organic agriculture

112

Upload: kant-weerakant-national-innovation-agency

Post on 27-Jul-2015

78 views

Category:

Business


2 download

TRANSCRIPT

องคความรแูละนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สารบญั

รายชือ่องคความรแูละนวตักรรมดานเกษตรอนิทรีย ป พ.ศ. 2552-2553

กลมุที ่1: ขาว ............................................................................................................................. 7กลมุที ่2: ผกัและผลไม .............................................................................................................. 15กลมุที ่3: ปศุสตัวและประมง ...................................................................................................... 39กลมุที ่4: แปรรูป ....................................................................................................................... 53กลมุที ่5: ปจจัยการผลิต ............................................................................................................ 65กลมุที ่6: มาตรฐาน .................................................................................................................. 91กลมุที ่7: รูปแบบการผลิต ......................................................................................................... 97กลมุที ่8: อื่นๆ .........................................................................................................................103

รายชื่อองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553 (เรยีงตามประเภทผลงาน)

รหัส ช่ือโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรบัผดิชอบ1. การเพาะปลูกขาวหอมมะล1ิ05 เกษตรอนิทรยีสมบรูณแบบ ขาว ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร

บริเวณเขตภาคกลางของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน2. ขาวอินทรียและการผลิตดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม ขาว มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ3. การศึกษาวิธีการเพ่ิมผลผลติของขาวดวยระบบปลกู ขาว คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน

แบบ SRI ในจังหวัดพัทลุง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลงุ4. การทำนาขาวอินทรีย ขาว สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย

จงัหวัดสพุรรณบุร ีและสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

5. อทิธิพลของจลุนิทรียทีม่ปีระสทิธิภาพ (Effective Microorganisms, ขาว คณะเกษตรศาสตรEM) ทีม่ตีอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีขาวดอกมะล ิ105ในดนิชดุรอยเอด็

6. การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 โดย ขาว คณะเกษตรศาสตรวิธีการผลิตแบบอินทรียและแบบท่ัวไป ในจงัหวัดอบุลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

7. ความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรีย ขาว คณะเกษตรศาสตรที่จะเปนอาชีพทางเลือกท่ีมีศักยภาพในการแกไขปญหาความ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานียากจนสำหรบัเกษตรกรภาคตะวนัออกเฉยีงเหนือตอนลาง

8. การเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสมบรูณ เพ่ือการสงออก ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตรตลาดโลกของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน

9. สายพันธถ่ัุวเหลืองทีม่ศีกัยภาพในการตรึงไนโตรเจนสงู ผกัและผลไม สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

10. การเพาะปลูกขาวโพดหวานเกษตรอินทรยีสมบรูณ เพ่ืออตุสาหกรรม ผกัและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตรเกษตรและการสงออกตลาดโลกโดยประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน

11. ความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท ผกัและผลไม คณะวิศวกรรมละอุตสาหกรรมเกษตรของสารสกัดจากผักอินทรีย มหาวิทยาลัยแมโจ

12. การปลูกผักรวมกับปอเทือง ผกัและผลไม ศนูยฝกอบรมวศิวกรรมเกษตร บางพูน13. ผลของการใชจลุนิทรียอีเอ็ม(Em) ตอการเพ่ิมผลผลติ ผกัและผลไม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชยีงราย

เห็ดโคนญ่ีปุนในฟางขาว14. ขาวโพดหวานอินทรีย ผกัและผลไม สถาบันวิจยัและเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคดนโลยีราชมงคลลานนา15. ชาอินทรีย ผกัและผลไม สำนักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง16. การเจริญเติบโตและผลผลิตเมลด็ของถ่ัวเขียว ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

ทีไ่ดจากการปลูกโดยใชปยุอนิทรยีและปยุเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน17. อทิธิพลของพันธแุละระยะปลูกตอการผลติ ผกัและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

เมล็ดพันธุถ่ัวเขียวตามระบบเกษตรอินทรีย มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน18. อทิธิพลของปยุอนิทรยีและปยุเคมตีอการเจรญิเติบโต ผกัและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

และการสรางผลผลิตของผักชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน19. การเปรียบเทียบผลผลิตและคุณภาพของเมล็ดพันธถ่ัุวเหลืองและ ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

ถ่ัวงอกหัวโตท่ีไดจากการผลติแบบเกษตรอนิทรยีและแบบใชสารเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน

สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)4

รหัส ช่ือโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรบัผดิชอบ20. ผลผลติและคุณภาพผลผลิตของขาวโพดฝกออนพันธกุารคา 4 ผกัและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

พันธทุีผ่ลติแบบระบบเกษตรดทีีเ่หมาะสมและระบบเกษตรอนิทรีย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน21. การประเมนิความตานทานไวรัสเสนใบเหลอืงและผลผลติ ผกัและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

ของพันธลุกูช่ัวท่ี 2 และพันธลุกูผสมกระเจ๊ียบเขียว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน22. ผลของปยุอนิทรยีอผลผลติ และคณุภาพของหนอไมฝรัง่ ผกัและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน23. ผลของปยุชวีภาพตอการสรางผลผลติของคะนา ผกัและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน24. การศึกษาอิทธิพลของปยุอนิทรยีและปยุชวีภาพ ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน

ตอการสรางผลผลิตผกับงุจนี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน25. การศึกษาศกัยภาพการผลิต การขนสง และการตลาด ผกัและผลไม สถาบันวิจยัและพัฒนา

ผกัอินทรียตามมาตรฐานสากลเพ่ือการสงออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี26. การศึกษาศักยภาพการผลิตผกัอินทรียและแนวทาง ผักและผลไม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

การสรางรูปแบบความสัมพันธระหวางภาคการผลิตและการตลาดผักอินทรียอยางครบวงจร

27. โครงการนำรองการใชบรรจุภัณฑพลาสติกชีวภาพ ผักและผลไม สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)สำหรบัลำไยอนิทรยี

28. หลกัสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรียวิทยาลัยชมุชน ผกัและผลไม วิทยาลัยชมุชนแพร29. ศกัยภาพการปลูกสละ “พันธเุนินวง” ดวยระบบ ผกัและผลไม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี

เกษตรอินทรียในจังหวัดอุบลราชธานี30. การเพาะปลูกผลไมเกษตรอินทรียสมบรูณ ผกัและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร

เพ่ือการสงออกตลาดโลกของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน31. น้ำนมอินทรียทีม่ปีรมิาณ CLA และ OMEGA 3 สงู ปศุสัตวและ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

ประมง32. การเล้ียงไกไข (อนิทรีย) ปศุสัตวและ ศูนยเรียนรชูมุชนปลกัไมลาย จงัหวัดนครปฐม

ประมง และสำนกังานปลดักระทรวงเกษตรและสหกรณ33. น้ำนมแพะอินทรีย ปศุสัตวและ สำนักงานปศุสัตวจังหวัดภูเก็ต

ประมง34. เปดไขอนิทรียเชียงใหม ปศุสัตวและ สำนักสขุศาสตรสตัวและสขุอนามยัท่ี 5

ประมง35. เครือขายปศุสตัวอนิทรียบานทัพไท สรุนิทร ตวัอยาง ปศุสัตวและ สำนักสขุศาสตรสตัวและสขุอนามยัท่ี 3

การพัฒนาชนบทดวยเกษตรอินทรียครบวงจร ประมง36. การปรับเปลี่ยนการเล้ียงโคนมสูมาตรฐานโคนมอินทรีย ปศุสัตวและ ศูนยปศสุตัวอนิทรยี กรมปศสุตัว

ประมง37. การศึกษาประสิทธิภาพของพืชสมนุไพรไทยในการยับย้ังการ ปศุสัตวและ ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร

เจรญิเติบโตของเช้ือ อ.ีโคไล ชนดิกอโรคในทางเดินอาหาร ประมง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี38. การศึกษาศักยภาพการเล้ียงสกุรก่ึงชวีภาพ ปศุสัตวและ คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ

เพ่ือประยกุตใชสำหรับเกษตรกรรายยอย ประมง และสิง่แวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร39. การผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรียในนาราง ปศุสัตวและ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

จังหวัดสุราษฎรธานี ประมง วทิยาเขตสุราษฎรธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร40. การผลติเมลด็พันธพืุชอาหารสตัวอนิทรยี ปศุสัตวและ กองอาหารสัตว กรมปศสุตัว

เพ่ือใชเปนอาหารสตัวอนิทรีย ประมง41. น้ำผึ้งอินทรียทางการแพทย ปศุสัตวและ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

ประมง42. โครงการเลีย้งปลาเบญจพรรณอนิทรยี ปศุสัตวและ วิทยาลัยชุมชนยโสธร

ประมง

องคความรแูละนวตักรรมดานเกษตรอนิทรีย ป พ.ศ. 2552-2553 5

รหัส ช่ือโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรบัผดิชอบ43. ผลิตภัณฑอินทรียสำหรับทำความสะอาดและดูแลผิวเด็ก แปรรูป สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

จากน้ำมันหอมระเหยท่ีสกัดดวยวิธีของเหลวย่ิงยวด44. “Lum Lum” ซอสพรกิอนิทรียทีม่ไีลโคพนีสูง แปรรูป สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)45. น้ำสมสายชูหมกัจากเสาวรส แปรรูป วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดง46. การแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของ แปรรูป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ชมุชนโรงเรยีน ตำรวจตระเวนชายแดน47. การถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร แปรรูป คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร

และเคร่ืองดื่มเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร48. การปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑปลาดุกรา แปรรูป คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน

ดวยการเติมสมนุไพรไทย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลงุ49. การพัฒนาผลิตภัณฑโจกขาวเจาหอมดำอินทรีย แปรรูป คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ผสมก่ึงสำเร็จรปู มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต50. การพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดำอินทรีย แปรรูป คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต51. การพัฒนาผลติภณัฑคกุก้ีขาวสังขหยดเพ่ือสขุภาพ แปรรูป คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลงุ52. น้ำมันรำขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย แปรรูป สหกรณกรีนเนท จำกดั53. “ตะวัน คันไถ” ปุยอินทรียคุณภาพสูง ปจจยัการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)54. สารชีวภาพเพ่ือกำจัดเพล้ียกระโดดสีน้ำตาลในนาขาว ปจจยัการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)55. ชวีภัณฑจากจุลนิทรียปฏปิกษ (PMOs) ปจจยัการผลิต คณะเทคโนโลยีการเกษตร

ยับย้ังเช้ือกอโรคเห่ียว (Ralstonia solanacearum) มหาวทิยาลัยราชภฏัเชยีงใหม56. การใชสาร allelopathy จากพืชและการคลมุดนิในการ ปจจยัการผลิต ฝายปฏิบตักิารวิจยัและเรือนปลกูพืชทดลอง

ควบคมุวัชพชืในแปลงปลกูผกัระบบเกษตรอนิทรยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน57. การผลิตเช้ือจลุนิทรียสำหรับยอยสลายสาร ปจจยัการผลิต สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและ

ในขยะและน้ำเสียเชิงพาณิชย มาตรฐานผลติภณัฑ มหาวิทยาลัยแมโจ58. การใชถ่ัวปยุพืชสดเปนปยุอนิทรยี ปจจยัการผลิต วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพัทลงุ

ในการผลิตขาวพันธสุงัขหยดพัทลงุ59. การประยุกตใชเชื้อรา Beauveria bassiana สายพันธุ ปจจยัการผลิต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ทองถิน่ในการควบคมุศตัรพืูชเพือ่การผลติผกัวงศกะหล่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตปลอดภยัจากสารพิษในสภาพควบคมุ

60. การถายทอดเทคโนโลยีเชงิปฏิบตักิารเร่ือง ปจจยัการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาการผลิตปยุหมักชวีภาพจากวัสดเุหลือใช เขตพ้ืนท่ีเชียงราย

61. โครงการอบรมการทำปยุอินทรียจากมลูสตัวและเศษกากพืช ปจจยัการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาเขตพ้ืนท่ีเชียงราย

62. การผลติจลุนิทรยีทีเ่ปนประโยชนจากปยุอนิทรยี ปจจยัการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยแมโจ

63. หวัเช้ือจลุนิทรยี 8พลัง (8เซยีน) ปจจยัการผลิต ท่ีปรึกษาชมรมเกษตรอินทรียแหงประเทศไทย64. เชือ้สเตรปโตมัยซสิ: จลุนิทรียควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียของแตง ปจจยัการผลิต ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร

คณะเกษตรศาสตร มหาวทิยาลัยขอนแกน65. ปยุน้ำชวีภาพ ไบโอเทค-1 ปจจยัการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชวีภาพ คณะเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยขอนแกน66. ปยุน้ำชวีภาพ ไบโอเทค-2 ปจจยัการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชวีภาพ คณะเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยขอนแกน67. ปยุน้ำชวีภาพ ไบโอเทค-3 ปจจยัการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชวีภาพ คณะเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยขอนแกน

สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)6

รหัส ช่ือโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรบัผดิชอบ68. ปุยน้ำชีวภาพ มข.1 ปจจยัการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชวีภาพ คณะเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยขอนแกน69. การศึกษาประสิทธิภาพของเช้ือรา Pochonia chlamydosporia ปจจยัการผลิต คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี

ตอการควบคุมไสเดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita70. การผลติปยุอนิทรยีแบบเตมิอากาศ ปจจยัการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร

เพ่ือเปนปจจยัการผลิตพืชผกัอนิทรยี มหาวิทยาลัยแมโจ71. การผลติปยุอนิทรยีไมพลิกกลับกองวธีิวิศวกรรมแมโจ 1 ปจจยัการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยแมโจ72. การผลติเชือ้จลุนิทรยีควบคมุเชือ้สาเหตโุรคพืช ปจจยัการผลิต สำนักเทคโนโลยีชวีภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดนิ

โดยใชสารเรงซปุเปอร พด3.73. สารเรงซปุเปอร พด.7 สำหรบัผลติสารควบคุมแมลงศตัรพืูช ปจจยัการผลิต สำนักเทคโนโลยีชวีภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดนิ74. ปยุชวีภาพ พด.12 ปจจยัการผลิต สำนักเทคโนโลยีชวีภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดนิ75. จลุนิทรยีสำหรบัพชืปรบัปรงุบำรงุดนิ พด11. ปจจยัการผลิต สำนักเทคโนโลยีชวีภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดนิ76. การนำรองการใชถุงพลาสติกชีวภาพ PBS ในการคัดแยก ปจจยัการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

ขยะอินทรยีเพ่ือผลติปยุอนิทรีย ณ เกาะเสม็ด77. ‘Phaya-Hero’ ผลติภณัฑกำจัดแมลงศตัรพืูช ปจจยัการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

จากสารสกัดสมนุไพรหนอนตายหยาก78. การจัดทำมาตรฐานเกษตรอินทรีย ป 2553 มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร

แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ79. โครงการพัฒนาระบบการผลิตและมาตรฐาน มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร

ระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรียทองถ่ิน แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ80. โครงการพัฒนาตลาดและระบบการตรวจรับรอง มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร

สินคาเกษตรอินทรีย แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ81. การใช IT ในการบริหารจัดการระบบควบคุมภายใน สำหรบั มาตรฐาน มลูนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท

การตรวจสอบรบัรองมาตรฐานเกษตรอนิทรยีแบบกลมุผผูลติ82. ระบบ ICM สำหรับการผลิตพืชอนิทรยี รปูแบบการผลติ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)83. วิจยัและพัฒนาการเกษตรแบบยัง่ยืน เพ่ือประโยชนตอ รปูแบบการผลติ สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและ

การศึกษาและการอนุรกัษสิง่แวดลอม : มติใิหมของ มาตรฐานผลิตภณัฑ มหาวิทยาลัยแมโจการเกษตรเพ่ือสขุภาพและความอยรูอด

84. การพัฒนาความสามารถในการทำเกษตรอินทรียของกลุม รปูแบบการผลติ ภาควิชาพืชไร คณะเกษตรศาสตรชมุชนวิทยาศาสตรเกษตรกรพอเพียงบานหนองมัง อำเภอสำโรง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจงัหวัดอบุลราชธานี : กรณีเกษตรอนิทรยีกับนเิวศนเกษตร

85. การพัฒนารูปแบบการทำเกษตรอินทรียของสมาชิก รูปแบบการผลติ วิทยาลัยชุมชนยโสธรชมรมรกัษธรรมชาต ิ จงัหวดัยโสธร

86. การพัฒนาตนแบบระบบเกษตรอินทรีย รปูแบบการผลติ สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรภายใตกรอบทฤษฎใีหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

