new โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. ·...

160
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม: กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี นางสาวสุมณฑา มณเทียร วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาเศรษฐศาสตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .. 2549 ISBN [เลข ISBN (หลังผานการตรวจรูปเลมแลว]

Upload: others

Post on 15-Oct-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

โครงการเกษตรทฤษฎีใหม: กรณีศึกษาจังหวดักาญจนบุรี

นางสาวสุมณฑา มณเทยีร

วิทยานพินธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาเศรษฐศาสตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

พ.ศ. 2549

ISBN [เลข ISBN (หลังผานการตรวจรูปเลมแลว]

Page 2: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

New Theory Agriculture of Project :A Case Study of Kanchanaburi

Miss Sumontha Montien

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for

the Degree of Master of Economics School of Economics

Sukhothai Thammathirat Open University 2006

ISBN [เลข ISBN (หลังผานการตรวจรูปเลมแลว]

Page 3: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

หัวขอวิทยานพินธ โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบรีุ ชื่อและนามสกุล นางสาวสุมณฑา มณเทยีร แขนงวชิา เศรษฐศาสตร สาขาวิชา เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อาจารยท่ีปรึกษา 1. รองศาสตราจารย ดร.จุไร ทัพวงษ 2. อาจารย ดร.วิชญะ นาครกัษ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธไดใหความเห็นชอบวิทยานิพนธฉบับนีแ้ลว ประธานกรรมการ (อาจารย ดร.กลัยา อุดมวิทิต) กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.จุไร ทัพวงษ) กรรมการ (อาจารย ดร.วชิญะ นาครักษ)

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อนุมัติใหรับวิทยานิพนธฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาเศรษฐศาตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประธานกรรมการบัณฑิตศกึษา (รองศาสตราจารย ดร.สิริวรรณ ศรีพหล) วันที่ เดือน พ.ศ.

Page 4: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

ชื่อวิทยานิพนธ โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบรีุ ผูวิจัย นางสาวสุมณฑา มณเทียร ปริญญา เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต ([พิมพช่ือแขนงวิชาที่นี(่ถามี)] ) อาจารยท่ีปรึกษา (1) รองศาสตราจารย ดร.จุไร ทัพวงษ (2) อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาเปรียบเทียบทางดานการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิมและการทําการเกษตรทฤษฎีใหมของเกษตรกรรวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในจังหวัดกาญจนบุรี (2) ศึกษาลักษณะทั่วไปเกษตรกรที่เขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในจังหวัดกาญจนบุรี

กลุมตัวอยางคือเกษตรกรที่เขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมของกระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดกาญจนบุรี จํานวน 40 ราย โดยใชขอมูลจากการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิมและการทําการเกษตรทฤษฎีใหม เปนเวลา 10 ป

การศึกษาไดกําหนดใหการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิม คือปลูกออย 550 ไร การเลี้ยงโคขุน 20 ตัว และการเลี้ยงปลานิล 1 บอ และการดําเนินกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหม คือการปลูกขาว 100 ไร ออย 250 ไร มันสําปะหลัง 100 ไร ขาวโพดเลี้ยงสัตว 100 ไร การเลี้ยงโคขุน 20 ตัว และการเลี้ยงปลานิล 1 บอ โดยใชอัตราคิดลดรอยละ 10 พบวา การดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิม ความคุมคาดานการเงินคา NPV คา BCR และคา IRR เทากับ 216,996.08 บาท 1.02 และ 16.68 ตามลําดับ แตการทําการเกษตรทฤษฎีใหม มีความคุมคาดานการเงินคา NPV คา BCR และ คา IRR เทากับ 601,229.43 บาท 1.06 และ 30.78 ตามลําดับ ซึ่งโครงการเกษตรทฤษฎีใหมมีความคุมคาทางการเงินที่มีประสิทธิผลดีกวา โดยผลลัพธท่ีมีคา NPV BCR และ IRR ท่ีสูงกวา

สําหรับทัศนคติของเกษตรกรตอโครงการ เกษตรกรสวนมากเขาใจและปฏิบัติตามหลักการท่ีเนนความพอเพียงของโครงการ และตองการรับความชวยเหลือดานปจจัยการผลิตโดยเฉพาะแหลงน้ําท่ีเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ รวมท้ังปจจัยอื่นๆ และเกษตรกรเห็นวาความพอใจ ความตั้งใจและความขยันหมั่นเพียรจะชวยใหการทําการเกษตรทฤษฎีใหมประสบผลสําเร็จ คําสําคัญ โครงการเกษตรทฤษฎีใหม เกษตรกร

Page 5: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

Thesis title: New Theory Agriculture of Project : A Case Study of Kanchanaburi Researcher: Miss Sumontha Montien; Degree: Master of Economic Thesis advisors: (1) Dr.Jurai Tapwong; (2) Dr.Vichya Nakarugsa; Academic year: 2006

ABSTRACT

The objective of research were (1) to compare about financing in using original agriculture of the farmers that join in Kanchanaburi province.(2) to study generalization of the farmers that join in using new agriculture theory in Kanchanaburi province. The sample of case the farmers that join in new theory agriculture project for ministry of agriculture and cooperative in Kanchanaburi province that totally 40 list by using data from activity in original agriculture and using new agriculture theory for 10 years. This study that set of activity operation for original agriculture 550 rai of sugarcane plantation , 20 heads of beef cattle , 1 pond of tilapia fish farming and activity operation for new agriculture theory 100 rai of rice farming ,250 rai of sugarcane plantation, 100 rai of cassava plantation ,100 rai of herding corn , 20 heads of beef cattle and 1 pond of tilapia fish farming. This study to use discount rate 10 percentage that find the activity operation for original agriculture has value for money Net Present Value (NPV) Benefit-Cost Ratio (BCR) and Internal Rate of Rate (IRR) equal to 216,996.08 bath 1.02 and 16.68 respectively. But the activity operation for the new agriculture theory has value for money Net Present Value(NPV) BCR and IRR equal to 601,229.43 bath 1.06 and 30.78 respectively .That showed New Theory Agriculture of Project have value added for money over all of NPV, BCR and IRR . In this attitude of the husbandman for project mainly understand, action policy that emphasize adequacy on project , want to help for factor on production especially fountainhead that appropriate for area and others factors that believe in satisfaction, intention and sedulity that help to accomplish using the activity operation for new agriculture theory. Keywords: The New Agriculture Theory, Farmer

Page 6: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดีจากรองศาสตราจารย ดร.จุไร ทัพวงษ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ และอาจารย ดร.กัลยา อุดมวิทิต ที่ไดเพิ่มพูนความรู ประสบการณ และแนวคิดในการทําวิทยานิพนธ นอกจากนี้ยังกรุณาใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ จนทําใหวิทยานิพนธสําเร็จเรียบรอย สมบูรณ ผูวิจัยรูสึกทราบซึ่งในความกรุณาของทานเปนอยางยิ่ง

ผูวิจัยขอขอบคุณเจาหนาที่สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี และเกษตรกรทุกทานที่ไดอนุเคราะหขอมูล

ขอขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม พี่นองทุกคนในครอบครัว เพื่อนรวมงาน เพื่อนนักศึกษา และคุณบุญสืบ สมัครราช ที่ไดใหกําลังใจและสนับสนุนการศึกษาครั้งนี้

หวังเปนอยางยิ่งวาวิทยานิพนธฉบับนี้ จะยังประโยชนตอการศึกษาและเปนแนวทางในการเลือกของเกษตรกร คุณคาและความดีอันพึงมีจากวิทยานิพนธฉบับนี้ ขอมอบแด บิดา มารดา ครูบาอาจารย ตลอดจนผูมีพระคุณทุกทานไว ณ ที่นี้

สุมณฑา มณเทียร ธันวาคม 2549

Page 7: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ จ กิตติกรรมประกาศ ฉ สารบัญตาราง ช สารบัญภาพ ฏ บทที่ 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 ลักษณะทั่วไปของจังหวดักาญจนบุรี 4 วัตถุประสงคของการวิจยั 13 สมมติฐานของการวิจยั 13 ขอบเขตของการวิจัย 14 ขอจํากัดในการวิจัย 14 นิยามศัพทเฉพาะ 14 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 16 บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ 17 แนวคดิทางเกษตรทฤษฎีใหม 17 แนวคดิทฤษฎทีางเศรษฐศาสตร 26 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 29 บทที่ 3 วิธีดําเนนิการวิจัย 32 ประชากรและกลุมตัวอยาง 32 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 34 การเก็บรวบรวมขอมูล 36 ขอสมมติ 37 การวิเคราะหขอมูล 38 บทที่ 4 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร 43 สภาพทั่วไปของเกษตรกรทีท่ําการศึกษา 43 สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจ สังคม และทัศนคติตอโครงการ 44

Page 8: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

สารบัญ (ตอ)

หนา บทที่ 5 ผลการวิเคราะหขอมูล 52 การศึกษาความเปนไปไดทางดานการเงินของการทําเกษตรแบบเดิมและ เกษตรทฤษฎีใหม 52 การเปรียบเทยีบตนทุนและผลตอบแทนทางดานการเงินของการทําการเกษตร แบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม 86 ผลการวิเคราะหความเปนไปไดทางการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิม และเกษตรทฤษฎีใหม 87 บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ 90 สรุปผลการวิจัย 90 ขอเสนอแนะ 93 บรรณานุกรม 95 ภาคผนวก 98 ก การเสริมสรางความรู ความเขาใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดําริ 98 ข แบบสัมภาษณเกษตรกร 143 ประวัติผูวจิัย 148

Page 9: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ 1.1 ผลิตภัณฑจังหวัด ตามราคาประจําป จําแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2543-2547 6 ตารางที่ 1.2 จํานวนผูถือครองและเนื้อที่ถือครองทําการเกษตร รายอําเภอ 8 ตารางที่ 1.3 ผูถือครองทําการเกษตร จําแนกตามลักษณะการดําเนินงาน และขนาดเนื้อที่ถือครอง 9 ตารางที่ 1.4 เนื้อที่ถือครองทําการเกษตร จําแนกตามการใชประโยชน ที่ดินและลักษณะการถือครองที่ดิน 10 ตารางที่ 1.5 ผูถือครองที่ปลูกพืช จําแนกตามการใชปุยและการปองกนั/กําจดั ศัตรูพืช และเนื้อที่เพาะปลูกที่ใสปุยเคมีและปริมาณปุยเคมีที่ใช 11 ตารางที่ 1.6 ผูถือครองทําการเกษตร จําแนกตามรายไดของครัวเรือน 12 ตารางที่ 1.7 ผูถือครองทําการเกษตร จําแนกตามหนี้สินของครัวเรือน และจํานวนเงนิที่เปนหนี้เพือ่การเกษตร 13 ตารางที่ 3.1 จํานวนเกษตรกรรวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในจังหวัด กาญจนบุรี 34 ตารางที่ 4.1 จํานวนสมาชิกเฉลี่ยตอครัวเรือน จําแนกตามเพศ อายุ ขนาดของแรงาน และระดับการศึกษาของครัวเรือนเกษตรกรตัวอยาง 45 ตารางที่ 4.2 ขนาดพื้นที่ถือครองเฉลี่ย ขนาดพื้นที่ดําเนินการเกษตรทฤษฎีใหม เฉลี่ย และการมีเอกสารสิทธิ์ในพื้นที่ถือครองของครัวเรือนเกษตรกร ตัวอยาง 46 ตารางที่ 4.3 ทรัพยสินในการเกษตรเฉลี่ยของเกษตรกรตัวอยาง 47 ตารางที่ 4.4 ทรัพยสินนอกการเกษตรเฉลีย่ของเกษตรกรตัวอยาง 48 ตารางที่ 4.5 การเปนสมาชิกสถาบันของเกษตรกรตวัอยาง 49 ตารางที่ 4.6 รูปแบบกิจกรรมการเกษตรในฟารมของเกษตรกรตวัอยาง 49 ตารางที่ 4.7 แหลงเงินทนุเริ่มตนในการทําเกษตรทฤษฎีใหมของเกษตรกร ตัวอยาง 50 ตารางที่ 4.8 สภาพปญหาของเกษตรกรตวัอยาง 51 ตารางที่ 4.9 ทัศนคติของเกษตรกรตัวอยางตอแนวทางการเกษตรทฤษฎีใหม 51

Page 10: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

สารบัญตาราง (ตอ)

หนา ตารางที่ 5.1 แสดงรายการเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร จํานวน ราคาตอหนวย มูลคาทั้งหมดและอายกุารใชงาน 53 ตารางที่ 5.2 ตนทุนทางการเงินของการปลูกออย 55 ตารางที่ 5.3 ตนทุนทางการเงินตอไรของการปลูกออย 56 ตารางที่ 5.4 ตนทุนทางการเงินของการเลี้ยงปลา 57 ตารางที่ 5.5 ตนทุนทางการเงินของการเลี้ยงโค 58 ตารางที่ 5.6 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําเกษตรแบบเดิม 62 ตารางที่ 5.7 ผลตอบแทนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิม 65 ตารางที่ 5.8 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทนทั้งหมดทางการเงินของการทําการ เกษตรแบบเดมิ 66 ตารางที่ 5.9 ตนทุนทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม(ขาว) 69 ตารางที่ 5.10 ตนทุนทางการเงินตอไรของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ขาว) 70 ตารางที่ 5.11 ตนทุนทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ออย) 71 ตารางที่ 5.12 ตนทุนทางการเงินตอไรของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (มันสําปะหลัง) 72 ตารางที่ 5.13 ตนทุนทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (มันสําปะหลัง) 73 ตารางที่ 5.14 ตนทุนทางการเงินตอไรของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ขาวโพดเลีย้งสัตว) 74 ตารางที่ 5.15 ตนทุนทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ขาวโพดเลีย้งสัตว) 75 ตารางที่ 5.16 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (การเลี้ยงปลานิล/ ปลาตะเพยีน) 76 ตารางที่ 5.17 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (การเลี้ยงโคขนุ 20 ตัว) 77 ตารางที่ 5.18 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม 80 ตารางที่ 5.19 ผลตอบแทนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม 84

Page 11: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

สารบัญตาราง (ตอ)

หนา ตารางที่ 5.20 ผลตอบแทนตอหนวยของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม 85 ตารางที่ 5.21 การเปรียบเทยีบตนทุนและผลตอบแทนทางดานการเงินของ การทําเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม 86 ตารางที่ 5.22 การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนทางดานการเงินของการทํา เกษตรแบบเดมิและเกษตรทฤษฎีใหม 88 ตารางที่ 5.23 รายจายนอกการเกษตรที่เปนเงินสดของครัวเรือนกอนและหลัง ทําการเกษตรทฤษฎีใหม 89

Page 12: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

สารบัญภาพ

หนา ภาพที่ 5.1 ตนทุนการเกษตรแบบเดิมทั้งหมด 61 ภาพที่ 5.2 ตนทุนและผลตอบแทนทั้งหมดของการทําเกษตรแบบเดมิ 64 ภาพที่ 5.3 ตนทุนการทําการเกษตรทฤษฎีใหมแตละประเภท 68 ภาพที่ 5.4 ตนทุนการเกษตรทฤษฎีใหมทั้งหมด 80 ภาพที่ 5.5 ตนทุนและผลตอบแทนทั้งหมดของการเกษตรทฤษฎีใหม 83

Page 13: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

บทที่ 1 บทนํา

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ในชวง 3 - 4 ทศวรรษที่ผานมานโยบายการเกษตรไดเนนการผลิตเพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพผลผลิต เนนการคาขาย เพื่อการแขงขันกับตลาดโลก มีการใชเทคโนโลยีที่สมัยใหมมากขึ้น สงผลกระทบวิถีการดํารงชีวิตและระบบการผลิตทางการเกษตรของเกษตรกร ทําใหเกษตรกรมีความตองการปจจัยการดํารงชีพที่ฟุมเฟอยมากขึ้น เกษตรกรตองซื้อปจจัยการผลิตที่มีตนทุนสูงราคาแพงแตขายผลผลิตไดในราคาต่ําและถูก ในการเปลี่ยนมาใชเทคโนโลยีการผลิต เกษตรกรตองไปกูยืมเงินลงทุนจากพอคาคนกลาง ธนาคารหรือสหกรณ กอใหเกิดปญหาหนี้สิน ซ่ึงขณะที่การพัฒนาการดานการเกษตรของประเทศไทยไดเพิ่มมากขึ้นทั้งชนิดและปริมาณผลผลิต แตเกษตรกรสวนใหญยังยากจน ความมั่งคั่งเกิดขึ้นเฉพาะกลุมบุคคลและธุรกิจการเกษตรเพียงสวนนอย รวมทั้งเกิดปญหาสภาพแวดลอมเสื่อมโทรมและการกระจายรายไดที่ไมเหมาะสม1

ดังนั้นการเสนอทางเลือกใหมใหแกเกษตรกรจึงไดถูกพิจารณาและทบทวนโดยรัฐ

เพื่อใหเปนการเกษตรที่สามารถสรางผลผลิตที่หลากหลายใหแกเกษตรกรตลอดป และในที่สุดจะนํามาซึ่งการลดความเสี่ยงและสรางความมั่นคงทางดานรายไดของเกษตรกร นับตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 รัฐบาลไดเปลี่ยนนโยบายการพัฒนาการเกษตรที่จากเดิมเนนการเพิ่มผลผลิตมาเปนการเพิ่มความมั่นคงดานอาหาร และเพื่อเปนการลดความเสี่ยงทางดานรายไดใหเกษตรกร แนวทางหนึ่งในการพัฒนาการเกษตรดังกลาว คือ การกระจายการผลิตในระดับไรนา ซ่ึงหมายถึงความพยายามที่จะสงเสริมใหมีการเพาะปลูกพืชปละหลายครั้ง และปลูกพืชหลายชนิด2

กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงไดเสนอแผนปฏิบัติการโครงการเกษตรทฤษฎีใหม ทั้ง

ประเทศ ซ่ึงหลักสําคัญของโครงการเกษตรทฤษฎีใหม เพื่อการแกไขปญหาดานการเกษตร3 มีดังนี้

1 ชนวน รัตนวราหะ (2534) เกษตรกรรมยัง่ยืน กรมวชิาการเกษตร 2 ลลิดา ปรีดากรณ การวิเคราะหความเปนไปไดทางเศรษฐกิจและการเงินของโครงการจัดทําไรนาสวนผสม อําเภอพานทอง จังหวัดชลบุร ี3 สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ คูมือการปฏิบัติงานโครงการเกษตรทฤษฎใีหม ป 2541

Page 14: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

2

1. ปญหาภัยแลงและการขาดแคลนน้ํา ปจจุบันปญหาหลักของการเกษตร คือการขาดแคลนน้ําเพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะในเขตพื้นที่เกษตรน้ําฝน ซ่ึงเปนพื้นที่สวนใหญของประเทศ ที่อยูในเขตที่มีฝนคอนขางนอย และสวนมากเปนนาขาวและพืชไร เกษตรกรยังคงทําการเพาะปลูกไดปละครั้งในชวงฤดูฝนเทานั้น และมีความเสี่ยงกับความแปรปรวนของดิน ฟา อากาศ และฝนทิ้งชวง อันเปนปญหาที่สําคัญของชาวชนบททั้งประเทศ

2. ปญหาดานอาหาร กิจกรรมการเกษตรที่เนนการผลิตอาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือนเปนหลักจะชวยแกปญหาดานอาหาร สามารถทําใหมีอาหารบริโภคไดอยางเพียงพอตลอดทั้งป ชวยลดคาใชจายในครัวเรือนและสงผลใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น โดยเฉพาะกิจกรรมการปลูกขาว ซ่ึงเปนผลผลิตการเกษตรที่คนไทยใชบริโภคในครัวเรือนเปนหลัก รวมทั้งผลผลิตจากกิจกรรมอื่นดวย เชน พืชไร พืชผักสวนครัว สัตวน้ําและสัตวปก

หลักการของโครงการเกษตรทฤษฎีใหม ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรง

พระราชทานเปนแนวทาง เมื่อป พ.ศ. 2532 เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นเปนประจําคือ ฝนแลง ความยากจนและหนี้สิน โดยวางอยูบนขอตกลงเบื้องตน อันไดแก

1. เกษตรกรมีพื้นที่นอย ประมาณ 15 ไร (นอยกวาอัตราถือครองเฉลี่ย 25 ไร) 2. พื้ น ที่ อ ยู ใ น เ ข ต เ ก ษ ต ร ใ ช น้ํ า ฝ น ฝน ต ก ไ ม ชุ ก นั ก ( ภ า ค ก ล า ง ภ า ค

ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ) 3. สภาพของดินสามารถขุดบอเก็บน้ํา เพื่อใชอุปโภคบริโภคได 4. เกษตรกรมีฐานะคอนขางยากจน มีสมาชิกครัวเรือนละประมาณ 5 - 6 คน 5. ไมมีอาชีพหรือแหลงรายไดอ่ืนดีกวาในบริเวณใกลเคียง วิธีการในทางปฏิบัติโดยทั่วไปคือ การแบงพื้นที่ออกเปน 4 สวนโดยประมาณตาม

อัตราสวน 30 : 30 : 30 : 10 ซ่ึงแยกเปนพื้นที่ดังนี้ - 30% ใหขุดสระน้ํา สําหรับใชในฤดูแลง รวมทั้งการเลี้ยงปลา - 30% ใหปลูกขาวในฤดูฝน เพื่อใชเปนอาหารประจําวันใหเพียงพอตลอดป - 30% ปลูกพืชยืนตน ผัก พืชไร เพื่อใชเปนอาหารประจําวัน หากเหลือก็จําหนายได - 10% ใชเปนที่อยูอาศัย เล้ียงสัตวและโรงเรือน

Page 15: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

3

หลักการของการเกษตรทฤษฎีใหม ที่เกษตรกรชาวไทยรับมานํามาปฏิบัติโดยทั่วไปมี 3 ขั้นตอนคือ

ขั้นที่ 1 การผลิตเปนการใหพึ่งพาตนเองได ดวยวิธีงายคอยเปนคอยไป ใหพอมีพอกินไมอดอยาก

ขั้นที่ 2 เกษตรกรรวมกันในรูปกลุมหรือสหกรณ รวมแรงในการผลิต การตลาด ความเปนอยู สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา เพื่อใหพอมีกินมีใช ชวยใหชุมชนและสังคมดีขึ้นพรอมๆ กัน ไมรวยคนเดียว

ขั้นที่ 3 รวมมือกับแหลงเงินและแหลงพลังงาน ตั้งและบริการโรงสี ตั้งและบริการรานสหกรณ ชวยกันลงทุน ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท ซ่ึงไมใชอาชีพเกษตรอยางเดียว

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานแนวทางการพัฒนาการเกษตร “เกษตรทฤษฎีใหม” ในป 2532 เพื่อใหเกษตรกรสามารถดําเนินการผลิตทางการเกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด มีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น สามารถดํารงอยูในพื้นที่ภายใตอาชีพเกษตรกรรม ไดอยางเปนปกติสุข ไมเดือดรอน ซ่ึงสรุปแนวคิดเกี่ยวกับเกษตรกรรม “ทฤษฎีใหม” ไดวาเปนการทําเกษตรแบบผสมผสาน แบบสวนรอบบานหรือแบบไรนาสวนผสม โดยเกษตรกรที่อยูในพื้นที่ที่เหมาะสม เกษตรกรสวนใหญเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดิน ฟา อากาศ อยูเสมอ สระเก็บน้ําไมมีขนาดแนนอน ระบบปลูกพืชก็ไมมีหลักเกณฑตายตัว สวนใหญปลูกพืชชนิดเดียว หากมีน้ําเพียงพอสําหรับปลูกพืชในฤดูแลง เกษตรกรจะทําอยางประณีต เขมขน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงเริ่มกิจกรรมมูลนิธิชัยพัฒนาและพระราชดําริ “การพัฒนาแบบใหม” เพื่อจัดตั้งศูนยบริการพัฒนาตามแนวพระราชดําริ เปนตนแบบเพื่อสาธิตการพัฒนาดานการเกษตร ไดพระราชทานพระราชดําริใหแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวน คือ สวนแรกรอยละ 60 ใชเปนพื้นที่พัฒนาการเกษตร สวนที่สองรอยละ 30 ใชสรางสระเก็บกักน้ํา และสวนที่สามรอยละ 10 จัดเปนที่อยูอาศัย ถนน และคันดินหรือคูคลอง ซ่ึงเปนแนวทางที่ไดทรงคิดและคํานวณตามหลักวิชาถึงวิธีการบริหารทรัพยากรธรรมชาติใหเกิดประโยชนสูงสุด การนําไปใชไมไดรับสั่งใหปฏิบัติตามกระแสพระราชดํารัสทุกอยาง แตใหนําไปทดลองทํา หนวยราชการที่เกี่ยวของจะตองทําและพิสูจนวาหากเกษตรกรปฏิบัติดังกลาว จะสามารถพอเพียงเลี้ยงตัวไดจึงควรทําเพิ่มอีกหลายแหงและศึกษาขอมูลติดตอกันหลายป เพื่อพิสูจนหรือยืนยันทฤษฎีนี้ หากไดรับความสําเร็จก็ขยายผลตอไป หากไมไดรับความสําเร็จก็ตองปรับปรุงวิธีการใหเหมาะสม เพราะปจจัยส่ิงแวดลอมแตกตางกันทั้งดานกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจและสังคม ผลผลิตและรายไดที่ไดรับยอมแตกตางกันไปดวย และคําแนะนําวิธีการแตละทองที่จึงอาจแตกตางกันได ปจจุบันยังไมมีคําแนะนําของทางราชการที่

Page 16: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

4

ชัดเจน สมบูรณ แตละพื้นที่เกษตรกรตองมีความเขาใจและยินยอม จึงจะสามารถนําไปปฏิบัติได นอกจากนี้ยังมีปจจัยที่สําคัญคือน้ํา ซ่ึงการขุดสระน้ําเปนการลงทุนที่สูง อาจจะตองไดรับความชวยเหลือจากราชการบางสวน การขยายผลจึงตองคอยเปนคอยไป และตองทําดวยความระมัดระวัง ทฤษฎีใหม จะใหประชาชนมีโอกาสทําเกษตรกรรมใหพอกิน ปองกันความขาดแคลน ในยามปกติก็จะทําใหรํ่ารวย ในยามที่มีอุทกภัยก็สามารถที่จะฟนตัวไดรวดเร็วโดยไมตองใหทางราชการไปชวยมากเกินไปนัก ทําใหประชาชนมีโอกาสพึ่งตนเองไดอยางดี

2. ลักษณะทั่วไปของจังหวัดกาญจนบุรี

2.1 สภาพทั่วไปของจังหวัดกาญจนบุรี

2.1.1 ท่ีตั้งและอาณาเขตของจังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เปนจังหวัดชายแดนติดกับประเทศเมียนมาร (สาธารณรัฐ

สังคมนิยมแหงสหภาพพมา) ตั้งอยูในภาคกลางดานตะวันตกของประเทศไทย ระยะทางหางจากกรุงเทพมหานครตามเสนทางสายเพชรเกษมประมาณ 129 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 19,483 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอดังนี้

ทิศเหนือ ติดจังหวัดตาก จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดสุพรรณบุรี และประเทศเมียนมาร

ทิศตะวันออก ติดจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม และจังหวัดราชบุรี ทิศใต ติดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันตก ติดประเทศเมียนมาร โดยมีทิวเขาตะนาวศรีเปนแนวเขต

แดนระหวางประเทศ 2.1.2 ภูมิประเทศและภูมิอากาศของจังหวัดกาญจนบุรี

สภาพพื้นที่ทางทศิเหนือและทิศตะวันตก มีลักษณะเปนปาไมและภูเขา พื้นที่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและบางสวนทางทิศเหนือเปนที่ราบกวางใหญสลับกับเนินเขาเตี้ยๆ แตแหงแลง พื้นที่ทางทิศตะวันออกเฉียงใตและตอนกลางของจังหวัด เปนบริเวณที่ราบมีความอุดมสมบูรณ

ภูมิอากาศโดยทั่วไป เนื่องจากจังหวัดกาญจนบุรีมีสภาพทองที่กวางขวางมาก ลักษณะของภูมิอากาศจึงแตกตางกันไป บริเวณที่ราบจะมีสภาพภูมิอากาศคลายคลึงกับจังหวัดในภาคกลางและภาคตะวันตก สวนบริเวณที่เปนปาและภูเขาจะแตกตางไป คือ ในฤดูรอนจะรอนจัด

Page 17: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

5

ในฤดูหนาวจะหนาวจัด ฤดูฝนจะเริ่มตั้งแตเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม ในป พ.ศ.2547 มีฝนตกประมาณ 104 วัน ปริมาณน้ําฝนวัดได 1,204.50 มิลลิเมตร

2.1.3 การปกครองและประชากรของจังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรีแบงการปกครองสวนภูมิภาคเปน 13 อําเภอ 95 ตําบล 949

หมูบาน โดยมีอําเภอ ดังนี้ อําเภอเมืองกาญจนบุรี อําเภอทองผาภูมิ อําเภอทามวง อําเภอทามะกา อําเภอไทรโยค อําเภอบอพลอย อําเภอพนมทวน อําเภอเลาขวัญ อําเภอศรีสวัสดิ์ อําเภอสังขละบุรี อําเภอดานมะขามเตี้ย อําเภอหนองปรือ และอําเภอหวยกระเจา

การปกครองสวนทองถ่ินประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาลเมือง 2 แหง เทศบาลตําบล 25 แหง และองคการบริหารสวนตําบล 95 แหง จากสถิติกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เมื่อส้ินป 2547 จังหวัดกาญจนบุรีมีประชากรทั้งสิ้น 810,265 คน เปนชาย 408,391 คน เปนหญิง 401,874 คน ประชากรที่อยูอาศัยในเขตเทศบาลมีเพียงรอยละ 19.23 อยูนอกเขตเทศบาลรอยละ 80.77 ความหนาแนนของประชากรโดยเฉลี่ยทั้งจังหวัด 41.58 คนตอตารางกิโลเมตร

2.1.4 ทรัพยากรธรรมชาติ แหลงน้ํ า และสภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัด

กาญจนบุรี ปาไมเปนทรัพยากรธรรมชาติที่ สําคัญของจังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่

ประมาณรอยละ 60 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด ปาไมสวนใหญเปนปาไมเบญจพรรณ ปาแดง ปาไผ แตปาไมเหลานี้ไดลดปริมาณลงทุกปเนื่องจากการบุกรุกตัดไมทําลายปา

แรที่สํารวจพบมีมากมาย เชน ดีบุก วุลแฟรม ตะกั่ว พลวง ฟลูออไรด โดโลไมต ฟอสเฟต พลอย นิล เฟล็ดสปาร และอื่นๆ

แหลงน้ําธรรมชาติที่สําคัญ คือ แมน้ําแควใหญ มีตนกําเนิดจากเทือกเขาถนนธงชัยในจังหวัดตาก ไหลผานจังหวัดกาญจนบุรีมีความยาวประมาณ 380 กิโลเมตร และแมน้ําแควนอย ซ่ึงมีตนกําเนิดจากเทือกเขาตะนาวศรี มีความยาวประมาณ 315 กิโลเมตร แมน้ําทั้ง 2 สายนี้มาบรรจบกันที่ตําบลปากแพรก หนาเมืองกาญจนบุรีเปนแมน้ําแมกลองไหลผานอําเภอทามวง อําเภอทามะกา และไหลลงสูอาวไทยที่จังหวัดสมุทรสงคราม สําหรับแหลงน้ําชลประทาน มีเขื่อนแมกลอง เปนเขื่อนทดน้ําเพื่อการชลประทาน ตั้งอยูที่อําเภอทามวง มีขนาดเก็บกักน้ํา 13,000 ไร สามารถสงน้ําเพื่อการชลประทานไปยังอําเภอทามวง อําเภอทามะกา และจังหวัดใกลเคียง

Page 18: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

6

ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพในทางเกษตรกรรม ไดแก การทําไร ทํานา ทําสวนไมผล และเลี้ยงสัตว เศรษฐกิจโดยทั่วไปของจังหวัดกาญจนบุรีจะขึ้นอยูกับภาวะผลผลิตและราคาสินคาทางการเกษตรเปนสําคัญ โดยเฉพาะราคาของออยในแตละปจะมีอิทธิพลตอภาวะดานเศรษฐกิจการคาของจังหวัดเปนอยางมาก

ในป พ.ศ. 2547 จังหวัดกาญจนบุรี มีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัด (GPP) ตามราคาประจําป (Current Price) 53,783 ลานบาท โดยเปนภาคเกษตรกรรม จํานวน 10,314 ลานบาท มากเปนอันดับ 2 รองจากการขายสง การขายปลีกฯ และมีมูลคาผลิตภัณฑเฉลี่ยตอหัว (Per Capita GPP) 65,655 บาท (ตารางที่ 1.1) ตารางที่ 1.1 ผลิตภัณฑจังหวัด ตามราคาประจําป จําแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2543 - 2547

สาขาการผลิต 2543 2544 2545 2546 2547

ภาคเกษตร - เกษตรกรรม การลาสัตว และการปาไม - การประมง

6,396 6,251

145

8,292 8,143

149

7,076 6,933

143

8,002 7,855

147

10,314 10,165

149

ภาคนอกเกษตร - การทําเหมืองแร และเหมืองหิน - การผลิตอุตสาหกรรม - การไฟฟา กาซ และการประปา - การกอสราง - การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนตของใช สวนบุคคล และของใชในครัวเรือน

- โรงแรมและภัตตาคาร - การขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม - ตัวกลางทางการเงิน - บริการดานอสังหาริมทรัพย การใหเชา และบริการทางธุรกิจ

- การบริหารราชการแผนดิน และการปองกันประเทศ - รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ - การศึกษา - การบริการดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห - การบริการชุมชน สังคม และบริการสวนบุคคลอื่นๆ - ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล

37,197 1,846 8,475 1,179 1,590

9,331 1,643 3,262 1,063

1,694

3,386 2,102 1,105

478 44

34,888 1,700 6,291 1,265 1,855

9,340 1,586 2,931

818

1,687

3,555 2,072 1,150

594 46

39,110 1,958 9,163 1,266 1,738

9,887 1,666 2,963

842

1,730

3,989 2,150 1,082

627 47

40,545 2,200

10,003 1,306 1,520

10,319 1,765 2,691

898

1,752

4,063 2,214 1,073

693 49

43,469 2,617

10,250 1,377 1,588

10,823 1,989 3,076 1,130

1,778

4,313 2,520 1,189

768 51

ผลิตภัณฑจังหวัด 43,593 43,180 46,185 48,547 53,783

มูลคาผลิตภัณฑเฉลี่ยตอคน (บาท) 58,124 56,268 58,862 60,538 65,655

ประชากร (1,000 คน) 750 767 785 802 819

ที่มา : คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน รายงานสถิติจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2548 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2545

Page 19: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

7

2.1.5 การคมนาคมและขนสงของจังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรีมีทางหลวงจังหวัดและทางหลวงแผนดินใชเดินทาง

ติดตอกันภายในจังหวัด จังหวัดใกลเคียงและกรุงเทพมหานครไดโดยสะดวก มีเสนทางรถไฟสายธนบุรี - น้ําตก ซ่ึงแยกจากทางรถไฟสายใตที่ชุมทางหนองปลาดุก อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี ผานอําเภอทามะกา อําเภอทามวง อําเภอเมือง และอําเภอไทรโยค ไปสุดระยะทางที่สถานีน้ําตก ตําบลทาเสา อําเภอไทรโยค สําหรับการขนสงทางน้ําอาศัยแมน้ําแมกลอง แควนอย และแควใหญ ในการติดตอกับบริเวณที่ไมสามารถอาศัยการขนสงทางบกได

2.1.6 การสาธารณูปโภคและการสาธารณสุขของจังหวัดกาญจนบุรี ปงบประมาณ 2547 การประปาสวนภูมิภาคกาญจนบุรี มีกําลังการผลิตทั้งสิ้น

12,927,457 ลูกบาศกเมตร มีผูใชน้ําประปา 26,259 ราย และในปงบประมาณ 2547 จังหวัดกาญจนบุรีมีปริมาณการใชกระแสไฟฟา 805.24 ลานกิโลวัตต/ช่ัวโมง มีจํานวนผูใชไฟฟา 177,677 ราย ดานสาธารณสุข ในปงบประมาณ 2547 จังหวัดกาญจนบุรี มีโรงพยาบาลทั่วไปของรัฐบาล 15 แหง ของเอกชน 5 แหง มีเตียงผูปวย 1,534 เตียง

2.2 สภาพทั่วไปของเกษตรกรของจังหวัดกาญจนบุรี

2.2.1 จํานวนผูถือครองและเนื้อท่ีถือครองทําการเกษตร แยกรายอําเภอ สํามะโนการเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี (2546) พบวาจังหวัดกาญจนบุรีมีผูถือ

ครองทําการเกษตรทั้งสิ้น 66,853 ราย ซ่ึงในจํานวนนี้รอยละ 15.2 เปนผูถือครองทําการเกษตรที่อยูในอําเภอทามะกา รองลงมาอยูในอําเภอทามวง รอยละ 11.7 และอําเภอสังขละบุรีมีผูถือครองทําการเกษตรนอยที่สุดคือรอยละ 2.1

จังหวัดกาญจนบุรีมีเนื้อที่ทั้งจังหวัด 12,176,968 ไร เนื้อที่ถือครองทําการเกษตร 1,905,531 ไร คิดเปนรอยละ 15.6 ของเนื้อที่ทั้งจังหวัด อําเภอเลาขวัญมีเนื้อที่ถือครองทําการเกษตรมากที่สุดคือ 319,808 ไรหรือรอยละ 16.8 รองลงมาคืออําเภอบอพลอย อําเภอหวยกระเจา และอําเภอทามวง รอยละ 12.7, 8.8, และ 7.9 ตามลําดับ และเนื้อที่ถือครองทําการเกษตรโดยเฉลี่ยของจังหวัดกาญจนบุรีเฉลี่ย 28.5 ไร โดยมีแนวโนมลดลงเมื่อเทียบกับป 2536 และ 2541 ซ่ึงมีเนื้อที่ถือครองเฉลี่ย 30.4 และ 30.0 ไรตามลําดับผูถือครองทําการเกษตรในอําเภอบอพลอย มีเนื้อที่ถือครองเฉลี่ยสูงสุดคือ 47.0 ไร และผูถือครองทําการเกษตรในอําเภอทามะกามีเนื้อที่ถือครองเฉลี่ยต่ําที่สุดคือ 13.3 ไร (ตารางที่ 1.2)

Page 20: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

8

ตารางที่ 1.2 จํานวนผูถือครองและเนื้อที่ถือครองทําการเกษตร รายอําเภอ ผูถือครองทําการเกษตร เนื้อที่ถือครองทําการเกษตร

อําเภอ จํานวน รอยละ เนื้อที่(ไร) รอยละ

เนื้อที่ถือครองโดยเฉลี่ย (ไร)

อําเภอเมืองกาญจนบุรี อําเภอไทรโยค อําเภอบอพลอย อําเภอศรีสวัสดิ์ อําเภอทามะกา อําเภอทามวง อําเภอทองผาภูมิ อําเภอสังขละบุรี อําเภอพนมทวน อําเภอเลาขวัญ อําเภอดานมะขามเตี้ย อําเภอหนองปรือ อําเภอหวยกระเจา

6,112 4,272 5,142 2,451

10,162 7,789 4,105 1,388 6,005 7,783 3,398 3,356 4,890

9.1 6.4 7.7 3.7

15.2 11.7 6.1 2.1 9.0

11.6 5.1 5.0 7.3

137,508 135,992 241,496 56,084

135,168 150,265 132,782 45,676

141,749 319,808 115,956 125,927 167,120

7.2 7.1

12.7 2.9 7.1 7.9 7.0 2.4 7.4

16.8 6.1 6.6 8.8

22.5 31.8 47.0 22.9 13.3 19.3 32.3 32.9 23.6 41.1 34.1 37.5 34.2

รวม 66,853 100.0 1,905,531 100.0 28.5

ที่มา : สถิติแหงชาติ สํามะโนการเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี 2546 สํานักงานสถิติแหงชาติ: 2546

2.2.2 ลักษณะการดําเนินงานและขนาดเนื้อท่ีถือครองทําการเกษตร ผูถือครองทําการเกษตรในจังหวัดกาญจนบุรีสวนใหญ รอยละ 96.3 ทํา

การเกษตรโดยการปลูกพืชเปนหลัก ซ่ึงอาจจะเปนการปลูกพืชอยางเดียว หรือปลูกพืชรวมกับการทําการเกษตรในลักษณะอื่นดวย โดยเปนผูถือครองที่ปลูกพืชอยางเดียวมีถึงรอยละ 66.6 รองลงมาคือ ปลูกพืชรวมกับเลี้ยงสัตว รอยละ 27.2 สําหรับการทําการเกษตรในลักษณะอื่นๆ เชน เล้ียงสัตวอยางเดียว หรือเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในพื้นที่น้ําจืดอยางเดียวหรือการทํากิจกรรมทั้งสองอยางรวมกันมีนอยมาก รอยละ 3.7 และผูถือครองทําการเกษตรสวนใหญรอยละ 82.6 มีเนื้อที่ถือครองขนาดต่ํากวา 40 ไร ซ่ึงในจํานวนนี้รอยละ 46.7 เปนผูถือครองที่มีเนื้อที่ขนาด 10 - 39 ไร สําหรับผูถือครองทําการเกษตรที่ถือครองเนื้อที่ขนาดใหญ (140 ไรขึ้นไป) มีเพียงรอยละ 2.7 เทานั้น (ตารางที่ 1.3)

Page 21: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

9

ตารางที่ 1.3 ผูถือครองทําการเกษตร จําแนกตามลักษณะการดําเนินงานและขนาดเนื้อที่ถือครอง รายการ จํานวน (คน) รอยละ

จํานวนผูถือครองทําการเกษตรทั้งสิ้น 66,853 100.0

จําแนกตามลักษณะการดําเนินงาน 66,853 100.0 เพาะปลูกพืช 44,558 66.6 เล้ียงสัตว 2,033 3.0 เพาะเลี้ยงสัตวน้ําในพื้นที่น้ําจืด 313 0.5 เพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว 18,156 27.2 เพาะปลูกพืชและเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในพื้นที่น้ําจืด 808 1.2 เล้ียงสัตวและเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในพื้นที่น้ําจืด 123 0.2 เพาะปลูกพืช เล้ียงสัตว และเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในพื้นที่น้ําจืด 862 1.3

จําแนกตามขนาดพื้นท่ีถือครอง (ไร) 66,853 100.0 ต่ํากวา 2 ไร 3,469 5.2 2 - 5 12,934 19.3 6 - 9 7,614 11.4 10 - 19 16,442 24.6 20 - 39 14,747 22.1 40 - 59 5,499 8.2 60 - 139 4,364 6.5 140 - ขึ้นไป 1,784 2.7

ที่มา : สถิติแหงชาติ สํามะโนการเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี 2546 สํานักงานสถิติแหงชาติ: 2546

Page 22: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

10

2.2.3 ลักษณะการดําเนินงานและขนาดเนื้อท่ีถือครองทําการเกษตร จากเนื้อที่ถือครองทําการเกษตรทั้งจังหวัด 1,905,531 ไร พบวาเนื้อที่เกิน

คร่ึงหนึ่ง (รอยละ 57) เปนที่ปลูกพืชไร รองลงมาเปนที่ปลูกขาวรอยละ 19.3 ที่ปลูกพืชยืนตนและไมผลรอยละ 9.8 และที่ปลูกพืชสมุนไพรและไมดอกไมประดับรอยละ 5.8 ตามลําดับ และพบวาเนื้อที่ถือครองที่ใชทําการเกษตรนั้นสวนใหญหรือรอยละ 70.2 เปนเนื้อที่ของตนเอง (ตารางที่ 1.4) ตารางที่ 1.4 เนื้อที่ถือครองทําการเกษตร จําแนกตามการใชประโยชนที่ดินและลักษณะการถือ

ครองที่ดิน รายการ เนื้อที่ (ไร) รอยละ

เนื้อท่ีถือครองทําการเกษตรทั้งสิ้น จําแนกตามการใชประโยชนท่ีดิน 1,905,531 100.0

ที่ปลูกขาว 367,943 19.3 ที่ปลูกยางพารา 19,356 1.0 ที่ปลูกพืชยืนตนและไมผล 187,213 9.8 ที่ปลูกพืชไร 1,084,673 57.0 ที่ปลูกพืชผัก สมุนไพร และไมดอกไมประดับ 111,165 5.8 ที่ปลูกสวนปา 47,225 2.5 ทุงหญาเลี้ยงสัตว 17,143 0.9 คอกสัตว 11,527 0.6 ที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําในพื้นที่น้ําจืด 5,572 0.3 ที่อ่ืนๆ 53,714 2.8

จําแนกตามลักษณะการถือครองท่ีดิน 1,905,531 100.0 เนื้อที่ของตนเอง 1,337,328 70.2 เนื้อที่ไมใชของตนเอง 568,203 29.8

ที่มา : สถิติแหงชาติ สํามะโนการเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี 2546 สํานักงานสถิติแหงชาติ : 2546

Page 23: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

11

2.2.4 การใชปุยและการปองกัน/กําจัดศัตรูพืช ผูถือครองทําการเกษตรที่ปลูกพืช สวนใหญรอยละ 89.1 มีการใชปุยซ่ึงใน

จํานวนเกือบทั้งหมดหรือรอยละ 87.2 เปนการใชปุยเคมี โดยมีผูที่ใชปุยเคมีอยางเดียวรอยละ 64.3 ใชปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียรอยละ 22.9 ผูถือครองที่ใชปุยอินทรียอยางเดียวมีเพียงรอยละ 1.9 และผูถือครองมีปริมาณการใชปุยเคมีเฉลี่ย 56.8 กก./ไร สําหรับการปองกันและกําจัดศัตรูพืชพบวาผูถือครองที่ปลูกพืชรอยละ 87.4 มีการปองกันและกําจัดศัตรูพืช ซ่ึงวิธีการที่ใชสวนใหญเปนการใชสารเคมีถึงรอยละ 78.8 (ตารางที่ 1.5) ตารางที่ 1.5 ผูถือครองที่ปลูกพืช จําแนกตามการใชปุยและการปองกัน/กําจัดศัตรูพืช และเนื้อที่

เพาะปลูกที่ใสปุยเคมี และปริมาณปุยเคมีที่ใช รายการ จํานวน รอยละ

1. จํานวนผูถือครองท่ีปลูกพืช จําแนกตามการใชปุย (คน)

ไมใชปุย ใชปุย

- ปุยเคมี - ปุยอินทรีย - ปุยเคมีและปุยอินทรีย

64,513 7,033

57,480 41,484 1,241

14,755

100.0 10.9 89.1 64.3 1.9

22.9

จําแนกตามการปองกัน/กําจัดศัตรูพืช (คน) 64,513 100.0 ไมมีการปองกัน/กําจัดศัตรูพืช มีการปองกัน/กําจัดศัตรูพืช

- ใชสารเคมี - ใชสารธรรมชาติ - ใชศัตรูธรรมชาติ - ใชวิธีอ่ืนๆ

8,098 56,415 50,865 2,757

635 2,158

12.6 87.4 78.8 4.3 1.0 3.3

2. เนื้อท่ีเพาะปลูกท่ีใสปุยเคมี (ไร) 1,665,507 -

3. ปริมาณปุยเคมีท่ีใช (1,000 กก.) เฉลี่ยตอไร (กก.)

