากรแสตมปsถูกต�อง ต�นฉบับทุกจํานวนเงิน 1,000 บาท และเศษของ 1,000 บาท ป̂ดอากร 1 บาท คู&ฉบับป̂ดอากร 5 บาท)

7.4 ผู�ว&าจ�างและผู�รับจ�าง ลงลายมือชื่อในสัญญาทุกแผ&น รวมท้ังแบบแปลนแผนผัง, รายการประกอบแบบแปลนพยานท้ังสองฝ[ายลงนาม และมอบสัญญาคู&ฉบับให�ผู�รบัจ�าง

8. เจาหนาท่ีพัสดุจัดส;งสําเนาสัญญาซ่ึงมีมูลค&าต้ังแต& 1 ล�านบาทข้ึนไป ให�สํานักงานตรวจเงินแผ&นดินและกรมสรรพกร ภายใน 30 วนั นับแต&วันทําสญัญาหรือข�อตกลง

9. เม่ือไดรับหลักประกันสัญญา เป_นหนังสือค้ําประกันให�ส&งสําเนาหนังสือคํ้าประกันให�ธนาคารหรือบริษัทเงินทุนผู�ออกหนังสือคํ้าประกันทราบโดยทางไปรษณีย>ลงทะเบียนตอบรับ

3. การดําเนินการจัดซ้ือ / จาง โดยวิธีประกวดราคา

วงเงินเกิน 2,000,000 บาท

วธิีการปฏบัิติ

- พนักงานพัสดุจัดทําเอกสารประกวดราคา ตาม ตัวอย&างท่ีกําหนด หรือแตกต&างได�แต&ให�คงสาระ

สําคัญไว�และไม&ทําให� กปภ. เสียเปรยีบ (ระเบียบฯ ข�อ 44)

- การเผยแพร&และการป̂ดประกาศประกวดราคาให�พัสดุดําเนินการก&อนวนัรับซองไม&น�อยกว&า 20 วนั

การขาย / ให� เอกสารประกวดราคา

- ให�กระทํา ณ สถานท่ีติดต&อสะดวก

- เตรียมเอกสารฯ ให�มากพอ อย&างน�อยรายละ 1 ชุด

- ไม&มีเง่ือนไขการขาย / ให�

- เริ่มขาย / ให� ก&อนวันรับซองไม&น�อยกว&า 10 วนั ช&วงเวลา / ให�ขายไม&น�อยกว&า 10 วัน

- กําหนดราคาขายเอกสารฯ พอสมควรกับค&าใช�จ&ายท่ี กปภ.ต�องเสียไป

- ถ�ามีการยกเลิกประกวดราคา และประกวดราคากันใหม&ให�ผู�ซ้ือ / รับเอกสารฯ ครั้งก&อนใช�

เอกสารฯ นั้น หรือเอกสารใหม& โดยไม&ต�องซ้ือเอกสารฯอีก

Page 117: Manager

- 115 -

งานอํานวยการ (ต;อ)การดําเนินการจัดซ้ือ / จาง โดยวิธีประกวดราคา

ก&อนวันเป̂ดซองประกวดราคา หากมีความจําเป5นต�องชี้แจ�งรายละเอียดเพ่ิมเติม / ต�องแก�ไข Spec, หรือ รายละเอียดท่ีเป5นสาระสําคัญ

- ให�จัดทําเป5นเอกสารฯ เพ่ิมเติม และดําเนินการเผยแพร&เช&นเดิม พร�อมท้ังแจ�งเป5นหนงัสือถึงผู�ซ้ือ / ขอรับเอกสารฯ ไปแล�วทุกราย

- หากเป5นเหตุให�ผู�เสนอราคาไม&สามารถยื่นซองได�ตามกําหนดเดิม ให�เลื่อน วนั เวลา รับซอง / ป̂ด การรบัซอง ตามความจําเป5นด�วย

เม่ือถึงเวลารับซอง หาม ร&น / เลื่อน / เปลีย่นแปลงกําหนดเวลารับซอง และเป̂ดซอง

4. การดําเนินการ “จัดซ้ือ” โดยวิธีพิเศษ

วงเงินเกิน 100,000 บาท

วธิีการปฏบัิติ - ให�หัวหน�าหน&วยงานแต&งต้ังคณะกรรมการจัดซ้ือโดยวธิีพิเศษข้ึนเพ่ือดําเนินการดังนี้

- ซ้ือโดยวิธเีจรจาตกลงราคา

เป5นพัสดุจะขายทอดตลาดโดยส&วนราชการ เป5นพัสดุท่ีต�องซ้ือโดยเร&งด&วน

- ซ้ือโดยเชิญผูขายพัสดุนัน้โดยตรงมาเสนอราคา

เป5นพัสดุท่ีใช�ในราชการลับ

เป5นพัสดุท่ีใช�เฉพาะและมีข�อจํากัดทางเทคนิค

เป5นท่ีดินและสิ่งก&อสร�างเฉพาะแห&ง

เป5นพัสดุท่ีจัดซ้ือโดยวิธีอ่ืนแล�วไม&ได�ผลดี

เป5นพัสดุท่ีต�องการเพ่ิมเติม

- เสนอหัวหนาหน;วยงานส่ังซ้ือโดยตรง

เป5นพัสดุท่ีต�องซ้ือจากต&างประเทศ

การดําเนินการ “จัดจาง” โดยวิธีพิเศษ

วงเงินเกิน 100,000 บาท

วธิีการปฏบัิติ - ให�หัวหน�าหน&วยงานแต&งต้ังคณะกรรมการจัดจ�างโดยวิธีพิเศษข้ึน เพ่ือดําเนินการดังนี้

- เชิญผูรับจางทํางานนัน้โดยตรงมาเสนอราคา

เป5นงานจ�างท่ีต�องจ�างช&างผู�มีฝ`มือ / มีความชํานาญโดยเฉพาะ

เป5นงานจ�างซ&อมท่ีต�องถอดตรวจให�ทราบความชํารุดก&อน

Page 118: Manager

- 116 -

งานอํานวยการ (ต;อ) เป5นงานท่ีต�องกระทําโดยเร&งด&วน เป5นงานท่ีต�องปกป̂ดเป5นความลับ เป5นงานท่ีได�ดําเนินงานจ�างโดยวธิีอ่ืนแล�วไม&ได�ผลดี เป5นงานจําเป5นต�องจ�างเพ่ิมเติม

5. การดําเนินการโดยวิธีกรณีพิเศษ

เป5นการซ้ือ / จ�างจากส&วนราชการซ่ึง

- เป5นผู�ผลิต / รับจ�างเอง และมีการอนุมัติให�ซ้ือ / จ�าง

- มีกฎหมาย / มติ / ครม. กําหนดให�ซ้ือจ�าง กรณีนี้ให�รวมถึงหน&วยงานอ่ืนท่ีมีมติ ครม.กําหนดด�วย

วธิีปฏิบติั

- ให�หวัหน�าหน&วยงาน สั่งซ้ือ / จ�างได�โดยตรงเว�นแต&การซ้ือซ้ือจ�างครั้งหนึ่ง ราคาไม&เกิน 100,000 บาท หวัหน�าเจ�าหน�าท่ีพัสดุสั่งซ้ือสั่งจ�างได�ภายในวงเงินท่ีได�รับความเห็นชอบจาก หวัหน�าหน&วยงาน

6. การดําเนินการจัดซื้อ / จาง โดยวธิีกรณีฉุกเฉิน

เป5นการจัดซ้ือ / จ�าง / เช&า ครั้งหนึ่งมีราคาไม&เกิน 10,000.000 บาท การเช&าอสงัหาริมทรัพย> กระทําได�กรณีอายุไม&เกิน 1 ป̀

วธิีปฏิบติั

- ให�พนักงานพัสดุ / เจ�าหน�าท่ีผู�รับผิดชอบในการปฏิบัติงานนัน้ ดําเนินการดังนี้ ติดต&อผู�ขาย / รับจ�าง / ให�เช&าโดยตรง ดําเนินการไปก&อนภายในวงเงินตามอํานาจผู�มีอํานาจสั่งซ้ือ / จ�าง / เช&า

รีบรายงานผู�มีอํานาจสั่งซ้ือ / จ�าง / เช&านัน้เหน็ชอบ ตรวจรบัตามระเบียบฯ พัสดุต&อไป

การดําเนินการจัดซ้ือจัดจางของพนักงานพัสดุ

1. การพิจารณาวิธีการจัดซ้ือ / จาง

พิจารณาจากวงเงินจดัซ้ือ / จ�าง

- วงเงินไม&เกิน 100,000 บาท ใชวิธีการตกลงราคา

- วงเงินต้ังแต& 100,000 บาท แต&ไม&เกิน 2,000,000 บาท ใชวิธีสอบราคา

- วงเงินต้ังแต& 2,000,000 บาท ใชวิธีประกวดราคา

Page 119: Manager

- 117 -

งานอํานวยการ (ต;อ)ใชวิธีพิเศษ

- การสั่งซ้ือจากส&วนราชการ ใชวิธีพิเศษ

- วิธกีรณีฉุกเฉนิ ตามข�อบังคับ กปภ.

* การพิจารณาวงเงินให�รวมภาษีมูลค&าเพ่ิมด�วย

2. การจัดทํารายงานขอซ้ือ / จาง

ก&อนดําเนินการจดัซ้ือ / จ�างทุกวิธ ีให�พนักงานพัสดุทํารายงานเสนอหวัหน�าหน&วยงาน ตามรายงานท่ี ระเบียบฯ กําหนด 7 รายการ

การจัดซ้ือ / จ�าง โดยวธิีตกลงวงเงินไม&เกิน 10,000 บาท และการซ้ือ / จ�างโดยวธิีพิเศษกรณีเร&งด&วน พนักงานพัสดุ / ผู�รับผิดชอบในการปฏิบัติงานนัน้ จะทํารายงานขอซ้ือ / จ�างเฉพาะรายการท่ีเห็นว&าจําเป5น ก็ได�

เม่ือหัวหน�าหน&วยงาน ให�ความเห็นชอบในรายงานขอซ้ือ / จ�างแล�ว ให�พนักงานพัสดุ ดําเนินการจัดซ้ือ / จ�าง ต&อไปได�

3. การแต;งตั้งคณะกรรมการจัดซ้ือ / จาง

หวัหน�าหน&วยงานเป5นผู�แต&งต้ัง พร�อมกับกําหนดระยะเวลาในการพิจารณาของคณะกรรมการ

คณะกรรมการจัดซ้ือ / จ�าง มีอยู& 7 คณะ ได�แก&

- คณะกรรมการเป̂ดซองสอบราคา

- คณะกรรมการรับและเป̂ดซองประกวดราคา

- คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา

- คณะกรรมการจัดซ้ือโดยวิธีพิเศษ

- คณะกรรมการจัดจ�างโดยวิธีพิเศษ

- คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

- คณะกรรมการตรวจการจ�าง

การจัดซ้ือ / จ�างครั้งเดียวกัน หาม

- แต&งต้ังผู�เป5นกรรมการรับและเป̂ดซองประกวดราคาเป5นกรรมการประกวดราคา

- แต&งต้ังผู�เป5นกรรมการเป̂ดซองสอบราคา หรือกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเป5น กรรมการตรวจรับพัสดุ

Page 120: Manager

- 118 -

งานอํานวยการ (ต;อ) การซ้ือ / จ�าง ในวงเงินไม&เกิน 10,000 บาท

- จะแต&งต้ังพนักงานหรือลูกจ�างประจําคนหนึง่ซ่ึงไม&ใช&เป5นผู�จัดซ้ือ / จ�าง เป5นผู�ตรวจรบัพัสดุ หรือ งานจ�างนั้นได�

มติของกรรมการให�ถือเสียงข�างมาก เว�นแต&คณะกรรมการการตรวจรับพัสดุ / งานจ�าง ให�ถือมติเอกฉันท>

4. การทําสัญญา ขอตกลงหลักประกัน

4.1 สัญญาหรือขอตกลง

การจัดหาในกรณีต&อไปนี้ จะทําข�อตกลงเป5นหนังสือต&อกันก็ได�- การซ้ือ / จ�างโดยวิธตีกลงราคา

- การจัดหาท่ีผู�ซ้ือ / รับจ�าง สามารถส&งมอบพัสดุ ได�ครบถ�วนภายใน 5 วนัทําการนับถัดจากวันทํา ข�อตกลง

- การซ้ือ / จ�าง โดยวธิีพิเศษ และการจดัหาจากส&วนราชการ

- การจัดหาซ่ึงมีราคาไม&เกิน 10,000 บาท หรือกรณีจําเป5นเร&งด&วนตามข�อ 39 วรรค 2 จะไม&ทําข�อ ตกลงเป5นหนังสือต&อไว�กันก็ได�

ให�ส&งสําเนาสัญญา / ข�อตกลงซ่ึงมีมูลค&ามากกว&า 1 ล�านบาท ไปให� สตง./สตง. ภูมิภาค และกรมสรรพากร ภายใน 30 วัน นบัแต&วันทําสัญญา

4.2 หลักประกัน

หลักประกันซอง / สัญญา กําหนดมูลค&าเป5นจํานวนเต็ม 5% ของวงเงินท่ีจัดหาครั้งนัน้ หรือจะกําหนดสูง กว&า แต&ไม&เกิน 10 % ก็ได� หากเหน็ว&ามีความสําคัญ และหากผู�เสนอราคา / คู&สัญญา วางหลักประกันสูง กว&าท่ีกําหนดให�อนุโลมรับได�

ประเภทของหลักประกัน- เงินสด

- เชค็ท่ีธนาคาร

- หนงัสอืคํ้าประกันของบริษัทเงินทุนฯ / บรษัิทเงินทุน / เงินทุนหลกัทรัพย>

- พันธบัตรรัฐบาลไทย

กรณีส&วนราชการ / รฐัวสิาหกิจ

เป5นผู�เสนอราคา / คู&สัญญา ไม&ต�องวางหลักประกัน

Page 121: Manager

- 119 -

งานอํานวยการ (ต;อ)5. การปรับ

กําหนดค&าปรับเป5นรายวนัตายตัว ระหว&างร�อยละ 0.01 – 0.20 ของราคาพัสดุท่ียังไม&ได�ส&งมอบ

การจ�างท่ีต�องการผลสําเร็จของงานท้ังหมดพร�อมกัน

- กําหนดค&าปรับเป5นรายวันตายตัว ในอัตราร�อยละ 0.01 – 0.10 ของราคางานจ�างนั้น แต&ไม&ตํ่ากว&า วนัละ 100 บาท

การสร�างสาธารณูปโภคท่ีมีผลกระทบต&อการจราจร ให�กําหนดค&าปรับร�อยละ 0.25 ของราคางานจ�างนั้น

สิ่งของท่ีประกอบเป5นชุดจึงจะใช�การได� หากส&งมอบภายในกําหนดแต&ไม&ได�ส&งมอบส&วนประกอบ โดยส&ง มอบส&วนประกอบนั้นเกินสัญญา ให�ปรับเต็มราคาท้ังชุดเม่ือครบกําหนดตามสัญญา

- แจ�งการเรียกค&าปรับตามสัญญาหรือข�อตกลงจากคู&สัญญา

- บอกสงวนสิทธิการเรียกค&าปรับในขณะท่ีรับมอบพัสดุนั้น

หากวงเงินค&าปรับเกิน 10% ของวงเงินค&าพัสดุ / ค&าจ�าง ให�บอกเลิกสัญญาเป5นหนังสือหากจะดําเนินการ ต&อต�องยินยอมเสยีค&าปรับโดยไม&มีเง่ือนไข และให�คณะกรรมการฯ พิจารณา

การงด / ลดค&าปรับ / ขยายเวลาทําการ ให�คณะกรรมการฯ พิจารณาได�ตามจํานวนวันท่ีเกิดเหตุข้ึนจริง

- จากความผดิ / ข�อบกพร&องของหน&วยงาน

- เหตุสุดวิสยั

- จากพฤติกรรมท่ีคู&สญัญาไม&ต�องรับผิด

- ให�หน&วยงานระบุไว�ในสญัญา กําหนดให�คู&สัญญาต�องแจ�งเหตุดังกล&าวให�หน&วยงานทราบภายใน 15 วนั นับแต&วนัเกิดเหตุได�สิน้สุดหากไม&แจ�ง จะยกมากล&าวอ�างเพ่ืองด/ลดค&าปรับ/ขยายเวลาทําการ ในภายหลังมิได�

6. การคืนหลักประกัน

- หลกัประกันซอง ให�คืนภายใน 15 วนั นับแต&วันท่ีได�พิจารณาราคาเบ้ืองต�นเรียบร�อย เว�นแต& 3 ราย ตํ่าสุด คืนให�เม่ือทําสัญญา / ข�อตกลงแล�ว

- หลกัประกันสัญญาให�คืนโดยเรว็อย&างช�าไม&เกิน 15 วนั นับแต&วันท่ีคู&สัญญาพ�นข�อผูกพันแล�ว

- คู&สัญญา ไม&มารับภายในวนัท่ีกําหนด ให�รีบส&งต�นฉบับคืนทางไปรษณีย>ลงทะเบียนโดยเร็ว และแจ�ง ผู�คํ้าประกันทราบด�วย

Page 122: Manager

- 120 -งานผลิต

ข้ันตอนการผลิตน้ําประปา

ข้ัจตอนท่ี 1. แหล;งน้ําดิบ 1. น้ําผิวดิน2. น้ําใต�ดิน

โรงสูบน้ําดิบ(แรงต่ํา) หน�าท่ี สูบน้ําดิบจากแหล&งน้ําเพ่ือเข�าสู&ระบบผลิตน้ําประปา มี 2 ประเภท

2.1 ลอยอยู&บนน้ํา (แพสูบน้ําดิบ) ใช�ในกรณีระดับน้ําข้ึน-ลงแตกต&างกันสูงมาก

2.2 ต้ังอยู&บนพ้ืนดิน ใช�ในกรณี ระดับน้ําข้ึน-ลงไม&แตกต&างกันมาก

2.2.1 โรงสูบน้ําบนดิน

2.2.2 โรงสูบน้ําบ&อแห�งโรงสูบน้ําดิบ ประกอบด�วย

1. ตะแกรงดักขยะ มีหน�าท่ีดักขยะท่ีลอยมากับน้ําท่ีอาจอันตรายกับระบบสูบน้ําดิบ

2. ระบบท&อสูบ-ส&งน้ําดิบ มีหน�าท่ี ลําเลยีงน้ําดิบจากแหล&งน้ําดิบไปยังโรงกรองน้ํา

3. ป*�มน้ําดิบ(เครื่องสูบน้ําแรงตํ่า) มีหน�าท่ีสูบน้ําดิบส&งเข�าสู&ระบบท&อส&งน้ําดิบ

4. ระบบไฟฟ8าและการการควบคุมระบบไฟ 3 เฟส มีหน�าท่ี ควบคุมการทํางานเครื่องสูบน้ําและวาล>ว

ข้ันตอนท่ี 2 การกวนผสมเร็วและการสรางตะกอน

ข้ันตอนการปรับปรุงคุณภาพน้ําดิบโดย การเติมสารเคมีเพ่ือช&วยให�ตกตะกอนและปรับค&าความเป5นกรด-ด&าง ของน้ําดิบ

ถังกวนมี 2 ส&วน

1. ถังกวนเร็ว ทําหน�าท่ี กวนสารสร�างตะกอนให�ผสมเข�ากับน้ําดิบอย&างท่ัวถึง และให�น้ําเคลื่อนท่ีเข�าปะทะกันให�มากท่ีสุด โดยท่ัวไปจะใช�เวลาไม&เกิน 1 นาที

กระบวนการสร�างตะกอน คือ กระบวนการเติมสารเคมีลงไปในน้ําเพ่ือทําลายเสถียรภาพอนุภาคคอลลอยด> (destabilization)และให�อนุภาคคอลลอยด>ต&างๆเคลื่อนท่ีมาสัมผสักันให�มากท่ีสดุ

อุปกรณ>กวนเรว็ในระบบประปา

Hydraolic jump

o จุดจ&ายน้ําจะอยู&ทางด�านเหนือน้ําอาศัยความแตกต&างของระดับน้ํา

o การตกกระทบของน้ําเป5นตัวสร�างความป*iนป[วนให�กับน้ํา

Page 123: Manager

- 121 -งานผลิต (ต;อ)

Static Mixer

o จะมีใบพัดติดอยู&ภายในท&อท&อนสั้น ซ่ึงสามารถนําไปต&อเข�ากับท&อน้ําดิบได�โดยตรง

o น้ําดิบท่ีผ&านการจ&ายสารเคมีแล�วไหลผ&านตัวใบพัดทําให�เกิดความป*iนป[วนได�มากเพียงพอสําหรับการกวนเรว็

2. ถังกวนชา เป5นส&วนท่ีอยู&ถัดจากถังกวนเร็วมีหน�าท่ี กวนให�ฟล็อค(floc)จับตัวกันเป5นตะกอนใหญ&ข้ึนมีน้ําหนักมากข้ึน โดยจะลดความเรว็ลงเป5นลําดับ ท้ังนี้อาจจะมีการเติมสารสร�างตะกอน(coagulant)หรือ/และสารช&วยตกตะกอน(coagulant aid)ด�วย โดยท่ัวไปจะใช�เวลา 20-40 นาที

สารเคมีท่ีใชในระบบผลิตน้ําประปา

สารสม เป5นสารเคมีใช�สําหรับสร�างตะกอน(floc) มีท้ังชนิด ก�อน ผง และชนิดน้ํา การเติมสารส�มทําให�น้ําเป5นกรด(เล็กน�อย)

โพลีเมอร9 เป5นสารช&วยสร�างตะกอนให�ดีข้ึน

ปูนขาว/โซดาแอช/โซดาไฟ เป5นสารเคมีท่ีใช�ปรับค&าความเป5นกรด-ด&าง (pH)ในน้ําดิบ ปูนขาวมีหน�าท่ีเพ่ิมค&า pH (เพ่ิมความเป5นด&าง)ให�น้ํา

คลอรีน เป5นสารเคมีท่ีใช�ฆ&าเชื้อโรค/ฆ&าสาหร&าย

ผงถ;านกัมมันต เป5นสารช&วยดูดซับ กลิน่ และสารอินทรยี>ท่ีอยู&ในน้ําดิบ

ข้ันตอนท่ี 3 การตกตะกอนข้ันตอนท่ีน้ําท่ีผสมสารส�มและปูนขาวจะไหลลงสู&ถังตกตะกอน

ถังตกตะกอน ทําหน�าท่ีแยกส&วนท่ีเป5นน้ําใสและตะกอนของสารแขวนลอยโดยทําให�น้ํามีความเร็วตํ่าลงและเพ่ิมเวลาให�นานพอท่ีจะให� floc รวมตัวกันเป5นขนาดใหญ&และมีน้ําหนักมากตกตะกอนสู&ด�านล&างของถัง โดยส&วนของน้ําใสจะไหลไปยังถังกรอง

- โดยน้ําท่ีออกจากถังตกตะกอนเพ่ือไปยังถังกรองจะต�องมีความขุ&นไม&เกิน 10 NTU- ถังตกตะกอนมีระยะเวลากักเก็บประมาณ 2-4 ชัว่โมง

ประเภทของถังตกตะกอน1. ถังตกตะกอนแบบธรรมดา ลักษณะถังเป5นรูปสี่เหลี่ยมผนืผ�า น้ําจะไหลในแนวนอน

2. ถังตกตะกอนแบบมีอุปกรณ>ช&วยตกตะกอน เพ่ือช&วยให�มีระยะเวลาการตกตะกอนนานข้ึนo ถังตกตะกอนแบบแผ&น (Plate Settler )o ถังตกตะกอนแบบท&อหรือรังผึ้ง ( Tube Settler )

การดูแลรักษาถังตกตะกอน : ส&วนของตะกอนเม่ือมีปริมาณมากจะต�องมีการระบายตะกอนออกทางประตูระบายตะกอนเพ่ือให�การตกตะกอนเกิดข้ึนได�ดี

Page 124: Manager

- 122 -งานผลิต (ต;อ)ข้ันตอนท่ี 4 การกรอง

กระบวนการท่ีแยกความขุ&นท่ีเหลือจากการกําจัดด�วยการตกตะกอนและเป5นกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ําทางกายภาพเป5นข้ันสุดท�าย ซ่ึงน้ําท่ีออกจากถังตกตะกอนเข�าสู&ถังกรองมีความขุ&นไม&เกิน 10 NTU และหลังจากท่ีผ&านการกรองแล�วจะเหลือความขุ&นไม&เกิน 5 NTU

ถังกรอง แบ&งเป5น 2 ชนิด

1. การกรองด�วยแรงโน�มถ&วงของโลก

- การกรองช�า ( Slow sond Filtre )

- การกรองเรว็ ( Rapid sond Filtre )

2. การกรองภายใต�แรงดัน ( Pressure Fiter )

