minor: · web viewenglish history geography and geoinformatics information studies philosophy...

439
1 หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหห (หหหหหหหหหหหหหหหห ห.ห. 2557) หหหหหหหหหหหหหหหหหหห คคคคคคคคคคคคคค คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค หหหหหหห 1. หหหหหหหหหหหห 1.หหหหหหหหหหหห (คคคคคคค) คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค (คคคคคคคคคค) Bachelor of Arts Program 2. หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหห 2.1 หหหหหหหหหห (คคคคคคค : คคคคคคคค) คคคคคคคคคคคคคคคค (คคคคคคค : คคคคคคคค) ค.ค. (คคคคคคคคคค : คคคคคคคค) Bachelor of Arts (คคคคคคคคคค : คคคคคคคค) B.A. *2.2 หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหห TRANSCRIPT FIELD OF STUDY : คคคคคคคคคคคค Major: Thai History Geography and Geoinformatics Philosophy Dramatic Arts Pali and Sanskrit Chinese Japanese Spanish Italian คคคคคค – คค Major: Thai English History Geography and Geoinformatics Information Studies Philosophy French

Upload: others

Post on 01-Feb-2021

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2557)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป

1. ชื่อหลักสูตร

(ภาษาไทย) หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต

(ภาษาอังกฤษ) Bachelor of Arts Program

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

2.1 ชื่อปริญญา

(ภาษาไทย : ชื่อเต็ม) อักษรศาสตรบัณฑิต

(ภาษาไทย : อักษรย่อ) อ.บ.

(ภาษาอังกฤษ : ชื่อเต็ม) Bachelor of Arts

(ภาษาอังกฤษ : อักษรย่อ) B.A.

*2.2 ชื่อสาขาวิชาที่ระบุใน TRANSCRIPT

FIELD OF STUDY :

แบบเอกเดี่ยว

Major:Thai

History

Geography and Geoinformatics

Philosophy

Dramatic Arts

Pali and Sanskrit

Chinese

Japanese

Spanish

Italian

แบบเอก – โท

Major: Thai

English

History

Geography and Geoinformatics

Information Studies

Philosophy

French

German

Spanish

Italian

Russian

Minor:Thai

English

History

Geography and Geoinformatics

Information Studies

Philosophy

Dramatic Arts

Pali and Sanskrit

Chinese

Japanese

French

German

Spanish

Italian

Russian

Linguistics

Comparative Literature

Malay

Korean

Vietnamese

Portuguese

Cambodian

Thai Civilization

Thai Studies

European Studies

American Studies

Editorial Studies

ASEAN Studies

โปรแกรมเกียรตินิยม

Honors Program

Major:Thai

English

History

Philosophy

Dramatic Arts

Chinese

Japanese

French

German

Italian

Minor:LinguisticsComparative Literature

*3.ลักษณะและประเภทของหลักสูตร

3.1ลักษณะของโปรแกรม

แบบเอกเดี่ยว

Major :Thai

History

Geography and Geoinformatics

Philosophy

Dramatic Arts

Pali and Sanskrit

Chinese

Japanese

Spanish

Italian

แบบเอกคู่

Major:.............................................................................................................................................

แบบเอก-โท

Major:Thai

English

History

Geography and Geoinformatics

Information Studies

Philosophy

French

German

Italian

Spanish

Russian

Minor:Thai

English

History

Geography and Geoinformatics

Information Studies

Philosophy

Dramatic Arts

Pali and Sanskrit

Chinese

Japanese

French

German

Spanish

Italian

Russian

Linguistics

Comparative Literature

Malay

Korean

Vietnamese

Portuguese

Cambodian

Thai Civilization

Thai Studies

European Studies

American Studies

Editorial Studies

ASEAN Studies

· แบบโปรแกรมเกียรตินิยม : Honors Program

แบบเอกเดี่ยว

Major :Thai

History

Philosophy

Dramatic Arts

Chinese

Japanese

French

แบบเอกคู่

Major:............................................................................................................................................

แบบเอก-โท

Major:Thai

English

History

Philosophy

French

German

Italian

Minor:Linguistics

Comparative Literature

3.2ประเภทของหลักสูตร

เชิงการจัดการ หลักสูตรปกติ หลักสูตรนานาชาติหลักสูตรภาษาอังกฤษ

เชิงการจัดเก็บเงินหลักสูตรปกติ หลักสูตรพิเศษ

4.จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 150 หน่วยกิต

5.รูปแบบของหลักสูตร

5.1รูปแบบ ปริญญาตรีประกาศนียบัตรบัณฑิตปริญญาโท

ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงปริญญาเอก

5.2ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษา........... ภาษาไทยและภาษา.................

5.3การรับเข้าศึกษานิสิตไทย นิสิตต่างชาติรับทั้งสองกลุ่ม

*5.4ความร่วมมือกับสถาบันอื่นทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

5.4.1 ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทุกคณะในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ร่วมมือในลักษณะเปิดโอกาสให้นิสิตทุกคณะลงทะเบียนเรียนร่วมกับนิสิตอักษรศาสตร์ได้ในรายวิชาศึกษาทั่วไปบางรายวิชา รายวิชาโทและรายวิชาเลือกอื่นๆ ที่เปิดสอน

5.4.2ภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันการศึกษาในประเทศ ได้แก่.......................................................................................................

ร่วมมือในลักษณะ…………………………………………………………………........................................................

สถาบันการศึกษาต่างประเทศ ได้แก่ Toyo Eiwa University, Kyoto Notre Dame University,

Waseda University, Peking University, The Communication University of China, Chengdu University,

Jain Vishva Bharati University, RWTH Aachen, Ludwig-Maximilians-Universität München, Universität Siegen, Nottingham Trent University, California State University (Sacramento)

ร่วมมือในลักษณะ MOU แลกเปลี่ยนนิสิต และบุคลากรทางวิชาการ

หน่วยงานและองค์กรอื่นๆ ได้แก่ Spanish Agency for International Development Cooperation (AECID), หน่วยความร่วมมือด้านภาษาฝรั่งเศส (BCF) สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทย, สำนักส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ (Hanban: The office of Chinese Language Council International),องค์กรแลกเปลี่ยนทางวิชาการเยอรมัน (DAAD), สถาบันเกอเธ่ (Goethe-Institut), สมาคมเยอรมัน-ไทย (Deutsch-Thailändische Gesellschaft), บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด (เงินทุน Toyota Fund for Japanese Section)

5.5การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา

ปริญญาเดียว

ปริญญาร่วมร่วมกับมหาวิทยาลัย.........................................................................................................

2 ปริญญา ร่วมกับมหาวิทยาลัย.........................................................................................................