94,536 56.8

- -

ที่มา : สถิติแหงชาติ สํามะโนการเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี 2546 สํานักงานสถิติแหงชาติ: 2546

Page 24: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

12

2.2.5 รายไดและหนี้สินของครัวเรือน ผูถือครองทําการเกษตรเพียงรอยละ 22.0 มีรายไดของครัวเรือนมาจากการทํา

การเกษตรอยางเดียว ขณะที่ผูมีรายไดจากการทําการเกษตรและจากแหลงอื่นดวยมีถึงรอยละ 78 ซ่ึงแสดงใหเห็นวาครัวเรือนผูถือครองการทําการเกษตรยังตองพึ่งพิงรายไดจากแหลงอื่นนอกจากการกเกษตรดวยโดยผูถือครองมีรายไดจากผลผลิตเกษตรอยูในชวง 20,001 - 50,000 บาทมากที่สุดคิดเปนรอยละ 33.4 รองลงมาคือรายได 50,001 - 100,000 บาทรอยละ 22.2 และพบวาผูถือครองที่มีรายไดมากกวา 100,000 บาท มีรอยละ 19.5 และหนี้สินของครัวเรือนผูถือครอง พบวาผูถือครองรอยละ 59.2 มีหนี้สิน โดยเปนผูที่มีหนี้เพื่อการเกษตรรอยละ 57.0 มีจํานวนเงินที่เปนหนี้เพื่อการเกษตรทั้งสิ้น 3,507 ลานบาท หรือเฉลี่ย 92,105 บาท/ครัวเรือนที่เปนหนี้ (ตารางที่ 1.6 - 1.7) ตารางที่ 1.6 ผูถือครองทําการเกษตร จําแนกตามรายไดของครัวเรือน

รายการ จํานวน รอยละ จํานวนผูถือครองทําการเกษตรทั้งสิ้น (ไมรวมบริษัทฯ)

จําแนกตามแหลงท่ีมาของรายไดของครัวเรือน จากการเกษตรอยางเดียว จากการเกษตรและจากแหลงอื่น

- สวนใหญจากการเกษตร - สวนใหญจากการรับจางทํางานเกษตร - สวนใหญจากแหลงอื่น - จากการเกษตรและแหลงอื่นพอๆ กัน

66,866 14,678 52,188 30,648 4,555 9,002 7,983

100.0 22.0 78.0 45.8 6.8

13.5 11.9

จําแนกตามรายไดจากผลผลิตทางการเกษตร (ราย) ยังไมมีรายได มีรายได

- ต่ํากวา 5,000 บาท - 5,001 - 10,000 บาท - 10,000 - 20,000 บาท - 20,001 - 50,000 บาท - 50,001 - 100,000 บาท - มากกวา 100,000 บาท

66,866 756

66,110 1,703 4,643 9,610

22,296 14,814 13,053

100.0 1.1

98.9 2.5 6.9

14.4 33.4 22.2 19.5

ที่มา : สถิติแหงชาติ สํามะโนการเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี 2546 สํานักงานสถิติแหงชาติ : 2546

Page 25: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

13

ตารางที่1.7 ผูถือครองทําการเกษตร จําแนกตามหนี้สินของครัวเรือน และจํานวนเงินที่เปนหนี้เพื่อการเกษตร

รายการ จํานวน รอยละ 1. จํานวนผูถือครองทําการเกษตรทั้งสิ้น (ไมรวมบริษัทฯ)

จําแนกตามหนี้สินของครัวเรือน (คน) ไมมีหนี้สิน มีหนี้สิน

- เพื่อการเกษตร - นอกการเกษตร - เพื่อการเกษตรและนอกการเกษตร

เฉลี่ยตอครัวเรือนที่เปนหนี้ (บาท)

66,866 27,313 39,553 33,840 1,477 4,236

92,105

100.0 40.8 59.2 50.7 2.2 6.3

- 2. จํานวนเงินท่ีเปนหนี้เพื่อการเกษตร (บาท) 3,507 -

ที่มา : สถิติแหงชาติ สํามะโนการเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี 2546 สํานักงานสถิติแหงชาติ : 2546

3. วัตถุประสงคการวิจัย วัตถุประสงคหลักของการวิจัยเร่ือง "โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัด

กาญจนบุรี" ที่สําคัญมีดังตอไปนี้คือ 3.1 เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไป ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมใน

จังหวัดกาญจนบุรี 3.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบทางดานการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหมและ

การเกษตรแบบเดิมของเกษตรกรในจังหวัดกาญจนบุรี

4. สมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานของการวิจัยเร่ือง "โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี" คือ การดําเนินการผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมมีรายไดจากการผลิตมากกวาเมื่อเทียบกับการไมเขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม

Page 26: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

14

5. ขอบเขตของการวิจัย การศึกษาเรื่อง "โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี" ในครั้งนี้

จะศึกษาเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและเขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในจังหวัดกาญจนบุรี จํานวนสามกลุม กลุมที่ 1 คือกลุมสาธิตทดลอง และกลุมที่ 2 กลุมเครือขายโครงการ จํานวน 40 ราย เปรียบเทียบกับเกษตรกรที่ทําการเกษตรแบบเดิม ในจังหวัดกาญจนบุรี จํานวน 40 ราย

6. ขอจํากัดในการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้ ศึกษาเฉพาะเกษตรกรรวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในจังหวัดกาญจนบุรีเฉพาะกลุมที่ 1 คือกลุมสาธิตทดลอง และกลุมที่ 2 คือกลุมเครือขายโครงการ เทานั้น ดังนั้นหากจะนําผลการวิจัยไปใชในแหงอื่นๆ ตองคํานึงถึงความแตกตางของสภาพพื้นที่และเกษตรกร รวมทั้งวิธีการประยกุตอยางเหมาะสม

7. นิยามศัพทเฉพาะ

7.1 เกษตรทฤษฎีใหม 4 (New Theory Agriculture) เกษตรทฤษฎีใหม หมายถึง การทํากิจกรรมการเกษตรหลายๆ อยางรวมกันใน

ฟารม ซ่ึงมีทั้งการปลูกพืช เล้ียงสัตว หรือการประมง และกิจกรรมที่ผลิตรวมกันนั้นตองสนับสนุนเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน มีการใชเทคโนโลยีการผลิตที่สามารถจัดหาไดงายในทองถ่ิน ดําเนินการผลิตโดยเนนการใชแรงงานในครอบครัวเปนหลักและมีการแบงพื้นที่การใชประโยชนในแปลงในสัดสวนที่เหมาะสมสําหรับแตละฟารม เพื่อลดความเสี่ยงจากการผลิตและเพื่อความมั่นคงดานอาหาร โดยเกษตรกรจะปลูกขาวรวมทั้งมีการปลูกพืชและเลี้ยงสัตวไวบริโภคในครัวเรือนเปนหลัก เพื่อใหสามารถเลี้ยงตัวเองไดอยางไมเดือดรอน ทั้งนี้โดยมีปรัชญาสูงสุด คือ ความพอเพียงในการดําเนินชีวิตของเกษตรกร

4 นิยามตามสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

Page 27: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

15

7.2 เกษตรแบบเดิม5 เกษตรแบบเดิม หมายถึง การทํากิจกรรมการเกษตรที่มีกิจกรรมการผลิตเพียงหนึ่ง

กิจกรรม หรือไมมีการทําหลายๆ กิจกรรมรวมกันภายในแปลงและการผลิตจะเนนการจําหนายเปนหลัก

7.3 กลุมเกษตรกรผูเขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม6 กลุมเกษตรกรผูเขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม จําแนกเกษตรกรเปน 3 กลุม

ตามการจําแนกของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ป 2542 คือ 7.3.1 กลุมท่ี 1 กลุมแปลงสาธิตทดลอง

กลุมแปลงสาธิตทดลอง หมายถึง กลุมเกษตรกรที่เขารวมโครงการเต็มรูปแบบไดรับการสนับสนุนสระน้ําเต็มสัดสวนคือรอยละ 30 ของพื้นที่ และไดรับเงินคาปจจัยการผลิตรายละไมเกิน 5,000 บาท และเกษตรกรเขารวมโครงการตองปฏิบัติตามเงื่อนไขดังตอไปนี้

(ก) ทําแผนการผลิตเปนเวลา 5 ป โดยเกษตรกรตองปรับแผนทุกป (ข) ลงบันทึกบัญชีฟารมติดตอกัน 5 ป (ค) ทําแผนผังฟารม (ง) ทําขอมูลดานวิศวกรรม (จ) ทําบันทึกขอตกลงแสดงความยินยอมใหขุดสระน้ํา และรวมมือในการ

ปฏิบัติตามเงื่อนไข 7.3.2 กลุมท่ี 2 กลุมเครือขายโครงการ

กลุมเครือขายโครงการ หมายถึงกลุมเกษตรกรที่ไดรับการสนับสนุนสระน้ําบางสวนและไดรับเงินคาปจจัยการผลิตรายละไมเกิน 5,000 บาท และเกษตรกรเขารวมโครงการตองปฏิบัติตามเงื่อนไขดังตอไปนี้

(ก) ทําแผนการผลิตเปนเวลา 3 ป โดยเกษตรกรตองปรับแผนทุกป (ข) ลงบันทึกบัญชีฟารมติดตอกัน 3 ป (ค) ทําแผนผังฟารม (จ) ทําบันทึกขอตกลงแสดงความยินยอมใหขุดสระน้ํา และรวมมือในการ

ปฏิบัติตามเงื่อนไข

5 นิยามตามกรมสงเสริมการเกษตร 6 นิยามตามสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

Page 28: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

16

7.3.3 กลุมท่ี 3 กลุมผูริเร่ิมโครงการ กลุมผูริเร่ิมโครงการ หมายถึง กลุมเกษตรกรที่ไดรับการสนับสนุนเฉพาะ

ปจจัยการผลิตรายละไมเกิน 5,000 บาท (มีสระน้ําอยูแลว) และเกษตรกรเขารวมโครงการตองปฏิบัติตามเงื่อนไขดังตอไปนี้

(ก) ทําแผนการผลิตเปนเวลา 3 ป โดยเกษตรกรตองปรับแผนทุกป (ข) ลงบันทึกบัญชฟีารมติดตอกัน 3 ป (ค) ทําแผนผังฟารม

8. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัยเร่ือง "โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษา

จังหวัดกาญจนบุรี" คือ 8.1 ผลการวิจัยที่ไดสามารถจะใชเปนแนวทางในการเลือกดําเนินกิจกรรมการเกษตรที่

เหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของเกษตรกร 8.2 เพื่อเปนขอมูลและแนวทางปฏิบัติในการสงเสริมการทําการเกษตรทฤษฎีใหมแก

เกษตรกรรายอื่น ในจังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดอื่นๆ ที่มีสภาพพื้นที่คลายคลึงกัน

Page 29: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกีย่วของ

1. แนวคิดทางเกษตรทฤษฎีใหม

1. สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (2549) ไดจัดทําเอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารงานการเกษตรและสหกรณ โดยไดสรุปความเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงกับการเกษตรทฤษฎีใหม ดังนี้

1.1 การการเกษตรทฤษฎีใหม คือการประยุกตปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแปลงเกษตรของกสิกรรายยอย

1.1.1 การบริหารจัดการน้ํา ดิน พืช ทุน แรงงาน ใหเปนอาหารและผลิตผลการเกษตรใหมีประสิทธิภาพสูงสุด (พื้นที่ไมเกิน 15 ไร)

1.1.2 การขุดสระเกบ็กักน้ําในไรนา (แยกหลายบอได) 30% 1.1.3 การเกษตรผสมผสาน (พืชลมลุก พืชยืนตนกินใบ ผล) 30% 1.1.4 การปลูกขาวเพื่อการบริโภค 30% 1.1.5 ที่อยูอาศัยและเลี้ยงสัตว (แยกได) 10% 1.1.6 ยึดแนวเศรษฐกิจพอเพียง

1.2 เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพิจารณาแปลงทฤษฎีใหม

1.3 เศรษฐกิจพอเพียง - ทฤษฎีใหม นักตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2494 - 4 ธันวาคม 2540 กวา 46 ปที่พระบาทสมเด็จ

พระเจาอยูหัวทรงงาน ทรงแนะนําประชาชนที่อยูในเขตชนบททองที่หางไกล ทองถ่ินกันดารและยากจน ใหเปนแนวทางปฏิบัติ ดํารงชีวิตเพื่อเปาหมายสุดทาย อยูเย็นเปนสุข ดังนี้

1.3.1 พึ่งพาตนเอง ชวยเหลือใหชวยตัวเองได ไมรอรับความชวยเหลือจากรัฐอยูเสมอ ใชความสามารถของตัวเอง ระยะแรกเนนอาหารพื้นบานของไทย ไดแก ขาว ปลา ผักผลไม ไก พยายามปลูกทุกอยาง ใหพอมีพอกินพออยู วิธีงายๆ ลดคาใชจายที่ไมจําเปนใหเหลือนอยที่สุด เชน พันธุพืช พันธุสัตว ปุย ยาปราบศัตรูพืช พยายามใชระบบปลูกพืชระบบหมุนเวียน ระบบอินทรีย

Page 30: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

18

1.3.2 พอประมาณ คอยๆ ทําตามกําลังกาย กําลังทุน คอยเปนคอยไป จากงานเล็กๆ ไมมากไมนอยเกินไป ดวยวิธีการที่งายๆ ไมสลับซับซอน ไมตองใชปจจัยการผลิตที่ราคาสูง เชน สารเคมี เชื่อเพลิงปโตรเลียม หากจะกูเงินมาลงทุน ก็ใหใชในสิ่งที่มีผลตอบแทนแนนอน ไมนําไปซื้อวัสดุที่ไมเกี่ยวกับการผลิตโดยตรง เมื่อกิจการพื้นฐานมั่นคงพรอมพอควรและปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริมความเจริญโดยลําดับตอไป

1.3.3 เดินสายกลาง ไมประพฤติตนใหสบายเกินไป ลําบากเกินไป ความพอดี ไมใหพึ่งพาอาหารหรือผลิตผลเนนอยางหนึ่งอยางใดอยางเดียว ใหปลูก / เล้ียง ผสมผสานหลายอยาง เปนการกระจายทุน กระจายแรงงาน มีงานทําตามกําลังตลอดป มีอาหารกระจายตลอดป ถาผลิตผลเหลือก็นําไปจําหนาย หรือแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบาน หรือนําเงินไปซื้อปจจัยที่จําเปนอยางอืน่ ที่ผลิตเองไมได เชน เสื้อผา ยารักษาโรค ไดตลอดป และใหเกิดการสมดุล ไมสุดโดงอยางใดอยางหนึ่ง การปลูกพืชหลายชนิด เชน ขาว ผัก สมุนไพร พืชยืนตน เชน กลวย มะละกอ มะมวง มะรุม ชะอม มะพราว ในสระน้ํา เล้ียงปลา ปลูกผัก เชนผักบุง ผักกระเฉด ใกลบานเลี้ยงไก เปนตน

1.3.4 มีภูมิคุมกัน น้ําคือชีวิต เพื่อเพิ่มและประทัง ผลผลิตและอาหาร หากไมมีน้ําจากระบบชลประทาน ควรขุดสระในไรนา หรือมีแหลงน้ําสํารอง เพื่อปลูกพืชหรือเล้ียงสัตวไดหลายอยาง และถามีอากาศแหงแลงในฤดูฝน ก็ใชน้ําจากสระหรือแหลงน้ํามารดพืชได พืชอายุส้ันหรือพืช ลมลุก อาจเสียหายบาง แตพืชยืนตนจะไมตาย เชน มะรุม กระถิน แค ชะอม มะมวง มะพราว จะไมเสียหาย และเปนรายไดพอประทัง ทดแทนไปได ปลาในสระก็ใชเปนอาหารได จนกวาจะผานชวงแลง บางฤดูน้ําภายนอกจะมาก พืชบางอยางอาจเสียหาย แตพืชยืนตนจะไมตาย แตถาเปนแปลงที่มีคันดินรอบ ก็อาจปองกันน้ําทวมได แตตองพยายามสูบน้ําออกเสมอ เมื่อน้ําลดลง ก็อาจปลูกพืชอายุส้ันได โดยอาศัยน้ําที่อยูในสระ การปลูกพืชผสมผสานหลายอยาง จะทําใหโรคแมลงศัตรูพืช และความเสียหายจากธรรมชาตินอยลงมาก เพราะมีภูมิคุมกันซึ่งกันและกัน

1.3.5 มีเหตุมีผล การที่มีกิจกรรมหลายอยาง ทําใหตองใชความรู สติ ปญญา พิจารณาตามเหตุตามผล กอนจะดําเนินการใดๆ เชน ควรจะปลูกพืชอายุส้ันชนิดใด เมื่อใด ก็ตองพิจารณาตามความเหมาะสมของฤดูกาล ความตองการของตลาด ฤดูฝนควรปลูกขาวโดยอาศัยน้ําฝน แตถาฝนแลงในชวงฤดูปลูก ก็ใชน้ําจากสระมารดขาวใหพอประทังชีวิต ผานชวงฝนแลง ในฤดูแลงไมควรใชน้ําในสระปลูกขาวนาปรัง เพราะใชน้ํามาก ควรปลูกพืชลมลุกที่อายุส้ัน ใชน้ํานอยและราคาดี เชน ผัก ถ่ัวฝกสด ขาวโพดฝกสด หรือดอกไม ควรรับความรูใหมๆ จากคําแนะนําของผูรู หรือสวนราชการ การจะลงทุนกูเงินก็ตองพิจารณาอยางรอบคอบ

1.3.6 มีความสามัคคี กับบุคคลในครอบครัวและเพื่อนบาน มีความเอื้ออาทร ชวยเหลือแลกเปลี่ยนผลิตผลซึ่งกันและกัน เมื่ออาชีพกาวหนาขึ้น ตองรวมกลุมกัน ชวยเหลือกัน

Page 31: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

19

ดานความรู เทคโนโลยี รวมกันสรางพื้นฐานหลักที่จําเปนตอการผลิต เชน แหลงน้ํา เสนทางคมนาคมของชุมชน เมื่อกิจกรรมกาวหนาขึ้น การรวมกลุมในรูปสหกรณชุมชน จัดหาเงินทุน พันธุพืช ปจจัยการผลิต ธนาคารขาว ธนาคารโค กระบือ โรงสีขาว ปจจัยที่จําเปนแกการครองชีพ เชน อาหาร เครื่องนุงหม ของใชอ่ืนๆ ที่ผลิตเองไมได ขั้นตอไป ก็รวมมือกันในดานสวัสดิการตางๆ เชน การศึกษา การสาธารณสุข และความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสิน

1.3.7 เปนคนดี ตองมีศีลธรรม จริยธรรม ซ่ือสัตยสุจริต ขยัน อดทน มีความเพียร ประหยัด ลดเวนอบายมุขทุกประเภท (เหลา หวย ยาเสพติด ฯลฯ) ทําหนาที่ของคนใหดีที่สุด (ตอครอบครัวและตอเพื่อนบาน) ใจเย็น ไมพูดมาก ฟงคนอื่นบาง อยาทะเลาะกัน อยาทําใหเพื่อนบานเดือดรอน รักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน ปลูกตนไม ลดการตัดตนไม ฯลฯ ลดการกอขยะและเผาขยะ ลดการทําน้ําเสีย เปนตน

2. สํานักงานเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี (2547) ไดจัดทําเอกสารเผยแพรเร่ืองไรนาสวน

ผสมตามแนวทฤษฎีใหม ในงานสงเสริมการเกษตร โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 ทฤษฎีใหม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ทรงมีพระ

กรุณาธิคุณตอปวงชนชาวไทย ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชนสุขแกประชาชน ดวยทรงมีพระราชหฤทัยมุงมั่นในการชวยเหลือและแกไขปญหาความแปรปรวนของดิน ฟา อากาศ ฝนตกไมสม่ําเสมอ ฝนทิ้งชวง น้ําไหลบาเมื่อฝนตกหนัก อันเกิดจากสภาพปาถูกทําลาย และเกิดภาวะแหงแลง เกิดการขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรและการบริโภคในครัวเรือนเกือบทุกภาคของประเทศ ระดับน้ําในแมน้ําลําธารตางๆ ลดต่ําลงจนบางแหงขอด อันถือเปนวิกฤตที่สําคัญของชาวชนบทของประเทศรวมกัน ซ่ึงสงผลกระทบตอประชากรทั้งประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงทราบดวยพระปรีชาญาณของพระองคเองและทรงมีพระราชดําริที่แกไขปญหาภัยแลง และยกระดับพัฒนาความเปนอยูของราษฎรในภาคการเกษตรกรรมใหเกิดความ “พออยู พอกิน” พระองคทรงมีพระราชวินิจฉัย คนควา สํารวจ รวบรวมขอมูล และทดสอบเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ํา ที่ดิน พันธุพืช เพื่อการบริโภคและอุปโภค เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดในพื้นที่ของตนเอง โดยตั้งเปน “ทฤษฎีใหม” ซ่ึงผานการสรุปผลจากการทดลองของมูลนิธิชัยพัฒนาในพระองคที่วัดมงคลชัยพัฒนา ตําบลหวยบง และตําบลเขาดินพัฒนา อําเภอเมือง (ปจจุบันชื่ออําเภอเฉลิมพระเกียรติ) จังหวัดสระบุรี ซ่ึงเปนแนวทางทางการพัฒนาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง โดยการผสมผสานทั้งพืช สัตว และประมง ใหมีความหลากหลายนานาพันธุ บนเสนทางการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยทําการเกษตรในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหเกิด “พออยูพอกิน” ในระยะแรกๆ

Page 32: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

20

2.2 หลักการของทฤษฎีใหม 3 ขั้นตอน

2.2.1 ทฤษฎีใหม : ขั้นท่ีหนึ่ง การผลิตเปนการผลิตใหพึ่งพาตนเองได ดวยวิธีงายๆ คอยเปนคอยไป

ตามกําลัง ใหพอมีพอกิน ไมอดยาก - เปนรูปแบบการทําเกษตร สําหรับเกษตรกรรายยอย มีพื้นที่ทํากิน

ประมาณ 15 ไร - เกษตรกรสามารถทําการเกษตรเลี้ยงตัวเองไดในระดับพออยูพอกิน - เกษตรกรทําการผลิตขาวไวเพื่อบริโภคในครัวเรือนเปนอันดับแรก

หากผลผลิตเหลือจึงจําหนาย - เกษตรกรทําการปลูกพืชหลายๆ ชนิด ในลักษณะปลูกพืชผสมผสาน

เชน ไมผล ไมยืนตน พืชไร และพืชผัก เปนตน - มีแหลงน้ํา (สระน้ํา) ในไรนา สามารถเก็บกักน้ําไวใชได เมื่อมีการขาด

แคลนน้ํา เชน ฝนทิ้งชวงในฤดูฝน และความแหงแลงในฤดูแลง สัดสวนการใชพื้นที่ทําการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม เพื่อใหตัวเลขลง

ตัวและงายตอการจดจําในพื้นที่ 15 ไร ดังนี้ 30 : 30 : 30 : 10 1. สระน้ํา 3 ไร ลึก 4 เมตร (ประมาณ 30% ของพื้นที่) 2. นาขาว 5 ไร (ประมาณ 30% ของพื้นที่) 3. พื้นที่ปลูกไมผลไมยืนตน พืชไร พืชผัก 5 ไร (ประมาณ 30% ของ

พื้นที่) 4. ที่อยูอาศัย และอื่นๆ 2 ไร (ประมาณ 10% ของพื้นที่) สําหรับพื้นที่การเกษตรแลว มีพื้นที่ปลูกขาว 5 และพื้นที่ปลูกไมผล ไม

ยืนตน พืชไร และพืชผัก อีก 5 ไร รวมพื้นที่ 10 ไร หากมีความตองการใชสระน้ําไรละ 1,000 ลูกบาศกเมตร พื้นที่ 10 ไร ตองการใชน้ําทั้งสิ้นอยางนอย 10,000 ลูกบาศกเมตร

2.2.2 ทฤษฎีใหม : ขั้นท่ีสอง เกษตรกรรวมพลังกันในรูปแบบกลุมสหกรณหรือสหกรณ รวมแรงใน

ดาน 1. การผลิต 2. การตลาด 3. การเปนอยู 4. สวัสดิการ

Page 33: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

21

5. การศึกษา 6. สังคมและศาสนา เพื่อใหพอมีกินมีใช ชวยใหชุมชนและสังคมดีขึ้นพรอมๆ กัน ไมรวยคน

เดียว 2.2.3 ทฤษฎีใหม : ขั้นท่ีสาม

รวมมือกับแหลงเงินและแหลงพลังงาน ตั้งและบริการโรงสี ตั้งและบริการรานสหกรณ ชวยกันลงทุน ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท ซ่ึงไมใชทําอาชีพเกษตรอยางเดียว

ดังนั้น การพัฒนาตามแนวทฤษฎีใหม จึงมีความจําเปนตองประยุกตใชใหเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดลอม จึงจะเกิดประโยชนสูงสุด

2.3 ฐานการผลิตความพอเพียง (ขั้นท่ีหนึ่ง)

สําหรับรายละเอียดในขั้นที่หนึ่ง เนนถึงการผลิตที่พึ่งพาตนเอง สรางความเขมแข็งของตนเอง ใหสามารถดํารงชีพอยูไดในพื้นที่ของตนเอง กลาวคือ “พออยูพอกิน” ซ่ึงในขั้นตอนนี้เปนเรื่องราวของการจัดการพื้นที่การเกษตรออกเปน 4 สวน (พื้นที่ทํานา สระน้ํา พื้นที่ปลูกพืชแบบผสมผสาน และที่อยูอาศัย)

ขาว พื้นท่ีสวนท่ีหนึ่ง คือพื้นที่ทํานาในการปลูกขาวเพื่อการบริโภค ขาวเปนพืชที่มีความสําคัญทางดานเศรษฐกิจระดับประเทศและระดับครัวเรือน ในระดับประเทศถือไดวา สามารถนําเงินตราสูประเทศอยางมากมายในแตละป อีกนัยหนึ่งขาวเปนพืชวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนไทยในแงงานบุญประเพณีตางๆ และขาวเปนพืชที่ปลูกไวสําหรับคนไทยทั้งประเทศเพือ่การบริโภค สําหรับในระดับครัวเรือน ปลูกขาวไวบริโภคและหากผลผลิตเหลือจึงจําหนาย ขาวยังแสดงถึงฐานะความเปนอยูของเกษตรกรและทรัพยสินในแตละครัวเรือน ขาวเปนสอนคาเกษตรที่สามารถเก็บไวไดนาน ขึ้นอยูกับความตองการวาตองการบริโภคเมื่อไร ตองการเปลี่ยนจากผลผลิต (ขาวเปลือก) เปนเงินตราไวสําหรับใชจายในครัวเรือนเมื่อไรก็ได ซ่ึงจะตางกับสินคาเกษตรอื่นๆ เชน ในฤดูฝน การปลูกขาวนาป สามารถควบคูไปกับการเล้ียงปลา ซ่ึงเรียกวา การเลี้ยงปลาในนาขาว อีกประการหนึ่งในหลักของทฤษฎีใหมขั้นที่หนึ่ง พื้นที่นาขาวจะมีความสัมพันธกับสระน้ําในไรนา กลาวคือ พื้นที่นามักเปนพื้นที่ระบายน้ําไมดี ลักษณะดินเปนดินเหนียว สามารถเก็บกักน้ําได หากมีการขุดสระน้ําในไรนาในสภาพดินนา ที่เปนพื้นที่ราบและลุมแลว โอกาสที่จะเก็บกักน้ําจะเปนไปไดสูง และจะสามารถนําน้ําจากสระน้ํามาใชในชวงฤดูกาลเพาะปลูกได ไมวาจะเปนฤดูกาลฝนทิ้งชวงในฤดูฝน หรือฝนแลงในฤดูแลง เปนตน

Page 34: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

22

สระน้ํา พื้นท่ีสวนท่ีสอง คือสระน้ําในไรนา มีวัตถุประสงคเพื่อใชในการเกษตรกรรมเปนหลัก ดังนั้น หากเกษตรกรมีสระน้ําก็เปรียบเสมือนมีตุมเก็บกักน้ําในฤดูฝน ชวยปองกันน้ําไหลหลากทวมไรนาของเกษตรกร ตลอดจนชวยมิใหน้ําไหลหลากลงสูแมน้ําลําคลอง สามารถนําน้ําจากสระน้ํามาใชในฤดูฝน กรณีเกิดการขาดแคลนน้ํา หรือฝนทิ้งชวง สําหรับในฤดูแลง หากมีน้ําในสระเหลือสามารถนํามาใชในการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว สระน้ําในไรนา ยังหมายถึงการที่เกษตรกรมีหลักประกันความเสี่ยงในการผลิตทางการเกษตร ถาเกิดการขาดแคลนน้ําขึ้น นอกจากนี้สระน้ําในไรนาของเกษตรกรยังสามารถเปนแหลงที่สรางมูลคาเพิ่ม (Value Added) และใหผลตอบแทนตอไรนาของเกษตรกร กลาวคือ สระน้ําเปนแหลงทรัพยากรในการสนับสนุนการเพาะปลูก และเลี้ยงสัตวในไรนา สระน้ําสามารถสนับสนุนการเพาะปลูกพืชขอบสระน้ําใหความชุมช้ืน และสรางระบบนิเวศเกษตรที่เหมาะสมในบริเวณพื้นที่ขอบสระน้ํา

ปลูกพืชแบบผสมผสาน พื้นท่ีสวนท่ีสามไวเพาะปลูก เนนใหมีการปลูกพืชแบบผสมผสานทั้งไมผล ไมยืนตน พืชไร พืชผัก พืชสมุนไพร และไมดอกไมประดับ เปนแหลงอาหาร ไมใชสอย และเพิ่มรายได การปลูกพืชหลายๆ ชนิด สรางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ซ่ึงจะชวยในการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนชวยกระจายความเสี่ยงจากความแปรปรวน ของระบบการตลาดและภัยธรรมชาติ การปลูกพืชผสมผสานยังสามารถชวยเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน ลดการพึ่งพาจากปจจัยภายนอกไรนา และตัดวงจรศัตรูพืชบางชนิดไดอีกดวย

ท่ีอยูอาศัย พื้นท่ีสวนท่ีสี่ หรือสวนสุดทาย จัดใหเปนที่อยูอาศัยหรือบานไวดูแลสวนไรนา และบริเวณบานมีส่ิงอํานวยความสะดวก เชน ถนนหนทาง โรงเรือนเก็บขาว เก็บขาว เก็บขาว อุปกรณการเกษตร ฉางเก็บขาวเปลือก ใชพื้นที่บริเวณบานใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน มีไมผลหลังบานเพื่อบริโภค ปลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร นําเศษวัสดุเหลือใชมาทําปุยหมัก เพาะเห็ดฟาง การเลี้ยงสัตวเพื่อสรางคุณคาอาหารและโภชนาการ ตลอดจนเสริมรายได นอกจากนี้มูลสัตวนํามาทําปุยคอกในลักษณะการเกษตรผสมผสาน มีการหมุนเวียนทรัพยากรในไรนาใหมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การจัดการพื้นที่สวนที่ส่ีใหมีที่อยูอาศัยนั้น ยังหมายถึง การสรางจิตสํานึกและนิสัยใหมีความผูกพันกับการเกษตรและอาชีพของตนเอง เพื่อใหสามารถดํารงชีพอยูไดโดยไมมีจิตใจฟุงเฟอ หลงใหลในวัตถุนิยมดังเชนสังคมเมือง สามารถใชประโยชนจากพื้นที่บานและที่อยูอาศัย มีเวลามากพอในการทําการเกษตรดูแลสวนไรนาของตนเอง มีส่ิงอํานวยความสะดวกในการดํารงชีพขั้นพื้นฐานอยางพอเพียง เชน มีอาหารจากพืชและสัตวบก สัตวน้ํา มียารักษาโรค จากพืชธรรมชาติและพืชสมุนไพร มีผลไมไวบริโภค มีไมใชสอยในครัวเรือน และประกอบอาชีพการเกษตร เปนตน

Page 35: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

23

2.4 รวมพลังชวยเหลือซ่ึงกันและกัน (ขั้นท่ีสอง) เกษตรกรรวมกลุมเพื่อชวยเหลือซ่ึงกันและกัน โดยสรางความพอเพียงในขั้นที่

หนึ่ง ทําใหเกิดความเขมแข็งในแตละครอบครัว จึงเกิดความรูความสามารถที่เขมแข็งในรูปแบบกลุมและเกิดพลังในขั้นที่สอง ดังนั้นหลักการรวมกลุม จึงรวมกันชวยเหลือซ่ึงกันและกัน มิใชมาขอความชวยเหลือฝายใดฝายหนึ่งแตเพียงฝายเดียว การรวมกลุมใหเกิดพลังในการดํารงชีพและดําเนินกิจกรรมการเกษตร โดยการรวมแรงรวมมือในการผลิต การตลาด รวมคิดวางแผน และระดมทรัพยากรในการผลิต จัดระบบการผลิต ศึกษาระบบการตลาด การคาขาย การจําหนายผลผลิตรวมกัน สรางสวัสดิการความเปนอยู ทั้งดานการศึกษาและอนามัยรวมกันในชุมชนและกลุมเปนอันดับแรก ทําใหเกิดประโยชนรวมกัน กลุมมีความเขมแข็งชวยเหลือตนเองได เกิดความสามัคคีปรองดองกัน สามารถรวมดําเนินธุรกิจดวยกัน โดยการรวมกันซื้อรวมกันขาย ซ่ึงจะชวยในการลดคาขนสง ทําใหเกิดการเรียนรูแหลงผลิตและซื้อขายปจจัยการผลิตและผลผลิต นอกจากนี้แลวการรวมกลุมและรูปแบบสหกรณทําใหมีผลผลิตในปริมาณที่มากพอ สามารถเพิ่มอํานาจการตอรองของราคาในการจําหนายพืชผลทางการเกษตร

2.5 รวมคาขายสรางเครือขายเศรษฐกิจชุมชน (ขั้นท่ีสาม) ในขั้นตอนที่สอง เมื่อองคกรหรือกลุมหรือสหกรณเกิดความเขมแข็ง สามารถ

ชวยเหลือกันเองไดแลว จึงรวมกับคนภายนอกคาขาย รวมประสานประโยชนรวมกัน การจัดตั้งและบริหารโรงสีและรานคาสหกรณในลักษณะบริษัทรวมทุน ชวยกันลงทุนในรูปแบบทรัพยากรการผลิต ทรัพยากรมนุษย (ตัวบุคคลชวยกันทํางาน) เงินลงทุน และอุปกรณการผลิต การกอสราง เปนตน ในการรวมมือรวมใจกับบุคคลภายนอกในการดําเนินธุรกิจเพื่อใหเกิดหนวยเศรษฐกิจชุมชนและเศรษฐกิจทองถ่ินนั้น จะตั้งอยูบนพื้นฐานผลประโยชนรวมกัน แบงหนาที่ความรับผิดชอบตามความถนัด เชนหนวยการผลิต หนวยขนสง หนวยการจัดการ หนวยติดตอหาตลาด หนวยการจําหนาย หนวยการลงทุน เปนตน แตทุกหนวยจะตองทํางานเหมือนบริษัทเดียวกัน ทํางานเปนทีม ประสานงานรวมกัน ทําใหเกิดการถายทอดเทคโนโลยีดานการจัดการ การดําเนินธุรกิจเกิดกระบวนการเรียนรูซ่ึงกันและกัน ทําใหทราบความตองการทั้งชนิด ปริมาณ คุณภาพ และราคาสินคา นิสัยการบริโภคและอุปโภคของลูกคา ส่ิงสําคัญจะตองมีกลไก กฎระเบียบขอบังคับรวมกัน การจัดสรรปนสวนตองยุติธรรมและมีคุณธรรม

Page 36: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

24

2.6 ความรูและความเขาใจ ความพรอม และการจัดการ ความรวมมือและความสามัคคีในการใชทฤษฎีใหม

2.6.1 ความรูความเขาใจ 1. ทฤษฎีใหม มิใชวิธีการหรือเทคนิคเดียวเทานั้นในการแกไขปญหา

ของเกษตรกรไดทุกกรณี ทุกพื้นที่ 2. ทฤษฎีใหมเปนทางเลือกทางหนึ่ง ที่มุงหวังแกไขปญหาใหสามารถอยู

ไดในระดับพอเพียง (พออยูพอกิน) 3. ทฤษฎีใหมเปนการจัดการหรือวิธีการจัดการทรัพยากร หรือการ

จัดการพื้นที่เกี่ยวกับเรื่องดิน น้ํา การปลูกพืชและพันธุไม ใหสามารถดํารงชีพและประกอบการเกษตรอยางเหมาะสม อยูไดในพื้นที่ของตนเองอยางพออยูพอกินในเบื้องตน

4. ทฤษฎีใหมในขั้นที่หนึ่ง เปนระบบการทําฟารมที่มีระบบยอยอยูในระบบใหญ ไดแก ระบบการทํานา ระบบการปลูกพืช (ผสมผสาน) ระบบการจัดการน้ํา และระบบครัวเรือนเกษตรกร

5. ทฤษฎีใหมในขั้นที่หนึ่ง เปนการจัดการพื้นที่ในสัดสวน 30:30:30:10 ตามทฤษฎีแตในทางปฏิบัติมิใชสูตรตายตัว สามารถปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่

6. ทฤษฎีใหมมุงพัฒนาขีดความสามารถ การบริหาร การจัดการ และการใชน้ําใหมีประสิทธิภาพ

7. ทฤษฎีใหมสรางความเขมแข็งจากการพึ่งพาตนเอง 8. ทฤษฎีใหมตองอาศัยความขยันหมั่นเพียร ความอดทน การประหยัด

และทักษะ 9. ทฤษฎีใหมสอนใหคนรูรักสามัคคี รวมกลุมชวยเหลือซ่ึงกันและกัน

10. ทฤษฎีใหม สอนใหคนรูจักการทํางานรวมกันกับผูอ่ืน ทั้งใกลชิดและหางไกล โดยอาศัยความยุติธรรมและคุณธรรม

2.6.2 ความพรอมและการจัดการ 1. สภาพพื้นที่ เชน ดิน น้ํา เปนตน บางสภาพพื้นที่ทําได ดินเหมาะสม

ดินสามารถปลูกพืชไดและเก็บกักน้ําได 2. เทคโนโลยีการผลิต การจัดการ และการตลาด 3. เงินลงทุน และเงินทุนหมุนเวียน เล็กนอยหากมีความเพียร

Page 37: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

25

4. ในการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิต และวิถีชีวิตความเปนอยูของเกษตรกร เชน เคยปลูกพืชอยางเดียวมาปลูกพืชหลายชนิด ทํางานในไรนาบางฤดูกาลโดยทํางานตลอดปอยางมี ความสุข และมีความอบอุนกับครอบครัว

5. มีความขยันหมั่นเพียร อดทน ทักษะ ทดลอง ศึกษา เรียนรูจริงจากการปฏิบัติ และรอคอยความสําเร็จ

2.6.3 ความรวมมือและความสามัคคี 1. รวมมือกับภาคราชการ เอกชน และประชาชน 2. ความรวมมือของคนในกลุม ชุมชน และทองถ่ิน 3. ความสามัคคีรวมกัน เอื้ออาทรตอกัน 4. ระดมทุน ทรัพยากรการผลิต ทรัพยากรมนุษย และอื่นๆ รวมกันใน

การดําเนินงาน 2.7 สรุปหลักการทฤษฎีใหม

1. เกษตรกรรายยอยขนาดพื้นที่การเกษตรขนาดเล็ก ประมาณ 15 ไร (มากนอยขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงคของเกษตรกร) หรือพื้นที่ถือครองทําการเกษตรโดยเฉลี่ยในแตละชุมชนและทองถ่ินนั้นๆ สามารถยืดหยุนไดตามสภาพพื้นที่

2. ทฤษฎีใหมขั้นที่หนึ่งหรือขั้นแรก สรางฐานการผลิตใหสามารถเลี้ยงตัวเองได “พออยูพอกิน” หรือพึ่งพาตนเองได รูจักประหยัด อดทน มีความเพียร

3. มีขาวพอเพียงในการบริโภคภายในครัวเรือน 4. ปจจัยสําคัญในการผลิต คือสระน้ํา แตตองมีการลงทุน และสระน้ําที่ขุดแลว

ตองสามารถมีน้ํา และเก็บกักน้ําได 5. เปนเรื่องของการจัดการ ระบบการจัดการทรัพยากรในไรนา เชน ที่ดิน (การ

จัดการพื้นที่) แหลงน้ํา พันธุพืชพันธุไม เพื่อใหสามารถดํารงชีพไดในพื้นที่ของตนเอง 6. มีกิจกรรมการเกษตรที่หลากหลาย ชวยลดความเสี่ยง มีรายไดตอเนื่อง มีทั้ง

พืชอาหาร ไมใชสอยและเพิ่มรายได ชวยลดการพึ่งพาปจจัยภายนอกไรนา เนนการพึ่งพาตนเอง และทรัพยากรในไรนา

7. เนนการใชประโยชนในเขตเกษตรอาศัยน้ําฝนเปนอันดับแรก และความมีแหลงน้ําตามธรรมชาติหรือการชลประทานมาเติมสระน้ําในไรนา ในกรณีที่ขาดแคลน

8. ในขั้นที่หนึ่งอัตราสวน 30 : 30 : 30 : 10 เปนการจัดการพื้นที่ตามทฤษฎี แตสามารถประยุกตเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ได

Page 38: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

26

9. ในขั้นที่สอง เกษตรกรรวมกลุมกันมุงเพื่อชวยเหลือซ่ึงกันและกัน โดยแตละคนแตละ ครอบครัวตองมความพอเพียง “พออยู พอกิน” และเขมแข็งมากอน มิใชมุงหวังมาขอความชวยเหลือเพียงอยางเดียว

10. ในขั้นที่สาม เมื่อชุมชนและองคกรหรือกลุมเขมแข็ง จึงรวมกันกับคนภายนอกคาขาย สรางเครือขายเศรษฐกิจชุมชนที่เขมแข็ง

11. รวมพลังการผลิต การจัดการ และการคาขาย สรางผลประโยชนรวมกัน 12. ดวยหลักการทฤษฎีใหมจะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป

2. แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร

การศึกษานี้เปนการวิเคราะหทางดานการเงิน โดยการวิเคราะหรายไดจะไดมาจากรายไดในภาคการเกษตรตามชวงอายุการผลิต ที่ดําเนินกิจกรรมตามเกษตรทฤษฎีใหมและการเกษตรแบบเดิม และการวิเคราะหผลตอบแทนสุทธิไดจากการนําเอารายไดในภาคการเกษตรหักจากรายจายในภาคการเกษตรตามกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหมและการเกษตรแบบเดิม และจะใชหลักเกณฑการตัดสินใจแบบปรับคาเวลามาวิเคราะหรายไดและผลตอบแทนสุทธิ โดยจะใช 3วิธี คือ

2.1 มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value หรือ NPV) คือผลรวมของมูลคาผลตอบแทนสุทธิที่ไดปรับคาปจจุบันแลว โดยใชสูตร

∑ ∑= = +

−+

=n

1t

n

1tt

tt

t

)i1(

C

)i1(

BNPV

โดย NPV = มูลคาปจจุบันสุทธิ Bt = ผลตอบแทนในปที่ 1 Ct = ตนทุนในปที่ 1, 2, ..., n i = อัตราคิดลด t = ปของระยะเวลาที่มีคา 1, 2, ..., n n = 10 ป