สารกรอง ชนิดของสารกรองมีดังนี้

1. ทรายแม&น้ํา Sand

2. ถ&านแอนทราไซด> Coal or Anthracite

3. ถ&านกัมมันต> Activated Cabon : GAC

การจัดเรียงของช้ันสารกรอง

1. สารกรองแบบชั้นเดียว เช&น ทรายอย&างเดียว ความหนา 0.50-0.75 เมตร

2. สารกรองแบบสองชั้น เช&น ทรายความหนา 0.30 เมตร กับแอนทราไซด> ความหนา 0.45 เมตร (ความหนารวม 0.70-1.00 เมตร )

3. สารกรองแบบหลายชั้น เช&น ทราย แอนทราไซด> และถ&านกัมมันต>

หลักสําคัญในการใชถังกรอง

- ความขุ&นท่ีเข�ากรองจะต�องน�อยท่ีสุด เพ่ือยืดการใช�งานของถังกรอง

- การล�างย�อน (Back wash) โดยท่ัวไปจะทําทุกๆ 24-28 ชัว่โมง โดยสังเกตจากระดับน้ําท่ีเพ่ิมสูงข้ึนจากหน�าทราย

- ห�ามหน�าทรายแห�ง หากทรายแห�งจะจับตัวเป5นก�อนไม&สามารถกรองน้ําได�

- หากทรายกรองไม&สามารถกรองน้ําได�ต�องทําการเปลี่ยนทดแทนทันที

- ทรายกรองมีอายุประมาณ 5-10 ป̀ ข้ึนกับการใช�งาน

Page 125: Manager

- 123 -

งานผลิต (ต;อ)ข้ันตอนท่ี 5 การฆ;าเช้ือโรค

เป5นกระบวนการเติมสารเคมีลงในน้ําเพ่ือวัตถุประสงค>ในการฆ&าจุลินทรีย>ซ่ึงเป5นสาเหตุขอโรคต&างๆ โดยสารเคมีท่ีใช�คือ คลอรีน

ในการฆ&าเชื้อโรคจะต�องให�เวลาคลอรีนอยู&ในน้ําอย&างน�อย 30 นาที จะสามารถฆ&าเชื้อโรคได�

คลอรีนท่ี กปภ.ใช�มี 2 ชนิด

- ปูนคลอรีน

- แก็สคลอรีน

ข้ันตอนท่ี 6 การควบคุมคุณภาพน้ําประปา

กระบวนการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ําประปาท่ีผลิตได�เพ่ือให�ได�น้ําประปาท่ีใส สะอาด ปลอดภยั อย&างสมํ่าเสมอ

1. คุณภาพน้ําประปา มาตรฐานการผลิตน้ําประปาท่ีใชในประเทศไทย

มาตรฐานผลติภณัฑ>อุตสาหกรรมน้ําบรโิภค มอก. 257-2521

เล&มท่ี 1 ข�อกําหนดเกณฑ>คุณภาพ

เล&มท่ี 2 การวิเคราะห>และทดสอบ

(ซ่ึงอ�างอิงจาก Guidelines for Drinking Water ,WHO)

การตรวจวัดคุณภาพน้ําประปามีด�วยกัน 3 ด�าน

- ด�านกายภาพ-เคมี

- ด�านแบคทีเรีย

- ด�านสารพิษ(โลหะหนักและยาฆ&าแมลง)

Page 126: Manager

- 124 -

งานผลิต (ต;อ)มาตรฐานการผลิตน้ําประปา

2.1 คุณลักษณะทางกายภาพ

รายการ เกณฑ9ท่ีกําหนดสูงสุด เกณฑ9ท่ีอนโุลมใหสูงสุด- สี (ColourX), Pt-Co unit 5 15- รส (Taste) ไม&เป5นท่ีรังเกียจ ไม&เป5นท่ีรังเกียจ- กลิ่น (Odour) ไม&เป5นท่ีรังเกียจ ไม&เป5นท่ีรังเกียจ- ความขุ&น (Turbidity), NTU 5 20- ความเป5นกรด-ด&าง (pH range) 6.5 ถึง 8.5 ไม&เกิน 9.2

2.2 คุณลักษณะทางเคมี(หน&วยมิลลิกรัม/ลิตร)

รายการ เกณฑ9ท่ีกําหนดสูงสุด เกณฑ9ท่ีอนโุลมใหสูงสุด- ปรอท (Hg) 0.0001 -- ตะก่ัว (Pb) 0.05 -- อาร>เซนิก (As) 0.05 -- เซเลเนียม (Se) 0.01 -- โครเม่ียม (Cr hexavalent) 0.05 -- คัดเม่ียม (Cd) 0.01 -

2.3 คุณลักษณะทางดานสารเป_นพิษ(หน;วยมิลลิกรัม/ลิตร)

รายการ เกณฑ9ท่ีกําหนดสูงสุด เกณฑ9ท่ีอนโุลมใหสูงสุด- ปริมาณสารท้ังหมด (Total solids) 500 1500- เหล็ก (Fe) 0.5 1.0- มังกานสี (Mn) 0.3 0.5- ทองแดง (Cu) 1.0 1.5- สังกะสี (Zn) 5.0 1.5- ความกระด�าง (Total Hardnass) 300 500- คัดเซ่ียม (Ca) 75 200- มักเนเซ่ียม (Ca) 50 150- ซัลเฟต (SO

4) 200 250

- คลอไรด> (Cl) 250 600- ฟลูออไรด> (F) 0.7 1.0- ไนเตรต (NO

3) as NO

345 45

Page 127: Manager

- 125 -

งานผลิต (ต;อ)2.4 คุณลักษณะทางดานจุลชีววิทยา

รายการ เกณฑ9ท่ีกําหนดสูงสุด เกณฑ9ท่ีอนโุลมใหสูงสุด- แสตนดาร>ดเพลตเคานต> 500 -- เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร>มออร>แกนิสซึมต&อ 100 ลูกบาศก>เซนติเมตร

น�อยกว&า 2.2 -

- อีโคไล (E.coll ไม&มี -

อุปกรณ9เบ้ืองตนท่ีควรมีไวประจํา สถานีผลิตน้ํา เพ่ือตรวจสอบคุณภาพน้ําเบ้ืองต�น

1. เครื่องทดสอบจาร>เทสต> ( Jar Test)

2. เครื่องวัดความขุ&น

3. เครื่องวัดพีเอช

4. เครื่องตรวจสอบค&าคลอรีนคงเหลือ

การรักษาคุณภาพน้ําประปา

- ในการผลิตน้ําประปาจะต�องมีการตรวจสอบคุณภาพน้ําเพ่ือให�ได�น้ําประปาท่ีสะอาดและผ&านเกณฑ>มาตรฐานท่ีกําหนด

- คุณภาพน้ําท่ีต�องวัดทุกวัน ได�แก& ความขุ&น ความเป5นกรด-ด&าง คลอรีนคงเหลือปลายท&อ

- คุณภาพน้ําท่ีต�องตรวจทุกเดือนคือ ด�านกายภาพ-เคมี และด�านแบคทีเรยี

- คุณภาพน้ําท่ีต�องตรวจทุกป̀ คือ ด�านโลหะหนัก

การทําจาร9เทสต9 : เพ่ือหาปริมาณสารเคมีท่ีเหมาะสมกับสภาพน้ําดิบท่ีนํามาผลิตน้ําประปา โดยความถ่ีในการทําจาร>เทสต>ข้ึนกับสภาพน้ําดิบ หากน้ําดิบมีสภาพเปลี่ยนแปลงบ&อย ควรจะมีการทําจาร>เทสต>ท่ีบ&อยมากข้ึน แต&อย&างน�อยท่ีสดุต�องทําวนัละ 1 ครั้ง

การใชสารเคมีท่ีเหมาะสมทําใหไดน้ําท่ีมีคณุภาพ โดยมีตนทุนการใชสารเคมีในการผลิตน้ําท่ีต่ํ า : หลักการทําจาร>เทสต> คือการจําลองการทํางานของถังตกตะกอน ซ่ึงเริม่จากการกวนเรว็เพ่ือกระจายสารส�มให�สมํ่าเสมอ การกวนช�า เพ่ือให�สารส�มมีโอกาสเคลื่อนท่ีเข�ารวมกับความขุ&นเพ่ือสร�างฟล็อคและการท้ิงให�ตกตะกอน

Page 128: Manager

- 126 -

งานผลิต ( ต;อ ) อุปกรณ9

1. เครื่องจาร>เทสต> (Jar tester or Mechanical Stirrer ) สามารถปรับรอบการกวนได�ระหว&าง 0-150 รอบต&อนาทีเป5นอย&างน�อย

2. บีกเกอร> ขนาด 1 ลิตร 6 ใบ

3. บีกเกอร> ขนาด 250 มล. 6 ใบ

4. กระบอกตวงขนาด 1000 มล. 1 อัน

5. ป̂เปต ขนาด 5 มล. หรือ 10 มล. 2 อัน

6. เครื่องวัด pH

7. เครื่องวัดความขุ&น

8. ชุดทดสอบหาค&าความเป5นกรด-ด&าง (Alkalinity) และวัดสี

สารเคมี1. สารละลายสารส�ม 1 % เตรียมโดยนําสารส�มหนัก 10 กรัม มาละลายในน้ํากลั่นให�มีปริมาตรเป5น 1 ลติร ซ่ึงสารละลายดังกล&าว 1 มล.(ซี.ซี) จะมีเนื้อสารส�ม 10 มก.

2. สารละลายปูนขาว 0.1 % เตรียมโดยนําปูนขาวหนัก 1 กรัม มาละลายในน้ํากลัน่ให�มีปริมาตรเป5น 1 ลิตร ซ่ึงสารละลายดังกล&าว 1 มล.(ซี.ซี) จะมีเนื้อปูนขาว 1 มก. การนําสารละลายปูนขาวไปใช�ในแต&ละครั้งต�องเขย&าขวด เนื่องจากปูนขาวละลายน้ําได�น�อยมา d

วิธีการทดลอง

1. วัดค&าความเป5นกรด-ด&าง (pH) ความขุ&น สี และความเป5นด&างของ น้ําดิบ

2. ตวงน้ําดิบจํานวน 1 ลิตร ใส&ในบีกเกอร>ท้ัง 6 ใบ วางในเครื่องจาร>เทสต>

3. ปรบัใบพัดกวนห�อยู&สูงจากพ้ืนก�นบีกเกอร>ประมาณ 2.5 นิ้ว ( เพ่ือให�บีกเกอร>มีสภาพเป5น Sludge Zone พ้ืนท่ีท่ีให�ตะกอนท่ีตกตะกอนแล�วมารวม) และตรวจสอบให�ใบพัดจุ&มลงตรงก่ึงกลางปากบีกเกอร> เพ่ือป8องกันป*ญหาการกวนท่ีไม&สมดุลกันในแต&ละด�านของบีกเกอร>

4. เริ่มเดินเครื่องด�วยความเร็ว 100 รอบ/นาที ( กวนเรว็ Rapid Mixing ) แล�วเติมสารส�มลงในบีกเกอร>ท่ี 2-6 พร�อมๆกัน ในปรมิาณท่ีต&างกัน (บีกเกอร>ท่ี1 ไม&ต�องเติมสารส�มเพ่ือใช�เป5นตัวเปรียบเทียบ) ปริมาณของสารละลายสารส�มท่ีเติมจะคํานวณจากความเข�มข�นของสารส�ม ( 1 มิลลิลติรของสารละลายจะมีสารส�ม 10 มก.) เช&น การเติมสารส�มในบีกเกอร>ท่ี 1-6 เท&ากับ 0,10,15,20,25,30 มก/ลิตร)(เทียบเท&ากับ กรัม/ลบ.ม.) จะต�องเติมสารละลายสารส�มความเข�มข�น 1 % ลงไปเท&ากับ 0,1,1.5,2,2.5,3 มิลลิลติร ตามลําดับ การกวนเรว็จะกวนอยู&นานประมาณ 30 วนิาที นับต้ังแต&เริ่มเติมสารละลายสารส�มลงในน้ํา (ต�องเป̂ดใบพัดกวนให�หมุน 100 รอบ/นาที ก&อนเติม)

Page 129: Manager

- 127 -

งานผลิต (ต;อ)

5. เม่ือกวนเร็วครบ 30 วนิาทีแล�วทําการลดความเร็วรอบของการกวนลงเป5น 30 รอบ/นาที (กวนช�า /flocculation ) ซ่ึงเป5นข้ันตอนท่ีสารส�มจะจับตัวกับอนุภาคของความขุ&นทําให�เกิดเป5นตะกอนท่ีมีขนาดใหญ&ข้ึนตามลําดับจนสามารถตกตะกอนได�ด�วยตัวเองตะกอนดังกล&าวมีชื่อเรียกว&า ฟร็อค (Floc) โดยการกวนช�าใช�เวลา 20 นาที

6. ในระหว&างกวนช�า ให�สังเกตลกัษณะของการเกิดฟล็อคว&าเกิดเร็วช�าอย&างไร รวมท้ังขนาดฟล็อคในแต&ละช&วงเวลา ขนาดของฟล็อคแบ&งเป5นหลายขนาดเพ่ือสะดวกในการเปรียบเทียบ โดยท่ัวไปแล�วจขะใช�ขนาดของปลายแหลมของเข็มหมุดให�เป5นขนาดท่ี 1 (เป5นขนาดท่ีเริ่มมองเหน็เม็ดตะกอน) จนถึงขนาดหัวเข็มหมุดซ่ึงเป5นขนาดใหญ&ท่ีสุดให�เป5นขนาด 4 การวัดผลให�จดเวลาการเกิดฟล็อคแต&ละขนาดเปรียบเทียบกันระหว&างบีกเกอร>แต&ละใบ

7. เม่ือกวนช�าครบ 20 นาที ให�หยุดกวนยกใบพัดข้ึนจากน้ําและต้ังท้ิงไว� 30 นาที ข้ันตอนนี้เรยีกการตกตะกอน ( Sedimentation )

8. ครบ 30 นาทีแล�ว ค&อยๆรินน้ําส&วนใส ส&วนบนของแต&ละบีกเกอร>ลงในบีกเกอร>ขนาด 250 มล. โดยต�องระวังไม&ให�ตะกอนท่ีตกอยุ&ข�างล&างฟุ8งข้ึนมา แล�วนําน้ําส&วนท่ีรนิมาตามข้ันตอนดังกล&าวไปตรวจวดัค&า pH ความขุ&น และสี

การใชระยะเวลาและความเร็วรอบในการกวนเครื่องจาร9เทสต9จะแปรเปล่ียนตามท่ีวิศวกรไดคํานวณไวตามความเป_นจริงในระบบประปานัน้

วิธีปกติของระบบประปาโดยท่ัวไป

ขบวนการ ความเร็ว(รอบ/นาที) ระยะเวลากวนเรว็ 100 30 วินาทีกวนช�า 30 20 นาทีต้ังท้ิงไว�ให�ตกตะกอน 30 นาที

การเลือกปริมาณสารสมท่ีเหมาะสม

- เลือกปริมาณสารส�มท่ีน�อยท่ีสุดท่ีทําให�การตกตะกอนท่ีดีท่ีสุด

- สี 10- 20 Pt.Co

- ความขุ&น 5-10 NTU

- pH 6.5-8.5

- ปรมิาณสารเคมีท่ีเหมาะสมจะนําไปควบคุมการจ&ายสารเคมีโดยทําให�มีความคลาดเคลื่อนไม&เกิน +/- 5%

Page 130: Manager

- 128 -

งานผลิต (ต;อ)ผลของการใชสารสมมากไป

- เปลืองเงินและแรงงาน

- การตกตะกอนไม&ดี น้ําขุ&นมัว

- pH ของน้ําตํ่า เกิดการกัดกร&อนของท&อน้ําประปา

ผลของการใชสารสมนอยไป

- การตกตะกอนไม&สมบูรณ>

- น้ําก&อนกรองและน้ําประปามีความขุ&นสูง

- สิน้เปลืองน้ําในการล�างถังกรอง

การทดลองจาร9เทสต9ปูนขาว

เพ่ือต�องการหาอัตราการเติมปูนขาวต�องการพิจารณาว&าต�องการเติมปูนขาว ณ จดุใด

- เติมในน้ําดิบก&อนเติมสารส�ม(กรณีท่ีมีค&าความเป5นด&างตํ่า 20 มิลลิกรัม/ลิตร )คงปริมาณของสารส�มแล�วเปลี่ยนปริมาณของปูนขาวไปเรื่อยๆ

- เติมในการกวนช�าหรือภายหลงัเม่ือสิ้นสุดการกวนช�า (เพ่ือให�ตะกอนปูนขาวตกตะกอนในถังตกตะกอน)

- เติมเม่ือสิ้นสุดขบวนการต&างๆแล�ว เติมปูนขาวในถังน้ําใส แต&อาจทําให�ความขุ&นของน้ําเพ่ิมได�บ�าง

ข้ันตอนท่ี 7 การสูบจ;ายน้ําประปา

การสูบจ&ายน้ําประปาท่ีผลิตได� ให�กับผู�ใช�น้ํา ซ่ึงอาจจะสบูจ&ายท่ีผ&านหอถังสูงหรือการสูบอัดเข�าระบบท&อจ&ายน้ํา

ถังน้ําใส : ทําหน�าท่ีเก็บกักน้ําใสท่ีผ&านการกรองและฆ&าเชื้อแล�วเพ่ือจ&ายน้ําให�ผู�ใช�น้ํา เพราะในบางช&วงเวลา ความต�องการใช�น้ําของผู�ใช�น้ํามีมากกว&ากําลังการผลิต ปริมาณน้ําส&วนท่ีต�องการเกินกว&ากําลังการผลิตนัน้ จะใช�น้ําในถังน้ําใสท่ีเก็บไว�จ&ายออกไป

ระบบจ;ายน้ําประปา แบ&งเป5น 2 แบบ

1. สูบอัดเส�นท&อ - ใช�เครื่องสูบน้ําท่ีมีกําลังสูงสูบน้ําประปาอัดแรงดันเข�าไปในเส�นท&อโดยตรงเพ่ือจ&ายน้ําไปยังบ�านผู�ใช�น้ํา

2. หอถังสูง - ใช�แรงโน�มถ&วงของโลกช&วยเพ่ิมแรงดันให�น้ําสามารถไหลไปยังบ�านผู�ใช�น้ําได�

Page 131: Manager

- 129 -งานผลิต (ต;อ)การวางแผนการบริหารการผลิตของผูจัดการ

วัตถุประสงค9 เพ่ือผลิตน้ําประปาท่ีมีคุณภาพท่ีดี และมีปริมาณเพียงพอต;อความตองการของประชาชน ในตนทุนท่ีเหมาะสม

1.แหล;งน้ําดบิ : น้ําดิบท่ีใช�ในการผลติน้ําประปา จาก แหล&งน้ําใด ปริมาณของน้ําดิบตลอดป̀ มีเพียงพอต&อการผลิตน้ําประปาหรือไม& คุณภาพของน้ําดิบ และต�นทุนของน้ําดิบ

วัตถุประสงค> : เพ่ือใช�วางแผนการจัดหาน้ําดิบให�มีเพียงพอ และการวางแผนการใช�สารเคมีให�เหมาะกับน้ําดิบตามช&วงเวลาท่ีต&างกัน เพ่ือให�ได�คุณภาพน้ําท่ีดี

ท&อสูบน้ําดิบ : หากอยู&ในระดับท่ีเหมาะสม จะได�น้ําท่ีมีคุณภาพท่ีดีจากแหล&งน้ํามาใช�ในการผลติน้ําซ่ึงจะประหยัดค&าสารเคมีในการปรับปรุงคุณภาพน้ําได� ระดับน้ําดิบท่ีมีคุณภาพ

2. ระบบผลิตน้ํา

โรงสูบน้ําแรงตํ่า : ลักษณะโรงสบูน้ําแรงตํ่า เป5นแบบใด

- เครื่องสูบน้ํามีจํานวนก่ีชุด ใช�ระบบใดในการสูบน้ําดิบ

- ประสิทธิภาพเครื่องสูบน้ําแต&ละชุด มีความสามารถในการสบูน้ําดิบได�ในอัตราเท&าไร (ลบม./ชม.)

- อัตราการการสูบน้ําดิบเพ่ือผลิตน้ําในแต&ละวันท่ีเพียงพอต&อการผลิตน้ํา

- อัตราการผลิตน้ําประปาในแต&ละวันของ โรงกรอง

- เวลาในการสูบน้ําดิบของ โรงสูบน้ําแรงตํ่า (ป*จจุบัน)

- การใช�ไฟฟ8าในโรงสูบน้ําดิบ ( หน&วยไฟฟ8า และ ใช�ไฟฟ8าแบบใด )

วัตถุประสงค> : เพ่ือวางแผนการสบูน้ําดิบ ควรจะสบูน้ําดิบในช&วงเวลาใด ท่ีจะทําให�สามารถนําน้ําดิบมาผลิตน้ําประปาให�ได�ทันต&อความต�องการใช�น้ําของประชาชน โดยท่ีใช�ชั่วโมงการสูบน้ําดิบให�น�อยท่ีสดุเพ่ือประหยัดค&ากระแสไฟฟ8า

2.1 ระบบผลิตน้ํา

- ลักษณะของถังกวนเรว็ กวนช�า และถังตกตะกอน ถังน้ําใส ถังสูง เป5นแบบใด

- ประสิทธิภาพของถังกวนช�า อัตราการไหลของน้ําในถังกวนช�าเป5นไปอย&างสมํ่าเสมอหรือไม&

- ประสิทธิภาพของถังตกตะกอน ตรวจสอบ การตกตะกอนเป5นไปตามหลกัวิศวกรรมหรือไม& อัตราการไหลของน้ําเข�าสู&ถังกรอง(ระยะเวลาในการตกตะกอน) โดยการตรวจสอบความขุ&นก&อนเข�ากรอง

- ประสิทธิภาพของ ถังกรอง/หม�อกรอง ตรวจสอบ ระยะเวลาในการกรอง ความขุ&นหลังผ&านการกรอง ความถ่ีและเวลาท่ีใช�ในการล�างทําความสะอาดทราย

Page 132: Manager

- 130 -

งานผลิต (ต;อ)วัตถุประสงค> : เพ่ือวางแผนการควบคุมคุณภาพน้ํา วางแผนการจ&ายสารเคมีท่ีเหมาะสมในการปรับคุณภาพน้ําตาม ลักษณะของประสิทธิภาพของระบบผลิตของ กปภ.สาขา เพ่ือหาจุดท่ีจะลดต�นทุนในการใช�สารเคมี

- ถังน้ําใส ถังสูง มีขนาดความจุเท&าไร เพ่ือวางแผนการผลติน้ําสํารองในช&วงระยะเวลาท่ีมีความต�องการการใช�น้ําเร&งด&วน และหากใช�ไฟฟ8า ระบบ TOU จะนํามาพิจารณาในการใช�ผลิตน้ําตามช&วงเวลา

3.ระบบจ;ายน้ํา

- ระบบการจ&ายน้ําของ กปภ.สาขา เป5นแบบสูบอัดในเส�นท&อหรือจ&ายจากถังสูง

โรงสูบน้ําแรงสูง

- เครื่องสูบน้ํามีจํานวนก่ีชุด ขนาดของเครื่องสูบน้ําแต&ละชุด

- ประสิทธิภาพเครื่องสูบน้ําแต&ละชุด มีความสามารถในการจ&ายน้ํา อัตราเท&าไร (ลบม./ชม.)