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

6.1สถานภาพหลักสูตร

หลักสูตรใหม่

กำหนดเปิดสอนระบบทวิภาค ภาคการศึกษาต้น ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา.........

ระบบตรีภาคภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

ภาคการศึกษาที่ 3 ปีการศึกษา.........

หลักสูตรปรับปรุง

กำหนดเปิดสอนระบบทวิภาค ภาคการศึกษาต้น ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2557

ระบบตรีภาค ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

ภาคการศึกษาที่ 3 ปีการศึกษา.........

6.2 การพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

6.2.1 ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการมาตรฐานหลักสูตร

ในการประชุมครั้งที่ 4/2557 วันที่ 27 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2557

6.2.2ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการนโยบายวิชาการ

ในการประชุมครั้งที่ 5/2557 วันที่ 15 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2557

6.2.3ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย

ในการประชุมครั้งที่ 770 วันที่ 31 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2557.

7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

ปีการศึกษา 2559

8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. ด้านวิชาการ: ครู อาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย นักเอกสารสารสนเทศ นักสารสนเทศ นักจดหมายเหตุ นักภูมิสารสนเทศ เจ้าหน้าที่แผนที่ เจ้าหน้าที่ผังเมือง

2. ด้านธุรกิจ: ผู้บริหาร เลขานุการ พนักงานบริษัท พนักงานธนาคารและสถาบันการเงิน พนักงานธุรกิจโรงแรม พนักงานสายการบิน เจ้าของธุรกิจ

3. ด้านสื่อสารมวลชน: นักการโฆษณา บรรณาธิการ นักหนังสือพิมพ์ นักข่าว นักประชาสัมพันธ์

ผู้ประกาศข่าว พิธีกร

4. ด้านต่างประเทศ: นักการทูต ล่ามและนักแปล ผู้เชี่ยวชาญด้านการต่างประเทศ มัคคุเทศก์ เจ้าหน้าที่องค์กรระหว่างประเทศ

5. ด้านศิลปะการแสดง: นักแสดง ผู้กำกับการแสดง ผู้เขียนบท ผู้จัดการแสดง ผู้ผลิตรายการ

6. อาชีพอิสระ: นักเขียน นักแปล นักวิจารณ์

9.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

สาขาวิชา

อาจารย์ประจำหลักสูตร

วุฒิการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

วิจัย

ตำรา

บทความ

1. สาขาวิชาภาษาไทย

1. ผศ.ดร.ปรมินท์ จารุวร

อ.ด.

1

-

4

2. อ.ดร.ธีรนุช โชคสวนิช

อ.ด.

2

1

2

3. อ.ประไพพรรณ พึ่งฉิม

M.A.

1

-

4

2. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

1. ผศ.ศุภกาญจน์ เอี่ยมหฤท

M.A.

3

-

-

2. อ.สมจิต จิระนันทิพร

M.A.

1

-

-

3. อ.ภัคพรรณ ทิพยมนตรี

อ.ม.

-

-

-

3. สาขาวิชาประวัติศาสตร์

1. ผศ.สาวิตรี เจริญพงศ์

อ.ม.

-

1

5

2. ผศ.สุวิมล รุ่งเจริญ

อ.ม.

-

-

2

3. อ.ดร.ดินาร์ บุญธรรม

Ph.D.

1

1

8

4. สาขาวิชาภูมิศาสตร์และ

1. ผศ.ดร.พรรณี ชีวินศิริวัฒน์

Ph.D.

5

-

6

ภูมิสารสนเทศ

2. ผศ.ดร.ศิริวิไล ธีระโรจนารัตน์

Ph.D.

3

-

8

3. อ.ดร.ฐิติรัตน์ ปั้นบำรุงกิจ

Ph.D.

3

-

3

สาขาวิชา

อาจารย์ประจำหลักสูตร

วุฒิการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

วิจัย

ตำรา

บทความ

5. สาขาวิชาสารนิเทศศึกษา1. ผศ.จินดารัตน์ เบอรพันธุ์M.L.S314

2. อ.ดร.ทรงพันธ์ เจิมประยงค์Ph.D.--7

3. อ.เนณุภา สุภเวชย์M.Sc.31-

6. สาขาวิชาปรัชญา1. รศ.ดร.โสรัจจ์ หงส์รดารมภ์Ph.D.10210

2. รศ.เนื่องน้อย บุณยเนตรอ.ม.21-

3. อ.ธิดาวดี สกุลโพนM.A.-11

7. สาขาวิชาศิลปการละคร1. ผศ.ฤทธิรงค์ จิวากานนท์M.F.A.526

2. อ.ปวิตร มหาสารินันทน์M.A.1-9

3. อ.ปิยะวัฒน์ ธรรมกุลางกูรM.A.---

8. สาขาวิชาภาษาบาลีและ1. ผศ. ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการPh.D.2-1

สันสกฤต2. ผศ.ทัศนีย์ สินสกุลอ.ม.1--

3. อ.ดร.สมพรนุช ตันศรีสุขPh.D.--1

9. สาขาวิชาภาษาจีน1. อ.ดร.สืบพงศ์ ช้างบุญชูPh.D.--2

2. อ.ดร.ธีรวัฒน์ ธีรพจนีPh.D.-12

3. อ.อภิรดี เจริญเสนีย์M.A.-11

10. สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น1. ผศ.น้ำทิพย์ เมธเศรษฐM.A.211

2. อ.ดร.อัษฎายุทธ ชูศรีPh.D.124

3. Aj.Michiko ImaiM.A.---

11. สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส1. อ.ดร.สิริวรรณ จุฬากรณ์Ph.D.1-2

2. อ.ดร.วิโรจน์ โกศลฤทธิชัยPh.D.111

3. อ.ดร.วรรณชัย คำภีระPh.D.---

12. สาขาวิชาภาษาเยอรมัน

1. อ.ดร.ธนกร แก้ววิภาส

Ph.D.

1

-

4

2. อ.ดร.อันท์เยอ ชไตรท์

Ph.D.

-

-

1

3. อ.นันทนา อนันต์โกศล

อ.ม.

-

-

1

13. สาขาวิชาภาษาสเปน

1. อ.จันทรา ประมูลทรัพย์

M.A.

1

-

-

2. อ.ดร.หนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์

Ph.D.

3

-

6

3. อ.เลารา กัสโตร ซานเซส

M.A.

-

-

-

14. สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน

1. ผศ.ดร.หนึ่งฤดี โลหผล

Ph.D.

5

-

10

2. ผศ.สรรควัฒน์ ประดิษฐพงษ์

อ.ม.

-

-

1

3. อ.ดร.วิลาสินีย์ แฝงยงค์

Ph.D.