87. เคร่ืองปนวัสดุการเกษตรเอนกประสงค อืน่ๆ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา88. เคร่ืองอดัเม็ดปยุอินทรียแบบประยุกต อืน่ๆ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจติร89. ผาทอเสนใยกญัชงอนิทรยีแบบยกดอกสำเรจ็รปู อืน่ๆ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)90. การบมเพาะผปูระกอบการเกษตรอนิทรยี อืน่ๆ มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท91. ไบโอคลนี อืน่ๆ ภาควชิาเทคโนโลยีชวีภาพ คณะเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยขอนแกน92. บานหญาแฝก อ่ืนๆ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม93. ‘สรรีารมย’ ออรแกนิคเมดคิลัสปา อืน่ๆ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

กลมุท่ี 1: ขาว

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105 เกษตรอินทรียสมบูรณแบบบริเวณเขตภาคกลางของ

ประเทศไทย Fully Organic Rice Production var. Koa-Dok-Ma-Li-105 on Central Region of

Thailand

2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท และ ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน จากแนวคิดทางวิทยาศาสตรการเกษตรในการเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105 เพ่ิมเติมนอกพ้ืนท่ีหลักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งไดแก ภาคกลางท่ีมีพ้ืนท่ีปลูกขาวมากกวา 30 ลานไรท่ีมีระบบชลประทานที่เพียงพอ จึงไดมีการศึกษาเบ้ืองตน พบวาสามารถเพาะปลูกไดโดยมีปริมาณผลผลิตตอไรเพ่ิมจากผลผลิตขาวเปลือก 300-500 กิโลกรัมตอไร มาสูท่ีระดับผลผลิตขาวเปลือก 800-1,000 กิโลกรัมตอไร แตคุณภาพความหอมของขาวหอมมะลิ105 ในผลิตในภาคกลางมีความหอมตํ่ากวาขาวหอมมะลิ105 ท่ีปลูกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงไดมีแนวคิดเพ่ือเพ่ิมความหอมในขาวหอมมะลิ105โดยปลูกแบบเกษตรอินทรียท่ีไมใชปุยเคมี สารกําจัดศัตรูพืชทุกชนิด จากการศึกษาพบวา การเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105ในระบบเกษตรอินทรียบนพ้ืนท่ีเพาะปลูกในเขตภาคกลาง ไดผลผลิต 1000 กิโลกรัมขาวเปลือกตอไรโดยมีคุณภาพความนุมและความหอมไมนอยกวาขาวหอมมะลิ105 ท่ีปลูกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตขาวหอมมะลิ

เกษตรอินทรีเพ่ือการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรที่ดิน แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุขาวหอมมะลิ105 ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ท้ังหมดจากประเทศไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยท่ีกําหนดใหไมมีสารพิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และพรอมถายทอดเทคโนโลยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกรตางๆ ระยะเวลา 5-7 วัน

6. สถานท่ีติดตอ - หจก.พรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต.จําปา อ.ทาเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา 13130

โทร. 035-341-580 - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50

ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ขาวอินทรียและการผลิตดวยเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม 2. ชื่อเจาของผลงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อาํเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ขาวอินทรีย (Organic Rice) เปนขาวท่ีไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย (Organic Farming) ซึ่งเปนวิธีการผลิตท่ีหลีกเล่ียงการใชสารเคมีหรือสารสังเคราะห เชน ปุยเคมี สารเรงการเจริญเติบโต สารควบคุม สารกําจัดวัชพืช สารปองกันกําจัดโรคแมลง และศัตรูขาวในทุกขั้นตอนการผลิต รวมถึงในระหวางการเก็บเกี่ยวผลผลิตและการเก็บรักษาผลผลิต โดยเกษตรกรสามารถใชสารสกัดจากพืชหรือวัสดุจากธรรมชาติท่ีไมมีสารพิษตกคางในผลิตผลและส่ิงแวดลอมและสถานการณปจจุบันเกษตรกรมีตนทุนในการผลิตสูงเนื่องจากการใชแรงงานของครัวเรือนลดลงมีการใชเทคโนโลยีจากตางประเทศ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงขึ้น เกิดภัยทางธรรมชาติ มีปญหาเกี่ยวกับวัชพืชและศัตรูพืช ซึ่งเกษตรกรสวนใหญขาดองคความรูในการแกไขปญหาดังกลาวรวมถึงการขายผลผลิตขาวไดราคาตํ่า ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถจึงไดจัดทําชุดความรูในการผลิตขาวตนทุนตํ่า โดยการใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมรวมกับภูมิปญญาทองถ่ินของเกษตรกรในพื้นท่ีจังหวัดอุตรดิตถ 4. รายละเอียดผลงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ไดเสนอสภามหาวิทยาลัยท่ีจะใหบริการวิชาการในโครงการเกษตรเพ่ือ ลดตนทุน โดยมอบหมายใหศูนยการเรียนรูชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ดําเนินการ ดังนี้

1) ปรับเปล่ียนพฤติกรรมตามหลักสูตร/ สรางจิตสํานึกท่ีดีในการประกอบอาชีพ 2) ปรับปรุงโครงสรางดินดวยปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร 3) คัดกรองพันธุขาวหอมทองถ่ินในจังหวัดอุตรดิตถ 4) การผลิตสารสมุนไพร และสารชีวภัณฑเพ่ือปองกันรักษาโรคพืชและแมลงศัตรูพืช 5) เทคโนโลยีภูมิปญญาทองถ่ิน พัฒนาดวยปราชญชาวบานกับนักวิชาการ (เครื่องหยอดเมล็ดพันธุขาว) 6) การเฝาระวัง และการตรวจติดตามผลในแปลงนา 7) ผลผลิตขาว หอมแดง และหอมนิล

5. สถานภาพของผลงาน ทดลองใชและขยายผลกับเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ 6. สถานท่ีติดตอ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การศึกษาวิธีการเพิ่มผลผลิตของขาวดวยระบบปลูกแบบ SRI ในจังหวัดพัทลุง

Study high-yield method of rice with the system of rice intensification (SRI) in Phatthalung Province

2. ชื่อเจาของผลงาน อาจารย นันทิยา พนมจันทร, จตุพร ไกรถาวร และชนสิริน กล่ินมณี สังกัดคณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชมุชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน พัทลุงเปนแหลงปลูกขาวท่ีสําคัญท่ีสุดของภาคใต ปญหาที่เกิดขึ้นดานการผลิตขาวคือ ผลผลิตตอไรต่ํา ขาวคุณภาพต่ํา มีการปนเปอนสารเคมี ขาดแคลนน้ําในฤดูแลง และดินขาดอินทรียวัตถุแนนทึบและเปนกรด จากปญหาดังกลาวโดยเฉพาะดานผลผลิตตอไรต่ํา สามารถแกไขปญหาไดโดยพิจารณาจากความเหมาะสมของระยะปลูก ระบบการผลิตขาวแบบ SRI (The system of rice intensification) เปนระบบการปลูกพืชท่ีพยายามจะสรางสภาพแวดลอมใหมท่ีเอื้อตอการแสดงศักยภาพของตนขาวอยางเต็มท่ี ตั้งแตการเตรียมกลาท่ีระยะ 8-12 วัน ลักษณะการเตรียมดิน วิธีการยายปลูกแบบตัว L แทนการปกดํา ใชหนึ่งตนตอหลุม ระยะระหวางหลุมเทากัน และการจัดการน้ําโดยปลอยใหหนาดินแกงและเปยกสลับกันจนกระทั่งถึงระยะกอนออกรวงเล็กนอย จึงปลอยน้ําทวมประมาณ 1-2 เซนติเมตร ไมมีการใชสารเคมีกําจัดวัชพืช ใชปุยอินทรียแทนการใชปุยเคมี ระบบการผลิตขาวแบบ SRI จึงปราศจากสารพิษตกคางในดินและพืช รวมท้ังยังชวยปรับโครงสรางของดินใหดีขึ้นทําใหรากพืชเจริญเติบโต ในดินไดดี สงผลใหผลผลิตขาวเพ่ิมสูงขึ้น ดังนั้นจึงทําการศึกษาเพ่ือหาวิธีการเพ่ิมผลผลิตของขาวใหสูงขึ้นดวยระบบปลูกแบบ SRI ซึ่งเปนระบบการปลูกพืชแบบใหมท่ีสามารถลดตนทุนการผลิต ชวยเพิ่มผลผลิต ผลผลิตมีคุณภาพไดมาตรฐานและปลอดภัย และสามารถแกปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติไดดวย

4. รายละเอียดผลงาน การศึกษาเกี่ยวกับระบบปลูกแบบSRI เปนระบบการปลูกพืชท่ีพยายามจะสรางสภาพแวดลอมใหมท่ีเอ้ือตอการแสดงศักยภาพของตนขาวอยางเต็มท่ีเพ่ือใหมีผลตอการเพ่ิมผลผลิตในขาวพันธุพ้ืนเมือง พันธุขาวท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรของจังหวัด และขาวพันธุใหม ๆ ท่ีปรับปรุงพันธุขึ้นมาใหเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดพัทลุง

5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินโครงการเสร็จส้ินแลว

6. สถานท่ีติดตอ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 222 หมู 2 ต.บานพราว อ.ปาพะยอม จ.พัทลุง 93110

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การทํานาขาวอินทรีย

2. ชื่อเจาของผลงาน สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย จ.สุพรรณบุรี (นายทองเหมาะ แจมแจง)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การทํานาขาวอินทรีย เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเกษตรภายใตโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการทํานาขาวอินทรียนั้นจะชวยลดตนทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเพราะการใชปุยจุลินทรียจะทําใหไดผลผลิตประมาณ 800 กิโลกรัม/ไร โดยตนทุนในการใชปุยอินทรียประมาณ 200 บาท/ไร ในขณะที่ใชปุยเคมีจะไดผลผลิตประมาณ 400 บาท ตอไร

4. รายละเอียดผลงาน การทํานาขาวอินทรีย มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้ - การเตรียมพันธุขาวและการคัดเลือกพันธุ ตองเลือกเมล็ดขาวท่ีโตมีความสมบูรณแกจัดถอนออกเปนรวงท่ีสมบูรณท่ีสุด โดยแยกเมล็ดขาวและฟางขาวออกจากกัน จากนั้นนําเมล็ดมาฝดเพ่ือคัดเลือกเมล็ดพันธุท่ีไมสมบูรณออก แลวนําเมล็ดขาวท่ีคัดเลือกวาดีมาตากแหงเก็บไวทําพันธุตอไป - การเตรียมคูคันนา การทํานาตองเตรียมคูคันนาใหมีความสูงประมาณ 50 – 70 เซนติเมตร หนา 60 – 80 เซนติเมตร เพ่ือกักเก็บน้ํา ถาไมมีน้ําขังจะเกิดวัชพืชในนาขาว คันนา ควรใสทอระบายน้ําชวงแรกในการปกดําไมควรใหระดับน้ําสูงมากกวา 10 เซนติเมตร เพราะตนขาวยังไมแข็งแรงพอ ถามีน้ําในแปลงนามากจะทําใหตนขาวเนาได การขังน้ําควรใหอยูในระดับเดียวกันดวย - การนําจุลินทรียมาหมักเมล็ดขาว โดยใหน้ําจุลินทรียทวมเมล็ดขาว หากมีเมล็ดขาวฟูน้ํา ใหเก็บออกใหหมดควรแชเมล็ดขาวประมาณ 2 – 3 วัน และนําขึ้นจากน้ํามาพักไว 1 วัน แลวนํามาหวานในแปลงที่เตรียมไว - การเตรียมแปลงเพาะกลาพันธุขาว ควรไถคราดดินใหรวนซุยและระดับพ้ืนเสมอกัน ปลอยท้ิงไว 2-3 ชม. นําเมล็ดขาวท่ีเตรียมไวมาหวาน ท้ังนี้ โดยประมาณ 10 – 15 วัน ตนกลาต้ังหนอไดแข็ง นําน้ําจุลินทรียผสมน้ําพนตนกลา ผสมน้ําจุลินทรีย 3 ชอนโตะ กับน้ํา 20 ลิตร พนใหท่ัวแปลงกลาและขังน้ําใสตนกลาอยาใหน้ําขาดจากแปลงตนกลา โดยกอนจะถอนตนกลา 5 วัน ใชน้ําจุลินทรียพนอีกเพ่ือถอนไดงาย - การปกดํา ในชวงกอนปกดําควรขังน้ําไวในนาเพ่ือทําใหดินนิ่ม พอถึงเวลาดํานาควรปลอยน้ําท่ีขังออกคันนาใหเหลือประมาณ 10 -15 ซม. หลังจากนั้น นําตนกลามาปกดํา กําหนดใหระยะหางระหวางตนประมาณ 40 ซม. เพ่ือใหแตกกอไดดี โดยใสตนกลากอละประมาณ 2 – 3 ตน เมื่อปกดําแลว 15 วัน นําจุลินทรียไปผสมนํ้าพนตนขาวเพ่ือกระตุนเชื้อจุลินทรียตอนเตรียมดินและทําใหตนขาวแข็งแรงเติบโตและทนตอศัตรูขาว ตองคอยดูแลรักษาตนขาวและดูระดับน้ําอยาใหขาดจากนาขาว และพนจุลินทรียทุก 20 วัน จนขาวตั้งทองจึงงดพนจุลินทรีย แตยังคงตองรักษาระดับน้ําไวอยางเดิม - ปญหาโรคแมลงในนาขาว ถามีโรคแมลงมารบกวน ใหใชสมุนไพรท่ีมีฤทธิ์ ไลแมลงชนิดสกัดหรือหมัก ฉีดพนในอัตรา 3-5 ชอนโตะ ตอนํ้า 20 ลิตร พนติดตอกัน 3 วัน โดยเฉพาะควรฉีดพนชวงเย็น

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และมีระบบการผลิตขาวท่ีใชในการดํารงชีวิตประจําวันของปราชญชาวบาน

6. สถานท่ีติดตอ สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย (นายทองเหมาะ แจมแจง) 52 หมู 6 ตงวังหวา อ.ศรีประจันต จ.สุพรรณบุรี โทร 087-0251240

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน อิทธิพลของจุลินทรียท่ีมีประสิทธิภาพ(Effective Microorganisms, EM) ท่ีมีตอการ

เจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ในดินชุดรอยเอ็ด (Effects of Effective Microorganisms on growth and yields of Khao-Dawk-MaLi 105 Rice on Roi-et Soil Series)

2. ชื่อเจาของผลงาน นายประพนธ บุญเจริญ และคณะ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันมีการใชสารจุลินทรียท่ีมีประสิทธิภาพสูง(Effective Microorganism, EM) เพ่ือการเกษตรกรรมดานการปลูกพืชและเล้ียงสัตว ซึ่งกําลังไดรับความสนใจจากเกษตรกร และมีการนํา EM มาใชกันอยางแพรหลาย แตยังไมมีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุนดานความเปนประโยชน และนอกจากนี้ผลตอการเปล่ียนแปลงเพิ่มธาตุอาหารในดิน ในแงของการไปชวยเรงการยอยสลายเศษซากพืชและสัตวในดิน ท่ีตองใชเวลาคอนขางหลายป ดังน้ันคณะวิจัยจึงไดทําการทดลองเพ่ือท่ีจะศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลของการใช EM ท่ีมีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ท่ีปลูกในดินชุดรอยเอ็ด ในสภาพโรงเรือนและแปลงนาปลูกพืชทดลอง ในชวงเวลาตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2546 ถึงพฤศจิกายน 2547 ในฤดูนาปรังและนาป 4. รายละเอียดผลงาน การใส EM อยางเดียว ใหจํานวนใบตอตน จํานวนตนตอกอ และความสูงของตนขาวเจาสายพันธุ ขาวดอกมะลิ 105 ไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและไมใส EM ขณะท่ีการใสปุยเคมี ปุยคอก และปุยหมักชีวภาพทั้งท่ีใสและไมใส EM รวม ทําใหจํานวนตนตอกอ และความสูงเพ่ิมขึ้น การใส EM ใหผลผลิตขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและไมใส EM การใส EM อยางเดียว ไมทําใหปริมาณธาตุอาหารในดินเพ่ิมสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมีของดินกอนและหลังทําการทดลอง แตปริมาณธาตุฟอสฟอรัสท่ีเปนประโยชนและโปแตสเซียม มีปริมาณลดลงมาก ขณะท่ีการใสปุยเคมีมีผลทําใหคาความเปนกรดในดินสูงขึ้น การใสปุยคอกทั้งท่ีใสและไมใส EM รวม มีผลทําใหปริมาณของเปอรเซ็นตอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลองเพ่ิมสูงขึ้น ขณะท่ีการไมใสปุยและไมใส EM มีผลทําใหปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสท่ีเปนประโยชนลดลงต่ําสุด แมวาการใส EM ทําใหการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 เพ่ิมขึ้นไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและใส EM แตเปนเพียงผลการทดลองในปท่ี 1 ซึ่งเปนชวงระยะเวลาส้ันๆ ดังนั้นควรไดทําการทดลองตอเนื่องเปนระยะเวลา 3-4 ปขึ้นไป 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

สํานักงานไรฝกทดลองและหองปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 โดยวิธีการผลิตแบบ อินทรียและแบบท่ัวไป ในจังหวัดอุบลราชธานี