- อัตราการจ&ายน้ําท่ีเพียงพอต&อความต�องการของผู�ใช�น้ํา

- อัตราการจ&ายน้ําระปาผ&านมาตรวัดน้ําหลกัในแต&ละชั่วโมง แต&ละวัน

- การเดินเครื่องสูบน้ําแรงสูง ในแต&ละช&วงเวลาของวัน อัตราการจ&ายน้ําและระดับแรงดันท่ีจ&ายน้ําออกไปสู&ระบบจ&ายน้ํา

- วตัถุประสงค> : เพ่ือวางแผนการจ&ายน้ําออกสู&ระบบจ&ายให�เพียงพอต&อความต�องการของ ผู�ใช�น้ํา และเกิดการสูญเสียน้ําน�อยท่ีสดุ

4.การควบคุมคุณภาพน้ํากปภ.สาขา ต�องเฝ8าระวังและวิเคราะห>คุณภาพน้ําในทุกข้ันตอนของกระบวนการผลิต ต้ังแต&ระบบน้ําดิบ

น้ําดิบหลังเติมสารเคมี น้ําก&อนกรอง น้ําหลังกรอง น้ําประปา และน้ําในระบบจ&าย

น้ําดิบ จุดเก็บน้ําตัวอย&างมี 2 จุด คือ

1. เหนือจุดสูบน้ําดิบประมาณ 5 กม. ความถ่ี 1 ครั้ง/เดือน

2. จุดสูบน้ําดิบ(แรงตํ่า) ความถ่ี 1 ครัง้/วัน

* ตรวจวดั pH ความขุ&น สี กลิ่น

น้ําในระบบผลิต จุดเก็บน้ําตัวอย&างมี 3 จุด คือ

1. น้ําดิบหลังเติมปูนขาว น้ําดิบหลังเติมสารส�ม ตรวจวดัค&า pH

2. น้ําก&อนเข�ากรอง ตรวจวัดค&า pH และ ความขุ&น

3. น้ําหลังกรอง ตรวจวดัความขุ&น

* ความถ่ี 3 ครั้ง / วัน ตรวจวัด pH ความขุ&น สี กลิ่น

Page 133: Manager

- 131 -

งานผลิต (ต;อ)น้ําประปา จุดเก็บน้ําตัวอย&างมี 4 จุด คือ

1. น้ําท่ีออกจากถังน้ําใส 1 จุด

2. น้ําในระบบจําหน&าย 3 จุด แบ&งเป5น

- ห&างจากโรงกรอง 1.5 ก.ม. 1 จุด

- ปลายเส�นท&อเข�ามา 1 ก.ม. 2 จุด

* ความถ่ี ตรวจวัด pH ความขุ&น สี คลอรีนคงเหลือ

* ความถ่ี 3 ครั้ง / วนั

วัตถุประสงค> : เพ่ือควบคุมให�น้ําประปามีคุณภาพท่ีดี อย&างสมํ่าเสมอ

Page 134: Manager

- 132 -งานผลิต (ต;อ)

ตารางแสดงการควบคุมคุณภาพน้ําในแหล;งน้ํา

ลําดับท่ี ป̂ญหาคุณภาพน้ําดิบ การควบคุมเบ้ืองตน วิธกีารแกไขป̂ญหา

1

2

กรณีน้ําดิบจากอ&างเก็บน้ํา

มีสีกลิ่นเหม็นของวัชพืชเน&าเม่ือน้ําขังในช&วงฝนตกหนักมีสาหร&ายเจริญเติบโต

- ประสานงานเบ้ืองต�นกับเจ�าหน�าท่ี กรมชลประทานเพ่ือทําการระบายน้ําจากก�นอ&าง ฯ- สังเกตน้ําดิบด�วยสายตา หากพบความผิดปกติเช&น มีสี กลิ่น หรือปลาตาย ให�เก็บตัวอย&างน้ําและปลาส&งตรวจทันที- ตรวจวดัคุณภาพน้ําทางด�านกายภาพ เคมี ดัชนีมลภาวะและสารเป5นพิษ

- เติมอากาศร&วมกับเติมคลอรีน (Pre-Chloriation) ในน้ําดิบ- เติมอากาศร&วมกับการเติมคลอรีน (Pre-Chloriation) ในน้ําดิบ และใช�ถ&านกัมมันต>ชนิดผงเติมหลังการเติมสารส�ม

3 มีค&า PH และ DO ตํ่า เนือ่งจากรับน้ําบริเวณก�นอ&างเก็บน้ํา

- ตรวจวดัคุณภาพน้ําทางด�านกายภาพ เคมี ดัชนีมลภาวะและสารเป5นพิษ

- เติมปูนขาวในน้ําดิบหลังเติมอากาศ เพ่ือปรับ pH ให�อยู&ในช&วง 6.8-7.4

4 มีเหล็ก มังกานิสสูง และกลิ่นเหม็นในช&วงฤดูแล�ง

- ประสานงานเบ้ืองต�นกับเจ�าหน�าท่ีกรมชลประทาน เพ่ือทําการระบายน้ําจากก�นอ&าง ฯ- ตรวจวดัคุณภาพน้ําทางด�านกายภาพเคมี ดัชนีมลภาวะและสารเป5นพิษ

ในกรณนี้ําดิบมี Mn ไม;มากกว;า 0.3 มก./ล.- เติมอากาศร&วมกับการเติมคลอรีน (Pre-Chloriation) ในน้ําดิบ หรือเติมคลอรีนก&อนกรอง (Intermediate Chlorine)ในกรณนี้ําดิบมี Mn มากกว;า 0.3 มก./ล.- เติมอากาศร&วมกับการเติมด&างทับทิม คลอรีน (Pre-Chloriation) และสารส�มการแกไขป̂ญหาระยะยาว- ควรเปลี่ยนจุดรับน้ําดิบให�ลึกจากผวิน้ําประมาณ 1 เมตร

5

กรณีน้ําผวิดินอ่ืน เช&น แม&น้ําลําคลอง ห�วยหนองขุ&นสูงในฤดูฝน

- ใช�สารช&วยตกตะกอนร&วมกับสารส�ม- ใช�สารช&วยตกตะกอนร&วมกับ PACI- ลดกําลังผลติ

- ควรมีสระพักน้ําของสํานกังานประปา เพ่ือให�ความขุ&นลดลงก&อนสูบเข�ามาในระบบผลิตน้ํา- สร�างเครือข&ายในพ้ืนท่ี เพ่ือเฝ8าระวังและแก�ไขคุณภาพน้ําได�ทันเหตุการณ>

Page 135: Manager

- 133 -

งานผลิต (ต;อ)

ลําดับท่ี ป̂ญหาคุณภาพน้ําดิบ การควบคุมเบ้ืองตน วิธกีารแกไขป̂ญหา

6 มีความขุ&นและสีสูงจากดินกระจายตัว

- ก&อนขุด/ขยายสระพักน้ําดิบ ควรเก็บตัวอย&างดินส&งให�หน&วยงานี่มีความชํานาญ เช&น กรมชลประทาน ตรวจวิเคราะห>สภาพดิน เพ่ือแก�ไข/ป8องกันน้ํามีความขุ&นสงู- กรณีขุดสระพักน้ําดิบไปแล�ว พบว&าคุณภาพน้ํามีความขุ&นและสสีูง

- หากพบเป5นดินกระจายตัว ต�องนําปูนขาวไปบดอัดผสมกับดินใหัว่ท้ังสระพักเก็บน้ําดิบ ตามอัตราส&วนี่กรมชลฯ แนะนํา/ทดลอง- เติมปูนขาวลงในสระพักน้ําดิบ ให�ความขุ&นลดลง ไม&เกิน 50 NTU และ pH สูงข้ึนประมาณ 10 แล�วจึงสูบน้ําดิบ เติมสารส�มในปริมาณ่ีเหมาะส

7 ได�รบัการปนเป��อนจากน้ําเสียจากชุมชนเกษตรกรรมและโรงงานอุตสาหกรรม

- สังเกตน้ําดิบ หากพบความผดิปกติ เช&นมีสี กลิ่น หรือปลาตาย ให�เก็บตัวอย&างน้ํา และปลาส&งตรวจทันที-ตรวจวัดคุณภาพน้ําทางกายภาพ เคมี ดัชนีมลภาวะและสารเป5นพิษ- สํานักงานรายงานประปารายงานข�อมูลให� ปปข. และส&วนกลางรับทราบและร&วมแก�ไขป*ญหา

- ติดตามประเมินข�อมูลคุณภาพน้ํา เพ่ือใช�เป5นข�อมูลในการประสานกับหน&วยงานท่ีเก่ียวข�อง เพ่ือขอความร&วมมือใช�กฎหมายคุ�มครองในการกําหนดเป5นเขตอนุรักษ>แหล&งน้ํา- ติดต้ังเครื่องมือตรวจคุณภาพน้ําชนิดอัตโนมัติให�กับสํานักงานประปาในกลุ&มเสี่ยง

8

กรณีน้ําดิบจากบ&อบาดาล

มีเหล็กและมังกานิสสูง - ตรวจวดัคุณภาพน้ําทางด�านกายภาพ เคมี และสารเป5นพิษ

กรณีไม;มีระบบการตกตะกอนและมังกานิส นอยกว;า 0.3 มก ./ ล . - เติมอากาศร&วมกับการเติมคลอรีนใน

น้ําก&อนเข�ากรอง

กรณีไม;มีระบบการตกตะกอนและมังกานิส มากกว;า 0.3 มก ./ ล . - เติมอากาศร&วมกับการเติมคลอรีนในน้ําก&อนเข�าถังกรอง 2 ถังกรอง (Double Filtration)

กรณีไม;มีระบบการตกตะกอนและมังกานิส มากกว;า 0.3 มก ./ ล . มีระบบ การตกตะกอนและมังกานิส- วธิีการแก�ไขป*ญหาเช&นเดียวกับข�อ 4

Page 136: Manager

- 134 -

งานผลิต (ต;อ)

ลําดับท่ี ป̂ญหาคุณภาพน้ําดิบ การควบคุมเบ้ืองตน วิธกีารแกไขป̂ญหา

9 มีความกระด�างสูง - ตรวจวดัคุณภาพน้ําทางด�านกายภาพ เคมี และสารเป5นพิษ

- ใช�ระบบ RO/เปลี่ยนแหล&งน้ําดิบ

10 มีฟลูออไรด>สูง - ตรวจวดัคุณภาพน้ําทางด�านกายภาพ เคมี และสารเป5นพิษ

- กําจัดด�วยระบบ RO/ เปลี่ยนแหล&ง

น้ําดิบใหม&

11 มีคลอไรด>สูง - ตรวจวดัคุณภาพน้ําทางด�านกายภาพ เคมี และสารเป5นพิษ

- กําจัดด�วยระบบ RO/ เปลี่ยนแหล&ง

น้ําดิบใหม&

12 มีโลหะหนกัสูง เช&น ตะก่ัว

หรือสารหนู

- ตรวจวดัคุณภาพน้ําทางด�านกายภาพ เคมี และสารเป5นพิษ

- ควรมีระบบตกตะกอน- เปลี่ยนแหล&งน้ําดิบใหม&

Page 137: Manager

- 135 -งานผลิต (ต;อ)

ตารางแสดงการควบคุมคุณภาพน้ําในแหล;งน้ํา

ลําดับท่ี ป̂ญหาคุณภาพน้ําดิบ การควบคุมเบ้ืองตน วิธีการแกไขป̂ญหา

1 สี

- น้ํามีสีสูง

- ตรวจวดัคุณภาพน้ํา

ทางด�านกายภาพ เคมี

แบคทีเรีย ดัชนีมลภาวะ

และสารเป5นพิษ

- ตรวจสอบชนดิและปริมาณสารเคมีท่ีใช�ในกระบวนการตกตะกอน - เติมถ&านกัมมันต>ชนิดผงใน

น้ําดิบ หรือ กรองผ&านถังกรอง ท่ีมีชั้นถ&านกัมมันต>ชนิดเกล็ด+ทราย

2 กล่ิน

- น้ํามีกลิ่นสาหร&าย แก�ส

3 ความขุ;น

- น้ํามีความขุ&นมากกว&า 5

NTU

- ตรวจสอบชนิดและปริมาณสารเคมีท่ีใช� โดยทําจาร>เทสต>ใหม& เปรียบเทียบผลคุณภาพน้ําท่ีได�จากจาร>เทสต>กับถังตกตะกอน- ตรวจสอบปริมาณการเตรียม-อัตราจ&ายสารเคมี- ตรวจสอบประสทิธิภาพระบบการกรองและคุณลักษณะของทรายกรอง กรวด- ให�ระบายน้ําในถังตกตะกอนท้ิงให�หมด แล�วทําความสะอาดถังตกตะกอน- ตรวจสอบว&าไม&มีการรวมตัวของตะกอนในโซนใดมากกว&ากัน ถ�ามีให�ระบายท้ิงและทําความสะอาดถัง- ตรวจสอบสภาพเส�นท&อประปาว&ามีการชํารุด ท&อแตก ท&อรัว่- ระบายตะกอนในท&ออย&างสมํ่าเสมอ

4 PH

- pH ไม&ผ&านเกณฑ> 6.5-8.5- น้ําประปารสชาติไม&ชวนด่ืม- เกิดการกัดกร&อนในเส�น&อ

Page 138: Manager

- 136 -

งานผลิต (ต;อ)

ลําดับท่ี ป̂ญหาคุณภาพน้ําดิบ การควบคุมเบ้ืองตน วิธีการแกไขป̂ญหา

5 เหล็กและมังกานิส

- ทําให�สุขภัณฑ> หรือเสื้อผ�ามีคราบสีน้ําตาล- มีหลิ่นสนิมรสชาติไม&ชวนด่ืม

- ตรวจสอบสาเหตุและปริมาณการใช�สารเคมีท่ีเหมาะสมในระบบผลิต- เติมอากาศ และ/หรือ เติมคลอรนี (Prechlorination) ในน้ําดิบ- ระบายตะกอนในเส�นท&ออย&างสมํ่าเสมอ

6 ค&าคลอรีนคงเหลือ

- มีค&าคลอรีนอิสระคงเหลือ

- ตรวจวดัคุณภาพน้ํา ทางด�านกายภาพ เคมี และแบคทีเรีย

- ตรวจสอบเครื่องจ&ายและปรมิาณการจ&ายคลอรีน - เติมคลอรีน (Post Chlorination) ให�มีค&าคลอรนีอิสระคงเหลือ ท่ีต�นทางประมาณ 0.8-2.5 มก./ล. ท่ีปลายทางไม&น�อยกว&า 0.2 มก./ล. - ระบายตะกอนในบริเวณปลายท&อ (ผู�ใช�น้ําน�อย) - เพ่ิมสถานีจ&ายคลอรีนในระบบจ&าย

7 แบคทีเรีย

- พบเชื้อแบคทีเรียในน้ํา

- ตรวจวดัคุณภาพน้ํา ทางด�านแบคทีเรีย

Page 139: Manager

- 137 -

งานผลิต (ต;อ)หลักการใชมิเตอร9ไฟฟpา

อัตราตามช;วงเวลาการใช (Time of Use Rate : TOU)

4. อัตราค;าไฟฟpา มีท้ังหมด 8 ประเภท แต;ท่ี กปภ.ใชหลักๆ มี 2 ประเภท ประกอบดวย

1. ประเภทท่ี 2 : กิจการขนาดเล็ก

สําหรับการใช�ไฟฟ8า ท่ีมีความต�องการพลังไฟฟ8าเฉลี่ยสูงสุดใน 15 นาที (ดีมานด>) มีค&า ตํ่ากว&า 30 กิโลวัตต> แบ&งเป5น

- ประเภทท่ี 2 อัตราปกติ หรือ 2.1.1

- ประเภทท่ี 2 อัตราตามช&วงเวลาการใช� : TOU หรือ 2.2.1

2. ประเภทท่ี 3 : กิจการขนาดกลาง

สําหรับการใช�ไฟฟ8า ท่ีมีความต�องการพลังไฟฟ8าเฉลี่ยสูงสุดใน 15 นาที (ดีมานด>) มีค&าต้ังแต& 30 กิโลวตัต>ข้ึนไป แบ&งเป5น

- ประเภทท่ี 3 อัตราปกติ หรือ 3.1.2

- ประเภทท่ี 3 อัตราตามช&วงเวลาการใช� : TOU หรือ 3.2.2

2. เปรียบเทียบช่ัวโมงการทํางานในอัตรา TOU

ก. สําหรับเดือนท่ีมี 30 วนั

ใน 1 วัน มี 24 ชัว่โมง

ฉะนั้น ใน 1 เดือน = 30x24 = 720 ชัว่โมง

ข. ใน 1 เดือน มีวันทํางานตามปกติ = 22 วัน

มีวันหยุดนับเฉพาะ เสาร>-อาทิตย> = 8 วัน

ช&วง Peak : วนัจันทร>-ศุกร> เวลา 09.00-22.00 น.

ช&วง Peak : ของแต&ละวัน = 13 ชัว่โมง

ใน 1 เดือน มีช&วง Peak = 22x13 = 286 ชั่วโมง

ค. ใน 1 เดือน มีช&วง Peak = 286/720 = 39.72% หรือประมาณ 40%

ง. ฉะนั้น ใน 1 เดือน มีช&วง Off Peak ประมาณ 60%

จ. วิธีการคิดเช&นเดียวกัน

Page 140: Manager

- 138 -

งานผลิต (ต;อ)ช&วง Off Peak : วันจันทร>-ศุกร> เวลา 22.00-09.00 น. วนัเสาร> วนัอาทิตย> และวันหยุดราชการตาม

ปกติท้ังวัน (ไม&รวมวนัหยุดชดเชย)

ช&วง Off Peak ของวันทํางานปกติแต&ละวัน= 11 ชัว่โมง

ช&วง Off Peak ของวันทํางานปกติ= 22x11 = 242 ชัว่โมง

ช&วง Off Peak ของวันเสาร>-อาทิตย> =8x24 = 192 ชัว่โมง

ใน 1 เดือน มีช&วง Off Peak =242+192 = 434 ชั่วโมง

ใน 1 เดือน มีช&วง Off Peak =434/720 =60.28% หรือ ประมาณ 60%

3. ประเภทท่ี 2 : กิจการขนาดเล็ก ไม&เก็บค&ามีมานด> เก็บเฉพาะค&าพลังงานไฟฟ8า (หน&วยไฟฟ8า)

ก . อัตราตามช&วงเวลาการใช� : TOU

- ช&วง Peak : วนัจันทร>-ศุกร> เวลา 09.00-22.00 น.

- ค&าไฟฟ8าช&วง Peak หน&วยละ = 4.5827 บาท

- ช&วง Off Peak : วนัจันทร>- ศุกร> เวลา 22.00-09.00 น.

วันเสาร> วนัอาทิตย> และวันหยุดราชการตามปกติท้ังวนั (ไม&รวมวันหยุดชดเชย)

- ค&าไฟฟ8าช&วง Off Peak หน&วยละ = 2.1495 บาท

ข . ส&วนค&าไฟฟ8า อัตราปกติ ราคาเดียวตลอดท้ังวัน

- ค&าไฟฟ8าหน&วยละ = 3.4230 บาท

4. เปรียบเทียบค;าพลังงานไฟฟpา TOU กับ ปกติ ประเภทท่ี 2

ก . ในกรณีใช�ไฟฟ8า ช&วง Peak : Off Peak = 40:60 คือ กรณีใช�ไฟฟ8า 100 หน&วย เป5นช&วง Peak 40 หน&วย หรือ 40% เป5นช&วง Off Peak 60 หน&วย หรือ 60 %

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ = (4.5827x0.40)+(2.1495x0.60) = 3.1228 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ 3.4230

สรุป ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU จะถูกกว&าอัตราปกติเฉลี่ยถูกกว&าหน&วยละ 3.4230-3.1228 = 0.3002 บาท หรือ ประมาณหน&วยละ 30 สตางค>

ข. ในกรณีใช�ไฟฟ8า ช&วง Peak : Off Pesk = 30:70 คือ กรณีใช�ไฟฟ8า 100 หน&วย สามารถลดการใช�ไฟฟ8าใน ช&วง Peak ให�ลดลงอีกเหลือเพียง 30 หน&วย หรือ 30 % เป5นช&วง Off Peak เท&ากับ 70 หน&วย หรือ 70%

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ = (4.5827x0.30)+(2.1495x0.70) = 2.8795 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ 3.4230

สรุป ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU จะถูกกว&า อัตราปกติเฉลี่ยถูกกว&าหน&วยละ =3.4230-2.8795 = 0.5435 บาท หรือประมาณหน&วยละ 50 สตางค>

Page 141: Manager

- 139 -

งานผลิต (ต;อ)ค . ในกรณีใช�ไฟฟ8าช&วง Peak : Off Peak = 20:80 คือ กรณีใช�ไฟฟ8า 100 หน&วย สามารถลดการใช�ไฟฟ8าใน

ช&วง Peak ให�ลดลงอีกเหลือเพียง 20 หน&วย หรือ 20 % เป5นช&วง Off Peak เท&ากับ 80 หน&วย หรือ 80%

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ = (4.5827x0.20)+(2.1495x0.80) = 2.6361 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ 3.4230

สรุป ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU จะถูกกว&า อัตราปกติเฉลี่ยถูกกว&าหน&วยละ =3.4230-2.6361 = 0.7869 บาท หรือประมาณหน&วยละ 80 สตางค>

ง . ในกรณีใช�ไฟฟ8า ช&วง Peak : Off Pesk = 10:90 คือ กรณีใช�ไฟฟ8า 100 หน&วย สามารถลดการใช�ไฟฟ8าใน ช&วง Peak ให�ลดลงอีกเหลือเพียง 10 หน&วย หรือ 10 % เป5นช&วง Off Peak เท&ากับ 90 หน&วย หรือ 90%

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ = (4.5827x0.10)+(2.1495x0.90) = 2.3928 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ 3.4230

สรุป ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU จะถูกกว&า อัตราปกติเฉลี่ยถูกกว&าหน&วยละ =3.4230-2.3928 = 1.0302 บาท หรือประมาณหน&วยละ 1 บาท

จ . ในกรณีใช�ไฟฟ8าช&วง Peak : Off Peak = 0:100 คือ กรณีท่ีกําลังผลิตยังเหลือมากๆ โดยเฉพาโรงสูบน้ําแรง ตํ่า สามารถใช�ไฟฟ8าในช&วง Off Peak เพียงอย&างเดียว

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ = (4.5827x0.00)+(2.1495x1.00) = 2.1495 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ 3.4230

สรุป ค;าพลังงานไฟฟpา อัตรา TOU จะถูกกว;า อัตราปกติเฉล่ียถูกกว;าหน;วยละ = 3.4230-2.1495 = 1.2735 บาท หรือประมาณหน;วยละ 1.27 บาท

ฉ. จากข�อมูลข�างต�น จงึสรปุได�ว&า อัตรา TOU ประเภทท่ี 2

ช&วง Peak : Off Peak = 40:60 ถูกกว&าหน&วยละ 30 สตางค>

ช&วง Peak : Off Peak = 30:70 ถูกกว&าหน&วยละ 50 สตางค>

ช&วง Peak : Off Peak = 20:80 ถูกกว&าหน&วยละ 80 สตางค>

ช&วง Peak : Off Peak = 10:90 ถูกกว&าหน&วยละ 1 บาท

ช&วง Peak : Off Peak = 0:100 ถูกกว&าหน&วยละ 1.27 บาท

ช. สรุป ค;าพลังงานไฟpา ประเภทท่ี 2 อัตรา TOU จะถูกกว;าประเภทท่ี 2 อัตราปกติทุกกรณี (ถาใชไฟฟpาในอัตรา TOU ไดอย;างถูกตอง

ดังนั้น การประปาเล็กๆ กําลงัผลิตน�อยๆ และใช�ไฟฟ8าในประเภทท่ี 2 อัตราปกติ ท่ีกําลังผลิตยังเหลือ โดยเฉพาะโรงสูบน้ําแรงตํ่า ท่ีเดินเครื่องสูบน้ําดิบเข�าสู&ระบบผลิตไม&ถึง วันละ 11 ชั่วโมง ซ่ึงสามารถใช�ไฟฟ8าในช&วง Off Peak เพียงอย&างเดียวได� ซ่ึงค&าไฟฟ8า อัตรา TOU ถูกกว&าอัตราปกติ หน&วยละประมาณ 1.27 บาท เห็นควรพิจารณาเปลี่ยนมิเตอร>ไฟฟ8าเป5น อัตรา TOU ซ่ึงค&าไฟฟ8าถูกกว&าต&อไป

Page 142: Manager

- 140 -

งานผลิต (ต;อ)5. ประเภทท่ี 3 : กิจการขนาดกลาง

เก็บท้ัง ค&าดีมานด> และ ค&าพลังงานไฟฟ8า (หน&วยไฟฟ8า)

5.1 ค;าดีมานด9

ก. อัตราตามช&วงเวลาการใช� :TOU

- ช&วง Peak : วนัจันทร>-ศุกร> เวลา 09.00-22.00 น.

- ค&าดีมานด> ช&วง Peak กิโลวตัต>ละ = 132.93 บาท

- ช&วง Off Peak : วันจันทร>- ศุกร> เวลา 22.00-09.00 น. วันเสาร> วนัอาทิตย> และวันหยุดราชการตามปกติท้ังวนั (ไม&รวมวันหยุดชดเชย)

- ค&าดีมานด>ช&วง Off Peak ไม&คิดเงินใช�มากเท&าใดก็ได�

ข. ส&วนอัตราปกติ คิดค&าดีมานด>ราคาเดียวกัน ตลอดท้ังวนั

- ค&าดีมานด> กิโลวัตต>ละ = 196.26 บาท

ค. เปรยีบเทียบค&าดีมานด> อัตรา TOU กับอัตราปกติ

- ค&าดีมานนด> อัตรา TOU กิโลวัตต>ละ = 132.93 บาท

- ค&าดีมานด> อัตราปกติ กิโลวตัต>ละ = 196.26 บาท

ค;าดีมานด9แบบไหนถูกกว;ากัน อัตรา TOU ถูกกว;า

สรุป ค;าดีมานด9 อัตรา TOU ถูกกว;า อัตราปกติ กิโลวัตต9ละ = 196.26-132.93 = 63.33 บาท

ค;าพลังงานไฟฟpา (หน;วยไฟฟpา)

ก. อัตราตามช&วงเวลาการใช� :TOU

- ช&วง Peak : วันจันทร>-ศุกร> เวลา 09.0-22.00 น.