1

-

-

15. สาขาวิชาภาษรัสเซีย

1. อ.ดร.รมภ์ ภิรมนตรี

Ph.D.

-

4

5

2. อ.ดร.อังเดร เซดอฟ

Ph.D.

-

-

-

3. อ.ไรซา ซาไนวา

M.A.

-

-

-

10.สถานที่จัดการเรียนการสอน

ภายในมหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร์

ภายนอกมหาวิทยาลัย หน่วยงาน......................................................................

11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

11.1สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ เน้นการร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน และการขยายตัวเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ โดยเฉพาะการสร้างความพร้อมของประเทศเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทำให้จำเป็นต้องสร้างความเข้มแข็งให้แก่การศึกษาระดับอุดมศึกษาในทุกสาขาวิชารวมทั้งสาขาอักษรศาสตร์ เพื่อพัฒนาบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ สามารถเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและตลาดแรงงานที่กำลังขยายตัวอย่างกว้างขวางในทิศทางดังกล่าว และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล

11.2สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

ขณะที่การพัฒนาเศรษฐกิจมีแนวโน้มเป็นสากลมากขึ้น ทำให้ความรู้ เทคโนโลยี และวัฒนธรรมจากนานาชาติหลั่งไหลเข้าสู่สังคมไทยอย่างกว้างขวางขึ้นเป็นลำดับ คณะอักษรศาสตร์จึงควรพัฒนาหลักสูตรให้มีความสมดุล กล่าวคือ ด้านหนึ่ง พัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยและทันการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ของโลก ส่วนอีกด้านหนึ่ง พัฒนาหลักสูตรให้ผู้เรียนตระหนักรู้วัฒนธรรมของไทยอย่างรอบด้านและลึกซึ้ง เพื่อให้บัณฑิตดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและมีคุณค่าต่อสังคม

12.ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน

12.1 การพัฒนาหลักสูตร

การปรับปรุงหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2557 ยังคงเน้นความเข้มแข็งทางวิชาการมุ่งพัฒนานิสิตเข้าสู่ความเป็นนานาชาติ ทั้งระดับโลกและระดับภูมิภาค โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนใน พ.ศ. 2558 หลักสูตรเปิดสอนภาษาต่างประเทศทั้งภาษาตะวันตกและภาษาตะวันออก มากถึง 12 ภาษา ให้นิสิตได้เลือกเรียน ทั้งนี้หลักสูตรได้เปิดวิชาเอกเพิ่ม 1 สาขา คือ สาขาวิชาภาษารัสเซีย และเปิดวิชาโทเพิ่ม 1 สาขา คือ สาขาวิชาอารยธรรมไทย เพื่อให้นิสิตมีความรู้อารยธรรมไทยท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของโลก

12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน

การปรับปรุงหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2557 จะมีส่วนสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555-2559 โดยตรงใน 2 ด้าน ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และการผลิตบัณฑิตที่เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของประเทศ ของภูมิภาค และของโลก

13.ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน

13.1รายวิชาของหลักสูตรอื่นที่นำมาบรรจุในหลักสูตรนี้ มี

13.2รายวิชาของหลักสูตรนี้ที่หลักสูตรอื่นนำไปใช้ มี

*14.หลักสูตรที่นำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร

14.1หลักสูตรที่เสนอมีลักษณะคล้ายคลึงกับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนอยู่แล้วในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ได้แก่ .........................................................................................................................................................

โดยมีความคล้ายคลึงในส่วนใด (วิชาบังคับ วิชาเลือก หรืออื่นๆ)...............................................................

…………………………………………………………………………………………………...……............................................

แต่หลักสูตรที่เสนอแตกต่างไปจากหลักสูตรดังกล่าวในประเด็นที่สำคัญ คือ..............................................

……………………………………………………………………………………………………...…......................................…...

14.2 หลักสูตรลักษณะนี้มีเปิดสอนอยู่แล้วที่มหาวิทยาลัยอื่นในประเทศ

ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

หลักสูตรที่เสนอเปิดใหม่นี้มีจุดเด่น ข้อแตกต่างกับหลักสูตรดังกล่าวในประเด็นที่สำคัญ คือ

1. เป็นหลักสูตรแบบเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9 ด้าน 14 ประเด็น

2. มีภาษาต่างประเทศให้นิสิตเลือกเรียนจำนวนมากกว่า

3. เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความสนใจ มีทั้งแบบเอกเดี่ยวและแบบเอก-โท รวมทั้งมีกลุ่มวิชาโท (สหสาขาวิชา) ให้นิสิตเลือกเรียน

4. มีโปรแกรมเกียรตินิยม ซึ่งส่งเสริมศักยภาพด้านการวิจัยของนิสิตระดับปริญญาตรี

14.3หลักสูตรของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศที่ใช้ประกอบการพัฒนาหลักสูตรนี้ ได้แก่....................................

……………………………………………………………………………………………………...……………………………………………….

หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสำคัญ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

1.1 ปรัชญาของหลักสูตร

หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิตจักต้องเป็นหลักสูตรที่สร้างบัณฑิตผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางมนุษยศาสตร์สามารถเป็นแหล่งอ้างอิงของแผ่นดินและที่พึ่งทางปัญญาของสังคม

1.2 ความสำคัญของหลักสูตร

1. คณะอักษรศาสตร์ปรับแก้ไขชื่อสาขาวิชาจากเดิม จำนวน 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาภูมิศาสตร์ เป็น สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ เนื่องจากในปัจจุบันตลาดแรงงานในประเทศไทยทั้งภาครัฐและเอกชน นิยมใช้คำว่า “ภูมิสารสนเทศ” ในการรับสมัครบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่จบทางด้านภูมิศาสตร์ และ/หรือศาสตร์ทางพื้นที่ที่เกี่ยวข้องการใช้ข้อความดังกล่าว ตลาดแรงงานต้องการเน้นย้ำว่าบัณฑิตและ/หรือมหาบัณฑิตที่จะเข้ามาทำงาน ต้องเป็นผู้มีความรู้และมีทักษะในการทำงานทางด้านแผนที่และใช้เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) การรับรู้จากระยะไกล (RS) และระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (GPS) ได้ในระดับหนึ่ง อนึ่ง ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะ อักษรศาสตร์ได้มีการพัฒนาการเรียนการสอนให้เท่าทันต่อเทคนิคทางด้านแผนที่และเทคโนโลยีใหม่ๆทางภูมิศาสตร์ และได้กำหนดให้รายวิชาเหล่านี้เป็นรายวิชาบังคับและวิชาเลือกสำหรับนิสิตมาโดยตลอด คณะอักษร-ศาสตร์ จึงขอปรับชื่อสาขาวิชาให้สอดคล้องกับรายวิชาที่เปิดสอนอยู่และตรงกับความเข้าใจของผู้ใช้บัณฑิต