Study on growth and yield of Khao Dawk Mali 105 paddy under organic and conventional rice cultivation in Ubon Ratchathani

2. ชื่อเจาของผลงาน รศ.ดร.สุวัฒน ธรีะพงษธนากร และนางสาวอัญชณา สารแสน

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน กระบวนการผลิตขาวแบบอินทรียมีอัตราการขยายตัวเพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่อง จังหวัดอุบลราชธานีเปนจังหวัดหนึ่งที่นําระบบการผลิตขาวแบบดังกลาวเขามา โดยพันธุขาวท่ีใชในการผลิต คือพันธุขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งเปนพันธุสนับสนุนจากทางราชการสงเสริมใหปลูก แตการผลิตโดยการทําระบบเกษตรดังกลาวเมื่อเทียบกับระบบท่ัวไปยังไมสามารถกลาวไดแนชัด ถึงผลตอการเจริญเติบโต และการใหผลผลิตท่ีเหมาะสมกับการลงทุนของเกษตรกร เพ่ือชวยเปนแนวทางตัดสินใจตอการผลิตขาวที่เหมาะสมตอเกษตรกร จึงควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมในลักษณะดังกลาว

4. รายละเอียดผลงาน สมบัติทางกายภาพและเคมีดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตของแปลงเกษตรกรปลูกขาวอินทรียโดยรวม ยังคงมีลักษณะอนุภาคดินและปริมาณธาตุอาหารตกคางในดินสูงกวาแปลงเกษตรกรปลูกขาวท่ัวไป สําหรับตนขาวในระยะแตกกอสูงสุด พบวา ขาวอินทรียมีปริมาณและการดูดใชไนโตรเจนในใบ ตน และรากต่ํากวาตนขาวท่ัวไป 3 เทา แตปริมาณการดูดใชฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในตนขาวอินทรียมีสูงกวาตนขาวท่ัวไป 3 และ 2 เทาตามลําดับ สวนในระยะเก็บเกี่ยวพบวา ตนขาวอินทรียมีปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมสูงกวาตนขาวท่ัวไป 0.009 และ 0.059 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนตนขาวท่ัวไปมีการดูดใชไนโตรเจนและโพแทสเซียมสูงกวาตนขาวอินทรีย 3 และ 6 เทาตามลําดับ สวนผลผลิต องคประกอบผลผลิตและคาดัชนีเก็บเกี่ยว เกษตรกรปลูกขาวอินทรียไดผลผลิต 295 กิโลกรัมตอไรสูงกวาเกษตรกรปลูกขาวทั่วไปที่ไดผลผลิตเพียง 276 กิโลกรัมตอไร ท้ังนี้เนื่องจากขาวอินทรียมีองคประกอบผลผลิต คือ จํานวนเมล็ดตอรวง เปอรเซ็นตเมล็ดดี น้ําหนัก 1,000 เมล็ด และดัชนีเก็บเกี่ยวสูงกวาขาวทั่วไป

ตนขาวเกษตรกรรายที่ 1 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 2 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 3 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 4

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน

6. สถานท่ีติดตอ ภาควิชาพืชไร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรียท่ีจะเปนอาชีพ ทางเลือกท่ีมีศักยภาพในการแกไขปญหาความยากจนสําหรับเกษตรกรภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

The Possibility of Hom Mali Rice Production in Organic Farming Systems as an Alternative Farming Career with Poverty Alleviation Potential for Lower-Northeastern Farmers

2. ชื่อเจาของผลงาน รศ.ดร.นันทิยา หุตานุวัตร และคณะ

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การวิจัยคร้ังนี้จึงมีวัตถุประสงคเพ่ือไดผลวิเคราะหความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรียท่ีจะเปนอาชีพทางเลือกท่ีมีศักยภาพในการแกไขปญหาความยากจนสําหรับเกษตรกร โดยมีเกษตรกรกลุมศึกษาในจังหวัดสุรินทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และรอยเอ็ด จํานวน 476 ราย รวมท้ังไดศึกษาผูบริโภค 118 ราย ผูประกอบการโรงสีท้ังเอกชนและกลุมเกษตรกร 32 โรง ผูประกอบการคาขาวและการสงออก 5 ราย และตัวแทนหนวยงานราชการระดับจังหวัดและสวนกลางที่เกี่ยวของ วิธีการวิจัยใชแบบสํารวจเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ

4. รายละเอียดผลงาน ผลการศึกษาพบวา การผลิตขาวหอมมะลิอินทรียมีความเปนไปไดในการเปนอาชีพทางเลือกท่ีมีศักยภาพในการแกไขความยากจนทางสภาพสังคมและวัฒนธรรมในระดับสูง ทางสภาพกายภาพและชีวภาพทางการผลิตในระดับกลางคอนขางสูง และทางสภาพเศรษฐกิจในระดับกลาง ดังนั้น เกษตรกรจึงควรมีทัศนคติและแรงบันดาลใจในการผลิตขาวหอมมะลิอินทรียดวยผลประโยชน 4 ประการ คือ 1) การฟนฟูแปลงนาใหอุดมสมบรูณ ซึ่งจะทําใหผลผลิตขาวเพ่ิมขึ้น 2) การใชปจจัยการผลิตท่ีไดจากฟารมของตนเอง ทําใหลดตนทุนการผลิตขาวท่ีเปนเงินสด 3) การใชประโยชนความเปนอินทรียของฟารมทําการผลิตชนิดอื่น ๆ ท่ีใหผลตอบแทนเสริมหรือไดเทาหรือดีกวาขาว 4) การลดความเสี่ยงจากอันตรายในการใชสารเคมีสังเคราะหปราบศัตรูพืช ทําใหสุขภาพของตนเองและครอบครัวดีขึ้น นอกจากนี้ พบวาระบบเกษตรผสมผสานที่มีขาวหอมมะลิอินทรียเปนพืชหลักมีศักยภาพที่จะเปนอาชีพทางเลือกในการแกไขความยากจน โดยจะตองมีความเขมขนของสวนประกอบ 5 ประการ ไดแก 1) การสรางระบบเกษตรที่ผสมผสานและหลากหลายโดยใชประโยชนหรือเกื้อกูลกันของการผลิต 2) การพ่ึงปจจัยการผลิตในฟารมของตนเองมากที่สุด 3) การผลิตชนิดอื่นตามศักยภาพพื้นท่ีและความตองการของตลาด 4) ความขยันเก็บผลผลิตออกขายเปนรายไดประจํา 5) การเอาใจใสปกหลักการทําอาชีพเกษตรอินทรียผสมผสานโดยอาศัยอยูในฟารม 6) การรวมกลุมและการสรางเครือขายของเกษตรกรจะเปนการเสริมสรางความแข็งแกรงของอาชีพทางเลือกท่ีมีศักยภาพแกไขปญหาความยากจน 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

กลมุท่ี 2: ผกัและผลไม

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสมบูรณ เพ่ือการสงออกตลาดโลกของประเทศไทย

Fully Organic Economic Vegetables Production for Export to World Market of Thailand

2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากดัพรุฟอิท และ ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ดวยประเทศไทยใชท่ีดินเพ่ือการเพาะปลูกผัก 2.73 ลานไร ไดผลผลิตผักปละ 4.3 ลานเมตริกตัน มีการบริโภคภายในประเทศปละ 4.1 ลานเมตริกตัน และสามารถสงผักออกสูตลาดโลก (World Market) ไดปละ 0.2 ลานเมตริกตันมูลคา 6,300-8,000 ลานบาท ผักสงออกท่ีสําคัญไดแก ขาวโพดฝกออน หนอไมฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว และใบบริโภคใบชนิดตางๆ วิทยาการและความรูในการเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสามารถผลักดันใหการสงออกไปยังตลาดโลก โดยมูลคาท่ีสงออกในปจจุบัน เพ่ิมเปน 10,000 ลานบาท ประเทศไทยกลายเปนผูสงออกผักเกษตรอินทรยีอันดับตนของตลาด และยังประโยชนท่ีสําคัญสามารถผานมาตรการกีดกันทางการคาได เพราะไมมีการแขงขันในผลผลิตผักเกษตรอินทรีย ดวยความปลอดภัยท่ีสูงสุดจากการไมมีสารพิษตกคางในผลผลิตเกษตรอินทรีย

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตผักกษตรอินทรีเพ่ือการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรท่ีดิน แหลงน้ํา บุคลากรท้ังระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุผัก ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ท้ังหมดจากประเทศไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยท่ีกําหนดใหไมมีสารพิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และพรอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกรตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน 6. สถานท่ีติดตอ

- หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา 13130 โทร. 035-341-580 - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน สายพันธุถั่วเหลืองท่ีมีศักยภาพในการตรึงไนโตรเจนสูง Soybean varietal on High N2-fixation Protential 2. ชื่อเจาของผลงาน นายธีระ สมหวัง สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรงุเทพฯ 10900 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ถ่ัวเหลือง (Glycine max (L.)Merrill) เปนพืชท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยพืชหนึ่ง ท่ีการผลิตยังไมเพียงพอตอความตองการภายในประเทศ จึงตองนําเขาจากตางประเทศในรูปของกากถ่ัวเหลือง และเมล็ดเปนปริมาณกวาลานตันตอป สาเหตุหนึ่งท่ีทําใหเกษตรกรไมนิยมปลูกถ่ัวเหลืองเนื่องมาจากตนทุนการผลิตคอนขางสูง การใชปุยเคมีไนโตรเจนก็เปนปจจัยหนึ่ง ซึ่งปุยเคมีไนโตรเจนในปจจุบันจะมีราคาแพง จากงานทดลองของณัฐวุฒิ และคณะ (2540) พบวา เกษตรกร 81.0%ใสปุยเคมีไนโตเจน ในอัตรา 20-30 กิโลกรัม/ไร และใชมาเปนระยะเวลานานหลายปทําใหโครงสรางของดินเสียและมีผลทําใหผลผลิตลดลง จึงมีการใชปุยเคมีในอัตราท่ีมากขึ้นเพ่ือทําใหได ผลผลิตท่ีสูง ดังนั้นจึงเปนการเพ่ิม ตนทุนการผลิตขึ้นไปอีก แตถ่ัวเหลืองก็มีขอไดเปรียบตรงท่ีสามารถใชปุยไนโตรเจนจากการตรึงโดยแบคทีเรีย ไรโซเบียม การเพ่ิมประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสามารถทําได 2 แนวทางดวยกัน คือ การจัดการใหถ่ัวเหลืองมีการเจริญเติบโตสูงท่ีสุด โดยใหไดรับปจจัยการผลิตสมบูรณท่ีสุด (Peoples et al., 1995) และการปรับปรุงพันธุถ่ัวเหลืองใหมีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงขึ้น 4. รายละเอียดผลงาน

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินการทดสอบพันธุในชั่วลูกผสมท่ี 8 ตรียมพรอมขึ้นทะเบียนพันธุ 6. สถานท่ีติดตอ

สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 136 หมู 12 ต.เขาหินซอน อ. พนมสารคาม จ. ฉะเชิงเทรา24120 โทรศัพท 038-551111 โทรสาร 038-551201 E-mail address : [email protected]

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกขาวโพดหวานเกษตรอินทรียสมบูรณ เพ่ืออุตสาหกรรมเกษตรและการ

สงออกตลาดโลกโดยประเทศไทย Fully Organic Sweet Corn Production for Agricultural Industry and Export to World Market of Thailand

2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากดัพรุฟอิท และ ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันประเทศไทยสงออกขาวโพดหวานแบบแปรรูปและแชแข็งไปยังตลาดสหภาพยุโรป และยังมีตลาดใหมท่ีมีปริมาณการส่ังซื้อในปริมาณมากดวยเชน ญี่ปุน ปจจัยท่ีสนับสนุนการขยายตัวของตลาดสหภาพยุโรปท่ีสําคัญไดแก ผูบริโภคมีความตองการในขาวโพดหวานเกษตรอินทรีย ผูบริโภคในตลาดสหภาพยุโรปมีรายไดตอคนตอปท่ีเพ่ิมมากขึ้น มีการขยายตัวของ supermarket และ hypermarket เปนจํานวนมาก และ ตลาดสหภาพยุโรปยังเขมงวดกวดขันในเรื่องการตรวจวิเคราะหสารพิษตกคางในผลผลิตขาวโพดหวาน เปนตน จากขอมูลดังกลาว ทําใหเกิดแนวคิดทางวิทยาศาสตรเกษตรในการเพาะปลูกเพ่ือผลิตขาวโพดหวานเกษตรอินทรียเพ่ือนําไปแปรรูปในตลาดเดิม และสงในรูปขาวโพดหวานเกษตรอินทรียท้ังฝกท่ีบรรจุในถุงสุญญากาศ

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตขาวโพดหวานเกษตรอินทรีเพ่ือการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรที่ดิน แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุขาวโพดหวาน ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ท้ังหมดจากประเทศไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยท่ีกําหนดใหไมมีสารพิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และพรอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกรตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน

6. สถานท่ีติดตอ - หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา 13130 โทร 035-341-580 - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนทของสารสกัดจากผักอินทรีย Antioxidant activities of organically-grown vegetable extracts 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ. ดร.วิจติรา แดงปรก

คณะวิศวกรรมละอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันผูคนไดใหความสนใจบริโภคผักอินทรียมากข้ึน แตขอมูลทางวิทยาศาสตรท่ีเกี่ยวกับผักอินทรีย โดยเฉพาะในประเทศไทยยังมีนอยมาก งานทดลองนี้จึงมุงศึกษาความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนทของสารสกัดจากผักอินทรียชนิดตางๆ ท่ีมีจําหนายท่ัวไปในทองตลาดจังหวัดเชียงใหม 4. รายละเอียดผลงาน ผักอินทรียท่ีศึกษาในการทดลองนี้มี 6 ชนิดคือผักบุงจีน กวางตุง คะนา กะหลํ่าปลี ผักกาดขาวและถ่ัวฝกยาว ทําการสกัดสารโดยใช 95%เอทานอลแลววัดความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท โดยการวัดความสามารถในการตานอนุมูลอิสระชนิด DPPH และ ABTS วัดความสามารถในการรีดิวซ พบวาผักอินทรียทุกชนิดมีความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท โดยชนิดของผักท่ีมีความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนทสูงสุดคือผักบุงจีน เมื่อทดลองนําสารสกัดจากผักบุงจีนอินทรียไปเติมในน้ํามันถ่ัวเหลือง พบวาสามารถชะลอการเหม็นหืนของน้ํามันได 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การปลูกผักรวมกับปอเทือง Vegetable Growing with Sunn Hemp 2. ชื่อเจาของผลงาน ศูนยฝกอบรมวิศวกรรมเกษตร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันเกิดสภาวะโลกรอนสภาพของอากาศไดเปล่ียนแปลงไปมาก อากาศรอน แสงแดดจัด ในการปลูกพืชผักใหไดผลผลิตท่ีดีและมีคุณภาพ จําเปนตองมีการสรางโรงเรือน เพ่ือพรางแสง ใชสารเคมีในการบํารุงดินและปองกันกําจัดศัตรูพืชท้ัง โรค แมลง และวัชพืช ทําใหมีคาใชจายสูงและผลผลิตอาจปนเปอนสารเคมีท่ีเปนพิษ ถาสามารถใชวัสดุธรรมชาติท่ีมีตนทุนตํ่า หาไดงาย ไมยุงยากในการทํางาน ปลอดภัยตอส่ิงแวดลอม แตยังคงคุณสมบัติในการพรางแสง บํารุงดิน และปองกันศัตรูพืชมาทดแทนได ผลผลิตของพืชผักท่ีไดจะมีตนทุนตํ่า คุณภาพสูง ดังนั้น แปลงปลูกผักเกษตรอินทรียของศูนยฝกอบรมวิศวกรรมเกษตรไดมีการทดลองใชปอเทือง ปลูกรวมกับพืชผัก ผลผลิตท่ีไดเปนที่นาพอใจเปนอยางมาก 4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้เปนโครงการผลิตผักอินทรียของศูนยฝกอบรมวิศวกรรมเกษตร มีการทดลองใชวัสดุธรรมชาติท่ีสามารถหาไดงายในทองถ่ิน ปลอดภัยตอส่ิงแวดลอมเชน การใชปุยพืชสด ปุยชีวภาพ และการกําจัดแมลงดวยสารสกัดสมุนไพร จากการทดลองปลูกปอเทืองรวมไปกับพืชผัก ทําใหไดผลผลิตของพืชผักท้ังปริมาณและคุณภาพ แปลงดังกลาวใชเปนแปลงฝกงานของนักศึกษา และศึกษาดูงานของสมาชิกสํานักงานปฏิรูปท่ีดินจังหวัดปทุมธานี สถานีพัฒนาท่ีดินปทุมธานี และเกษตรกรผูสนใจทั่วไป

5. สถานภาพของผลงาน มีตนแบบแลว และอยูระหวางการเก็บขอมูลเพ่ิมเติม 6. สถานท่ีติดตอ

ศูนยฝกอบรมวิศวกรรมเกษตร บางพูน อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 โทรศัพท 0-2567-8784