Page 39: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

27

จากสมการที่คํานวณได ถามูลคาปจจุบันสุทธิจากการดําเนินกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหมมีคามากกวาศูนย (NPVnew > 0) แสดงวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหมมีความคุมคาตอการลงทุนถามูลคาปจจุบันสุทธิจากการดําเนินกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหมมีคานอยกวาศูนย (NPVnew < 0) แสดงวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหมไมคุมคาตอการลงทุน และถามูลคาปจจุบันสุทธิจากการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิมมีคามากกวาศูนย (NPVdd > 0) แสดงวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิมมีความคุมคาตอการลงทุน แตถามูลคาปจจุบันสุทธิจากการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิมมีคานอยกวาศูนย (NPVdd < 0) แสดงวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิมไมคุมคาตอการลงทุน และถา NPV ของเกษตรทฤษฎีใหม > NPV ของเกษตรแบบเดิม แสดงวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเกษตรทฤษฎีใหมคุมคามากกวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิม และถา NPV ของเกษตรทฤษฎีใหม < NPV ของเกษตรแบบเดิม แสดงวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเกษตรทฤษฎีใหมคุมคานอยกวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิม

2.2 อัตราสวนผลตอบแทนตอคาใชจาย (Benefit - Cost Ratio หรือ BCR ) แสดงถึง

อัตราสวนระหวางมูลคาปจจุบันของผลตอบแทนกับมูลคาปจจุบันของตนทุนการผลิตตลอดอายุโครงการ ซ่ึงคํานวณไดจากสูตร

=

=

+

+= n

1tt

t

n

1tt

t

)i1(C

)i1(B

BCR

โดย BCR = อัตราสวนผลตอบแทนตอคาใชจาย Bt = ผลตอบแทนในปที่ 1 Ct = ตนทุนในปที่ 1, 2, ..., n i = อัตราคิดลด t = ปของระยะเวลาที่มีคา 1, 2, ..., n n = 10 ป

Page 40: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

28

เกณฑที่ใชในการตัดสินใจคือถามีอัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุนมากกวา 1 (BCR >1) แสดงวาผลตอบแทนที่ไดจากการเขารวมโครงการมากกวาคาใชจายหรือตนทุนการผลิตที่ลงทุนไป เมื่อคิดลดกลับมาเปนคาปจจุบันดวยระดับดอกเบี้ยที่เหมาะสม

2.3 อัตราผลตอบแทนของโครงการ (Internal Rate of Return หรือ IRR) คืออัตราที่จะทําใหผลตอบแทนและคาใชจายที่คิดลดเปนคาปจจุบันแลวเทากัน คํานวณไดจากสูตร

IRR = อัตราดอกเบี้ย ณ จุดที ่ 0)i1(

C)i1(

Bn

1t

n

1tt

tt

t =+

−+∑ ∑

= =

โดย IRR = อัตราผลตอบแทนของโครงการ Bt = ผลตอบแทนในปที่ 1 Ct = ตนทุนในปที่ 1, 2, ..., n i = อัตราคิดลด t = ปของระยะเวลาที่มีคา 1, 2, ..., n n = 10 ป จากสมการที่คํานวณไดถาหากอัตราผลตอบแทน (IRR) ที่ไดมากกวาคาเสียโอกาส

ของทุนจะเปนการลงทุนที่คุมคา ถาหากอัตราผลตอบแทนที่ไดต่ํากวาคาเสียโอกาสของทุนจะเปนการลงทุนที่ไมคุมคา IRR เปนการวิเคราะหโดยคิดอัตราดอกเบี้ยที่คิดหักสวนลดแลวทําใหมูลคาปจจุบันของผลตอบแทนสุทธิของโครงการมีคาเทากับศูนย ถาคาของ IRR ที่คํานวณไดสูงกวาอัตราดอกเบี้ยเงินกูในทองตลาดก็จะยอมรับโครงการ ถาต่ํากวาก็จะปฏิเสธโครงการ

Page 41: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

29

3. ผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

สําหรับผลงานผลงานวิจัยที่เกี่ยวของไดมีผูใหแนวคิดเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหมไวหลายแนวคิด ซ่ึงแตละแนวคิดมีปรัชญาหลักที่เหมือนกัน คือเนนความพอเพียงของเกษตรกรและความสามารถในการพึ่งตนเองของเกษตรกร และการประเมินความเปนไปไดของโครงการเกษตรที่เกี่ยวของกับเกษตรทฤษฎีใหม

3.1 ลลิดา ปรีดากรณ (2537)ไดทําการการวิเคราะหความเปนไปไดทางเศรษฐศาสตรและการเงินของโครงการการจัดทําไรนาสวนผสมอําเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ไรนาสวนผสมเปนการผลิตทางการเกษตรรูปแบบหนึ่งที่ไดรับการสงเสริมเนื่องจากสามารถกระจายการผลิตและลดความเสี่ยงทางดานปริมาณและราคาของผลผลิตทําใหเกษตรกรมีรายไดที่แนนอนซึ่ง วัตถุประสงคของการศึกษานี้เพื่อศึกษาตนทุนและผลตอบแทน พรอมทั้งวิเคราะหและประเมิน ความเปนไปไดทางเศรษฐกิจและการเงิน ศึกษาถึงปญหาและอุปสรรคในการจัดทําไรนาสวนผสม ซ่ึงในการศึกษาแบงกิจกรรมไรนาสวนผสมออกเปน 2 ระบบคือ การปลูกมะมวง 2 พันธุรวมกับกิจกรรมอื่นๆ และการปลูกมะมวงพันธุเดียวรวมกับกิจกรรมอื่นๆ โดยใชมูลคาปจจุบันสุทธิ อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน ณ ระดับอัตราคิดลด 2 ระดับ คือ รอยละ 12 และ 15 และอัตราผลตอบแทนของโครงการ เปนเครื่องมือช้ีวัด นอกจากนี้ไดทําการวิเคราะหความออนไหวของโครงการ 3 กรณี คือ (1) กรณีตนทุนเพิ่มขึ้นรอยละ 10 ผลตอบแทนคงที่ (2) กรณีตนทุนคงที่ ผลตอบแทนลดลงรอยละ 10 (3) กรณีตนทุนเพิ่มขึ้นรอยละ 10 ผลตอบแทนลดลงรอยละ 10 โดยผลการศึกษาพบวา การวิเคราะหทางการเงินและทางเศรษฐกิจใหผลตอบแทนคุมคา โดยระบบที่ 1 คือปลูกมะมวง 2 พันธุรวมกับกิจกรรมอื่นใหผลตอบแทนคุมคากวาระบบที่ 2

3.2 สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (2541) ไดนําพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว อันเกี่ยวกับการจัดการน้ําเพื่อการเกษตรและการตอสูกับภัยแลงโดยตั้งเปน “ทฤษฎีใหม” โดยไดวิจัยและทดลองผานมูลนิธิในพระองคที่วัดชัยมงคลพัฒนา อําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี ซ่ึงมีรูปแบบไรนาตามการทดลอง โดยสรุปแลวตองการใหเกษตรกรมีความพอเพียงที่จะเลี้ยงตัวเองไดในระดับที่ประหยัด โดยใหมีความสามัคคีในทองถ่ิน ตองมีการผลิตขาวบริโภคพอเพียงประจําป อันเปนหลักสําคัญของทฤษฎีนี้ และตองมีน้ําใชในพื้นที่การเกษตรอยางไมขาดแคลน ดังพระกระแสดํารัสความวา “หลักสําคัญวาตองมีน้ําบริโภค น้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะวามีชีวิตอยูที่นั่น ถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได ไมมีไฟฟาคนอยูได แตถาไมมีไฟฟา ไมมีน้ําคนอยูไมได”

Page 42: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

30

3.3 คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (2541) ศึกษาทฤษฎีใหมในมุมมองพัฒนาการเศรษฐกิจจากการวิเคราะหผลตอบแทนตอเกษตรกร จากโครงการสรางแหลงเก็บน้ํากลางเพื่อเติมแหลงน้ําของเกษตรกรตามแนวคิดทฤษฎีใหม กรณีตัวอยางโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณอางเก็บน้ําคลองสีเสียด อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ตําบลหนองแสง อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก การศึกษาไดสรางแบบจําลองเพื่อการศึกษาผลตอบแทนของเกษตรกร กรณีทําเกษตรทฤษฎีใหม 2 รูปแบบ ดังนี้

3.3.1 การจัดสรรพื้นที่ใชประโยชนตามสาระสําคัญของ “ทฤษฎีใหม” มีการปลูกพืช ดังนี้ พื้นที่ 15 ไร สระน้ํา 3 ไร ปลูกขาวและพืชไรหมุนเวียน 5 ไร พืชสวนไมยืนตน 4 ไร พืชผัก 1 ไร และพื้นที่อยูอาศัย ปลูกพืชสวนครัวและเลี้ยงสัตว ประมาณ 2 ไร

3.3.2 การจัดสรรพื้นที่ใชประโยชน กรณีที่ เกษตรกรลดขนาดของสระน้ํา เนื่องจากมีการเติมน้ําจากแหลงน้ําตามโครงการพัฒนาพื้นที่อางเก็บน้ําคลองสีเสียด มีการปลูกพืช ดังนี้ พื้นที่รวม 15 ไร สระน้ํา 1.5 ไร ปลูกขาวและพืชไรหมุนเวียน 5 ไร พืชสวนไมยืนตน 5 ไร พืชผัก 1.5 ไร และพื้นที่อยูอาศัยปลูกพืชสวนครัวและเลี้ยงสัตว 2 ไร

การวิเคราะหจะแบงเปน 4 กรณี กรณีที่ 1 เกษตรกรทํานาเต็มพื้นที่ในฤดูฝนและรับจางในฤดูแลง กรณีที่ 2 เกษตรกรลงทุนขุดสระน้ําขนาด 3 ไร ทําการเกษตรตามรูปแบบที่ 1 กรณีที่ 3 เกษตรกรลงทุนขุดสระน้ําขนาด 1.5 ไร ทําการเกษตรตามรูปแบบที่ 1

ไดรับการจัดสรรน้ําจากแหลงน้ําเติม ปละ 5,000 ลบ.ม. กรณีที่ 4 เกษตรกรลงทุนขุดสระน้ําขนาด 1.5 ไร ทําการเกษตรตามรูปแบบที่ 2

ไดรับการจัดสรรน้ําจากแหลงน้ําเติม ปละ 5,000 ลบ.ม.พิจารณาตนทุนสวนชดเชยคาน้ําเพื่อการวิเคราะหผลของสวนที่รัฐบาลสนับสนุนเกษตรกรทุกป

ผลการวิเคราะหพบวาเกษตรกรมีผลตอบแทนจากการทําเกษตรทฤษฎีใหมสูงกวาเมื่อทํานาปอยางเดียวในฤดูฝนและรับจางในฤดูแลง ดังนั้น เกษตรทฤษฎีใหมจึงมีผลเพิ่มคุณภาพชีวิตของเกษตรกร กรณีที่ 2 จะมีรายไดของเกษตรกรตอครัวเรือน เฉลี่ย 53,239 บาทตอป มากกวากรณีทํานาปอยางเดียวในฤดูฝนและรับจางในฤดูแลง (กรณีที่ 1) เฉลี่ยตอครัวเรือน 43,625 บาทตอป

นอกจากนั้น จากการวิเคราะหพบวา ผลตอบแทนที่เกษตรกรไดรับจากกรณีที่ 3 จะสูงถึง 99,488 บาทตอป เนื่องจากมีการอุดหนุนสวนหนึ่งจากรัฐในรูปการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานคือ อางเก็บน้ําและทอสงน้ําในสวนนี้เปนตนทุนที่รัฐแบกรับ ดังนั้น กรณีที่ 4 พยายามคิดตนทุนในสวนนี้เฉลี่ยตอน้ํา 1 ลูกบาศกเมตร ตลอดอายุการใชงานอางเก็บน้ําประมาณการระยะเวลา 25 ป ตนทุนสวนชดเชยคาน้ําเทากับลูกบาศกเมตรละ 10.29 บาท พบวา ผลตอบแทนกรณีที่ 4 ยังคงสูง

Page 43: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

31

กวากรณีที่ 1 แตต่ํากวากรณีที่ 2 ดังนั้น หากเกษตรกรที่พื้นที่มากพอการขุดสระเก็บกักน้ําใหเพยีงพอเปนรายครัวเรือนเปนทางเลือกที่ดีที่สุด การสรางแหลงน้ําสวนกลางสนับสนุนมีตนทุนสูงกวาและมีผลตอบแทนต่ํากวาการสรางแหลงน้ํารายครัวเรือนใหเพียงพอ เวนแตโครงการจะมีขนาดใหญมีเกษตรกรเขาโครงการจํานวนมากจนเกิดการประหยัดตามขนาด (Economy of scale)

3.4 คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (2541) ไดศึกษาการวิจัย ประเมินผลโครงการเกษตรน้ําฝนทฤษฎีใหม อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ ผลการวิจัยดานเศรษฐกิจ สมาชิกโครงการมีรายไดจากผลผลิตที่เหลือจากการบริโภครอยละ 50 ซ่ึงถือวามีจํานวนที่สูงมาก แมวารายไดเพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอครอบครัวจะสูงขึ้นเพียง 15,092.40 บาทตอป เชื่อวาเมื่อโครงการเขาสูกิจกรรมหมุนเวียนผลิตที่เต็มรูปแบบ นาจะทําใหผลผลิตเพียงพอยิ่งขึ้นและเหลือจําหนายสูงขึ้น ผลผลิตของสมาชิกโครงการสามารถลดคาใชจายในการบริโภคลงรอยละ 66 และยังสามารถนําไปขายไดทําใหภาระหนี้สินของสมาชิกโครงการลดลงรอยละ 50 ของจํานวนสมาชิกโครงการและปลอดหนี้ถึงรอยละ 44 แสดงใหเห็นวาแมดานรายไดจะไมสูงมากแตดานการครองชพีทําใหครอบครัวปลอดหนี้สินหรือหนี้สินลดลง ดานความเขมแข็งของกลุมและการยายถ่ิน สมาชิกโครงการไดรวมกลุมเพื่อชวยเหลือกันและกันอยางนอย 1 กลุมถึงรอยละ 72 ในการรวมกลุมแตละคร้ังมีสมาชิกของกลุมเขารวมประชุมปรึกษาหารือ รวมแรงรวมใจการดําเนินกิจกรรมรวมกัน กระทําสม่ําเสมอมีการพบปะกัน ทั้งเปนทางการและไมเปนทางการ การจัดกิจกรรมของกลุมมีสมาชิกเขารวมจํานวนมากรอยละ 97 แสดงใหเห็นถึงความรวมมือ ความใสใจในกิจกรรมเพื่อมุงไปสูผลลัพธสุดทายคือความสําเร็จของการดําเนินกิจกรรมทั้งสวนตัวและสวนรวม สุดทายดานส่ิงแวดลอม สมาชิกโครงการลดคาใชจายดานสารเคมีเพื่อการผลิตรอยละ 76 มีการลดการเผาพื้นที่เพาะปลูกเพื่อกําจัดวัชพืชรอยละ 82

Page 44: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

บทที่ 3 วิธีดําเนนิการวิจัย

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางในการศึกษานี้ ไดแกเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและเขารวม

โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดําริ ภายใตแผนปฏิบัติการบรรเทาปญหาการวางงานแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดกาญจนบุรี จํานวน 40 ราย (เดิมมี 42 รายเสียชีวิต 2 ราย) โดยวิธีการเจาะจงเลือกเฉพาะเกษตรกรที่เขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม ป 2541-2542 กลุมที่ 1 คือกลุมสาธิตทดลอง และกลุมที่ 2 คือกลุมเครือขายโครงการ

1.1 หลักเกณฑการคัดเลือกเกษตรกรเขารวมโครงการ 1.1.1 มีพื้นที่นอยประมาณ 15 ไร (พื้นที่ติดตอกัน) 1.1.2 มีฐานะคอนขางยากจน 1.1.3 มีสมาชิกในครอบครัวปานกลาง (ประมาณ 5-6 คน) 1.1.4 ไมมีอาชีพหรือแหลงรายไดอ่ืนที่ดีกวาในบริเวณใกลเคียง 1.1.5 แหลงน้ํา

กรณีที่ 1 มีแหลงน้ําอยูแลว ตองอยูในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเก็บกักน้ํา กรณีที่ 2 ไมมีสระน้ํา ตองมีพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถขุดสระได

1.1.6 เกษตรกรตองทําแผนการผลิต และแผนการผลิตตองมีความเปนไปได 1.1.7 แรงงานในครัวเรือน เหมาะสมกับแผนการเพาะปลูกของเกษตรกรแตละราย 1.1.8 ทุนหรือการออมของเกษตรกรซึ่งเปนสวนหนึ่งที่ตองพิจารณาวาสามารถจะ

ทําตามกิจกรรมในแผนการผลิตได เพราะในโครงการสนับสนุนเพียง 5,000 บาท คร้ังเดียวเทานั้น 1.1.9 ที่ตั้งฟารมเกษตรกรตองอยูใกลชุมชน เพื่อใหเกษตรกรเครือขายหรือ

เกษตรกรทั่วไปสามารถเขาศึกษาดูงานได 1.1.10 อยูในเขตการใชน้ําฝน ฝนตกไมชุก

Page 45: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

33

1.2 เงื่อนไขการเขารวมโครงการ

1.2.1 เกษตรกรกลุมสาธิตทดลอง (กลุมท่ี 1) ทําเกษตรทฤษฎีใหมแบบเต็มรูปแบบ

1. ทําแผนการผลิตเปนเวลา 5 ป โดยปรับแผนการผลิตทุกป 2. ลงบันทึกบัญชีฟารม ติดตอกัน 5 ป 3. ทําแผนผังฟารม 4. ทําขอมูลดานวิศวกรรม 5. ทําบันทึกขอตกลง แสดงความยินยอมใหขุดสระน้ํา และรวมมือในการ

ปฏิบัติตามเงื่อนไข 1.2.2 กลุมเครือขายโครงการ (กลุมท่ี 2) ทําเกษตรทฤษฎีใหมแบบคอยเปนคอยไป

1. ทําแผนการผลิตเปนเวลา 3 ป โดยปรับแผนการผลิตทุกป 2. ลงบันทึกบัญชีฟารม ติดตอกัน 3 ป 3. ทําแผนผังฟารม 4. ทําบันทึกขอตกลง แสดงความยินยอมใหขุดสระน้ํา และรวมมือในการ

ปฏิบัติ 1.3 การสนับสนุนจากโครงการ

1.3.1 กลุมสาธิตทดลอง (กลุมท่ี 1) 1. สระน้ําเต็มสัดสวน (30 : 30 : 30 : 10) 2. ปจจัยการผลิตรายละ 5,000 บาท (ชวยเหลือคร้ังเดียว)

1.3.2 กลุมเครือขายโครงการ (กลุมท่ี 2) 1. สระน้ําบางสวน 2. ปจจัยการผลิตรายละ 5,000 บาท (ชวยเหลือคร้ังเดียว)

Page 46: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

34

ตารางที่ 3.1 จํานวนเกษตรกรรวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในจังหวัดกาญจนบุรี หนวย : ราย

กลุมที่ 1 กลุมที่ 2 กลุมที่ 3 รวม อําเภอเมือง 2 15 17 อําเภอทามวง 1 12 13 อําเภอดานมะขามเตี้ย 6 2 8 อําเภอทองผาภูมิ 1 1 อําเภอศรีสวัสดิ์ 1 4 5 อําเภอพนมทวน 1 2 2 5 อําเภอเลาขวัญ 3 10 19 32 อําเภอหวยกระเจา 18 18 อําเภอหนองปรือ 1 3 4 อําเภอบอพลอย 6 4 8 18

รวม 13 29 79 121

ที่มา : เกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี, สํานักงาน ขอมูลเบื้องตน ป 2542 กาญจนบุรี สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี 2542

2. เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

2.1 ลักษณะของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามแบบ

บัญชีฟารม ประกอบดวยรายรับ-รายจายภาคการเกษตรของกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหม ปเพาะปลูก 2542/43 - 2544/45 และแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง ประกอบดวยคําถามทั้งเลือกตอบ (check list) และแบบปลายเปด (open - ended) แบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 ขอมูลของครัวเรือนเกษตร ประกอบดวย 1.1 ช่ือหัวหนาครัวเรือน 1.2 ระดับการศึกษา 1.3 จํานวนสมาชิกในครัวเรือน 1.4 สมาชิกที่อายุตั้งแต 15 - 64 ป ที่เปนแรงงานได โดยแยกเปนแรงงานใน

ภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร (กําลังศึกษา, พิการ เปนตน)

Page 47: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

35

1.5 พื้นที่ที่ทําการเกษตร จําแนกตามลักษณะการครอบครองที่ดิน 1.6 พื้นที่ที่ทําการเกษตรทฤษฎีใหม 1.7 การเปนสมาชิกของสถาบันเกษตรกร องคกร 1.8 รายไดในภาคการเกษตรที่เปนเงินสดของครัวเรือนเกษตร 1.9 รายจายในภาคการเกษตรที่เปนเงินสดของครัวเรือนเกษตร

1.10 รายจายนอกภาคการเกษตรที่เปนเงินสดของครัวเรือนเกษตร 1.11 ทรัพยสินของครัวเรือนเกษตร 1.12 หนี้สินของครัวเรือนเกษตร

สวนที่ 2 ขอมูลการทําการเกษตร 2.1 ตนทุนการปลูกขาว 2.2 ตนทุนการปลูกขาวโพด 2.3 ตนทุนการปลูกออย 2.4 ตนทุนการปลูกมันสําปะหลัง 2.5 ตนทุนการเลี้ยงโคขุน 2.6 ตนทุนการเลี้ยงปลานิล

สวนที่ 3 ขอมูลทัศนคติตอโครงการ 3.1 สภาพปญหา มูลเหตุ กอนทําการเกษตรทฤษฎีใหม 3.2 การรับรูขาวสารการเกษตรทฤษฎีใหม 3.3 ทัศนคติของเกษตรกรตอแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม 3.4 ภาวะรายจายนอกการเกษตรของครัวเรือนเกษตร 3.5 ภาวะดานสุขภาพปจจุบันของครัวเรือนเกษตร 3.6 ความคาดหวังจากการทําการเกษตรทฤษฎีใหมของครัวเรือนเกษตร

2.2 การสรางเครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสัมภาษณ ผูวิจัยไดดําเนินการ ดังนี้

1. ศึกษาหนังสือ เอกสาร บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยพิจารณาวัตถุประสงคการวิจัยและสมมติฐานการวิจัย เพื่อเปนแนวทางในการสรางแบบสัมภาษณ

2. สรางแบบสัมภาษณ ซ่ึงประกอบดวยคําถาม คําตอบ เพื่อตอบวัตถุประสงคการวิจัยและสมมติฐานการวิจัย

3. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นไปใหอาจารยที่ปรึกษาไดตรวจสอบและนําขอเสนอแนะมาพิจารณาปรับปรุงใหเหมาะสมและครอบคลุมเนื้อหาสาระ

Page 48: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

36

4. นําแบบสัมภาษณที่ไดปรับปรุงใหมตามคําแนะนําไปใหอาจารยที่ปรึกษาไดตรวจสอบอีกครั้งเพื่อใหไดแบบสัมภาษณที่มีความสมบูรณยิ่งขึ้น

5. ดําเนินการทดสอบเครื่องมือ นําแบบสัมภาษณที่ไดปรับปรุงแลวไปทดสอบกับเกษตรกรรวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในจังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงไมใชเกษตรกรที่เปนประชากรในการศึกษา จํานวน 10 คน เพื่อตรวจสอบความเชื่อถือกอนนําไปใช

3. การเก็บรวมรวมขอมูล การเก็บรวมรวมขอมูล สําหรับการวิจัย เร่ือง "โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษา

จังหวัดกาญจนบุรี" มีดังนี้คือ 3.1 การเก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) จะเก็บขอมูลป 2542-2544 จาก

การสอบถามเกษตรกรรวมโครงการ โดยใชแบบสอบถามของโครงการที่จัดเก็บจากเกษตรกร สําหรับเปนขอมูลในการตัดสินใจของเกษตรกรเอง และการศึกษาวิจัยเพื่อการประเมินผลของโครงการ ซ่ึงดําเนินการจัดเก็บขอมูลโดยสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี ขอมลูทีไ่ดดังกลาวเปนบัญชีฟารมของเกษตรกรที่ระบุรายการใชจายของเกษตรกร การวางแผนการผลิต ผลผลิต รายไดจากการขาย ตนทุนการผลิต ขอมูลที่บันทึกเปนขอมูลในชวงปเพาะปลูก 2542/2543 - 2544/2545

3.2 การเก็บรวบรวมขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เปนขอมูลที่ไดรวบรวมเอกสารทางวิชาการตาง ๆ ทั้งหนวยงานราชการและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของไดแก สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี กรมสงเสริมการเกษตร สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนตน

Page 49: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

37

4. ขอสมมติ การวิจัย เร่ือง "โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี" มีขอสมมุติ

ที่สําคัญ ดังนี้คือ 4.1 การศึกษาจะใชขอมูลจากการดําเนินกิจกรรมการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม

และการเกษตรแบบเดิมนับตั้งแตป 2542 - 2548 สวนป 2549 -2551 ใชขอมูลการพยากรณการเกษตรของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตร สําหรับรายไดและรายจายจากกิจกรรมการเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม ดานปศุสัตวและประมงกําหนดใหคงที่ทุกป เนื่องจากทั้ง 2 กิจกรรมนี้ไมเนนในการศึกษา เนื่องจากเกษตรกรสวนใหญจะไมเนนการทําการเกษตรดานปศุสัตว และประมงในรูปแบบการคามาก

4.2 ขอมูลราคาผลผลิต ปริมาณผลผลิต และคาใชจายในการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม ป 2542-2548 ใชขอมูลเฉล่ียของจังหวัดกาญจนบุรี สวนป 2549- 2551 ใชขอมูลการพยากรณการเกษตรของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

4.3 รูปแบบการผลิตการเกษตรแบบเดิม เกษตรกร 15 ราย สมมติวาปลูกออยอยางเดียว 550 ไร เนื่องจากจังหวัดกาญจนบุรี มีพื้นที่เพาะปลูกออยมาก จํานวน 787,817 ไร มันสําปะหลัง 631,435 ไร ขาวนาป 473,287 ไร และขาวโพดเลี้ยงสัตว 168,721 ไร ซ่ึงถือเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัด สวนการผลิตแบบเกษตรทฤษฎีใหม เนื่องจากไดรับการสนับสนุนจะสระน้ําจากสวนราชการทําใหเกษตรกรมีน้ําเพื่อการเกษตรเพียงพอที่จะเปลี่ยนรูปแบบการผลิตคือจะปลูกขาว 100 ไร ปลูกออย 250 ไร ปลูกมันสําปะหลัง 100 ไร และปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว 100 ไร

4.4 กลุมตัวอยางที่ทําการเกษตรแบบเดิม สมมติใหเปนกลุมตัวอยางเดียวกันกับกลุมตัวอยางที่ทําการเกษตรทฤษฎีใหม ในกรณีที่ถาไมทําการเกษตรทฤษฎีใหม

4.5 อัตราคิดลดท่ีใชในการวิเคราะห กําหนดใหเทากับรอยละ 10 ตอป ซ่ึงเทากับอัตราดอกเบี้ยเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร สําหรับเกษตรกรในวงเงินกูไมเกิน 60,000 บาท รวมคาบริการรอยละ 1

4.6 อายุของโครงการกําหนดตามอายุของสระน้ํา คือ 10 ป

Page 50: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

38

5. การวิเคราะหขอมูล 5.1 การวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) เปนการอธิบายถึงสภาพทั่วไป

ทั้งดานลักษณะกายภาพ สภาพเศรษฐกิจและสังคม การวิเคราะหโดยใชเครื่องมือทางสถิติพรรณนาไดแก คาเฉลี่ย รอยละ คาความถี่ ของคาที่ทําการศึกษา เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคการศึกษาในขอที่ 1

5.2 การวิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) เปนการวิเคราะหผลตอบแทนทางดานการเงินของเกษตรกรที่ดําเนินการเกษตรทฤษฎีใหม และการทําการเกษตรแบบเดิม โดยการวิเคราะหทางการเงินของโครงการ โดยการสรางกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจาย ซ่ึงมีรายละเอียด ดังนี้

5.2.1 ผลตอบแทนผลตอบแทนของฟารมกรณีดําเนินการตามเกษตรทฤษฎีใหมหรือกระแสเงินสดรับ คิดจากมูลคาของผลผลิต (Gross value of production) ซ่ึงไดจากผลผลิตทั้งหมดที่เกษตรกรผลิตไดคูณดวยราคาตลาดที่เกษตรกรไดรับ (Farm gate price)

5.2.2 รายจายของฟารมกรณีดําเนินการตามเกษตรทฤษฎีใหมหรือกระแสเงินสดออก คิดจากรายการที่ฟารมจาย ประกอบดวยรายจายในการลงทุนซึ่งเปนคาใชจายหลักของการลงทุน คาเครื่องมือเครื่องใช คาใชจายในการผลิต คาแรงงาน

5.2.3 ผลตอบแทนของฟารมกรณีดําเนินการเกษตรแบบเดิม รายการนี้ตั้งอยูบนขอสมมติวาจะดําเนินการผลิตออยเพียงอยางเดียว ผลประโยชนหรือรายไดของฟารมจะประกอบดวยมูลคาผลผลิตทั้งหมดที่เกษตรกรผลิตไดคูณดวยราคาตลาดที่เกษตรกรไดรับ

5.2.4 รายจายของฟารมกรณีดําเนินการเกษตรแบบเดิม ซ่ึงประกอบดวยคาใชจายในการผลิต คาเครื่องมือเครื่องใช คาแรงงาน

5.3 รูปแบบการวิเคราะหโครงการ ปญหาสําคัญอยางหนึ่งที่ประเทศกําลังพัฒนาเผชิญ คือการมีทรัพยากรจํากัด ดังนั้น

จึงจําเปนตองเลือกใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดและที่จัดหามาไดนั้น ใหสนองความตองการของสังคมโดยสวนรวมมากที่สุดหรือเปนการใชทรัพยากรอยางประหยัดและใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

การใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพหมายถึงการใชทรัพยากรที่จะใหผลตอบแทนจากการใชทรัพยากรมากที่สุด เชน ในกรณีของเอกชนถาสามารถดําเนินงานตามโครงการตางๆ ไดโดยที่ผลตอบแทนตอการลงทุนสูงกวาอัตราดอกเบี้ยถือวาธุรกิจนั้นดําเนินงานมีกําไรและมีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ

Page 51: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

39

การใชทรัพยากรอยางประหยัดหมายถึงการเลือกดําเนินงานในโครงการที่ใชทรัพยากรนอยที่สุดในขณะเดียวกันสามารถบรรลุเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่กําหนดไวไดเชนกัน

ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจทั้งภาคเอกชนและภาครัฐบาล ตองเผชิญอยูในทุกสภาวการณ คือการมีทรัพยากรจํากัด ถาเปนปกเจกบุคคลภาคเอกชน หมายถึงการใชทรัพยากรอันจํากัดที่ จะตองหมายถึงที่ดิน แรงงาน และที่สําคัญอยางยิ่งคือเงินหรือรายได แตในขณะเดียวกันปจเจกบุคคลเหลานั้นก็อาจจะมีโครงการหรือแผนงานของตนมากมายที่อยากจะทําเพื่อใหไดมาซึ่งผลตอบแทนที่คุมคาหรือไดรับผลกําไรมากที่สุดเทาที่จะสามารถทําได เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาเมื่อตัดสินใจเลือกลงทุนโครงการหนึ่งโครงการใดแลวจะไดรับผลตอบแทนที่ดี มีความเสี่ยงนอยจึงจําเปนอยางยิ่งจะตองมีการวิเคราะหโครงการจากหลายๆ โครงการเพื่อเลือกโครงการที่ดีที่สุด

สําหรับในภาครัฐก็เชนเดียวกันเพราะรัฐก็มีทรัพยากรจํากัดเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งงบประมาณรายจายประจําป แตในขณะเดียวกันรัฐก็มีโครงการและแผนงานมากมายทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงแตละโครงการหากสามารถทําไดจะเกิดประโยชนแกประเทศชาติและประชาชนโดยสวนรวม แตเนื่องจากมีขอจํากัดทางดานทรัพยากรดังกลาวจึงทําใหรัฐตองเลือกดําเนินโครงการที่ดีที่สุดหรือใหผลประโยชนตอบแทนมากที่สุด ทั้งนี้ถาเปนไปไดก็ควรใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพและประหยัดมากที่ สุดและสามารถตอบสนองเปาหมายของประเทศชาติและสังคมโดยรวมดวยก็โดยอาศัยวิธีการวิเคราะหโครงการและแผนงานเปนเครื่องมือสําคัญเชนกัน

ในการวิเคราะหโครงการและแผนงานโดยทั่วไปก็จะมีการประเมินผลตอบแทน (Benefits) และคาใชจายหรือตนทุน (Costs) ของแตละโครงการ ทั้งในแงผลตอบแทนและคาใชจายทางตรง ทางออม และที่ไมมีตัวตนใหครอบคลุมใหมากที่สุด โครงการใดที่มีผลตอบแทนมากกวาคาใชจายก็แสดงวาโครงการนั้นใหผลตอบแทนคุมคา แตถาโครงการใดใหผลตอบแทนนอยกวาคาใชจายก็แสดงวาโครงการนั้นใหผลตอบแทนไมคุมคา อนึ่งสําหรับผลตอบแทนและคาใชจายที่เกิดขึ้นในโครงการนั้น ถาเปนการวิเคราะหโครงการของภาคเอกชนจะใหความสําคัญหรือเนนในรูปตัวเงิน (Money Terms) กลาวคือจะพิจารณาเฉพาะผลตอบแทนและคาใชจายที่เกิดขึ้นจริงในรูปตัวเงินเทานั้น แตถาเปนการวิเคราะหโครงการของภาครัฐจะใหความสําคัญกับผลตอบแทนและตนทุนนั้นเปนทั้งทางดานเศรษฐกิจและทางดานสังคมควบคูกันไปดวย โดยจะนําตนทุนคาเสียโอกาส (Opportunity Cost) มาใชในการวิเคราะห ดังนั้นการวิเคราะหโครงการและแผนงานนอกจากจะตองดําเนินการในดานการรวบรวมขอมูล วิเคราะห และนําเสนอขอมูลวาควรจะมีโครงการหรือไมอยางไรแลวยังเปนเครื่องมือสําคัญของการตัดสินใจเลือกดําเนินโครงการที่มีผลตอบแทนคุมคา สนองวัตถุประสงคของโครงการ และโดยเฉพาะอยางยิ่งทําใหมีการใชทรัพยากร

Page 52: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

40

ที่มีอยางจํากัดใหเกิดประสิทธิภาพและประหยัด ดังนั้น การเงินเคราะหโครงการและแผนงาน จึงเปนกระบวนการของการรวบรวมขอมูล การวิเคราะห และการนําเสนอขอมูลที่เกี่ยวของกับการที่จะมีโครงการฯ หรือไมมีโครงการฯ ใดๆ ทั้งนี้ โดยพิจารณาจากผลของการคาดคะเนซึ่งไดวิเคราะหไว ซ่ึงจะนําไปสูการตัดสินใจขั้นสุดทายวาจะดําเนินการโครงการหรือไมตอไป7 การวิเคราะหโครงการ โดยทั่วไปแบงออกเปน 2 ชนิด คือ

5.3.1 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจ (Economic Analysis) เปนการวิเคราะหโครงการโดยมองจากตนทุนและผลประโยชนทางเศรษฐกิจเปนสําคัญ ดังนั้นปจจัยการผลิตตางๆ ที่ใชในโครงการจึงถูกกําหนดและวัดมูลคาในรูปของตนทุนคาเสียโอกาสและผลประโยชนที่แทจริง พิจารณามูลคาของตนทุนและผลประโยชน ณ ระดับราคาที่เปนจริงหรือราคาเงา ซ่ึงการวิเคราะหดานเศรษฐศาสตรคือการตรวจสอบโครงการในแงของประสิทธิภาพ กลาวคือ โครงการนั้นสามารถใชทรัพยากรของประเทศเพื่อกอใหเกิดผลผลิตโดยสวนรวมมากขึ้นและตอบสนองความตองการของประชาชนไดเพียงใด

5.3.2 การวิเคราะหทางดานการเงิน (Financial Analysis) เปนการวิเคราะหการลงทุนทางดานเอกชนเปนสิ่งสําคัญเพื่อหาผลตอบแทนทางการเงินหรือความสามารถในการทํากําไรของโครงการ อยางไรก็ดีการวิเคราะหทางการเงินก็เปนสิ่งจําเปนสําหรับรัฐบาล เพราะบางโครงการรัฐบาลอาจตองกูเงินจากตางประเทศและจําเปนตองมีการพิจารณาวาโครงการที่จะขอกูเงินไปลงทนุนั้นจําเปนตองใชเงินกูชวงไหน จํานวนเทาใด และเมื่อดําเนินการแลวโครงการนั้นสามารถกอใหเกิดรายไดคุมกับเงินลงทุนพรอมกับสามารถชําระคืนเงินตนและดอกเบี้ยไดหรือไม เนื่องจากการวิเคราะหโครงการใน 2 วิธีการดังกลาวมีวัตถุประสงคในการวิเคราะหตางกัน ดังนั้นการประเมินตนทุนและรายไดของโครงการจึงแตกตางกัน ดังแสดงในตารางที่ 3.2

7 จุไร ทัพวงษ การวิเคราะหและประเมินโครงการ มหาวิทยาลยัสุโขทัยธรรมาธริาช

Page 53: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

41

ตารางที่ 3.2 ความแตกตางของการวิเคราะหโครงการในเชิงเศรษฐกิจและทางการเงิน

รายการ การวิเคราะหทางเศรษฐกิจ

(Economic Analysis) การวิเคราะหทางการเงิน

(Financial Analysis) 1. วัตถุประสงค วิเคราะหผลตอบแทนสุทธิของ

โครงการที่สังคมสวนรวมไดรับ วิเคราะหผลตอบแทนของเงนิลงทุนของผูเปนเจาของทุน

2. ราคา เปนราคาซึ่งสะทอนมูลคาทางเศรษฐกิจทีแ่ทจริง (Shadow Price)

เปนราคาตลาด (Market Price)

3. ภาษ ี ถือเปนรายการโอนเงินของโครงการไปใหรัฐบาล

ถือเปนตนทุนคาใชจายของโครงการ

4. เงินอุดหนุน เปนการโอนเงนิจากรัฐบาลไปสูโครงการ

ถือเปนรายไดของโครงการ

5. ดอกเบี้ยทีเ่กิดจากการใชทุน (Interest)

ไมแยกรายการดอกเบี้ยออกจากผลตอบแทนของโครงการ

ดอกเบี้ยของการลงทุนจะนําไปหักออกจากผลตอบแทนของโครงการ

6. อัตราคิดลด (Discount rate)

ตนทุนคาเสียโอกาสของทุน อัตราดอกเบี้ยจากการกูยืม

ที่มา : Gittinger, 1982

การวิเคราะหทางเศรษฐกิจและทางการเงินเปนเทคนิคที่ตองใชรวมกัน เพื่อประเมินคาความคุมทุนของโครงการ ในทางปฏิบัติการวิเคราะหโครงการทางดานเศรษฐกิจมีความสําคัญตอโครงการลงทุนในแงสาธารณะบริการ สวนการวิเคราะหโครงการทางการเงินจะพิจารณาฐานะทางการเงินดีขึ้นอยางไร ฉะนั้นโครงการที่ใชการวิเคราะหทางดานนี้มักเปนโครงการของเอกชน ซ่ึงในการศึกษาและวิจัยคร้ังนี้เปนการวิเคราะหทางการเงิน

5.4 แนวคิดเกี่ยวกับมูลคาปจจุบัน (Present Value)

คาของเงินในชวงเวลาแตกตางกัน มูลคาของเงินที่เทากันในปจจุบันจะมีมากกวามูลคาของเงินในอนาคต เพราะมนุษยสวนใหญตองการเงินในเวลาปจจุบันมากกวาอนาคตที่ไมแนนอน เมื่อเปนเชนนี้การที่จะใหเงินในอนาคตมีความหมายมูลคาของเงินในอนาคตควรจะสูงกวามูลคาปจจุบัน

Page 54: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

42

การลงทุนในโครงการตางๆ สวนใหญจะใชหลักมูลคาปจจุบันของผลตอบแทนสุทธิ โดยจะเลือกลงทุนในโครงการที่ใหมูลคาปจจุบันของผลตอบแทนสุทธิสูงที่สุด ซ่ึงมูลคาสุทธิในปจจุบันของโครงการก็คือ ผลรวมของผลตอบแทนสุทธิที่ไดปรับคาของเวลาแลวของโครงการนั้น การใชหลักดังกลาวเพื่อที่จะวัดวาโครงการที่กําลังพิจารณาอยูนั้นจะใหผลตอบแทนคุมคาหรือมีกําไรตอสวนรวมหรือไม กลาวคือ ถามูลคาปจจุบันสุทธิที่ไดรับเปนบวกแสดงวาการลงทุนในโครงการนั้นคุมคา

5.5 แนวคิดเกี่ยวกับอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ (Internal Rate of Return : IRR) การตีคาการลงทุนและการเลือกการลงทุนไมไดขึ้นอยูกับการพิจารณามูลคา

ปจจุบันเพียงอยางเดียว แตยังมีวิธีการอื่นอีก นั่นคือการพิจารณาผลตอบแทนภายในของโครงการ (Internal Rate of Return : IRR) คืออัตราผลตอบแทนหรืออัตราดอกเบี้ยในกระบวนการคิดลดที่จะทําใหผลตอบแทนและคาใชจายที่ไดคิดลดเปนมูลคาปจจุบันแลวเทากันหรือทําใหมูลคาปจจุบันสุทธิของโครงการมีคาเทากับศูนยพอดี หลักการตัดสินใจคือเมื่อไดคา IRR ออกมาแลวนําไปเปรียบเทียบกับคาเสียโอกาสของตน ถาคา IRR ที่ไดสูงกวาคาเสียโอกาสของทุนถือวาเปนการลงทุนที่คุมคา IRR เปนวิธีที่นิยมเพราะเขาใจงาย

5.6 แนวคิดเกี่ยวกับอัตราคิดลด (Discount rate) การปรับคาของเวลาถูกกําหนดโดยปจจัย 2 ชนิด คือ 1. ชวงของเวลาระหวาง

ปจจุบันและ 2. อนาคตกับอัตราดอกเบี้ยที่เลือกใช โดยอัตราดอกเบี้ยยิ่งสูงและเวลาที่จะไดรับผลตอบแทนยิ่งไกลออกไปเทาไร มูลคาปจจุบันของผลตอบแทนจะยิ่งนอยลงเทานั้น อัตราดอกเบี้ยนั้นมีความหมายในลักษณะของอัตราสวนลดหรืออัตราคาตอบแทนจากการลงทุนที่คิดออกมาเปนรอยละวาถาลงทุนไปแลวจะไดรับผลตอบแทนรอยละเทาไร ในทํานองเดียวกันอัตราสวนลดที่ใชปรับคาของเวลาในการประเมินคาโครงการก็คืออัตราคาตอบแทนที่เปนอัตราสวนลด ผูวิเคราะหโครงการตองหาวาอัตราสวนลดควรเปนเทาไร จึงจะทําใหมูลคาของผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับในอนาคตที่คิดลดแลวเทากับคาใชจายในการลงทุน ซ่ึงอัตราที่เหมาะสมคือคาเสียโอกาสของการลงทุน

Page 55: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

บทที่ 4 ขอมลูทั่วไปของเกษตรกร

1. สภาพทั่วไปของเกษตรกรที่ทําการศึกษา

จากผลวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ ในป 2541 กอใหเกิดปญหาตางๆ โดยเฉพาะปญหาการวางงาน ดังนั้นจากแนวความคิดที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานแนวทางโครงการเกษตรทฤษฎีใหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดรับมอบหมายใหดําเนินงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดําริภายใตแผนปฏิบัติการบรรเทาปญหาการวางงาน

วัตถุประสงคเพื่อใหผูเขารวมโครงการสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น สามารถดํารงชีพอยูในสังคมไดอยางยั่งยืน โดยไมไดรับผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจ การคา และเพื่อลดการเคลื่อนยายแรงงาน

กลุมเปาหมายคือเกษตรกรทั่วไป และแรงงานคืนถ่ินที่กลับสูภูมิลําเนา ซ่ึงกระจัดกระจายอยูในทองที่ระดับตําบล ทําการเกษตรที่สามารถพึ่งพาตนเองได และเปนศูนยสาธิตเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดําริ ในระดับตําบล รวม 8,000 ศูนยทั่วประเทศ

หลักการเปนการสาธิต ทดลอง และวิจัย เพื่อวางแนวทางการปรับเปลี่ยนโครงสรางเกษตร เนนกลุมเปาหมายคือ เกษตรกรรายยอยและผูวางงานในสังคม เมื่อโครงการดําเนินการไดตามแบบจะมีศูนยสาธิตเกษตรทฤษฎีใหมกระจายอยูในทองที่ชนบทระดับตําบล 8,000 ศูนยทั่วประเทศ เพื่อเผยแพรความรู และภูมิปญญาชาวบานใหแกคนในชนบท/ผูวางงาน ที่จะเขาสูอาชีพดานการเกษตร และเปนการสงเสริมกระบวนการเรียนรูเพื่อเปดโอกาสใหคนชนบท/ผูวางงานศึกษา ทดลองจากการปฏิบัติจริงในแปลงเกษตรกรสาธิต

แนวทางการดําเนินงาน 1.1 เนื่องจากหลักการของทฤษฎีใหม โดยเฉพาะขั้นที่ 1 ที่เนนถึงการทําการเกษตรใน

ระดับที่ใหเกษตรกรทําการผลิตที่พึ่งพาตนเองไดดวยวิธีงาย คอยเปนคอยไปตามกําลัง ใหพอมีกินไมอดอยาก เปนการดําเนินการในลักษณะสาธิตทดลอง