2. คณะอักษรศาสตร์เปิดสอนวิชาเอกเพิ่มอีก 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาภาษารัสเซีย เนื่องจากประเทศไทยและประเทศรัสเซียได้ทำข้อตกลงทวิภาคีในด้านต่างๆ ส่งผลให้ภาษารัสเซียมีความสำคัญขึ้นทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน ดังจะเห็นได้จากความต้องการกำลังคนที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านภาษาและวัฒนธรรมรัสเซียในหน่วยงานของรัฐ เช่น กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการพาณิชย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็นต้น และในภาคเอกชนมีบริษัทต่างๆที่ทำธุรกิจการค้าและอุตสาหกรรมกับประเทศรัสเซียเป็นจำนวนไม่น้อย ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จึงเห็นความจำเป็นในการพัฒนานิสิตให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านภาษาและวัฒนธรรมรัสเซียเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชีย

1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1.3.1 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรเดิม

1.3.1.1 โปรแกรมปกติ

มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้

(1) มีโลกทัศน์กว้าง

(2) มีความรู้กว้างด้านมนุษยศาสตร์

(3) มีความรู้ลึกในสาขาวิชาเฉพาะ

(4) รู้จักศึกษาค้นคว้า และบูรณาการความรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

(5) รู้จักใช้วิจารณญาณ และสามารถเป็นผู้นำทางปัญญา

(6) มีคุณธรรม

1.3.1.2 โปรแกรมเกียรตินิยม

มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้

(1) มีโลกทัศน์กว้าง

(2) มีความรู้กว้างด้านมนุษยศาสตร์

(3) มีความรู้ความสามารถเฉพาะสาขาในเชิงลึก

(4) มีความสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ

(5) มีศักยภาพในการวิจัย และศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา

(6) รู้จักศึกษาค้นคว้า รู้จักเลือก และใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

(7) มีคุณธรรม

1.3.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรปรับปรุง

1.3.2.1 โปรแกรมปกติ

มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้

(1) มีโลกทัศน์กว้าง ทันต่อความเปลี่ยนแปลงในสังคมและสามารดำรงความเป็นไทยในบริบทโลกาภิวัฒน์

(2) มีความรู้กว้างด้านมนุษยศาสตร์

(3) มีความรู้ลึกในสาขาวิชาเฉพาะ

(4) รู้จักศึกษาค้นคว้า และบูรณาการความรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

(5) รู้จักใช้วิจารณญาณ และสามารถเป็นผู้นำทางวิชาการ

(6) มีคุณธรรม

1.3.2.2 โปรแกรมเกียรตินิยม

มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้

(1) มีโลกทัศน์กว้าง ทันต่อความเปลี่ยนแปลงในสังคมและสามารดำรงความเป็นไทยใน

บริบทโลกาภิวัฒน์

(2) มีความรู้กว้างด้านมนุษยศาสตร์

(3) มีความรู้ลึกในสาขาวิชาเฉพาะ

(4) รู้จักศึกษาค้นคว้า และบูรณาการความรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

(5) รู้จักใช้วิจารณญาณ และสามารถเป็นผู้นำทางวิชาการ

(6) มีศักยภาพในการวิจัยเชิงลึก

(7) มีคุณธรรม

*1.4 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือบัณฑิตจุฬาฯ เป็นผู้ที่มีคุณค่าของสังคมโลก ซึ่งประกอบด้วย 9 ด้าน 14 ประเด็น ดังนี้ 1. มีความรู้ (รู้รอบ รู้ลึก) 2. มีคุณธรรม (มีคุณธรรมและจริยธรรม มีจรรยาบรรณ) 3. คิดเป็น (สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะในการคิดแก้ปัญหา) 4. ทำเป็น (มีทักษะทางวิชาชีพ มีทักษะทางการสื่อสาร มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ มีทักษะทางการบริหารจัดการ) 5. ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ (ใฝ่รู้ รู้จักวิธีการเรียนรู้) 6. มีภาวะผู้นำ 7. มีสุขภาวะ 8. มีจิตอาสาสำนึกสาธารณะ 9. ดำรงความเป็นไทยในกระแสโลกาภิวัตน์

สำหรับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตรมีลักษณะเด่น คือ รู้รอบในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ รู้ลึกในศาสตร์ของสาขาวิชาเฉพาะ มีคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ มีทักษะในการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ด้านภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาต่างประเทศอื่นๆ

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง

กลยุทธ์

หลักฐาน/ตัวบ่งชี้

1. เปิดสอนวิชาเอกสาขาวิชาภาษา

รัสเซีย

1. มีระบบติดตามและประเมินผล

การเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ

1. จำนวนนิสิตที่เลือกสาขาวิชาภาษารัสเซียเป็นวิชาเอก

(ภายใน 5 ปี)

2. เปิดสอนกลุ่มวิชาโทอาเซียนศึกษา

(สหสาขาวิชา)

2. มีระบบติดตามและประเมินผล

การเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ

2. จำนวนนิสิตที่เลือกกลุ่มวิชาโท

อาเซียนศึกษา (ภายใน 5 ปี)

3. เปิดสอนกลุ่มวิชาโท

อารยธรรมไทย

3. มีระบบติดตามและประเมินผล

การเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ

3. จำนวนนิสิตที่เลือกกลุ่มวิชาโทอารยธรรมไทย (ภายใน 5 ปี)

4. ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นิสิตบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้

4. ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ทาง

วิชาการแก่คณาจารย์เพื่อนำไป

จัดการเรียนการสอน

4. รายงานการวิจัยของสาขาวิชา

หรือรายงานผลการฝึกงานของ

นิสิต

5. เอกสารการได้รับการพัฒนาทางวิชาการของอาจารย์

หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา

1.1ระบบ

ระบบทวิภาคภาคการศึกษาละไม่น้อยกว่า 15สัปดาห์

ระบบทวิภาค (นานาชาติ)ภาคการศึกษาละไม่น้อยกว่า 15สัปดาห์

ระบบตรีภาคภาคการศึกษาละไม่น้อยกว่า 15สัปดาห์

1.2การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

มีภาคฤดูร้อน

ไม่มีภาคฤดูร้อน

1.3การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

-ไม่มี-

*1.4 การลงทะเบียนเรียน

ระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาปกติ 9-22 หน่วยกิต ภาคฤดูร้อน ไม่เกิน 7 หน่วยกิต

ระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาปกติไม่เกิน 15 หน่วยกิต ภาคฤดูร้อน ไม่เกิน 6 หน่วยกิต

2. การดำเนินการหลักสูตร

2.1 วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน

ระบบทวิภาคภาคการศึกษาต้น:สิงหาคม – ธันวาคม

ภาคการศึกษาปลาย:มกราคม – พฤษภาคม

ภาคฤดูร้อน:มิถุนายน – กรกฎาคม

ระบบตรีภาคภาคการศึกษาที่ 1:มิถุนายน - กันยายน

ภาคการศึกษาที่ 2:ตุลาคม - มกราคม

ภาคการศึกษาที่ 3:กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม

2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

2.2.1 โปรแกรมปกติ

เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ทั้งในระบบโรงเรียนหรือนอกระบบโรงเรียน และมีคุณสมบัติอื่นตามระเบียบของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งจะประกาศเป็นปีๆ ไป

2.2.2 โปรแกรมเกียรตินิยม

ผู้ที่เข้าศึกษาโปรแกรมเกียรตินิยมจะต้องผ่านการเรียนในชั้นปีที่ 1 ด้วยแต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.75 และเรียนรายวิชาในหลักสูตรมาแล้วไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต กรณีได้แต้มเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 3.75 แต่สูงกว่าเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย คือ 3.50 ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารคณะอักษรศาสตร์

*การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

หลักสูตรระดับปริญญาตรี เป็นไปตามข้อบังคับว่าด้วยการรับนักเรียนเข้าศึกษาในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประกาศของสมาคมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (สอท.)

หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา เป็นไปตามคู่มือการสมัครเข้าศึกษาซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบในปีการศึกษานั้น หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ พิจารณาแล้วเห็นสมควรรับเข้าศึกษาได้

2.3 ปัญหาของนิสิตแรกเข้า

นิสิตบางคนมีพื้นความรู้ภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษาไม่ดีพอ

2.4 กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจำกัดของนิสิตในข้อ 2.3

มีการสอนเสริมภาษาอังกฤษเพื่อปรับความรู้ให้แก่นิสิต

2.5 แผนการรับนิสิตและผู้สำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี

จำนวนนิสิต

จำนวนนิสิตแต่ละปีการศึกษา

2554

2555

2556

2557

2558

2559

ชั้นปีที่ 1

310

316

308

330

330

330

ชั้นปีที่ 2

298

299

308

310

310

310

ชั้นปีที่ 3

284

291

320

320

320

320

ชั้นปีที่ 4

341

311

320

320

320

320

รวม

1,233

1,217

1,232

1,260

1,260

1,260

คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา

303

285

300

310

310

310

2.6 งบประมาณตามแผน

2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย : บาท)

รายละเอียดรายรับ

ปีงบประมาณ

2554

2555

2556

2557

2558

2559

ค่าบำรุงการศึกษา

-

-

-

-

-

-

ค่าลงทะเบียน (34,000)

35,757,000

35,293,000

35,757,000

42,840,000

42,840,000

42,840,000

เงินอุดหนุนจากรัฐบาล

29,685,350

29,464,235

29,685,350

23,758,482

23,758,482

23,758,482

รวมรายรับ

65,442,350

64,757,235

65,442,350

66,598,482

66,598,482

66,598,482

2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย : บาท)

หมวดเงิน

ปีงบประมาณ

2554

2555

2556

2557

2558

2559

ก. งบดำเนินการ

1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร

12,511,152

12,511,152

12,511,152

12,511,152

12,511,152

12,511,152

2. ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน

(ไม่รวม 3)

51,038,453

20,376,154

51,038,453

52,156,084

52,156,084

52,156,084

3. ทุนการศึกษา

-

-

-

-

-

-

4. รายจ่ายระดับมหาวิทยาลัย

-

-

-

-

-

-

รวม (ก)

63,549,605

62,887,306

63,549,605

64,667,236

64,667,236

64,667,236

ข. งบลงทุน

ค่าครุภัณฑ์

1,892,745

1,869,929

1,892,745

1,931,247

1,931,247

1,931,247

รวม (ข)

1,892,745

1,869,929

1,892,745

1,931,247

1,931,247

1,931,247

รวม (ก) + (ข)

65,442,350

64,757,235

65,442,350

66,598,482

66,598,482

66,598,482

จำนวนนิสิต * ปี 1

1,233

1,217

1,233

1,260

1,260

1,260

ค่าใช้จ่ายต่อหัวนิสิต

53,076

53,211

53,076

52,856

52,856

52,856

* หมายเหตุ จำนวนนิสิตรวมหลักสูตรเก่าและหลักสูตรปรับปรุง ค่าใช้จ่ายต่อหัวนิสิต 52,856 บาทต่อปี

2.7 ระบบการศึกษา

แบบชั้นเรียน

แบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก

แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ภาพและเสียงเป็นสื่อหลัก

แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก (E-learning)

แบบทางไกลทางอินเตอร์เนต

อื่นๆ (ระบุ) …………………………………………………

2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย

หลักเกณฑ์การเทียบโอน ให้เป็นไปตามข้อบังคับ/ระเบียบของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน

3.1 หลักสูตร

3.1.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 150 หน่วยกิต

ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี

3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 150 หน่วยกิต ประกอบด้วย

1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต

2. หมวดวิชาเฉพาะ 114 หน่วยกิต ประกอบด้วย

2.1 วิชาพื้นฐานอักษรศาสตร์ 42หน่วยกิต

2.2 วิชาเฉพาะสาขา 72หน่วยกิต มี 2 รูปแบบ ได้แก่

2.2.1 แบบเอกเดี่ยว72 หน่วยกิต

2.2.2 แบบเอก – โท72 หน่วยกิต

- วิชาเอก 51 หน่วยกิต

- วิชาโท 21 หน่วยกิต

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

สาขาวิชาที่เปิดสอนในคณะอักษรศาสตร์

สาขาวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต (โปรแกรมปกติ) มี 28 สาขาวิชา ดังนี้

สาขาวิชา/กลุ่มวิชา

ลักษณะการเปิดสอน

วิชาเอกเดี่ยว

(72 หน่วยกิต)

วิชาเอก-โท (72 หน่วยกิต)

วิชาเอก

(51 หน่วยกิต)

วิชาโท

(21 หน่วยกิต)