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ผลของการใชจุลินทรียอีเอ็ม(Em) ตอการเพิ่มผลผลิตเห็ดโคนญ่ีปุนในฟางขาว Effects of Em Microorganisms to enrich Yanagi-mutsutake production 2. ชื่อเจาของผลงาน นางนงนุช ธรรมพิทักษ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เห็ดโคนญี่ปุน หรือ ยานางิ ปจจุบันกําลังเปนท่ีตองการของตลาดท้ังในลักษณะของการจําหนายดอกเห็ดสดหรือเห็ดแปรรูปซึ่งมีราคาคอนขางสูงกวาเห็ดท่ีสามารถเพาะไดในถุงพลาสติก เห็ดโคนญี่ปุนเปนเห็ดท่ีเจริญไดดีบนขอนไมท่ีผุและมีการพัฒนาเพาะในถุงพลาสติก วัสดุท่ีนิยมใชยังคงใชขี้เล่ือยไมยางพาราเปนวัสดุหลักซึ่งราคาคอนขางแพง ดังนั้นการนําวัสดุทดแทนเชน ฟางขาวซึ่งมีอยูท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศไทยนาจะนํามาใชเปนวัสดุหลักในการเพาะเห็ดชนิดน้ีแทนขี้เล่ือยไมยางพาราที่มีราคาแพงและหาซื้อยากขึ้นในปจจุบัน ซึ่งรสชาติของการใชฟางขาวเปนวัสดุหลักในการเพาะเห็ดจะไดรสชาติของผลผลิตหอมหวานกรอบอรอยดีกวาการใช ขี้เล่ือยไมยางพาราเปนวัสดุหลักในการเพาะซึ่งรสชาติของผลผลิตท่ีไดจะมีกล่ินของยางไมติดมาดวยและยังสามารถลดตนทุนในการซื้อขี้เล่ือยไมยางพาราไดอีกดวย 4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้เปนการใชจุลินทรีย EM หมักฟางขาวท่ีใชเปนวัสดุหลักในการเพาะเห็ดเพ่ือศึกษาผลของการใชจุลินทรีย EM ในการหมักฟางขาว ตอการ เจริญของเสนใย อายุการออกดอก การเพ่ิมนํ้าหนักสด และการเพ่ิมผลผลิตในเห็ดโคนญี่ปุนไดหรือไม

5. สถานภาพของผลงาน ไดผลวิเคราะหและสรุปผลงานการวิจัยเรียบรอยแลว 6. สถานท่ีติดตอ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย อ.เมือง จ.เชียงราย 57000

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ขาวโพดหวานอินทรีย Organic Sweet Corn 2. ชื่อเจาของผลงาน นางปริญญาวดี ศรีตนทิพย สถาบันวิจัยและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ในปจจุบันเกษตรกรมีการนําปุยเคมีมาใชเพ่ือเพ่ิมผลผลิตพืชกันเพ่ิมขึ้น เนื่องจากปุยเคมีเปนสารประกอบทางเคมีท่ีทราบปริมาณธาตุอาหารท่ีแนนอน และพืชสามารถดูดใชธาตุอาหารท่ีมีในปุยแลวเจริญเติบโตและตอบสนองอยางรวดเร็ว แตถาทําการปลูกพืชแลวใสปุยเคมีเปนหลักเพียงอยางเดียว จะสงผลเสียตอความอุดมสมบูรณของดินในระยะยาว คือมีผลทําใหดินเปนกรดเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ ทําใหดินเส่ือมสภาพ การใสปุยเคมีมากเกินความจําเปนจะทําใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม เกิดการปนเปอน ดังนั้นการผลิตขาวโพดหวานโดยลดการใชปุยเคมีและใชปุยคอกมาทดแทน ถึงแมจะมีผลผลิตต่ํากวาการใสปุยเคมี อาจเนื่องมาจากการติดเมล็ดของขาวโพดหวาน พบวาเมล็ดขาวโพดหวานติดไมเต็มปลายฝก แตถามองในการทําการเกษตรระยะยาวการใสปุยคอกมีผลตอการปรับปรุงดินท้ังในดานคุณสมบัติทางเคมี ทางกายภาพ และทางชีววิทยาของดิน และในดานการเพ่ิมผลผลิต ทําใหมีการปลดปลอยธาตุอาหารตลอด เกิดการเปลี่ยนแรธาตุจากอินทรียสารไปเปนอนินทรียสาร ในระยะยาวจะชวยใหเพ่ิมผลผลิตเมล็ดขาวโพดได อีกท้ังปรับความเปนกรดเปนดางของดินใหใกลเปนกลาง ชะลอการลดลงของอินทรียวัตถุในดินและการเส่ือมโทรมของดินท่ีผานการทําการเกษตร อีกท้ังผลผลิตท่ีไดมีความปลอดภัยตอส่ิงแวดลอมและผูบริโภคอีกดวย 4. รายละเอียดผลงาน การปลูกขาวโพดหวานโดยใสปุยมูลโคเกาใสตั้งแต 0.5-1.5 ตันตอไร จะตองวิเคราะหพ้ืนท่ีปลูกกอนวามีอินทรียวัตถุในดินปริมาณเทาไร แลวใสปุยคอกตามปริมาณท่ีเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีนั้นๆ โดยจะใสเพียงคร้ังเดียวในขั้นตอนการเตรียมดินทําการหวานท่ัวแปลงแลวพรวนดินกอนปลูก

การใหนํ้าตามรอง ใสปุยคอก 0.5 ตัน/ไร

5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินโครงการเสร็จส้ิน และมีเทคโนโลยีตนแบบแลว 6. สถานท่ีติดตอ

สถาบันวิจัยและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 202 ม.17 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลําปาง 52000

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ชาอินทรีย Organic tea 2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน รัฐบาลไทยไดจัดทําความตกลงการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ซึ่งไดกําหนดใหเปดตลาดเสรีภาษีเปนศูนย มีผลในป 2553 จะทําใหการนําเขาชาและผลิตภัณฑจากประเทศจีนและเวียดนามมีปริมาณมากขึ้น สงผลใหราคาชาลดลง รวมถึงสวนแบงตลาดภายในประเทศของชาไทยลดลงอีกดวย ประกอบกับพลังงานมีราคาสูงขึ้นอยางมาก เกษตรกรผูผลิตชาจึงไดรับผลกระทบจากราคาชาตกตํ่า แตตนทุนการผลิตกลับสูงขึ้น ชาไทยจึงไมสามารถแขงขันในตลาดกับชาจีนและเวียดนามได ดังนั้น การทําชาอินทรียและทําใหมีคุณภาพที่ดีกวาของประเทศจีนและเวียดนามนาจะมีความเปนไปไดสูง เนื่องจากท้ังสองประเทศนี้เนนการผลิตใหไดปริมาณมากและราคาถูก จึงใชสารเคมีในการดูแลสวนชามาก การผลิตสินคาชาอินทรียจึงเปนอีกแนวทางหนึ่งท่ีจะเพ่ิมการแขงขันกับชาจีนและเวียดนามได 4. รายละเอียดผลงาน การดําเนินการเพ่ือใหชาไทยสามารถแขงขันในตลาดได เกษตรกรผูผลิตควรใหความสนใจดานคุณภาพและความปลอดภัยของผูบริโภค โดยการศึกษาและพัฒนาการบริหารจัดการในสวนชาอินทรีย เพ่ือควบคุมและปองกนการปนเปอนจากการผลิตใบชาสด การจัดการตางๆใหสอดคลองกับการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล 5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางกรดําเนินโครงการ 6. สถานท่ีติดตอ

สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 333 ม.1 ต.ทาสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 โทรศัพท 053-916738 โทรสาร 053-916739

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเจริญเติบโต และผลผลิตเมล็ดของถั่วเขียว ท่ีไดจากการปลูกโดยใชปุยอินทรีย และปุยเคมี 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เนื่องจากเมล็ดถ่ัวเขียวที่มีการผลิตจํานวนมากสวนใหญนํามาทําถ่ัวงอก ดังนั้นเมล็ดถ่ัวเขียวที่ไดจึงตองปลอดภัยจากสารเคมีเพ่ือความปลอดภัยของผูบริโภค และเมล็ดพันธุบางสวนนําไปเปนเมล็ดพันธุอินทรียเพ่ือใชในระบบเกษตรอินทรียตอไป โดยศึกษาลักษณะการเจริญเติบโต และลักษณะผลผลิต 4. รายละเอียดผลงาน ศึกษาโดยการเปรียบเทียบปุยอินทรีย (มูลเปด) และปุยเคมี (สูตร 12-24-12) กับถ่ัวเขียว 2 พันธุ ไดแก พันธุ “กําแพงแสน 1” และพันธุ “กําแพงแสน 2” จากการทดลองพบวา ถ่ัวเขียวท้ัง 2 พันธุใหความสูง ความกวางเรือนพุม วันดอกแรกบาน วันท่ีดอกบานสูงสุด วันท่ีเก็บเกี่ยวเมล็ด จํานวนฝกตอตน ความกวางเมล็ด และผลผลิตตอไร ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ แตถ่ัวเขียวพันธุ “กําแพงแสน 2” จะใหความยาวฝก ความยาวเมล็ด และจํานวนเมล็ดตอฝกสูงกวาพันธุ ”กําแพงแสน 1” ถ่ัวเขียวท่ีปลูกโดยใชปุยเคมี ใหความกวางเรือนพุมมากกวาท่ีปลูกโดยใชปุยอินทรียในทุกชวงอายุของการเจริญเติบโต และการศึกษาอิทธิพลรวมระหวางพันธุถ่ัวเขียวกับชนิดของปุย ไมพบอิทธิพลรวมกันตอลักษณะการเจริญเติบโตของถั่วเขียวในดานความสูงของเรือนพุม ความกวางของเรือนพุม อายุการออกดอก และผลผลิตของถ่ัวเขียว

5. สถานภาพของผลงาน ศึกษาเสร็จแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน อิทธิพลของพันธุ และระยะปลูกตอการผลิตเมล็ดพันธุถั่วเขียวตามระบบเกษตรอินทรีย 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปญหาสําคัญในการผลิตถ่ัวเขียวคือ ปญหาดานการระบาดของโรค และแมลงศัตรูพืช ซึ่งจําเปนตองใชระยะปลูกท่ีเหมาะสมในการจัดการเพ่ือลดปญหาดังกลาว และไมจําเปนตองใชสารเคมี 4. รายละเอียดผลงาน ศึกษาอิทธิพลของพันธุ และระยะปลูกตอการผลิตเมล็ดพันธุถ่ัวเขียวตามระบบเกษตรอินทรียโดยมีระยะปลูก 20 x 50 และ 30x 50 เซนติเมตร พบวา ไมพบอิทธิพลรวมระหวางพันธุของถ่ัวเขียวกับระยะปลูกตอทุกลักษณะไดแก จํานวนฝกตอตน จํานวนเมล็ดตอฝกผลผลิตเมล็ดตอตน ผลผลิตเมล็ดตอไร น้ําหนัก 100 เมล็ด และเปอรเซ็นตความงอก

5. สถานภาพของผลงาน ศึกษาเสร็จแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน อิทธิพลของปุยอินทรีย และปุยเคมี ตอการเจริญเติบโต และการสรางผลผลิตของผักชี 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ผักชีสามารถปลูกไดในดินทุกชนิด สามารถผลิตไดท้ังป มีปญหาเรื่องแมลงนอย เพราะมีชวงในการเขาทําลายส้ัน อีกท้ังผักชีเปนผักท่ีมีกล่ิน ดังนั้นจึงเปนพืชท่ีมีศักยภาพอยางย่ิงในการผลิตแบบเกษตรอินทรีย 4. รายละเอียดผลงาน จากการศึกษาอิทธิพลของปุยอินทรีย และปุยเคมี ตอการเจริญเติบโต และการสรางผลผลิตของผักชีพบวา การใชปุยเคมีใหความสูงตน น้ําหนักสดตน น้ําหนักแหงตน และผลผลิตรวม สูงกวาการใชปุยอินทรีย และการใชปุยเคมีใหอายุเก็บเกี่ยวส้ันกวาปุยอินทรีย แตมีคาท่ีแตกตางกันไมมาก และพบวาชนิดปุย และพันธุผักชีมีอิทธิพลรวมกัน

5. สถานภาพของผลงาน ศึกษาเสร็จแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเปรียบเทียบผลผลิต และคุณภาพของเมล็ดพันธุถั่วเหลือง และถั่วงอกหัวโตท่ีไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย และแบบใชสารเคมี 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ตนทุนการผลิตถ่ัวเหลืองในประเทศไทย พบวามีตนทุนในการผลิตสูงมาก ซึ่งเปนปญหาที่สําคัญ เนื่องจากการใชปุยเคมี ไมถูกชนิด และไมถูกวิธี ทําใหดินนั้นเส่ือมเร็ว เนื้อดินจับตัวกันแนน ระบบเกษตรอินทรียจึงเปนทางเลือกแกเกษตรกรในการลดตนทุนการผลิตถ่ัวเหลือง 4. รายละเอียดผลงาน ศึกษาผลผลิตและคุณภาพของเมล็ดพันธุถ่ัวเหลือง และถ่ัวเหลืองงอก จากการผลิตระบบเกษตรอินทรีย พบวา ขนาดทรงพุม ระบบเกษตรเคมีมีขนาดทรงพุม และความสูงมากกวาระบบเกษตรอินทรีย สวนลักษณะผลผลิต และคุณภาพเมล็ดพันธุ พบวา ไมพบอิทธิพลรวมระหวางระบบการผลิต และพันธุของถั่วเหลือง ตอจํานวนฝกตอตน จํานวนเมล็ดตอฝก น้ําหนักเมล็ดพันธุ เปอรเซ็นตความงอก และความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ

5. สถานภาพของผลงาน ศึกษาเสร็จแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของขาวโพดฝกออน พันธุการคา 4 พันธุ ท่ีผลิตแบบระบบเกษตรดีท่ีเหมาะสม และระบบเกษตรอินทรีย 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เนื่องจากการผลิตขาวโพดฝกออนตามระบบเกษตรอินทรีย ยังมีปญหา คือ ผลผลิตยังมีปริมาณไมเพียงพอ และคุณภาพยังไมไดตามตองการ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการผลิตของเกษตรกรในปจจุบัน และการผลิตตามระบบเกษตรอินทรียยังมีอุปสรรคบางประการในการผลิต 4. รายละเอียดผลงาน จากการศึกษาผลผลิตและคุณภาพผลผลิตของขาวโพดฝกออน 4 พันธุ ในระบบเกษตรอินทรีย พบวา ระบบการผลิตเกษตรดีท่ีเหมาะสมใหผลผลิต และคุณภาพผลผลิตมากกวาระบบการผลิตเกษตรอินทรียอยางมีนัยสําคัญ ในดานความสูงตน จํานวนฝกตอตน จํานวนฝกตอไร น้ําหนักสดท้ังเปลือก น้ําหนักฝกปลอกเปลือก น้ําหนักฝกปลอกเปลือกท่ีไดมาตรฐาน และอัตราสวนระหวางน้ําหนักฝกปอกเปลือกท่ีไดมาตรฐานกับน้ําหนักฝกกอนปอกเปลือก แตไมพบความแตกตางทางสถิติในดานอายุวันเริ่มเก็บเกี่ยว และจํานวนฝกปอกเปลือกท่ีไดมาตรฐานที่เกิดจากการผลิตท้ัง 2 ระบบ และพบวามีอิทธิพลรวมระหวางระบบการผลิตและพันธุ