- ค&าพลังงานไฟฟ8าช&วง Peak หน&วยละ = 3.7731 บาท

- ช&วง Off Peak : วันจันทร>- ศุกร> เวลา 22.00-09.00 น. วนัเสาร> วนัอาทิตย> และวนัหยุดราชการปกติท้ังวนั(ไม&รวมวันหยุดชดเชย)

- ค&าพลังงานไฟฟ8าช&วง Off Peak หน&วยละ = 2.2695 บาท

ข. ส&วนค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ ราคาเดียวตลอดท้ังวัน

- ค&าพลังงานไฟฟ8า หน&วยละ = 2.7815 บาท

Page 143: Manager

- 141 -

งานผลิต (ต;อ)4. เปรยีบเทียบค&าพลังงานไฟฟ8า TOU กับปกติ ประเภทท่ี 3

ก. ในกรณีใช�ไฟฟ8า ช&วง Peak : Off Peak = 40 : 60 คือ กรณีใช�ไฟฟ8า 100 หน&วย เป5นช&วง Peak 40 หน&วย หรือ 40% เป5นช&วง Off Peak 60 หน&วย หรอื 60%

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ = (3.7731x0.40)+(2.2695x0.60) = 2.8709 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ = 2.7815 บาท

สรุป ค;าพลังงานไฟฟpา อัตรา TOU จะแพงกว;า อัตราปกติเฉล่ียแพงกว;าหน;วยละ = 2.8709-2.7815 =0.0894 บาท หรือ ประมาณหน;วยละ 9 สตางค9

ข. ในกรณีใช�ไฟฟ8า ช&วง Peak : Off Peak = 37:63 คือ กรณีใช�ไฟฟ8า 100 หน&วย สามารถลดการใช�ไฟฟ8าในช&วง Peak ให�ลดลงเหลือ 37 หน&วย หรือ 37% เป5นช&วง Off Peak เท&ากับ 63 หน&วย หรือ 63 %

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ =(3.7731x0.37)+(2.2695x0.63)= 2.8258 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ 2.7815 บาท

สรุป ค;าพลังงานไฟฟpา อัตรา TOU ยังแพงกว;า อัตราปกติเฉล่ียแพงกว;าหน;วยละ = 2.8258-2.7815 = 0.0443 บาท หรือ ประมาณหน;วยละ 4.5 สตางค9

ค. ในกรณีใช�ไฟฟ8า ช&วง Peak : Off Peak = 35:65 คือ กรณีใช�ไฟฟ8า 100 หน&วย สามารถลดการใช�ไฟฟ8าในช&วง Peak ให�ลดลงเหลือ 35 หน&วย หรือ 35% เป5นช&วง Off Peak เท&ากับ 65 หน&วย หรือ 65 %

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ = (3.7731x0.35)+(2.2695x0.65)= 2.7958 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ 2.7815 บาท

สรุป ค;าพลังงานไฟฟpา อัตรา TOU ยังแพงกว;า อัตราปกติเฉล่ียแพงกว;าหน;วยละ = 2.7958-2.7815 = 0.0143 บาท หรือ ประมาณหน;วยละ 1.5 สตางค9

ง. แล�วค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU มีราคาเท&ากับอัตราปกติท่ีอัตราส&วน ช&วง Peak : Off Peak เท&าใด ในกรณีใช�ไฟฟ8า ช&วง Peak : Off Peak = 34.05:65.95

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ย หน&วยละ = (3.7731x0.3405)+(2.2695x0.6595) = 2.7815 บาท ซ่ึงมีราคาค&าพลังงานไฟฟ8าเท&ากับ อัตราปกติพอดี

สรุป ค;าพลังงานไฟฟpา อัตรา TOU จะมีราคาเท;ากับ อัตราปกติในกรณีท่ีการใชหน;วยไฟฟpาท่ีใชในแต;ละเดือนแบ&งเป5น

- การใช�ไฟฟ8าในช&วง Peak ประมาณ 34 %

- การใช�ไฟฟ8าในช&วง Off Peak ประมาณ 66%

จ. ในกรณีใช�ไฟฟ8า ช&วง Peak : Off Peak = 30:70 คือ กรณีใช�ไฟฟ8า 100 หน&วย สามารถลดการใช�ไฟฟ8าในช&วง Peak ให�ลดลงเหลือ 30 หน&วย หรือ 30% เป5นช&วง Off Peak เท&ากับ 70 หน&วย หรือ 70 %

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตรา TOU เฉลี่ยหน&วยละ = (3.7731x0.30)+(2.2695x0.70)= 2.7206 บาท

- ค&าพลังงานไฟฟ8า อัตราปกติ หน&วยละ 2.7815 บาท

Page 144: Manager

- 142 -งานผลิต (ต;อ)สรุป ค;าพลังงานไฟฟpา อัตรา TOU จะถูกกว;า อัตราปกตเิฉล่ียแพงกว;าหน;วยละ = 2.7815-2.7206 = 0.0609 บาท หรือ ประมาณหน;วยละ 6 สตางค9

ฉ.จากข�อมูลข�างต�น จึงสรุปได�ว&า อัตรา TOU ประเภทท่ี 3

ช&วง Peak : Off Peak = 40:60 แพงกว&าหน&วยละ 9 สตางค>

ช&วง Peak : Off Peak = 37:63 แพงกว&าหน&วยละ 4.5 สตางค>

ช&วง Peak : Off Peak = 35:65 แพงกว&าหน&วยละ 1.5 สตางค>

ช&วง Peak : Off Peak = 34:66 ท้ังสองอัตราราคาเท&ากัน

ช&วง Peak : Off Peak = 30:70 ถูกกว&าหน&วยละ 6 สตางค>

ฉะนั้น หน;วยไฟฟpาช;วง Peak : Off Peak ท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลง 1 เปอร9เซ็นต9 ก็จะทําให ค;าหน;วยไฟฟpาแพงข้ึนหรือถูกลงหน;วยละ 1.5 สตางค9

5. ขอดีของการใชไฟฟpา อัตรา TOU ประเภทท่ี 3

- ค&าดีมานด> อัตรา TOU ถูกกว&า อัตราปกติ กิโลวตัต>ละ 63.33 บาท ถ�าค&าดีมานด>ท่ีใช� 100 กิโลวตัต> จะถูกกว&า 6,333 บาท , 200 กิโลวัตต> ก็จะถูกกว&า 12,666 บาท

ข�อดีเม่ือ การประปาส&วนภูมิภาคใช�ไฟฟ8าในอัตรา TOU

- สามารถประหยัดค&าไฟฟ8าได�ในทันทีจํานวนหนึ่งแล�วซ่ึงก็คือ ส&วนต&างของค&าดีมานด>ท่ีใช�

- เพ่ิมความสะดวกในการปฏิบัติงาน เช&น สามารถทําการล�างย�อนและล�างหน�าทรายได� โดยไม&ต�องหยุดเครื่องสูบน้ําอ่ืนๆ เนื่องจาก อัตรา TOU ค&าดีมานด> ในช&วง Off Peak ใช�มากเท&าใดก็ได� ไม&คิดเงิน

- ค&าหน&วยไฟฟ8าในอัตรา TOU ก็มี ทางเลือกให�ใช� ถ�าใช�ในช&วง Off Peak ก็ราคาถูก เพียงหน&วยละ 2.2695 บาทเท&านัน้ แต&ถ�าใช�ในช&วง Peak ก็ราคาแพง หน&วยละ 3.7731 บาท ซ่ึงราคาต&างกันถึงหน&วยละ 1.50 บาท

- ในแต&ละป̀มี ช&วง Peak เฉลี่ยเพียง 37% และท่ีเหลือเป5นช&วง Off Peak ซ่ึงค&าไฟฟ8าถูกถึง 63%

- สําหรับอัตราส&วนของหน&วยไฟฟ8าท่ีใช�ในช&วง Peak :Off Peak จะมากหรือน�อย ข้ึนอยู&กับการควบคุมเวลาการเดินเครื่องสูบน้ํา , กําลงัผลิตท่ีเหลือ , ขนาดถังน้ําใสยิ่งช&วง Peak มีค&าน�อยก็ยิ่งดี เพราะค&าไฟฟ8าก็จะถูกลงทําให�ประหยัดเงินคาไฟฟ8าได�มากข้ึน

ดังนั้น หาก การประปาส&วนภูมิภาค สาขาใด ใช�ไฟฟ8าในอัตรา TOU แล�ว

- ในช&วง Off Peak ควรทําการผลติน้ําให�เต็มท่ี ใกล�เวลา 09.00 น. น้ําควรจะเต็มถังน้ําใสและหอถังสูง หรือ ให�มีปริมาณน้ํามากท่ีสุดเท&าท่ีจะทําได�

- ก&อนเวลา 22.00 น.ถ�าน้ําในถังน้ําใสยังมีพอจ&ายอยู&ก็อย&าเพ่ิงสูบน้ําดิบข้ึนผลิต รอผลิตน้ําหลังเวลา 22.00 น.

- เช&นเดียวกัน ก&อนเวลา 22.00 น. ถ�าน้ําในหอถังสูงยังมีพอจ&ายอยู&ก็อย&าเพ่ิงสูบน้ําข้ึนหอถังสูง รอสบูน้ําหลังเวลา 22.00 น. เพราะค&าไฟฟ8าราคาถูก

Page 145: Manager

- 143 -

งานผลิต (ต;อ)6. ขอเสียของการใชไฟฟpาใน อัตรา TOU

- กรณีท่ีป*จจุบนัใช�ไฟฟ8าในอัตราปกติจะต�องจ&ายค&ามิเตอร>ไฟฟ8า TOU ซ่ึงมีราคาประมาณ 18,000 บาท (ไม&แพงจะคุ�มทุนค&ามิเตอร>ไม&เกิน 6 เดือน)

- จะต�องจ&ายค&าไฟฟ8าแพงกว&าเดิม ถ�าไม&เข�าใจหลักการใช�มิเตอร> TOU (แต&แพงกว&าไม&มากนักและแก�ไขได�)เพ่ือการประปาส&วนภูมิภาคของเรา พนักงานทุกท&าน

- จะสามารถลดค&าใช�จ&ายในด�านค&าไฟฟ8า โดยเปลี่ยนไปใช�มิเตอร>แบบ TOU ได�หรือไม&

- ต�องทําได� โดยเฉพาะการประปาฯใหญ& จะคุ�มทุนค&ามิเตอร>เรว็และสามารถประหยัดค&าไฟฟ8าได�มากในแต&ละเดือน

- สําหรับการประปาเล็กๆ ก็สามารถทําได�เช&นกัน โดยเฉพาะการประปาท่ีเพ่ิงสร�างใหม& กําลังผลิตยังเหลอืมากๆ

ดังนั้น ผูจัดการ ควรจะศึกษาหาขอมูลแลวนํามาเปรียบเทียบ ถามีความเป_นไปได ถึงจะทําการเปล่ียนการใชไฟฟpาเป_นอัตราตามช;วงเวลาการใช หรือ TOU ต;อไป

Page 146: Manager

- 144 -งานผลิต (ต;อ)การบริหารระบบผลิตท่ีดีเด;น ของ กปภ.

หลักเกณฑ9ท่ี กปภ.พิจารณาในการประกวดการบริหารระบบผลิตดีเด;น

1 การจัดทําประวัติของระบบผลิต เครือ่งจักรกลและอุปกรณ9

1.1 ประวัติระบบผลิต : ของ กปภ.สาขา และหน&วยบริการ /วันท่ีก&อสร�าง รับโอน/กําลังผลิต/ขนาดของโรงกรองน้ํา ถังน้ําใส ถังกรองฯ และการปรับปรุงขยายระบบผลิต

1.2 ประวัติเครื่องจักรกลและอุปกรณ> : บัญชรีายการเครื่องจักรกลและอุปกรณ> ระบุวนัท่ีติดต้ัง/สถานท่ี/รหัส/รุ&น/หมายเลขเครื่อง/ คู&มือเครื่อง/ประวติัการซ&อมบํารงุ /สมรรถนะของเครื่อง

2. การจัดทําแผนการบํารุงรักษา ปpองกันการชํารุด ระบบผลิต เครื่องจักรกลและเครื่องมือ

2.1 แผนการปฏบัิติงานประจําวัน เช&น การระบายตะกอนถังตกตะกอน และการล�างย�อนถังกรอง เป5นต�นแผนการปฏิบัติงานประจําเดือน ไตรมาส เช&น การล�างถังตกตะกอนประจําไตรมาส และการล�างถังน้ําใสประจําป̀ เป5นต�น

2.2 แผนการบํารุงรักษาเครื่องจักรกลและเครื่องมือ : กําหนดแผนการบํารุงรักษาเครื่องจักรกลและเครื่องมือ เป5นรายวัน รายเดือนและรายป̀

3. การบํารุงรักษาระบบผลิต เครือ่งจักรกลและเครือ่งมือ

3.1 การบํารุงรักษาระบบผลิต

3.2 การบํารุงรักษาฝซ&อมเครื่องจักรกลและเครื่องมือ

3.3 การทดสอบประสิทธภิาพของเครื่องจกัรกลและเครื่องมือ เป5นรายเดือน/รายป̀ (ข�อมูลการสอบเทียบ/กราฟทดสอบประสิทธภิาพ

4. การจัดทําแผนผังและคู;มือปฏิบัติงานแสดงข้ันตอนการใชงานของระบบผลิตและเครือ่งจักรกล รวมท้ังการนําไปใชงานจริง ณ จุดปฏิบัติการ

4.1 แผนผังภาพรวมระบบผลิตและเครื่องจกัรกล : ผงัแสดงกระบวนการผลิตน้ํา การทําจาร>เทสต> การจ&ายสารเคมี การล�างย�อนถังกรอง การทดสอบคุณภาพน้ํา ฯลฯ

4.2 คู&มือกระบวนการทํางานในระบบผลิตและเครื่องจักรกล : คู&มือการปฏิบัติงานจัดทําเป5นรูปเล&ม(การเตรียมจ&าย-สารเคมี การล�างย�อนถังกรอง การเดินเครื่องสบูน้ํ า การทําจาร>เทสต>และการทดสอบคุณภาพน้ํา) Check list

5. แผนและการบริหารจัดการความเส่ียงท้ังปริมาณและคณุภาพแหล;งน้ํา

5.1 แหล&งน้ําดิบ : มีแผนเฝ8าระวังปริมาณน้ําในช&วงอุทกภัย และภัยแล�ง

5.2 คุณภาพน้ํา : มีแผนเฝ8าระวังคุณภาพน้ําในภาวะปกติและภัยธรรมชาติ (สํารอง เครื่องจักรกล/สารเคมี หรือติดต้ังเครื่องมือทดสอบคุณภาพน้ํา)

Page 147: Manager

- 145 -

งานผลิต (ต;อ)6. การควบคุมคุณภาพน้ําน้ําดิบและการปรับจ;ายสารเคมีในระบบผลิต

6.1 มีเครื่องมือ สารเคมีครบและใช�งานได� (จาร>เทสต> พีเอช และความขุ&น)

6.2 ข�อมูลคุณภาพน้ําดิบและจาร>เทสต>

6.3 ตารางหรอืกราฟแสดงความขุ&นกับปริมาณปรับจ&ายสารเคมีสอดคล�องกับผลจาร>เทสต>

6.4 แผนและการบริหารจัดการความเสีย่งท้ังปริมาณและคุณภาพแหล&งน้ํา

6.5 แหล&งน้ําดิบ : มีแผนเฝ8าระวังปริมาณน้ําในช&วงอุทกภัย และภัยแล�ง

7. การควบคุมคุณภาพน้ําประปาใหเป_นไปตามมาตรฐานท่ีกําหนด

7.1 มีเครื่องมือ สารเคมีครบและใช�งานได�(คลอรีน พีเอช และความขุ&น)

7.2 ข�อมูลคุณภาพน้ําประปา (คลอรีน พีเอช ความขุ&น)

7.3 คุณภาพน้ําในระบบจ&ายมีคลอรนีคงเหลือ 0.2 มก/ล (สุ&มตัวอย&างบ�านผู�ใช�น้ําห&างจากโรงกรองน้ําประมาณ 5 กม. จํานวน 2 ตัวอย&าง

8. แผนและการจัดการตะกอนในสระพักตะกอน

8.1 ต�องมีแผนการการจดัการสระพักตะกอน ประจําป̀

9. สรางความรูความเขาใจในการปฏิบัติงาน ใหพนักงาน/เจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานใหเขาใจ

9.1 การจัดการน้ําดิบและระบบสูบน้ําแรงตํ่าและแรงสงู

9.2 ด�านการควบคุมกระบวนการผลติน้ําประปา(สารเคมีและคุณภาพน้ํา)

9.3 การดูแลรักษาความสะอาด ถังตกตะกอน ถังน้ําใส สระระบายตะกอน

9.4 ความปลอดภัยในการใช�สารเคมี

จากหลกัเกณฑ> ท้ัง 9 ข�อ หาก กปภ.สาขานําไปปฏิบัติ จะพบว&า ท&านอาจจะเป5น กปภ.สาขา ท่ีถูกคัดเลือกเป5น ให�เป5น กปภ.สาขาท่ีมีการบริหารการผลิตดีเด&นแล�ว ท&านยังจะพบว&า ท&านจะสามารถผลติน้ําท่ีได�คุณภาพ ตามวิสยัทัศน>ของ กปภ.ท่ีจะเป5นเลศิในด�านการผลิตน้ําประปาท่ีมีคุณภาพและได�มาตรฐาน

Page 148: Manager

- 146 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสียระบบท;อประปา

1. ท;อท่ีใชในกิจการของ กปภ.

ท&อท่ีใช�ในกิจการของ กปภ. เป5นท&อท่ีใช�ส&งน้ําดิบไปยังโรงกรองน้ํา หรือท&อจ&ายน้ําไปยังผู�ใช�น้ําซ่ึงเป5นท&อท่ีต�องรับแรงดันน้ํา ชนิดของท&อท่ีใช�ในป*จจุบัน ได�แก&

- ท&อซีเมนต>ใยหิน (Asbestos Cement Oipe ) หรือ A/C pipe

- ท&อ PVC (Polyvinyle Chloride Pipe)

- ท&อ HDPE ( Hight Density Polyethylene Pipe)

- ท&อ GRP (Glassfiber Reinforce Pipe)

- ท&อเหล็ก (Steel pipe)

- ท&อ PB (Polybuthylene Pipe)

- ท&อเหล็กอาบสังกะสี (Galvanize Steel Pipe)

2. การเลือกชนิดของท;อ

ป*จจัยท่ีใช�ในการพิจารณาเลือกชนิดของท&อ

1. ความกัดกร&อนของดิน (สภาพความเป5นกรดของดิน) เช&น ความกัดกร&อนของดินสูงควรใช�ท&อ HDPE หรือ ท&อ PVC

2. สภาพของดินท่ีใช�ในการวางท&อ(ดินแข็งหรือดินอ&อน) เช&น ดินอ&อนควรใช�ท&อ HDPE หรือดินแข็งควรใช�ท&อ PVC เป5นต�น

3. แรงดันน้ํา หากแรงดันน้ําสูงมาก เช&น แรงดัน 10 บาร> ควรใช�ท&อเหล็กท่ีมีระบบ Cathodic Protection

4. วตัถุประสงค>ของการใช�งาน เช&น ท&อบรกิารควรใช�ท&อ PB

3. การเลือกขนาดของท;อ

วัตถุประสงค9

เพ่ือให�ท&อท่ีเลือกใช�เป5นชนิดท่ีเหมาะสมกับการใช�งานและมีขนาดท่ีจะส&ง-จ&ายน้ําให�กับผู�ใช�น้ําได�อย&างเพียงพอ

3.1 สิง่ท่ีต�องรู�ในการเลือกขนาดของท&อ

3.1.1 ความต�องการใช�น้ํา

1. ความต�องการใช�น้ําเฉลี่ยต&อวัน (Average Daily Demand) ได�มาจากการคํานวณปรมิาณการใช�น้ําของผู�ใช�น้ําแต&ละประเภท

Page 149: Manager

- 147 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)2.

ลําดับ ประเภทผู�ใช�น้ํา ปรมิาณการใช�น้ําเฉลี่ย(ลิตร/คน/วัน)เมืองท่ัวไป เมืองท&องเท่ียว

1 บ�านพักอาศัย 125 3002 ห�องอาหาร ภตัตาคาร 150 2003 อพาร>ทเม�นท> 200 3004 โรงแรม 120 2505 ห�างสรรพสินค�า 15 206 โรงภาพยนต> 15 207 สํานักงาน 80 100

ลําดับ ประเภทผู�ใช�น้ํา ปรมิาณการใช�น้ําเฉลี่ย(ลิตร/คน/วัน)เมืองท่ัวไป เมืองท&องเท่ียว

8 โรงพยาบาล 400 9009 โรงงาน 140 14010 โรงเรียน 60 80

3. ความต�องการใช�น้ําสูงสุดต&อวัน (Maximum Daily Demand) เท&ากับ 1.5 เท&าของ Average Daily Demand4.ความต�องการใช�น้ําสูงสุดต&อชัว่โมง (Peak Hourly Demand) เท&ากับ 2.25 เท&าของ Average Daily Demand หรือเท&ากับ 1.5 เท&า Maximum Daily Demand

3.1.2 จํานวนผู�ใช�น้ํา1) จํานวนผู�ใช�น้ําท่ีได�จากการสํารวจ2) จํานวนผู�ใช�น้ําในอนาคต ได�จากการคํานวณ โดยมีระยะเวลา 10-15 ป̀ ข�างหน�า

เช&นผู�ใช�น้ําในอีก 15 ป̀ข�างหน�าจะมีจํานวนเท&ากับ 2 เท&าของผู�ใช�น้ําในป*จจุบัน3.1.3 ปริมาณน้ําสูญเสียและปริมาณน้ําใช�สาธารณะอาจกําหนดให�เท&ากับ 20-25 %

3.2 ข�อกําหนดในการเลอืกขนาดท&อ3.2.1 ความดันของน้ําปลายท&อท่ีชั่วโมงการใช�น้ําสูงสุดจะต�องไม&ต่ํากว&า 5 เมตร 3.2.2 ความเร็วของน้ําในท&อ

- ตํ่าสุดต�องไม&น�อยกว&า 0.3 เมตรต&อวินาที- สูงสุดต�องไม&เกิน 1.5 เมตรต&อวินาที

Page 150: Manager

- 148 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)3.3 ตัวอย&างการคํานวณหาขนาดท&อ

ต�องการออกแบบท&อ HDPE ไปยังหมู&บ�านแห&งหนึ่งมีผู�ใช�น้ําประมาณ 500 รายโดยจ&ายน้ําจากหอถังสูงท่ีมีความสูง 25 เมตร ระยะทางจากหอถังสูงถึงหมู&บ�าน 1000 เมตร ค&าระดับท่ีได�จากถังสูงและหมู&บ�านมีค&าระดับใกล�เคียงกัน

วิธคํีานวณ

1. จํานวนผู�ใช�น้ําป*จจุบัน 500 ราย

2. จํานวนผู�ใช�น้ําอีก 15 ป̀ข�างหน�าจะเพ่ิมอีก 500 ราย รวมเป5น 1000 ราย

3. ปรมิาณความต�องการใช�น้ํา = 1000x6x125/1000 = 750 ลบ.ม./วัน

4. ความต�องการใช�น้ําสูงสุดต&อวัน = 750x1.5= 1125 ลบ.ม./วัน

5. ความต�องการใช�น้ําสูงสุดต&อชัว่โมง = 1125x1.5 = 1687.5 ลบ.ม./วนั = 70.31 ลบ.ม./ชม.

6. สมมติใช�ท&อขนาดเส�นผ&าศูนย>กลาง= 200 มม.

7. จากกราฟ ค&าความสญูเสียความดัน = 0.18x1000/100 = 1.8 เมตร

8. สมมติใช�ท&อเส�นผ&าศูนย>กลาง = 150 มม.

9. จากกราฟ ค&าความสญูเสียความดัน = 0.65x1000/100 = 6.5 เมตร

10. สมมติใช�ท&อเส�นผ&าศูนย>กลาง = 100 มม.

11. จากกราฟ ค&าความสญูเสียความดัน = 4.5x1000/100 = 45 เมตร

12. ดังนั้น จะใช�ท&อขนาดเส�นผ&าศูนย>กลาง 200 มม. หรือขนาด 150 มม.

Page 151: Manager

- 149 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)มาตรวัดน้ํา

1. มาตรวัดน้ําท่ีใชในกิจการของ กปภ. แบ;งเป_น 2 ประเภท คือ

1.1 มาตรวัดน้ําหลัก ( Master meter) คือ มาตรวัดน้ําท่ีใช�สําหรับวัดปริมาณน้ําผลิตจ&าย ท่ีติดต้ัง ณ โรงงานผลิตน้ําประปา เพ่ือใช�วดัปรมิาณน้ําท่ีจ&ายเข�าสู&ระบบท&อจ&ายน้ําไปยังผู�ใช�น้ําท่ีใช�กันอยู&ท่ัวไป มีอยู&หลายชนิด คือ

1.1.1 มาตรวัดน้ําชนิดใบพัด (Turbine meter) ได�แก& มาตรวัดน้ํายี่ห�อ KENT, WOLTER, SCHLUMBERGER เป5นต�น มาตรวัดน้ําชนิดนีจ้ะมีขนาดต้ังแต& 50-300 มม.