1.2 จะตองดําเนินโครงการในลักษณะที่ใหเกษตรกรมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรู ที่มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการตัดสินใจในแผนการผลิตดวยตัวเกษตรกรเอง และเปนลักษณะทางเลือกหนึ่งของเกษตรกร

Page 56: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

44

1.3 ตองดําเนินการสรางเครือขายในระบบการสงเสริมในลักษณะของโครงการสาธิตเพื่อใหเกษตรกรเรียนรูประสบการณจากเกษตรกรที่ไดรับความสําเร็จในการทําเกษตรทฤษฎีใหมมาแลว

1.4 ความชวยเหลือดานปจจัยการผลิต และเงินทุน ใหเกษตรกรเปนผูจัดหาโดยอิสระ ในกรณีที่เกษตรกรมีความสามารถในการลงทุน เชน มีที่ดินเปนของตนเอง ควรใหเกษตรกรมีสวนรวมในการลงทุนดวยเงินออมของตนเอง

1.5 กําหนดพื้นที่เปาหมายและกลุมเกษตรกรเปาหมาย ตองคํานึงถึงศักยภาพของพื้นที่ซ่ึงควรเปนพื้นที่ที่สามารถเก็บกักน้ําได หรือในพื้นที่แหลงน้ําที่สามารถกระจายน้ําชลประทานได

จากแนวทางการปฏิบัติในเบื้องตนของการเกษตรทฤษฎีใหมนั้น เหมาะสมอยางยิ่งสําหรับจังหวัดกาญจนบุรีที่ประสบปญหาตางๆ เชน ฝนแลงโดยเฉพาะพื้นที่ที่อยูนอกเขตชลประทาน และเกษตรกรมีฐานะยากจน อีกทั้งเกษตรกรในจังหวัดกาญจนบุรี มีความสนใจในแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหมและมีความหลากหลายของสภาพพื้นที่ เชน เกษตรกรที่อยูในเขตชลประทาน เกษตรกรที่อยูในเขตเกษตรใชน้ําฝน เกษตรกรที่อยูในเขตพื้นที่แหงแลง ตลอดจนความหลากหลายในแหลงที่มาของเงินทุน ในการศึกษาครั้งนี้ จึงไดเลือกเกษตรกรรวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมของจังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเกษตรทฤษฎีใหม อาจจะเปนแนวทางหรือทางเลือกของคําตอบที่จะชวยแกปญหาการผลิตของเกษตรกรในจังหวัดกาญจนบุรีได ดังนั้นเพื่อใหเกษตรกร ภาครัฐหรือผูที่เกี่ยวของไดเห็นจุดดีจุดดอยของโครงการเกษตรทฤษฎีใหมอยางชัดเจนที่สุด จึงจําเปนตองมีการศึกษาถึงตนทุนและผลตอบแทน เพื่อใหทราบถึงความคุมคา เมื่อทําการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม และเพื่อเปนขอมูลในการเผยแพรแกเกษตรกรที่จะไดมีทางเลือกในการผลิตโดยคํานึงถึงจุดมุงหมายของการสรางความมั่นคงดานอาหาร ความพอเพียงในการดํารงชีวิตของเกษตรกรและความสามารถในการพึ่งตนเองของเกษตรกร นอกจากนี้ยังศึกษาถึงลักษณะทั่วไปของเกษตรกรตอโครงการ เพื่อใชปรับปรุงรูปแบบหรือแนวทางการจัดทําและสงเสริมโครงการที่มีลักษณะเดียวกันนี้ตอไป

2. สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจ สังคม และทัศนคติตอโครงการของเกษตรกรที่ ทําการศึกษา

การศึกษาสภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตรกรผูทําเกษตรทฤษฎีใหม จังหวัดกาญจนบุรี ผูศึกษาไดทําการสุมคัดเลือกเกษตรกรตัวอยางและสัมภาษณจํานวน 40 รายโดยวิธีแบบเจาะจง (Purposive Sampling Techniques) มีรายละเอียด ดังนี้

Page 57: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

45

2.1 สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรที่ทําการศึกษา สมาชิกเฉลี่ยในครัวเรือนเกษตรกรและระดับการศึกษาของครัวเรือนเกษตรกร

ตัวอยางโครงการเกษตรทฤษฎีใหม ครัวเรือนเกษตรกรมีสมาชิกโดยเฉลี่ยตอครัวเรือนจํานวน 5.1 คนเปนเพศ ชายเฉลี่ย 2.34 คนหรือรอยละ 45.88 เพศหญิงเฉลี่ย 2.76 คนหรือรอยละ 54.12 โดยหัวหนาครัวเรือนที่มีอายุนอยกวา 60 ป จํานวน 29 ครัวเรือนคิดเปนรอยละ 72.50 และอายุมากกวา 60 ป จํานวน 11 ครัวเรือนหรือรอยละ 27.50 และจัดเปนแรงงานในภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.62 คนหรือรอยละ 56.70 และเปนแรงงานนอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 2 คน คิดเปนรอยละ 43.30 นอกจากนี้ในดานการศึกษาของหัวหนาครัวเรือนไดรับการศึกษาระหวางระดับประถมศึกษา 1-4 ทั้งหมดจํานวน 40 ครัวเรือน (ตารางที่ 4.1)

ตารางที่ 4.1 จํานวนสมาชิกเฉลี่ยตอครัวเรือน จําแนกตามเพศ อายุ ขนาดของแรงงาน และระดับ การศึกษาของครัวเรือเกษตรกรตัวอยาง รายการ จํานวน (คนตอครัวเรือน) รอยละ

เพศ - ชาย 2.34 45.88 - หญิง 2.76 54.12

รวม 5.10 100.00 อายุ (ป)

- นอยกวา 15 - - - 15-60 29 72.50 - มากกวา 60 11 27.50

รวม 40 100.00 ขนาดแรงงาน

- ในภาคการเกษตร 2.62 56.70 - นอกภาคการเกษตร 2 43.30

รวม 4.62 100.00 ระดับการศึกษา

- ไมไดศึกษา - - - ประถม 40 100.00 - มัธยม 1-3 - - - มัธยม 4-6 - -

รวม 40 100.00 ที่มา: แบบสอบถาม

Page 58: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

46

การถือครองที่ดินเฉลี่ยของครัวเรือน การถือครองที่ดินคือสิทธิ์ที่ไดมาซึ่งที่ดินเพื่อนําไปใชประโยชน พบวาครัวเรือนเกษตรกรมีขนาดพื้นที่ถือครองเฉลี่ยครัวเรือนละ 13.75 ไร ซ่ึงเปนพื้นที่ของตนเองทั้งหมดคิดเปนรอยละ 100 โดยแบงเปนพื้นที่ดําเนินกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหมพื้นที่ทํานาขาวเฉลี่ยครัวเรือนละ 5.07 ไรหรือรอยละ 36.87 พื้นที่ปลูกพืชไรและไมผลเฉลี่ยครัวเรือนละ 5.88 ไรหรือรอยละ 42.76 พื้นที่แหลงน้ําเฉลี่ยครัวเรือนละ 1.25 ไรหรือรอยละ 9.09 และพื้นที่ที่เปนที่อยูอาศัยและโรงเรือนเลี้ยงสัตวเฉลี่ยครัวเรือนละ 1.55 ไร โดยพื้นที่ดําเนินกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหมมีเอกสารสิทธิ์ดังนี้ เอกสารสิทธิ์ประเภทโฉนดจํานวน 8 รายหรือรอยละ 20 ประเภท นส.3 ก จํานวน 1 ราย หรือรอยละ 2.50 ประเภท นส.3 จํานวน 6 รายหรือรอยละ 15 ประเภท สปก.4-01 จํานวน 22 รายหรือรอยละ 55 และ สค.1 จํานวน 3 รายหรือรอยละ 7.50 (ตารางที่ 4.2) ตารางที่ 4.2 ขนาดพื้นที่ถือครองเฉลี่ย ขนาดพื้นที่ดําเนินการเกษตรทฤษฎีใหมเฉลี่ย และการมี

เอกสารสิทธิ์ในพื้นที่ถือครองของครัวเรือนเกษตรกรตัวอยาง รายการ จํานวน (ไรตอครัวเรือน) รอยละ

การถือครองที่ดิน - เปนของตนเอง 13.75 100.00 - ไดทําฟรี - -

รวม 13.75 100.00 การดําเนินกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม

- พื้นที่ทํานา 5.07 35.44 - พื้นที่ปลูกพืชไรและไมผล 5.88 50.87 - พื้นที่แหลงน้ํา 1.25 7.62 - พื้นที่อยูอาศัยและโรงเรือน 1.55 6.07

รวม 13.75 100.00 เอกสารสิทธิ์ (ราย)

- โฉนด 8 20.00 - นส.3 ก. 1 2.50 - นส.3 6 15.00 - สปก. 4-01 22 55.00 - สค.1 3 7.50

รวม 40 100.00

Page 59: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

47

ทรัพยสินในการเกษตรเฉลี่ยของครัวเรือนเกษตรกรตัวอยาง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2542 พบวาไดแบงทรัพยสินในการเกษตรออกเปนทรัพยสินคงที่ ทรัพยสินดําเนินการและทรัพยสินหมุนเวียน จากการศึกษาพบวาในปเพาะปลูก 2541/2542 มีทรัพยสินคงที่เฉลี่ยครัวเรือนละ 805,076 บาท แบงเปนมูลคาของที่ดินเพื่อการเกษตร พื้นที่นาที่ไรและที่สวน 770,034 บาท โรงเรือนเล้ียงสัตวหรือยุงฉาง 12,500 บาท และสระน้ําเพื่อการเกษตร 22,542 บาท มีทรัพยสินดําเนินงานเฉลี่ยครัวเรือนละ 90,012 บาท แบงเปนรถไถนาเดินตาม 55,600 บาท เครื่องสูบน้ํา 15,793 บาท ถังพนสารเคมี 2,908 บาท และอุปกรณการเกษตรอื่นๆ 15,711 บาท มีทรัพยสินหมุนเวียนเฉลี่ยครัวเรือนละ 84,020 บาท แบงเปนขาวเปลือก 3,553 บาท พืชไร 11,700 บาทและปศุสัตวทั้งโค เปด ไก 68,767 บาท (ตารางที่ 4.3) ตารางที่ 4.3 ทรัพยสินในการเกษตรเฉลี่ยของเกษตรกรตัวอยาง (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2542)

รายการ มูลคา (บาทตอครัวเรือน) รอยละ สินทรัพยคงที่ 805,076 82.22

- ที่ดิน (นา /ไร /สวน) 770,034 78.64 - โรงเรือน 12,500 1.27 - สระน้ําเพื่อการเกษตร 22,542 2.31

ทรัพยสินดําเนินงาน 90,012 9.19 - รถไถเล็ก /เดินตาม 55,600 5.67 - เครื่องสูบน้ํา 15,793 1.61 - ถังพนสารเคมี 2,908 0.31 - อุปกรณการเกษตร 15,711 1.60

ทรัพยสินหมุนเวียน 84,020 8.59 - ขาวเปลือก 3,553 0.36 - พืชไร 11,700 1.19 - ปศุสัตว โค /กระบือ 65,317 6.67 - เปด /ไก 3,450 0.37

รวมทรัพยสินทั้งหมด 979,108 100.00

ที่มา: สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี ขอมูลพื้นฐานเกษตรกรรวมโครงการเกษตร

ทฤษฎีใหม กาญจนบุรี ป 2542 สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี : 2542

Page 60: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

48

ทรัพยสินนอกการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกรมีทั้งสิ้น 463,383 บาท แบงเปนที่ดินสรางที่อยูอาศัยเฉลี่ยครัวเรือนละ 86,000บาท ที่อยูอาศัยเฉลี่ยครัวเรือนละ 139,138 บาท รถยนตเฉลี่ยครัวเรือนละ 161,000 บาท รถจักรยานยนตเฉลี่ยครัวเรือนละ 38,388 บาท รถจักรยานเฉลี่ยครัวเรือนละ 938 บาท และเครื่องใชไฟฟาทุกชนิดในบานเฉลี่ยครัวเรือนละ 37,919 บาท โดยเปนเครื่องใชไฟฟาอื่นๆ เชน เครื่องซักผา โทรศัพทมือถือมากที่สุดเฉลี่ยครัวเรือนละ 14,025 บาท (ตารางที่4.4) ตารางที่ 4.4 ทรัพยสินนอกการเกษตรเฉลี่ยของเกษตรกรตัวอยาง (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2542)

รายการ มูลคา (บาทตอครัวเรือน) รอยละ ที่ดินสรางที่อยูอาศัย 86,000 18.55 ที่อยูอาศัย 139,138 30.02 รถยนต 161,000 34.74 รถจักรยานยนต 38,388 8.28 รถจักรยาน 938 0.20 เครื่องใชไฟฟา

- โทรทัศน 6,852 1.47 - ตูเย็น 7,164 1.54 - วิทยุ /เทป 7,080 1.52 - พัดลม 1,835 0.39 - หมอหุงขาว 963 0.20 - อ่ืนๆ 14,025 3.09

รวมทรัพยสินทั้งหมด 463,383 100.00

ที่มา: เกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี ขอมูลพื้นฐานเกษตรกรรวมโครงการเกษตร ทฤษฎี

ใหม กาญจนบุรี ป 2542 สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี : 2542

Page 61: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

49

การเขาเปนสมาชิกขององคกรตางๆ ของเกษตรกรพบวาจะเปนสมาชิกของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) มากที่สุดจํานวน 19 รายคิดเปนรอยละ 47.50 เปนสมาชิกกลุมเกษตรกรในหมูบาน จํานวน 1 รายคิดเปนรอยละ 2.50 เปนสมาชิกกลุมสหกรณการเกษตรจํานวน 4 รายคิดเปนรอยละ 10 และเปนสมาชิกมากกวา 1 สถาบันเชนเปนทั้งสมาชิก ธ.ก.ส. และเปนสมาชิกกลุมเกษตรกรในหมูบานจํานวน 16 รายคิดเปนรอยละ 40 (ตารางที่ 4.5) ตารางที่ 4.5 การเปนสมาชิกสถาบันของเกษตรกรตัวอยาง

รายการ จํานวน (ราย) รอยละ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 19 47.50 กลุมเกษตรกรในหมูบาน 1 2.50 สหกรณการเกษตร 4 10.00 อ่ืนๆ และเปนสมาชิกมากกวา 1 สถาบัน 16 40.00

รวม 40 100.00 ที่มา: แบบสอบถาม

รูปแบบกิจกรรมในฟารมของเกษตรกรพบวาสวนใหญจะมีลักษณะเหมือนกันคือ มีการปลูกพืชผสมผสานหลายประเภทในฟารมเดียวกัน ดังนั้นจึงสามารถแบงรูปแบบการผลิตออกไดเปน 2 รูปแบบซึ่งสวนใหญจะมีการปลูกพืชผสมผสานทั้งนาขาว พืชไรและเลี้ยงสัตวมีจํานวน 39 ราย คิดเปนรอยละ 99.75 และปลูกพืชผสมผสานทั้งนาขาว พืชไร เล้ียงสัตวและการประมง จํานวน 1 รายคิดเปนรอยละ 0.25 (ตารางที่ 4.6) ตารางที่ 4.6 รูปแบบกิจกรรมการเกษตรในฟารมของเกษตรกรตัวอยาง

รายการ จํานวน (ราย) รอยละ 1. ปลูกพืชผสมผสาน (ขาว+พืชไร) และเลี้ยงสัตว 39 99.75 2. ปลูกพืชผสมผสาน (ขาว+พืชไร) เล้ียงสัตวและการประมง 1 0.25

รวม 40 100.00 ที่มา: แบบสอบถาม

Page 62: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

50

แหลงเงินทุนในการทําการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกรตัวอยางพบวาสวนใหญจะกูยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเปนทุนเดิมอยูแลว ดังนั้นเมื่อเร่ิมทําการเกษตรแนวทฤษฎีใหมเกษตรกรตัวอยางสวนใหญก็จะกูยืมเหมือนเดิมเนื่องจากไมมีเงินทุนสํารอง ดังนี้ กูเงินทุนจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร จํานวน 19 รายคิดเปนรอยละ 47.50 กูเงินจากแหลงเงินทุนอื่นๆหรือมากกวา 1 แหง เชน ใชเงินทุนตนเองและกูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร จํานวน 16 รายคิดเปนรอยละ 40 กูเงินทุนจากญาติพี่นอง จํานวน 4 รายคิดเปนรอยละ 10 และใชเงินทุนของตนเอง จํานวน 1 รายคิดเปนรอยละ 2.50 (ตารางที่ 4.7) ตารางที่ 4.7 แหลงเงินทุนเริ่มตนในการทําเกษตรทฤษฎีใหมของเกษตรกรตัวอยาง

รายการ จํานวน (ราย) รอยละ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 19 47.50 เงินทุนตนเอง 1 2.50 ญาติพี่นอง 4 10.00 อ่ืนๆ หรือมากกวา 1 แหง 16 40.00

รวม 40 100.00 ที่มา: แบบสอบถาม

สาเหตุกอนที่เกษตรกรจะตัดสินใจดําเนินการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหมนั้นพบวาเกษตรกรสวนใหญมีปญหามากกวา 1 ปญหา เชน ปญหาการขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตรซึ่งเปนปญหาใหญที่สุดของครัวเกษตรกรตัวอยางรวมกับปญหาความยากจน มีจํานวน 27 รายคิดเปนรอยละ 67.50 มีปญหาขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตร จํานวน 5 รายคิดเปนรอยละ 12.50 ปญหาความยากจน จํานวน 4 รายคิดเปนรอยละ 10 ปญหาสินคาอุปโภคบริโภคมีราคาแพงและปญหาที่ดินมีจํากัดมีเทากันจํานวน 2 รายคิดเปนรอยละ 5 (ตารางที่ 4.8)

Page 63: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

51

ตารางที่ 4.8 สภาพปญหาของเกษตรกรตัวอยาง รายการ จํานวน (ราย) รอยละ

สินคาอุปโภคบริโภคมีราคาแพง 2 5.00 การขาดแคลนน้ํา 5 12.50 ที่ดินมีจํากัด 2 5.00 ความยากจน 4 10.00 มากกวา 1 ปญหา 27 67.50

รวม 40 100.00 ที่มา: แบบสอบถาม

ทัศนคติของเกษตรกรทั้ง 40 รายเห็นวาหลักการที่เนนความพอเพียงนั้นเปนแนวทางที่เหมาะสมที่สุดสําหรับการดํารงชีพของเกษตรกร สวนแนวทางการใชประโยชนในพื้นที่มีเกษตรกรตัวอยาง จํานวน 6 รายท่ีบอกวาตองมีการปรับปรุงใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่โดยเฉพาะแหลงน้ําเพื่อการเกษตร ในสวนการสนับสนุนปจจัยการผลิตของภาครัฐเกษตรกรตัวอยางทั้ง 40 รายเห็นวามีความเหมาะสม และเกษตรกรตัวอยางทั้ง 40 รายเห็นวาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหมเปนแนวทางที่จะสามารถชวยเกษตรกรที่ยากจนไดมีพออยูพอกินตามอัตภาพเปนอยางดี เพราะจะมีผลตอบแทนแบบคอยเปนคอยไปทุกวัน (ตารางที่ 4.9) ตารางที่ 4.9 ทัศนคติของเกษตรกรตัวอยางตอแนวทางการเกษตรทฤษฎีใหม

หนวย: ราย จํานวน

รายการ เหมาะสม ตองปรับปรุง ไมแนใจ

รวม

หลักการที่เนนความพอเพียง 40 - - 40 แนวทางในการใชประโยชนในพื้นที่ 34 6 - 40 การสนับสนุนปจจัยตางๆ จากหนวยงานราชการ 40 - - 40 เปนแนวทางที่จะสามารถชวยเกษตรกรที่ยากจนไดเปนอยางดี 40 - - 40 ที่มา: แบบสอบถาม

Page 64: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

บทที่ 5 ผลการวิเคราะหขอมลู

1. การศึกษาความเปนไปไดทางดานการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม

การวิ เคราะหตนทุนและผลตอบแทนทางดานการเงินของการดําเนินกิจกรรม

การเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหมในจังหวัดกาญจนบุรี ประกอบดวยตนทุนและผลตอบแทนตางๆ ดังนี้

ตนทุนคาเครื่องมือและอุปกรณการผลิต คาเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร เปนคาใชจายในการลงทุนในการดําเนินกิจกรรม

การเกษตรของเกษตรกร ทั้งการเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม ตามอายุการใชงาน ซ่ึงจะแสดงรายละเอียดราคา จํานวน มูลคา และอายุการใชงาน พบวาในปแรกของโครงการ จะมีการลงทุนในอุปกรณการเกษตร คือ เครื่องสูบน้ํา เครื่องพนยา จอบ เสียม มีด บุงกี๋ สวิง แห คันไถและบัวรดน้ํา ซ่ึงในปแรกมีคาใชจายเทากับ 6,095 บาท ในชวงปที่ 2 - 5 ตองมีการซื้อบุงกี๋และสวิงใหมเพราะมีอายุการใชงานเพียง 1 ป ในชวงปที่ 7 - 10 มีคาใชจาย จํานวน 205 บาท ซ่ึงตนทุนนี้จะเทากันทั้งการทําการเกษตรแบบเดิมและการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ตารางที่ 5.1)

Page 65: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

53

ตารางที่ 5.1 แสดงรายการเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร จํานวน ราคาตอหนวย มลูคาทั้งหมด และอายกุารใชงาน

รายการ จํานวน (หนวย)

ราคาตอหนวย (บาท)

มูลคา (บาท)

อายุการใชงาน (ป)

1. เครื่องสูบน้ํา 1 3,900 3,900 10 2. เครื่องพนยา 1 1,000 1,000 10 3. จอบ 2 70 140 5 4. เสียม 2 70 140 5 5. มีด 2 100 200 5 6. บุงกี๋ 3 45 135 1 7. สวิง 2 35 70 1 8. แห 2 120 240 5 9. คันไถ 1 150 150 5

10. บัวรดน้ํา 2 60 120 5 รวม 6,095

ที่มา: เกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี, สํานักงาน ขอมูลพื้นฐานเกษตรกรรวมโครงการเกษตร ทฤษฎีใหม กาญจนบุรี ป 2542 สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี 2542

Page 66: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

54

1.1 ตนทุนและผลตอบแทนทางการเงินการทําการเกษตรแบบเดิม 1.1.1 ตนทุนการผลิต

ตนทุนการปลูกออย 550 ไร เล้ียงปลานิล 2,000 ตัว และเลี้ยงโคขุน 20 ตัว มีตนทุนดังนี้ (ตารางที่ 5.2-5.5) การปลูกออย 550 ไร โดยมีตนทุนการผลิตที่เปนเงินสดทั้งสิ้นในปแรก จํานวน 2,096,776 บาท เฉลี่ยไรละ 1,910.97 บาท ปที่ 2 มีตนทุนจํานวน 2,057,462 บาท เฉลี่ยไรละ 3,043.84 บาท ปที่ 3 มีตนทุนจํานวน 2,129,952 บาท เฉลี่ยไรละ 5,519.35 บาท ปที่ 4 มีตนทุนจํานวน 2,067,098 บาท 4,466.11 บาท ปที่ 5 มีตนทุนจํานวน 2,324,486.5 บาท เฉลี่ยไรละ 4,226.34 บาท ปที่ 6 มีตนทุนจํานวน 2,474,565.50 บาท เฉลี่ยไรละ 5,661.98 บาท ปที่ 7 มีตนทุนจํานวน 2,287,389.50 บาท เฉลี่ยไรละ 5,570.48 บาท ปที่ 8 มีตนทุนจํานวน 2,042,920 บาท เฉลี่ยไรละ 4,300.55 บาท ปที่ 9 มีตนทุนจํานวน 2,367,431 บาท เฉลี่ยไรละ 4,744.23 และปที่ 10 มีตนทุนจํานวน 2,592,056.50 บาท เฉลี่ยไรละ 6,353.13 บาทโดยมีรายจายดานคาจางแรงงานมากที่สุด รองลงมาเปนคาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน

การเลี้ยงปลา คาใชจายในการเลี้ยงปลานิล มีตนทุนเงินสดเทากับ 3,759 บาทตอบอ โดยเปนคาใชจายดังนี้ คาพันธุปลา 2,000 ตัว ๆ ละ 0.20 บาท คาอาหาร 2,314 บาท คาปูนขาว 250 บาท ซ่ึงมีเฉพาะปที่ 1, ปที่ 4 และปที่ 5 เนื่องจากไมจําเปนตองใชทุกป คาน้ํามัน/ไฟฟา 95 บาท คาจางแรงงานเตรียมสระเลี้ยงปลา 150 บาท คาจางแรงงานในการเตรียมสระ 100 บาท และคาแรงงานในการจับปลา 550 บาท

การเลี้ยงโคขุน 20 ตัว เกษตรกรจะซื้อโคแลวนํามาเลี้ยงตอ เมื่อมีน้ําหนักมากพอก็จะขายตอทันที โดยมีตนทุนทั้งหมด 122,340 บาท หรือเฉลี่ยตัวละ 6,117 บาท เปนคาโคที่จะนํามาเลี้ยงตอ 98,400 บาท คาอาหาร 10,000 บาท คาคอกสัตว 9,700 บาท คาไฟฟา 2,640 บาท และคายารักษาโรคสัตว 2,000 บาท

Page 67: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

55

ตารางที่ 5.2 ตนทุนทางการเงินของการทําการปลูกออย (การเกษตรแบบเดิม) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10

คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

271,881.5 126,951 228,195 110,979 188,551

800,398.5 57,832.5

110,247.5 32,846

197,351 349,332.5

293,001.5 151,464.5

229,251 111,023

211,337.5 611,908

57,612.5 110,616

40,799 121,044

349,332.5

274,318 129,200.5

171,237 98,065

239,915.5 553,146

67,831.5 83,671.5 35,832.5

71,428 318,274

332,849 150,133.5 207,916.5 113,536.5

268,323 704,093.5

72,385.5 114,020.5

43,945 96,954

263,274

342,903 157,008.5 237,649.5

135,696 220,726 738,210

78,655.5 133,006.5

52,497.5 177,430 318,274

รวมตนทุนการเกษตร 2,474,565.5 2,287,389.5 2,042,920 2,367,431 2,592,056.5

หมายเหตุ : 1/ ตนทุนการผลิตการเกษตรไดจากนําตนทุนจากตารางที่ 5.3 คูณกับจํานวนพื้นที่ ดําเนินการ 550 ไร

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

268,636.5 73,711

157,993 83,688

191,559.5 506,335.5

19,871.5 72,765

9,960.5 408,589.5

303,666

264,995.5 85,008

140,613 98,736

249,034.5 656,656

20,047.5 78,138.5 21,268.5

139,298.5 303,666

282,326 116,897 184,613 103,664

323,064.5 631,647.5

30,057.5 81,152.5 32,224.5

158,207.5 186,098

267,278 129,002.5

196,185 103,922.5

164,846 636,845

38,230.5 95,309.5 37,174.5 158,972

239,332.5

275,037.5 130,295 217,327 106,887

166,094.5 687,857.5

56,160.5 109,219

34,798.5 185,377.5 239,332.5

รวมตนทุนการเกษตร 2,096,776 2,057,462 2,129,952 2,067,098 2,208,387.5

Page 68: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

56

ตารางที่ 5.3 ตนทุนทางการเงินตอไรของการทําการปลูกออย (การเกษตรแบบเดิม) หนวย : บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

488.43 134.02 287.26 152.16 348.29 920.61

36.13 132.3 18.11

742.89 552.12

481.81 154.56 255.66 179.52 452.79

1,194 36.45

142.07 38.67

253.27 552.12

513.32 212.54 335.66 188.48 587.39

1,148 54.65

147.55 58.59

287.65 338.36

485.96 234.55

356.7 188.95 299.72

1,158 69.51

173.29 67.59

289.04 435.15

500.07 236.90 395.14 194.34 301.99

1,251 102.11 198.58

63.27 337.05 435.15

รวมตนทุนการเกษตร 3,81232 3,740.84 3,87264 3,758.36 4,015.25

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

494.33 230.82

414.9 201.78 342.82

1,455 105.15 200.45

59.72 358.82 635.15

532.73 275.39 416.82 201.86 384.25

1,113 104.75 201.12

74.18 220.08 635.15

498.76 234.91 311.34

178.3 436.21

1,006 123.33 152.13

65.15 129.87 578.68

605.18 272.97 378.03 206.43 487.86

1,280 131.61 207.31

79.9 176.28 478.68

623.46 285.47 432.09 246.72 401.32

1,342 143.01 241.83

95.45 322.6

578.68 รวมตนทุนการเกษตร 4,499.21 4,158.89 3,714.4 4,304.42 4,712.83

Page 69: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

57

ตารางที่ 5.4 ตนทุนทางการเงินของการเลี้ยงปลานิล (การเกษตรแบบเดิม ) หนวย : บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาพันธุปลานิล/ตะเพียน คาอาหารสัตว คาน้ํามัน คาจางแรงงานเตรียมสระ/จับ คาปูนขาว

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

รวมตนทุนการเกษตร 3,759 3,759 3,759 3,759 3,759

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาพันธุปลานิล/ตะเพียน คาอาหารสัตว คาน้ํามัน คาจางแรงงานเตรียมสระ/จับ คาปูนขาว

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

รวมตนทุนการเกษตร 3,759 3,759 3,759 3,759 3,759

หมายเหตุ : ตนทุนการเลี้ยงปลากําหนดใหคงที่ทุกป

Page 70: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

58

ตารางที่ 5.5 ตนทุนทางการเงินของการเลี้ยงโคขุน 20 ตัว (การเกษตรแบบเดิม ) หนวย : บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาพันธุสัตว คาอาหารสัตว คาไฟฟา คากอสรางคอกสัตว คายารักษาโรคสัตว

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

รวมตนทุนการเกษตร 122,340 122,340 122,340 122,340 122,340

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาพันธุสัตว คาอาหารสัตว คาไฟฟา คากอสรางคอกสัตว คายารักษาโรคสัตว

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

รวมตนทุนการเกษตร 122,340 122,340 122,340 122,340 122,340

หมายเหตุ : ตนทุนการเลี้ยงโคกําหนดใหคงที่ทุกป

1.1.2 ตนทุนท้ังหมดทางดานการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิม

ตนทุนทางดานการเงินทั้งหมดในการทําการเกษตรแบบเดิม ซ่ึงเปนการปลูก ออย 550 ไร เล้ียงปลานิล 1 บอ และเลี้ยงโคขุน จํานวน 20 ตัว มีตนทุนทั้งหมด ดังนี้ (ตารางที่ 5.6)

ปที่1 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 268,636.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 73,711 บาท คาพันธุพืช จํานวน 157,993 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 83,688 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 191,559.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 506,335.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 19,871.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 72,765 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 9,960.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 408,589.50 บาทและคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 303,666 บาท

ปที่ 2 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 264,995.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 85,008 บาท คาพันธุพืช จํานวน 140,613 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 98,736 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 249,034.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 78,138.50 บาท คาจาง

Page 71: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

59

แรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 656,656 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 20,047.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 21,268.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 139,298.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 303,666 บาท

ปที่ 3 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 282,326 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 116,897 บาท คาพันธุพืช จํานวน 184,613 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 103,664 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 323,064.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 81,152 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 631,647.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 30,057.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 32,224.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 158,207.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 186,098 บาท

ปที่ 4 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 267,278 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 129,002.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 196,185 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 103,922.50 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 164,846 บาท คาจางแรงงานปลูก 95,309.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 636,845 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 38,230.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 330,027.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 37,174.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 158,972 บาทและคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 239,332.50 บาท

ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 275,038.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 130,295 บาท คาพันธุพืช จํานวน 217,327 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 106,887 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 166,094.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 109,219 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 687,857.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 56,160.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 34,798.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 185,377.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 239,332.50 บาท

ปที่ 6 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 271,881.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 126,951 บาทบาท คาพันธุพืช จํานวน 228,195 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 110,979 บาท คาจางแรงงานปลูก 110,247.50 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 188,551 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 800,398.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 57,832.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 32,846 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 197,351 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 349,332.50 บาท

ปที่ 7 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 293,001.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 151,464.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 229,251 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 111,023 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 211,337.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 611,908

Page 72: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

60

บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 57,612.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 110,616 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 40,799 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 121,044 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 349,332.50 บาท

ปที่ 8 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 274,318 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 129,200.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 171,237 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 98,065 บาท คาจางแรงงานปลูก 110,247.50 บาทคาจางแรงงานดูแลรักษา 83,671.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 553,146 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 67,831.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 35,832.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 71,428.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 318,274 บาท

ปที่ 9 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 332,849 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 150,133.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 207,916.50 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 113,536.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 114,020.50 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 268,323 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 704,093.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 72,385.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 43,945 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 96,954 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 263,274 บาท

ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 332,849 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 150,133.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 207,916.50 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 113,536.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 114,020.50 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 268,323 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 704,093.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 72,385.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 43,945 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 96,954 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 263,274 บาท

สวนการทําการประมงและเลี้ยงโคขุนจะมีตนทุนเทากันทุกป ดังนี้คาพันธุปลานิล 2,000 ตัวๆละ 0.20 บาท จํานวน 400 บาท คาพันธุโค จํานวน 98,000 บาทคาอาหารสัตว จํานวน 12,314 บาท คาจางแรงงานเตรียมสระ/จับปลา จํานวน 700 บาท คาปูนขาว จํานวน 250 บาท คากอสรางคอกสัตว จํานวน 18,000 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 2,735 บาท และคายารักษาโรคสัตว จํานวน 2,000 บาท

Page 73: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

61

ตนทุนทั้งหมด

-500,000.00

1,000,000.001,500,000.002,000,000.002,500,000.003,000,000.00

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ป

บาท

ภาพที่ 5.1 ตนทุนการเกษตรแบบเดิมทั้งหมด

Page 74: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

62

ตารางที่ 5.6 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิม หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาพันธุสัตว คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาอาหารสัตว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คากอสรางคอกสัตว คาปูนขาว คายารักษาโรคสัตว คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

268,636.5 73,711

157,993 98,400 83,688

191,559.5 506,335.5

12,314 22,606.5

72,765 408,589.5

9,960.5 9,700

250 2,000

303,666

264,995.5 85,008

140,613 98,400 98,736

249,034.5 656,656

12,314 22,782.5 78,138.5

139,298.5 21,268.5

9,700 250

2,000 303,666

282,326 116,897 184,613

98,400 103,664

323,064.5 631,647.5

12,314 32,792.5 81,152.5

158,207.5 32,224.5

9,700 250

2,000 186,098

267,278 129,002.5

196,185 98,400

103,922.5 164,846 636,845

12,314 40,965.5 95,309.5 158,972

37,174.5 9,700

250 2,000

239,332.5

275,038.5 130,295 217,327

98,400 106,887

166,094.5 687,857.5

12,314 58,895.5 109,219

185,377.5 34,798.5

9,700 250

2,000 239,332.5

รวมตนทุนการเกษตร 2,212,875 2,173,561 2,246,051 2,183,197 2,324,486.5 มูลคาปจจุบันของตนทุน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10

2,011,704.7 1,796,330.8 1,687,491.8 1,491,151.93 1,443,322.5

Page 75: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

63

ตารางที่ 5.6 (ตอ) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาพันธุสัตว คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาอาหารสัตว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คากอสรางคอกสัตว คาปูนขาว คายารักษาโรคสัตว คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

271,881.5 126,951 228,195

98,400 110,979 188,551

800,398.5 12,314

60,567.5 110,247.5

197,351 32,846

9,700 250

2,000 349,332.5

293,001.5 151,464.5

229,251 98,400

111,023 211,337.5

611,908 12,314

60,347.5 110,616 121,044

40,799 9,700

250 2,000

349,332.5

274,318 129,200.5

171,237 98,400 98,065

239,915.5 553,146

12,314 70,566.5 83,671.5 71,428.5 35,832.5

9,700 250

2,000 318,274

332,849 150,133.5 207,916.5

98,400 113,536.5

268,323 704,093.5

12,314 75,120.5

114,020.5 96,954 43,945

9,700 250

2,000 263,274

342,903 157,008.5 237,649.5

98,400 135,696 220,726 738,210

12,314 81,390.5

133,006.5 177,430

52,497.5 9,700

250 2,000

318,274 รวมตนทุนการเกษตร 2,590,664.5 2,403,488.5 2,159,019 2,483,530 2,708,155.5 มูลคาปจจุบันของตนทุน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10

1,462,362.75 1,233,369.35 1,007,197.47 1,053,260.11 1,044,110.4

Page 76: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

64

1.1.3 ผลตอบแทนทางดานการเงินของการเกษตรแบบเดิม ผลตอบแทนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิม ตามตารางที่

5.8 พบวา ในปที่ 1 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 1,475,474 บาท ปที่ 2 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 1,767,356.80 บาท ปที่ 3 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 2,679,147.90 ปที่ 4 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 2,484,367.50 บาท ปที่ 5 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 2,449,493.20 ปที่ 6 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 2,695,896.50 บาท ปที่ 7 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 2,577,146 บาท ปที่ 8 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 2,105,680.50 บาท ปที่ 9 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 2,389,948 บาท ปที่ 10 มีรายไดจากการปลูกออย จํานวน 2,944,708.80

สวนการเลี้ยงโคขุนจะมีรายไดเทากันทุกป ๆ ละ 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิลจะมีรายไดเทากันทุกปๆ ละ 4,140 บาท

ตนทุนและผลตอบแทนเกษตรแบบเดิม

-500,000.00

1,000,000.001,500,000.002,000,000.002,500,000.003,000,000.003,500,000.00

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ป

รายได

ตนทุนรายได

ภาพที่ 5.2 ตนทุนและผลตอบแทนการเกษตรแบบเดิมทั้งหมด

Page 77: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

65

ตารางที่ 5.7 ผลตอบแทนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิม หนวย: บาท

ผลตอบแทน ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 ปลูกออย 550ไร ผลผลิตกก./ไร ราคาขาย/ตัน

7,370

364

8,732

368

8,788

514

9,042

435

9,496

469 รวม 1,475,474 1,767,356.8 2,484,367.5 2,163,298.5 2,449,493.2 โคขุน 152,340 152,340 152,340 152,340 152,340 ปลานิล 4,140 4,140 4,140 4,140 4,140

รวมทั้งสิ้น 1,631,954 1,923,836.8 2,640,847.5 2,319,778.5 2,605,973.2

ผลตอบแทน ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 ปลูกออย 550ไร ผลผลิตกก./ไร ราคาขาย/ตัน

10,429

470

9,011

520

7,434

515

7,492

520

7,782

688 รวม 2,695,896.5 2,577,146 2,105,680.5 2,389,948 2,944,708.8 โคขุน 152,340 152,340 152,340 152,340 152,340 ปลานิล 4,140 4,140 4,140 4,140 4,140

รวมทั้งสิ้น 2,852,376.5 2,733,626 2,262,160.5 2,546,428 3,101,188.8

Page 78: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

66

ตารางที่ 5.8 ผลตอบแทนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิม หนวย: บาท

ผลตอบแทน 1/ ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 ออย โคขุน สัตวน้ํา

1,475,474 152,340

4,140

1,767,356.8 152,340

4,140

2,484,367.5 152,340

4,140

2,163,298.5 152,340

4,140

2,449,493.2 152,340

4,140 รวมผลตอบแทนทางการเกษตร 1,631,954 1,923,836.8 2,640,847.5 2,319,778.5 2,605,973.2 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10

1,483,594.7 1,589,947.22 1,984,108.34 1,584,438.87 1,618,103.48

ผลตอบแทน 1/ ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 ออย โคขุน สัตวน้ํา

2,695,896.5 152,340

4,140

2,577,146 152,340

4,140

12,105,680.5 152,340

4,140

2,389,948 152,340

4,140

2,944,708.8 152,340

4,140 รวมผลตอบแทนทางการเกษตร 2,852,376.5 2,733,626 2,262,160.5 2,546,428 3,101,188.8 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10

1,610,092.37 1,402,782.05 1,055,313.7 1,079,935.02 1,195,641.63

หมายเหตุ : 1/ ผลตอบแทนทั้งหมดทางการเงินมาจากผลรวมของตารางที่ 5.7

1.2 ตนทุนและผลตอบแทนทางการเงินการทําการเกษตรทฤษฎีใหม 1.2.1 ตนทุนการผลิต

ตนทุนการผลิต ขาวนาป 100 ไร ออย 250 ไร มันสําปะหลัง 100 ไร ขาวโพดเล้ียงสัตว 100 ไร เล้ียงปลานิล 2,000 ตัว และเลี้ยงโคขุน 20 ตัว ตามตารางที่ 5.9-5.17

ก. การปลูกขาวนาปจํานวน 100 ไร เกษตรกรมีตนทุนเงินสดทั้งหมดปที่ 1 จํานวน 186,617 บาท ปที่ 2 มีตนทุนทั้งหมด 171,150 บาท ปที่ 3 มีตนทุนจํานวน 134,762 บาท ปที่ 4 จํานวน 147,389 บาท ปที่ 5 มีตนทุนจํานวน 168,960 บาท ปที่ 6 มีตนทุนจํานวน 154,311 บาท ปที่ 7 มีตนทุนจํานวน 165,421 บาท ปที่ 8 มีตนทุนจํานวน 170,431 บาท ปที่ 9 มีตนทุนจํานวน 212,476 บาท และปที่ 10 มีตนทุนจํานวน 227,413 บาท โดยจะมีตนทุนจากคาจางแรงงานในการเก็บเกี่ยวผลผลิตและคาจางแรงงานในการปลูกเพิ่มมากที่สุดและเพิ่มขึ้นทุกป

Page 79: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

67

ข. การปลูกพืชไร คือ ออย 250 ไร มันสําปะหลัง 100 ไร และขาวโพดเลี้ยงสัตว 100 ไร โดยออยมีตนทุนการผลิตที่เปนเงินสดในปที่ 1 จํานวน 953,080 บาท ปที่ 2 มีตนทุนจํานวน 935,210 บาท ปที่ 3 มีตนทุนจํานวน 968,160 บาท ปที่ 4 มีตนทุนจํานวน 939,590 บาท ปที่ 5 มีตนทุนจํานวน 1,003,812.50 บาท ปที่ 6 มีตนทุนจํานวน 1,124,802.50 บาท ปที่ 7 มีตนทุนนวน 1,039,722.50 บาท ปที่ 8 มีตนทุนจํานวน 928,600 บาท ปที่ 9 มีตนทุนจํานวน 1,076,105 บาท และปที่ 10 มีตนทุนจํานวน 1,178,207.50 บาท

ค. ตนทุนการผลิตมันสําปะหลัง ปที่ 1 มีตนทุนจํานวน 165,763 บาท ปที่ 2 มีตนทุนจํานวน 178,914 บาท ปที่ 3 มีตนทุนจํานวน 205,345 บาท ปที่ 4 มีตนทุนจํานวน 197,595 บาท ปที่ 5 มีตนทุนจํานวน 218,255 บาท ปที่ 6 มีตนทุนจํานวน 214,471 บาท ปที่ 7 มีตนทุนจํานวน 223,507 บาท ปที่ 8 มีตนทุนจํานวน 228,113 บาท ปที่ 9 มีตนทุนจํานวน 239,059 บาท และปที่ 10 มีตนทุนจํานวน 279,361 บาท โดยตนทุนสวนใหญจะเปนคาจางแรงงานในการดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยว และตนทุนการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ปที่ 1 จํานวน 236,988 บาท ปที่ 2 มีตนทุนจํานวน 177,708 บาท ปที่ 3 มีตนทุนจํานวน 196,105 บาท ปที่ 4 มีตนทุนจํานวน 196,697 บาท ปที่ 5 มีตนทุนจํานวน 194,267 บาท ปที่ 6 มีตนทุนจํานวน 197,069 บาท ปที่ 7 มีตนทุนจํานวน 199,372 บาท ปที่ 8 มีตนทุนจํานวน 198,903 บาท ปที่ 9 มีตนทุนจํานวน 203,493 บาท และปที่ 10 มีตนทุนจํานวน 247,872 บาท โดยตนทุนที่เพิ่มขึ้นสวนใหญมาจากสาเหตุเดียวกันกับการปลูกมันสําปะหลังคือคาจางแรงงานที่เพิ่มขึ้น

ง. การเลี้ยงปลา คาใชจายในการเลี้ยงปลานิล มีตนทุนเงินสดเทากับ 3,759 บาทตอบอ โดยเปนคาใชจายดังนี้ คาพันธุปลา 2,000 ตัว ๆ ละ 0.20 บาท คาอาหาร 2,314 บาท คาปูนขาว 250 บาท ซ่ึงมีเฉพาะปที่ 1, ปที่ 4 และปที่ 5 เนื่องจากไมจําเปนตองใชทุกป คาน้ํามัน/ไฟฟา 95 บาท คาจางแรงงานเตรียมสระเลี้ยงปลา 150 บาท คาจางแรงงานในการเตรียมสระ 100 บาท และคาแรงงานในการจับปลา 550 บาท

จ. การเลี้ยงโคขุน 20 ตัว เกษตรกรจะซื้อโคแลวนํามาเลี้ยงตอ เมื่อมีน้ําหนักมากพอก็จะขายตอทันที โดยมีตนทุนทั้งหมด 122,340 บาท หรือเฉลี่ยตัวละ 6,117 บาท เปนคาโคที่จะนํามาเลี้ยงตอ 98,000 บาท คาอาหาร 10,000 บาท คาคอกสัตว 9,700 บาท คาไฟฟา 2,640 บาท และคายารักษาโรคสัตว 2,000 บาท

Page 80: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

68

ตนทุนแตละประเภท

ขาวโพดเล้ียงสัตว 7.9%

โค 5.3% ปลา 0.17%

ขาว 6.96%

มันสําปะหลัง 8.38%ออย 71.29%

ภาพที่ 5.3 ตนทุนการทําการเกษตรทฤษฎีใหมแตละประเภท

Page 81: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

69

ตารางที่ 5.9 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ขาว ) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