5. สถานภาพของผลงาน ศึกษาเสร็จแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การประเมินความตานทานไวรัสเสนใบเหลือง และผลผลิตของพันธุลูกชั่วที่ 2 และพันธุลูกผสมกระเจ๊ียบเขียว 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปญหาการผลิตกระเจี๊ยบเขียวปจจุบันประสบปญหาลักษณะที่ไมดีหลายประการ เชน ผลผลิตตกตํ่า ลักษณะปลายฝกคดงอ และมีสีเหลือง ไมทนตอไวรัสเสนใบเหลือง จึงไดมีการปรับปรุงพันธุกระเจี๊ยบเขียวโดยวิธีการคัดเลือกแบบบันทึกประวัติ โดยมีการคัดเลือกใหไดลักษณะที่สําคัญเพ่ือใหไดสายพันธุบริสุทธิ์ และสายพันธุลูกผสมที่เหมาะสมทางการคาเพ่ือการสงออกตอไป 4. รายละเอียดผลงาน ทําการประเมินพันธุลูกชั่วท่ี 2 จํานวน 8 พันธุ และพันธุลูกผสมกระเจี๊ยบเขียว เพ่ือศึกษาความตานทานโรคไวรัสเสนใบเหลือง จากการทดลอง พบวา กระเจี๊ยบเขียวจํานวน 5 สายพันธุ ไดแก KPS-(OK F2)-46-86-3-10/86-2-10, KPS-(OK F2)-46-73-1-4/73-1-5, KPS-(OK F2)-46-73-1-10/7-2, KPS-(OK F2)-46-73-1-4/86-3-10 และพันธุการคา “Maskslanal” มีความตานทานไวรัสเสนใบเหลือง 100 เปอรเซ็นต 5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการปรับปรุงพันธุใหไดสายพันธุบริสุทธิ์ 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ผลของปุยอินทรียตอผลผลิต และคุณภาพของหนอไมฝร่ัง 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ศึกษาผลของปุยอินทรียแตละชนิดท่ีมีผลตอผลผลิต และคุณภาพของหนอไมฝรั่ง เพ่ือการปรับปรุงสภาพโครงสรางดินโดยการใสปุยอินทรีย เพ่ือเพ่ิมปริมาณธาตุอาหารท่ีจําเปนตอพืชในดิน และอาจจะมีผลตอการเพ่ิมผลผลิต และคุณภาพของหนอไมฝรั่งในรุนการเก็บกี่ยว 4. รายละเอียดผลงาน ศึกษาผลของปุยอินทรียชนิดตางๆ ตอผลผลิต คุณภาพของหนอไมฝรั่งพันธุ “Brock’s Improve” โดยใชปุยมูลสุกร ปุยมูลวัว ปุยมูลไกอัดเม็ด ปุยมูลเปด และปุยหมัก อัตราสวน 3 ตันตอไร พบวา จํานวนหนอ และน้ําหนักหนอรวมของหนอไมฝรั่งในทุกทรีทเมนตไมมีความแตกตางกันทางสถิติ ท้ัง 2 ชวงการเก็บเกี่ยวในชวงการเก็บเกี่ยวท่ี 1 ปุยมูลสุกรมีแนวโนมใหจํานวนหนอ และน้ําหนักรวมสูงท่ีสุด คือ 22,818 หนอตอไร เปนน้ําหนัก 283.96 กิโลกรัมตอไร และในชวงการเก็บกี่ยวที่ 2 ปุยมูลสุกรมีแนวโนมใหจํานวนหนอ และนํ้าหนักรวมสูงท่ีสุด คือ 22,145 หนอตอไร มีน้ําหนัก 313.55 กิโลกรัมตอไร สวนดานคุณภาพของหนอไมฝรั่ง พบวา ท้ัง 2 ชวงการเก็บเกี่ยว น้ําหนักรวมของหนอไมฝรั่งเกรด A ไมมีความแตกตางทางสถิติ โดยชวงการเก็บเกี่ยวท่ี 1 ปุยมูลสุกรมีแนวโนมใหน้ําหนักรวมหนอไมฝรั่งเกรด A ตูมสูงท่ีสุด คือ ใหน้ําหนัก 31.15 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ปุยหมัก ปุยมูลเปด ปุยมูลวัว ปุยมูลไกใหน้ําหนัก 31.11 29.75 26.20 และ 10.56 กิโลกรัม ตามลําดับ สวนการเก็บเกี่ยวท่ี 2 พบวาปุยหมักมีแนวโนมใหน้ําหนักรวมของหนอไมฝรั่งเกรด A ตูมสูงท่ีสุด คือ ใหน้ําหนัก 39.98 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ปุยมูลสุกร ปุยมูลวัว ปุยมูลเปด และปุยมูลไก ใหน้ําหนัก 39.76 30.64 22.85 และ 12.56 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ 5. สถานภาพของผลงาน ศึกษาเสร็จแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ผลของปุยชีวภาพตอการสรางผลผลิตของคะนา 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ศึกษาอิทธิพลของปุยอินทรียท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตของผักคะนาซึ่งเปนผักท่ีนิยมของผูบริโภคมีการดูแลรักษางาย อายุการเก็บเกี่ยวส้ันจึงเปนผักท่ีเหมาะสมตอการปลูกในระบบอินทรีย 4. รายละเอียดผลงาน ศึกษาผลของปุยชีวภาพ 3 สูตร ไดแก ปุยชีวภาพชนิดนํ้า ปุยชีวภาพชนิดนํ้าสําหรับปรับสภาพดิน และปุยชีวภาพชนิดสําหรับปองกัน และกําจัดโรคพืชท่ีมีผลตอการสรางผลผลิตของคะนา โดยเปรียบเทียบกับการใสปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 30 กก./ไร รวมกับปุยยูเรีย อัตรา 25 กก./ไร และการไมใสปุย พบวาผลผลิตของคะนามีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ โดยการใสปุยสูตร 15-15-15 รวมกับปุยยูเรียมีผลผลิตมากท่ีสุด คะนาท่ีใสปุยชวีภาพ 3 สูตร และท่ีใสปุยชีวภาพรวมกันท้ัง 3 สูตร ใหผลผลิตไมมีความแตกตางกับคะนาท่ีไมใสปุย การใสปุยสูตร 15-15-15 รวมกับปุยยูเรียทําใหคะนามีน้ําหนักผลผลิตกอนตัดแตง และหลังตัดแตงมากท่ีสุดคื่อ 1,200 และ 1,083.3 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ สวนน้ําหนักตอตนกอน และหลังตัดแตง พบวา การใสปุยสูตร 15-15-15 รวมกับปุยยูเรียทําใหคะนามีน้ําหนักเฉล่ียตอตนสูงท่ีสุดคือ 26.7 และ 24.05 กรัมตอตนตามลําดับ การใสปุยสูตร 15-15-15 รวมกับปุยยูเรียทําใหคะนามีความยาวลําตนถึงปลายใบ ขนาดเสนผานศูนยกลางลําตน ความกวางใบ ความยาวใบมากที่สุด สวนผลผลิตของคะนาท่ีไดจากการใสปุยชีวภาพ 3 สูตร และท่ีใสปุยชีวภาพรวมกันท้ัง 3 สูตร มีน้ําหนักสด เฉล่ียตอตน ความยาวลําตนถึงปลายใบ ขนาดเสนผานศูนยกลางลําตนความกวางใบ ความยาวใบ ใหผลไมมีความแตกตางกันกับการไมใสปุย 5. สถานภาพของผลงาน ศึกษาเสร็จแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การศึกษาอิทธิพลของปุยอินทรีย และปุยชีวภาพตอการสรางผลผลิตผักบุงจีน 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เพ่ือศึกษาอิทธิพลของปุยอินทรียท่ีมีผลตอการเจิรญเติบโตของผักบุงจีนซึ่งเปนผักท่ีนิยมของผูบริโภคมีการดูแลรักษางาย อายุการเก็บเกี่ยวส้ันจึงเปนผักอีกชนิดหนึ่งท่ีเหมาะสมตอการปลูกในระบบอินทรีย 4. รายละเอียดผลงาน ศึกษาอิทธิพลของปุยอินทรียตอการสรางผลผลิตของผักบุงจีน โดยมีจํานวน 4 แปลง โดยแปลงที่ 1 ไมมีการใสปุย แปลงท่ี 2 ใสปุยมูลไกอัดเม็ด 100 กิโลกรัมตอไร แปลงที่ 3 ใสปุยชีวภาพอัตรา 100 กิโลกรัมตอไร และแปลงที่ 4 ใสปุยมูลไกอัดเม็ด ผสมปุยชีวภาพรอมกัน 100 กิโลกรัมตอไร ทําการศึกษาการเจริญเติบโตทางดานน้ําหนักสด น้ําหนักแหง ความยาวตน จํานวนใบ กิ่งแขนง และผลผลิตของผักบุงจีน จากการทดลอง พบวา ความยาวตนของผักบุงจีนในระยะเก็บเกี่ยว ทรีทเมนตท่ีใสปุยมูลไกอัดเม็ดผสมปุยชีวภาพรวมกันมีความยาวเฉล่ียของตนสูงสุดคือ 24.1 เซนติเมตร และในแปลงที่ใสปุยชีวภาพ มีความยาวเฉลี่ยตอตนตํ่าสุด คือ 21.2 เซนติเมตร ดานน้ําหนักสดของตนในระยะเก็บเกี่ยวแปลงที่ใสปุยมูลไกอัดเม็ดใหน้ําหนักสดเฉล่ียมากท่ีสุด คือ 9.7 กรัมตอตน และแปลงท่ีใสปุยชีวภาพใหน้ําหนักสดเฉล่ียต่ําท่ีสุด 8.1 กรัมตอตน และในลักษณะผลผลิตสดของผักบุงจีน แปลงที่ใสปุยมูลไกอัดเม็ด ใหผลผลิตสุดมากท่ีสุด 0.79 กิโลกรัมตอตารางเมตร และแปลงที่ใสปุยมูลไกอัดเม็ดผสมปุยชีวภาพรวมกัน ใหผลผลิตต่ําสุด 0.68 กิโลกรัมตอตารางเมตร เมื่อนํามาวิเคราะหหาความแตกตางทางสถิติพบวาไมมีความแตกตางกัน 5. สถานภาพของผลงาน ศึกษาเสร็จแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การศึกษาศักยภาพการผลิต การขนสงและการตลาด ผักอินทรียตามมาตรฐานสากลเพื่อการสงออก

The Potential study of Organic Vegetable Production, Transportation and Marketing on the International Organic Standard for Export

2. ชื่อเจาของผลงาน พรประภา ซอนสุข 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การผลิตสินคาเกษตรอินทรียเพ่ือการสงออกมีการขยายตัวอยางตอเนื่องปละประมาณ 10% ซึ่งการแขงขันในตลาดผักอินทรีย มีสภาวะของการแขงขันท่ีรุนแรงมากข้ึน จําเปนตองมีการติดตามผลการดําเนินงานของตลาดคูแขงตางๆ โดยเฉพาะประเทศจีนเปนกรณีพิเศษ รวมทั้งควรมีการศึกษาศักยภาพการผลิต การบริหารจัดการผักอินทรียเพ่ือการสงออกของไทยตามมาตรฐานของประเทศคูคาท่ีสําคัญ เพ่ือจะสามารถปรับตัวไดทันตอการแขงขันตอไป 4. รายละเอียดผลงาน ผลการศึกษาการผลิตผักอินทรียของไทยพบวา การบริหารจัดการภายในฟารม มี 3 ระบบ คือ ระบบการบริหารแบบใชแรงงานในครอบครัว การบริหารแบบมีการจางแรงงาน และการบริหารแบบเครือขาย ท้ังนี้หากจะผลิตเพ่ือการสงออกควรดําเนินการในรูปแบบเครือขาย โดยควรพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการท่ีพรอมตอการขยายเครือขาย หรือมีมาตรฐานที่สามารถดําเนินการรวมกันกับเครือขายอื่นๆได ขณะที่ผลการศึกษาการผลิตผักอินทรียในมณฑลยูนนานพบวา มณฑลยูนนานมีศักยภาพในการผลิตผักอินทรียอยางมาก ท้ังดานความพรอมของแหลงผลิต การรักษาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว การขนสง และตนทุนการผลิตผักท่ีผลิตโดยเกษตรกรรายยอยท่ีมีตนทุนท่ีต่ําแตสามารถผลิตผักไดหลากหลายและมีคุณภาพท่ีไดตลอดป และมณฑลยูนนานก็มีเปาหมายที่ชัดเจนวาจะทําใหผักในเอเชียอาคเนยมีราคาท่ีถูกลงจากการท่ีผักของยูนนานเขาสูตลาดได สวนผลการศึกษาการผลิตผักอินทรียของมณฑลกุยโจวพบวา มณฑลกุยโจวมีพ้ืนท่ีการปลูกผักไมมาก เพราะพ้ืนท่ีสวนใหญเปนภูเขา จึงทําในรูปแบบเกษตรผสมผสาน มีการผลิตผลไมรวมกับการเล้ียงไก การปลูกผักรวมกับการทํานาและไมผล การเล้ียงหมูและการทําบอไบโอแกส ทําใหไดปุยมูลสัตวในการบํารุงพืชผลตางๆ แตยังเปนการผลิตเพ่ือบริโภคในทองถ่ินเปนหลัก 5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ 6. สถานท่ีติดตอ

- สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อ.เมือง จ. นครราชสีมา 30000

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การพัฒนาตนแบบระบบเกษตรอินทรียภายใตกรอบเกษตรทฤษฎีใหม Development of Organic Farming Prototype Under New Theory Farming 2. ชื่อเจาของผลงาน สุดชล วุนประเสริฐ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไดมีการจัดทําสวนตัวอยาง เพ่ือใชเปนพ้ืนท่ีสาธิตถึงการใชประโยชนตามแนวทฤษฎีใหม ประกอบมีการวิจัยการใชปุยอินทรียชีวภาพและการควบคุมศัตรูพืช จนไดพัฒนาขึ้นเปนระบบเกษตรอินทรีย แตปญหาท่ีพบคือ การใชพ้ืนท่ียังไมเต็มประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับหลักการของเกษตรทฤษฎีใหม เพราะมีพ้ืนท่ีเก็บกักนํ้าไมเพียงพอ และยังขาดระบบการบริหารจัดการทรัพยากรดิน ศัตรูพืชท่ีมีประสิทธิภาพ จึงไดมีการปรับพ้ืนท่ีใหสอดคลองกับทฤษฎีใหม ประกอบกับมีการทดสอบ ปจจัยการผลิตท่ีสําคัญ คือ ปุยอินทรียชีวภาพ ปุยพืชสด และวิธีการปองกันกําจัดศัตรูพืช ตลอดจนมีการปรับใชความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการจัดการทรัพยากรพ้ืนท่ีใหมีประสิทธิภาพและเหมาะสม เพ่ือใหสามารถใชเปนตนแบบในการอบรม ถายทอดเทคโนโลยี การเรียนรูแกเกษตร และของบุคคลท่ัวไป 4. รายละเอียดผลงาน ผลผลิตผักทุกรุนท่ีปลูกมีการตอบสนองอยางเดนชัดตอการใสปุยปุยอินทรียชีวภาพกับปุยพืชสด แตผลผลิตสูงสุดไดจากการใชปุยรวมกัน ระบบการปลูกผักไมมีอิทธิพลตอคุณสมบัติของดิน การบริหารศัตรูพืชในระบบการผลิตท่ัวไปของโครงการมีการใชการปองกันกําจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน โดยวิธีการเขตกรรม การจัดระบบการปลูกพืช การใชกับดักกาวเหนียว การใชสารสกัดจากพืช การใชสารชีวินทรียและการใชแมลงศัตรูธรรมชาติ ไดมีการทดลองประสิทธิภาพของวิธีการปองกันกําจัดศัตรูพืช โดยเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใชจุลินทรียปองกันกําจัดศัตรูพืช 2 ชนิด คือ Bacillus subtilis (BS) และ Bacillus thuringiensis (BT) สารสกัดจากพืช 2 ชนิด คือ สะเดาและหางไหล เปรียบเทียบกับการใชผามุงใยสังเคราะหและไมมีการควบคุมศัตรูพืช ผลการทดลองพบวาทุกกรรมวิธีท่ีควบคุมศัตรูพืชทําใหผลผลิตสูงขึ้น แตการใช BT และผามุงใยสังเคราะหใหผลดีท่ีสุด การวิเคราะหผลในทางเศรษฐศาสตรพบวาผลผลิตผักตอไรของโครงการนอยกวาผลผลิตท่ีปลูกในระบบเกษตรเคมีแตราคาขายสูงกวาทําใหมีรายไดใกลเคียงกัน และเมื่อเปรียบเทียบตนทุนการผลิตพบวาตนทุนการผลิตของโครงการต่ํากวาการผลิตในระบบเกษตรเคมี ซึ่งทําใหมีรายไดสุทธิสูงกวาระบบเกษตรเคมี จากการเปรียบเทียบการผลิตกับของเกษตรกร และการเปรียบเทียบขอมูลยอนหลังแสดงใหเห็นวาโครงการมีประสิทธิภาพการผลิตท่ีสูงอันเปนผลโดยรวม จากการจัดการ ดิน ปุย ศัตรูพืช การปรับพ้ืนท่ีและการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดใชพ้ืนท่ีโครงการเปนตนแบบในการถายทอดเทคโนโลยีแกเกษตรกรและผูท่ีสนใจใหมาเรียนรู ซึ่งไดมีการดําเนินการแลว 1 ครั้งกอนส้ินสุดโครงการ โดยมีผูเขาอบรม 37 คน มีเนื้อหาการฝกอบรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการธาตุอาหารพืช การบริหารศัตรูพืช การผลิตปจจัยการผลิตและศึกษาดูงานในพ้ืนท่ีโครงการในดานการบริหารการใชพ้ืนท่ีใหมีประสิทธิภาพ 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

- สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : บรรจุภัณฑพลาสติกชีวภาพสําหรับลําไยอินทรียอบแหง (Bioplastics Packaging for Dried Organic Longan)

2. ชื่อเจาของผลงาน: หางหุนสวนจํากดั พรมกังวาน และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สืบเนื่องจากโอกาสดานการตลาดของผลิตภัณฑอินทรียในการสงออกไปสูประเทศในกลุมสหภาพยุโรป

และสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีนโยบายกฎเกณฑขอบังคับดานส่ิงแวดลอมและการจัดการขยะของเสียในสวนของการใชบรรจุภัณฑจําพวกพลาสติก ทําใหมีความจําเปนในการคิดหาบรรจุภัณฑพลาสติกท่ีเปนมิตรตอส่ิงแวดลอมสําหรับบรรจุลําไยอินทรียอบแหง แตในปจจุบันการใชบรรจุภัณฑดังกลาวท่ีสามารถใชบรรจุลําไยอบแหงไดโดยไมทําใหลําไยอินทรียอบแหงเส่ือมสภาพและเปนท่ียอมรับในระดับสากล ยังจําเปนตองมีการส่ังซื้อนําเขาจากตางประเทศ จึงไดขอรับปรึกษาแนวทางการพัฒนาบรรจุภัณฑพลาสติกชีวภาพกับสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) และองคการความรวมมือดานวิชาการประเทศเยอรมัน (GTZ) โดยทางสนช.ไดจัดใหมีประชุมรวมกับบริษัทในกลุมสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ (TBIA) โดยสามารถคิดคนหาแนวทางการพัฒนาเพ่ือแกไขปญหาดังกลาวจนประสบความสําเร็จ

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเทศดานผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑพลาสติกชีวภาพสําหรับใชในการ

บรรจุลําไยอินทรียอบแหง โดยการพัฒนาผลิตฟลม ถาดและกลองพลาสติกชีวภาพ ท่ีมีลักษณะใสสองผานไดและสามารถปดผนึกได เพ่ือใหสามารถมองเห็นสีของลําไยอินทรียอบแหงได และยืดอายุการจัดเก็บโดยปองกันอากาศและความชื้นไมใหลําไยอินทรียอบแหงเส่ือมสภาพและเกิดเชื้อราภายในบรรจุภัณฑ

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ และมีผลิตภัณฑตนแบบแลว

5. สถานท่ีติดตอ - หางหุนสวนจํากัด พรมกังวาน 53 หมู 7 ตําบลสันทราย อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม 50140 - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน หลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรียวิทยาลัยชุมชน Curriculum for Organic Farming of Community College 2. ชื่อเจาของผลงาน วิทยาลัยชุมชนแพร สถาบันเกษตรอินทรียวิทยาลัยชุมชน และ

สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน

วิทยาลัยชุมชนเปนสถาบันอุดมศึกษาประจําทองถ่ิน จัดการศึกษาและฝกอบรมในหลักสูตรท่ีสอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมชุมชนเปนสําคัญและดําเนินการจัดการศึกษาในลักษณะตางๆ เพ่ือใหเปนทางเลือกของชุมชนตามความตองการและเหมาะสม การพัฒนาหลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรีย สอดคลองกับนโยบายของสถานศึกษาและนโยบายรัฐใหดําเนินการใหครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย เปนไปตามเจตนารมณการจัดการศึกษารูปแบบวิทยาลัยชุมชน 4. รายละเอียดผลงาน หลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรีย โดยกระบวนการ DACUM ของทุกภาคสวนท่ีเกี่ยวของ ไดแก เกษตรกร ครูภูมิปญญา ผูทรงคุณวุฒิ ตัวแทนผูเชี่ยวชาญดานเกษตรอินทรีย และครูของวิทยาลัยชุมชน ซึ่งจะเปนประโยชนท่ีจะนําไปใชจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาเกษตรอินทรีย และสาขาวิชาการปกครองทองถ่ิน หรือสาขาวิชาท่ีเกี่ยวของ รวมทั้งการถายทอดเทคโนโลยีใหแกเกษตรกรและผูประกอบการโดยผานการฝกอบรมระยะส้ัน อันจะเปนการบูรณาการและสงเสริมใหมีการพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนได

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ินการดําเนินโครงการ และมีหลักสูตรตนแบบแลว 6. สถานท่ีติดตอ วิทยาลัยชุมชนแพร (โรงเรียนการปาไมแพรเดิม) 33/13 ถ.คุมเดิม ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร 54000

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ศักยภาพการปลูกสละ “พันธุเนินวง” ดวยระบบเกษตรอินทรียในจังหวัดอุบลราชธานี

Potential of Organing “Nern Wong” Salak (Salacca sp.) with Organic Farming System In Ubon Ratchathani

2. ชื่อเจาของผลงาน นพมาศ นามแดง

คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ีอบุลราชธาน ี 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สละพันธุเนินวง (Salacca sp.) เปนพืชในวงศ Palmae ปลูกและดูแลรักษางาย ใหผลผลิตไดภายในอายุไมเกิน 3 ป มีผลผลิตตลอดท้ังป เมื่อสุกเน้ือมีสีเหลืองคลายน้ําผึ้ง หนานุม รสชาติหวานหรือหวานอมเปรี้ยว ชุมคอ และกล่ินหอม จึงเปนที่นิยมของผูบริโภค ขายไดในราคาท่ีคุมคาตอการลงทุน ปจจุบันจึงไดมีเกษตรกรหันมาเลือกปลูกสละทดแทนไมผลอื่นๆ ท่ีราคามักผันผวนตามกลไกการตลาด และไมคุมคาตอการลงทุน ปรกอบกับตลาดสินคาเกษตรอินทรียท้ังในและตางประเทศมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นรอยละ 20 ตอป ในขณะท่ีปจจุบันปริมาณสินคาเกษตรอินทรียมีเพียงรอยละ 1 ของสินคาท้ังหมด และคาดวาอีก 5 ปขางหนาจะเติบโตมากขึ้นเปนรอยละ 10 ดังนั้น การผลิตสินคาเกษตรอินทรียเพ่ือบริโภคภายในและสงออกไปยังตลาดโลกของประเทศไทยยังมีศักยภาพและโอกาสอีกมาก 4. รายละเอียดผลงาน การปลูกสละ “พันธุเนินวง” อินทรียในจังหวัดอุบลราชธานี พบวา มีศักยภาพทั้งดานการผลิต คุณภาพ และเศรษฐกิจ โดยสละอินทรียจะเริ่มใหผลผลิตในปท่ี 3 500 กิโลกรัมตอไร และใหผลผลิตมาขึ้นในปท่ี 4 และ 5 ป 1,242 และ 2,483 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ มีน้ําหนักผลเฉล่ีย 39.81 กรัม จํานวนผลเฉล่ียตอกระปุก 22 ผล มีน้ําหนักเฉล่ียตอกระปุก 731 กรัม และ มีระดับความหวาน 17.8 °Brix ตนทุนการผลิตสละอินทรียตั้งแตปท่ี 1 ถึงปท่ี 5 คิดเปน 114,400 บาทตอไร ราคาขายสละอินทรีย 45-50 บาทตอกิโลกรัม มีรายไดรวม (ปท่ี 3-5) เทากับ 198,835 บาทตอไร มีรายไดเหนือตนทุนเงินสด เหนือตนทุนไมเปนเงินสด และเหนือตนทุนรวม เทากับ 166,435 116,835 และ 84,435 บาทตอไร ตามลําดับ

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสมบูรณแลว 6. สถานท่ีติดตอ

นพมาศ นามแดง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตําบลศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 31490

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกผลไมเกษตรอินทรียสมบูรณ เพ่ือการสงออกตลาดโลกของประเทศไทย Fully Organic Economic Fruits Production for Export to World Market of Thailand 2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากดัพรุฟอิท และ

ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ดวยประเทศไทยใชท่ีดินเพ่ือการเพาะปลูกไมผล 9.20 ลานไรไดผลผลิตผลไมปละ 10 ลานเมตริกตัน มีการบริโภคภายในประเทศปละ 9.60 ลานเมตริกตัน และสามารถสงผลไมออกสูตลาดโลก (World Market) ไดปละ 0.40 ลานเมตริกตันมูลคา 8,000 ลานบาท ผลไมสงออกท่ีสําคัญไดแก ทุเรียน ลําไย กลวยหอม ฯลฯ และยังมีผลไมท่ีมีศักยภาพอีกหลายชนิดไดแก องุน มะละกอ ฯลฯ วิทยาการและความรูในการเพาะปลูกไมผลเกษตรอินทรียสามารถผลักดันใหการสงออกไปยังตลาดโลก โดยมูลคาท่ีสงออกในปจจุบัน เพ่ิมเปน 11,000 ลานบาท ประเทศไทยกลายเปนผูสงออกผลไมเกษตรอินทรียรายใหญของตลาดโลก ไดแก ฮองกง สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา แคนนาดา และสิงคโปร และยังประโยชนท่ีสําคัญสามารถผานมาตรการกีดกันทางการคาได เพราะไมมีการแขงขันในผลผลิตผักเกษตรอินทรีย ดวยความปลอดภัยท่ีสูงสุดจากการไมมีสารพิษตกคางในผลผลิตเกษตรอินทรีย 4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตผลไมเกษตรอินทรียเพ่ือการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรท่ีดิน แหลงน้ํา บุคลากรท้ังระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุไมผล ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ท้ังหมดจากประเทศไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยท่ีกําหนดใหไมมีสารพิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และพรอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกรตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน 6. สถานท่ีติดตอ

- หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา 13130 โทร. 035-341-580 - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482

รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

กลมุท่ี 3: ปศุสตัวและประมง

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน: นํ้านมอินทรียท่ีมีปริมาณ CLA สูง (Organic milk contains high amounts of Conjugated Linoleic Acids)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท แดร่ีโฮม จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน บริษัท แดร่ีโฮม จํากัด ไดรวมมือกับสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) และไดรับการ

ชวยเหลือดานวิชาการจากคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ ในการปรับเปล่ียนระบบจัดการฟารมโคนมเปนอินทรีย โดยใชวัตถุดิบในทองถ่ิน อาทิ ใชสมุนไพรชนิดตางๆ ผลิตปุยน้ําหมักชีวภาพสําหรับใชปลูกหญาเนเปยร (อาหารหยาบ) น้ําหมักชีวภาพสมุนไพรเขมขนเพ่ือทดแทนการใชยาปฏิชีวนะและเคมีภัณฑอื่นๆ และใชเศษมันสําปะหลังอินทรีย ผลิตอาหารขนอินทรียโปรตีนสูง รวมไปถึง ระบบการจัดการฟารมโคนมที่เนนการเล้ียงโคนมแบบปลอยตามธรรมชาติ ท้ังนี้จะดําเนินการเปรียบเทียบเพ่ือหาระบบจัดการฟารมแบบอินทรียท่ีดีท่ีสุด โดยวิเคราะหหาปริมาณโภชนะที่สําคัญในน้ํานม คือ Conjugated Linoleic Acids (CLA) เนื่องจากมีหลายงานวิจัย ระบุวากระบวนการเลี้ยงโคนมแบบอินทรีย จะไดน้ํานมท่ีใหปริมาณกรดไขมันชนิด CLA สูงกวานมท่ัวๆไป

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเทศดานกระบวนการผลิตน้ํานมอินทรียท่ีมีปริมาณกรดไขมันชนิด

Conjugated Linoleic Acids (CLA) สูง โดยใชกระบวนการเลี้ยงโคนมแบบอินทรีย ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย ทําใหน้ํานมท่ีไดมีความปลอดภัย และใหคุณคาทางโภชนาการสูง

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท แดร่ีโฮม จํากัด 100/1 หมู 11 ต.พญาเย็น อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา 30320 - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเลี้ยงไกไขอินทรียแบบปลอย

Free-Range Organic Laying Hen

2. ชื่อเจาของผลงาน นายสุธรรม จันทรออน สํานักงานปศุสัตวจังหวัดนครปฐม ศูนยปศุสัตวอินทรีย กรมปศุสัตว

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ไกไขเปนผลผลิตทางการเกษตรเพ่ือการบริโภคหลักของประเทศและเปนสัตวเศรษฐกิจท่ีสามารถสราง

รายไดอยางตอเนื่อง รวมทั้งไขไกยังสามารถนําไปแปรรูปหรือจัดทําเปนผลิตภัณฑทําอาหารประเภทตางๆ การเล้ียงไกไขอินทรียเปนองคความรูภายใตโครงการการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (โครงการพัฒนาศูนยเครือขายปราชญชาวบาน) ท่ีไดนอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการปฏิบัติ โดยเนนการพ่ึงพาตนเองภายในครัวเรือนเปนหลัก อาศัยหลักการพ่ึงพาธรรมชาติในการเล้ียง แตกตางกัน ซึ่งในแตละพ้ืนท่ีของแตละภูมิภาค ท้ังในดานวัฒนธรรม ประเพณีความเปนอยูในการดํารงชีวิต

4. รายละเอียดผลงาน การเล้ียงไกไขอินทรีย ควรคัดเลือกพันธุไกท่ีใหไขดกและผสมพันธุพ้ืนเมืองเพ่ือใหทนตอโรคและปรับตัวกับธรรมชาติไดดี โดยการเล้ียงในแปลงไผลอมร้ัวดวยตาขายมุงไนลอนในพ้ืนท่ีจํากัด เชน พ้ืนท่ี 1 ไร ตอจํานวนไกไข 150 ตัว เปนตน เนนการใหอาหารท่ีสามารถหาไดจากภายในครัวเรือนเกษตร ซึ่งมีสวนผสม คือ รําละเอียดผสมหยวกกลวย หญาขนสับละเอียดหรือเศษผัก ใบไผสดใหไกจิกกิน หรือใบไผสด บดสับผสมรําละเอียด ใบกระถินสด และมีกองปุยคอกหมักไวใหไก คุยเขี่ยกินแมลง การทําโรงเรือนไกควรทําแบบงายๆ กันฝนไดพอสมควรเพื่อลดตนทุนการผลิต โดยไกจะอาศัยรมไม เชนตนไผ ซึ่งเปนแหลงอาหารไกไดเปนอยางดี และมูลไกยังเปนปุยใหกับไผไดอีกดวย

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินการโครงการ และมีไขไกอินทรียจําหนายแลว 6. สถานท่ีติดตอ

ศูนยเรียนรูชุมชนปลักไมลาย (นายสุธรรม จันทรออน) 54 หมู 10 บานปลักไมลาย ต.ทุงขวาง อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม โทร 081-3845352

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน นํ้านมแพะอินทรีย

Organic Phuket Goat milk

2. ชื่อเจาของผลงาน นายอัคระ ธิติถาวร สํานักงานปศุสัตวจังหวัดภูเก็ต

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน นายอัคระ ธิติถาวร จากการทํางานบริษัทมาสูบานเกิด ดวยจิตสํานึกและความมุงมั่นการผลิตอาหารให

ผูบริโภคโดยไมใชสารเคมีสังเคราะหใดๆ และใชหลักความสมดุลของระบบนิเวศ และการดํารงชีวิตแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาศักยภาพทําใหเพียงพอที่ตนเองทําได ภายใตเหตุผลมีพ้ืนท่ี ทุน แปลงหญา และการพ่ึงตนเองเปนภูมิคมกัน ตองเรียนรูตลอดเวลา แลกเปล่ียนเรียนรูกับสมาชิกในชมรมเล้ียงแพะ มีความซื่อสัตยตอลูกคา ผลผลิตท่ีไดจะตองปลอดภัยตอผูบริโภค นํามาสูการปฏิบัติใหเกิดความย่ังยืน ความมั่นคงในอาชีพและสุขภาพท่ีดี ของครอบครัวและผูบริโภค คุณอัคระพัฒนา ระบบการจัดการเล้ียงแพะใหเปนธรรมชาติโดยสอดคลองกับมาตรฐานปศุสัตวอินทรีย มกอช.9000 เลม 2-2548 จากความหลากหลายของพืชธรรมชาติสมุนไพร และหญา กวา 130 ชนิดท่ีแพะกินแตละวัน และการเลี้ยงดูแพะอยางเปนธรรมชาติ สูผลผลิตน้ํานมแพะที่มีคุณภาพเปนท้ังอาหารและยา “วิถีธรรมชาติ สัตวปลอดโรค ผูบริโภคปลอดภัย”

4. รายละเอียดผลงาน คุณอัคระเริ่มจากการปลูกพืชเล้ียงสัตวผสมผสาน เล้ียงแพะ ประมาณ 40 ตัว แมแพะรีดนมครั้งละ 12-15 ตัว ปลูกพืชหลากหลายชนิด-เล้ียงแพะ-เล้ียงปลา ดวยพ้ืนท่ี 2 ไรเศษและพ้ืนท่ีสวนยางของญาติพ่ีนองภายในฟารมมีไมผล ไมยืนตน พืชผักผลไมหลากหลายชนิด มีระบบการจัดการฟารมผสมผสานเกื้อกูลกันของพืช-สัตว-ประมง ใชมูลแพะเปนปุยใหกับพืช และสรางแหลงอาหารแพลงตอน ตะไครน้ําใหกับปลา ใชน้ําจากบอปลารดตนไม แปลงหญา คุณอัคระสรางความรูการเล้ียงแพะจากการปฏิบัติจริง เรียนรูความสัมพันธของวงจรชีวภาพในฟารมกับการเล้ียงแพะจนเปนองคความรูภูมิปญญาท่ีสามารถถายทอดสูเครือขาย นักเรียน นักศึกษาและมีผูมาขอดูงานมากมาย