1.1.2 มาตรวัดน้ําชนิดอุลตร�าโซนิคโฟลวมิเตอร> ได�แก& มาตรวัดน้ํายี่ห�อ KENT, PANAMETRIC

1.1.3 มาตรวัดน้ําชนิดอีเล็คโตรแมคเนติกโฟลวมิเตอร> มาตรวัดน้ํายี่ห�อ ABB, KENT

1.2 มาตรวัดน้ําผูใชน้ํา ( Consumer meter) คือมาตรวดัน้ําท่ีติดต้ังเพ่ือวัดปรมิาณน้ําท่ีขายให�

ผู�ใช�น้ําหรือลูกค�า มีขนาดต้ังแต& ½” -12” ข้ึนกับปริมาณการใช�น้ําของผู�ใช�น้ํามีหลายชนิดคือ

1.2.1 มาตรวัดน้ําขนาด 1/2” – 1 ½” เป5นมาตรขนาดเล็กตามมาตรฐานของ กปภ. ต�องเป5นมาตรท่ีอยู&ในประเทศไทยและได�รับ ใบอนุญาตให�แสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตอุตสาหกรรม( มอก.)มี 2 ชนิด

1. ชนิดใบพัด ( Vane type ) ได�แก& มาตรวัดน้ํายี่ห�อ ไทยไอชิ แชมเป̀�ยน และอาซาฮี เป5นต�น

2. ชนิดลูกสบู (Pinton type หรือ Volumetric type) ได�แก& KENT

1.2.2 มาตรวัดน้ําต้ังแต& 2” ข้ึนไป ตามมาตรฐานของ กปภ. กําหนด ใช�มาตรวัดน้ําชนิดใบพัด (Turbine type) มีหลายยี่ห�อ เช&น KENT, WOLTER, SCHLUMBERGER เป5นต�น มาตรวัดน้ําดังกล&าว ยังไม&มี มอก. มักจะต�องกําหนดว&า จะต�องเป5นมาตรวัดน้ําท่ี กปภ. และกปน. ใช�งานมาก&อน

2. หลักการทํางานของมาตรวัดน้ํา

2.1 มาตรวัดน้ําหลัก

หลักการทํางานท่ัวไป จะวัดความเร็วของน้ําท่ีไหลผ&านมาตรวัดน้ํา เพ่ือนําไปคํานวณปริมาณเป5นปริมาณน้ํา เช&น

2.1.1) มาตรวัดน้ําชนิดใบพัด น้ําจะผ&านตัวเรือนไปกระทบกับใบพัด ท่ีอยู&ในตัวเรือนมาตรทําให�ใบพัดหมุนและจะมีระบบเฟ�องไปขับเคลื่อนแม&เหล็ก และแม&เหล็กนี้จะไปเหนี่ยวนําทําให�เครื่องบันทึกขับเคลื่อนเป5นปริมาณน้ําท่ีไหลผ&านมาตรวัดน้ํา

2.1.2) มาตรวัดน้ําชนิดอุลตร�าโซนิค และชนดิอีเล็คโตรแมกเนติกโฟลวมิเตอร> จะใช�วิธีวดัความเรว็ของน้ําท่ีผ&านเส�นท&อ แล�วนําไปคํานวณปริมาณน้ําโดยการนําความเรว็ของน้ําไปคูณกับพ้ืนท่ีหน�าตัดของท&อท่ีน้ําไหลผ&าน

Page 152: Manager

- 150 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)2.2 มาตรวัดน้ําชนิดใบพัด

2.2.1) มาตรวัดน้ําชนิดใบพัด น้ําจะผ&านตัวเรือนไปกระทบกับใบพัด ท่ี อยู&ในตัวเรือนมาตรทําให�ใบพัดหมุนและจะมีระบบเฟ�องไปขับเคลื่อนเฟ�องไปขับเคลื่อนเครื่องบันทึก เป5นปรมิาณน้ําท่ีไหลผ&านมาตรวัดน้ํา

2.2.2) มาตรวัดน้ําชนิดลูกสูบ น้ําจะไหลผ&านตัวเรือนมาตรเข�าไปยังลูกสูบ ซ่ึงมีลักษณะเป5นถ�วยตวง ถ�วยตวงก็จะหมุนเพ่ือส&งน้ําผ&านมาตรออกไป การหมุนของถ�วยตวงแต&ละรอบจะมีระบบเฟ�องไปขับเคลื่อนเครื่องบันทึกเป5นปริมาณน้ําท่ีไหลผ&านมาตรวัดน้ํา

3. การเลือกขนาดมาตรวัดน้ํา

เป5นสิ่งท่ีต�องคํานึงถึงเนื่องจาก หากเลือกขนาดมาตรเลก็เกินไป จะทําให�การไหลของน้ําผ&านมาตรไม&เพียงพอต&อความต�องการใช�น้ํา แต&หากเลือกขนาดใหญ&เกินไปจะทําให�มาตรวัดน้ําเกิดความคลาดเคลื่อนสูง เนือ่งจาก มาตรขนาดใหญ&มี อัตราการไหลเริ่มต�น (Starting Flow)ค&อนข�างสูง ในกรณีท่ีใช�น้ําน�อย การไหลของน้ําตํ่ากว&า Starting Flow มาตรวัดน้ําจะไม&ทํางาน/ไม&เดิน และโดยท่ัวไป หากมีอัตราการไหลของน้ําอยู&ในเกณฑ>ตํ่า (น้ําไหลช�า ) เปอร>เซ็นต>ความคลาดเคลื่อนของมาตรวัดน้ําจะสูง จึงจําเป5นต�องเลือกขนาดให�เหมาะกับสมแก&การใช�งาน

3.1 ป*จจัยท่ีใช�ประกอบการเลือกขนาดมาตรวัดน้ํา

3.1.1 ปริมาณน้ําจะต�องเพียงพอกับความต�องการใช�น้ํา

3.1.2 แรงดันน้ําจะเพียงพอ

3.1.3 ลักษณะการใช�งาน เช&นใช�ตรงจากเส�นท&อ หรือมีถังเก็บน้ํา

3.1.4 ปริมาณน้ําท่ีต�องการใช�อย&างแน&นอน หรือใกล�เคียงกับบความต�องการ

Page 153: Manager

- 151 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)ขอมูลท่ีใชในการเลือกขนาดของมาตรวัดน้ํา

ขนาดมาตร อัตราการไหลสูงสุด อัตราการไหลปกติ อัตราการไหลเริม่ตน

นิ้ว มม. Max.flow.rate Nominal.flow.rate staring.flow.rateลบ.ม./ชม. ลบ.ม./ชม. ลบ.ม./ชม.

½ 15 3 1.5 14¾ 20 5 2.5 161 25 7 3.5 20

1 ½ 40 20 10 402 50 30 15 160

2 ½ 65 50 25 1703 80 80 40 2204 100 120 60 2506 150 300 150 9008 200 500 250 120010 250 800 400 180012 300 1200 600 180014 350 1600 800 320016 400 2000 1000 500018 450 2600 1300 700020 500 3000 1500 800024 600 5000 2500 13000

4. การเลือกขนาดมาตรวัดน้ําของผูใชน้ํา4.1 ข�อมูลท่ีต�องการใช�ในการเลือกขนาดมาตรวัดน้ํา

4.1.1 ปรมิาณน้ําท่ีต�องการใช� ได�จากการคํานวณหรือจากความต�องการการใช�น้ําของผู�ใช�น้ํา เช&น โรงแรมจะมี ความต�องการใช�น้ํา วันละ 1,000 ลบ.ม.

4.1.2 ลักษณะการใช�น้ํา ใช�น้ําตรงจากน้ําท่ีผ&านมาตรวัด เช&น บ�านพักอาศัย เป5นต�น

4.1.3 ระยะเวลาการใช�น้ําในแต&ละวัน เช&น1) บ�านพักอาศัย จะใช�น้ําวันละประมาณ 2 ชั่วโมง ร�านอาหารจะใช�น้ํา

ประมาณวันละ 10-12 ชั่วโมง2) โรงแรม โรงพยาบาล ใช�น้ําวนัละ 24 ชัว่โมง (ตลอดเวลา)

ข�อมูลเหล&านี้จะต�องสอบถามผู�ใช�น้ําให�ชัดเจน

Page 154: Manager

- 152 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)4.2 การเลือกขนาดมาตรวัดน้ํา

การเลือกขนาดมาตรวัดน้ํา จะต�องดําเนินการ ดังนี้

4.2.1 คํานวณหาปริมาณน้ําท่ีใช�ผ&านมาตรวัดน้ํา

4.2.2 ความต�องการใช�น้ําเฉลี่ยต&อวัน

4.2.3 ความต�องการน้ําในวันใช�น้ําสูงสุด

4.2.4 ความต�องการน้ําในชั่วโมงใช�น้ําสูงสุด

4.2.5 กําหนดระยะเวลาในการใช�น้ําแต&ละวัน

4.2.6 หาอัตราการไหลในชั่วโมงใช�น้ําสูงสุด ไปพิจารณากับตารางข�อกําหนด ของมาตรวัดน้ําท่ีจะเลือกใช� โดยพิจารณาอัตราการไหลปกติจะได�ขนาดมาตรวัดน้ํา

4.3 ตัวอย&างการเลือกขนาดมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ํา

ตัวอย;างท่ี 1 ผู�ใช�น้ําประเภทท่ีอยู&อาศัยขอติดต้ังมาตรวดัน้ํา ให�หาขนาดมาตรวัดน้ํา

1.1 คํานวณหาประมาณน้ําท่ีใช�ผ&านมาตรวัดน้ํา

1. จํานวนผู�อยู&อาศัยภายในบ�าน 6 คน

2. ความต�องการใช�น้ําเฉลี่ยต&อวัน = 6 x 200 = 1200 ลิตร = 1.2 ลบ.ม.

3. ความต�องการน้ําในวนัใช�น้ําสูงสุด = 1.2 x 1.5 = 1.8 ลบ.ม.

4. ความต�องการน้ําในชัว่โมงใช�น้ําสูงสุด = 1.8 x1.5 = 2.7 ลบ.ม

5. บ�านพักอาศัยโดยปกติจะใช�น้ําวนัละ 2 ชัว่โมง

6. อัตราการไหลในชัว่โมงใช�น้ําสูงสุด 2.7/2 = 1.35 ลบ.ม./ชม.

1.2 การเลือกขนาดมาตรวดัน้ํา

1.3 อัตราการไหลในชั่วโมงการใช�น้ําสูงสุด = 1.35 ลบ.ม./ชม. จากตารางข�อกําหนด (Performance data) ของมาตรวัดน้ํา อัตราการไหลปกติของมาตรวัดน้ําขนาด ½” = 1.5 ลบ.ม./ชม.

ดังนั้น เลือกขนาดมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ํา ½” ( 15 มม.)

Page 155: Manager

- 153 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)ตัวอย;างท่ี 2 อาคารพาณิชย>/ร�านอาหาร ใช�น้ําวนัละ 10 ลบ.ม. ให�หาขนาดมาตร

1.1 คํานวณหาประมาณน้ําท่ีใช�ผ&านมาตรวัดน้ํา

1) ความต�องการใช�น้ําเฉลี่ยต&อวัน = 10 ลบ.ม.

2) ความต�องการน้ําในวนัใช�น้ําสูงสุด = 10 x 1.5 = 15 ลบ.ม.

3) ความต�องการน้ําในชั่วโมงใช�น้ําสูงสุด = 15 x1.5 = 22.5 ลบ.

4) อาคารพาณิชย>/ร�านค�า โดยปกติจะใช�น้ําวันละ 10 ชั่วโมง

5) อัตราการไหลในชั่วโมงใช�น้ําสูงสุด 22.5/10 = 2.25 ลบ.ม./ชมดังนั้น เลอืกขนาดมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ํา 3/4” = 2.25 ลบ.ม.ชม.

ตัวอย;างท่ี 3 โรงเรียนแห&งหนึ่งมีนักเรียน 3000 คน มีอัตราการใช�น้ําโดยฌฉลี่ยอของนักเรียน 50 ลิตร/คน/วนั ให�เลือก ขนาดมาตรวดัน้ํา

1.1 คํานวณหาประมาณน้ําท่ีใช�ผ&านมาตรวัดน้ํา

1.1.1 ความต�องการใช�น้ําเฉลี่ยต&อวนั = 150 ลบ.ม.

1.1.2 ความต�องการน้ําในวนัใช�น้ําสูงสุด = 150 x 1.5 = 225 ลบ.ม.

1.1.3 ความต�องการน้ําในชั่วโมงใช�น้ําสงูสดุ= 225 x1.5 = 337.5 ลบ.ม.

1.1.4 โรงเรียน โดยปกติจะใช�น้ําวนัละ 12 ชัว่โมง

1.1.5 อัตราการไหลในชัว่โมงใช�น้ําสงูสดุ 337.5/12 = 28.13 ลบ.ม.ชม.

ดังนั้น เลือกขนาดมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ํา 4” (100 มม.)

Page 156: Manager

- 154 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)การบริหารจัดการน้ําสูญเสีย

Non-Revenue Water Management

น้ําสูญเสีย เป5นตัวชีว้ัดท่ีแสดงประสทิธิภาพของระบบประปา ซ่ึงมีผลกระทบต&อต�นทุนการผลิต และประสทิธิภาพของการให�บริการ กล&าวคือ หากระบบประปามีน้ําสูญเสียสูงแสดงว&าระบบประปานั้น มีประสิทธิภาพอยู&ในเกณฑ>ตํ่า มีต�นทุนผลติสงู และระดับการให�บริการตํ่า นอกจากนั้น ยังมีผลกระทบต&อการใช�ทรัพยากรน้ําท่ีมีปริมาณจํากัดอย&างไม&มีประสิทธภิาพ

สาเหตุของน้ําสูญเสีย

น้ําสูญเสียท่ีเกิดในระบบประปาแบ&งเป5น 2 ประเภท คือ

1. Physical Loss คือ น้ําสญูเสยีท่ีเกิดข้ึนเองในระบบประปา เป5นสิ่งท่ีไม&สามารถหลีกเลี่ยงได� เกิดข้ึนทุกการประปา คือ

1.1 ระบบท&อและอุปกรณ>จ&ายน้ําประปา

1) ท&อและอุปกรณ>ประปาท่ีหมดอายุการใช�งาน โดยเฉพาะท&อ A/C ท่ีเป5นท&อท่ีมีอายุการใช�งานสั้น(15-20 ป̀)เกิดการแตกชํารุดบ&อยครั้ง เม่ือได�รับแรงดันน้ําสูงข้ึน โดยเฉพาะในช&วงเวลาท่ีมีผู�ใช�น้ําน�อยหากไม&มีการปรับลดหรือควบคุมแรงดันน้ํา จะเกิดน้ําสูญเสียมาก

2) การเลือกชนดิของท&อไม&เหมาะสมกับสภาพของพ้ืนท่ีวางท&อ เช&น พ้ืนท่ีท่ีดินอ&อน หากใช�ท&อ A/C และไม&มีทรายบดอัดพ้ืนให�แน&นจะทําให�ดินเกิดการทรุดตัว ท&อแตกหักได�ง&าย

3) การก&อสร�างวางท&อไม&ได�มาตราฐานของงานวางท&อ เช&น

a. ไม&มีการใช�ทรายบดอัดพ้ืนให�แน&นก&อนวางท&อ

b. อุปกรณ>ประปา เช&น ข�อโค�ง สามทาง ประตูน้ํา เป5นต�น ไม&มีแท&นคอนกรีตยึดให�แน&น

c. การทดสอบแรงดันน้ําในเส�นท&อก&อนการใช�งานไม&เป5นไปตามมาตรฐานท่ีกําหนด

1.2 ระบบมาตรผู�ใช�น้ํา

1. มาตรผู�ใช�น้ํามีสภาพหมดอายุการใช�งาน จากการใช�งานมานานกว&า 8-10 ป̀

2. มาตรวัดน้ําชํารุดหรือไม&เดิน เนือ่งจากมีเศษตะกอนไปอุดตันตัวมาตรวดัน้ํา

3. มาตรวัดน้ําไม&สามารถอ&านได� เนื่องจากติดต้ังอยู&ในบ�าน

4. มาตรวัดน้ําขนาดใหญ&เกินความจําเป5น ทําให�มาตรคลาดเคลื่อนจาก มาตรขนาดใหญ& Starting Flow สูง หากมีการใช�น้ําน�อย มาตรวัดน้ําจะไม&เดิน

5. การติดต้ังมาตรวัดน้ําไม&เป5นไปตามมาตรฐาน ทําให�ท&อและอุปกรณ> เช&น ขาต้ังมาตร ประตูน้ํา และอุปกรณ>อ่ืนๆ ชํารุดแตกรั่วได�ง&าย

Page 157: Manager

- 155 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)2. Non- Physical Loss คือ น้ําสูญเสยีท่ีเกิดจากการกระทําของบุคคล คือ

1) การให�บริการสาธารณะ เช&น การจ&ายน้ําฟรี เพ่ือช&วยเหลือประชาชนในช&วงภัยแล�ง และเพ่ือการดับเพลิงเม่ือเกิดอัคคีภัย เป5นต�น

2) น้ําท่ีใช�ในการบํารุงรกัษาระบบท&อ เช&น น้ําท่ีใช�ล�างท&อเพ่ือเพ่ิมประสทิธิภาพการจ&ายน้ําและน้ําท่ีใช�ล�างท&อหลังจากการซ&อมท&อ เป5นต�น

3) การลักใช�น้ําโดยไม&ผ&านมาตรวัดน้ํา เช&นการต&อท&อตรงจากท&อจ&ายน้ําประปา ซ่ึง กปภ. มีกฎระเบียบเก่ียวกับการให�รางวัลนําจับผู�ลักใช�น้ําทําให�การลักใช�น้ําน�อยลง

4) อุบัติเหตุจากงานก&อสร�าง เช&น การปรบัปรุงขยายถนน การวางท&อระบายน้ํา วางท&อประปา ป*กเสาไฟฟ8า งานก&อสร�างของเอกชน การถมดิน ซ่ึง กปภ.มีกฎระเบียบเก่ียวกับการเรียกค&าเสยีหายท่ีเกิดข้ึนจากการกระทําดังกล&าว ทําให�เกิดการระมัดระวังมากข้ึน

5) แรงดันน้ําท่ีสูงเกินความจําเป5น หรือ การจ&ายน้ําไม&สอดคล�องกับความต�องการใช�น้ํา เช&น ในช&วงเวลากลางคืน มีความต�องการใช�น้ําน�อย หากมีการจ&ายน้ําแรงดันสูงจะทําให�เกิดน้ําสญูเสยีสูง

การวัดปริมาณน้ําสูญเสีย

1. น้ําสูญเสีย คือ ผลต&างระหว&างปริมาณน้ําผลิตจ&ายและปริมาณน้ําจําหน&าย โดยปริมาณน้ําผลิตท่ีจ&ายเข�าระบบจ&ายน้ําวัดได�จาก มาตรวัดน้ําหลัก ท่ีติดต้ัง ณ โรงกรองน้ํา และปริมาณน้ําจําหน&าย ท่ีได�จากผลรวมของปริมาณน้ําท่ีผ&านมาตรผู�ใช�น้ํา รวมกันท้ังหมด

2. การวัดปริมาณน้ําผลิตจ;าย

1) การวัดปริมาณน้ําผลิตจ&ายวัดโดย มาตรวัดน้ําหลัก ณ โรงกรองน้ํา เป5นการวดัน้ําผลติท่ีจ&ายเข�าสู&ระบบท&อจ&ายน้ําประปา

2) มาตรวัดน้ําหลักเป5นมาตรขนาดใหญ& ต้ังแต& 200-500 มม. ข้ึนกับปริมาณน้ําท่ีจ&ายเข�าสู&ระบบท&อจ&ายน้ําว&ามากน�อยเพียงใด ซ่ึงมาตรวดัน้ําท่ีใช�มีหลายชนิด เช&น ชนิด เทอร>ไบน> ชนิดอุลตร�าโซนิคโฟลว>มิเตอร> ชนิดอีเล็คโตรแมกเนติกโฟลว>มิเตอร> เป5นต�น

3) การอ&านมาตรวัดน้ําหลัก จะมีการอ&านและบันทึกข�อมูลเป5นรายวนั เพ่ือตรวจสอบปริมาณน้ําท่ีจ&ายเข�าระบบท&อจ&ายน้ําแต&ละวัน และบันทึกข�อมูลเป5นรายเดือน เพ่ือนําข�อมูลไปวิเคราะห>อัตราน้ําสูญเสีย

4) การตรวจสอบความเท่ียงตรงของมาตรวัดน้ําหลัก จะต�องมีการตรวจสอบความเท่ียงตรง และปรับแก�ความคลาดเคลื่อนป̀ละ 2 ครัง้ เพ่ือให�มาตรวัดน้ํามีความเท่ียงตรงอยู&ในเกณฑ>ท่ีกําหนด

Page 158: Manager

- 156 -งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)

3. การวัดปริมาณน้ําขาย1) ในการวัดปริมาณน้ําขาย จะวัดจากผลรวมของปริมาณน้ําท่ีผ&านมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ําท่ี ติดต้ัง

ให�กับผู�ใช�น้ําทุกราย2) ชนิดของมาตรวดัน้ําผู�ใช�น้ํา จะติดต้ังให�กับผู�ใช�น้ําทุกรายท่ีเป5นลูกค�าของการประปาโดย

มาตรวัดน้ําท่ีใช�ขนาด 12-40 มิลลเิมตร เป5นแบบ Vane type, Volumetrictype และขนาดต้ังแต& 50 มิลลิเมตรเป5นต�นไป เป5นแบบ Turbine type

3) การอ&านมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ํา จะอ&านทุกเดือนเพ่ือนําปริมาณน้ําท่ีใช�ไปคํานวณค&าน้ําประปาท่ีจะเรียกเก็บจากผู�ใช�น้ําประจําเดือนนัน้ ในกรณีท่ีมาตรวัดน้ําชํารุด หรือไม&เดินทําให�ไม&สามารถอ&านมาตรวัดน้ําหลักได� จะใช�ปริมาณน้ําท่ีใช�เฉลี่ยของ 3 เดือนท่ีผ&านมาไปคํานวณค&าน้ําประปา

4) การตรวจสอบความเท่ียงตรงของมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ํา จะถูกตรวจสอบความเท่ียงตรงจากโรงงานผู�ผลิตเม่ือนําไปติดต้ังให�กับผู�ใช�น้ําท่ีเป5นลูกค�า โดยท่ัวไปจะไม&มีการตรวจสอบความเท่ียงตรงซํ้าอีก ยกเว�นในกรณีมาตรวัดน้ําชํารุดหรือไม&เดิน จะดําเนินการตรวจสอบหรือแก�ไขและมีการตรวจสอบความเท่ียงตรงก&อนนําไปติดต้ังใช�งาน

4. การวัดปริมาณน้ําจ;ายฟรีน้ําจ&ายฟรี ปกติจะมีการวดัปรมิาณน้ําผ&านมาตรวัดน้ําท&อธารท่ีติดต้ัง ณ โรงกรองน้ํา หรือวัดจากปริมาตรของรถบรรทุกน้ํา

5. การวัดปริมาณน้ําท่ีใชดับเพลิงและลางท;อน้ําท่ีใช�ดับเพลิงหรอืล�างท&อจะวัดปรมิาณน้ําจาก ท่ีเป̂ดท&อดับเพลิงแรงดันน้ําบริเวณนั้น คูณด�วยระยะเวลาท่ีเป̂ดท&อดับเพลิง ซ่ึงเป5นค&าโดยประมาณ

การคํานวณน้ําสูญเสีย

3. การคํานวณปริมาณและอัตราน้ําสูญเสีย มี 2 วิธี1. การคํานวณน้ําสูญเสียท่ีไม&ก&อให�เกิดรายได�

ปรมิาณน้ําสูญเสีย = ปริมาณน้ําผลติจ&าย – ปรมิาณน้ําท่ีขายได�อัตราน้ําสูญเสีย(%) = (ปริมาณน้ําสูญเสีย/ปริมาณน้ําผลิตจ&าย)x100

2. การคํานวณเพ่ือหาประสิทธภิาพของระบบท&อจ&ายน้ําประปาจากน้ําสูญเสียท่ีไม&ก&อให�เกิดรายได� ในความเป5นจริงแล�วมีน้ําจํานวนหนึง่ท่ีใช�ไปในการบริการสาธารณะ เช&นน้ําจ&ายฟรี น้ําท่ีใช�ดับเพลิงเม่ือเกิดอัคคีภัย รวมท้ังน้ําท่ีใช�ในการบํารุงรักษาท&อเช&น น้ําล�างท&อเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการจ&ายน้ําหรือล�างท&อหลังจากการซ&อมท&อ ดังนั้น เพ่ือเป5นการวัดประสทิธิภาพของระบบท&อจ&ายน้ําประปา จึงคํานวณได�จากปรมิาณน้ําสูญเสีย = ปริมาณน้ําผลติจ&าย – ปรมิาณน้ําท่ีขายได�-ปริมาณน้ําท่ี