13,130 1,819 6,223

25,543 6,819

39,748 1,562

19,250 369

46,014 26,140

14,889 2,043 6,955

27,860 7,357

47,525 1,566

20,221 453

41,045 1,236

14,105 2,087 6,779

28,438 7,391

48,695 1,559

19,906 476

4,061 1,265

17,866 2,022 7,522

32,641 7,344

52,439 2,444

18,936 491

4,421 1,263

17,900 2,114 7,820

32,645 7,348

52,263 2,192

18,934 487

25,955 1,302

รวมตนทุนการเกษตร 186,617 171,150 134,762 147,389 168,960

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

18,120 2,215 8,581

33,156 7,507

51,947 2,007

20,204 502

8,710 1,362

17,954 2,238 8,627

33,767 7,788

59,851 4,041

20,699 513

8,546 1,397

18,313 2,283 8,627

33,767 17,540 55,156

5,269 20,699

550 6,795 1,432

23,807 2,722

12,215 41,297 18,950 71,773

6,479 24,446

652 8,349 1,786

28,625 4,559

16,925 34,255 21,134 75,941

9,261 25,328

678 8,886 1,821

รวมตนทุนการเกษตร 154,311 165,421 170,431 212,476 227,413

หมายเหตุ : 1/ ตนทุนการผลิตการเกษตรทฤษฎีใหมไดจากนําตนทุนจากตารางที่ 5.10 คูณกับจํานวนพื้นที่ดําเนินการ 100 ไร

Page 82: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

70

ตารางที่ 5.10 ตนทุนทางการเงินตอไรของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ขาว ) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

131.30 18.19 62.23

255.43 68.19

397.48 15.62 192.5

3.69 460.14

261.4

148.89 20.43 69.55

278.60 73.57

475 15.66

202.21 4.53

410.45 12.36

141.05 20.87 67.79

284.38 73.91

487 15.59

199.06 4.76

40.61 12.65

178.66 20.22 75.22

326.41 73.44

524 24.44

189.36 4.91

44.21 12.63

179 21.14 78.20

326.45 73.48

523 21.92

189.34 4.87

259.55 13.02

รวมตนทุนการเกษตร 1,866.17 1,711.50 1,347.62 1,473.89 1,689.60

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

181.20 22.15 85.81

331.56 75.07

519 20.07

202.04 5.02

87.10 13.62

179.54 22.38 86.27

337.67 77.88

599 40.41

206.99 5.13

85.46 13.97

183.13 22.83 86.27

337.67 175.40

552 52.69

206.99 5.5

67.95 14.32

238.07 27.22

122.15 412.97 189.50

718 64.79

244.46 6.52

83.49 17.86

289.25 45.59

169.25 342.55 211.34

759 92.61

253.28 6.78

88.86 18.21

รวมตนทุนการเกษตร 1,543.11 1,654.21 1,704.31 2,124.76 2,274.13

Page 83: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

71

ตารางที่ 5.11 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ออย ) บาท:หนวย

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5

คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

122,107.5 33,505 71,815 38,040

87,072.5 230,152.5

9,032.5 33,075

4,527.5 185,722.5

138,030

120,452.5 38,640 63,915 44,880

113,197.5 298,480 9,112.5

35,518.5 9,667.5

63,317.5 138,030

128,330 53,135 83,915 47,120

146,847.5 287,112.5

13,662.5 36,887.5 14,647.5 71,912.5

84,590

121,490 58,637.5

89,175 47,237.5

74,930 289,475

17,377.5 43,322.5 16,897.5

72,260 108,787.5

125,017.5 59,225 98,785 48,585

75,497.5 312,662.5

25,527.5 49,645

15,817.5 84,262.5

108,787.5

รวมตนทุนการเกษตร 953,080 935,210 968,160 939,590 1,003,812.5

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

123,582.5 57,705

103,725 50,445 85,705

363,817.5 26,287.5 50,112.5

14,930 89,705

158,787.5

133,182.5 68,847.5 104,205

50,465 96,062.5 278,140

26,187.5 50,280 18,545 55,020

158,787.5

124,690 58,727.5

77,835 44,575

109,052.5 251,430

30,832.5 38,032.5 16,287.5 32,467.5 144,670

151,295 68,242

94,507.5 51,607.5 121,965

320,042.5 32,902.5 51,827.5

19,975 44,070

119,670

155,865 71,367.5

108,022.5 61,680

100,330 335,550

35,752.5 60,457.5

23,862 80,650

144,670 รวมตนทุนการเกษตร 1,124,802.5 1,039,722.5 928,600 1,076,105 1,178,207.5

หมายเหตุ : 1/ ตนทุนการผลิตการเกษตรทฤษฎีใหมไดจากนําตนทุนจากตารางที่ 5.3 คูณกับจํานวนพื้นที่ดําเนินการ 250 ไร

Page 84: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

72

ตารางที่ 5.12 ตนทุนตอไรทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (มันสําปะหลัง) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

55.10 38.27

114.21 197.16 319.45 342.21

9.55 126.17

- 190.60 282.91

120.12 57.56

136.93 236.02 353.52

357 10.82

134.95 -

126.16 255.59

131 60.05

187.46 252.06 392.43

411 12.26

178.60 -

145.97 28291

119.74 50.71

157.85 270.16 386.72

406 12.74

175.65 -

141.67 254.8

123.37 52.48

323.30 283.46 387.23

402 16.56

176.02 -

136.84 281.35

รวมตนทุนการเกษตร 1,657.63 1,789.14 2,053.45 1,975.95 2,182.55

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

125.82 52.90

256.74 288.34 390.81

402 16.71

178.13 -

153.30 280.02

286.43 135.15 182.91 289.88 340.17

386 17.52

133.79 1.67

185.57 276,04

272.21 134.27 204.69 293.08 346.59

431 17.27

136.58 2.30

167.7 273.71

321.70 159.57 224.83 325.11 403.75

434 17.89

162.22 2.78

16290 176.03

371.54 180.44 240.52 377.42 453.67

517 17.37

181.83 2.74

175.18 276.23

รวมตนทุนการเกษตร 2,144.71 2,235.07 2,281.13 2,390.59 2,793.61

Page 85: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

73

ตารางที่ 5.13 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (มันสําปะหลัง) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

5,510 3,827

11,421 19,716 31,945 32,421

955 12,617

- 19,060 28,291

12,012 5,756

13,693 23,602 35,352 35,747

1,082 13,495

- 12,616 25,559

13,100 6,005

18,746 25,206 39,243 41,071

1,226 17,860

- 14,597 28,291

11,974 5,071

15,785 27,016 38,672 40,591

1,274 17,565

- 14,167 25,480

12,337 5,248

32,330 28,346 38,723 40,194

1,656 17,602

- 13,684 28,135

รวมตนทุนการเกษตร 165,763 178,914 205,345 197,595 218,255

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

12,582 5,290

25,674 28,834 39,081 40,194

1,671 17,813

- 15,330 28,002

28,643 13,515 18,291 28,988 34,017 38,594

1,752 13,379

167 18,557 27,604

27,221 13,427 20,469 29,308 34,659 43,073

1,727 13,658

230 16,970 27,371

32,170 15,957 22,483 32,511 40,375 43,381

1,789 16,222

278 16,290 17,603

37,154 18,044 24,052 37,742 45,367 51,667

1,737 18,183

274 17,518 27,623

รวมตนทุนการเกษตร 214,471 223,507 228,113 239,059 279,361

หมายเหตุ : 1/ ตนทุนการผลิตการเกษตรทฤษฎีใหมไดจากนําตนทุนจากตารางที่ 5.12 คูณกับจํานวนพื้นที่ดําเนินการ 100 ไร

Page 86: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

74

ตารางที่ 5.14 ตนทุนทางการเงินตอไรของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ขาวโพดเลี้ยงสัตว ) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

206.38 63.70

224.07 251.69 159.14 417.74

15.78 101.42

4.82 620.25 304.89

221.33 52.65

224.07 251.69 159.14

418 16.80

101.42 4.82

62.72 264.7

212.30 70.14

238.94 258.47 180.73

533 15.87

117.63 4.82

64.57 265

233.84 61.67

244.46 263.47 176.46

513 15.86

125.92 5.45

57.44 268.97

251.71 79.23

256.44 301.18 138.06

429 27.89

104.27 5.27

67.70 282.1

รวมตนทุนการเกษตร 2,369.88 1,777,08 1,961.05 1,966.97 1,942.67

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

258.46 79.55

258.18 303.15 139.92

433 30.79

107.34 6.96

68.44 284.54

255.35 78.69

259.36 309.69 145.18

440 35.05

111.39 7.27

67.43 284.68

260.46 80.26

259.36 309.69 145.18

430 42.21

121.95 7.82

50.60 281.23

338.60 97.52

265.25 378.75 174.58

518 48.18

131.44 7.32

58.86 286.46

389.22 107.71 271.48 417.19 186.89

558 52.30

140.58 8.23

63.14 283.84

รวมตนทุนการเกษตร 1,970.69 1,993.72 1,989.03 2,304.93 2,478.72

Page 87: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

75

ตารางที่ 5.15 ตนทุนทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (ขาวโพดเลี้ยงสัตว ) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

20,638 6,370

22,407 25,169 15,914 41,774

1,578 10,142

482 62,025 30,489

22,133 5,265

22,407 25,169 15,914 41,774

1,680 10,142

482 6,272

26,470

21,230 7,014

23,894 25,847 18,073 53,258

1,587 11,763

482 6,457

26,500

23,384 6,167

24,446 26,347 17,646 51,343

1,586 12,592

545 5,744

26,897

25,171 7,923

25,644 30,118 13,806 42,882

2,789 10,427

527 6,770

28,210 รวมตนทุนการเกษตร 236,988 177,708 196,105 196,697 194,267

ตนทุนการเกษตร 1/ ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ

25,846 7,955

25,818 30,315 13,992 43,336

3,079 10,734

696 6,844

28,454

25,535 7,869

25,936 30,969 14,518 43,963

3,505 11,139

727 6,743

28,468

26,046 8,026

25,936 30,969 14,518 43,027

4,221 12,195

782 5,060

28,123

33,860 9,752

26,525 37,875 17,458 51,797

4,848 13,144

732 5,886

28,646

38,922 10,771 27,148 41,719 18,689 55,814

5,230 14,058

823 6,314

28,384 รวมตนทุนการเกษตร 197,069 199,372 198,903 230,493 247,872

หมายเหตุ : 1/ ตนทุนการผลิตการเกษตรทฤษฎีใหมไดจากนําตนทุนจากตารางที่ 5.14 คูณกับจํานวนพื้นที่ดําเนินการ 100 ไร

Page 88: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

76

ตารางที่ 5.16 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรแบบทฤษฎีใหม (การเลี้ยงปลา) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาพันธุปลานิล/ตะเพียน คาอาหารสัตว คาน้ํามัน คาจางแรงงานเตรียมสระ/จับ คาปูนขาว

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

รวมตนทุนการเกษตร 3,759 3,759 3,759 3,759 3,759

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาพันธุปลานิล/ตะเพียน คาอาหารสัตว คาน้ํามัน คาจางแรงงานเตรียมสระ/จับ คาปูนขาว

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

400 2,314

95 700 250

รวมตนทุนการเกษตร 3,759 3,759 3,759 3,759 3,759

Page 89: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

77

ตารางที่ 5.17 ตนทุนทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม (การเลี้ยงโคขุน 20 ตัว) หนวย : บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 คาพันธุสัตว คาอาหารสัตว คาไฟฟา คากอสรางคอกสัตว คายารักษาโรคสัตว

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

รวมตนทุนการเกษตร 122,340 122,340 122,340 122,340 122,340

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาพันธุสัตว คาอาหารสัตว คาไฟฟา คากอสรางคอกสัตว คายารักษาโรคสัตว

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

98,000 10,000

2,640 9,700 2,000

รวมตนทุนการเกษตร 122,340 122,340 122,340 122,340 122,340

1.2.2 ตนทุนท้ังหมดทางดานการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม ตนทุนทางดานการเงินทั้งหมดในการทําการเกษตรทฤษฎีใหม ตามตารางที่

5.18 ซ่ึงเปนการผลิตขาวนาป จํานวน 100 ไร ออย 250 ไร มันสําปะหลัง 100 ไร ขาวโพดเลี้ยงสัตว 100 ไร เล้ียงปลานิล 1 บอ และเลี้ยงโคขุน จํานวน 20 ตัว มีตนทุนทั้งหมด ดังนี้

ปที่ 1 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,658,547 บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 161,385.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 45,521 บาท คาพันธุพืช จํานวน 111,866 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 108,468 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 141,750.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 344,095.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 13,127.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 75,084 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 5,378.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 312,821.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 222,950 บาท

ปที่ 2 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,579,081บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 169,486.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 51,704 บาท คาพันธุพืช จํานวน 106,970 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 121,511 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา

Page 90: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

78

171,820.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 423,526 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 13,440.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 79,375.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 10,602.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 123,250.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 191,295 บาท

ปที่ 3 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,620,471บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 176,765 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 68,241 บาท คาพันธุพืช จํานวน 133,334 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 126,611 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 211,554.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 430,136.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 18,034.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 86,416.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 15,605.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 97,027.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 140,646 บาท

ปที่ 4 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,597,370 บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 174,714 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 71897.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 136,928 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 133,241.50 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 138,592 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 433,848 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 22,681.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 92,415.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 17,933.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 96,592 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 162,427.50 บาท

ปที่ 5 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,701,393.50 บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 180,425.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 74,510 บาท คาพันธุพืช จํานวน 164,579 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 139,694 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 135,374.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 448,001.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 32,164.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 96,608 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 16,831.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 130,671.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 166,434.50 บาท

ปที่ 6 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,806,752.50 บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 180,130.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 73,165 บาท คาพันธุพืช จํานวน 163,798 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 142,750 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 146,285 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 499,294.50 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 33,044.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 98,863.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 16,128 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 120,589 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 216,605.50 บาท

Page 91: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

79

ปที่ 7 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,744,121.50 บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 205,314.50 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 92,469.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 157,059 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 144,189 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 152,385.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 420,548 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 35,485.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 95,497 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 19,785 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 88,866 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 216,256.50 บาท

ปที่ 8 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,642,146 บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 196,270 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 82,463.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 132,867 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 138,619 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 175,769.50 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 392,686 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 42,049.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 84,584.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 17,849.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 61,292.50 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 201,596 บาท

ปที่ 9 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,874,232 บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 241,132 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 96,673.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 155,730.50 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 163,290.50 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 198,748 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 486,993 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 45,988.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 105,639.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 21,359 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 74,595 บาท และคาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 167,705 บาท

ปที่ 10 มีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 2,048,952.50 บาท โดยเปนคาใชจาย ดังนี้ คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน จํานวน 260,566 บาท คายาปราบศัตรูพืช/แมลง จํานวน 104,741.50 บาท คาพันธุพืช จํานวน 176,147.50 บาท คาจางแรงงานเตรียมดิน 175,396 บาท คาจางแรงงานดูแลรักษา 185,520 บาท คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว จํานวน 518,972 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 51,980.50 บาท คาจางแรงงานปลูก 118,026.50 บาท คาซอมเครื่องมืออุปกรณ จํานวน 25,363.50 บาท คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร จํานวน 113,368 บาท คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ จํานวน 202,498 บาท

การทําการประมงและเลี้ยงโคขุนจะมีตนทุนเทากันทุกป ดังนี้คาพันธุปลานิล 2,000 ตัวๆละ 0.20 บาท จํานวน 400 บาท คาพันธุโค จํานวน 98,000 บาท คาอาหารสัตว จํานวน 12,314 บาท คาจางแรงงานเตรียมสระ/จับปลา จํานวน 700 บาท คาปูนขาว จํานวน 250 บาท คากอสรางคอกสัตว จํานวน 18,000 บาท คาน้ํามัน / คาไฟฟา 2,735 บาท และคายารักษาโรคสัตว จํานวน 2,000 บาท

Page 92: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

80

ตนทุนเกษตรทฤษฎีใหม

-500,000.00

1,000,000.001,500,000.002,000,000.002,500,000.00

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ป

บาท

ภาพที่ 5.4 ตนทุนการเกษตรทฤษฎีใหมทั้งหมด

ตารางที่ 5.18 ตนทุนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม

หนวย: บาท ตนทุนการเกษตร ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5

คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาพันธุสัตว คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาอาหารสัตว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ คากอสรางคอกสัตว คาปูนขาว คายารักษาโรคสัตว คาแรงงานเตรียมสระ/จับ

161,385.5 45,521

111,866 98,400

108,468 141,750.5 344,095.5

12,314 15,862.5

75,084 5,378.5

312,821.5 222,950

9,700 250

2,000 700

169,486.5 51,704

106,970 98,400

121,511 171,820.5

423,526 12,314

16,175.5 79,375.5 10,602.5

123,250.5 191,295

9,700 250

2,000 700

176,765 68,241

133,334 98,400

126,611 177,904.5 430,136.5

12,314 20,769.5 86,416.5 15,605.5 97,027.5 140,646

9,700 250

2,000 700

174,714 71,897.5 136,928

98,400 133,241.5

138,592 433,848

12,314 25,416.5 92,415.5 17,933.5

96,592 162,427.5

9,700 250

2,000 700

180,425.5 74,510

164,579 98,400

139,694 135,374.5 448,001.5

12,314 34,899.5

96,608 16,831.5

130,671.5 166,434.5

9,700 250

2,000 700

รวมตนทุนการเกษตร 1,658,547 1,579,081 1,620,381 1,597,370 1,701,393.5 มูลคาปจจุบันของตนทุนณ อัตราคิดลดรอยละ 10

1,507,770.15 1,305,025.17 1,217,416.6 1,091,024.5 1,056,430.9

Page 93: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

81

ตารางที่ 5.18 (ตอ) หนวย: บาท

ตนทุนการเกษตร ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 คาปุยเคมี/ปุยคอก/ฮอรโมน คายาปราบศัตรูพืช/แมลง คาพันธุพืช คาพันธุสัตว คาจางแรงงานเตรียมดิน คาจางแรงงานดูแลรักษา คาจางแรงงานเก็บเกี่ยว คาอาหารสัตว คาน้ํามัน / คาไฟฟา คาจางแรงงานปลูก คาซอมเครื่องมืออุปกรณ คาเครื่องมืออุปกรณการเกษตร คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ คากอสรางคอกสัตว คาปูนขาว คายารักษาโรคสัตว คาแรงงานเตรียมสระ/จับ

180,130.5 73,165

163,798 98,400

142,750 146,285

499,294.5 12,314

35,779.5 98,862.5

16,128 120,589

216,605.5 9,700

250 2,000

700

205,314.5 92,469.5 157,059

98,400 144,189

152,385.5 420,548

12,314 38,220.5

95,497 19,952 88,866

216,256.5 9,700

250 2,000

700

196,270 82,463.5 132,867

98,400 138,619

175,769.5 392,686

12,314 44,787.5 84,584.5 17,849.5 61,282.5 201,596

9,700 250

2,000 700

241,132 96,673.5

155,730.5 98,400

163,290.5 198,748

486,993.5 12,314

48,723.5 105,639.5

21,637 74,595

167,705 9,700

250 2,000

700

260,566 104,741.5 176,147.5

98,400 175,396 184,920 518,972

12,314 54,715.5

118,026.5 25,637.5 113,368 202,498

9,700 250

2,000 700

รวมตนทุนการเกษตร 1,806,752.5 1,744,121.5 1,642,146 1,870,232 2,048,952.5 มูลคาปจจุบันของตนทุน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10

1,019,864.81 895,009.9 766,072.6 793,161.65 789,959.29

Page 94: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

82

1.2.3 ผลตอบแทนทางดานการเงินของการเกษตรทฤษฎีใหม ตามตารางที่ 5.19 พบวา ในปที่ 1 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,325,237 บาท

โดยเปนรายไดจากการปลูกขาว จํานวน 149820 บาท การปลูกออย จํานวน 670670 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 159,936 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 188,331 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ปที่ 2 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,439,573 บาท โดยเปนรายไดจากการปลกูขาว จํานวน 157,625 บาท การปลูกออย จํานวน 803,344 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 150,444 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 171,680 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ปที่ 3 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,796,984 บาท โดยเปนรายไดจากการปลกูขาว จํานวน 150,528 บาท การปลูกออย จํานวน 1,129,258 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 168,572 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 192,146 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ปที่ 4 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,650,864.50 บาท โดยเปนรายไดจากการปลูกขาว จํานวน 150,920 บาท การปลูกออย จํานวน 983,317.50 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 169,911 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 190,236 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ปที่ 5 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,852,556 บาท โดยเปนรายไดจากการปลกูขาว จํานวน 187,695 บาท การปลูกออย จํานวน 1,113,406 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 203,400บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 191,575 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ปที่ 6 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 2,074,005.50 บาท โดยเปนรายไดจากการปลูกขาว จํานวน 192,153 บาท การปลูกออย จํานวน 1,225,407.50 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 286,755 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 213,210 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ปที่ 7 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 2,100,927 บาท โดยเปนรายไดจากการปลกูขาว จํานวน 219,240 บาท การปลูกออย จํานวน 1,171,430 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 287,091 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 266,686 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

Page 95: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

83

ปที่ 8 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 1,899,588.50 บาท โดยเปนรายไดจากการปลูกขาว จํานวน 251,520 บาท การปลูกออย จํานวน 957,127.50 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 259,520 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 274,941 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ปที่ 9 มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 2,158,528 บาท โดยเปนรายไดจากการปลกูขาว จํานวน 269,027 บาท การปลูกออย จํานวน 1,086,340 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 365,617 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 281,064 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ปที่ 10 มีรายไดรวมท้ังสิ้น จํานวน 2,484,283 บาท โดยเปนรายไดจากการปลูกขาว จํานวน 273,406 บาท การปลูกออย จํานวน 1,338,504 บาท การปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 414,180 บาท การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 301,713 บาท การเลี้ยงโคขุน จํานวน 152,340 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 4,140 บาท

ตนทุนและผลตอบแทนเกษตรทฤษฎีใหม

-

1,000,000.00

2,000,000.00

3,000,000.00

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ป

รายได(บาท)

ตนทุน

ผลตอบแทน

ภาพที่ 5.5 ตนทุนและผลตอบแทนการเกษตรทฤษฎีใหมทั้งหมด

Page 96: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

84

ตารางที่ 5.19 ผลตอบแทนทั้งหมดทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม หนวย: บาท

ผลตอบแทน 1/ ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 ขาวนาป ออย มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว โคขุน สัตวน้ํา

149,820 670,670 159,936 188,331 152,340

4,140

157,625 803,344 150,444 171,680 152,340

4,140

150,528 1,129,258

168,572 192,146 152,340

4,140

150,920 983,317.5

169,911 190,236 152,340

4,140

187,695 1,113,406

198,525 191,575 152,340

4,140 รวมผลตอบแทนทางการเกษตร 1,325,237 1,439,573 1,796,984 1,650,864.5 1,852,556 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10

1,204,761.02 1,189,729.34 1,350,101.03 1,127,561.91 1,150,290.92

ผลตอบแทน 1/ ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 ขาวนาป ออย มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว โคขุน สัตวน้ํา

192,153 1,225,407.5

251,790 213,210 152,340

4,140

219,240 1,171,430

287,091 266,686 152,340

4,140

251,520 957,127.5

241,200 274,941 152,340

4,140

269,027 1,086,340

365,617 281,064 152,340

4,140

273,406 1,338,504

414,180 301,713 152,340

4,140 รวมผลตอบแทนทางการเกษตร 2,074,005.5 2,100,927 1,899,588.5 2,158,528 2,484,283 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10

1,170,722.18 1,078,107.5 886,171.33 915,427.41 957,797.92

หมายเหตุ : 1/ ผลตอบแทนการผลิตการเกษตรทฤษฎีใหมไดจากนําตารางที่ 5.20 คูณกับ พ้ืนที่ดําเนินการ คือ ขาว 100 ไร ออย 250 ไร มันสําปะหลัง 100 ไร ขาวโพดเลี้ยงสัตว 100 ไร โคขุน 20 ตัว และเลี้ยงปลา 1 บอ

Page 97: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

85

ตารางที่ 5.20 ผลตอบแทนตอหนวยทางการเงินของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม หนวย: บาท

ผลตอบแทน ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 ขาวนาป ผลผลิต กก./ไร ราคาขาย กก./บาท ออย ผลผลิต กก./ไร ราคาขาย กก./บาท มันสําปะหลัง ผลผลิต กก./ไร ราคาขาย กก./บาท ขาวโพดเลี้ยงสัตว ผลผลิต กก./ไร ราคาขาย กก./บาท โคขุน สัตวน้ํา

330 4.54

7,370

364

2,352 0.68

439 4.29

7,617 4,140

325 4.85

8,732

368

2,388 0.63

464 3.70

7,617 4,140

336 4.48

8,788

514

2,479 0.68

503 3.82

7,617 4,140

343 4.40

9,042

435

2,697 0.63

498 3.82

7,617 4,140

387 4.85

9,496

469

2,647 0.75

485 3.95

7,617 4,140

ผลตอบแทน ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 ขาวนาป ผลผลิต กก./ไร ราคาขาย กก./บาท ออย ผลผลิต กก./ไร ราคาขาย กก./บาท มันสําปะหลัง ผลผลิต กก./ไร ราคาขาย กก./บาท ขาวโพดเลี้ยงสัตว ผลผลิต กก./ไร ราคาขาย กก./บาท โคขุน สัตวน้ํา

379 5.07

10,429

470

2,398 1.05

515 4.14

7,617 4,140

406 5.40

9,011

520

3,087 0.93

602 4.43

7,617 4,140

393 6.40

7,434

515

3,015 0.80

599 4.59

7,617 4,140

407 6.61

7,492

580

2,749 1.33

588 4.78

7,617 4,140

413 6.62

7,782

688

3,186 1.30

617 4.89

7,617 4,140

Page 98: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

86

2. การเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนทางดานการเงินของการทําการเกษตร แบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม

จากการศึกษาไดเปรียบเทียบตนทุนการผลิตและผลตอบแทนของการทําการเกษตร

แบบเดิมและการทําการเกษตรทฤษฎีใหม ตามตารางที่ 5.21 พบวาการทําการเกษตรแบบเดิม มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยปละ 2,348,502.80 บาท สูงกวาการทําการเกษตรทฤษฎีใหมที่มีตนทุนเฉลี่ยปละ 1,727,306 บาท ขณะเดียวกันการทําการเกษตรแบบเดิมมีผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยปละ 113,314.18 บาท นอยกวาผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยของการทําการเกษตรทฤษฎีใหมซ่ึงไดปละ 2151,356.95 บาท เพราะเมื่อเกษตรกรไดรับการสนับสนุนสระน้ําเพื่อการเกษตรจากสวนราชการทําใหเกษตรกรปรับเปล่ียนการใชประโยชนในที่ดิน โดยเพิ่มการปลูกขาว 100 ไร มันสําปะหลัง 100 ไร ขาวโพดเล้ียงสัตว 100 ไร และลดการปลูกออยเหลือเพียง 250 ไร ทําใหตนทุนลดลงและผลตอบแทนมากขึ้น โดยการทําการเกษตรแบบเดิมมีผลตอบแทนรอยละ 4.83 ของตนทุน ในขณะที่การทําการเกษตรทฤษฎีใหม มีผลตอบแทนรอยละ 8.77 ของตนทุน ทําใหการเกษตรทฤษฎีใหมมีความคุมคาในการลงทุนมากกวาการทําการเกษตรแบบเดิม ตามตารางที่ 5.21 ตารางที่ 5.21 การเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนทางดานการเงินของการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิม

และเกษตรทฤษฎีใหม

รายการ ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 เกษตรแบบเดิม ตนทุนทั้งหมด มูลคาปจจุบันของตนทุน ผลตอบแทนทั้งหมด มูลคาปจจุบันของผลตอบแทน

2,212,875

2,011,704.75 1,631,954

1,483,594.7

2,173,561 1,796,330

1,923,836.8 1,589,947.22

2,246,051

1,687,491.81 2,640,847.5

1,984,108.34

2,183,197

1,491,151.93 2,319,778.5

1,584,438.87

2,324,486.5

1,443,322.48 2,605,973.2

1,618,103.49 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทนสุทธิ -528,110.05 -206,383.57 296,616.53 93,286.94 174,781 เกษตรทฤษฎีใหม ตนทุนทั้งหมด มูลคาปจจุบันของตนทุน ผลตอบแทนทั้งหมด มูลคาปจจุบันของผลตอบแทน

1,658,547 1,507,770 1,325,237

1,204,761.03

1,579,081

1,305,025.18 1,439,573

1,189,729.35

1,620,381

1,217,416.55 1,796,984

1,350,101.03

1,597,370

1,091,024.5 1,650,864.5

1,127,561.91

1,701,393.5

1,056,430.95 1,852,556

1,150,290.92 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทนสุทธิ -303,009.12 -115,295.83 132,684.48 36,537.44 93,859.97

Page 99: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

87

ตารางที่ 5.21 (ตอ)

รายการ ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10 เกษตรแบบเดิม ตนทุนทั้งหมด มูลคาปจจุบันของตนทุน ผลตอบแทนทั้งหมด มูลคาปจจุบันของผลตอบแทน

2,590,664.5

1,462,362.75 2,852,376.5

1,610,092.37

2,403,488.5

1,233,369.35 2,733,626

1,402,782.05

2,159,019

1,007,197.48 2,262,160.5 1,055,313.7

2,483,530

1,053,260.1 2,546,428

1,079,935.02

2,708,155.5 1,044,110.4 3,101,188.8

1,195,641.63 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทนสุทธิ 147,729.62 169,412.7 48,116.23 26,674.92 151,531.24 เกษตรทฤษฎีใหม ตนทุนทั้งหมด มูลคาปจจุบันของตนทุน ผลตอบแทนทั้งหมด มูลคาปจจุบันของผลตอบแทน

1,806,752.5

1,019,864.81 2,074,005.5

1,170,722.18

1,744,121.5

895,009.9 2,100,927

1,078,107.5

1,642,146 766,072.6

1,899,588.5 886,171.33

1,870,232

793,161.65 2,158,528

915,427.41

2,048,952.5

789,959.3 2,484,283

957,797.92 มูลคาปจจุบันของผลตอบแทนสุทธิ 150,857.37 183,097.6 120,098.73 122,265.76 167,838.63

3. ผลการวิเคราะหความเปนไปไดทางการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม

สรุปผลวิเคราะหตามตารางที่ 5.22 พบวา การดําเนินการเกษตรแบบเดิมมีกิจกรรม คือ

ปลูกออย 550 ไร เล้ียงโคขุน 20 ตัว และเลี้ยงปลานิล 1 บอ มีมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) เทากับ 216,996.08 บาท อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน (BCR) เทากับ 1.02 และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) เทากับ 16.68 แสดงใหเห็นวาการดําเนินการเกษตรแบบเดิม มีความเหมาะสมในการลงทุนดานการเงิน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10 จากมูลคาปจจุบันสุทธิที่มีคามากกวาศูนย ซ่ึงผลตอบแทนในอนาคตเมื่อคิดลดเปนมูลคาปจจุบันแลวยังมีคามากกวาตนทุน และอัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน มีคามากกวา 1 กลาวคือการลงทุน 1 บาท ทําใหไดรับผลตอบแทนเทากับ 1.02 บาท และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการมีคา 16.68 ซ่ึงมีคามากกวาอัตราคิดลดหรือคาเสียโอกาสของเงินลงทุน

สวนการดําเนินการเกษตรทฤษฎีใหมมีกิจกรรม คือ ปลูกขาว100 ไร ปลูกออย 250 ไร ปลูกมันสําปะหลัง 100 ไร ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว 100 ไร เล้ียงโคขุน 20 ตัว และเลี้ยงปลานิล 1 บอ มีมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) เทากับ 601,229.43 บาท อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน (BCR) เทากับ 1.06 และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) เทากับ 30.78 แสดงใหเห็นวาการ

Page 100: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

88

ดําเนินการเกษตรทฤษฎีใหม มีความเหมาะสมในการลงทุนดานการเงิน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10 จากมูลคาปจจุบันสุทธิที่มีคามากกวาศูนย ซ่ึงผลตอบแทนในอนาคตเมื่อคิดลดเปนมูลคาปจจุบันแลวยังมีคามากกวาตนทุน และอัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน มีคามากกวา 1 กลาวคือการลงทุน 1 บาท ทําใหไดรับผลตอบแทนเทากับ 1.06 บาท และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการมีคา 30.78 ซ่ึงมีคามากกวาอัตราคิดลดหรือคาเสียโอกาสของเงินลงทุน

จะเห็นไดวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหมมีความคุมคามากกวาการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิม เนื่องจากมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) ของการดําเนินเกษตรทฤษฎีใหมมีมูลคามากกวาการดําเนินการเกษตรแบบเดิม และอัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน (BCR) ของการดําเนินเกษตรทฤษฎีใหมก็มีผลตอบแทนที่มากกวา อีกทั้งและอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) ของการดําเนินเกษตรทฤษฎีใหมก็มีผลตอบแทนที่สูงกวา ตารางที่ 5.22 การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนทางดานการเงินของการจัดทําเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหม

รายการ การทําเกษตรแบบเดิม การทําเกษตรทฤษฎีใหม มูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) 216,996.08 601,229.43 อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน (BCR) 1.02 1.06 อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) 16.68 30.78

4. การใชจายนอกภาคการเกษตรหลังทําการเกษตรทฤษฎีใหม

ผลการทําการเกษตรทฤษฎีใหมตอการใชจายในครัวเรือนนอกการเกษตรที่เปนเงินสดของครัวเรือนกอนและหลังการทําการเกษตรทฤษฎีใหม พบวากอนทําการเกษตรทฤษฎีใหม ครัวเรือนเกษตรมีรายจายนอกการเกษตรที่เปนคาอาหารประจําวัน คาของใชสวนตัว และคาใชจายตางๆ ในการดํารงชีพประจําวัน จํานวน 15,633.09 บาท สวนใหญเปนคาใชจายดานการศึกษาของบุคคลในครัวเรือน ขาวสาร อาหารและอาหารสําเร็จรูป/ผลิตภัณฑสําหรับปรุงรสอาหาร หลังทําการเกษตรทฤษฎีใหม มีคาใชจายนอกการเกษตร จํานวน 12,093.16 บาท ลดลง 2,539.93 บาทคิดเปนรอยละ 21 โดยคาใชจายที่ลดลงเปนขาวสาร อาหารดานพืชผัก เนื่องจากเกษตรกรไดปรับเปลี่ยนการผลิตโดยเพิ่มการปลูกขาว ทําใหไมตองซื้อขาวสารเพื่อบริโภคในครัวเรือน มีการปลูกพืชผักบางชนิดทําใหเกษตรกรลดคาใชจายลง แตมีรายจายดานการติดตอส่ือสาร/การเดินทาง และการศึกษาเพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่อเกษตรกรลดคาใชจายบางอยางลง ทําใหมีรายไดเพิ่มขึ้น สามารถเปนคาใชจายในการศึกษาเพิ่มขึ้นได (ตารางที่ 5.23)

Page 101: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

89

ตารางที่ 5.23 รายจายนอกการเกษตรที่เปนเงินสดของครัวเรือนตอเดือนกอนและหลังทําการเกษตรทฤษฎีใหม

หนวย : บาท

รายการ กอนทําทฤษฎใีหม หลังทําทฤษฎีใหม 1. คาขาวสาร 2. พืชผัก 3. เนื้อสัตว 4. สัตวน้ํา 5. ผลไม 6. เครื่องดื่มไมมีอัลกอฮอล 7. อาหารสําเร็จรูป/ผลิตภัณฑสําหรับปรุงรสอาหาร 8. คาเสื้อผา/เครื่องนุงหม 9. คาเสริมสวย (สบู/ ยาสีฟน/ แชมพู)

10. คาใชจายเพื่อการศึกษา 11. คารักษาพยาบาล 12. คาใชจายในการติดตอส่ือสาร/ เดินทาง

1,450 744.67

1,686.88 576.58 863.34

605 1,435 1,050

1,358.34 2,096.67

391.67 1,243.34

453.53 331.34 801.75 258.18 266.67

579 1,200 1,400

480.95 3,348

500 1,440.40

13. คาบุหร่ี/ ยาสูบ/ เครื่องดื่มอัลกอฮอล 1,131.60 933.34 รวม 14,633.09 12,093.16

Page 102: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ

การศึกษาเปรียบเทียบดานการเงินของเกษตรกรที่ทําการเกษตรแบบเดิมและทํา

การเกษตรทฤษฎีใหม รวมทั้งทัศนคติ ปญหาและอุปสรรคของโครงการเกษตรทฤษฎีใหม เพื่อใชเปนแนวทางในการสนับสนุนแกเกษตรกรที่จะตัดสินใจเลือกดําเนินเกษตรทฤษฎีใหม โดยมีจุดมุงหมายคือการสรางความพอเพียง การสรางความมั่นคงทางดานอาหารและรายได และการพัฒนาตนเองใหสามารถพึงพาตนเองได และเพื่อเปนแนวทางใหผูที่เกี่ยวของแกไข ปรับปรุงรูปแบบโครงการใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ตอไป

1. สรุปผลการวิจัย

1.1 วัตถุประสงคการวิจัย 1.1.1 เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปของเกษตรกรที่เขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม

ในจังหวัดกาญจนบุรี 1.1.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบดานการเงินของการทําการเกษตรแบบเดิมและเกษตร

ทฤษฎีใหมในจังหวัดกาญจนบุรี 1.2 วิธีการดําเนินการวิจัย

การวิจัยโดย ศึกษาขอมูลจากการเกษตรกรรวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในจังหวัดกาญจนบุรี กลุม 1 และ 2 จํานวนทั้งสิ้น 40 คน ใชขอมูลจากการดําเนินกิจกรรมการเกษตรแบบเดิมและเกษตรทฤษฎีใหมเปนเวลา 10 ป นับตั้งแตป พ.ศ.2542 - 2548 สวนป พ.ศ. 2549 - 2550 ใชขอมูลการพยากรณการเกษตรของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เครื่องมือการวิจัยใชแบบสัมภาษณเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณเกษตรกรพรอมขอมูลที่เกษตรกรบันทึกตามเงื่อนไข (บัญชีฟารม) นอกจากนี้ยังคนควาจากหนังสือ วารสาร รายงานเอกสารวิชาการและรายงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษา วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป

Page 103: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

91

1.3 ผลการวิจัย ผลการวิจัยพบวาครัวเรือนเกษตรกรมีสมาชิกโดยเฉลี่ย 5.1 คนตอครัวเรือน เปน

เพศชายเฉลี่ย 2.34 คน เพศหญิงเฉลี่ย 2.76 คน โดยหัวหนาครัวเรือนที่มีอายุนอยกวา 60 ป จํานวน 29 ครัวเรือน และมากกวา 60 ป จํานวน 11 ครัวเรือน จัดเปนแรงงานในภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.62 คนและเปนแรงงานนอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 2 คน และระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือนทั้งหมดไดรับการศึกษาระหวางประถมศึกษา 1-4

พื้นที่ถือครองเกษตรกรมีพื้นที่ถือครองเฉลี่ยครัวเรือนละ 25.59 ไร เปนพื้นที่ทํานาขาวเฉลี่ยครัวเรือนละ 9.07 ไร พื้นที่ปลูกพืชไรและไมผลเฉลี่ยครัวเรือนละ 13.02ไร พื้นที่แหลงน้ําเฉลี่ยครัวเรือนละ 1.95 ไร และพื้นที่ที่อยูอาศัยและโรงเรือนเล้ียงสัตวเฉลี่ยครัวเรือนละ 1.55 ไร

รูปแบบกิจกรรมในฟารมจะมีลักษณะเหมือนกันคือ มีการปลูกพืชผสมผสานหลายประเภทในฟารมซึ่งเปนกิจกรรมที่เกื้อกูลกัน กิจกรรมหลักคือนาขาว พืชไร และการเลี้ยงสัตว โดยเกษตรกรมีแหลงเงินทุนในการทําการเกษตรสวนใหญจะกูยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรหรือ ธ.ก.ส เนื่องจากเกษตรกรไมมีเงินทุนสํารอง และเกษตรกรสวนใหญมีปญหาดานแหลงน้ําเพื่อการเกษตร ความยากจน ซ่ึงเปนปญหาสําคัญที่ทําใหเกษตรกรตัดสินใจเขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม

ดานภาวะสุขภาพรางกายและจิตใจของเกษตรกร พบวาสวนใหญเกษตรกรไมมีการเปลี่ยนแปลงดานสุขภาพรางกายและจิตใจที่ชัดเจนวาเกิดจากการทําการเกษตรทฤษฎีใหม และมีบางสวนที่เห็นวาสุขภาพรางกายและจิตใจดีขึ้นเนื่องจากมีการปลูกตนไมเพิ่มเติม เชน ไมผลตางๆ ทําใหรูสึกสบายใจและภาคภูมิใจกับผลผลิตที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

สรุปไดวา เกษตรกรที่ทําการเกษตรทฤษฎีใหมเปนเกษตรกรที่ใหความสําคัญกับการดํารงชีวิตอยางพอเพียง ความพอใจหรือความชอบในการเกษตรแนวทฤษฎีใหม และเกษตรกรตองการใหหนวยงานราชการชวยเหลือในการจัดทําเกษตรทฤษฎีใหม โดยเฉพาะแหลงน้ําซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดในการทําเกษตรกรรม เงินทุนรวมทั้งปจจัยอ่ืนๆ

ผลตอบแทนทางการเงินของเกษตรกรตัวอยาง พบวาการทําการเกษตรแบบเดิมซึ่งจะประกอบดวยรายไดจากผลผลิตทางการเกษตร 3 รายการไดแก การปลูกออย การเลี้ยงโคขุน และการเลี้ยงปลานิล เกษตรกร มีรายไดรวมทั้งสิ้น 24,618,169.80 บาท โดยเปนรายไดจากการปลูกออย จํานวน 23,053,369.80 บาท โคขุน จํานวน 1,523,400 บาท และปลานิล จํานวน 41,400 บาท ขณะเดียวกันมีรายจายรวมทั้งสิ้น 23,485,028 บาท เปนรายจายจากการปลูกออย จํานวน 22,324,038 บาท รายจายจากการเลี้ยงโคขุน จํานวน 1,123,400 บาท รายจายจากการเลี้ยงปลานิล จํานวน 37,590 บาท

Page 104: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

92

สวนผลตอบแทนทางการเงินของเกษตรกรตัวอยางของการทําการเกษตรทฤษฎีใหม ประกอบดวยรายไดจากผลผลิตทางการเกษตร 6 รายการไดแก ขาว ออย มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว การเลี้ยงโคขุน และการเลี้ยงปลานิล โดยมีรายไดรวมทั้งสิ้น 17,268,977 บาท เกษตรกรจะมีรายไดจากกิจกรรมการปลูกออยมากที่สุด จํานวน 10,478,804.50 บาท คิดเปนรอยละ 55.79 รองลงมาเปนการปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 2,465,426 บาท คิดเปนรอยละ 13.13 ขาวโพดเล้ียงสัตว จํานวน 2,271,582 บาท คิดเปนรอยละ 12.10 ขาว 2,001,934 บาท คิดเปนรอยละ 10.66 โคขุน จํานวน 1,523,400 บาท และการเลี้ยงปลานิล จํานวน 41,400 บาท และมีรายจายรวมทั้งสิ้น 17,268,977 บาท โดยเปนรายจายจากการปลูกออยมากที่สุด จํานวน 10,143,290 บาท รองลงมาเปนรายจายจากการปลูกมันสําปะหลัง 2,150,383 บาท ขาวโพดเลี้ยงสัตว จํานวน 2,075,474 บาท และขาว จํานวน 1,738,840บาท สวนรายจายจากการเลี้ยงโคขุนและเลี้ยงปลานิลจะมีรายจายเทากันกับการทําการเกษตรแบบเดิม

แสดงใหเห็นวาผลตอบแทนจากการทําการเกษตรทฤษฎีใหมจะใหผลตอบแทนคุมคามากกวา ถึงแมวาการทําการเกษตรแบบเดิมจะมีรายไดมากกวาแตก็มีตนทุนมากเชนกัน คือมีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 23,485,028 บาท มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 24,618,170 บาท และมีรายไดสุทธิเทากับ 1,133,141.80 บาท โดยมีรายไดคิดเปนรอยละ 4.83 ของตนทุนการผลิต สวนการทําการเกษตรทฤษฎีใหมมีตนทุนรวมทั้งสิ้น จํานวน 17,268,977 บาท มีรายไดรวมทั้งสิ้น จํานวน 18,782,546.50 บาท และมีรายไดสุทธิเทากับ 1,513,569.50 บาท มีรายไดคิดเปนรอยละ 8.77 ของตนทุนการผลิต ซ่ึงจะเห็นไดวาการทําการเกษตรแบบเดิมแมวาจะมีรายไดสูงกวาการทําการเกษตรทฤษฎีใหม แตก็มีรายจายสูงเชนกัน และการทําการเกษตรทฤษฎีใหมมีสัดสวนผลตอบแทนสูงกวาการทําการเกษตรแบบเดิม และเนื่องจากการทําการเกษตรทฤษฎีใหมมีการผลิตที่หลากหลาย ทําใหสามารถลดความเสี่ยงดานราคาของผลผลิตในกรณีที่ผลผลิตตกต่ํา สวนการทําการประมงจะเปนการเลี้ยงในลักษณะเลี้ยงตามธรรมชาติ จํานวนนอยเพียงพอกินเทานั้น

ผลการศึกษาตนทุนและผลตอบแทนดานการเงิน โดยการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนใชอัตราคิดลดรอยละ 10 พบวาของการทําการเกษตรแบบเดิม มีมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) เทากับ 216,996.08 บาท อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน (BCR) เทากับ 1.02 และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) มีคามากกวารอยละ 16.68 แสดงใหเห็นวาการทําการเกษตรแบบเดิมมีความเหมาะสมในการลงทุนดานการเงิน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10