5. สถานภาพของผลงาน

กําลังพัฒนากระบวนการขอการรับรองมาตรฐาน มีน้ํานมแพะอินทรียจําหนาย ชื่อ “พรุจําปา”

6. สถานท่ีติดตอ - นายอัคระ ธิติถาวร 43/1 หมูท่ี 3 ตําบลเทพกระษัตรี อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต - สํานักงานปศุสัตวจังหวัดภูเก็ต อ.เมือง จ.ภูเก็ต - ศูนยปศุสัตวอินทรีย กรมปศุสัตว www.dld.go.th/organic

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน เปดไขอินทรียเชียงใหม

2. ชื่อเจาของผลงาน เครือขายเปดไขอินทรียเชียงใหม

สํานักสุขศาสตรและสุขอนามัยท่ี 5

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน โครงการเปดไขอินทรีย ในระยะเริ่มตนมีเกษตรกรเขารวมโครงการทั้งส้ิน 10 คนจาก 3 อําเภอคืออําเภอแมแตง อําเภอแมริม และอําเภอดอยสะเก็ด โดยกรมปศุสัตวสนับสนุนพันธุเปดไขจากการพัฒนาสายพันธุของกรมปศุสัตวจํานวน 500 แม รวมกับกระบวนการสงเสริมและวิจัยพัฒนาแบบมีสวนรวม เพ่ือใหการเล้ียงเปดเกื้อกูลกับการทําเกษตรอินทรียของเครือขาย และเปนแหลงอาหารโปรตีนที่ผลิตไดในชุมชน บริโภคในชุมชนดวยกระบวนการปศุสัตวอินทรียวิถีพ้ืนบาน ทําใหชุมชนมีอาหารที่ปลอดภัยไรสารพิษตกคาง

4. รายละเอียดผลงาน จากการรวบรวมขอมูล เกษตรกรมีรายไดเพ่ิมจากการเล้ียงเปดเสริมในกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรกรเฉล่ียวันละ 70 บาท มีรายไดหลังหักคาใชจายดานอาหารเปด แลวประมาณ 42 บาทตอวัน ท้ังนี้หากคิดตนทุนดานคาแรง ซึ่งเกษตรกรสวนใหญใหเวลาในการดูแลเปดประมาณ 78 นาที ตอวันคิดมูลคาประมาณ 25 บาท ดังนั้นเกษตรกรจะมีรายไดเพ่ิมขึ้นจากเดิมอีกวันละประมาณ 17 บาท ดังนั้นเกษตรกรผูเล้ียงเปดอินทรียจึงมีบทบาทในการสงเสริมความมั่นคงทางอาหารแกชุมชน เพราะเกษตรกรจําหนายไขเปดในชุมชนหลัก เกษตรกรแตละคน จําหนายไขเปดใหแกชุมชนไมนอยกวา 5,000 ฟอง คิดเปนมูลคาสูงถึง 15,000 – 18,000 บาท นั่นคือเงินท่ีชุมชนไมตองจายใหกับการซื้อไขจากภายนอก นอกจากนี้การเล้ียงเปด รวมกับการปลูกขาวอินทรีย ยังทําใหตนทุนการปลูกขาวอินทรียในภูมิสังคมแมริมแมแตงปการผลิตท่ี 2/51 พบวาเกษตรกรมีตนทุนการผลิตประมาณ 3,355 บาท (กรณีไมไดเล้ียงเปด) หากเกษตรกรเล้ียงเปดรวมดวยจะสามารถลดตนทุนการผลิตขาวไดอีก 400 – 450 บาท นั่นคือประมาณ 2,800 – 2,900 บาทตอไร และไดผลผลิตเฉล่ียประมาณ 640 กิโลกรัมตอไร หากจําหนายในราคา 13 บาทตอกิโลกรัมจะทําใหเกษตรกรมีรายไดประมาณ 8,320 บาท 5. สถานภาพของผลงาน

อยูระหวางการพัฒนาการขอการรับรองแบบกลุมโครงการ มีไขเปดอินทรียขายในชุมชน และตลาดนัดสีเขียวในเมืองเชียงใหม

6. สถานท่ีติดตอ นายสุพจน ทิพมนต ประธานเครือขายปศุสัตวอินทรียเชียงใหม 57/4 หมู 3 ต.สันปายาง อ.แมแตง จ.เชียงใหม

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน เครือขายปศุสัตวอินทรียบานทัพไท สุรินทร

ตัวอยางการพัฒนาชนบทดวยเกษตรอินทรียครบวงจร 2. ชื่อเจาของผลงาน นางกัลยา ออนศรี ประธานเครือขายปศุสัตวอินทรีย 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน นางกันยา ออนศรี ประธานชมรมอนุรักษส่ิงแวดลอมและอาชีพทางเลือก บานทัพไทย ตําบลทมอ อําเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร เปนกลุมท่ีเริ่มปลูกขาวอินทรียตั้งแตป 2543 มีกิจกรรมเศรษฐกิจอาหารชุมชน ผูนํากลุมไดเลาใหฟงวา เกษตรกรไทยจะอยูอยางมีศักด์ิศรีไดตองเปนผูแปรรูปหรือจําหนายผลผลิตโดยตรงใหกับผูบริโภค จึงไดรวมตัวกันจัดใหมี กิจกรรมตลาดทางเลือก กิจกรรมกลุมเด็กรักษธรรมชาติ และกิจกรรมเยาวชนสืบทอดอาชีพ และคุณคาส่ิงแวดลอมดวยการชวยพอแมดําเนินกิจกรรมการเกษตร นําผลผลิตและผลิตภัณฑแปรรูปไปขายตลาดนัดสีเขียวทุกวันเสารในเมือง มีกิจกรรมสงเสริมงานพัฒนาอาชีพกับคนไมมีท่ีทํากิน ดวยการชวยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชน และการคาขาย 4. รายละเอียดผลงาน อาชีพหลักของสมาชิกคือการทํานาขาวอินทรีย มีกิจกรรมที่เกื้อกูลกันระหวางการปลูกพืช-เล้ียงสัตว คือแทบทุกบานมีการเล้ียงโค นํามูลโคทําเปนปุยคอกใสนาขาว เมื่อทําขาวอินทรียจนไดรับการรับรองมาตรฐานสงออกขายตางประเทศ ทางกลุมเกิดการเรียนรูวาปุยอินทรียท่ีมีอยูไมเพียงพอตอการปรับปรุงดินเพ่ือปลูกขาวอินทรีย จึงไดไปเรียนรู การเล้ียงหมูหลุม เพ่ือแกลบรองพื้นคอกสุกรผลิตเปนปุยอินทรีย จะไดปุยหมักอินทรียในคอกเพียงพอตอนาขาว และมีการเล้ียงเปดอินทรีย ไกพ้ืนเมือง และไกไข นําปุยจากคอกสัตวใสนาขาว ผลพลอยไดจากนาขาว ไดแก ฟางขาว แกลบ รํา ปลายขาว นํามาเล้ียงสัตว ในการเล้ียงสุกรโดยใช รําปลายขาว และนํ้าหมักปูปลาท่ีมีมากมายในฤดูทํานาเปนอาหารเสริมโปรตีนใหกับสุกร เนนการผลิตอาหารสัตวเองในชุมชน

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินการขอการรับรองมาตรฐาน 6. สถานท่ีติดตอ

- นางกัลยา ออนศรี บานทัพไท ต.ทมอ อ.ปราสาท จ.สุรินทร - นายมานพ กนกศิลป สํานักสุขศาสตรสัตวและสุขอนามยัท่ี 3 ต.จอหอ อ.เมือง จ.นครราชสีมา

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การปรับเปลี่ยนการเลี้ยงโคนมสูมาตรฐานโคนมอินทรีย

Transition to Organic Dairy Production System

2. ชื่อเจาของผลงาน นายพฤฒิ เกิดชูชื่น และเครือขายฟารมโคนมอินทรีย ศูนยปศุสัตวอินทรีย กรมปศุสัตว สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน กรมปศุสัตว รวมกับสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ ไดจัดทําโครงการ สนัยสนุนเครือขายน้ํานมอินทรียแดรี่โฮม และฟารมเกษตรกรจํานวน 6 ฟารม เพ่ือพัฒนาการผลิตน้ํานมอินทรียสูมาตรฐานเปนท่ียอมรับของผูบริโภค และเพ่ือพัฒนามาตรฐานโคนมอินทรียของประเทศไทย โดยมีกิจกรรมสนับสนุนการเรียนรูกระบวนการเล้ียงโคนมอินทรีย และการพัฒนาเขาสูการรับรองมาตรฐานการจัดทําเอกสารและการควบคุมภายใน รวมท้ังการศึกษารูปแบบการปฏิบัติในฟารม ปญหาอุปสรรคของการเขาสูมาตรฐานปศุสัตวอินทรีย 4. รายละเอียดผลงาน

น้ํานมอินทรีย หมายถึง น้ํานมท่ีผูเล้ียงโคนมจัดการเล้ียงโคที่ใสใจส่ิงแวดลอมและสวัสดิภาพสัตว ใหสัตวมีความเครียดนอยท่ีสุด เพ่ือสุขภาพแข็งแรง มีภูมิตานทานโรค โดยจัดการใหแมโคมีความสุขท่ีไดเดินแทะเล็มหญาในแปลงหญาท่ีไมไดใชปุยเคมี สารเคมีใดๆ แตใชปุยหมักมูลสัตวเปนเวลานาน เสริมดวยอาหารขนอินทรียเล็กนอยจากวัตถุดิบท่ีปลอด GMOs และการจัดการฟารมท่ีดี ดวยการจัดการเลี้ยงไมหนาแนนพอเหมาะกับพ้ืนท่ี มีคอกพัก นอน โปรง โลง สะอาด มีพ้ืนที่กลางแจงออกกําลัง ทุกขั้นตอนการเล้ียงดูและการรีดนม หลีกเล่ียงการใชสารเคมี ยาและเวชภัณฑเคมีสังเคราะห รักษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตวประจําถ่ิน เชน พืชสมุนไพร นก ไกพ้ืนเมืองคอยจิกกินเห็บและไขพยาธิ

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินการ มีผลิตภัณฑตนแบบแลว 6. สถานท่ีติดตอ

- ศูนยปศุสัตวอินทรีย กรมปศุสัตว ถนนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 - บริษัทแดร่ีโฮม จํากัด 100/1 ต.พญาเย็น อ.ปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 30320 โทร 044-322230

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : การศึกษาประสิทธิภาพของพืชสมุนไพรไทยในการยับย้ังการเจริญเติบโตของเชื้อ

อี. โคไล ชนิดกอโรคในทางเดินอาหาร (A Study of the Antimicrobial Activity of Thai Herbs on Enteropathogenic Escherichia coli)

2. ชื่อเจาของผลงาน: น.สพ.ดร.นนทกรณ อุรโสภณ และคณะ

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน โรคอุจจาระรางเปนสาเหตุสําคัญท่ีทําใหลูกสุกรตายกอนหยานม โดยมีอัตราการปวยตั้งแต 48 ถึง 84% ในฟารมท่ีมีการจัดการสุขาภิบาลในระดับท่ีนาพอใจ และในฟารมท่ีมีการจัดการสุขาภิบาลที่ตองปรับปรุงตามลําดับ (อางถึงโดย ยุทธนาและคณะ, 2545) โดยมีอัตราการตายมากกวา 20% และจะสูงถึง 100% ถาไมมีการรักษา เชื้อ Escherichia coli (อี.โคไล) เปนสาเหตุสวนใหญสําหรับลูกสุกรต้ังแตแรกเกิดจนถึงหลังหยานม 1-2 สัปดาห โดยเฉพาะฟารมท่ีระบบการจัดการแมสุกรชวงกอนและหลังคลอดไมดี ลูกสุกรจะไดรับเชื้อโดยตรงจากแมหรือจากเชื้อท่ีสะสมอยูในคอกคลอด โดยการกินเขาไป ปจจุบันมีการใชยารักษาและปองกันการเกิดอุจจาระรวงในสุกรกันอยางแพรหลายจากขอมูลของสมาคมผูคาเวชภัณฑสําหรับสัตว ยาสวนใหญท้ังในรูปยาฉีด ยาละลายน้ํา และยาผสมอาหารตองนําเขาจากตางประเทศทั้งในรูปเคมีภัณฑและยาสําเร็จรูปทําใหตองเสียดุลการคากับตางประเทศ การดื้อยาของเชื้อ (antimicrobial resistance) สามารถเกิดขึ้นไดเชนเดียวกับเชื้อชนิดอื่นๆ การศึกษาหาพืชสมุนไพรท่ีมีฤทธิ์ในการตานเชื้อ อี.โคไล ท่ีกอโรคในสุกรยังมีการศึกษากันเพียงไมกี่ชนิด ไดแก ฟาทะลายโจร ใบฝรั่ง ขมิ้นชัน ไพล และเปลือกผลมังคุด การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาฤทธิ์การตานเชื้อ อี.โคไลท่ีกอโรคลําไสอักเสบ (enteropathogenic E.Coli) สายพันธุอางอิงและสายพันธุท่ีทําใหเกิดโรคอุจจาระรวงในลูกสุกรของสวนสกัดหยาบจากพืชสมุนไพรชนิดตางๆ โดยศึกษาแบบ in vitro เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐานในการหาพืชสมุนไพรที่เหมาะสมในการรักษาและปองกันโรคอุจจาระรวงในลูกสุกรในระดับฟารมตอไป

4. รายละเอียดผลงาน สวนสกัดหยาบดวยน้ําของสมุนไพรท้ัง 20 ชนิดท่ีนํามาศึกษาไมแสดงฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อ อี.โคไล ในขณะท่ีมีเพียงสวนสกัดหยาบดวย 50% เอธานอลเทาน้ันท่ีมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ อี.โคไล พบวาสวนสกัดหยาบจากฝรั่ง ดาวเรือง พลู สาปเสือ และลูกใตใบ มีฤทธิ์ยับย้ังเชื้อ อี.โคไล ในระดับแตกตางกัน สวนสกัดหยาบจากใบพลูแสดงฤทธิ์ยับย้ังการเจริญเติบของเชื้อ อี.โคไล ไดดีท่ีสุด โดยสามารถยับย้ังการเจริญของเชื้อ อี.โคไลสายพันธุมาตรฐานที่นํามาทดสอบท้ัง 7 สายพันธุ นอกจากน้ีสวนสกัดจากพลูดวย 50% เอธานอลสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ อี .โคไล ท่ีแยกไดจากลูกสุกรท่ีมีอาการทองรวง 9 ตัวได โดยมีขนาดเสนผาศูนยกลางบริเวณท่ีถูกยับยั้งระหวาง 16.20-27.80 มม. และมีคาเฉล่ียไมแตกตางจากการยับย้ังเชื้อโดยยา gentamicin ผลการทดสอบหาคา MIC ของสวนสกัดหยาบท่ีมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ อี.โคไล ไดดีท่ีสุด คือ สกัดหยาบจากพลู ท่ีสกัดดวย 50% เอธานอลตอเชื้อ อี.โคไล ท่ีแยกไดจากลูกสุกรท่ีมีอาการอุจจาระรวง 4 สายพันธุอยูในชวง 0.156-0.312 มก./มล.