จําเป5นต�องใช�(น้ําจ&ายฟรีและน้ําล�างท&อ)อัตราน้ําสูญเสีย(%) = (ปริมาณน้ําสูญเสีย/ปริมาณน้ําผลิตจ&าย)x100

Page 159: Manager

- 157 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)3. การวิเคราะห9ปริมาณและอัตราน้ําสูญเสีย

ปกติ กปภ.จะทําการวเิคราะห>หาปริมาณและอัตราน้ําสูญเสียเป5นรายเดือน เนื่องจาก การอ&านมาตรผู�ใช�น้ํา กปภ.จะอ&านมาตรเดือนละครั้ง ผลการวิเคราะห>ปริมาณและอัตราน้ําสูญเสียในแต&ละเดือนจะมีค&าท่ีแตกต&างกัน ดังนั้น การชี้วัดเก่ียวกับน้ําสูยเสียจะใช�อัตราน้ําสูญเสียเฉลี่ยเป5นรายป̀ โดยนําผลรวมท้ังป̀ของปริมาณน้ําผลิตจ&าย ปริมาณน้ําจําหน&ายและปริมาณน้ําท่ีจําเป5นต�องใช�ไปคํานวณหาอัตราน้ําสูญเสียท้ังป̀

4. หลักการควบคุมและลดน้ําสูญเสีย

การท่ีจะควบคุมและลดน้ําสูญเสยีได�มีหลักการง&ายๆ ดังนี้

1) น้ําสูญเสียอยู&ท่ีไหน มีวธิีการอย&างไร

2) เม่ือรู�แล�วว&าอยู&ท่ีไหน ทําอย&างไรถึงจะรู�ว&ามากน�อยเพียงใด

3) เม่ือรู�ว&าน้ําสูญเสียอยู&ท่ีไหนและมากน�อยเพียงใด จะแก�ป*ญหาได�อย&างไร

หลักการขางตน หากไม;สามารถดําเนนิการไดก็คงไม;สามารถควบคุมและลดน้ําสูญเสียไดอย;างเป_นระบบและถาวร

Page 160: Manager

- 158 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)

กระบวนการควบคุมนํ้าสญูเสีย

การควบคุมน้ําสูญเสีย มีกระบวนการท่ีง&ายและเป5นไปตามหลักการ ดังนี้

รายละเอียดวิธีการดําเนินการแต&ละข้ันตอนปรากฏในหวัข�อถัดไป

อัตราน้ําสญูเสยีอยู&ในเกณฑ>ท่ีกําหนด

2. ตรวจสอบน้ําสูญเสียในพ้ืนท่ี DMA - ตรวจวิเคราะห>เป5นรายเดือน

- ตรวจวิเคราะห>เป5นรายวัน

1. ออกแบบและติดต้ัง DMA( Direct Metering Area)

อัตราน้ําสูญเสยีเกินกว&าเกณฑ>ท่ีกําหนด

3. การดําเนนิการ - สํารวจหาท&อรั่ว - ซ&อมท&อ - เปลี่ยนท&อ - ควบคุมแรงดันน้ํา

Page 161: Manager

- 159 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)การออกแบบพ้ืนท่ีย;อย ( DMA District Metering Area )

1. วัตถุประสงค9

การแบ&งพ้ืนท่ีระบบท&อจ&ายน้ําออกเป5นพ้ืนท่ีย&อยท่ีมีขนาดเล็กท่ีเรยีกว&า District Metering Area ( DMA ) เพ่ือใช�ตรวจสอบระดับน้ําสญูเสยีในแต&ละพ้ืนท่ีย&อยและเพ่ือกําหนดลําดับก&อนหลงัในการแก�ป*ญหาน้ําสญูเสยีในแต&ละพ้ืนท่ี ตลอดจนเพ่ือความสะดวกในการตรวจสอบค�นหาจุดรั่วไหลได�อย&างแม&นยํา

2. ขอกําหนดท่ีใชในการออกแบบพ้ืนท่ีย;อย DMA

การออกแบบพ้ืนท่ีย&อย DMA มีข�อกําหนดดังนี้

2.1 จํานวนผู�ใช�น้ําประมาณ 2,000 – 5,000 ราย

2.2 จํานวนมาตรวัดน้ําท่ีติดต้ังในแต&ละพ้ืนท่ี DMA เพ่ือใช�วดัปรมิาณน้ําท่ีจ&ายเข�าพ้ืนท่ี ควรมี 1 ชุด หรือไม&เกิน 2 ชุด และควรเป5นมาตรวัดน้ําท่ีใช�วัดการไหลของน้ําได� 2 ทิศทาง

2.3 จํานวนประตูน้ําท่ีแบ&งพ้ืนท่ี (Boundary value) และประตูน้ําท่ีใช�ในการทํา step test ควรใช�ประตูน้ําของเดิมและติดต้ังเพ่ิมให�น�อยท่ีสุด เพ่ือประหยัดค&าใช�จ&าย

3. การออกแบบพ้ืนท่ีย;อย DMA

การออกแบบพ้ืนท่ีย&อย DMA จะทําการวิเคราะห> โครงข&ายระบบท&อจ&ายน้ํา และจัดทําแบบจําลองโครงข&ายระบบท&อ โดยใช�โปรแกรมคอมพิวเตอร> Stoner SWS และติดต้ังมาตรวัดน้ําชนิด Electromagnetic Flow meter เพ่ือใช�วัดปริมาณน้ําจ&ายเข�าพ้ืนท่ี DMA รวมท้ังติดต้ังประตูน้ําลดแรงดันในแต&ละพ้ืนท่ีอีกด�วย

การตรวจสอบน้ําสูญเสียในพ้ืนท่ีย;อย DMA

1. วัตถุประสงค9

เพ่ือตรวจสอบว&า พ้ืนท่ีย&อย DMA ,มีปริมาณและอัตราน้ําสญูเสียมากน�อยเพียงใด อยู&ในเกณฑ>ท่ีกําหนดหรือไม& และนําผลท่ีได�มาเป5นข�อมูลในการจัดเรียงความสําคัญก&อนหลังในการแก�ไขป*ญหาน้ําสูญเสียต&อไป

2. วิธีตรวจสอบน้ําสูญเสีย

การตรวจสอบน้ําสูญเสียในพ้ืนท่ีย&อย DMA มี 2 วิธี

2.1 การตรวจสอบเป5นรายเดือน

ตรวจสอบได�โดยการวัดปริมาณน้ําท่ีจ&ายเข�าแต&ละพ้ืนท่ี DMA และปริมาณ น้ําท่ีขายได�ในแต&ละ DMA ในแต&ละเดือน แล�วนําข�อมูลไปคํานวณอัตราน้ําสูญเสียของแต&ละพ้ืนท่ี DMA เปรียบเทียบกับเดือนท่ีผ&านมา

Page 162: Manager

- 160 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)2.2 การตรวจสอบเป5นรายวนั

การตรวจสอบน้ําสูญเสียในแต&ละพ้ืนท่ี DMA เป5นรายวัน จะทําให�สามารถทราบได�ทันที พ้ืนท่ีย&อย DMA นั้นมีป*ญหาน้ําสูญเสียเกิดข้ึนหรือไม& เพ่ือจะได�แก�ป*ญหาได�ทันที การตรวจสอบเป5นรายวนัจะตรวจสอบข�อมูล ดังนี้

- ปรมิาณน้ําท่ีจ&ายเข�าแต&ละพ้ืนท่ี DMA ในแต&ละวัน- อัตราการไหลตํ่าสุดในช&วงเวลากลางคืน- แรงดันน้ําเฉลี่ยของแต&ละวัน

3. ระบบท่ีใชตรวจสอบ

ระบบตรวจสอบใช�ระบบ Telemetering ในการตรวจสอบข�อมูล ซ่ึงเป5นระบบท่ีสามารถตรวจสอบได�อย&างรวดเร็ว

4. การวิเคราะห9ขอมูล

นําข�อมูลท่ีได�จากการตรวจสอบท้ังรายวันและรายเดือนไปเปรียบเทียบกับข�อมูลการตรวจสอบท่ีผ&านมา นําผลท่ีได�ไปวางแผนการดําเนินงานในข้ันตอนไป

การสํารวจหาท;อรัว่

1. วัตถุประสงค9

จากผลการตรวจสอบน้ําสูญเสียในพ้ืนท่ีย&อย DMA ทําให�ทราบว&า พ้ืนท่ีย&อย DMA ใดมีน้ําสูญเสียสงูข้ันตอนตอนไป คือต�องหาท&อแตกรั่ว อยู&ท่ีใด เพ่ือนําไปสู&การซ&อมท&อ

2. ลักษณะของท;อแตกรั่ว แบ;งเป_น 2 ลักษณะ

1. ท&อแตกรั่วท่ีมองเห็นด�วยตาเปล&า (Visble leak) ซ่ึงปกติจะมีผู�พบและแจ�ง กปภ.ทราบ

2. ท&อแตกรั่วท่ีอยู&ใต�ดิน ไม&สามารถมองเหน็ด�วยตาเปล&า(Invisble leak) เม่ือท&อแตกใต�ดินน้ํามักไหลสู&ท&อระบายน้ําหรือคลอง ซ่ึงต�องใช�เครื่องมือช&วยในการสํารวจท&อรั่ว

3. เครือ่งมือสํารวจหาท;อรั่ว แบ;งออกเป_น

1) เครื่องมือฟ*งเสียงท&อรั่ว (Sounding Equipment) เช&น Manual listening Stick ,Electronic listening Stick และ Leak sounding locator เป5นต�น

2) เครื่องมือท่ีไม&ใช�วิธฟี*งเสียง ( Non-sounding Equipment) .ใช�ในบริเวณท่ีชุมชนหนาแน&นหรือมีการจราจรหนาแน&น เช&น Leak Locatizer, Leak Noise Correlator เป5นต�น

3) เครื่องมือท่ีใช�ประกอบในการสํารวจหาท&อรั่ว การสํารวจหาท&อรั่ว จําเป5นต�องมีเครื่องมือช&วยในการหาท&อรั่ว เช&น Surface box locator,Pipe locator เป5นต�น

Page 163: Manager

- 161 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)การซ;อมท;อ

1. วัตถุประสงค9เป5นกิจกรรมท่ีช&วยลดน้ําสูญเสียโดยตรง เม่ือมีการซ&อมท&อจะทําให�ระดับการให�บรกิารดีข้ึนคือ แรง

ดันน้ําในเส�นท&อสงูข้ึน น้ําไหลได�สะดวกข้ึน 2. ขอมูลท;อแตกรัว่

การซ&อมท&อจําเป5นต�องได�ช�อมูลท&อแตกรั่ว หากได�ข�อมูลท&อแตกรัว่มากเท&าไรการซ&อมท&อจะช&วยลดน้ําสูญเสียได�มาก แหล&งท่ีมาคือ

1) การรับแจ�งท&อแตกรัว่ จัดต้ังศูนย>บริการรับแจ�งท&อแตกรัว่ และมีการรับแจ�งท&อแตกรั่วตลอด 24 ชัว่โมง

2) การสํารวจหาท&อรั่ว โดยทีมงาน3. การซ;อมท;อ

1) จัดทีมซ&อมท&อเตรียมพร�อมตลอดเวลา เม่ือได�รับรายงานท&อแตกรั่วจะต�องดําเนินซ&อมทันที หากไม&สามารถดําเนินการได�จะต�องป̂ดประตูน้ําไว�ก&อน

2) จัดเตรียมเครื่องมือเครื่องใช�และอุปกรณ>ท่ีใช�ในการซ&อมท&อให�เพียงพอและเหมาะสมท่ีจะใช� ใน งานซ&อมท&อ 3) ซ&อมท&ออย&างรวดเร็วและถูกต�องตามวิธกีารซ&อมท&อ

การเปล่ียนท;อ

1. วัตถุประสงค9

การเปลี่ยนท&อเพ่ือช&วยในการลดน้ําสูญเสียอย&างถาวรและเป5นการเพ่ิมระดับการให�บริการคือ ผู�ใช�น้ําจะได�รับบรกิารน้ําท่ีมีปริมาณเพียงพอและแรงดันน้ําท่ีสูงข้ึน

2. ขอมูลท่ีใชในการพิจารณาการเปล่ียนท;อ

การเปลีย่นท&อจะมีค&าใช�จ&ายค&อนข�างสูง หากจะดําเนินการเปลี่ยนท&อท้ังหมดคงไม&สามารถดําเนินการได�ดังนั้น จึงจําเป5นท่ีจะต�องกําหนดวิธีการพิจารณาการเปลีย่นท&อใหม&ทดแทนท&อเดิมให�รอบครอบท่ีสุด โดยคํานึงถึงค&าใช�จ&ายในการดําเนินงาน ข�อมูลท่ีใช�ประกอบการพิจารณาเปรยีบเทียบมีดังนี้

1.1 ข�อมูลท&อ : ชนิด ขนาด อายุของท&อ

1.2 ข�อมูลการแตกรั่ว : รวบรวมสถิติการแตกรั่วของท&อมากน�อยเพียงใด

1.3 สภาพของท&อ : มีสภาพเป5นอย&างไร การแตกรั่วเป5นอย&างไร ใช�งานได�หรือไม&

3. การออกแบบท;อ จะตองพิจารณา

3.1 ขนาดของท&อ : จะต�องมีขนาดเหมาะสมตามความต�องการใช�น้ํา

3.2 ชนิดของท&อ : จะต�องเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีท่ีวางท&อ

3.3 อุปกรณ>ประกอบท&อ : การติดต้ังประตูน้ํา ชุดดับเพลิง แอร>วาล>ว ในตําแหน&งท่ีเหมาะสม

Page 164: Manager

- 162 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)4. การก;อสรางวางท;อ

จะต�องดําเนินการควบคุมงานก&อสร�างวางท&อให�เป5นไปตามมาตราฐานของงานวางท&อโดยจะต�องกํากับดูแลเก่ียวกับ

4.1 ท&อและอุปกรณ>จะต�องเป5นไปตามมาตราฐานข�อกําหนด

4.2 ความลึกของท&อ

4.3 การบดอัดทรายรองท&อ

4.4 การทําแท&นคอนกรีตยึดอุปกรณ>ท&อ

4.5 การทดสอบแรงดันท&อ

4.6 การประสานท&อผู�ใช�น้ําเข�ากับท&อท่ีวางใหม&อย&างเป5นระบบ

4.7 การยกเลิกท&อเมนเดิมทุกครัง้เม่ือมีการเปลี่ยนท&อใหม&ทดแทน

การควบคุมแรงดนั

1. วัตถุประสงค9

การควบคุมแรงดันน้ํา เพ่ือป8องกันท&อแตกรั่วและเป5นการกระจายแรงดันน้ําในระบบท&อจ&ายน้ําให�ท่ัวถึงทุกพ้ืนท่ี

2. ขอกําหนดในการควบคุมแรงดันน้ํา

แรงดันน้ําเป5นตัวชี้วัดระดับการให�บริการ หากมีแรงดันน้ําสูงระดับการให�บริการก็จะสูงด�วย คือน้ําจะไหลสะดวก ผู�ใช�น้ํามีความพอใจสูง ในทางตรงกันข�ามแรงดันน้ําท่ีสูงจะเป5นเหตุให�เกิดท&อแตกรัว่ได�ง&ายหรือทําให�น้ําสญูเสียสงูข้ึน ดังนั้นการควบคุมแรงดันน้ําจะต�องพิจารณาความเหมาะสมด�วยดังนี้

2.1 จะต�องมีน้ําไหลเพียงพอตลอดเวลา

2.2 แรงดันน้ําในช&วงการใช�น้ําสูงสุด จะต�องไม&น�อยกว&า 5-7 เมตร

3. วิธีการควบคุมแรงดันน้ํา

3.1 การใช�ประตูน้ําลดแรงดัน (Pressure Reducing Valve)

� ชนิดปรับลดแรงดันโดยวิธี Manual

� ชนิดปรับลดแรงดันโดยอัตโนมัติ

3.2 การปรับหรี่ประตูน้ํา (Valve Adjustment) จะช&วยปรับลดแรงดันได�ในระดับหนึ่งแต&อาจทําให�ปริมาณน้ําไม&เพียงพอ

Page 165: Manager

- 163 -งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)การบริหารจัดการมาตรวัดน้ําผูใชน้ํา

1. วัตถุประสงค9

มาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ําเป5นเครื่องมือวัดปริมาณน้ําท่ีขายให�กับผู�ใช�น้ํา หากมาตรวัดน้ําไม&เท่ียงตรงหรือ ชํารุดไม&เดินจะทําให�ปริมาณน้ําท่ีขายผดิพลาดไป ซ่ึงจะเก่ียวโยงไปถึงปริมาณน้ําสูญเสียได�ดังนั้น มาตรวัดน้ําจึงจําเป5นต�องมีการตรวจสอบอย&างสมํ่าเสมอ โดยมีวตัถุประสงค>เพ่ือให�มาตรวัดน้ํามี ความเท่ียงตรงวัดปริมาณน้ําได�อย&างถูกต�อง

2. สาเหตท่ีุทําใหมาตรวัดน้ําไม;เท่ียงตรง

2.1 อายุการใช�งานมากเกินไป ระบบกลไกอาจเสื่อมสภาพชํารุดได�

2.2 คุณภาพของน้ําหากคุณภาพไม&ดีอาจมีสิง่สกปรกเข�าไปในตัวมาตรวัดน้ํา

2.3 ขนาดของมาตรวัดน้ําไม&ถูกต�องเช&นมีขนาดใหญ&เกินไปหากปริมาณการไหลน�อยกว&า อัตราการไหลเริ่มต�น (Starting Flow) มาตรวัดน้ําจะไม&เดิน

2.4 การติดต้ังไม&ถูกตามมาตราฐานท่ีกําหนด

3. การบริหารจัดการมาตรวัดน้ํา

เพ่ือให�มาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ําสามารถใช�งานได�อย&างถูกต�องและมีประสิทธภิาพจะต�องดําเนินการ

3.1 เปลื่ยนมาตรวัดน้ําท่ีมีอายุเกิน 8-10 ป̀ พร�อมอุปกรณ>ต&างๆ ท่ีชํารุด

3.2 ซ&อม-เปลี่ยนมาตรวัดน้ําท่ีชํารดุ ตามท่ีได�รับแจ�งจากพนักงานอ&านมาตรและสํารวจพบ

3.3 ตรวจสอบการอ&านมาตรวดัน้ําผู�ใช�น้ําท่ัวไป โดยการสุ&มตัวอย&างสําหรับผู�ใช�น้ํารายใหญ&

จะมีการตรวจสอบอย&างน�อยสัปดาห>ละ 1 ครั้ง

Page 166: Manager

- 164 -งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)

บทสรุป1) น้ําสูญเสียเป5นสิ่งสําคัญท่ีจะต�องดําเนินการอย&างจริงจังและต&อเนื่อง การลดน้ําสูญเสียจะช&วยในการลดต�นทุนการผลิต ยืดระยะเวลาการลงทุนปรับปรุงขยายการประปา เพ่ิมระดับการให�บรกิารให�สงูข้ึน/ลกูค�ามีความพอใจ นอกจากนี้ยังช&วยประหยัดทรัพยากรน้ําท่ีมีอยู&อย&างจํากัด เป5นการแก�ป*ญหาการขาดแคลนน้ําของประเทศไทยได�อีกทางหนึ่ง

2) การบริหารจัดการน้ําสูญเสียอย&างเป5นระบบจะต�องดําเนินการในกิจกรรมต&างๆ ให�ครบถ�วนและต&อเนื่องตลอดป̀ เนือ่งจากน้ําสูญเสียเกิดข้ึนได�ตลอดเวลา 24 ชัว่โมง ดังนั้นโครงสร�างการบริหารจัดการน้ําสูญเสียจะต�องประกอบด�วยบุคลากรท่ีมีหน�าท่ีรับผิดชอบหรือดําเนินการในกิจกรรมท่ีสําคัญ ดังต&อไปนี้2.1 ศูนย>บริการรับข�อมูล

� มีบุคลากรปฎิบัติงานรบัแจ�งท&อแตก-ท&อรั่วหรือน้ําไม&ไหล และอ่ืนๆ ให�บริการแก&ประชาชนตลอด 24 ชัว่โมง

� บุคลากรรับข�อมูล และทําการแจ�งข�อมูลไปยังหน&วยปฎบัิติท่ีเก่ียวข�องกับกิจกรรมนั้นๆ ให�ปฎิบัติทันทีท่ีรับแจ�ง

2.2 งานซ&อมท&อมีหน�าท่ีซ&อมท&อแตก-ท&อรั่วท่ีมีทีมงานท่ีพร�อมท่ีจะปฎิบัติงานได�ทันทีท่ีรับแจ�งจากศูนย>

บริการรับข�อมูลทีมงานจะต�องประกอบด�วย� หน&วยตรวจสอบท่ีเกิดเหตุหรือเรียกว&าม�าด&วน ตรวจสอบท่ีเกิดเหตุทําการแก�ไขเบ้ืองต�น

เช&นป̂ดประตูน้ําและแจ�งข�อมูลให�ทีมซ&อมท&อดําเนินการต&อ� ทีมซ&อมท&อ มีบุคลากรเครื่องมืออุปกรณ>ซ&อมท&อ อย&างพอเพียงและเหมาะสม และซ&อม

ทันทีท่ีได�รับแจ�ง2.3 งานตรวจสอบน้ําสูญเสียในแต&ละพ้ืนท่ี DMA

� มีหน�าท่ีตรวจสอบน้ําสูญเสียในแต&ละพ้ืนท่ี DMA เป5นรายวันและรายเดือน วเิคราะห>ปรมิาณและอัตราน้ําสูญเสียตลอดจนเสนอแนะ/แจ�งหน&วยงานท่ีเก่ียวข�องดําเนนิการต&อ

2.4 งานสํารวจหาท&อรั่ว� มีหน�าท่ีสํารวจหาท&อรั่วซ่ึงจะต�องมีบุคลากร เครื่องมือ เครื่องใช�ท่ีเหมาะสมและเพียงพอ

2.5 งานตรวจสอบมาตรผู�ใช�น้ํา� มีหน�าท่ีตรวจสอบ-ถอด-ล�าง-ซ&อม-เปลี่ยนมาตรวัดน้ําผู�ใช�น้ํา

2.6 งานควบคุมแรงดัน� ต�องควบคุมแรงดันน้ําหรือปริมาณการจ&ายน้ําให�สอดคล�องกับความต�องการใช�น้ําในแต&ละ

ช&วงเวลาอย&างต&อเนื่อง2.7 หน&วยงานสนับสนนุ

� มีหน�าท่ีด�านอํานวยการ เช&นด�านบุคลากร ด�านการเงิน ด�านการพัสดุ เพ่ือสนับสนนุให�การบริหารงานมีประสิทธภิาพ

Page 167: Manager

- 165 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)แนวทางปฏิบัติการตดิตั้งประปา

1. แบบมาตรฐานการติดต้ังประปา

2. การประมาณราคา

3. การแจ�งค&าใช�จ&ายในการติดต้ัง

รายละเอียดการติดตั้งประปา

1. ชนิดของท;อบริการ

1.1) ขนาด Ø ¾'' - Ø 2'' ใช�ท&อ PB

1.2) ขนาดต้ังแต& Ø 2'' ½ ข้ึนไป ใช�ท&อ G/S, PVC ชนิดต&อด�วยแหวนยาง, A/C, PE และท&อเหล็กเหนียว

ตามความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ี

1.3) ท&อส&วนท่ีติดต้ังบนดินต้ังแต&ขนาด Ø 1'' ½ ข้ึนไป ใช�ท&อ G/S หรือท&อเหล็กเหนียว

2. อุปกรณ9หนามาตรวัดน้ํา

2.1) ประตูน้ําหน�ามาตรวัดน้ํา

2.2) ติดต้ัง Y-STRAINER สําหรับการติดต้ังมาตรวัดน้ํา ใช�ขนาดเดียวกับมาตรวัดน้ํา

3. อุปกรณ9หลังมาตรวัดน้ํา

3.1) ติดต้ังประตูน้ํากันกลบัขนาดเดียวกับมาตรวัดน้ํา

3.2) ประตูน้ําหลังมาตรวัดน้ําใช�ขนาดเดียวกับมาตรวัดน้ํา

3.3) ติดต้ังประตูระบายอากาศสําหรับการติดต้ังมาตรวัดน้ําขนาดต้ังแต& Ø 2'' ข้ึน

3.4) ท&อและอุปกรณ>หลังมาตรวัดน้ํา จะต�องติดต้ังให�ครบถ�วนตามแบบมาตรฐานโดยคิดค&าใช�จ&ายจาก

ผู�ขอใช�น้ํา

4. ส่ิงก;อสรางอ่ืนๆ ให�ดําเนนิการตามแบบมาตรฐาน

หมายเหตุ : ในกรณีท่ีไม&สามารถติดต้ังมาตรวดัน้ําตามรูปแบบท่ีกําหนดได� เช&นมีป*ญหาในด�านสถานท่ี สิ่งกีดขาวงต&างๆ สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการติดต้ังประปาให�เหมาะสมได�โดยแจ�งเหตุผลประกอบด�วย