Page 105: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

93

สวนการทําการเกษตรทฤษฎีใหม มีมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) เทากับ 601,229.43 บาท อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน (BCR) เทากับ 1.06 และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) มีคามากกวารอยละ 30.78 แสดงใหเห็นวาการทําการเกษตรทฤษฎีใหมก็มีความเหมาะสมในการลงทุนดานการเงิน ณ อัตราคิดลดรอยละ 10 เชนกัน

แตเมื่อเปรียบเทียบการทําการเกษตรแบบเดิมกับการทําการเกษตรทฤษฎีใหม พบวาการทําการเกษตรแบบเดิม มีความคุมคาทางดานการเงินนอยกวาการทําการเกษตรทฤษฎีใหม เนื่องจากการทําการเกษตรทฤษฎีใหมมีกิจกรรมการผลิตที่หลากหลาย สามารถลดภาระความเสี่ยงจากราคาผลผลิตตกต่ําได ทําใหสามารถชวยเหลือตัวเองได เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา

2. ขอเสนอแนะ

จากการวิจัยเร่ืองโครงการเกษตรทฤษฎีใหม กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี มีขอควรนํามาพิจารณาเสนอแนะดังตอไปนี้

2.1 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 2.1.1 จากผลการการศึกษาตนทุนและผลตอบแทนดานการเงิน ของการทํา

การเกษตรทฤษฎีใหม ซ่ึงมีคาปจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุน (BCR) และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) มีคามาก แสดงใหเห็นวาการทําการเกษตรทฤษฎีใหมมีความเหมาะสมในการลงทุน รัฐบาลควรสนับสนุนใหเกษตรกรมีการผลิตตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหมใหมากขึ้น โดยมุงเนนใหเกษตรกรรายยอยที่ตองการผลิตเพื่อใหครัวเรือนสามารถพึ่งพาตนเองได และใหมีการดําเนินการอยางจริงจังโดยผานกลุมเกษตรกร

2.1.2 การคัดเลือกเกษตรกรเกษตรกรเขารวมโครงการตางๆ ของรัฐบาล ที่จะสงเสริมหรือสนับสนุนใหแกเกษตรกรเพื่อใหโครงการเกิดประโยชนสูงสุดควรมีการคัดเลือกเกษตรกรเปาหมายหรือบุคคลเปาหมายที่ชัดเจนโดยเฉพาะความเต็มใจ ความพอใจที่จะเขารวมโครงการ ซ่ึงจากการสอบถามเกษตรกรปจจัยที่ชวยใหการดําเนินกิจกรรมการเกษตรประสบผลสําเร็จ คือความตั้งใจ ความขยันหมั่นเพียรของเกษตรกร โดยเฉพาะโครงการเกษตรทฤษฎีใหมซ่ึงอยูในชวงการศึกษาทดลองหาขอมูลในพื้นที่ การคัดเลือกเกษตรกรที่ตั้งใจ ขยันหมั่นเพียรจะชวยใหไดขอมูลที่เหมาะสม

Page 106: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

94

2.2 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยคร้ังตอไป 2.2.1 ในการการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาทางดานการเงิน การศึกษาจึงพิจารณา

เฉพาะตนทุนและผลตอบแทนที่เปนเงินสดเทานั้น ยังไมไดศึกษาดานเศรษฐกิจที่เนนมองภาพรวมของสังคม ผลตอบแทนที่ไมเปนตัวเงินไมไดมีการพิจารณา เชน การมีอาหารบริโภคในครัวเรือนอยางพอเพียง และสุขภาพของเกษตรกร การศึกษาครั้งตอไปควรมีการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทนทางดานสังคมเพื่อใหการศึกษามีความสมบูรณมากขึ้น

2.2.2 การเกื้อกูลกันของกิจกรรม ในการศึกษาครั้งนี้ไมไดมีการพิจารณาการเกื้อกูลกันของกิจกรรมตางๆ ในฟารม ซ่ึงมีความสําคัญมากสําหรับการพิจารณาดานตนทุนการผลิตของกิจกรรมที่มีการเกื้อกูลกัน เชน ปุยคอกสําหรับพืชที่ไดจากกิจกรรมการเลี้ยงสัตว ซ่ึงในการศึกษาครั้งตอไปควรจะมีการพิจารณาดวย

Page 107: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

บรรณานุกรม

Page 108: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

96

บรรณานุกรม

ภาษาอังกฤษ

Gittinger J.P (1982) Economic Analysis of AgriculturalProject Battimore The John Hopkins University

ภาษาไทย

กรมพัฒนาที่ดิน (2549) ประมวลคําในพระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดลุยเดช กรุงเทพมหานคร สํานักงานสารสนเทศ

กรมสงเสริมการเกษตร (2542) ไรนาสวนผสมตามแนวทฤษฎีใหม กรุงเทพมหานคร สํานักงานสารนิเทศ

จุไร ทัพวงษ (2547) การวิเคราะหและประเมินโครงการ กรุงเทพมหานคร โรงพิมพเรือนแกวการพิมพ

จุฑามาศ บาระมีชัย การเสริมสรางความรูความเขาใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดําริกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 จัดโดยสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ วันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2549

ชนวน รัตนวราหะ (2534) เกษตรกรรมยั่งยืน กรุงเทพมหานคร

ลลิดา ปรีดากรณ (2537) "การวิเคราะหความเปนไปไดทางเศรษฐกิจและการเงินของโครงการจัดทําไรนาสวนผสม อําเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี" วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (2541) ทฤษฎีใหมมุมมองพัฒนาการเศรษฐกิจ เอกสารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ กรุงเทพมหานคร คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ

…………..... (2541) ผลการประเมินผลการเกษตรน้ําฝนทฤษฎีใหม อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ เอกสารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ กรุงเทพมหานคร คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ

Page 109: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

97

สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี (2542) ขอมูลพื้นฐานทั่วไปของเกษตรกร กาญจนบุรี สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี

สํานักงานเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี (2546) ไรนาสวนผสมตามแนวทฤษฎีใหม ในงานสงเสริมการเกษตร กาญจนบุรี งานสงเสริมการเกษตร

สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (2541) คูมือการปฏิบัติงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดําริ กรุงเทพมหานคร สํานักงานปลักกระทรวงเกษตรและสหกรณ

สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงกับการเกษตรทฤษฎีใหม จัดโดยสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ วันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2549

สํานักงานสถิติแหงชาติ (2546) สํามะโนประชากรจังหวัดกาญจนบุรี กรุงเทพมหานคร สํานักงานสถิติพยากรณ

สํานักงานสถิติแหงชาติ (2548) รายงานสถิติจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ.2548 กรุงเทพมหานคร สํานักงานสถิติจังหวัดกาญจนบุรี

Page 110: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

ภาคผนวก

Page 111: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

ภาคผนวก ก การเสริมสรางความรูความเขาใจ ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดําริ

Page 112: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

100

ภาคผนวก ก

การเสริมสรางความรูความเขาใจ ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดาํริ กับแผนพฒันาฯ ฉบับท่ี 10

จุฑามาศ บาระมีชัย สรุปการเสริมสรางความรูความเขาใจ ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ตามแนวพระราชดําริ กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เพื่อประกอบการสัมมนาเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารวานดานการเกษตรและสหกรณ คร้ังที่ 2 เมื่อวันที่ 28 - 29 พฤศจิกายน 2549 ณ กรมพัฒนาที่ดิน

1. กระบวนทรรศนจากแผนฯ 8 สูแผนฯ 10

1.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 - 44) 1.1.1 เร่ิมตนนวัตกรรมทางความคิด “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” 1.1.2 ปรับเปลี่ยนวิธีการมาเปนบูรณาการแบบองครวม 1.1.3 มุงใหคนมีความสุข ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันติสุข ส่ิงแวดลอมยั่งยืน 1.1.4 วางรากฐานการมีสวนรวมของประชาชน

1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 49) 1.2.1 อัญเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญานําทาง 1.2.2 สานตอกระบวนทรรศน การพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวม มีคนเปนศูนยกลาง

การพัฒนา 1.2.3 เนนสังคมเขมแข็ง มีดุลยภาพ เปนสังคมที่มีคุณภาพ มีภูมิปญญาและการเรียนรู

รวมทั้งความสมานฉันทและเอื้ออาทร 1.2.4 มุงสูการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย 1.2.5 สราง / ขยายเครือขายการมีสวนรวม

1.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 54) 1.3.1 เนนการปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.3.2 ยึดกระบวนการพัฒนาตอเนื่องจากแผนฯ 8 และแผนฯ 9 1.3.3 มุงสูสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน 1.3.4 เครือขายภาคีทุกภาคสวน มีสวนรวมทุกขั้นตอน

Page 113: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

101

2. กระบวนทรรศนการพัฒนาที่ปรับเปล่ียนสูความพอเพียง 2.1 ปรับจากมุงพัฒนาเศรษฐกิจ สู คน เปนศูนยกลางความอยูดีมีสุข และยึดคนเปนตัวตั้ง

ประชาชนไดรับประโยชน มีความอยูดีมีสุข 2.2 ปรับวิธีคิดแบบแยกสวนรายสาขา สู องครวมบูรณาการ เชื่อมโยงทุกมิติ และยึดหลัก “ภูมิ

สังคม” ตามความแตกตาง หลากหลายของสภาพแวดลอมทางกายภาพของพื้นที่ กับวิถีชีวิตชุมชน

2.3 ปรับกระบวนการพัฒนาจากบนลงลาง สู กระบวนการพัฒนาจากลางขึ้นบน และเริ่มพัฒนา “ตามลําดับขั้น” ดวยการพึ่งพาตนเอง - รวมกลุม - สรางเครือขาย - เชื่อมสูภายนอก “ระเบิดจากขางใน”

2.4 การอยูรวมกันดวยสันติสุขระหวางคนกับคน ระหวางคนกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

3. แนวคิดพื้นฐานยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3.1 แนวคิดหลัก “ทางสายกลาง” แนวทางการดํารงอยู การปฏิบัติตนในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน รัฐ ในการพัฒนา บริหารประเทศ

3.2 หลักการ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี 3.3 เงื่อนไข ความรอบรู (ความรูในตัวตน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง) คุณธรรม (ซ่ือสัตย

สุจริต) ความเพียร (อดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติ) 3.4 เปาประสงค/ ผลที่ไดรับ เชื่อมโยงวิถีชีวิต / เศรษฐกิจ / สังคม / ส่ิงแวดลอม / การเมือง /

สรางสมดุล / มั่นคง / เปนธรรม / ยั่งยืน / พรอมรับการเปลี่ยนแปลง 4. บริบทการเปล่ียนแปลงตอการปรับตัวของประเทศ

4.1 ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก ศตวรรษแหงเอเชีย การเคลื่อนยายอยางเสรีของสินคา เงินทุน 4.1.1 ดําเนินนโยบายการคาเชิงรุก 4.1.2 ธุรกิจตองปรับตัวแขงขันได 4.1.3 ยกระดับการกํากับดูแล การเคลื่อนยายเงินทุนระหวางประเทศ และบริหารจัดการ

ตลาดการเงิน 4.2 เทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมฐานความรู

4.2.1 สรางองคความรู นวัตกรรม เทคโนโลยีเชิงพาณิชย 4.2.2 สรางโอกาสการเรียนรูใหคนไทยปรับตัวรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง

Page 114: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

102

4.2.3 ประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับจุดแข็งดานวัฒนธรรมและภูมิปญญา 4.3 สังคม สังคมผูสูงอายุ ปญหาการออม การเปลี่ยนแปลงการบริโภค

4.3.1 โอกาสการขยายตลาดสินคาและบริการเพื่อสุขภาพ นําภูมิปญญาทองถ่ินมาสรางคุณคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ

4.3.2 ปองกันความเสี่ยงและแกไขการแพรขยายของวัฒนธรรมตางชาติ ที่กอใหเกิดคานิยมและการบริโภคที่ไมพึงประสงค

4.4 การเคลื่อนยายคนเสรี เคลื่อนยายแรงงานมีความรู ผูประกอบการมากขึ้น 4.4.1 มาตรการกํากับดูแลการเคลื่อนยายแรงงานระหวางประเทศ และผลกระทบที่อาจ

เกิดขึ้น 4.4.2 เตรียมมาตรการรองรับการเคลื่อนยายคนอยางเสรี ที่มีผลกระทบตอความมั่นคงของ

ประเทศ 4.5 ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ภาวะโลกรอน ภัยพิบัติ ระบบนิเวศนและความหลากหลายทาง

ชีวภาพ 4.5.1 ยกระดับมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม และปองกันฐานทรัพยากร รักษาความ

สมดุลของระบบนิเวศน 4.5.2 ปรับรูปแบบการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 4.5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและพัฒนาพลังงานทางเลือก

5. สถานะของประเทศ

5.1 ดานสังคม คุณภาพการศึกษา หลักประกันสุขภาพทั่วถึง คุณธรรม จริยธรรมลดลง เสี่ยงตอความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 5.1.1 ไทยอยูในกลุมที่มีการพฒันาคนระดับกลาง HDI = 0.78 อันดับที่ 73 จาก 177 ประเทศ 5.1.2 ศักยภาพคนไทย ดานการศึกษาเพิ่มสูงขึ้น

- ปการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 6.3 ป (2543) เปน 8.5 ป (2548) - โอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้น อัตราการเขาเรียนเพิ่มทุกระดับมัธยมศึกษาเพิ่ม จาก 49

% (2544) เปน 71.2 % (2548)อุดมศึกษาเพิ่มจาก 40.3 % (2544) เปน 44.3 % (2547) 5.1.3 คนไทยมีสุขภาวะดีขึ้น 96.3 % มีหลักประกันสุขภาพทั่วถึง เจ็บปวยลดลง แตเจ็บปวย

ดวยโรคที่ปองกันไดมากขึ้น และเผชิญปญหาโรคอุบัติใหม โรคระบาดซ้ํา มากขึ้น 5.1.4 กําลังคนระดับสูง กลาง ขาดแคลน การวิจัยพัฒนาอยูในระดับต่ํา ฉุดร้ังการเพิ่มขีด

ความสามารถในการแขงขัน

Page 115: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

103

5.1.5 การคุมครองทางสังคมครอบคลุมมากขึ้น แตแรงงานนอกระบบและกลุมผูดอยโอกาสยังเขาไมถึงระบบประกันสังคม

5.1.6 มีความเสี่ยงดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน การกอความไมสงบในสังคมสูงขึ้น

5.2 ดานเศรษฐกิจ เศรษฐกิจโตตอเนื่อง ฐานการผลิตหลากหลาย พึ่งพาการนําเขาสูง คนจนลดลง 5.2.1 เศรษฐกิจขยายตัวตอเนื่องเฉลี่ย 5.7 % (2545-2548) ไทยเปนประเทศรายไดปานกลาง

ใหญเปนอันดับ 20 จาก 192 ประเทศ 5.2.2 ความสามารถในการแขงขัน จัดโดย IMD ดีขึ้นตอเนื่อง จากอันดับ 31 (2545) เปน 27

(2548) แตลดลงเปนอันดับที่ 32 ในป 2549 จากปจจัยดานเศรษฐกิจ โครงสรางพื้นฐาน และประสิทธิภาพของภาครัฐ

5.2.3 เสถียรภาพเศรษฐกิจอยูในเกณฑดี - อัตราการวางงาน 2 % - หนี้สาธารณะ 46.4 % ของ GDP ต่ํากวาเกณฑ 60 % ของกรอบการคลังยั่งยืน - ทุนสํารองระหวางประเทศ 52.1 bill.$us หรือ 5.9 เดือนของการนําเขา

5.2.4 ความเปนธรรมทางเศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้นชาๆ โดยการกระจายรายไดดีขึ้น ดัชนี GINI ลดลง 0.525 (2543) เปน 0.499 (2547) คนจนลดลงจาก 12.8 ลาน (2543) เปน 7.34 ลาน (2548)

5.3 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ความอุดมสมบูรณระบบนิเวศนเร่ิมเสีย สมดุล คุณภาพสิ่งแวดลอม เสื่อมโทรม 5.3.1 การขาดสมดุลระหวางการใชประโยชนกับการอนุรักษฟนฟู สงผลกระทบใหเกิด

ความเสื่อมโทรม ปญหาภัยธรรมชาติ - พื้นที่ปาไมลดลงเหลือ 33 % ของพื้นที่ประเทศ ต่ํากวาระดับรักษาสมดุลของระบบนิเวศคือ 40 % (ญ่ีปุน 68 % เวียดนาม 40 %)

- ภาวะขาดแคลนน้ํา น้ําจืดเฉลี่ย / คน 3.4 พันลบ.ม. (เอเชีย 3.9 พนัลบ.ม.) - ดินเสื่อมโทรมมากขึ้น มีปญหา 60 % ขยายตัวปละเกือบ 1 ลานไร - ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงลดความอุดมสมบูรณ - ความหลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม สัตว พืชใกลสูญพันธุ 684 ชนิด

Page 116: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

104

5.3.2 คุณภาพสิ่งแวดลอมโดยรวมยังเสื่อมโทรม สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิต - คุณภาพอากาศในเมืองใหญๆ มีฝุนละอองขนาดเล็กเพิ่มขึ้น - ปริมาณกากของเสียมากถึงปละ 22 ลานตัน มีแนวโนมเพิ่มขึ้น - เกิดของเสียอันตรายปละ 1.8 ลานตัน กําจัดไดต่ํากวาครึ่ง

5.3.3 การบริหารจัดการยังแยกสวน 5.4 ดานการบริหารจัดการประเทศ ภาคราชการปรับตัวทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีการกระจาย

อํานาจสูสวนทองถ่ิน ประชาชนมีสวนรวมมากขึ้น 5.4.1 การพัฒนาระบบราชการไปสูความทันสมัย มีประสิทธิภาพกาวหนามากขึ้น คะแนน

เฉลี่ยเพิ่มจาก 2.61 ในป 2546 เปน 3.82 ในป 2546 5.4.2 ประชาชนตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้น การไปใชสิทธิเลือกตั้งสูงถึง 72.6 % ในป 2548

สูงที่สุดตลอดชวงที่ผานมา 5.4.3 ความโปรงใสในการบริหารจัดการภาครัฐดีขึ้น ดัชนีภาพลักษณคอรรัปชั่น (CPI)

เพิ่มขึ้นจาก 3.2 ในป 2545 เปน 3.6 ในป 2549 6. ทิศทางการเสริมสรางทุนประเทศสูความยั่งยืน

6.1 พึ่งตนเอง สรางภูมิคุมกัน ใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสูสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน

6.2 มุงนําทุนที่มีอยูในสังคมไทย มาใชใหเกิดประโยชนและเสริมสรางใหเขมแข็ง ทั้งทุนสังคม ทุนเศรษฐกิจ และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

6.3 วางแนวทางเสริมสรางทุนจาก บุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบัน และประเทศ 7. วิสัยทัศน พันธกิจ การพัฒนาประเทศ

7.1 วิสัยทัศน สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ เปนธรรม ส่ิงแวดลอมมีคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยูภายใตระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดํารงไวซ่ึงระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และอยูในประชาคมโลกไดอยางมีศักดิ์ศรี

7.2 พันธกิจ ประกอบดวย 4 พันธกิจการพัฒนา 7.2.1 พัฒนาคนใหมีคุณภาพ พรอมคูคุณธรรม และรอบรูอยางเทาทัน ครอบครัว อบอุน

ชุมชนเขมแข็งที่พึ่งตนเองได

Page 117: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

105

7.2.2 เสริมสรางเศรษฐกิจใหมีคุณภาพ เสถียรภาพ เปนธรรม 7.2.3 ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพ สรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ

คุณภาพสิ่งแวดลอม 7.2.4 พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศใหเกิดธรรมาภิบาล ภายใตระบอบประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 8. วัตถุประสงคในระยะแผนพัฒนา ฯ ฉบับท่ี 10

8.1 สรางโอกาสการเรียนรูคูคุณธรรม จริยธรรม 8.2 เพิ่มศักยภาพชุมชน เชื่อมโยงเปนเครอืขาย 8.3 ปรับโครงสรางการผลิตสูการเพิ่มคุณคาสินคาและบริการ 8.4 สรางภูมิคุมกัน ระบบบริหารความเสี่ยงใหภาคเศรษฐกิจตางๆ 8.5 สรางระบบแขงขันการคา การลงทุนใหเปนธรรม 8.6 เสริมสรางความอุดมสมบูรณของทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ และรักษาคุณภาพ

ส่ิงแวดลอม 8.7 เสริมสรางธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการประเทศ ใหเกิดขึ้นในภาครัฐ เอกชน

ประชาชน 9. เปาหมายการพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10

9.1 ดานคุณภาพคน ความเขมแข็งชุมชนและสังคม 9.1.1 พัฒนาคนใหมีสุขภาวะดี จิตใจ อารมณ กาย สติปญญา มีความสมดุล เขาถึงหลัก

ศาสนา มีคุณธรรมนําความรู มีสัมมาอาชีพ มีความมั่นคงในชีวิต 9.1.2 พัฒนาชุมชนเขมแข็ง สงบ สันติ และแกปญหาความยากจนใหชุมชนอยูเย็นเปนสุข

9.2 ดานเศรษฐกิจ 9.2.1 เศรษฐกิจมีคุณภาพ โครงสรางเศรษฐกิจมีความสมดุลมากขึ้น 9.2.2 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 9.2.3 ความเปนธรรมทางเศรษฐกิจ

9.3 ดานความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 9.3.1 รักษาความอุดมสมบูรณของฐานทรัพยากร 9.3.2 รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม 9.3.3 วางรากฐานการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทาง

ชีวภาพ

Page 118: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

106

9.4 ดานธรรมาภิบาล 9.4.1 มุงใหธรรมาภิบาลของประเทศในทุกภาคสวนดีขึ้น 9.4.2 สรางองคความรูประชาธิปไตย

10. ยุทธศาสตรในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10

10.1 พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู 10.1.1 พัฒนาคนใหมีคุณธรรม นําความรู เกิดภูมิคุมกัน พัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีจิตใจ

ดีงาม มีสํานึกสาธารณะ มีสติปญญา เพิ่มพูนความรูและทักษะใหแกแรงงาน เรงผลิตนักวิทยาศาสตร นักวิจัย สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต และจัดการองคความรูทองถ่ินและสมัยใหม

10.1.2 เสริมสรางสุขภาวะคนไทยใหแข็งแรงพัฒนาระบบการรักษา ควบคูการปองกันและฟนฟูรางกาย จิตใจ สงเสริมการบริโภคที่ปลอดภัย ใชสมุนไพร ภูมิปญญาไทยรวมกับเทคโนโลยีสะอาดในการผลิต ลดละเลิกพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ

10.1.3 เสริมสรางคนไทยอยูรวมกันในสังคมอยางสันติสุขสรางครอบครัวใหเขมแข็ง สรางหลักประกันที่มั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม ใหประชาชน ดานอาชีพ สวัสดิการสังคม การออม การดํารงชีวิตที่ปลอดภัยสงบสุข รวมทั้งขยายบริการสังคมแกผูสูงอายุ ผูพิการ ผูดอยโอกาส

10.2 สรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคม เปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ 10.2.1 การบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเขมแข็ง สงเสริมการรวมกลุม เปดพื้นที่

สาธารณะจัดกิจกรรม เผยแพรขอมูล ขาวสาร ปรับปรุงกลไก กฎระเบียบ เพื่อสนับสนุนการสรางชุมชนเขมแข็ง จัดการองคความรูชุมชนและระบบการเรียนรูอยางครบวงจร และพัฒนาตอยอดสรางครอบครัว ระบบความสัมพันธในชุมชน ใหมั่นคงเขมแข็งเปนภูมิคุมกัน

10.2.2 สรางความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน รวมกลุมในรูปสหกรณ นําภูมิปญญาทองถ่ินมาสรางสรรคคุณคาสินคาและบริการ

10.2.3 เสริมสรางศักยภาพของชุมชน อยูรวมกับทรัพยากรอยางเกื้อกูลใหสิทธิชุมชนรวมบริหารจัดการทรัพยากร สรางกลไกใหชุมชนปกปองคุมครอง ทรัพยากร

10.3 ปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุล ยั่งยืน 10.3.1 สนับสนุนใหเกิดการแขงขันที่เปนธรรม และกระจายผลประโยชนการพัฒนาอยาง

เปนธรรม สงเสริมการแขงขันการประกอบธุรกิจอยางเสรีและเปนธรรม กระจาย

Page 119: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

107

การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสูภูมิภาคอยางสมดุล เปนธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการระบบการเงินรากฐาน ดําเนินนโยบายการคลังเพื่อสงเสริมการกระจายรายได

10.3.2 ปรับโครงสรางการผลิต ปรับโครงสรางภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบริการ พัฒนาปจจัยสนับสนุน การปรับโครงสรางการผลิต

10.3.3 สรางภูมิคุมกันระบบเศรษฐกิจ บริหารเศรษฐกิจสวนรวมใหมีประสิทธิภาพ สงเสริมการออม เพิ่มทางเลือก ระดมทุน เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน เรงรัดใชพลังงานทดแทน

10.4 พัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและส่ิงแวดลอม 10.4.1 สรางสภาพแวดลอมที่ดี เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีการผลิตและการบริโภคที่เปน

มิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดมลพิษ 10.4.2 พัฒนาคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปญญาทองถ่ิน จัดการองคความรู

สรางภูมิคุมกัน สรางนวตกรรมจากทรัพยากรชีวภาพ 10.4.3 รักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ พัฒนาระบบฐานขอมูล สราง

องคความรู สงเสริมสิทธิชุมชนรวมจัดการดินปา น้ํา แร พัฒนาระบบจัดการรวมในการอนุรักษ ฟนฟูทรัพยากร และแกปญหาความขัดแยงอยางสันติวิธี

10.5 เสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริการจัดการประเทศ 10.5.1 สรางความเขมแข็งภาคประชาชน สรางเครือขาย กลไก ตรวจสอบภาคประชาชน

ใหเขมแข็ง 10.5.2 กระจายอํานาจสูภูมิภาค ทองถ่ิน ชุมชน ใหทองถ่ินรับผิดชอบจัดบริการสาธารณะ

ใหประชาชนรวมพัฒนาทองถิ่นของตน 10.5.3 ปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบ ใหภาคีตางๆ รวมเสนอแนะ ตรากฎหมาย เพื่อ

ประสานประโยชนอยางเสมอภาคเปนธรรม 10.5.4 พัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย ปลูกฝงจิตสํานึก คุณธรรม เพิ่มประสิทธิภาพ

กลไกตรวจสอบ 10.5.5 รักษาและเสริมสรางความมั่นคง พัฒนาศักยภาพ บทบาท ภารกิจ หนวยงานดาน

การปองกันประเทศ สรางความมั่นคงของประชาชน และสังคม 10.5.6 สรางภาคราชการใหมีธรรมาภิบาล ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบ

สวนรวม ลดการบังคับควบคุม

Page 120: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

108

10.5.7 ธรรมาภิบาลภาคเอกชน สรางจิตสํานึกที่ซ่ือสัตย ยุติธรรม เปนธรรม รับผิดชอบตอสังคม

11. บทบาทภาคีการพัฒนา

11.1 ภาครัฐ เปนแกนจัดทํานโยบาย แผนยุทธศาสตร สรางกระบวนการมีสวนรวม ผลักดันสูปฏิบัติ ติดตามผล สนับสนุนขอมูลวิชาการ

11.2 ประชาชน มีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาและติดตาม ตรวจสอบ มีสํานึกความเปนพลเมือง รับผิดชอบตอหนาที่ เคารพในสิทธิของตนเองและผูอ่ืน

11.3 วิชาการ สรางความรู เปนแหลงขอมูลใหสังคม จุดประกายความคิด สรางความเขาใจในทางเทคนิควิชาการ

11.4 การเมือง ดําเนินนโยบายตอเนื่อง โปรงใส เปนธรรม ผลักดันใหเกิดผลในทางปฏิบัติเพื่อประโยชนสุขของประชาชน

11.5 เอกชน ดําเนินธุรกิจอยางมีธรรมาภิบาล รับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสียและสังคม สนับสนนุพัฒนาคุณภาพแรงงาน สรางโอกาสการเรียนรู รวมลงทุนวิจัย พัฒนาองคความรู

11.6 ส่ือมวลชน เปนสื่อกลางสะทอนขอเท็จจริง ความรู ขอมูลขาวสารอยางมีคุณภาพ สรางสรรค รวมติดตาม ตรวจสอบ และรณรงคสรางจิตสํานึกสาธารณะ

12. สถานการณการพัฒนาภาคเกษตร

12.1 การผลิต การตลาด 12.1.1 ผลผลิตทางการเกษตรเผชิญความเสี่ยงดานราคา ทําใหภาครัฐตองมีมาตรการ

ชวยเหลือทุกป เชน การรับจํานําขาว มันสําปะหลัง และการรับซื้อลําไย เปนตน 12.1.2 มีหนี้สินครัวเรือนเกษตรกรเพิ่มขึ้น และจํานวนครัวเรือนเกษตรที่มีหนี้สิน มี

แนวโนมเพิ่มขึ้น 12.2 การใชทรัพยากรธรรมชาติ

12.2.1 มีการใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนฐานในการผลิตมาก และมีปญหาความเสื่อมโทรม - ที่ดินการเกษตร 131 ลานไร หรือรอยละ 40 ของทั้งหมด และพบวามีดินที่มีปญหาตอการใชประโยชนทางการเกษตร เชน ดินเปรี้ยว ดินเค็ม และดินกรด กวา 90 ลานไร

- น้ํา 60,000 ลาน ลบ.ม. รอยละ 80 ของปริมาณ เก็บกักน้ําทั้งหมด

Page 121: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

109

- มีการใชสารเคมีและปุยเคมี ปละประมาณ 3.7 ลานตัน - มีการทําการเกษตรที่ไมสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมเพียง 100,000 ไร

13. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10 : การปรับโครงสรางภาค

เกษตร มีแนวทางที่สําคัญดังนี้ 13.1 การทําการเกษตรที่ยั่งยืน 13.2 พัฒนาสถาบันเกษตรกร 13.3 การใชภูมิปญญาทองถ่ิน ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อสรางมูลคา 13.4 การผลิตและการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรที่มีโอกาส 13.5 การวิจัยและพัฒนาสินคาอาหาร 13.6 จัดระบบการใชที่ดิน และแหลงน้ํา 13.7 การประชาสัมพันธและสรางตราสินคา

14. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเกษตร

14.1 พอประมาณ 14.1.1 ไมเนนขยายผลผลิตและการแขงขันจนสงผลตอทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 14.1.2 เนนการฟนฟูดิน การจัดการน้ํา และลดการใชปุยเคมี

14.2 มีเหตุผล 14.2.1 พิจารณารูปแบบการผลิตที่เหมาะสมตอสภาพแวดลอมและความชํานาญ 14.2.2 พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอม 14.2.3 พัฒนาระบบขอมูลดานการผลิต การตลาด 14.2.4 พัฒนาระบบความปลอดภัยอาหารใหเปนมาตรฐาน

14.3 มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี 14.3.1 สนับสนุนการเกษตรยั่งยืนในรูปแบบตางๆ 14.3.2 เสริมความเขมแข็งของสถาบันเกษตรกร 14.3.3 พัฒนาเครือขายระหวางสถาบันเกษตรกรเพื่อความรวมมือ 14.3.4 เสริมสรางการเรียนรูจากประสบการณของเกษตรกรที่ประสบความสําเร็จ

Page 122: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

110

15. การผลักดันปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติของเกษตรกร 15.1 ขั้นที่หนึ่ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน

15.1.1 ทําการเกษตร โดยมุงเนนใหเพียงพอกับความตองการ เล้ียงตัวเองไดจากฐานทรัพยากรที่มีอยู

15.1.2 บนพื้นฐานของการประหยัด ใชผลผลิตในไรนาบริโภคในครัวเรือน และนําผลผลิตสวนเกินสงออกตลาด

15.2 ขั้นที่สอง รวมพลังในรูปกลุม รวมพลังกันพัฒนาเปนกลุม เพื่อทําการผลิต การตลาด และพัฒนาสังคมในทองถ่ิน เชน ราคาผลผลิต การสรางมูลคาเพิ่ม และทําธุรกิจรวมกัน เปนตน เพื่อใหมีการกระจายรายไดและคุณภาพชีวิตที่ดี

15.3 ขั้นที่สาม เครือขายกลุมอาชีพ 15.3.1 รวมแรงรวมใจเพื่อสรางรายได และพัฒนาสถาบันครอบครัว ชุมชน ใหมีความ

มั่นคง มีการอนุรักษทรัพยากรฯ พัฒนากระบวนการเรียนรู และมีการรักษาวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม

15.3.2 ประสานความรวมมือกับภาคธุรกิจและภาครัฐ 16. บทบาทภาครัฐในการขับเคล่ือนยุทธศาสตรการพัฒนาเกษตรในระยะแผนฯ10

16.1 พัฒนาคุณภาพคนและสังคม 16.1.1 สรางโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู สนับสนุนการเรียนรูจากเกษตรกรที่

ประสบความสําเร็จ 16.1.2 สงเสริมการจัดการองคความรูและภูมิปญญาทองถ่ินอยางเปนระบบ รวมทั้ง

ผลักดันการจัดการทรัพยสินทางปญญา เชน การจะทะเบียนพันธุพืช พันธุสัตว 16.2 พัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง พึ่งตนเองได

16.2.1 เชื่อมโยงแผนทุกระดับ ตั้งแตแผนระดับชาติจนถึงแผนชุมชน เพื่อสรางรายไดใหชุมชน ลดความยากจน และสนับสนุนการผลิตเกษตรอินทรีย เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน

16.2.2 พัฒนาวิสาหกิจชุมชนใหเขมแข็ง และเชื่อมโยงเครือขายตั้งแตระดับชุมชน จังหวัด และประเทศ เพื่อใหสามารถพึ่งตนเองและเพิ่มความสามารถในการแขงขัน

16.3 ปรับโครงสรางเศรษฐกิจ พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร ความปลอดภัยอาหาร และการสรางมูลคาเพิ่มสินคาเกษตร เพื่อนําไปสูสรางรายไดและความมั่นคงของเกษตรกร

Page 123: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

111

16.4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 16.4.1 สนับสนุนการลดการใชสารเคมีการเกษตร เพื่อลดผลกระทบดานตางๆ 16.4.2 สนับสนุนสิทธิการดูแลและใชประโยชนทรัพยากรและพัฒนาองคความรูแก

ชุมชน 16.4.3 สนับสนุนการประหยัดการใชทรัพยากรและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เชน การ

พัฒนาพลังงานทดแทนจากสินคาเกษตร การผลิตสินคาเกษตรอินทรีย เปนตน 16.4.4 คุมครองทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมปิญญาทองถ่ิน

16.5 ธรรมาภิบาล 16.5.1 เปดโอกาสใหเกษตรกรมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาเกษตรชุมชน 16.5.2 พัฒนาระบบราชการที่เกี่ยวกับเกษตรกร ใหมีประสิทธิภาพและโปรงใสมากขึ้น

17. บทบาทภาคเอกชนในการขับเคล่ือนยุทธศาสตรการพัฒนาเกษตรในระยะแผนฯ10

17.1 รวมพัฒนาทักษะแรงงาน และสรางความมั่นคง 17.1.1 สงเสริมการฝกอบรมและถายทอดความรูในอุตสาหกรรมเกษตร 17.1.2 สรางสภาพแวดลอมและความมั่นคงในการทํางาน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของ

แรงงาน 17.2 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา เพื่อสรางองคความรู

17.2.1 รวมลงทุนวิจัยและพัฒนากับภาครัฐ เพื่อสรางฐานเทคโนโลยีของตนเอง เชน การวิจัยพันธุและเทคโนโลยีการแปรรูปใหสอดคลองกับตลาด

17.2.2 สรางองคความรู ยกระดับตอยอดภูมิปญญาทองถ่ิน เพื่อขยายผลเชิงพาณิชย เชน การสรางมูลคาสินคาเกษตรจากวัตถุดิบในทองถ่ิน

17.3 สนับสนุนการสรางความเขมแข็งของชุมชน สนับสนุนการลงทุน และสรางโอกาสทางการตลาดสําหรับวิสาหกิจชุมชน การบมเพาะวิสาหกิจชุมชน รวมทั้ง การเชื่อมโยงการผลิต การตลาดของเกษตรกร

17.4 สนับสนุนการปรับโครงสรางการผลิต 17.4.1 สนับสนุนการผลิตและการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตร 17.4.2 พัฒนาเครือขายธุรกิจในอุตสาหกรรมเกษตรที่มีศักยภาพ 17.4.3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของธุรกิจบริการ เชน การทองเที่ยวเชิงเกษตร

Page 124: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

112

17.5 รวมรักษาฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดลอม 17.5.1 ผลิตสินคาและบริการ ดานกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสะอาด เชน สินคา

เกษตรอินทรีย 17.5.2 สรางคุณคาจากทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ ดานนวตกรรมและเทคนิค

ทางการตลาด เชน ผลิตภัณฑสมุนไพร 17.6 ภาคธุรกิจเอกชนเขมแข็งเปนบรรษัทภิบาล ใหความสําคัญกับกระบวนการสรางบรรษัท

ภิบาลในภาคเอกชนใหมากขึ้น และสงเสริมบทบาทของสมาคมตางๆ ในการขับเคลื่อนการดําเนินการ โดยเชื่อมโยงกับสถาบันเกษตรกร

18. กรมสงเสริมการเกษตร (2542) ไดเรียบเรียงเอกสารเรื่อง “ไรนาสวนผสมตามแนวทฤษฎีใหม”

ซ่ึงสามารถสรุปไดวา การทําเกษตรเปนวิถีชีวิตของเกษตรกรและชาวชนบท ซ่ึงสวนใหญผูกติดกับธรรมชาติ อาศัยแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน น้ําฝนและแมน้ําลําธารตางๆ พื้นที่สวนใหญรอยละ 70 อยูนอกเขตชลประทาน ทําใหเกษตรกรตองพึ่งแหลงน้ําจากธรรมชาติเปนหลัก และในปจจุบันการเสียดุลของระบบนิเวศไดกอใหเกิดภาวะฝนตกไมสม่ําเสมอ ฝนทิ้งชวง น้ําไหลบาเมื่อฝนตกหนักอันเกิดจากสภาพปาถูกทําลาย และเกิดภาวะแหงแลงขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรและการบริโภคเกือบทุกภาคของประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงใหการชวยเหลือปญหาดังกลาวและทรงทราบดวยพระปรีชาญาณวา “แหลงน้ําเปนสิ่งสําคัญที่สุด” ดังนั้นโครงการพัฒนาแหลงน้ําและทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริจึงไดเกิดขึ้น

19. กรมพัฒนาที่ดิน (2549) ไดจัดทําเอกสารเผยแพรเร่ือง “เศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร” โดยได

ประมวลพระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ที่เกี่ยวของกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในแตวโรกาสและชวงเวลาที่สําคัญ ลําดับไดดังนี้

(1) “ ...อันนี้เคยบอกวา ความพอเพียงนี้ไมไดหมายความวา ทุกครอบครัวจะตองผลิตอาหาร

ของตัว จะตองทอผาใสเอง อยางนั้นมันเกินไป แตวาในหมูบานหรือในอําเภอ จะตองมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอยางที่ผลิตไดมากกวาความตองการ ก็ขายไดแตขายในที่ไมหางไกลเทาไหร ไมตองเสียคาขนสงมากนัก...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 4 ธันวาคม 2540

Page 125: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

113

(2) “...เศรษฐกิจพอเพียงเปนเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผนดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ตอกรองรับบานเรือนตัวอาคารไวนั่นเอง ส่ิงกอสรางจะมั่นคงไดก็อยูที่เสาเข็ม แตคนสวนมากมองไมเห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียดวยซํ้าไป...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จากวารสารชัยพัฒนา (3) “ ...ใหปฏิบัติเพียงครึ่งเดียว คือไมตองทั้งหมดหรือแมจะเศษหนึ่งสวนสี่ก็พอ หมายความวา

ถาทําไดเศษหนึ่งสวนสี่ของประเทศก็จะพอความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง และทําไดเศษหนึ่งสวนสี่ก็พอนั้นไมไดแปลวาเศษหนึ่งสวนสี่ของพื้นที่ แตเศษหนึ่งสวนสี่ของการกระทํา...”

“ ...เมืองไทยรอดเพราะโครงสรางประเทศ หรือนิสัยของประชากรชาวไทย ประชากรนี่ หมายถึงประชาชนที่อยูในกรุง ประชาชนที่อยูบนเขา ยังดีคนยังมีจิตใจที่กลาคิด กลาทํา ถาทําตามคุณสมบัติของคน คือ คุณธรรมของคนหรือความดีของคนเมืองไทยสบาย ไมตองใหตางประเทศมาขุด เขาก็ขุดใหเรา เขาก็แบงใหเราดวย เราก็แบงใหเขา นี่ก็เลยกลายเปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบเศษหนึ่งสวนสี่ หรือมากกวาเศษหนึ่งสวนสี่ ดวยความพอเพียงที่แปลวาพอประมาณ และมีเหตุผล อันนี้ก็กลับมาถึงเศรษฐกิจพอเพียง ก็เลยนึกวาเปนสิ่งที่นานําไปคิด...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 5 ธันวาคม 2541 (4) “ ...ถาไมมีเศรษฐกิจพอเพียง เวลาไฟดับจะพังหมด จะทําอยางไรที่ที่ตองใชไฟฟาก็ตองแย

ไป หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไมเต็มที่ ถาเรามีเครื่องปนไฟ หรือถาขึ้นโบราณกวา มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแกปญหาเสมอ ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ก็มีเปนขั้นๆ แตจะบอกวาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ใหพอเพียงเฉพาะตัวเองรอยเปอรเซ็นตนี่เปนสิ่งที่ทําไมได จะตองมีการแลกเปลี่ยน ตองมีการชวยเหลือกัน พอเพียงในทฤษฎีใหมหลวงนี้ คือใหสามารถที่จะดําเนินงานได...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 23 ธันวาคม 2542 (5) “ ...ขอใหทุกคนมีความปรารถนาที่จะใหเมืองไทยพออยูพอกิน มีความสงบ และทํางานตั้ง

อธิษฐาน ตั้งปณิธาณในทางนี้ที่จะใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถาเรารักษาความพออยูพอกินนี้ได เราก็จะยอดยิ่งยวดได...