1. ภาษาไทย

X

X

X

2. ภาษาอังกฤษ

X

X

3. ประวัติศาสตร์

X

X

X

4. ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ

X

X

X

5. สารนิเทศศึกษา

X

X

6. ปรัชญา

X

X

X

7. ศิลปการละคร

X

X

8. ภาษาบาลีและสันสกฤต

X

X

9. ภาษาจีน

X

X

10. ภาษาญี่ปุ่น

X

X

11. ภาษาฝรั่งเศส

X

X

12. ภาษาเยอรมัน

X

X

13. ภาษาสเปน

X

X

X

14. ภาษาอิตาเลียน

X

X

X

15. ภาษารัสเซีย

X

X

16. ภาษาศาสตร์

X

17. วรรณคดีเปรียบเทียบ

X

18. ภาษามาเลย์

X

19. ภาษาเกาหลี

X

20. ภาษาเวียดนาม

X

21. ภาษาโปรตุเกส

X

22. ภาษาเขมร

X

23. อารยธรรมไทย

X

กลุ่มวิชาสหสาขาวิชา

24. ไทยศึกษา

(นิสิตในคณะ 21 หน่วยกิต นิสิตนอกคณะ 15 หน่วยกิต)

25. ยุโรปศึกษา

(นิสิตในคณะ 21 หน่วยกิต นิสิตนอกคณะ 15 หน่วยกิต)

26. อเมริกาศึกษา

(นิสิตในคณะ 21 หน่วยกิต นิสิตนอกคณะ 15 หน่วยกิต)

27. บรรณาธิการศึกษา

(นิสิตในคณะ 21 หน่วยกิต นิสิตนอกคณะ 15 หน่วยกิต)

28. อาเซียนศึกษา

(นิสิตในคณะและนอกคณะ 21 หน่วยกิต)

สาขาวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต (โปรแกรมเกียรตินิยม) มี 12 สาขาวิชา ดังนี้

สาขาวิชา/กลุ่มวิชา

ลักษณะการเปิดสอน

วิชาเอกเดี่ยว

(72 หน่วยกิต)

วิชาเอก-โท (72 หน่วยกิต)

วิชาเอก

(51 หน่วยกิต)

วิชาโท

(21 หน่วยกิต)

1. ภาษาไทย

X

X

2. ภาษาอังกฤษ

X

3. ประวัติศาสตร์

X

X

4. ปรัชญา

X

X

5. ศิลปการละคร

X

6. ภาษาจีน

X

7. ภาษาญี่ปุ่น

X

8. ภาษาฝรั่งเศส

X

X

9. ภาษาเยอรมัน

X

10. ภาษาอิตาเลียน

X

11. ภาษาศาสตร์

X

12. วรรณคดีเปรียบเทียบ

X

สาขาวิชาที่เปิดสอนเป็นวิชาเลือกเพื่อบริการให้แก่นิสิตในคณะและนอกคณะมี 5 สาขาวิชา ได้แก่

1. ภาษาฮินดีรหัส 2221

2. ภาษาอินโดนีเซียรหัส 2224

3. ภาษาพม่ารหัส 2227

4. ภาษาอาหรับรหัส 2228

5. ภาษาลาวรหัส 2245

รายวิชา

1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต

1.1 วิชาการศึกษาทั่วไปนอกคณะ 12 หน่วยกิต

ให้เลือกจากรายวิชาที่สำนักงานจัดการศึกษาทั่วไปประกาศ ใน 4 กลุ่มต่อไปนี้ และต้องเป็นรายวิชานอกคณะเท่านั้น

(ก) กลุ่มสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต

(ข) กลุ่มมนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต

(ค) กลุ่มวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ 3 หน่วยกิต

(ง) กลุ่มสหศาสตร์ 3 หน่วยกิต

1.2 วิชาการศึกษาทั่วไป กลุ่มภาษาต่างประเทศ 12 หน่วยกิต

ให้เลือกจากรายวิชาภาษาอังกฤษนอกคณะอักษรศาสตร์ และ/หรือให้เลือกจากรายวิชาของภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ และ/หรือ รายวิชาภาษาต่างประเทศอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษในกรณีที่นิสิตได้ลงทะเบียนเรียนรายวิชา

ภาษาอังกฤษครบ 12 หน่วยกิตแล้ว

1.3 วิชาการศึกษาทั่วไปกลุ่มพิเศษ 6 หน่วยกิต

ให้เรียนรายวิชาของคณะอักษรศาสตร์ ดังนี้

2201111การใช้ภาษาไทย 3 (3-0-6)

The Use of the Thai Language

2207143การใช้เหตุผล 3 (3-0-6)

Reasoning

2. หมวดวิชาเฉพาะ 114 หน่วยกิต

2.1 วิชาพื้นฐานอักษรศาสตร์ 42 หน่วยกิต

ให้เรียนรายวิชาของคณะอักษรศาสตร์ ดังต่อไปนี้

2200220 อารยธรรมไทย 3 (3-0-6)

Thai Civilization

2201152วรรณคดีไทย 3 (2-3-4)

Thai Literature

2201327การเขียนภาษาไทยเพื่อวิชาชีพ 3 (2-2-5)

Thai Professional Writing

2202111ภาษาอังกฤษ 1 3 (1-4-4)

English I

2202112 ภาษาอังกฤษ 2 3 (1-4-4)

English II

2202124 แปลอังกฤษขั้นต้น3 (3-0-6) Introduction to Translation

2204181อารยธรรมตะวันออก 3 (3-0-6)

Eastern Civilization

2204182อารยธรรมตะวันตก 3 (3-0-6)

Western Civilization

2205200มนุษย์กับภูมิศาสตร์3 (3-0-6)

Man and Geography

2206102 การค้นคว้าและการเขียนรายงาน 2 (2-0-4)

Research and Report Writing

2206299แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1 (1-0-2)

Basic Concepts of Computing

2207102 ปรัชญาทั่วไป 3 (3-0-6)

General Philosophy

หรือ

2207161 มนุษย์กับศาสนา 3 (3-0-6)

Man and Religion

2208101 ปริทัศน์ศิลปการละคร 3 (3-0-6)

Introduction to Dramatic Arts

2209161 ภาษาทัศนา 3 (3-0-6)

Introduction to Language

2210260 วรรณคดีทัศนา 3 (3-0-6)

Introduction to Literature

2.2 วิชาเฉพาะสาขา 72 หน่วยกิต

ให้เลือกวิชาเฉพาะสาขารูปแบบใดรูปแบบหนึ่งใน 2 แบบต่อไปนี้ 2.2.1 แบบเอกเดี่ยว72 หน่วยกิต 2.2.2 แบบเอก-โท 72 หน่วยกิต

- วิชาเอก 51 หน่วยกิต

- วิชาโท 21 หน่วยกิต

ทั้งนี้ วิชาโทต้องไม่ซ้ำกับสาขาวิชาที่เรียนเป็นวิชาเอก

( ดูรายวิชาของวิชาเฉพาะสาขาในหลักสูตรของแต่ละสาขาวิชา)