การติดตั้งประปา

การติดต้ังประปา มีแนวทางปฏิบัติ ตามข�อบังคับ กปภ. ว&าด�วยการหลกัเกณฑ>วิธีการและเง่ือนไขในการใช�น้ําประปาและอัตราค&าบริการ พ.ศ. 2540 และระเบียบการประปาส&วนภูมิภาค ว&าด�วยการติดต้ังวางท&อประปาให�แก&ผู�ขอใช�น้ํา พ.ศ.2540 ซ่ึงมีรายละเอียดควรรู� ดังนี้

1. “ค&าใช�จ&ายในการติดต้ังประปา” หมายความว&า เงินหรือค&าธรรมเนียมอ่ืนใดท่ี กปภ.เรียกเก็บจากผู�ขอใช�น้ํ า รวมท้ังค&ามาตรวดัน้ํ า ค&าท&อและอุปกรณ> ค&าแรงงาน และค&าดําเนินการติดต้ังประปาจนแล�วเสรจ็ แต&ไม&รวมถึงค&าใช�จ&ายในการว&างท&อภายในอาคาร

Page 168: Manager

- 166 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ) 2. ผู�ว&าการมีอํานาจในการพิจารณาลดค&าติดต้ังประปาให�แก&ผู�ใช�น้ํารายใหม&ได�ตามความจําเป5นและ

เหมาะสม เป5นระยะๆ ซ่ึงเม่ือดําเนินการแล�วเสร็จให�รายงานคณะกรรมการ กปภ.ทราบ 3. ให�ยกเว�นไม&เรยีกเก็บค&าประกันการใช�น้ําประปา สําหรับสถานท่ีราชการ บ�านพักของทางราชการและ

รัฐวสิาหกิจ วดัและสถานท่ีประกอบพิธีศาสนาท่ีมีใบอนุญาตแล�ว4. ค&าซ&อมบาทวิถี ถนน ท&อหรือรางระบายน้ําท่ีจําเป5นต�องขุดในการติดต้ังมาตรวัดน้ํา กปภ.จะต�องจัด

ทําแผนผังให�ผู�ขอใช�น้ําไปขออนุญาตต&อเทศบาล หรือหน&วยงานท่ีเก่ียวข�อง แล�วนําหลักฐานการอนุญาตมอบไว�ให� กปภ.ไว�เป5นหลักฐานต&อไป

5. การแจ�งค&าใช�จ&ายหรือรับชําระเงินค&าติดต้ังวางท&อประปา หากผู�ใช�น้ําเป5นส&วนราชการ รัฐวิสาหกิจ สามารถชําระเงิน 50 % แรกไม&ว&าจะชําระงวดแรก ณสถานท่ีใด ต�องแจ�งให�ผู�ขอใช�น้ําชําระ 50% ท่ีเหลือภายใน 30 วัน นบัแต&วันท่ีแจ�งให�ทราบ กปภ.สาขาจะต�องไม&เป̂ดจ&ายน้ําประปาให�จนกว&าจะได�รับชําระเงินครบถ�วนแล�ว

6. การดําเนินการติดต้ังวางท&อประปาและการกําหนดราคากลาง กรณีวางท&อประปาสําหรับรายผู�ใช�น้ําระยะไม&เกิน 10 เมตร ( เหมาจ&าย ) และส&วนท่ีเกิน 10 เมตร หาก กปภ.สาขาไม&สามารถดําเนินการเองได�ให�ดําเนินการ ดังนี้

(1) จ�างเหมาแรงงานแล�ว นําเงินค&าจ�างเหมาไปหักออกจากยอดเงินค&าติดต้ัง เงินท่ีเหลือให�นําส&งฝ[ายบัญชีและการเงิน

(2) จ�างเหมาท้ังหมด ค&ามาตรวัดน้ํา ค&าธรรมเนียมต&างๆ เช&น ค&าสํารวจ ค&าธรรมเนียมประสานท&อไม&นําไปรวมเป5นราคาจ�างเหมา ส&วนเผื่อขาด 10% ไม&ให�นําไปรวมจ�างเหมา ยกเว�นในกรณีท่ีราคาวสัดุเปลี่ยนแปลงสูงข้ึนหลังจากแจ�งค&าใช�จ&ายแล�วนําไปรวมเป5นราคาจ�างเหมาได�ตามความเหมาะสม

(3) หากจําเป5นท่ีต�องซ้ืออุปกรณ>ท่ีขาดบางส&วน หรอืท้ังหมด เนื่องจากไม&มีของในพัสดุของ กปภ.สาขา ราคากลางท่ีจัดซ้ือต�องไม&สงูกว&าราคาท่ี กปภ.เรียกเก็บจากผู�ขอใช�น้ําหรือราคาท่ี กปภ.กําหนด ในกรณีท่ี กปภ.ไม&ได�กําหนดให�ใช�ราคาท่ี กปภ.เขต หรือ กปภ.สาขา กําหนด โดยวธิีท่ี กปภ.ถือปฏิบัติ(สอบราคาจากร�านในท�องถ่ินหรือใกล�เคียง จํานวน 3 ร�านแล�วใช�ค&าเฉลี่ย ให�สอบราคาตามระยะท่ีเหมาะสมอย&างน�อย 3 เดือนครั้ง)

7. ค&าขนส&ง ให�คิดตามความเป5นจริง8. การกําหนดวงราคากลางสําหรบัการจ�างงานท่ีมีมูลค&างานเกินกว&า 100,00 บาท ให� ผจก.กปภ.สาขา

หรือ ผอ.กปภ.ข.หรือผู�บังคับบัญชาในสายงานนั้นๆ แต&งต้ังคณะกรรมการกําหนดราคากลาง สําหรับการจ�างท่ีมีมูลค&างานท่ีตํ่ากว&านั้น ให�ผู�ดํารงตําแหน&งดังกล&าวข�างต�นเป5นผู�จัดทําราคากลาง เม่ือคณะกรรมการได�กําหนดราคากลางแล�ว ให�เสนอผู�แต&งต้ังเพ่ือให�ความเห็นชอบ ประกาศไว�ในประกาศสอบราคาหรือประกวดราคาจ�าง

9. การประสานท&อจ&ายน้ําใหม&เข�ากับท&อเมนจ&ายน้ําของ กปภ.โดยท่ัวไป ให�เป5นหน�าท่ีของ กปภ.แต& กรณีจ�างเหมาจ�างเหมาให� กปภ.สาขาเป5นผู�ควบคุมดูแลการดําเนินงานของผู�รับจ�างอย&างใกล�ชิดให�ปฏิบัตงิานต&อเนื่องจนแล�วเสร็จ และป8องกันมิให�เกิดความเสียหายแกการจ&ายน้ําประปาได�

10. มาตรวัดน้ําท่ีนํามาติดต้ังต�องเป5นมาตรวัดน้ําของ กปภ.เท&านั้น11. ผู�ขอใช�น้ําจะขอติดต้ังมาตรวัดน้ําสําหรับบ�านเลขท่ีเดียวเกินกว&า 1 เครื่องไม&ได� เว�นแต&ได�รับอนุมัติ

จากรองผู�ว&าการภาค

Page 169: Manager

- 167 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)การประมาณราคา

12. การติดต้ังมาตรวัดน้ําขนาด Ø 1/2” และ Ø ¾” ในระยะเหมาจ&ายไม&เกิน 10 เมตร ให�คิดค&าติดต้ังเหมาจ&ายตามกําหนดข�อบังคับคือ 3,600 บาท และ 4,700 บาท โดยไม&คํานึงว&าภายในระยะ 10 เมตรนั้นจะต�องใช�ท&อ-อุปกรณ> ขนาด ชนิดและจํานวนเท&าใด ถ�าหากภายในระยะ 10 เมตรนั้น จะต�องใช�ท&อ-อุปกรณ> เกินกว&าท่ีจําเป5นสําหรับผู�ใช�น้ํารายใดรายหนึ่งโดยเฉพาะ เพ่ือประโยชน>แก&กปภ. ในการเพ่ิมผู�ใช�น้ํา ผู�ใช�น้ํารายต&อไป และการควบคุมน้ําสูญเสีย ทําให�มีค&าใช�จ&ายสูงกว&าค&าติดต้ังเหมาจ&ายข�างต�น ก็ให� กปภ.รับภาระค&าใช�จ&ายในส&วนท่ีเกินโดยใช�งบประมาณหมวดวสัดุดําเนินการและซ&อมบํารุง

1. ราคามาตรวัดน้ํา

ให�ใช�ราคามาตรวัดน้ําตามท่ี กปภ.กําหนดสําหรับประมาณราคาค&าติดต้ังประปาและราคาจําหน&ายมาตรวัดน้ําให�กับผู�ใช�น้ําในกรณีท่ีมาตรวัดน้ําชํารุดหรอืสูญหายเนื่องจากการกระทําของผู�ใช�น้ํา

ราคามาตรวัดน้ําท่ี กปภ.กําหนด ประกอบด�วย

1. ราคาต�นทุนของมาตรวัดน้ํา

2. ดอกเบ้ีย 12% ต&อป̀ (คิด 4 เดือน)จึงเท&ากับ 4%

3. ค&าอํานวยการ (ค&าจัดส&ง ค&าดูแลรักษาและอ่ืนๆ) 5%

ราคามาตรมาตรวัดน้ํา = ต�นทุนมาตรวัดน้ํา 1+ ค&าดอกเบ้ียและอํานวยการ 9 % ของ ข�อ 1

2. ราคาวัสดุท;อและอุปกรณ9

ให�ใช�ราคาตามท่ี กปภ. กําหนดในกรณีท่ี กปภ. ไม&ได�กําหนดให�ใช�ราคาท่ีการประปาส&วนภูมิภาคเขตหรือการประปาส&วนภูมิภาคสาขากําหนด โดยวิธีท่ี กปภ. ให�ถือปฏิบัติ (สอบราคาจ�างจากร�าน จําหน&ายจํานวน 3 ร�าน แล�วใช�ค&าเฉลี่ย)

3. ราคาส่ิงก;อสรางต;างๆ

ให�ใช�ราคาตามท่ี กปภ. กําหนดในกรณีท่ี กปภ. ไม&ได�กําหนดให�ใช�ราคาท่ีการประปาส&วนภูมิภาคเขตหรือการประปาส&วนภูมิภาคสาขาพิจารณาแล�วเห็นว&าเหมาะสม (ควรจะพิจารณาแยกเป5นค&าวสัดุและแรงงาน)

4. ค;าแรงงาน

ให�ใช�ราคาตามท่ี กปภ. กําหนด ในกรณีท่ี กปภ. ไม&ได�กําหนดให�ใช�ราคาท่ีการประปาส&วนภูมิภาคเขตหรือการประปาส&วนภูมิภาคสาขาพิจารณาตามความเหมาะสม

5. การคิดค;าดําเนินการ ภาษี กําไร

ให�ใช� FACTOR F ตามท่ีส&วนกลาง/การประปาส&วนภมิูภาคเขต ได�แจ�งให�ทราบเป5นครัง้ๆไป

Page 170: Manager

- 168 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)6. ค;าติดตั้งประปาเหมาจ;าย

สําหรับมาตรวดัน้ําขนาด Ø ½'' และ Ø ¾'' หมายถึงค&าติดต้ังต้ังแต& ตัวมาตรวัดน้ําถึงจุดประสานมีความยาวท&อรวมไม&เกิน 10 เมตร แต&ไม&รวมอุปกรณ>ต&างๆ หลังมาตรวดัน้ําท่ีต�องติดต้ังตามแบบมาตรฐาน โดยต�องคิดเงินเพ่ิมจากผู�ขอใช�น้ํา

7. แบบฟอร9มการประมาณราคา

ได�จัดทําข้ึนเพ่ือให�การประมาณราคาเป5นไปในทางเดียวกัน ในทางปฏิบัติสามารถเปลีย่นแปลงได�ตามความเหมาะสม

8. การจางเหมา

8.1) ค&ามาตรวดัน้ําและค&าธรรมเนียมต&างๆ เช&น ค&าสํารวจ, ค&าธรรมเนียมประสานท&อไม&นําไปรวมเป5นราคาจ�างเหมา

8.2) เผื่อขาด 10% โดยปกติจะไม&นําไปรวมจ�างเหมา ยกเว�นในกรณีท่ีราคาวสัดุเปลี่ยนแปลงสูงข้ึนมาก หลังจากแจ�งค&าใช�จ&ายไปแล�ว สามารถนําส&วนหนึ่งหรอืท้ังหมด (ตามความจริง) ไปรวมเป5นราคาจ�างเหมาได�

Page 171: Manager

- 169 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)ตัวอย;างการประมาณราคาและการคิดราคาค;าจางเหมางานตดิตัง้

(การติดตั้งมาตรวัดน้ําขนาด Ø ½'' ไม&เกิน 10 เมตร)รายละเอียดประมาณราคางาน

การประปา.......................................การประปาส&วนภูมิภาคเขต..............................

ข�อ รายการ/ขนาด หน&วย จํานวน ราคาต&อหน&วย เป5นเงิน หมายเหตุ

บาท สต.

1 ในส&วนตดิตั้งมาตรวดัน้ํา (เหมาจ&าย 10 เมตร)

1.1 มาตรวัดน้ําขนาด Ø ½'' เคร่ือง 1 800 800 - ตามที ่กปภ.กําหนด

1.2 ท&อและอุปกรณ>

ท&อ PB ขนาด 20 มม. SDR 13.5 เมตร 1 39.00 39 -

รัดแยกเหล็กหล&อสําหรับท&อ PVC ขนาด 100 มม.

ชดุ 1 595.00 595 -

ข�อต&อเกลียวนอก PB ขนาด 20 มม.x ¾ นิว้ ตวั 1 81.00 81 -

ขาตัง้มาตรชดุ แองเก้ิลบอลวาล>ว ชดุ 1 450.00 450 -

ข�องอ PB ขนาด 20 x 20 มม. ตวั 1 84.00 84 -

เทปพันเกลียว ม�วน 1 16.00 16 -

รวมเงินขอ 1.2 1,265

1.3 ค&าแรงงานวางท&อ

ค&าแรงงานวางท&อ PB และติดตั้งมาตรวัดน้ํา แรง 1 200.00 200

ค&าซ&อมพืน้คอนกรีต ตร.ม. 1 150.00 150 -

รวมเงินขอ 1.3 350

รวมค;าใชจ;าย ( ขอ 1.1 + 1.2 + 1.3 ) 2,415

2 รวมค&าใช�จ&ายในส&วนเหมาจ&าย 3,600

ส&วนลดค&าติดตัง้ ( 15% ) 540 (ถ�ามี)

รวมเงินขอ 2 3,060

3 ค&าประกันการใช�น้ํามาตรวัดน้ํา ½” 535

2.3 รวมเงินขอ 2.1 ถึง 2.2 3,595 -

หมายเหตุ: ใช FACTOR F งานอาคารไม;มีเงินล;วงหนาจ;าย ไม;มีเงินประกนัผลงานหัก และดอกเบีย้เงินกู 13%

: ค;าสํารวจและค;าธรรมเนียมประสานท;อ ยกเวนไม;คิดค;าใชจ;าย

Page 172: Manager

- 170 -งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)

(ตัวอย&างที ่2)(การติดตั้งมาตรวัดน้ําขนาด Ø ½'' หรือ Ø ¾'' โดยวางท&อเกิน 10 เมตร)

รายละเอียดประมาณราคางาน...........................................................

การประปา.......................................การประปาส&วนภูมิภาคเขต..............................ข�อ รายการ/ขนาด หน&วย จํา

นวน

ราคาต&อหน&วย

เป5นเงนิ หมายเหตุ

บาท สต.

1 ในส;วนติดตั้งมาตรวัดนํ้า (เหมาจ;าย 10 เมตร)

1.1 มาตรวัดน้ําขนาด Ø ½'' เคร่ือง 1 750 750 - ตามราคาที่กําหนด

1.2 ท&อและอุปกรณ> 1,590 -

1.3 ต&าแรงงานวางท&อและติดตัง้มาตรวัดน้ํา 160 -

รวมเงินขอ 1. 2,500 - เท&ากับราคาเหมาจ&าย

2 ในส;วนวางท;อภายใน

2.1 ท&อ อุปกรณ>และวสัดุก&อสร�าง 200 -

2.2 เผื่อขาด 10% ของข�อ 2.1 20 -

2.3 ค&าแรงงาน 80 -

2.4 รวมเงินข�อ 2.1 ถึง 2.3 300 -

รวมขอ 2. = 1.43795 * ขอ 2.4 431 -

3 ในส;วนวางท;อภายนอก

3.1 ท&อ อุปกรณ>และวสัดุก&อสร�าง 8,000 -

3.2 เผื่อขาด 10% ของข�อ 3.1 800 -

3.3 ค&าแรงงาน ค&าทดสอบท&อ และอ่ืนๆ 1,700 -

3.4 ค&าขนส&งท&อและอุปกรณ> 500

3.5 รวมเงินข�อ 3.1 ถึง 3.4 11,000 -

รวมขอ 3 = 1.43795 * ขอ 3.5 15,817 -

4 ค;าสํารวจ 2% ของ (ขอ 2.4+ขอ 3.5)=2%(300+11,000) 226 -

5 ค;าธรรมเนียมประสานท;อ (ประสานสมาทางกบัท;อขนาด Ø 100 มม.) 300 -

รวมเงินค;าใชจ;าย = (ขอ 1+ขอ 2+ขอ 3 +ขอ 4 +ขอ 5) 19,274 -

หมายเหตุ: ใช FACTOR F ทั้งสองตัวคิดจากวงเงินรวมขอ 2.4+ขอ 3.5-300+11,000-11,300

: FACTOR F – 1.43795

Page 173: Manager

- 171 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)(ตัวอย&างที ่3)

(การติดตัง้มาตรวดัน้ําตัง้แต&ขนาด Ø 1'' ข้ึนไปและมีงานวางท&ออยู&ด�วย)รายละเอียดประมาณราคา

งาน...........................................................การประปา.......................................การประปาส&วนภูมิภาคเขต..............................

ข�อ รายการ/ขนาด หน&วย จํานวน ราคาต&อหน&วย

เป5นเงนิ หมายเหตุ

บาท สต.

1 ในส;วนติดตั้งมาตรวัดนํ้า

1.1 มาตรวัดน้ําขนาด Ø 4'' เคร่ือง 1 18,000 18,000 -

1.2 ท&อและอุปกรณ> 10,000 -

1.3 เผื่อขาด 10% ของข�อ 1.2 1,000

1.4 ต&าแรงงาน 2,000 -

1.5 รวมเงินข�อ 1=1.3479895*ข�อ 1.5 41,788 -

2 ในส;วนวางท;อภายใน

2.1 ท&อ อุปกรณ>และวสัดุก&อสร�าง 10,000 -

2.2 เผื่อขาด 10% ของข�อ 2.1 1,000 -

2.3 ค&าแรงงาน 1,000 -

2.4 รวมเงินข�อ 2.1 ถึง 2.3 12,000 -

รวมขอ 2. = 1.43795 * ขอ 2.4 16,176 -

3 ในส;วนวางท;อภายนอก

3.1 ท&อ อุปกรณ>และวสัดุก&อสร�าง 300,000 -

3.2 เผื่อขาด 10% ของข�อ 3.1 30,000 -

3.3 ค&าแรงงาน ค&าทดสอบท&อ และอ่ืนๆ 60,000 -

3.4 ค&าขนส&งท&อและอุปกรณ> 5,000

3.5 รวมเงินข�อ 3.1 ถึง 3.4 395,000 -

รวมขอ 3 = 1.43795 * ขอ 3.5 532,456 -

4 ค;าสํารวจ 2% ของ (ขอ 1.5+ขอ 2.4+ขอ 3.5 )=2%(31,000+12,000+395,000)

8,760 -

5 ค;าธรรมเนียมประสานท;อ (ประสานสมาทางกบัท;อขนาด Ø 300 มม.) 4,000 -

รวมเงินค;าใชจ;าย = (ขอ 1+ขอ 2+ขอ 3 +ขอ 4 +ขอ 5) 603,179 -คิด Factor F ของเงนิ (31,000+12,000+395,000) – 438,000Factor F = 1.37107 + (1.33762 – 1.37107) * (438,000-300,000)/(500,000-300,000) = 1.3479895

Page 174: Manager

- 172 -งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)

(ตัวอย&างที ่4)(การติดตัง้วางท&อโดยไม&ติดตั้งมาตรวัดน้ํา)

รายละเอียดประมาณราคางาน...........................................................

การประปา.......................................การประปาส&วนภูมิภาคเขต..............................ข�อ รายการ/ขนาด หน&วย จํานวน ราคาต&อ

หน&วยเป5นเงนิ หมายเหตุ

บาท สต.

1 ค;าท;อและอุปกรณ9

1.1 ท&อ 1,000,000 -

1.2 อุปกรณ> 300,000 -

1.3 อ่ืนๆ 100,000 -

1.4 รวมเงนิข�อ 1.1 ถึง ข�อ 1.3 1.400,000 -

1.5 เผื่อขาด 10% ของข�อ 1.4 140,000 -

รวมเงนิข�อ 1 = (ข�อ 1.4 +ข�อ 1.5) 1,540,000 -

2 ค;าแรงงาน

2.1 ค&าแรงงานวางท&อ ค&าทดสอบท&อและอ่ืนๆ 150,000 -

2.2 ค&าแรงประสานท&อ 3,000 -

2.3 ค&าแรงอ่ืน 2,000 -

รวมเงนิข�อ 2 155,000 -

3 ค;าสิง่ก;อสราง

3.1 ค&าวสัดุ 20,000 -

3.2 เผื่อขาด 10% ของข�อ 3.1 2,000 -

3.3 ค&าแรงงาน 5,000 -

รวมเงินขอ 3 27,000 -

4 ค;าขนส;งและอุปกรณ9 20,000 -

5 รวมขอ 1 ถึง ขอ 4 1,742,000 -

6 Factor F * ขอ 5 เป_นเงิน 2.276.893 -

7 ค;าสํารวจ 2% ของขอ 5 34,840 -

8 ค&าธรรมเนียมประสานท&อ(สมมตปิระสานกับท&อขนาด Ø 300 มม.) 4,000 -

รวมเงินค;าใชจ;าย = (ขอ 6+ ขอ 7+ ขอ 8) 2,315,733

Factor F = 1.37107 + (1.33762 – 1.37107) * (438,000-300,000)/(500,000-300,000) = 1.3479895

Page 175: Manager

- 173 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร9

(Geographic Information System : GIS)

นิยามของ GIS ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร> (Geographic Information System : GIS) คือ กระบวนการทํางานเก่ียวกับ

ข� อ มู ล เ ชิ ง พ้ื น ท่ี (spatial data) ด�วยระบบคอมพิวเตอร>โดยการกําหนดข�อมูลเชิงบรรยายหรือข�อมูลคุณลกัษณะ (attribute data) และสารสนเทศ เช&น ท่ีอยู& บ�านเลขท่ี ท่ีมีความสมัพันธ>กับตําแหน&งในเชงิพ้ืนท่ี (spatial data) เช&น ตําแหน&งบ�าน ถนน แม&น้ํา เป5นต�น ในรูปของ ตารางข�อมูล และฐานข�อมูล

หมายถึง ระบบข�อมูลข&าวสารท่ีเชื่อมโยงกับค&าพิกัดภูมิศาสตร> และรายละเอียดของวัตถุบนพ้ืนโลก โดยใช�คอมพิวเตอร>ในการนําเข�า จัดเก็บปรับแก� วิเคราะห>ข�อมูล และแสดงผลลัพธ>ในรปูแบบต&างๆ เช&น แผนท่ี ภาพสามมิติ สถิติ ตารางข�อมูล เพ่ือช&วยในการวางแผนและตัดสนิใจของผู�ใช�ให�มีความถูกต�องแม&นยํา หรือกระบวนการทํางานเก่ียวกับข�อมูลเชิงพ้ืนท่ีด�วยระบบคอมพิวเตอร> ท่ีใช�กําหนดข�อมูลและสารสนเทศท่ีมีความสัมพันธ>กับตําแหน&งในเชิงพ้ืนท่ี

ดังนั้น GIS จึงเหมาะสําหรบังานท่ีต�องใช�การวิเคราะห>เฃิงพ้ืนท่ี เช&น งาน DMA ในกิจการของการประปา

ระบบกําหนดตําแหน;งบนโลก (GlobalPositioning System:GPS)

เทคโนโลยทีีเกียวข้อง

กบั

GIS

การสํารวจและการทําแผนที่ (Survey And Mapping)

ระบบจัดการฐานขอมูล (DatabaseManagement System)

วทิยาศาสตร9คอมพิวเตอร9(Computer Science)

การรับรูระยะไกล(Remote Sensing)

Page 176: Manager

- 174 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร9

เทคโนโลยีท่ีเก่ียวของกับ GIS

การสํารวจและการทําแผนท่ี (Survey And Mapping)