Page 126: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

114

ฉะนั้นถาทุกทาน ซ่ึงถือวาเปนผูที่มีความคิดและมีอิทธิพล มีพลังที่จะทําใหผูอ่ืน ซ่ึงมีความคิดเหมือนกัน ชวยกันรักษาสวนรวมใหอยูดีกินดีพอสมควร ขอย้ํา พอควรพออยูพอกิน มีความสงบ ไมใหคนอื่นมาแยงคุณสมบัตินี้จากเราไปได ก็จะเปนของขวัญวันเกิดที่ถาวร ที่จะมีคุณคาอยูตลอดกาล...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 23 ธันวาคม 2542 (6) “ ...ที่บอกวาพูดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เมื่อแปลแลวเปนภาษาอังกฤษก็ไมเขาใจความหมาย

ของเศรษฐกิจพอเพียง ก็เลยบอกแลววาถาไมเขาใจจะอธิบายใหม ก็ไดอธิบายใหม เมื่อปที่แลว เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2541 ก็ไดอธิบาย ก็รูสึกวาไดอธิบายอยางแจมแจง ยืดยาว ก็ดูใครตอใครก็พยักหนาวาเออดี ทําไปทํามาก็ถามกันวาจะทําอยางไรสําหรับเศรษฐกิจพอเพียงของพระเจาอยูหัว ก็มีการสัมมนากัน มีรายการวิทยุ ผูเชี่ยวชาญหลายคนถามกันไปถามกันมาวา เศรษฐกิจพอเพียงของพระเจาอยูหัวนี่เปนอยางไร เขาบอกวาดี จะทําใหประเทศชาติรอดพนจากวิกฤติการณได บางคนก็คัดคานบอกวาไมดี ไมใชวาผูที่กลาวถึงเศรษฐกิจพอเพียงเปนคลายๆ เปนทฤษฎีใหม จะนอยใจไมนอยใจ ดีใจที่ทานผูที่เปนนักเศรษฐกจิ ผูที่เปนอาจารยเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตรที่มีช่ือเสียง เขาอุตสาหอางถึงเอยถึงเศรษฐกิจพอเพียงของพระเจาอยูหัว ถาเขาไมเห็นวามีดี เขาไมพูดเลย ถาพูดเดี๋ยวหาวามาติเตียนพระเจาอยูหัว ไมดี มีคนหนึ่งพูดเปนดอกเตอร เขาพูดวาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ภาษาอังกฤษวาอยางไร แหมคันปาก อยากจะพูด ที่จริงที่คันปากที่จะพูดเพราะวาตอบแลว อยางที่เห็นในทีวีรายการใหญ เขาพูดถามโนนถามนี่ เราดูแลวรําคาญ เพราะวาตอบแลว ตอบเสร็จแลวก็ถามใหม เมื่อตอบอีกก็บอกวาทําไม พูดคราวนี้ เราฟงเขาแลว เขาถามวาภาษาอังกฤษจะแปลเศรษฐกิจพอเพียงวาอยางไร ก็อยากจะตอบวามีแลวในหนังสือ ในหนังสือไมใชหนังสือตําราเศรษฐกิจ ในหนังสือพระราชดํารัสที่อุตสาหพิมพแลวนํามาปรับปรุงดูใหฟงได และแปลเปนภาษาอังกฤษ เพราะวาคนที่ฟงภาษาไทยบางทีไมเขาใจ ภาษาไทยก็ตองแปลเปนภาษาอังกฤษ และเนนวาเศรษฐกิจพอเพียงแปลวา Sufficiency Economy โดยเขียนเปนตัวหนาในหนังสือเสร็จแลวเขาก็บอกวา คําวา Sufficiency Economy ไมมีในตําราเศรษฐกิจ จะมีไดอยางไรเพราะวาเปนทฤษฎีใหม เปนตําราใหม ถามีอยูในตําราก็หมายความวาเรากอปปมา เราไมไดลอก ไมอยูในตําราเศรษฐกิจ เปนเกียรติที่เขาพูด อยางที่เขาพูดอยางนี้วา Sufficiency Economy นั้นไมมีในตํารา การที่พูดวาไมมีในตํารานี่ ที่วาเปนเกียรตินั้นก็หมายความวา เรามีความคิดใหม โดยที่ทานผูเชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความวา เราก็สามารถที่จะคิดอะไรได จะถูกจะผิดก็ชางแตวาเขาสนใจ แลวถาเขาสนใจ เขาก็สามารถที่จะไป

Page 127: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

115

ปรับปรุงหรือไปใชหลักการ เพื่อที่จะใหเศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น เศรษฐกิจพอเพียงก็มีเปนขั้นๆ แตวาตองดูวา เศรษฐกิจพอเพียงนี้ที่จะมาบอกวาใหพอเพียงเฉพาะตัวเอง 100 เปอรเซ็นต เปนสิ่งที่ทําไมได จะตองมีการแลกเปลี่ยน ไมใชเศรษฐกิจพอเพียงแลวแตวาพอเพียง ในทฤษฎีหลวงนี้คือสามารถที่จะดําเนินงานได เมืองไทยไมใชเศรษฐกิจพอเพียงนี้ไมไดตําหนิ ไมเคยพูด นี่เพิ่งพูด วันนี้พูดเวลานี้ ขณะนี้วาประเทศไทยไมใชเศรษฐกิจพอเพียงคอนขางจะแย เพราะวาจะทําใหลมจม เศรษฐกิจพอเพียงที่หมายถึงนี้ คือวาอยางคนที่ทําธุรกิจก็ยอมตองไปกูเงิน เพราะธุรกิจหรือกิจการอุตสาหกรรมสมัยใหมคนเดียวไมสามารถที่จะรวบรวมทุนสรางกิจกรรมที่ใหญ เชน เร่ืองเขื่อนปาสัก คนเดียวทําไมได หรือแมหนวยราชการหนวยเดียวทําไมได

ถานับดู ปนี้นาจะมีความเสียหายหมื่นลาน ไมตองเสีย และที่ไมตองเสียนี้ก็ทําใหเกิดมีผลผลิต โดยเฉพาะอยางเกษตร เขาก็มีผลผลิตได แมจะปนี้ซ่ึงเขื่อนยังไมไดทํางานในดานชลประทาน ก็ทําใหปองกันไมมีน้ําทวม ทําใหเกษตรกรเพาะปลูกได ก็เปนเงินหลายพันลานเหมือนกัน ฉะนั้น ในปเดียวเขื่อนปาสักนี้ไดคุมแลว คุมคาที่ไดสราง 2 หมื่นลาน นั้นก็หมายความวากิจกรรมเหลานี้ ไมไดอยูในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน แตวาเปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา ก็พอเพียงเพราะวาถาทําแลวคนอาจจะเกี่ยวของกับกิจกรรมนี้มากมาย แตวาทําใหสวนรวมไดรับประโยชนและจะทําใหเจริญ แตวาถากิจการที่ทําไมมีนโยบายแนวแน ที่สอดคลองกัน มัวแตทะเลาะกัน ไมสําเร็จก็ถือวาไมไดประโยชนจากกิจการที่คิด เมื่อไมมีประโยชนจากกิจการที่คิดปานนี้เราจะจนลงไป เงิน2 หมื่นลานที่ไปลงในการสรางนั้น เงิน 2 หมื่นลานก็หมดไปแลว หมดไปโดยไมมีประโยชน หมดไปโดยไดทําลาย เพราะวาเดือดรอน เกษตรกรเดือดรอน ชาวกรุงเดือดรอน ฉะนั้นก็ตองมีเหมือนกัน โครงการตางๆ หรือเศรษฐกิจที่ใหญที่ตองมีการสอดคลองกันดี ที่ไมใชเพียงแตเหมือนทฤษฎีใหม 15 ไร 15 ไรแลวก็สามารถที่จะปลูกขาวพอกิน ไอนี่มันใหญกวา แตอันนี้ก็เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน คือ คนที่ไมเขาใจวากิจการใหญๆ เหมือนสรางเขื่อนปาสัก เขานึกวาเปนเศรษฐกิจสมัยใหม เปนเศรษฐกิจที่ไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง นี้เราจัดไดวาเปนเศรษฐกิจพอเพียง อันนี้เปนตัวอยางในทางบวก...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 23 ธันวาคม 2542 (7) “ ...เศรษฐกิจพอเพียง เขาตีความหมายวา เปนเศรษฐกิจชุมชน คือหมายความวาใหพอเพียง

ในหมูบานหรือในทองที่ ใหสามารถที่จะพอมีพอกิน มันเริ่มดวย “ พอมี พอกิน ” พอมีพอกินไดพูดมาหลายป 10 กวาปมาแลว ใหพอมีพอกิน แตวาใหเปนพอมีพอกิน มัน

Page 128: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

116

เปนเริ่มตนของเศรษฐกิจ เมื่อปที่แลวบอกวา ถาพอมีพอกิน Self-sufficiency คือพอมีพอกินของตัวเองนั้น มันเปนเศรษฐกิจสมัยหิน มันไมใชวาเศรษฐกิจพอเพียง เปนเศรษฐกิจสมัยหิน เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน แตวาคอยๆ พัฒนาขึ้นมา ก็ตองมีการแลกเปลี่ยนกนั มีการชวยระหวางหมูบานหรือระหวางอําเภอ จังหวัด ประเทศ ก็ตองมีการแลกเปลี่ยน มีการไมพอเพียงกัน ถึงบอกวาถามีเศรษฐกิจพอเพียง เศษหนึ่งสวนสี่ ก็จะพอแลว จะใชได เพราะถาเศรษฐกิจพอเพียงเศษหนึ่งสวนสี่ ถาสมมติวาปนี้ไฟดับ ถาไมมีเศรษฐกิจพอเพียง ไฟฟาหลวงหรือไฟฟาฝายผลิตก็ดับหมด จะทําอยางไร ที่ตองใชไฟฟาก็ตองแยไป...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 23 ธันวาคม 2542 (8) “ ...ทั้งหมดที่พูดอยางนี้คือเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงที่ไดย้ําแลวย้ําอีก แปลเปน

ภาษาอังกฤษวา Sufficiency Economy ใครตอใครก็ตอวา วาไมมี Sufficiency Economy แตวาเปนคําใหมของเราก็ได ก็หมายความวาประหยัด แตไมใชขี้เหนียว ทําอะไรดวยความอะลุมอลวยกัน ทําอะไรดวยเหตุและผล จะเปนเศรษฐกิจพอเพียง แลวทุกคนจะมีความสุขแตพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงนี้เปนสิ่งที่ปฏิบัติยากที่สุด เพราะวาคนหนึ่งนั่งอยูที่นี้ อีกคนหนึ่งอยากนั่งเกาอี้เดียวกันไดไหม ไอนี่ก็พูดมาหลายปแลว ก็แตละคนก็ส่ันหัววานั่งไมได เพราะวาเดือดรอน เบียดเบียน...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 4 ธันวาคม 2543 (9) “ ...แตวาเมื่อตะกี้ เมื่อเขามานี้มีคนพูดแทน ก็หวังวาเปนการพูดแทนของประชาชนจริงๆ

เพราะเคาบอกวาเคาพูดในนามของประชาชานคนไทย วาทําตามเศรษฐกิจพอเพียงของพระเจาอยูหัว อันนี้ไมทราบวาเคารูเร่ืองดีอยางไร ถึงวาเศรษฐกิจพอเพียงของพระเจาอยูหัวคืออะไร แตก็ควรจะรู หรืออยางนอยที่สุดทานผูใหญที่นั่งอยูขางในนี้ก็นาจะรู นาจะเขาใจ เพราะวาจํานวนมากสวนใหญไดฟง พูดถึงเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหมมาหลายตอหลายครั้งแลว ไมไดคัดคานวาใชไมได ทําไมได มีบางคนพูดวาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ไมถูก ทําไมได ไมดี ไดยินเคาพูด แตวาสวนใหญบอกวาดี แตพวกสวนใหญที่บอกวาดีนี้ เขาใจแคไหนไมทราบ แตยังไงก็ตามเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ขอย้ําวาเปนการทั้งเศรษฐกิจหรือความประพฤติที่ทําอะไรเพื่อใหเกิดผลได โดยมีเหตุและผล คือเกิดผลมันมาจากเหตุ ถาทําเหตุที่ดี ถาคิดใหดีใหผลที่ออกมาคือส่ิงที่ตองตามเหตุ การกระทําก็จะการกระทําที่ดี และผลของการกระทํานั้นก็จะเปนการกระทําที่ดี ดีแปลวามีประสิทธิผล ดีแปลวามีประโยชน ดีแปลวาทําใหมีความสุข...”

Page 129: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

117

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 5 ธันวาคม 2543 (10) “ ...เมืองไทยนี่มีทรัพยากรที่ดีๆ ไมทําไมใช เดี๋ยวตองไปกูเงินอะไรที่ไหนมา มาพัฒนา

ประเทศ จริง สุนัขฝร่ังก็ตองซื้อมา ตองมี แตวาเรามีของทรัพยากรที่ดี เราตองใช ไมใชสุนัขเทานั้น อ่ืนๆ ของอื่นหลายอยาง แลวก็ที่นายกฯ พูดถึงทฤษฎีใหม พูดถึงเศรษฐกิจพอเพียง ไอเนี่ยเราไมไดซ้ือจากตางประเทศ แตวาเปนของพื้นเมือง แลวก็ไมไดอาจจะอางวาเปนความคิดของพระเจาอยูหัว ไมใช ทํามานานแลว ทั้งราชการ ทําราชการ ทั้งพลเรือน ทั้งทหาร ทั้งตํารวจ ไดใชเศรษฐกิจพอเพียงมานานแลว อยางตํารวจไปเปดโรงเรียนที่บนภูเขา ใชเศรษฐกิจพอเพียงแท โรงเรียน สรางโรงเรียนใชไมผุๆ พังๆ ก็เลือกมา แลวก็คนที่เปนครู ก็เปนตํารวจ 2 คน ไดเล้ียงดูสอนเด็ก 10 คน 15 คน แลวก็นอกจากเลี้ยงดู ยังเปนบุรุษพยาบาลดวย ดูผูที่เปนเออ มาลาเรีย ตรวจเลือด ตํารวจพวกนี้ เขาตรวจเลือดแลวก็ เมื่อเปนยังไงเขาก็สงผูที่ปวย ชวยชีวิตเด็กและผูใหญมากมาย แตอยางนี้ถือวาเถ่ือน หาวาเถ่ือน หาวาตํารวจปา เนี่ยเขาเรียกวาตํารวจปา พวกตํารวจชายแดนนี่ตํารวจปา เขาคนอืน่ในกรงุหาวาเปนตํารวจปา แตที่จริงตํารวจปาเนี่ยเขาชวยชีวิตคนมากมาย มากหลาย...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 4 ธันวาคม 2545 (11) “ ...วิธีปลูกขาวไมเหมือนของเรา เราเพิ่งพบวิธีปลูกขาวในพรุ ทําใหนราธิวาสกินแลวขาย

ได อันนี้นี่หมายความวาตองสอนใหเด็กๆ มีจินตนาการ ตอนนี้ฝายมลายูเขามีเทคโนโลยีสูง เราก็ช่ืนชมรัฐบาลมาเลเซียเขาเกง มีความสามารถ ฉลาด แตตอนนั้นเขาปลูกขาวไมเปน ตองเอาคนไทยไปสอน แตที่เราสอน ไดจากคนที่มีความรูแลวเรียนเกี่ยวกับการเกษตร แลวมาพลิกแพลงใหสามารถทําใหดินมีผลผลิตได อันนี้เปนสิ่งสําคัญเกี่ยวของกับเศรษฐกิจ ความเปนอยู สามารถเลี้ยงตัวได ถึงมาเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงที่กาวหนา ไมใชเพียงแตปลูกขาวพอกินอยางนั้น มันตองมีพอที่จะตั้งโรงเรียน แมแตศิลปะเกิดขึ้น ประเทศชาติหรือวาประเทศไทยเจริญในทุกทาง ไมหิว มีกิน มีอาหารใจ หรืออะไรอื่นๆ ใหมากๆ ...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 4 ธันวาคม 2546 (12) “ ...ความสะดวกจะสามารถสรางอะไรไดมาก นี่คือเศรษฐกิจพอเพียง สําคัญวาตองรูจัก

ขั้นตอน ถานึกจะทําอะไรใหเร็วเกินไป ไมพอเพียง ถาไมเร็วชาไปก็ไมพอเพียง ตองใหรูจักกาวหนา โดยไมทําใหคนเดือดรอน อันนี้เศรษฐกิจพอเพียง คงไดศึกษามาแลว เราพูดมาแลว 10 ป ตองปฏิบัติดวย...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 4 ธันวาคม 2546

Page 130: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

118

(13) “ ...เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม สองอยางนี้ นําความเจริญแประเทศได แตตองมีความ

เพียร แลวตองอดทน ตองใจไมรอน ตองไมพูดมาก ตองไมทะเลาะกัน ถาทําโดยเขาใจกัน เชื่อวาทุกคนจะมีความพอใจได...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 4 ธันวาคม 2547 20. กรมพัฒนาที่ดิน (2549) ไดจัดทํา เอกสารเผยแพรเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง โดยสรุปไดดังนี้

1. เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดํารัสช้ีแนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 30 ป ตั้งแตกอนวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางแกไขเพื่อใหรอดพนและสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืน ภายใตกระแสโลกาภิวัฒนและความเปลี่ยนแปลงตางๆ

“เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัฒน

“ความพอเพียง” หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีจิตสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรับรองการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

2. หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสาย

กลาง และความไมประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว ตลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจ และการกระทํา

Page 131: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

119

3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณา 5 สวน ดังนี้ 3.1 กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่

ควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา

3.2 คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน

3.3 คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอมๆ กัน ดังนี้ 3.3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไมนอยเกินไป และไมมาก

เกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ 3.3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพยีงนัน้

จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ

3.3.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล

3.4 เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้งความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐาน ดังนี้

3.4.1 เงื่อนไขความรู ประกอบดวยความรอบรู เกี่ยวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน ความรอบคอบ ที่จะนําความรูเหลานี้มาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

3.4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต ไมโลภและไมตระหนี่

3.5 แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี

Page 132: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

120

ที่มา : กรมพฒันาที่ดิน

ทางสายกลาง

มีภูมิคุมกัน

มีเหตุผล

พอประมาณ

เงื่อนไขความรู (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวงั)

เงื่อนไขคุณธรรม (ซ่ือสัตยสุจริต ขยันอดทน

สติปญญา แบงปน)

ชีวิต / เศรษฐกจิ / สังคม / ส่ิงแวดลอม / สมดุล / มั่นคง / ยัง่ยืน

Page 133: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

121

4. เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม เปนแนวทางในการพัฒนาที่

นําไปสูความสามารถในการพึ่งตนเองในระดับตางๆ อยางเปนขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยตางๆ โดยอาศัยความพอประมาณและความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดี มีความรู ความเพียรและความอดทน สติปญญา การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และความสามัคคี

เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกวางกวาทฤษฎีใหม โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเปนกรอบแนวคิดที่ช้ีบอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม ในขณะที่แนวพระราชดําริเกี่ยวกับทฤษฎีใหมหรือเกษตรทฤษฎีใหม ซ่ึงเปนแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอยางเปนขั้นตอนนั้นเปนตัวอยางการใชหลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติที่เปนรูปธรรมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม

ทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดําริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงมอียู 2 แบบคือ แบบพื้นฐาน กับ แบบกาวหนา

ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกร เปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบไดกับทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ที่มุงเนนแกปญหาของเกษตรกรที่อยูหางไกลแหลงน้ํา ตองพึ่งพาน้ําฝนและประสบความเสี่ยงจากการที่น้ําไมเพียงพอ แมกระทั่งสําหรับการปลูกขาวเพื่อการบริโภค และมีขอสมมติวามีที่ดินพอเพียงในการขุดบอเพื่อแกปญหาในเรื่องดังกลาว จากการแกปญหาความเสี่ยงเรื่องน้ํา จะทําใหเกษตรกรสามารถมีขาวเพื่อการบริโภคยังชีพในระดับหนึ่งได และใชที่ดินสวนอื่นๆ สนองความตองการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในสวนที่เหลือ เพื่อมีรายไดเปนคาใชจายอื่นๆ ที่ไมสามารถผลิตไดเอง ทั้งหมดนี้เปนการสรางภูมิคุมกันในตัวใหเกิดขึ้นในระดับครอบครัว

แตในทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ก็จําเปนที่เกษตรกรจะตองไดรับความชวยเหลือจากชุมชน ราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสม

ความพอเพียงในระดับชุมชนและระดับองคกร เปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา ซ่ึงครอบคลุมทฤษฎีใหมขั้นที่ 2 เปนเรื่องของการสนับสนุนใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณ หรือการที่ธุรกิจตางๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือขายวิสาหกิจชุมชน นั่นคือ เมื่อสมาชิกในแตละครอบครัวหรือองคกรตางๆ มีความพอเพียงขั้นพื้นฐานเปนเบื้องตน แลวรวมกลุมกันเพื่อรวมมือกันสรางประโยชนใหแกกลุมและสวนรวมบนพื้นฐานของการไมเบียดเบียนกัน การแบงปนชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ตามกําลังและความสามารถของตน ซ่ึงจะสามารถทําใหชุมชนโดยรวมหรือเครือขายวสิาหกิจชุมชนนั้นๆ เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอยางแทจริง

Page 134: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

122

การสรางเครือขายความรวมมือในลักษณะเชนนี้ จะเปนประโยชนในการสืบทอดภูมิปญญา แลกเปลี่ยนความรู เทคโนโลยีและบทเรียนจากการพัฒนา หรือรวมมือกันพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ทําใหประเทศอันเปนสังคมใหญ อันประกอบดวย ชุมชน องคกร และธุรกิจตางๆ ที่ดําเนินชีวิตอยางพอเพียงกลายเปนเครือขายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยงกันดวยหลักไมเบียดเบียน แบงปน และชวยเหลือซ่ึงกันและกันไดในที่สุด 21. สํานักงานเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี (2547) ไดจัดทําเอกสารเผยแพรเร่ืองไรนาสวนผสมตาม

แนวทฤษฎีใหม ในงานสงเสริมการเกษตร โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ทฤษฎีใหม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ทรงมีพระ

กรุณาธิคุณตอปวงชนชาวไทย ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชนสุขแกประชาชน ดวยทรงมีพระราชหฤทัยมุงมั่นในการชวยเหลือและแกไขปญหาความแปรปรวนของดิน ฟา อากาศ ฝนตกไมสม่ําเสมอ ฝนทิ้งชวง น้ําไหลบาเมื่อฝนตกหนัก อันเกิดจากสภาพปาถูกทําลาย และเกิดภาวะแหงแลง เกิดการขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรและการบริโภคในครัวเรือนเกือบทุกภาคของประเทศ ระดับน้ําในแมน้ําลําธารตางๆ ลดต่ําลงจนบางแหงขอด อันถือเปนวิกฤตที่สําคัญของชาวชนบทของประเทศรวมกัน ซ่ึงสงผลกระทบตอประชากรทั้งประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงทราบดวยพระปรีชาญาณของพระองคเองและทรงมีพระราชดําริที่แกไขปญหาภัยแลง และยกระดับพัฒนาความเปนอยูของราษฎรในภาคการเกษตรกรรมใหเกิดความ “พออยู พอกิน” พระองคทรงมีพระราชวินิจฉัย คนควา สํารวจ รวบรวมขอมูล และทดสอบเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ํา ที่ดิน พันธุพืช เพื่อการบริโภคและอุปโภค เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดในพื้นที่ของตนเอง โดยตั้งเปน “ทฤษฎีใหม” ซ่ึงผานการสรุปผลจากการทดลองของมูลนิธิชัยพัฒนาในพระองคที่วัดมงคลชัยพัฒนา ตําบลหวยบง และตําบลเขาดินพัฒนา อําเภอเมือง (ปจจุบันชื่ออําเภอเฉลิมพระเกียรติ) จังหวัดสระบุรี ซ่ึงเปนแนวทางทางการพัฒนาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง โดยการผสมผสานทั้งพืช สัตว และประมง ใหมีความหลากหลายนานาพันธุ บนเสนทางการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยทําการเกษตรในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหเกิด “พออยูพอกิน” ในระยะแรกๆ

Page 135: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

123

หลักการของทฤษฎีใหม 3 ขั้นตอน

ทฤษฎีใหม : ขั้นท่ีหนึ่ง การผลิตเปนการผลิตใหพึ่งพาตนเองได ดวยวิธีงายๆ คอยเปนคอยไปตามกําลัง ให

พอมีพอกิน ไมอดยาก - เปนรูปแบบการทําเกษตร สําหรับเกษตรกรรายยอย มีพื้นที่ทํากินประมาณ 15 ไร - เกษตรกรสามารถทําการเกษตรเลี้ยงตัวเองไดในระดับพออยูพอกิน - เกษตรกรทําการผลิตขาวไวเพื่อบริโภคในครัวเรือนเปนอันดับแรก หากผลผลิตเหลือ

จึงจําหนาย - เกษตรกรทําการปลูกพืชหลายๆ ชนิด ในลักษณะปลูกพืชผสมผสาน เชน ไมผล ไม

ยืนตน พืชไร และพืชผัก เปนตน - มีแหลงน้ํา (สระน้ํา) ในไรนา สามารถเก็บกักน้ําไวใชได เมื่อมีการขาดแคลนน้ํา เชน

ฝนทิ้งชวงในฤดูฝน และความแหงแลงในฤดูแลง สัดสวนการใชพื้นที่ทําการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม เพื่อใหตัวเลขลงตัวและงายตอ

การจดจําในพื้นที่ 15 ไร ดังนี้ 30 : 30 : 30 : 10 1. สระน้ํา 3 ไร ลึก 4 เมตร (ประมาณ 30 % ของพื้นที่) 2. นาขาว 5 ไร (ประมาณ 30 % ของพื้นที่) 3. พื้นที่ปลูกไมผลไมยืนตน พืชไร พืชผัก 5 ไร (ประมาณ 30 % ของพื้นที่) 4. ที่อยูอาศัย และอื่นๆ 2 ไร (ประมาณ 10 % ของพื้นที่) สําหรับพื้นที่การเกษตรแลว มีพื้นที่ปลูกขาว 5 และพื้นที่ปลูกไมผล ไมยืนตน พืชไร

และพืชผัก อีก 5 ไร รวมพื้นที่ 10 ไร หากมีความตองการใชสระน้ําไรละ 1,000 ลูกบาศกเมตร พื้นที่ 10 ไร ตองการใชน้ําทั้งสิ้นอยางนอย 10,000 ลูกบาศกเมตร

ทฤษฎีใหม : ขั้นท่ีสอง เกษตรกรรวมพลังกันในรูปแบบกลุมสหกรณหรือสหกรณ รวมแรงใน 1. การผลิต 2. การตลาด 3. การเปนอยู 4. สวัสดิการ 5. การศึกษา 6. สังคมและศาสนา เพื่อใหพอมีกินมีใช ชวยใหชุมชนและสังคมดีขึ้นพรอมๆ กัน ไมรวยคนเดียว

Page 136: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

124

ทฤษฎีใหม : ขั้นท่ีสาม รวมมือกับแหลงเงินและแหลงพลังงาน ตั้งและบริการโรงสี ตั้งและบริการรานสหกรณ

ชวยกันลงทุน ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท ซ่ึงไมใชทําอาชีพเกษตรอยางเดียว ดังนั้น การพัฒนาตามแนวทฤษฎีใหม จึงมีความจําเปนตองประยุกตใชใหเหมาะสมกับ

สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดลอม จึงจะเกิดประโยชนสูงสุด ฐานการผลิตความพอเพียง (ขั้นท่ีหนึ่ง) สําหรับรายละเอียดในขั้นที่หนึ่ง เนนถึงการผลิตที่พึ่งพาตนเอง สรางความเขมแข็งของ

ตนเอง ใหสามารถดํารงชีพอยูไดในพื้นที่ของตนเอง กลาวคือ “พออยูพอกิน” ซ่ึงในขั้นตอนนี้เปนเร่ืองราวของการจัดการพื้นที่การเกษตรออกเปน 4 สวน (พื้นที่ทํานา สระน้ํา พื้นที่ปลูกพืชแบบผสมผสาน และที่อยูอาศัย)

ขาว พื้นท่ีสวนท่ีหนึ่ง คือพื้นที่ทํานาในการปลูกขาวเพื่อการบริโภค ขาวเปนพืชที่มีความสําคัญทางดานเศรษฐกิจระดับประเทศและระดับครัวเรือน ในระดับประเทศถือไดวา สามารถนําเงินตราสูประเทศอยางมากมายในแตละป อีกนัยหนึ่งขาวเปนพืชวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนไทยในแงงานบุญประเพณีตางๆ และขาวเปนพืชที่ปลูกไวสําหรับคนไทยทั้งประเทศเพื่อการบริโภค สําหรับในระดับครัวเรือน ปลูกขาวไวบริโภคและหากผลผลิตเหลือจึงจําหนาย ขาวยังแสดงถึงฐานะความเปนอยูของเกษตรกรและทรัพยสินในแตละครัวเรือน ขาวเปนสอนคาเกษตรที่สามารถเก็บไวไดนาน ขึ้นอยูกับความตองการวาตองการบริโภคเมื่อไร ตองการเปลี่ยนจากผลผลิต (ขาวเปลือก) เปนเงินตราไวสําหรับใชจายในครัวเรือนเมื่อไรก็ได ซ่ึงจะตางกับสินคาเกษตรอื่นๆ เชน ในฤดูฝน การปลูกขาวนาป สามารถควบคูไปกับการเล้ียงปลา ซ่ึงเรียกวา การเลี้ยงปลาในนาขาว อีกประการหนึ่งในหลักของทฤษฎีใหมขั้นที่หนึ่ง พื้นที่นาขาวจะมีความสัมพันธกับสระน้ําในไรนา กลาวคือ พื้นที่นามักเปนพื้นที่ระบายน้ําไมดี ลักษณะดินเปนดินเหนียว สามารถเก็บกักน้ําได หากมีการขุดสระน้ําในไรนาในสภาพดินนา ที่เปนพื้นที่ราบและลุมแลว โอกาสที่จะเก็บกักน้ําจะเปนไปไดสูง และจะสามารถนําน้ําจากสระน้ํามาใชในชวงฤดูกาลเพาะปลูกได ไมวาจะเปนฤดูกาลฝนทิ้งชวงในฤดูฝน หรือฝนแลงในฤดูแลง เปนตน

สระน้ํา พื้นท่ีสวนท่ีสอง คือสระน้ําในไรนา มีวัตถุประสงคเพื่อใชในการเกษตรกรรมเปนหลัก ดังนั้น หากเกษตรกรมีสระน้ําก็เปรียบเสมือนมีตุมเก็บกักน้ําในฤดูฝน ชวยปองกันน้ําไหลหลากทวมไรนาของเกษตรกร ตลอดจนชวยมิใหน้ําไหลหลากลงสูแมน้ําลําคลอง สามารถนําน้ําจากสระน้ํามาใชในฤดูฝน กรณีเกิดการขาดแคลนน้ํา หรือฝนทิ้งชวง สําหรับในฤดูแลง หากมีน้ําในสระเหลือสามารถนํามาใชในการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว สระน้ําในไรนา ยังหมายถึงการที่เกษตรกร

Page 137: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

125

มีหลักประกันความเสี่ยงในการผลิตทางการเกษตร ถาเกิดการขาดแคลนน้ําขึ้น นอกจากนี้สระน้ําในไรนาของเกษตรกรยังสามารถเปนแหลงที่สรางมูลคาเพิ่ม (Value Added) และใหผลตอบแทนตอไรนาของเกษตรกร กลาวคือ สระน้ําเปนแหลงทรัพยากรในการสนับสนุนการเพาะปลูก และเลี้ยงสัตวในไรนา สระน้ําสามารถสนับสนุนการเพาะปลูกพืชขอบสระน้ําใหความชุมชื้น และสรางระบบนิเวศเกษตรที่เหมาะสมในบริเวณพื้นที่ขอบสระน้ํา

ปลูกพืชแบบผสมผสาน พื้นท่ีสวนท่ีสามไวเพาะปลูก เนนใหมีการปลูกพืชแบบผสมผสานทั้งไมผล ไมยืนตน พืชไร พืชผัก พืชสมุนไพร และไมดอกไมประดับ เปนแหลงอาหาร ไมใชสอย และเพิ่มรายได การปลูกพืชหลายๆ ชนิด สรางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ซ่ึงจะชวยในการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนชวยกระจายความเสี่ยงจากความแปรปรวน ของระบบการตลาดและภัยธรรมชาติ การปลูกพืชผสมผสานยังสามารถชวยเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน ลดการพึ่งพาจากปจจัยภายนอกไรนา และตัดวงจรศัตรูพืชบางชนิดไดอีกดวย

ท่ีอยูอาศัย พื้นท่ีสวนท่ีสี่ หรือสวนสุดทาย จัดใหเปนที่อยูอาศัยหรือบานไวดูแลสวนไรนา และบริเวณบานมีส่ิงอํานวยความสะดวก เชน ถนนหนทาง โรงเรือนเก็บขาว เก็บขาว เก็บขาว อุปกรณการเกษตร ฉางเก็บขาวเปลือก ใชพื้นที่บริเวณบานใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน มีไมผลหลังบานเพื่อบริโภค ปลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร นําเศษวัสดุเหลือใชมาทําปุยหมัก เพาะเห็ดฟาง การเลี้ยงสัตวเพื่อสรางคุณคาอาหารและโภชนาการ ตลอดจนเสริมรายได นอกจากนี้มูลสัตวนํามาทําปุยคอกในลักษณะการเกษตรผสมผสาน มีการหมุนเวียนทรัพยากรในไรนาใหมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การจัดการพื้นที่สวนที่ส่ีใหมีที่อยูอาศัยนั้น ยังหมายถึง การสรางจิตสํานึกและนิสัยใหมีความผูกพันกับการเกษตรและอาชีพของตนเอง เพื่อใหสามารถดํารงชีพอยูไดโดยไมมีจิตใจฟุงเฟอ หลงใหลในวัตถุนิยมดังเชนสังคมเมือง สามารถใชประโยชนจากพื้นที่บานและที่อยูอาศัย มีเวลามากพอในการทําการเกษตรดูแลสวนไรนาของตนเอง มีส่ิงอํานวยความสะดวกในการดํารงชีพขั้นพื้นฐานอยางพอเพียง เชน มีอาหารจากพืชและสัตวบก สัตวน้ํา มียารักษาโรค จากพืชธรรมชาติและพืชสมุนไพร มีผลไมไวบริโภค มีไมใชสอยในครัวเรือน และประกอบอาชีพการเกษตร เปนตน

รวมพลังชวยเหลือซ่ึงกันและกัน (ขั้นท่ีสอง) เกษตรกรรวมกลุมเพื่อชวยเหลือซ่ึงกันและกัน โดยสรางความพอเพียงในขั้นที่หนึ่ง ทํา

ใหเกิดความเขมแข็งในแตละครอบครัว จึงเกิดความรูความสามารถที่เขมแข็งในรูปแบบกลุมและเกิดพลังในขั้นที่สอง ดังนั้นหลักการรวมกลุม จึงรวมกันชวยเหลือซ่ึงกันและกัน มิใชมาขอความชวยเหลือฝายใดฝายหนึ่งแตเพียงฝายเดียว การรวมกลุมใหเกิดพลังในการดํารงชีพและดําเนินกิจกรรมการเกษตร โดยการรวมแรงรวมมือในการผลิต การตลาด รวมคิดวางแผน และระดม

Page 138: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

126

ทรัพยากรในการผลิต จัดระบบการผลิต ศึกษาระบบการตลาด การคาขาย การจําหนายผลผลิตรวมกัน สรางสวัสดิการความเปนอยู ทั้งดานการศึกษาและอนามัยรวมกันในชุมชนและกลุมเปนอันดับแรก ทําใหเกิดประโยชนรวมกัน กลุมมีความเขมแข็งชวยเหลือตนเองได เกิดความสามัคคีปรองดองกัน สามารถรวมดําเนินธุรกิจดวยกัน โดยการรวมกันซื้อรวมกันขาย ซ่ึงจะชวยในการลดคาขนสง ทําใหเกิดการเรียนรูแหลงผลิตและซื้อขายปจจัยการผลิตและผลผลิต นอกจากนี้แลวการรวมกลุมและรูปแบบสหกรณทําใหมีผลผลิตในปริมาณที่มากพอ สามารถเพิ่มอํานาจการตอรองของราคาในการจําหนายพืชผลทางการเกษตร

รวมคาขายสรางเครือขายเศรษฐกิจชุมชน (ขั้นท่ีสาม) ในขั้นตอนที่สอง เมื่อองคกรหรือกลุมหรือสหกรณเกิดความเขมแข็ง สามารถ

ชวยเหลือกันเองไดแลว จึงรวมกับคนภายนอกคาขาย รวมประสานประโยชนรวมกัน การจัดตั้งและบริหารโรงสีและรานคาสหกรณในลักษณะบริษัทรวมทุน ชวยกันลงทุนในรูปแบบทรัพยากรการผลิต ทรัพยากรมนุษย (ตัวบุคคลชวยกันทํางาน) เงินลงทุน และอุปกรณการผลิต การกอสราง เปนตน ในการรวมมือรวมใจกับบุคคลภายนอกในการดําเนินธุรกิจเพื่อใหเกิดหนวยเศรษฐกิจชุมชนและเศรษฐกิจทองถ่ินนั้น จะตั้งอยูบนพื้นฐานผลประโยชนรวมกัน แบงหนาที่ความรับผิดชอบตามความถนัด เชนหนวยการผลิต หนวยขนสง หนวยการจัดการ หนวยติดตอหาตลาด หนวยการจําหนาย หนวยการลงทุน เปนตน แตทุกหนวยจะตองทํางานเหมือนบริษัทเดียวกัน ทํางานเปนทีม ประสานงานรวมกัน ทําใหเกิดการถายทอดเทคโนโลยีดานการจัดการ การดําเนินธุรกิจเกิดกระบวนการเรียนรูซ่ึงกันและกัน ทําใหทราบความตองการทั้งชนิด ปริมาณ คุณภาพ และราคาสินคา นิสัยการบริโภคและอุปโภคของลูกคา ส่ิงสําคัญจะตองมีกลไก กฎระเบียบขอบังคับรวมกัน การจัดสรรปนสวนตองยุติธรรมและมีคุณธรรม

ความรูและความเขาใจ ความพรอม และการจัดการ ความรวมมือและความสามัคคีใน

การใชทฤษฎีใหม ความรูความเขาใจ 1. ทฤษฎีใหม มิใชวิธีการหรือเทคนิคเดียวเทานั้นในการแกไขปญหาของเกษตรกรได

ทุกกรณี ทุกพื้นที่ 2. ทฤษฎีใหมเปนทางเลือกทางหนึ่ง ที่มุงหวังแกไขปญหาใหสามารถอยูไดในระดับ

พอเพียง (พออยูพอกิน)

Page 139: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

127

3. ทฤษฎีใหมเปนการจัดการหรือวิธีการจัดการทรัพยากร หรือการจัดการพื้นที่เกี่ยวกับ เร่ืองดิน น้ํา การปลูกพืชและพันธุไม ใหสามารถดํารงชีพและประกอบการเกษตร อยางเหมาะสม อยูไดในพื้นที่ของตนเองอยางพออยูพอกินในเบื้องตน

4. ทฤษฎีใหมในขั้นที่หนึ่ง เปนระบบการทําฟารมที่มีระบบยอยอยูในระบบใหญ ไดแก ระบบการทํานา ระบบการปลูกพืช (ผสมผสาน) ระบบการจัดการน้ํา และระบบครัวเรือนเกษตรกร

5. ทฤษฎีใหมในขั้นที่หนึ่ง เปนการจัดการพื้นที่ในสัดสวน 30 : 30 : 30 : 10 ตามทฤษฎี แตในทางปฏิบัติมิใชสูตรตายตัว สามารถปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่

6. ทฤษฎีใหมมุงพัฒนาขีดความสามารถ การบริหาร การจัดการ และการใชน้ําใหมีประสิทธิภาพ

7. ทฤษฎีใหมสรางความเขมแข็งจากการพึ่งพาตนเอง 8. ทฤษฎีใหมตองอาศัยความขยันหมั่นเพียร ความอดทน การประหยัด และทักษะ 9. ทฤษฎีใหมสอนใหคนรูรักสามัคคี รวมกลุมชวยเหลือซ่ึงกันและกัน

10. ทฤษฎีใหม สอนใหคนรูจักการทํางานรวมกันกับผูอ่ืน ทั้งใกลชิดและหางไกล โดยอาศัยความยุติธรรมและคุณธรรม

ความพรอมและการจัดการ 1. สภาพพื้นที่ เชน ดิน น้ํา เปนตน บางสภาพพื้นที่ทําได ดินเหมาะสม ดินสามารถ

ปลูกพืชไดและเก็บกักน้ําได 2. เทคโนโลยีการผลิต การจัดการ และการตลาด 3. เงินลงทุน และเงินทุนหมุนเวียน เล็กนอยหากมีความเพียร 4. ในการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิต และวิถีชีวิตความเปนอยูของเกษตรกร เชน เคยปลูก

พืชอยางเดียวมาปลูกพืชหลายชนิด ทํางานในไรนาบางฤดูกาลโดยทํางานตลอดปอยางมีความสุข และมีความอบอุนกับครอบครัว

5. มีความขยันหมั่นเพียร อดทน ทักษะ ทดลอง ศึกษา เรียนรูจริงจากการปฏิบัติ และรอคอยความสําเร็จ

ความรวมมือและความสามัคคี 1. รวมมือกับภาคราชการ เอกชน และประชาชน 2. ความรวมมือของคนในกลุม ชุมชน และทองถ่ิน 3. ความสามัคคีรวมกัน เอื้ออาทรตอกัน 4. ระดมทุน ทรัพยากรการผลิต ทรัพยากรมนุษย และอื่นๆ รวมกันในการดําเนินงาน

Page 140: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

128

สรุปหลักการทฤษฎีใหม 1. เกษตรกรรายยอยขนาดพื้นที่การเกษตรขนาดเล็ก ประมาณ 15 ไร (มากนอยข้ึนอยู

กับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงคของเกษตรกร) หรือพื้นที่ถือครองทําการเกษตรโดยเฉลี่ยในแตละชุมชนและทองถ่ินนั้นๆ สามารถยืดหยุนไดตามสภาพพื้นที่

2. ทฤษฎีใหมขั้นที่หนึ่งหรือขั้นแรก สรางฐานการผลิตใหสามารถเลี้ยงตัวเองได “พออยูพอกิน” หรือพึ่งพาตนเองได รูจักประหยัด อดทน มีความเพียร

3. มีขาวพอเพียงในการบริโภคภายในครัวเรือน 4. ปจจัยสําคัญในการผลิต คือสระน้ํา แตตองมีการลงทุน และสระน้ําที่ขุดแลวตอง

สามารถมีน้ํา และเก็บกักน้ําได 5. เปนเรื่องของการจัดการ ระบบการจัดการทรัพยากรในไรนา เชน ที่ดิน (การจัดการ

พื้นที่) แหลงน้ํา พันธุพืชพันธุไม เพื่อใหสามารถดํารงชีพไดในพื้นที่ของตนเอง 6. มีกิจกรรมการเกษตรที่หลากหลาย ชวยลดความเสี่ยง มีรายไดตอเนื่อง มีทั้งพืช

อาหาร ไมใชสอยและเพิ่มรายได ชวยลดการพึ่งพาปจจัยภายนอกไรนา เนนการพึ่งพาตนเองและทรัพยากรในไรนา

7. เนนการใชประโยชนในเขตเกษตรอาศัยน้ําฝนเปนอันดับแรก และความมีแหลงน้ําตามธรรมชาติหรือการชลประทานมาเติมสระน้ําในไรนา ในกรณีที่ขาดแคลน

8. ในขั้นที่หนึ่งอัตราสวน 30 : 30 : 30 : 10 เปนการจัดการพื้นที่ตามทฤษฎี แตสามารถประยุกตเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ได

9. ในขั้นที่สอง เกษตรกรรวมกลุมกันมุงเพื่อชวยเหลือซ่ึงกันและกัน โดยแตละคนแตละครอบครัวตองมความพอเพียง “พออยู พอกิน” และเขมแข็งมากอน มิใชมุงหวังมาขอความชวยเหลือเพียงอยางเดียว

10. ในขั้นที่สาม เมื่อชุมชนและองคกรหรือกลุมเขมแข็ง จึงรวมกันกับคนภายนอกคาขาย สรางเครือขายเศรษฐกิจชุมชนที่เขมแข็ง

11. รวมพลังการผลิต การจัดการ และการคาขาย สรางผลประโยชนรวมกัน 12. ดวยหลักการทฤษฎีใหมจะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป

Page 141: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

129

ภาพที่ 2.2 หลักการทฤษฎีใหม ที่มา : กรมสงเสริมการเกษตร

การบริการและการจัดการน้ํา

หลักการ

ความหลากหลายการเกษตร

มีที่อยูอาศัย

รวมกับบุคคลภายนอกคาขาย ระดมทรัพยากรทองถ่ินและรวมทุน

รวมกลุมเกิดพลัง ความสามัคคี

ชวยเหลือซ่ึงกนัและ

เหลือจึงจําหนาย

ผลิตขาว เพื่อบริโภค

Page 142: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

130

ภาพที่ 2.3 กรอบความสัมพันธทฤษฎีใหม 3 ขั้นตอน

ที่มา: กรมสงเสริมการเกษตร

ใชแรงงานในครอบครัว มีงาน

ทําตลอดป

มีกิจกรรมหลากหลาย ขาว ไมผล ไมยืนตน พืชไร พืชผัก น้ํา ที่อยูอาศัย

รวมมือกับบุคคลภายนอกคาขาย ประสานผลประโยชน

ชุมชน/องคกร/กลุม เขมแข็ง

ครอบครัวเขมแข็งพึ่งพาตนเอง

คุณภาพชวีิตทีด่ี

ลดการพึ่งพาภายนอก

ผลผลิต อาหารบริโภค รายไดตอเนื่อง

ครอบครัวมีความสุข มีเวลาอยูกับครอบครัว

ทํางานในพืน้ที่

หมุนเวียนทรัพยากร ลดความเสี่ยง ลดการระบาดของศัตรูพืช ลดคาใชจาย ลดการใชสารเคมี คุณภาพดินด ีระบบนิเวศด ี

การพัฒนาทีย่ัง่ยืน

Page 143: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

131

เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเกษตรที่พึ่งพาตนเอง เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เปาหมายหรือปรัชญาการดําเนินชีวิตหรือวิถีชีวิตของคน

ไทยใหอยูอยางพอประมาณตน ทางสายกลาง มีความพอเพียงและพอดี โดยไมทําใหผูอ่ืนเดือดรอน ส่ิงสําคัญตองรูจักพึ่งพาตนเอง และทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชน กอนจะไปพึ่งพาคนอื่น หรือปจจัยภายนอก หรือหมายถึงการที่อุมชูตนเองได ใหมีความพอเพียงกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน

ดังนั้น แนวทางการทําการเกษตรในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียงใหพออยูพอกิน โดยมุงเนนหาขาวปลากอนมุงเนนหาเงินทอง หรือกลาวไดวา ทํามาหากินกอนทํามาคาขาย พอสรุปแนวทางดานการผลิตการเกษตรไดดังนี้

1. สงเสริมการทําไรนาสวนผสมและการเกษตรผสมผสาน เพื่อใหเกษตรกรพัฒนา ตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพียง

2. สงเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว ลดคาใชจาย 3. สงเสริมการทําปุยหมัก ปุยคอก และใชวัสดุเหลือใช เปนปจจัยการผลิต (ปุย) เพื่อ

ลดคาใชจายและบํารุงดิน 4. สงเสริมการเพาะเห็ดฟาง จากวัสดุเหลือใชในไรนา 5. สงเสริมการปลูกไมผลสวนหลังบาน และไมใชสอยในครัวเรือน 6. สงเสริมการปลูกพืชสมุนไพร ชวยสงเสริมสุขภาพอนามัย 7. การเลี้ยงปลาในรองสวน ในนาขาว และแหลงน้ํา เพื่อเปนอาหารโปรตีนและรายได

เสริม 8. การเลี้ยงไกพื้นเมือง และไกไข ประมาณ 10 - 15 วัน เพื่อเปนอาหารในครัวเรือน

โดยใชเศษอาหาร รํา และปลายขาวจากผลผลิตการทํานา ขาวโพดเลี้ยงสัตวจากการปลูก พืชไร เปนตน