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้เลือกรายวิชาใดก็ได้ที่เปิดสอนในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แผนการศึกษา

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัส

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

รหัส

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

2201111

การใช้ภาษาไทย

3

2201152

วรรณคดีไทย

3

2202111

ภาษาอังกฤษ 1

3

2202112

ภาษาอังกฤษ 2

3

2204181

อารยธรรมตะวันออก

3

2202124

แปลอังกฤษขั้นต้น

3

2206102

การค้นคว้าและการเขียนรายงาน

2

2204182

อารยธรรมตะวันตก

3

2207143

การใช้เหตุผล

3

2207102

ปรัชญาทั่วไป

3

2208101

ปริทัศน์ศิลปการละคร

3

หรือ

xxxxxxx

วิชาเอกหรือวิชาโท

3-4

2207161

มนุษย์กับศาสนา

2209161

ภาษาทัศนา

3

xxxxxxx

วิชาเอกหรือวิชาโท

3-4

รวม

20-21

รวม

20-21

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัส

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

รหัส

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

2200220

อารยธรรมไทย

3

2205200

มนุษย์กับภูมิศาสตร์

3

2210260

วรรณคดีทัศนา

3

xxxxxxx

วิชาการศึกษาทั่วไป(ภาษาต่างประเทศ)

3

xxxxxxx

วิชาการศึกษาทั่วไป (ภาษาต่างประเทศ)

3

xxxxxxx

วิชาการศึกษาทั่วไปนอกคณะ

3

xxxxxxx

วิชาการศึกษาทั่วไปนอกคณะ

2

xxxxxxx

วิชาเอกหรือวิชาโท

6-12

xxxxxxx

วิชาเอกหรือวิชาโท

6-9

รวม

18-21

รวม

15-21

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัส

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

รหัส

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

2206299

xxxxxxx

มโนทัศน์พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

วิชาการศึกษาทั่วไ(ภาษาต่างประเทศ)

1

3

2201327

2206299

การเขียนภาษาไทยเพื่อวิชาชีพ

มโนทัศน์พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

3

1

Xxxxxxx

xxxxxxx

วิชาการศึกษาทั่วไปนอกคณะ

วิชาเอกหรือวิชาโท

3

12-15

xxxxxxx

xxxxxxx

วิชาการศึกษาทั่วไ (ภาษาต่างประเทศ)

วิชาการศึกษาทั่วไปนอกคณะ

3

3

xxxxxxx

วิชาเอกหรือวิชาโท

9-12

รวม

19-22

รวม

18-21

ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัส

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

รหัส

ชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

xxxxxxx

วิชาเอกหรือวิชาโท

15-18

xxxxxxx

วิชาเอกหรือวิชาโท

15-18

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

3

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

3

รวม

18-21

รวม

18-21

คำอธิบายรายวิชาศึกษาทั่วไปในคณะและรายวิชาพื้นฐานอักษรศาสตร์

2200220อารยธรรมไทย3 (3-0-6)

วิวัฒนาการของสังคมไทยในด้านชีวิตการเป็นอยู่ ความคิดความเชื่อ

และการแสดงออกด้านวัฒนธรรม และศิลปกรรม ซึ่งก่อให้เกิดบูรณาการ

ของอารยธรรมไทยในด้านการเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนในด้านลักษณะ

ความคิด ความเชื่อ ภูมิปัญญา และงานสร้างสรรค์

Thai Civilization

THAI CIVThe development of Thai society: way of life, ideas, beliefs,

cultural and artistic expression, all of which have resulted in the political,

economic and social integration as well as the ideological,

intellectual and artistic integration of Thai civilization.

2201111การใช้ภาษาไทย3 (2-3-4)

ทักษะการใช้ภาษาไทย 4 ด้าน ได้แก้ การพูด การฟัง การอ่าน การเขียน

The Use of the Thai Language

USE THAI LANG

Practice of 4 skills in Thai usage: listening, speaking, reading and writing.

2201152วรรณคดีไทย3 (2-3-4)

ลักษณะและคุณค่าของหนังสือที่เป็นวรรณคดีไทย เลือกศึกษาวรรณคดีที่สำคัญบางเรื่อง

Thai Literature

THAI LIT

Characteristics and values of Thai literary works; study of selected literary works.

2201327การเขียนภาษาไทยเพื่อวิชาชีพ3 (2-2-5)

การฝึกประมวลและเรียบเรียงความคิดเป็นงานเขียนภาษาไทยรูปแบบต่างๆ

เพื่อประโยชน์แก่การประกอบอาชีพ

Thai Professional Writing

PRO WRIT

Practice of gathering and organizing ideas into various forms

of Thai writing of professional use.

2202111ภาษาอังกฤษ 13 (1-4-4)

ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษระดับกลาง ในประเด็นเกี่ยวกับสังคม

และวัฒนธรรมร่วมสมัยความรู้พื้นฐานการเขียนย่อหน้าภาษาอังกฤษ

English I

ENGLISH I

Intermediate listening, speaking, reading, writing skills in English, based on topics

on current social and cultural issues; introduction to English paragraph writing.

2202112ภาษาอังกฤษ 23 (1-4-4)

(เงื่อนไขรายวิชา : รายวิชาบังคับร่วม 2202111 ภาษาอังกฤษ 1)

ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษระดับสูง ในประเด็นเกี่ยวกับสังคมและ

วัฒนธรรมร่วมสมัย การอ่านข้อความภาษาอังกฤษจากแหล่งต่างๆ การเขียนย่อหน้า

ภาษาอังกฤษที่มีโครงสร้าง ซับซ้อน

English II

ENGLISH II

(CONDITION: COREQ 2202111 ENGLISH I)

Advanced listening, speaking, reading, writing skills in English, based on topics

on current social and cultural issues; reading passages from various sources;

writing English paragraphs with complex structures.

2202124 แปลอังกฤษขั้นต้น3 (3-0-6)

หลักการแปลเบื้องต้น การแปลประโยคและข้อความขนาดสั้นประเภทต่างๆ

จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ เน้นความถูกต้อง

ความแตกต่างทางโครงสร้าง และความแตกต่างระหว่างการใช้ภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ

Introduction to Translation

INTRO TRANSL

Principles of basic translation; translation of various types of sentences

and short passages from English to Thai and Thai to English,

with emphasis on accuracy and differences in structure

and usage between the two languages.

2204181อารยธรรมตะวันออก3 (3-0-6)

พัฒนาการทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของโลกตะวันออก

ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงสมัยปัจจุบัน

Eastern Civilization

EAST CIV

Political, economic, social and cultural development of the Eastern World

from ancient times to the present.