- เป5นวชิาพ้ืนฐานก&อนจะมาเป5น GIS- สมัยโบราณใช�การวดัค&ามุมระหว&างดวงดาวในการทําแผนท่ี- ต�องมีความรู�เรื่องพิกัดภูมิศาสตร> เช&น (Lat Long, พิกัด UTM)- ใช�หลักวิชาการแผนท่ี (Cartography) ในการออกแบบสัญลักษณ>เพ่ือสื่อความหมายกับผู�ใช�

วิทยาศาสตร9คอมพิวเตอร9 (Computre Science)

- GIS ต�องใช�คอมพิวเตอร>ในการทํางาน- ระบบบันทึกข�อมูล การจัดเก็บข�อมูล การส&งออกหรือนําเข�าข�อมูล (Export, Import) การแปลงข�อมูล (Convert Data) ระบบงานสารสนเทศ การไหลของข�อมูล- เครื่องมือและอุปกรณ>ใหม&ๆ PC Notebook Tablet Ipad Iphone เป5นต�น

ระบบจัดการฐานขอมูล (Database Management System)

- GIS ทํางานกับข�อมูลจํานวนมากซ่ึงต�องใช�การจัดการ- ต�องเข�าใจโครงสร�างฐานข�อมูล (Database Structure)- เครื่องมือในการจัดการ คือ SQL (Structure Query Language) มักจะเรียกติดปากว&าการคิวรี่- โปรแกรมพ้ืนฐานท่ีสามารถจัดการฐานข�อมูลอย&างง&าย เช&น Excel, Aceass

การรับรูระยะไกล (Remote Sensing)

- คือศาสตร>ในการสํารวจข�อมูลพ้ืนท่ีผวิโลกททโดยใช�เซ็นเซอร>ติดต้ังบนดาวเทียมรู�จักกันในนาม ภาพถ&ายดาวเทียม- ประเทศไทยมีดาวเทียมสํารวจทรัพยากรชื่อธีออส (THEOS) ในหลวงพระราชทานชื่อว&า ดาวเทียมไทยโซน- การเปลี่ยนภาพถ&ายดาวเทียม เป5นข�อมูล GIS ต�องใช�เทคนิคการแปลภาพ- ป*จจุบันมีเทคโนโลยี “Lidar” ไลด�า คือเครื่องบินสแกนผื้นผิยโลก

ระบบกําหนดตําแหน;งบนโลก (Global Positioning System:GPS)

- คือ ระบบค�นหาตําแหน&งพิกัด ใช�ดาวเทียม GPS 24 ดวง คํานวณ ตําแหน&งให�- ระบบมือถือ (Handheld) ราคาถูก (6,000-30,000 บ.) แม&นยําระดับ 1-10 เมตร- แบบรังวัด (DGPS) ราคาแพง แม&นยํา ระดับ มิลลิเมตร-เซนติเมตร- พิกัด GPS ใช�ตรงึพิกัดภาพถ&ายดาวเทียม

Page 177: Manager

- 175 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)องค9ประกอบของระบบ GIS :

���� ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร> ประกอบด�วย 6 องค>ประกอบหลัก ได�แก&◦ ซอฟต>แวร> (Software) ◦ ฮาร>ดแวร> (Hardware) ◦ ข้ันตอนการทํางาน (Procedure /Method) ◦ ข�อมูล (Data) ◦ บุคลากร (User) ◦ เครือข&ายความร&วมมือ (Network)

โปรแกรม(Software) ซอฟต9แวร9 ประกอบไปดวย◦ Operating System (Unix, Linux, McOS, Windows XP, 7, NT) ◦ GIS ซอฟต>แวร> คือโปรแกรมท่ีใช�ในการจัดการข�อมูลในระบบ GIS เช&น MapInfo, Arc/INFO,

ArcView, Erdas, Microstation, IRDISI, GRASS, SPANSMap, QuantumGIS เป5นต�น ◦ Network Software

Hardware◦ คอมพิวเตอร> (CPU, Monitor, Keyboard, Devices, etc) ◦ อุปกรณ>เครือข&าย (Router, Hub, Line, Port) ◦ อุปกรณ>นําเข�าข�อมูล (Digitizer, Scanner, GPS, Survey Instruments, etc.) ◦ อุปกรณ>แสดงผล (Plotter, Printer)

ข้ันตอนการทํางาน(Procedure/Method) • GIS ทํางานตาม Business Process ท่ีกําหนดไว�

• กําหนดวัตถุประสงค>: สร�างงาน GIS เพ่ือนําไปใช�อย&างไร ใครเป5นผู�ใช� และใช�เพ่ือแก�ป*ญหาอะไร

• สําหรับ กปภ. จัดทําระบบฐานข�อมูลกลางท่ีมีประสิทธิภาพและทันสมัยเพ่ือรวบรวมข�อมูลท่ีเก่ียวกับงานระบบประปาเป5นหลัก

• เพ่ิมประสิทธิภาพ และลดข้ันตอนการทํางานของเจ�าหน�าท่ี

• เพ่ิมประสิทธิภาพการให�บรกิารผู�ใช�น้ํา

• จัดทําระบบวเิคราะห> และวางแผน เพ่ือเป5นข�อมูลในการตัดสนิใจ

• กําหนดข้ันตอนการจัดทําข�อมูล การเก็บข�อมูล การตรวจสอบ การวเิคราะห>ข�อมูล และการแสดงผลหรอื รายงานข�อมูล (มีคู&มือการดําเนินงานระบบ GIS)

Page 178: Manager

- 176 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)ขอมูล (Data)

• ข�อมูลท่ีใช�งานในสังคมจํานวนมากมีนัยเชิงตําแหน&ง (Spatial Content) ยกตัวอย&าง เช&น ชื่อสถานท่ี รหัสไปรษณีย> ฯลฯ • กปภ. ข�อมูลภาพถ&ายถนนและ อาคารบ�านเรือน ข�อมูลเก่ียวกับผู�ใช�น้ํา ข�อมูลเก่ียวกับท&อและ อุปกรณ> ข�อมูลเก่ียวกับการซ&อมท&อ

• ข�อมูลต&างๆ ท่ีใช�ในระบบ GIS เป5นองค>ประกอบท่ีจัดว&าสําคัญ รองลงมาจากบุคลากร ข�อมูลบางส&วนต�องได�รับการนําเข�าเป5นดิจติอลและเก็บในรูปของแผนท่ีทางภูมิศาสตร>บางส&วนเก็บเป5นตารางข�อมูลท่ีมีความสัมพันธ> และดูแลด�วยโปรแกรมดูแล และจัดการฐานข�อมูล (Database management System: DBMS) ของ GIS เนือ้หาของข�อมูลจึงเป5นส&วนท่ีจะทําให�ผู�ใช�ได�ประโยชน>

• เนือ้หาจึงต�องสมบูรณ> มีความถูกต�อง เป5นมาตรฐาน และทันสมัยต&อการใช�งานอย&างมีประสิทธิภาพ

ขอมูลในระบบ GIS แบ&งออกได�เป5นสอง ลักษณะคือ

1. Positional Data บอกตําแหน&ง บางครั้งเรียกว&า Spatial Data 2. Descriptive Data บอกความหมายหรอืคุณลักษณะด�านต&าง ๆ บางครั้งเรียกว&า Attribute Data

บุคลากร (User)

• เป5นองค>ประกอบท่ีสําคัญท่ีสุดของ GIS เนื่องจากถ�าขาดผู�ใช�ก็จะไม&มีการพัฒนาโปรแกรม อุปกรณ> หรือข�อมูลท่ีมีคุณภาพ • “ ไม&มีผู�ใช� ไม&มี GIS ”

บุคลากร (User) แบ;งออกเป_นหลายกลุ;ม ไดแก;

• ผู�เชี่ยวชาญการใช�โปรแกรม (Software Expert)

• นักวิเคราะห>ระบบงาน (System Analyst)

• นักพัฒนาโปรแกรม (Application Developer, Programmer)

• ผู�ปฏิบัติงานและผู�ใช�ข�อมูล (Operating User)

เครือข;ายความร;วมมือ(Network)

• องค>กรเดียวไม&สามารถทํางานได�อย&างมีประสิทธภิาพ

• จําเป5นต�องมีการสร�างความร&วมมือในการแลกเปลี่ยนข�อมูลระหว&างหน&วยงานต&าง ๆ ท่ีมีหน�าท่ีในการ จัดเก็บรวบรวมข�อมูล

• ทําให�ข�อมูลมีความทันสมัย ประหยัดงบประมาณ ไม&ให�มีการ

ลักษณะของขอมูลในระบบ GIS แบ&งออกเป5น 2 ประเภท คือ

• ข�อมูลเชงิพ้ืนท่ี (Spatial data)

• ข�อมูลอรรถาธิบาย (Attribute Data)

Page 179: Manager

- 177 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)1. ข�อมูลเชิงพ้ืนท่ี = ข�อมูลท่ีเป5นกราฟฟ̂กแผนท่ี หรือภาพถ&ายดาวเทียมมีพิกัดตําแหน&งเป5นสําคัญ

2. ข�อมูลเชิงบรรยาย เป5นคําอธิบายสิ่งต&างๆ ของข�อมูลเชิงพ้ืนท่ี หรือ เป5นฐานข�อมูล สามารถเชื่อมโยงฐานข�อมูลจากแหล&งอ่ืนๆ ได� เช&น Billing

– - -

Page 180: Manager

-178 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)ขอมูลใน GIS มีลักษณะเป_นช้ันของของมูล

(Layer) เช&น ถนน ทางน้ํา ระดับความสูง บ�าน มิเตอร> เขตอําเภอ ตําบล ขอบเขต DMA เป5นต�นการแบ&ง Layer เป5นการแบ&งตามวตัถุประสงค> ของผู�ใช� เช&น กปภ.ใช�ชั้นข�อมูลมาตรฐาน 16 ชั้นการซ�อนทับของ Layer จะทําให�เห็นความสัมพันธ>เชิงตําแหน&ง เช&น จํานวนผู�ใช�น้ําในแต&ละ DMAหนาท่ีของระบบ GIS• การนําเข�าข�อมูล(Capturing Data)

• การสืบค�นข�อมูล (Query)

• การวิเคราะห>ข�อมูล(Analysis)

• การนําเสนอข�อมูล

• การนําเสนอผลการศึกษา การนําเขาขอมูล(Capturing Data)• การปรับแต&งข�อมูล (manipulation) ข�อมูลท่ีได�รับเข�าสู&ระบบบางอย&างจําเป5นต�องได�รบัการปรับแต&งให�

เหมาะสมกับงาน เช&น ข�อมูลบางอย&างมีขนาด หรือสเกล (scale) ท่ีแตกต&างกัน หรือใช�ระบบพิกัดแผนท่ีท่ีแตกต&างกัน ข�อมูลเหล&านี้จะต�องได�รับการปรับให�อยู&ใน ระดับเดียวกันเสียก&อน

ประโยชน9ของระบบ GIS • มีคําถามอีกจํานวนมากท่ีไม&สามารถหาคําตอบโดยวิธอ่ืีนนอกจากการวิเคราะห>ทางตําแหน&ง

◦ ถนนพหลโยธินผ&านพ้ืนท่ีเขตอะไรบ�าง?◦ มีบ�านผู�ใช�น้ําก่ีหลังท่ีใช�น้ําจากท&อเมน 300 มม. ◦ บรเิวณห&างจากปากซอยอยู&เย็นประมาณ 100 เมตรอยู&ในความรับผิดชอบของเขตลาดพร�าวหรือเขต

บึงกุ&ม ◦ มีก่ีโรงงานท่ีอยู&ในรัศมีประมาณ 2 กิโลเมตรจากสถานีเพ่ิมแรงดันน้ํา ◦ GIS ทําหน�าท่ีในการรวบรวมข�อมูลเชงิพ้ืนท่ี (Spatial data) และข�อมูลอรรถาธิบายต&าง ๆ

(Attribute data) ดังนั้น จึงมีประสิทธิภาพในการวิเคราะห>และตอบคําถามเก่ียวกับความสมัพันธ>

Page 181: Manager

- 179 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสญูเสีย (ต;อ)ด�านพ้ืนท่ีได�หลายประการ ซ่ึงสามารถแบ&งออกได�เป5น 5 ประเภท คือ

1. What is at.? (Location question); มีอะไร อยู&ท่ีไหน

คําถามแรก ท่ี GIS สามารถตอบได� คือ มีอะไร อยู&ท่ีไหน หากผู�ถามทราบข�อมูลท่ีเก่ียวกับตําแหน&งท่ีแน&นอน เช&น ทราบชื่อหมู&บ�านตําบล หรือ อําเภอ แต&ต�องการทราบว&าท่ีตําแหน&ง นั้น ๆ มีรายละเอียดข�อมูลอะไรท่ีเก่ียวข�องบ�าง เช&น ประชากรท่ีตําบล ก มีความหนาแน&นของประชากรเท&ากับเท&าใด

2. Where is it.? (Conditional question) สิ่งท่ีอยากทราบอยู&ท่ีไหน

คําถามนี้จะตรงกันข�ามกับคําถามแรก และต�องมีการวิเคราะห> ข�อมูลยกตัวอย&าง เช&น เราต�องการทราบว&าบริเวณใด มีความเหมาะสมกับการก&อสร�างระบบผลิตน้ําประปา โดยอยู&ห&างจากแหล&งน้ําไม&เกิน 5 กม. ไม&อยู&ในพ้ืนท่ีอนุรักษ> และมีการคมนาคมสะดวก เป5นต�น

3. How has it changed...? (Trendy question;) ในช&วงระยะเวลาท่ีผ&านมา มีอะไรเปลี่ยนแปลงบ�าง

คําถามนี้เป5นการวิเคราะห>การเปลี่ยนแปลงในช&วงระยะเวลาใดเวลาหนึง่ ซ่ึงคําถามประเภทนี้จะเก่ียวข�องกับคําถามท่ีหนึ่งและคําถามท่ีสอง ว&าต�องการทราบการเปลี่ยนแปลงของอะไร และสิ่งท่ีได�เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู&ท่ีไหน มีขนาดอย&างไร

4. Which data are related ...? (Relational question:) การวิเคราะห>ความสัมพันธ>ด�านพ้ืนท่ีเป5นอย&างไร

คําถามนี้ค&อนข�างจะซับซ�อนมากข้ึน ตัวอย&างของคําถามประเภทนี้เช&น เราอยากทราบว&าป*จจัยใดเป5นสาเหตุของการเกิดเชือ้โรคมาจากแหล&งใด การตอบคําถามดังกล&าว จําเป5นต�องแสดง ท่ีตั้งของแหล&งมลพิษต&าง ๆ ท่ีอยู&ªใกล�เคียง หรืออยู&เหนือลําธาร ซ่ึงลักษณะการกระจาย และตําแหน&ง ท่ีตั้งของสถานท่ีดังกล&าว ทําให�เราทราบถึงความสัมพันธ>ของป*ญหาดังกล&าว

5. What if.......? จะมีอะไรเกิดข้ึนหาก

คําถามนี้จะเก่ียวข�องกับการคาดการณ>ว&าจะมีอะไรเกิดข้ึนหากป*จจัยอิสระ (Independent factor) ซ่ึงเป5นตัวกําหนดการเปลี่ยนแปลงไป ยกตัวอย&าง เช&น จะเกิดอะไรข้ึนกับอุณหภูมิน้ําทะเลโดยรวม หากมีการสร�างโรงไฟฟ8าและปล&อยน้ําร�อนลงสู&ทะเล การตอบคําถามเหล&านี้บางครั้งต�องการข�อมูลอ่ืนเพ่ิมเติม หรือใช�วิธีทางสถิติ ในการวิเคราะห> เป5นต�น

Page 182: Manager

- 180 -งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)การวิเคราะห9ขอมูลโดยใช GIS Overlay Analysis

การวิเคราะห>ข�อมูลโดยใช� GIS : Bufferเป5นการกําหนดระยะร&นจากสิง่ท่ีกําหนด ตัวอย&างเช&น แนวถนนเป5นเขตควบคุมการก&อสร�าง และรอบ

โรงเรียนเป5นเขตควบคุมอบายมุข

Page 183: Manager

- 181 -

งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)การวิเคราะห9ขอมูลโดยใช GIS : TERRAIN ANALYSIS

การวิเคราะห9ขอมูลโดยใช GIS : Network analysis • การเลือกเส�นทางท่ีสะดวกท่ีสุดจากจุดหนึ่งไปสู&เป8าหมายแห&งเดียวหรือหลายแห&งบนโครงข&ายถนนของเมือง

ความสามารถในการเดินทางข้ึนอยู&กับสภาพถนนและปริมาณการจราจรท่ีมีผลต&อความเร็วของยานพาหนะ ระยะทางยาวทําให�ใช�เชื้อเพลิงและเวลามากข้ึน แต&การจราจรติดขัดบนระยะทางสั้นอาจใช�เวลาและสิ้นเปลืองเชือ้เพลิงใกล�เคียงกันหรือแม�แต&มากกว&า

การประยุกต9ใชงานระบบ GIS ส่ิงแวดลอม • ธุรกิจ

• อุตสาหกรรม

• ภาครัฐบาล

• การศึกษา การจัดทําแผนท่ี GIS สําหรับ กปภ.• ข้ันตอนการทํางาน (Procedure)

• งานบริการ : จัดทําข�อมูล ปรับปรุงข�อมูล

• ผจก :ส&งรายงานให� กปภ.ข.

• กปภ.ข. :สนับสนุนสาขา : รวบรวมข�อมูล : ส&งรายงาน

• กภส. :กําหนดแผนงาน : จัดหาอุปกรณ> : ตรวจสอบข�อมูล : รายงาน ผวก.

Page 184: Manager

- 182 -งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)การแสดงแผนท่ี GIS สําหรับ กปภ.• ใช� โปรแกรม PWA_GIS 2009 หรือ MapInfo : แนวท&อและอุปกรณ>ประกอบท&อ : ผู�ใช�น้ํา

• ระบบ GIS Web : แสดงข�อมูลท่ีเป5นป*จจุบันผ&านเครือข&าย : วิเคราะห>ข�อมูล และทํารายงานข�อมูลผ&านเครือข&าย : เชื่อมโยงกับข�อมูลระบบอ่ืนได�

• เพ่ิมประสทิธภิาพการปฏบัิติงาน : การค�นหาตําแหน&งท&อและอุปกรณ> อาคารต&างๆ :การวางแผน / การออกแบบ : การควบคุมน้ําสูญเสีย

• เพ่ิมความสะดวกในการให�บริการลูกค�า : การขอใช�น้ําประปารายใหม& (แผนท่ีตําแหน&งติดต้ังมิเตอร>)

• การซ&อมท&อประปา สนับสนุนการ เป̂ด/ป̂ด ประตูน้ํา เพ่ือซ&อมท&อประปา : ช&วยในการค�นหาตําแหน&งประตูน้ํา

บทบาทของผูจัดการกับระบบ GIS

���� การปรับปรุงข�อมูลให�เป5นป*จจบัุน ◦ มอบหมายผู�รับผิดชอบดูแลการปรับปรุงข�อมูลให�ทันสมัยอยู&เสมอ◦ ใช�ข้ันตอนการนําเข�าข�อมูลตามคู&มือการดําเนินงานระบบ GIS ◦ สุ&มตรวจสอบข�อมูลในสนามกับข�อมูลในคอมพิวเตอร>เป5นระยะ ๆ และปรับแก�ข�อมูลให�ตรงกับพ้ืนท่ีจริง

� การนําระบบ GIS ไปใช�งาน◦ การใช�แผนท่ี GIS ช&วยหาตําแหน&งบ�านผู�ใช�น้ํา◦ การวิเคราะห>สิ่งท่ีต�องการทราบจากข�อมูล GIS เช&น หาท&อท่ีมีอายุเกิน 10 ป̀ หามิเตอร>ท่ีมีอายุเกิน 8 ป̀ ◦ พ้ืนท่ีการให�บริการ◦ จํานวนประตูน้ํา หวัดับเพลิง ในพ้ืนท่ีท่ีเลือก◦ ความยาวท&อรวม ความยาวท&อตามขนาด◦ ความต�องการน้ําเฉลี่ย ปรมิาณผู�ใช�น้ํา

กปภ.สาขาท่ีดําเนินการโครงการ GIS1. รวบรวมข�อมูลแผนท่ีแนวท&อระบบท&อจ&ายน้ํา แผนท่ีฐาน ผังแสดงการติดต้ังมาตรวัดน้ําและผู�ใช�

น้ํารายใหม& ใบป̂ดคําสั่งงานซ&อมท&อ ข�อมูลผู�ใช�น้ําจากระบบ Billing รวมท้ังประสานงานกับหน&วยงานในท�องถ่ิน เช&น อบต. เทศบาล

2. ตรวจสอบแผนท่ีฐานในกรณีท่ีแผนท่ีฐานไม&ครอบคลมุเขตจําหน&ายน้ําให�แจ�งงานแผนท่ีแนวท&อ เพ่ือแจ�งให� กภส. จัดหาภาพถ&ายบรเิวณท่ีไม&ครอบคลุมให�

3. การจัดทําและปรับปรุงแผนท่ีฐาน( Base map) 4. สํารวจข�อมูลแผนท่ีแนวท&อระบบจ&ายน้ํา แผนท่ีฐานในพ้ืนท่ีจริง รวมท้ังสํารวจผู�ใช�น้ํารายใหม&

และตําแหน&งมาตรวัดน้ําด�วย5. นําเข�าข�อมูลท่ีได�จากการสํารวจตามมาตรฐานข�อมูล ของ GIS ของ กปภ. โดยการนําเข�าข�อมูล

ให�นําเข�าข�อมูลท&อเมนรองด�วย ข�อมูลมาตรวัดน้ําต�องวางในตําแหน&งท่ีติดต้ังจริง ข�อมูลการซ&อมท&อให�นําเข�าตามท่ี กปภ.เขต กําหนด

6. การรายงานผล กปภ.สาขาต�องส&ง รายงานพร�อมสําเนาข�อมูลแผนท่ีลง CD DVD-ROM จัดส&งให� กปภ.ข. ทุกสิ้นเดือน ภายในวันท่ี 5 ของเดือน

Page 185: Manager

- 183 -งานบริการและควบคุมนํ้าสูญเสีย (ต;อ)

ประยุกต>ใช�งานในสาํนักงาน

Updated แผนท่ีแนวท&อสาํหรับช&างโยธา

จัดพิมพ>แผนท่ี- แผนท่ีแนวท&อพ้ืนท่ีบริการ- แผนท่ี DMA- แผนท่ีประกอบงานขยายเขต- แผนผงัเส�นทางอ&านมาตร- แผนท่ีเขตการปกครอง

โครงการแผนท่ีเฉพาะเร่ือง- แผนท่ีแสดงค&าแรงดนันํ้า- แผนท่ีแสดงปริมาณนํ้าจําหน&าย- แผนท่ีแสดงทิศทางและปริมาณนํ้าในเส�นท&อ (hydraulic model)- แผนท่ีสถิตอ่ืินๆ

รายงานผล

รายงานความก�าวหน�า รายเดอืน ไตรมาส

รายงานจํานวนหมู&บ�าน ท่ีได�รับนํ้าประปาเพ่ิม

ตรวจสอบขอมลู

ปรับปรุงขอมลูเบ้ืองตน

ภาพถ;ายดาวเทียมหรือภาพถ;ายทางอากาศ

รายงานท;อเมนยกเลิกการใชงาน

ข�อมูลผู�ใช�นํ้า จากระบบ Billing

ASBUIL T DRAWING - งานขยายเขต - งานปรับปรุงเสนท;อ

ตรวจสอบแผนท่ี

ASBUIL T DRAWING(แผนท่ีรองรับ)

- งานขยายเขต - งานปรับปรุงเสนท;อ

สํารวจดวย GPSไฟล9ภาพ ASBUILT

DRAWINGตดิตัง้จริงท่ี register แลว ผังตดิตัง้มาตรวัดนํ้า

ผูใชนํ้ารายใหม;

ข�อมูลผู�ใช�นํ้า จากระบบ Billing

ไฟล>คําสัง่ปรับปรุงข�อมูลงานแก�ไขข�อมูลเดิม

ข�อมูลเพ่ิมเติมจาก กปภ.

ข�อมูลจากกปภ.

คาํส่ังซ;อม

รูปถ;ายจุดซ;อมท;อ

ขอมลูหนางานจากช;าง

นักวิชาการ GIS

เจ�าหน�าท่ี GISของบริษัท

นําเขาขอมลู

ข�อมูลจากบริษทั

ASBUIL T DRAWING

รายงานซ;อมท;อ

ขอมลูจากการสํารวจมาตรวดันํ้า อาคาร

อื่นๆ

ขอมลูหนางานจากช;าง

ภาพถ;ายดาวเทียมหรือภาพถ;ายทางอากาศ

แผนท่ีรองรับ

แผนท่ีไม;รองรับ

งาน่ีตองแกไข

ขอมลูเพ่ิมเตมิ