9. การทํากาซชีวภาพจากมูลสัตว

Page 144: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

132

หลักการทฤษฎีใหมจากฐานการผลิตความพอเพียงขั้นท่ีหนึ่งสูไรนาสวนผสมตามแนวทฤษฎีใหม

การเกษตรของไทยในอดีต เปนการทําการเกษตรเพื่อยังชีพ โดยอาศัยความสมบูรณจากธรรมชาติ จึงไมคอยจะพบปญหามากนัก แตปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร มีการใชเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม เพื่อเพิ่มผลผลิตใหเพียงพอแกการบริโภคของประชากร และเพื่อการสงออกเปนรายไดเขาสูประเทศ จึงทําใหการเกษตรในปจจุบันประสบปญหามากขึ้น ไมวาจะเปนปญหาการขาดความสมดุลทางธรรมชาติ การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช รวมท้ังดานการตลาด ซ่ึงนับวันจะแปรปรวนมากขึ้น

จากปญหาดังกลาว การทําไรนาสวนผสมจึงเปนทางเลือกหนึ่งของเกษตรกรที่จะลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากภัยธรรมชาติและความไมแนนอนของราคาผลผลิต โดยการทําการเกษตรหลายๆ อยางเพื่อเพิ่มระดับรายได สามารถหมุนเวียนการใชทรัพยากรในไรนาไดมากขึ้น สรางความสมดุลใหกับธรรมชาติ ทําใหระบบนิเวศเกษตรของชุมชนดีขึ้น เกษตรกรมีชีวิตความเปนอยูที่ดีและมีความมั่นคงในการที่จะประกอบอาชีพการเกษตรตอไป

หลักการของการทําไรนาสวนผสม 1. เพิ่มระดับรายได และมีรายไดรายวัน รายสัปดาห รายเดือน รายป โดยทําการผลิต

กิจกรรมหลากหลาย ทั้งพืช สัตว และประมง ซ่ึงใหผลผลิตและผลตอบแทนตางชวงระยะเวลา ทําใหมีรายไดตอเนื่องไมวาจะเปนไมผล ไมยืนตน ขาว พืชไร พืชผัก พืชสมุนไพร ไมดอกไมประดับ การเลี้ยงสัตว และการเลี้ยงปลา

2. ลดความเสี่ยงจากภาวะธรรมชาติ และการตลาดที่แปรปรวน เนื่องจากกิจกรรมดานไรนาสวนผสม มีความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตร จึงทําใหเกิดความหลากหลายดานชีวภาพ อายุการเก็บเกี่ยวและผลผลิตที่ออกจําหนายมีความแตกตางกัน และความสามารถชวยลดการแพรระบาดของโรคและสัตวศัตรูพืชลงได ตลอดจนในบางครั้งราคาผลผลิตบางชนิดตกต่ํา แตบางชนิดราคาสูงหรือใหผลตอบแทนที่ดีกวา

3. ลดการพึ่งพาปจจัยการผลิตภายนอกใหนอยลง โดยพึ่งพาทรัพยากรในไรนามากขึ้น ในระบบการผลิตไรนาสวนผสมมีความหลากหลายกิจกรรมการเกษตร สามารถหมุนเวียนการใชทรัพยากรในไรนาหรือกิจกรรมการเกษตรในไรนาไดมากขึ้น เชน ปุยคอก ปุยหมัก และปุยพืชสด มูลสัตว เปนอาหารปลาและทํากาซชีวภาพ (Bio Gas) การใชปจจัยการผลิตบางชนิดรวมกัน เชนดานแรงงานในการดูแลรักษา ดานเครื่องมือ อุปกรณการผลิต ดานปุยและธาตุอาหารเสริม เปนตน

Page 145: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

133

ทั้งนี้เพื่อทดแทนการใชปจจัยการผลิตภายนอกที่มากและเกินขอบเขต ซ่ึงจะสงผลตอสภาพธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบการผลิต

4. กิจกรรมหลากหลาย มีทั้งกิจกรรมเพิ่มรายได มีอาหารไวบริโภค และใชสอยในครัวเรือน กิจกรรมการเกษตรในไรนาสวนผสมอาจจะมีทั้งพืช สัตวและประมง หรืออาจจะมีพืชกับสัตว หรือกลุมพืชอายุส้ันกับอายุยาว ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงคของเกษตรกร

5. ในระยะยาว สรางความสมดุลทางธรรมชาติ ทําใหระบบนิเวศเกษตรชุมชนดีขึ้น เนื่องจากในระบบการผลิตไรนาสวนผสมสําหรับประเทศไทย เกษตรกรนิยมปลูกไมผลและไมยืนตนในระบบการผลิตควบคูกับการทํานาและเลี้ยงสัตว ซ่ึงเปนกิจกรรมการเกษตรที่สรางโอกาสดานการตลาดแกเกษตรกร ดังนั้น การมีไมผล ไมยืนตน เปนการสรางความรมร่ืน ความชื้นในระบบการผลิตในไรนา การใชปุยหมัก และปุยคอกจากเศษวัสดุการเกษตร โดยการหมุนเวียนการใชทรัพยากรในไรนา ซ่ึงจะชวยชุมชนหรือหมูบานหรือไรนา มีระบบนิเวศเกษตรที่ดีขึ้นในระยะยาว

วัตถุประสงคของการทําไรนาสวนผสม 1. เพื่อเพิ่มรายไดตอครัวเรือนของเกษตรกรอยางตอเนื่อง จากกิจกรรมการปลูกพืช

หลายครั้งหลายชนิด หรือจากการผสมผสานกิจกรรมทั้งพืช สัตว และประมง 2. เพื่อสงเสริมใหเกษตรกรมีความรูดานการจัดการทรัพยากรที่ดิน ทุน และแรงงาน

อยางมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อลดความเสี่ยงในการดําเนินกิจกรรมการเกษตรจากภัยธรรมชาติ หรือปญหา

อ่ืนๆ ของเกษตรกร และใหเกษตรกรสามารถตัดสินใจเลือกกิจกรรมการผลิตใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและความเหมาะสมของแตละพื้นที่

4. เพื่อสงเสริมใหเกษตรกรประกอบอาชีพตามวิชาการเกษตรแผนใหม ทั้งดานการผลิตและการจําหนาย โดยยึดหลักปรับปรุงคุณภาพผลผลิต ลดตนทุนการผลิตตอหนวย มีรายไดตอเนื่อง

5. เพื่อสงเสริมใหเกษตรกรรูจักวางแผนและงบประมาณการผลิต แนวทางการทําไรนาสวนผสมตามแนวทฤษฎีใหม สรุปไดดังนี้ 1. เปนรูปแบบการทําการเกษตร สําหรับเกษตรกรที่มีพื้นที่ทํากินนอยประมาณ 10-15

ไร 2. เกษตรกรสามารถทําการเกษตรเพื่อใหสามารถเลี้ยงตัวเองได (Self Sufficiency)

พึ่งพาตนเอง (ลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก)

Page 146: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

134

3. มีแหลงน้ําในไรนา หรือสระน้ําในไรนา (Farm Pond) เพื่อใชประโยชนจากน้ํา ทําการเกษตรทั้งการปลูกพืชและการประมง

4. เกษตรกรมีพื้นที่ทํานา ซ่ึงเปนอาหารหลักมีผลผลิตเพียงพอแกการบริโภค (1 คนบริโภคขาวเปลือก 20 ถัง/ป)

5. การแบงพื้นที่การเกษตร ใหมีการทํานา การปลูกพืชไรและไมผล รวมทั้งสระน้ํา เปนการทําการเกษตรที่มีความหลากหลาย มีอาหารบริโภคในครัวเรือน และถาเหลือก็ขายเปนรายไดสูครอบครัว

6. การทํากิจกรรมหลายๆ อยาง จะชวยใหเกษตรกรไดใชทรัพยากรในไรอยางเต็มที่ และมีประสิทธิภาพ ชวยเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน สรางสมดุลของระบบนิเวศเกษตร

7. การปลูกไมผล และไมยืนตน เปนการเพิ่มปริมาณของตนไม เปนการสรางและเพิ่มความชุมชื้นแกธรรมชาติ

8. การมีแหลงเก็บกักน้ําในไรนา นับเปนหัวใจสําคัญของการเกษตร โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีแหลงน้ํา เชน อางเก็บน้ํา ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ เกษตรกรจะใชน้ําอยางประหยัดและเห็นคุณคา อีกทั้งเปนการเพิ่มปริมาณการเก็บกักน้ําไดเพิ่มขึ้น และรูจักการรวมกลุมเพื่อการใชน้ําและชวยดูแลรักษา สนับสนุนใหเกิดความสามัคคีในชุมชน

การสงเสริมไรนาสวนผสมตามแนวทฤษฎีใหม ทําใหเกษตรกร “มีน้ํามีทา มีกินมีใช

ครอบครัวอยูสุขสบาย” มีน้ํามีทา สงเสริมใหมีแหลงน้ําในไรนา เชน น้ําในรองสวนไมผล และพืชผัก บอเล้ียง

ปลา บอบาดาล สระน้ํา เปนตน เพื่อมีไวใชในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตวในฤดูฝนและฤดูแลง มีกิน สงเสริมใหมีกิจกรรมพืชอาหารโดยเฉพาะ การทํานาสามารถมีขาวไวบริโภค

ตลอดทั้งปในครัวเรือน หากเหลือไวจําหนาย ทั้งนี้ยังสามารถปลูกพืชที่เปนอาหารในกิจกรรมการเกษตรอื่นๆ โดยการปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซมในสวนไมผล ในพื้นที่ในไรนา เชน พชืตระกูลถ่ัว ขาวโพด ขาวฟาง ตลอดจนพืชผัก และการเลี้ยงสัตวบกและสัตวน้ํา

มีใช สงเสริมความมั่นคงทางดานเศรษฐกิจ การเพิ่มรายได และลดตนทุนการผลิต โดยสงเสริมการปลูกไมผล ไมยืนตน การปลูกพืชแซมในสวนไมผลและไมยืนตน ไดแก กิจกรรมพืชไร พืชผัก และไมดอกไมประดับ นอกจากนี้ยังสามารถปลูกไมผลและไมยืนตนเปนไมใชสอย เปนแนวร้ัว เปนพืชบังลม เปนพืชที่สรางความชุมชื้นใหกับระบบการผลิตการเกษตร ทําใหระบบนิเวศการเกษตรดีขึ้น

Page 147: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

135

ครอบครัวอยูสบาย สงเสริมใหเกษตรกรมีถ่ินฐานอยูในภาคเกษตรควบคูกับกิจกรรมการเกษตร โดยเฉพาะทําใหพื้นที่อยูอาศัยมีกิจกรรมการเกษตรรอบๆ บริเวณเพื่อใชในการบริโภค เพิ่มรายไดและใชสอยประโยชนอ่ืนๆ เชน การปลูกพืชผักสวนครัว ปลูกไมผลหลังบาน ปลูกพืชสมุนไพร ทําปุยหมัก ปุยคอก และใชวัสดุในทองถ่ินใหเกิดประโยชน

การนําทฤษฎีใหมมาใชในงานสงเสริมการเกษตร ในการผลิตทางการเกษตร ควรพิจารณาองคประกอบกิจกรรมตางๆ ภายในไรนาและ

ปรับประยุกตใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เศรษฐกิจและสังคมเกษตรกร โดยพิจารณากิจกรรมในลักษณะเชิงระบบ กลาวคือ มีกิจกรรมหลากหลาย และมีระบบหรือสัดสวนที่เหมาะสมในแตละสภาพพื้นที่ ดังนี้

1. กิจกรรมดานแหลงน้ํา เปนกิจกรรมสําคัญกิจกรรมหนึ่งในระบบการผลิตของเกษตรกรไทย เนื่องจากพื้นที่สวนใหญยังคงอาศัยน้ําฝน และบางพื้นที่เปนที่ราบและที่ลุม สามารถเก็บกักน้ําเพียงไมกี่เดือน สําหรับในฤดูแลงน้ําจึงมีความสําคัญอยางยิ่งยวดตอระบบการผลิตการเกษตรในทุกพื้นที่ ไมวาจะเปนพื้นที่ขนาดใหญ ขนาดกลาง หรือขนาดเล็ก ดังนั้น สระน้ําเพื่อการเกษตรตามทฤษฎีใหม ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ จึงเปนแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ที่เหมาะสมที่สุดในสังคมเกษตรกรไทย นอกจากนี้ สระน้ําในที่นี้ยังหมายถึงแหลงน้ําที่ใชเพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภคในครัวเรือนของเกษตรกร นอกจากนีย้งัสามารถเลี้ยงปลาและสัตวน้ําอื่นๆ เพื่อการบริโภคและการจําหนาย ตลอดจนนําน้ําจากแหลงดังกลาวมาใชในการเพาะปลูกพืชผลในไรนา และกิจกรรมการผลิตอื่นๆ เชน การเพาะเห็ด การเลี้ยงสัตว และการปลูกพืชผักสวนครัว ไมดอกไมประดับ เปนตน ในสภาพบางพื้นที่ เกษตรกรสามารถใชแหลงน้ําจากรองน้ําในสวนไมผล และพืชผัก หรือคูคลองตามธรรมชาติมาใชในระบบการผลิตในไรนา

ทั้งนี้ ในฤดูแลงน้ําในสระน้ํา รองสวน คูคลองตามธรรมชาติอาจจะแหงหรือมีน้ําไมเพียงพอตอการเพาะปลูก เล้ียงสัตว และใชบริโภคอุปโภคในครัวเรือนเกษตรกร ดังนั้น ควรมีแหลงน้ําขนาดใหญรองรับไวเติมน้ําในฤดูแลง เชน น้ําจากเขื่อน สระน้ําขนาดใหญ เหมือง ฝาย หวย หนอง คลอง บึง ตามธรรมชาติขนาดใหญ เปนตน

2. กิจกรรมดานอาหาร ซ่ึงเปนกิจกรรมการเกษตรที่มนุษยใชบริโภคในครัวเรือน ตลอดจนเปนอาหารสัตว เพื่อใหสัตวเจริญเติบโตสามารถนํามาเปนอาหารของมนุษยได เชน ขาว พืชไร (ขาวโพด ขาวฟาง ถ่ัวเหลือง ถ่ัวลิสง ทานตะวัน งา ละหุง) พืชผักสวนครัว ไมผล ไมยืนตน

Page 148: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

136

บางชนิด (มะพราว กลวย มะละกอ ไผตง) สัตวน้ํา (กบ ปู ปลา กุง หอย) การเลี้ยงสัตวปก และสัตวใหญ เปนตน

3. กิจกรรมที่ทํารายได (ดานเศรษฐกิจ) โดยสงเสริมกิจกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มรายไดและกอใหเกิดรายไดตอเนื่อง รายวัน รายสัปดาห รายเดือน และรายป

- รายไดรายวัน ไดแก กิจกรรมพืชผัก (ผักบุง ผักกระเฉด ตะไคร ขิง ขา กระเพรา เปนตน) กิจกรรมดานสัตว สัตวปกใหผลผลิตเปนไข เชน ไก เปด นกกระทา และการเลี้ยงโคนม

- รายไดรายสัปดาห ไดแก ไมดอกไมประดับ ชะอม กระถิน และผักกินใบ - รายไดรายเดือน หรือตามฤดูกาลการผลิต 2-4 เดือน ไดแก การทํานา การทําพืชไร

การปลูกพืชผัก การเลี้ยงสัตว (การเลี้ยงสัตวปกเพื่อผลิตเนื้อ การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงโคนม และสุกรขุน) และการเลี้ยงสัตวน้ํา (ปลา กบ) เปนตน

- รายไดรายป สวนใหญเปนกิจกรรมไมผล ไมยืนตน พืชไรอายุยาว เชน มันสําปะหลัง สับปะรด ออย การเลี้ยงสัตวใหญ เชน โคเนื้อ โคขุน เปนตน

4. กิจกรรมพื้นที่บริเวณบาน ซ่ึงกิจกรรมเหลานี้มีทั้งการปลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร ไทดอกไมประดับ ไมผล ไมยืนตน ไมใชสอย ตลอดจนการเลี้ยงสัตว และการเพาะเห็ด กิจกรรมตางๆ ในบริเวณบานจะชวยประหยัดคาใชจายในครัวเรือน เสริมสรางการใชแรงงานใหเกิดประโยชน และการใชพื้นที่ใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพทุกพื้นที่ ซ่ึงจะสงผลใหคุณภาพชีวิตครัวเรือนเกษตรกรมีความเปนอยูที่ดีขึ้น

จากแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เร่ืองทฤษฎีใหมสมควรที่จะนําหลักการทฤษฎีใหมเพื่อการเกษตรมาใชใหเหมาะสมในแตละพื้นที่และสอดคลองสภาพเศรษฐกิจและสังคมเกษตรกร ซ่ึงจะชวยเริมสรางดานรายไดและคุณภาพชีวิตที่ดีตอไป

แนวทางในการพิจารณาการจัดสรรพื้นท่ีตามแนวทฤษฎีใหม ในขั้นที่หนึ่ง โดยแบง

พื้นที่ออกเปนสัดสวน เพื่อใหสามารถดํารงชีพอยูไดอยางพออยูพอกิน ซ่ึงสรุปดังนี้ 1. จํานวนพื้นที่ถือครองในการทําการเกษตร 2. จํานวนสมาชิกในครัวเรือนที่อยูอาศัย บริโภคอุปโภคในครัวเรือนจากผลผลิตทาง

การเกษตรที่หามาได วามีจํานวนกี่คน และจํานวนแรงงานที่สามารถทํางานไดในไรนา 3. โดยปกติคนทั่วไปมีการบรอโภคขาว โดยประมาณคนละ 200 กิโลกรัมตอป หรือ

20 ถังตอป หรืออาจจะมากกวานี้แลวแตกรณี 4. มีพื้นที่ทํานาสวนหนึ่ง ตองมีขอมูลวาโดยปกติผลิตขาวไดกี่กิโลกรัมหรือกี่ถังตอไร

ในฤดูฝน (ขาวนาป) สําหรับผลผลิตขาวแตละพื้นที่ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่ ภูมิอากาศ เทคโนโลยีการ

Page 149: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

137

ผลิต ตนทุนการผลิต การจัดการของเกษตรกร เปนตน โดยเฉลี่ย ผลผลิตขาวนาปรังประเทศ ป 2539/2540 อยูในระดับ 345 กิโลกรัมตอไร หากผลผลิตเหลือจึงจําหนายและถาหากมีทรัพยากรเหลือจากการทํานาปและเกษตรกรมีความพรอม ก็สามารถปลูกพืชคร้ังที่สองหลังจากการทํานาปได เพื่อเพิ่มรายได

5. มีพื้นที่ทําการเพาะปลูกพืชแบบผสมผสานสวนหนึ่ง ซ่ึงอาจจะเปนไมผล ไมยืนตน พืชไร พืชผัก พืชสมุนไพร ไมดอกไมประดับ เปนตน ขึ้นอยูกับขนาดของพื้นที่ ระบบ การปลูกพืช ชนิดพืช ความตองการของเกษตรกร การลงทุน และผลตอบแทน ระยะเวลา ความตองการของตลาดชุมชนและทองถ่ิน

6. มีสระน้ําหรือแหลงน้ําเพียงพอตอการเพาะปลูกเปนอันดับแรก โดยเฉพาะชวงฤดูฝน ในกรณีฝนทิ้งชวง หรือเกิดสภาวะขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร หากมีน้ําเหลือเพียงพอ จึงใชในการเพาะปลูกในฤดูแลงและการเลี้ยงสัตวเสริม จึงประมาณการไววาพื้นที่การเกษตร โดยทั่วไปการปลูกพืช 1 ไร มีความตองการน้ํา 1,000 ลูกบาศกเมตร ดังนั้น ในการพิจารณาความตองการใชน้ํา ตองพิจารณาถึงพื้นที่การทํานาที่ผลิตเพื่อการบริโภคเปนอันดับแรก และพื้นที่การเพาะปลูกพืชแบบผสมผสานอีกสวนหนึ่งดวย

7. เมื่อทราบความตองการในการใชน้ํา ดําเนินการออกแบบขุดสระน้ํา โดยคํานึงถึงความลาดชันของสระน้ํา ความลึก ชนิดดนิ และอื่นๆ จึงจะสามารถรูวาตองใชพื้นที่เทาไร ในการขุดสระน้ํา

8. มีพื้นที่อยูอาศัย ควรมีพื้นที่สวนหนึ่งไวสําหรับเปนที่อยูอาศัย ดูแลไรนา การจัดการ การอํานวยความสะดวก เชน โรงเรือนเก็บอุปกรณการเกษตร โรงเรือนเลี้ยงสัตว พื้นที่เพาะเห็ด ลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร ไมผลสวนหลังบาน ไมยืนตน ไมใชสอย เสนทางคมนาคม ถนน เปนตน

9. การจัดสรรพื้นที่ตามแนวทฤษฎีใหมในขั้นที่หนึ่ง มีจุดประสงคมุงหวังเพื่อให เกษตรกรสามารถดํารงชีพอยูได (พออยูพอกิน) ในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง

สรุปแนวทางการเกษตรทฤษฎีใหม 1. ผลิตขาวใหพอเพียงตอการบริโภคภายในครัวเรือนตลอดป 2. หากผลผลิตขาวเหลือจึงจําหนาย 3. สระน้ําในไรนาสามารถเก็บกักน้ําได และสนับสนุนการเพาะปลูกการเกษตรในฤดู

ฝน หากปริมาณน้ํามีมากเพียงพอ จึงจะพิจารณาปลูกพืชตางๆ และปลูกพืชในฤดูแลง ตลอดจนเลี้ยงสัตว

Page 150: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

138

4. บริเวณพื้นที่ขุดสระน้ํา ขนาดของสระน้ํา ใหพิจารณาพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด ปริมาณน้ําฝน ระดับน้ําใตดิน ชนิดดิน สภาพพื้นที่ที่ราบ ที่ลุม ที่ดอน และความลาดเอียง พื้นที่รับน้ํา ทางไหลของน้ํา ความลาดชันและความลึกของสระน้ํา เปนตน

5. ควรหาแหลงน้ําที่ใหญกวาจากธรรมชาติหรือสรางขึ้น เพื่อเพิ่มน้ําในสระประจําไรนาของเกษตรกรในชวงขาดแคลนน้ํา

6. เนนการพึ่งพาตนเอง การใชแรงงานในครัวเรือนใหมากที่สุด การหมุนเวียนทรัพยากรในไรนาและเศษวัสดุในไรนาใหเกิดประโยชนสูงสุด

7. มีการปลูกพืชมากชนิดที่มีความหลากหลายเพื่อบริโภค ใชสอย และมีรายได 8. พื้นที่ขอบสระน้ํา มีความอุดมสมบูรณ มีความชื้นเพราะอยูใกลแหลงน้ํา ควรปลูก

พืชที่ใหผลตอบแทนและประโยชนสูงสุด 9. ควรมีการปรับปรุงบํารุงดินพื้นที่ขอบสระน้ํา เพื่อใหอยูในสภาพที่ใชงานไดเพื่อการ

เพาะปลูกและเลี้ยงสัตวน้ํา 10. มีพื้นที่อยูอาศัย เพื่อการจัดการ ดูแลกิจกรรมการเกษตรและการอํานวยความสะดวก

ขอควรปฏิบัติในการทําการเกษตรทฤษฎีใหม 1. ปรับอัตราสวนที่กําหนดไวใหเหมาะสมกับพื้นที่และสภาพแวดลอม (30: 30: 30:

10) 2. ตองปลูกขาวใหเพียงพอตอการบริโภคในครัวเรือนตลอดทั้งป 3. ควรศึกษาสภาพดินกอนดําเนินการขุดสรพ วาสามารถเก็บกักน้ําไดหรือไม 4. ควรนําหนาดินจากการขุดสระน้ํา ไปถมไวในบริเวณที่จะทําการเพาะปลูก 5. ควรทําการปลูกผักสวนครัว พืชสมุนไพร บริเวณที่วางรอบบาน เพื่อลดคาใชจาย

ดานอาหารในครัวเรือน 6. ควรเลี้ยงสัตวที่เกื้อกูลตอกันละกัน เชน ไก เปด หมู บริเวณขอบสระน้ํา หรือบริเวณ

บาน 7. ควรเลี้ยงปลาในสระ เพื่อการบริโภคอาหารโปรตีน และสามารถขายเปนรายได

เสริมของครัวเรือน 8. ควรปลูกหญาแฝก เพื่อปองกันการพังทลายรอบคันขอบสระน้ํา 9. ควรมีความสามัคคีในทองถ่ิน โดยชวยกันทําแบบ “ลงแขก” จะทําใหประสบ

ผลสําเร็จ

Page 151: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

139

10. ควรปรึกษาเจาหนาที่จากกรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมชลประทาน กรมสงเสริมการเกษตร ตลอดจนนายอําเภอ เกษตรอําเภอ เกษตรตําบล และเจาหนาที่อ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ

ขอไมควรปฏิบัติในการทําการเกษตรทฤษฎีใหม 1. อยาคิดวามีพื้นที่การเกษตรนอยหรือมากกวา 15 ไร จะทําทฤษฎีใหมไมได 2. ไมควรเสียดายที่ดินสวนหนึ่งที่จะตองนํามาขุดเปนสระน้ํา และถามีสระน้ําอยูแลว

ไมจําเปนตองขุดสระใหม เพียงแตปรับปรุงใหสามารถเก็บกักน้ําได 3. อยาทําลายหนาดินที่มีความอุดมสมบูรณในขณะขุดสระน้ํา 4. ไมควรปลูกพืชหรือไมยืนตนที่ตองการน้ํามากในบริเวณคันขอบสระน้ํา 5. ไมควรปลูกพืชเพียงชนิดเดียว 6. หากดําเนินการดานการเกษตรกรรมอื่นใดไดผลอยูแลว ไมควรปรับเปลี่ยนมาทํา

ทฤษฎีใหม เพราะไมจําเปน 7. หากสภาพภูมิประเทศไมเหมาะสมทําทฤษฎีใหมได ก็ตองหาหนทางอื่นที่เหมาะสม

ตอไป 8. อยาทอถอยและเกียจคราน

แนวทางการยืดหยุนในการทําไรนาสวนผสมตามแนวทฤษฎีใหม เงื่อนไข/แนวทางของทฤษฎีใหม 1. เปนวิธีปฏิบัติของเกษตรกรที่เปนเจาของที่ดินจํานวนนอย แปลงเล็ก ประมาณ 15

ไร - เปนเกษตรกรรายยอย ฐานะคอนขางยากจน สมาชิกในครอบครัวปานกลาง (5-6

คน) - อยูในเขตใชน้ําฝน มีแหลงน้ําเสริม ตองใชน้ําอยางประหยัด - เนนเกษตรกรที่ทํานาและทําไรเปนหลักอยูเดิม เกษตรกรที่อยูในเขตทําสวน ไม

ยืนตน และสวนไมผล ที่ทําไดดีอยูแลวไมจําเปนตองเปลี่ยนมาทําเกษตรวิธีนี้ 2. หลักการสําคัญคือ ให เกษตรกรมีความพอเพียง โดยเลี้ยงตัว เองได (Self

Sufficiency) ในระดับชีวิตที่ประหยัดกอน 3. พื้นที่น้ํา 30 %

- มีไวสําหรับสํารอง เสริมการทํานา ผลไม พืชไร ในชวงฤดูฝน เมื่อเกิดความแหงแลง

Page 152: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

140

- เพื่อใชกับสวนไมผล ปลูกพืชราคาดี (ผักและดอกไม) ในฤดูแลงถามีปริมาณน้ําเหลือพอ การปลูกพืชฤดูแลงในนาขาวตองใชวิธีคอนขางประณีต และประหยัดน้ํา จึงจะคุมทุน

- การกํ าหนดพื้ นที่ เ ปนสระน้ํ า ไว 3 0 % เพราะในบางพื้ นที่ เ ชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดินไมอุมน้ํา ฝนทิ้งชวงนาน

- อัตราการใชน้ําของพืช ใชหลักวาจะตองมีน้ํา 1,000 ลูกบาศกเมตร/ไร - พื้นที่น้ํา 3 ไร ลึก 4 เมตร จะมีความจุประมาณ 19,000 ลูกบาศกเมตร - การระเหยของน้ํา จะระเหยเฉลี่ยวันละ 1 เซนติเมตร ในวันที่ไมมีฝนตก

หมายความวาในหนึ่งปถานับวาแหงแลง 300 วัน ระดับน้ําในสระจะลดลง 3 เมตร ในกรณี 3 ใน 4 ของ 19,000 ลูกบาศกเมตร จะเหลือน้ําใช 4,750 ลูกบาศกเมตร ฉะนั้นจึงตองเติมน้ําใหเพียงพอ

4. พื้นที่ปลูกขาว 30 % - เกษตรกรมีการผลิตขาวบริโภคเพียงพอตลอดป โดยถือวาครอบครัวหนึ่งทํานา 5

ไร จะมีขาวพอกินตลอดป คนไทยรับประทานขาวเปนอาหารหลักประจําวัน เฉลี่ย บริโภคคนละ 200 กิโลกรัมตอป หากมีสมาชิก 6 คน จะบริโภคขาวไมต่ํากวาปละ 1,200 กิโลกรัมขาวเปลือก ดังนั้น หากทํานาป จะไดผลผลิตไมต่ํากวาปละ 5x 345 = 1,725 กิโลกรัม (ผลผลิตดังกลาวเฉลี่ยจากผลผลิตทั่วประเทศเมื่อ ป 2539/2540) แตถาสามารถควบคุมน้ําได ไมใหขาดชวงที่ตองการและบํารุงรักษาที่ดี อาจจะไดผลผลิตเพิ่มกวานี้ ซ่ึงจะเปนสวนที่จําหนาย

5. พื้นที่ปลูกพืชสวน ไมยืนตน และพืชไร 30 % - วิธีการปลูกและชนิดของพืช จะมีความแตกตาง หลากหลายไปแตละพื้นที่ ขึ้นอยู

กับ ปจจัยตางๆ เชน ภูมิภาค ฤดูกาล ตลาด และเสนทางคมนาคม เปนตน ไมเปนสูตรตายตัว - การเลือกพืชปลูก ควรเนนปลูกพืชยืนตน เพราะการดูแลรักษาในระยะหลังลด

นอยลง มีผลผลิตทยอยออกตลอดป และใหความรมเย็นและชุมชื้นกับที่อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม 6. พื้นที่อยูอาศัย 10 %

- มีบานอยูอาศัย ในพื้นที่ทํากิน - มีพื้นที่สําหรับทําโรงเรือน เพาะเห็ด เล้ียงสัตว ปลูกผักสวนครัว เปนตน

7. การเลี้ยงสัตว - ควรเลือกเล้ียงสัตวน้ํา และสัตวบกใหเหมาะสมกับแรงงาน และพื้นที่ที่เหลือ

ตลอดจนอาหารที่จะได สวนใหญจากแปลง ไมเนนเปนรายไดหลัก วัตถุประสงคหลักเพื่อเปนอาหารและรายไดเสริม

Page 153: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

141

ความแตกตางจากทฤษฎีใหมที่นาจะยอมรับได 1. พื้นที่ต่ํากวา 15 ไร แตไมควรต่ํากวา 5 ไร หากต่ํากวา 5 ไร ตองพิจารณาถึงจํานวน

คนในครอบครัว สภาพพื้นที่ (ดิน ปริมาณน้ําฝนและแหลงน้ํา) ผลผลิตที่ไดรับเพื่อการบริโภคที่เพียงพอ

2. มีพื้นที่เกิน 15 ไร แตไมเกิน 25 ไร (เฉลี่ยขนาดของฟารมทั่วประเทศ 25.9 ไร) หากมีพื้นที่มากกวานี้ ควรจะตองแบงทําสวนหนึ่งตามวิธีทฤษฎีใหม ตามกําลังของครอบครัว สวนพื้นที่ที่เหลืออาจทําแบบเดิม

3. สมาชิกในครอบครัวที่ทําการเกษตร ได มีไมนอยกวา 2 คน เพื่อจะไดไมตองจางแรงงาน

4. พื้นที่น้ํา 20 % ควรมีแหลงน้ําสําหรับเติมในสระน้ําได เชน อางเก็บน้ํา เขื่อน บาดาล หรือในพื้นที่มีฝนตกชุกเกือบตลอดป เชน ภาคใต

5. พื้นที่น้ํา 10 % จะตองมีแหลงน้ําสําหรับเติมไดตลอดเวลาที่ตองการ เชนมีแหลงน้ําซับแหลงน้ําธรรมชาติไหลผาน อางเก็บน้ํา ตนน้ําลําธาร

6. พื้นที่ปลูกขาวนอยกวา 30 % ควรเปนแหลงปลูกขาวที่ไดผลผลิตสูงกวาคาเฉลี่ย เชน แหลงที่มีดินอุดมสมบูรณ มีฝนตกสม่ําเสมอ พื้นที่ควบคุมระดับน้ําได เปนตน เพื่อใหไดผลผลิตที่เพียงพอสําหรับบรโิภคตลอดป

7. พื้นที่ปลูกพืชสวน ไมยืนตน 20-40 % ของพื้นที่ หากมีพื้นที่ปลูกพืชสวนเกิน 40 % ของพื้นที่ ใหพิจารณาวามีพื้นที่ปลูกขาวไดผลผลิตเพียงพอตอการบริโภคภายในครัวเรือนตลอดป

8. พื้นที่อยูอาศัย มีบานแยกอยูตางหาก อยูในหมูบานแตมีพื้นที่ทําการเกษตรอยูใกลเคียงสามารถดูแลและจัดการพื้นที่ได หรืออาจสรางที่พักอาศัยช่ัวคราวในพื้นที่ในไรนา

Page 154: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณเกษตรกร

Page 155: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

143

แบบสัมภาษณเกษตรกร สวนท่ี 1 ขอมูลของครัวเรือนเกษตรกร

1. ช่ือหัวหนาครวัเรือน.......................................................... อายุ.................... ที่อยู..........................................................................................................

2. ระดับการศึกษาสูงสุด ( ) ไมไดรับการศึกษา ( ) ป.4- ป.6 ( ) ม.1- ม.3 ( ) ม.4-ม.5 ( ) ปวช.- ปวส. ( ) ปริญญาตรี ( ) อ่ืนๆ

3. จํานวนสมาชิกในครัวเรือน................... คน ชาย................... หญิง...................

4. สมาชิกที่อายุตัง้แต 15-64 ป ที่เปนแรงงานได 1) เปนแรงงานในเกษตร................. คน ชาย.................. หญิง..................... 2) เปนแรงงานนอกเกษตร (กําลังศึกษา, พิการ เปนตน) .......... คน ชาย........... หญิง........... 3) กําลังศึกษา / พิการ ทํางานไมได .............. คน ชาย........... หญิง...........

5. พื้นที่ที่ทําการเกษตร จําแนกตามลักษณะการครอบครองที่ดิน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) 1) เปนที่ดินของตนเอง................ ไร เอกสารสิทธิ์........................................ 2) เปนที่ดินเชา........................... ไร เอกสารสิทธิ์....................................... 3) เปนที่ดินลักษณะอื่นๆ....................................................................

6. พื้นที่ที่ทําการเกษตรทฤษฎีใหม (แปลงเขาโครงการ) ทั้งหมด............. ไร แบงเปน........แปลง ดังนี ้1) ที่อยูอาศัย โรงเรือนเล้ียงสัตว ............ ไร 2) พื้นที่ทํานาขาว................... ไร 3) พื้นที่ปลูกไมผล ไมยืนตน.................. ไร 4) พื้นที่ปลูกพืชไร.................... ไร 5) พื้นที่ปลูกผัก................... ไร 6) พื้นที่แหลงน้ํา........................ ไร 7) พื้นที่อ่ืนๆ........................... ไร

7. ปจจุบันทานเปนสมาชิกสถาบันเกษตรกร องคกร ใดบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) กลุมสหกรณการเกษตร ( ) กลุมเกษตรกร ( ) กลุมแมบาน ( ) กลุมยวุเกษตร ( ) ลูกคา ธ.ก.ส. ( ) กลุมออมทรัพย ( ) สหกรณการเกษตร ( ) อ่ืนๆ.............................

Page 156: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

144

8. รายไดการเกษตรที่เปนเงินสดของครัวเรือน 1) ขาวนาป/นาปรัง............................... บาท 2) ออย................................. บาท 3) มันสําปะหลัง.................................. บาท 4) ขาวโพดเลี้ยงสัตว.................................. บาท 5) ประมง............................................ บาท 6) ปศุสัตว.................. ตัว.......................... บาท 8) อ่ืนๆ.............................................

9. รายจายการเกษตรที่เปนเงินสดของครัวเรือน 1) คาปุยเคมี / อินทรีย .............................. บาท 2) คายาปองกัน ปราบแมลงศัตรูพืช.................. บาท คายาปราบวัชพืช/โรคพืช................... บาท 3) คาพันธุพืช / พนัธุสัตว............................. บาท 4) คาจางแรงงาน .................................... บาท 5) อ่ืนๆ.........................................................................................................................................

10. ทรัพยสินของครัวเรือนเกษตรกร (ณ วันที ่31 มี.ค. 45) (1) ทรัพยสินคงที ่

1) ที่ดิน (นา / ไร / สวน ) จํานวน...................... ไร มูลคา..................................... บาท 2) โรงเรือน (ยุงฉาง / คอกสัตว / หางนา ) จํานวน...................... มูลคา.................... บาท 3) บอเล้ียงปลา / บอบาดาล / บอน้ําขุดเอง จํานวน...................... มูลคา..................... บาท

(2) ทรัพยสินดําเนนิการ 1) เครื่องสูบน้ํา จํานวน..................... คัน มูลคา............................บาท 2) รถไถเดินตาม / รถไถเล็ก จํานวน..................... คัน มูลคา............................บาท 3) ไถ / คราด จํานวน..................... คัน มูลคา............................บาท 4) เครื่องสี / นวด จํานวน..................... คัน มูลคา............................บาท 5) เครื่องพนสารเคมี จํานวน..................... คัน มูลคา............................บาท 6) จอบ / เสียม / เคียว จํานวน..................... คัน มูลคา............................บาท 7) พอ - แมพันธุสัตว จํานวน..................... คัน มูลคา............................บาท 8) อ่ืนๆ.............................................................................................

(3) ทรัพยสินหมนุเวยีน 1) ขาวเปลือก จํานวน..................... มูลคา ............................... บาท 2) พืชอ่ืนๆ จํานวน.............................. มูลคา....................................... บาท 3) ปศุสัตว จํานวน................................ มูลคา..................................... บาท

Page 157: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

145

4) ปุยเคมี / สารเคมี / อาหารสัตว คงเหลือ จาํนวน................มูลคา............................. บาท 5) อ่ืนๆ........................................................................................

(4) ทรัพยสินนอกการเกษตร 1) ที่ดิน สรางที่อยูอาศัย จํานวน....................... มูลคา.................................... บาท 2) รถยนต รถจักรยานยนต รถจักรยาน จํานวน.................... มูลคา............................. บาท ( ) เงินสด ( ) เงินผอน.............. งวดๆ ละ .................. บาท 3) บานที่อยูอาศัย จํานวน....................... มูลคา...................................... บาท 4) เครื่องใชในบาน

1) เครื่องเสียง วทิยุ เครื่องเลนแผนเสียง จํานวน................ มูลคา..........................บาท ( ) เงินสด ( ) เงินผอน.............. งวดๆ ละ .................. บาท 2) พัดลม หมอหงุขาว เตารีด จาํนวน.......................... มูลคา............................... บาท ( ) เงินสด ( ) เงินผอน.............. งวดๆ ละ .................. บาท 3) โทรทัศน จํานวน......................... มูลคา..................................... บาท ( ) เงินสด ( ) เงินผอน.............. งวดๆ ละ .................. บาท 4) เงินสดในมือ เงินฝาก........................................ บาท 5) อ่ืนๆ................................................... บาท

11. หนี้สินของครัวเรือน (ณ วนัที่ 31 มี.ค. 2545) (1) มีหนี้สินในระบบที่คางชําระ (ธนาคาร, ธ.ก.ส. ฯลฯ) จํานวน........................... บาท (2) แหลงสินเชื่อในระบบที่มีการกูยืมเปนประจํา....................... อัตราดอกเบี้ย.................บาท/ป (3) มีหนี้สินนอกระบบที่คางชําระ (นายทุน, เพื่อนบาน, ฯลฯ) จํานวน............................... บาท (4) มีลูกหนี้คางชําระ จํานวน......................................บาท (5) แหลงสนิเชื่อนอกระบบที่มกีารกูยืมเปนประจํา.................... อัตราดอกเบี้ย..................บาท/ป

Page 158: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

146

สวนท่ี 2 ขอมูลการทําการเกษตร 2.1 ตนทุนการปลกูพืชชนิดตางๆ

2.1.1 การปลูกขาว.................................. ไร (1) การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก

1. มีการไถเตรียมพื้นที่............................... คร้ัง 2. แรงงานในการเตรียมพื้นที่ () ทําเอง () จางแรงงาน........ คน คาจาง............... บาท 3. คาวัสดุส้ินเปลืองที่ใชในการเตรียมแปลง.................................. บาท

(2) การเตรียมกลาและปกดํา 1. ใชเมล็ดพันธุทั้งหมด............................... กก. มูลคา................................. บาท 2. การเตรียมกลาและปกดํา () ทําเอง () จางแรงงาน........ คน คาจาง.............. บาท 3. คาปุย / สารเคมี / ฮอรโมน จาํนวน..................... มูลคา......................... บาท 4. คาวัสดุส้ินเปลืองที่ใชในการเตรียมกลาและปกดํา...................................... บาท

(3) การดูแลรักษา 1. การใหน้ํา () ทาํเอง () จางแรงงาน คาจาง.............................. บาท 2. การปองกันกําจัดศัตรูพืช / วชัพืช () ทําเอง () คาจางแรงงาน........................ บาท 3. การใสปุย / ฮอรโมน / สารเรง () ทําเอง () คาจางแรงงาน......................... บาท

(4) การเก็บเกีย่ว / การตาก / การขนยาย / สีนวด () ทําเอง () คาจางแรงงาน............ บาท (5) ผลผลิตทั้งหมด.................... เก็บไวบริโภค............. เก็บไวเปนเมล็ดพันธุ.....................

จําหนาย.................................. ราคาที่ขาย..................................................

2.1.2 การปลูกพืชไร ไมยืนตน พืช........................... พันธุ................................. พื้นที่ปลูก............................ ไร (1) การเตรียมดนิ พื้นที่เพาะปลูก / ชักรอง / ขดุหลุม

1. มีการไถเตรียมพื้นที่............................... คร้ัง 2. แรงงานในการเตรียมพื้นที่ () ทําเอง () จางแรงงาน...... คน คาจาง............... บาท 3. คาวัสดุส้ินเปลืองที่ใชในการเตรียมแปลง.................................. บาท

(2) การเตรียมกลาและปลูก 1. ใชเมล็ดพันธุทั้งหมด............................... กก. มูลคา................................. บาท 2. การเตรียมกลาและปกดํา () ทําเอง () จางแรงงาน........ คน คาจาง............. บาท 3. คาปุย / สารเคมี / ฮอรโมน จาํนวน..................... มูลคา......................... บาท 4. คาวัสดุส้ินเปลืองที่ใชในการเตรียมกลาและปกดํา...................................... บาท

Page 159: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

147

(3) การดูแลรักษา 1. การใหน้ํา () ทาํเอง () จางแรงงาน คาจาง.............................. บาท 2. การปองกันกําจัดศัตรูพืช / วชัพืช () ทําเอง () คาจางแรงงาน........................ บาท 3. การใสปุย / ฮอรโมน / สารเรง () ทําเอง () คาจางแรงงาน........................ บาท

(4) การเก็บเกีย่ว / การตาก / การขนยายผลผลิต () ทําเอง () คาจางแรงงาน........... บาท (5) ผลผลิตทั้งหมด...................... เก็บไวบริโภค............. เก็บไวเปนเมล็ดพนัธุ.....................

จําหนาย.................................. ราคาที่ขาย.................................................. 2.1.3 การเลี้ยงสัตว / ประมง

สัตว..................... จํานวน.................................. ตัว / บอ,กระชัง (1) คาพันธุสัตว........................................... บาท (2) คาจางแรงงาน......................................... บาท (3) คาอาหารสัตว............................................... บาท (4) คาวัสดุส้ินเปลืองที่ใชในการดูแล....................................................... บาท (5) ผลผลิตทั้งหมด..................... เก็บไวบริโภค................ เกบ็ไวเปนพอแมพันธุ.................

จําหนาย.................................. ราคาที่ขาย.................................................. สวนท่ี 3 ขอมูลทัศนคติตอโครงการ 1. จํานวนปที่เขารวมโครงการทฤษฎีใหม............................... ป

2. สภาพปญหา มูลเหตุ กอนทาํเกษตรทฤษฎใีหม (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) สินคาอุปโภค/บริโภคราคาแพง ( ) ปญหาขาดแคลนน้ํา น้ําไมเหมาะสมกับการเกษตร ( ) ปญหาที่ดนิทํากินมีจํากัด ( ) ปญหาความยากจน ( ) ปญหาขาดแคลนแรงงาน ( ) ผลผลิตตกต่ํา มีโรคระบาด ( ) อ่ืนๆ........................................

3. ทัศนคติของเกษตรกรตอแนวทางทฤษฎีใหม (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) หลักการเนนความพอเพียง ( ) แนวทางการใชพื้นที่ที่เหมาะสม ( ) การสนับสนุนจากรัฐ ( ) เปนแนวทางที่เหมาะสมสาํหรับเกษตรกรรายยอย

Page 160: New โครงการเกษตรทฤษฎีใหม ... · 2016. 2. 16. · โครงการเกษตรทฤษฎีใหม : กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบ

148

ประวัติผูวิจัย ชื่อ นางสาวสุมณฑา มณเทยีร วัน เดือน ปเกิด 11 กรกฎาคม 2512 สถานที่เกิด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ประวัติการศึกษา เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวทิยาลัยรามคําแหง พ.ศ. 2537 สถานที่ทํางาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดกาญจนบุรี ตําแหนง เจาหนาทีว่ิเคราะหนโยบายและแผน 6 ว