2204182อารยธรรมตะวันตก3 (3-0-6)

พัฒนาการทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของโลกตะวันตก

ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงสมัยปัจจุบัน

Western Civilization

WEST CIV

Political, economic, social and cultural development, of the Western World

from ancient times to the present.

2205200มนุษย์กับภูมิศาสตร์3 (3-0-6)

ความหมายและความสำคัญของภูมิศาสตร์ แนวคิดเชิงพื้นที่เกี่ยวกับมนุษย์ในปริบท

ด้านกายภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง การใช้เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์

ในกิจกรรมต่างๆของมนุษย์

Man and Geography

MAN/GEOG

Meaning and significance of geography; spatial concepts of man in physical,

cultural, economic, social and political context; use of geographic techniques

in different human activities.

2206102การค้นคว้าและการเขียนรายงาน2 (2-0-4)

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัย การเข้าถึงและการใช้ทรัพยากรสารนิเทศ การรวบรวม

บรรณานุกรม การจดบันทึกเพื่อการเขียนรายงาน การเขียนรายงานโดยมีการอ้างอิง

และการลงบรรณานุกรมอย่างถูกต้องตามรูปแบบมาตรฐาน

Research and Report Writing

RES & REPO WRITING

Steps in doing research; access and use of information resources;

bibliography compilation; note taking for report writing; report writing

with standard format of references and bibliographies.

2206299แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์1 (1-0-2)

ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ แนวคิดที่สำคัญ ฮาร์แวร์และซอฟทฺแวร์

ประเภทต่างๆ การเขียนโปรแกรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ปัญญาประดิษฐ์

สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา

Basic Concepts of Computing

BASIC CON COMP

History of computer; important concepts; types of hardware and software;

programming; computer networks; internet; artificial intelligence;

intellectual property rights.

2207102ปรัชญาทั่วไป3 (3-0-6)

ศึกษาปัญหาสำคัญๆในปรัชญา เช่น ความเป็นจริง ความเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ

ของมนุษย์ จริยธรรมของมนุษย์ เพื่อให้เข้าใจโลกทัศน์แนวต่างๆ กัน

General Philosophy

GEN PHILOS

An investigation of principal problems in philosophy: reality, change,

human nature, human knowledge and ethics; different worldviews.

2207143การใช้เหตุผล3 (3-0-6)

รูปแบบของการอ้างเหตุผล การประเมินการอ้างเหตุผล การอ่านและการเขียนเชิงวิพากษ์

Reasoning

REASONNING

Forms of arguments; evaluation of arguments;

2207161มนุษย์กับศาสนา3 (3-0-6)

ปริทัศน์วิวัฒนาการของศาสนาต่างๆเพื่อความเชื่อและการแสดงออกโดยเน้นศาสนาดั้งเดิม

ฮินดู พุทธ คริสต์ และอิสลาม ทฤษฎีศาสนาของนักสังคมศาสตร์ ศาสนากับประเด็น

ทางจริยธรรมร่วมสมัย

Man and Religion

MAN/RELIGION

Theories concerning the origination of religion; basic teaching of principal religion;

the impact of religion on society; the impact of social phenomena on religion.

2208101ปริทัศน์ศิลปการละคร3 (3-0-6)

ศึกษาความหมาย และความมุ่งหมายของละคร ลักษณะของละครประเภทต่างๆ

ความสัมพันธ์ของละครกับชีวิต สังคมแวดล้อม ปรัชญา ตลอดจนศิลปะแขนงต่างๆ

องค์ประกอบของละครและหลักสร้างสรรค์ หลักที่ใช้ในการวิจักษ์และวิจารณ์

Introduction to Dramatic Arts

INTRO DRAMA ARTS

Meaning and objectives of the theatre; dramatic forms; the relationship of the theatre

to life, social environment, philosophy, other forms of art; elements of the theatre;

appreciation and criticism of theatre arts.

2209161ภาษาทัศนา3 (3-0-6)

ธรรมชาติ หน้าที่ และบทบาทของภาษา ลักษณะต่างๆที่สำคัญของภาษาในมุมมอง

ด้านภาษาศาสตร์ ปรัชญาสุนทรียศาสตร์ วัฒนธรรม สังคม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

Introduction to Language

INTRO LANG

Nature and function of language; important features of language from

the linguistic, philosophical, aesthetic, cultural, social, scientific

and modern technological points.

2210260วรรณคดีทัศนา3 (3-0-6)

ธรรมชาติและลักษณะสำคัญของวรรณคดีโดยทั่วๆไป คุณค่าของวรรณคดีที่มีต่อชีวิต

และสังคมความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสังคม และศิลปะแขนงต่างๆ และวิทยาการ

ต่างสาขา บทคัดเลือกจากวรรณคดีหลายสมัย และหลายประเภท

Introduction to Literature

INTRO LIT

The nature and significant features of literature in general; the value of literature

in life and society; the relationship between literature and society as well

as other art forms and branches of knowledge; selections from works

of various periods and genres.

หมายเหตุ ดูคำอธิบายรายวิชาของวิชาเฉพาะสาขาในหลักสูตรของแต่ละสาขาวิชา

เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง

หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2551 และพ.ศ. 2552)

หน่วยกิต

หลักสูตรปรับปรุง

(พ.ศ. 2557)

หน่วยกิต

ความแตกต่าง

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 1.1 วิชาการศึกษาทั่วไปนอกคณะ - สังคมศาสตร์ - มนุษยศาสตร์ - วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ - สหศาสตร์ 1.2 วิชาการศึกษาทั่วไปกลุ่มพิเศษ 2201111 การใช้ภาษาไทย 2207143 การใช้เหตุผล

1.3 วิชาการศึกษาทั่วไปภาษาต่างประเทศ

ให้เลือกจากรายวิชาภาษาอังกฤษนอกคณะอักษรศาสตร์และ/หรือให้เลือกจากรายวิชาของภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ และ/หรือรายวิชาภาษาต่างประเทศอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ ในกรณี ที่นิสิตได้ลงทะเบียน เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษครบ 12 หน่วยกิตแล้ว

2. หมวดวิชาเฉพาะ

2.1 วิชาพื้นฐานอักษรศาสตร์

2200220 อารยธรรมไทย

2206299 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร์

2201152 วรรณคดีไทย

2201327 การเขียนภาษาไทยเพื่อวิชาชีพ

2202111 ภาษาอังกฤษ 1

2202112 ภาษาอังกฤษ 2

2202124 แปลอังกฤษขั้นต้น

2204181 อารยธรรมตะวันออก

2204182 อารยธรรมตะวันตก

2205200 มนุษย์กับภ