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน

6. สถานท่ีติดตอ ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การศึกษาศักยภาพการเลี้ยงสุกรกึ่งชีวภาพ เพ่ือประยุกตใชสําหรับเกษตรกรรายยอย

Potential Study of Semi-Bio Pig Production for Small-Scale Farmer Application

2. ชื่อเจาของผลงาน รศ.ดร.วันดี ทาตระกูล และนายอัษฎาวุธ สนั่นนาม

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การเล้ียงสุกรของเกษตรกรในปจจุบันกอใหเกิดปญหาทางดานสภาพแวดลอมแกชุมชน ท้ังเรื่อง

น้ําเสีย และกล่ินเหม็น อีกท้ังตนทุนคาอาหารสุกรในปจจุบันสูงมาก จึงไดหาแนวทางการลดตนทุนคาอาหารลง และไดนําสายพันธุทางการคามาเล้ียงแบบสุกรกึ่งชีวภาพ เพ่ือหาแนวทางการผลิตสุกรกึ่งชีวภาพท่ีเหมาะสม ผลิตเนื้อสุกรท่ีมีคุณภาพและปลอดภัย ใชเงินลงทุนตํ่า กล่ินมูลสุกรมีนอย สุกรสุขภาพดี นําของเสียท่ีเกิดการหมักกับวัสดุรองพ้ืนคอกมาใชประโยชนเปนวัสดุปลูกพืชไดดี นําวัสดุ ผลพลอยได ทางการเกษตร ในทองถ่ิน มาใชเปนอาหารสุกรได อยางมีประสิทธิภาพ และการเล้ียงสุกรท่ีใกลเคียงตามหลักของ GAP

4. รายละเอียดผลงาน การเล้ียงสุกรแบบกึ่งชีวภาพ คือ การเล้ียงสุกรแนวทางเกษตรธรรมชาติโดยเนนการใชจุลินทรีย ใช

วัสดุรองพ้ืนคอกสุกร ทําใหสุกรมีความตานทานโรค อัตราการแลกเนื้อสูง เนื้อแดงมาก มีไขมันนอย ไมมีกล่ินเหม็นรบกวน และลดตนทุนการผลิต อีกท้ังพ้ืนคอกยังสามารถนําไปใชเปนปุยชีวภาพและปรับโครงสรางดินใหดีขึ้น ผลการทดลองเฉล่ียของสุกรน้ําหนักตัว 20-100 กิโลกรัม พบวาสุกรแบบก่ึงชีวภาพและแบบทั่วไปมีอัตราการเจริญเติบโตเฉล่ีย 0.77 และ 0.82 กิโลกรัมตอวัน ตามลําดับ ไมแตกตางกันทางสถิติ สําหรับอัตราแลกน้ําหนักนั้นการเล้ียงแบบกึ่งชีวภาพเฉล่ียเทากับ 2.64 สวนการเล้ียงแบบทั่วไปเฉล่ียเทากับ 2.40 ในดานตนทุนคาอาหารในการเล้ียงตั้งแตน้ําหนัก 20 ถึง 100 กิโลกรัม พบวา การใชอาหารหมักแทนอาหารขนสามารถลดตนทุนคาอาหารลงไดถึง 19.58 บาทตอ 1 กิโลกรัม ซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) และตนทุนการผลิตโดยรวมถูกกวา 11.89 บาทตอ 1 กิโลกรัม ดานลักษณะและคุณภาพซากของสุกรท้ัง 2 แบบ ไมแตกตางกันทางสถิติ ดังนั้นจึงสรุปไดวาการเล้ียงสุกรแบบกึ่งชีวภาพมีศักยภาพเพียงพอที่จะนําไปประยุกตใชและสงเสริมใหกับเกษตรกรรายยอยท่ีจะนําไปเล้ียงเพ่ือเพ่ิมรายได และยังเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมอีกดวย

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และเทคโนโลยีตนแบบแลว

6. สถานท่ีติดตอ รศ.ดร.วันดี ทาตระกูล หัวหนาภาควิชาวิทยาศาสตรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ

และส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร ต.ทาโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทร. 086-1965708

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การศึกษาศักยภาพการผลิตผักอินทรียและแนวทางการสรางรูปแบบความสัมพันธ ระหวางภาคการผลิต และการตลาดผักอินทรียอยางครบวงจร The study on the potential of organic vegetable production and how to make a model for bridging between producer and marketing. 2. ชื่อเจาของผลงาน สถาพร ซอนสุข 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ความตองการผักอินทรียของผูบริโภคมีปริมาณเพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่อง ท้ังตลาดในประเทศและตลาดตางประเทศ แตการผลิตผักอินทรียของไทยยังขยายตัวไมทันความตองการของตลาด ท้ังดานชนิดผัก ปริมาณผลผลิต และคุณภาพของผลผลิต รวมท้ังความตอเนื่องในการสงมอบผลผลิต 4. รายละเอียดผลงาน การผลิตผักอินทรียของไทยยังอยูในระยะเริ่มตน แตสามารถผลิตผักอินทรียตอบสนองตลาดทั้งในประเทศและตลาดตางประเทศได แตยังไมสามารถขยายการผลิตไดทันตอการขยายตัวของตลาด ปจจุบันมีเกษตรกรผูปลูกผักอินทรียกระจายอยูแทบทุกจังหวัด สามารถจําแนกผูปลูกผักอินทรียไดเปน 2 รูปแบบคือรูปแบบท่ี 1 การผลิตผักอินทรียแบบเศรษฐกิจพอเพียง และ รูปแบบท่ี 2 การผลิตแบบใชการตลาดเปนปจจัยนํา โดยการสงออกผักอินทรียของไทยในป พ.ศ. 2549 มีมูลคาประมาณ 85.4 ลานบาท โดยสงออกไปประเทศตางๆ เชน ญี่ปุน สหภาพยุโรป ไตหวัน ตะวันออกกลาง สิงคโปร ฮองกง และทุกตลาดมีความตองการผักอินทรียเพ่ิมขึ้นทุกป ผูปลูกผักอินทรียมีพ้ืนท่ีการผลิตต้ังแต 1 งาน ถึง 50 ไร สามารถผลิตผักอินทรียเพ่ือการคาได จํานวน 50 ชนิด สวนใหญสามารถหาปจจัยการผลิตตางๆในพ้ืนที่ได สวนใหญใชแรงงานในครอบครัว จะมีการจางแรงงานคนในทองถ่ินมาชวยดานการผลิต โดยตนทุนคาแรงในการผลิตผักอินทรียอยูระหวาง รอยละ39.2-76.8 (เฉล่ีย รอยละ 60.3) ของคาใชจายท้ังหมด ดานการจัดการโรค วิธีการท่ีนิยมมากที่สุดคือ การปลูกพืชสลับ ดานการจัดการแมลง วิธีการท่ีนิยมมากท่ีสุดคือ การใชน้ําหมัก ดานการจัดการวัชพืช วิธีการที่นิยมมากที่สุดคือ การใชแรงงานคน ดานการขนสงผลผลิตสงตลาด สวนใหญผูปลูกผักอินทรียเปนผูขนสงผลผลิตสงตลาดดวยตนเอง ผูปลูกผักอินทรียแทบทุกคนพอใจตอการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย และไมตองการกลับไปผลิตแบบเกษตรเคมี ตลาดผักอินทรียในประเทศไดขยายฐานผูบริโภคจากตลาด ผานชองทางการตลาดตางๆ เชน หางสรรพสินคาตางๆ รานอาหารภัตตาคาร โรงพยาบาล โรงเรียน สถานบริการดานสุขภาพ (สปา) รวมท้ังชองทางการสงตรงถึงบาน จากการส่ังซื้อทาง Internet การเปนสมาชิกตามแนวทางของ CSA (Community Supported Agriculture) เปนตน และยังสามารถสรางตลาดเฉพาะของตนเอง เชน ตลาดนัดในทองถ่ิน (ตลาดสีเขียว) การจําหนายผลิตผลในฟารม การจัด Farm Visit หรือ Farm Tour การจัดสงใหผูสนใจหรือสมาชิกในทองถ่ิน เปนตน และสนใจที่จะขยายตลาดในทองถ่ินและในประเทศ มากกวาการสงออกและตลาดสงออกที่สนใจจะเปนตลาดเกษตรอินทรียใหมท่ีอยูใกล เชน สิงคโปร มาเลเซีย ตะวันออกกลาง เปนตน 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

- นักวิจัยอิสระและหัวหนาโครงการเกษตรเพื่อสุขภาพเทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรียในนาราง จังหวัดสุราษฎรธานี The Production of Organic Forage Seeds in Abandoned Rice Fields in Suratthani Province 2. ชื่อเจาของผลงาน สุชาติ เชิงทอง 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เนื่องจากการทํานาในจังหวัดสุราษฎรธานี ไดเกิดปญหาผลผลิตต่ํา แรงงานหายาก ตนทุนการผลิตสูง ทําใหเกิดนารางเปนจํานวนมากกวา 100,000 ไร สมควรหาแนวทางใชประโยชน โดยการผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรีย โดยใชปุยอินทรียท่ีผลิตในทองถ่ิน เปนการใชทรัพยากรนารางใหเปนประโยชน เพ่ิมขีดความสามารถในการผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรีย และตอบสนองตอนโยบายเกษตรอินทรียของประเทศ 4. รายละเอียดผลงาน หญาอาหารสัตวท่ีปลูกในระบบอินทรียตามแผนการทดลองมีการเจริญเติบโตวัดจากความสูง และจํานวนหนอ/กอ ไมแตกตางจากหญาอาหารสัตวท่ีปลูกโดยใชปุยเคมี นอกจากนี้ผลผลิตน้ําหนักสด คุณคาทางอาหาร ธาตุอาหารในใบหญาอาหารสัตวท่ีใชปุยอินทรียยังมีน้ําหนัก และคุณคาทางอาหารตลอดจนธาตุอาหาร ไมแตกตางจากแปลงที่ปลูกโดยใชปุยเคมี ซึ่งยืนยันถึงความเปนไปไดของระบบเกษตรอินทรีย ก า ร ผ ลิ ต เ ม ล็ ด พั น ธุ พื ชอาหารสัตวประสบผลสําเร็จเพียงพันธุเดียวคือ หญาพลิแคทูลัม สําหรับพืชอาหารสัตวอีก 3 ชนิดนั้น มีสภาพแวดลอมท่ีไมเหมาะสมตอการออกดอก อยางไรก็ตามปริมาณผลผลิตเมล็ดและคุณภาพเมล็ดของหญาพลิแคทูลัมเมื่อเปรียบเทียบระหวาง การใชปุยเคมี และปุยอินทรียแลวพบวาไมแตกตางกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะหตนทุนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวยังไมคุมทุนในการเปล่ียนแปลงจากนารางเปนการผลิตเมล็ดพืชอาหารสัตวอินทรีย เนื่องจากมีผลผลิตเมล็ดตํ่า ซึ่งอาจเปนผลมาจากการออกดอกใหเมล็ดในชวงฤดูฝน หรือดินมีความสมบูรณต่ําตองอาศัยเวลามากกวานี้ในการฟนฟูดินใหมีสภาพดีขึ้น

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

- คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาเขตสุราษฎรธาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 31 หมู 6 ตําบลมะขามเตี้ย อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี 84100

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย

1. ชื่อผลงาน : นํ้าผึ้งอินทรียทางการแพทย (Organic Medical Honey)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท สยามเมยีล อินเตอรเนชัน่แนล จาํกัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สืบเนื่องจากผูเล้ียงผึ้งในปจจุบันตองประสบปญหาดานการผลิต การตลาด และขาดการจัดการท่ีดี เชน ปญหาการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในไรสวนในชวงฤดูเพาะปลูก ทําใหผูเล้ียงท่ีวางรังผึ้งอยูใกลบริเวณนั้นจะไดรับความเสียหายจากสารเคมี การติดฉลากท่ีแสดงการรับรองมาตรฐานของสินคาในกลุมของเกษตรกรผูผลิตน้ําผึ้งยังไมแพรหลายเทาท่ีควร ทําใหผูบริโภคไมมั่นใจในคุณภาพสินคา ซึ่งเปนอุปสรรคสําคัญตอการขยายตลาดสงออกน้ําผึ้ง เปนตน การผลิตน้ําผึ้งอินทรียนั้นอาศัยหลายปจจัยท่ีสําคัญ ท่ีสามารถแกปญหาดังกลาวเพ่ือผลิตน้ําผึ้งท่ีมีคุณภาพรสชาติดี โดยปราศจากสารพิษหรือส่ิงปนเปอน ตลอดจนมีคุณสมบัติทางการแพทยจากดอกไมท่ีนํามาเปนอาหารเลี้ยงผึ้งดวย 4. รายละเอียดผลงาน

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตน้ําผึ้งอินทรียทางการแพทย จากดอกสาบเสือ โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และสอดคลองกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการแพทยดานการตานอนุมูลอิสระ (anti-oxidant) ได

5. สถานภาพของผลงาน

อยูระหวางการดําเนินโครงการ และมีผลิตภัณฑตนแบบแลว 6. สถานท่ีติดตอ - บ.สยามเมียล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 86 ถ.เชียงใหม-ลําพูน ต.วัดเกตุ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50000 - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน โครงการเลี้ยงปลาเบญจพรรณอินทรีย

Miscellaneous organic fish farming

2. ชื่อเจาของผลงาน วิทยาลัยชุมชนยโสธร สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สืบเนื่องจากขอมูลการวิจัยเรื่อง “พลวัตรและการใชประโยชนจากปลาในจังหวัดยโสธร” โดยมี ผศ.

น.สพ.ดร.วรพล เองวานิช อาจารยประจํามหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพ่ือใหไดขอมูลภาพรวมปริมาณการผลิตและใชประโยชนจากปลาในจังหวัดยโสธร และเพ่ือหาแนวทางชวยเหลือและสงเสริมอาชีพประมงแกเกษตรกรอยางเหมาะสม จากขอมูลการสํารวจเบื้องตนพบวา พ้ืนท่ีจังหวัดยโสธรมีลูทางและศักยภาพการทําประมงสูง เพียงแตตองมีการวางแผนการจัดการปลายทางใหดี และยังพบวาจังหวัดยโสธรมีการนําเขาปลาเพ่ือแปรรูปเปนอาหาร เชน ปลาสม ปลารา เปนตน ในแตละเดือนจํานวนหลายตัน ซึ่งแหลงท่ีมาของปลาเหลาน้ีสวนมากนําเขามาจากจังหวัดทางภาคกลางของประเทศ การแสวงหาแนวทางเลี้ยงปลาในกระชังและในบอดินเพ่ือจําหนายจึงนาจะมีอนาคตท่ีสดใสพอสมควร โครงการเล้ียงปลาเบญจพรรณอินทรีย วิทยาลัยชุมชนยโสธร มีวัตถุประสงคหลักเพ่ือสงเสริมใหเกษตรกรในพื้นท่ีเกษตรอินทรียเล้ียงปลาเบญจพรรณอินทรียเพ่ือบริโภคในครัวเรือนและนําปลาเหลานี้ออกสูตลาดของจังหวัดเพ่ือแปรรูปเปนอาหารท่ีปลอดภัยประเภทตางๆ

4. รายละเอียดผลงาน โครงการเล้ียงปลาเบญจพรรณอินทรียนี้นับเปนนวัตกรรมการผลิตปลาที่ปลอดภัยในพ้ืนท่ีตําบลนาโส อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ซึ่งเปนพ้ืนที่ท่ีทําเกษตรอินทรียมาหลายสิบป โดยเริ่มจากการหาและสรางเครือขายเกษตรกรผูสนใจเล้ียงปลา การกําหนดมาตรฐานการเล้ียงปลา และการจัดการบอแบบธรรมชาติ เนนการใชวัสดุธรรมชาติท่ีสามารถหาไดในทองถ่ินมาเปนอาหารของปลา เมื่อเสร็จส้ินโครงการคาดวาจะไดผลผลิตปลาที่ปลอดภัยตอการบริโภคและจําหนายภายในจังหวัด

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ 6. สถานท่ีติดตอ

วิทยาลัยชุมชนยโสธร ถ.สุวรรณภูมิ-ยโสธร ต.สําราญ อ.เมือง จ.ยโสธร 35000

รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

กลมุท่ี 4: แปรรูป

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : ผลิตภัณฑทําความสะอาดและดูแลผิวอินทรียสําหรับเด็กจากนํ้ามันหอมระเหยท่ี สกัดดวยวิธีของเหลวยิ่งยวด (Organic Baby Care Products from Essential Oil Extracted by Supercritical Fluid Technique)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท เชื่อมสมบัติ จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน จากกระแสของตลาดของเคร่ืองสําอางอินทรียและเคร่ืองสําอางจากธรรมชาติท่ัวโลกในปจจุบันพบวามี

มูลคาสูงถึงมูลคา 7 พันลานเหรียญดอลลารสหรัฐ และมีอัตราการขยายตัว รอยละ 15-20 ตอป โดยตลาดหลักอยูในประเทศสหรัฐอเมริกา (4,500 ลานเหรียญ) และในสหภาพยุโรป (1,000 ลานเหรียญ) ดังนั้น สนช. จึงริเริ่มสงเสริมธุรกิจเกษตรอินทรียในกลุมเครื่องสําอางมากขึ้นเพ่ือใหสอดคลองกับศักยภาพของตลาดโลก นอกจากนี้ เมื่อวิเคราะหผูผลิตในประเทศ พบวายังไมมีกลุมผลิตภัณฑอินทรียสําหรับเด็ก (organic baby products) มีเพียงแตผลิตภัณฑเด็กท่ัวๆไปท่ีใชสวนผสมมาจากสารเคมี จึงเปนโอกาสที่ดีในการพัฒนาผลิตภัณฑอินทรียสําหรับเด็กเพ่ือขยายผลตราสินคาสูตลาดในตางประเทศ โดยนํานวัตกรรมดานการพัฒนาสูตรจากผูเชี่ยวชาญในกลุมเครือขายนวัตกรรมผลิตภัณฑธรรมชาติ ใหเปนไปตามมาตรฐานเครื่องสําอางอินทรีย และอาศัยกรรมวิธีการสกัดน้ํามันหอมระเหยดวยวิธีของเหลวยิ่งยวด (supercritical fluid extraction) ซึ่งเปนเทคโนโลยีท่ีนาจะเหมาะสมกับการสกัดน้ํามันหอมระเหยเพ่ือนํามาผลิตผลิตภัณฑดูแลผิวและรางกายอินทรียสําหรับเด็ก เนื่องจากปราศจากสารเคมีในกระบวนการสกัด

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตสูตรผลิตภัณฑทําความ

สะอาดและดูแลผิวอินทรียสําหรับเด็กจากน้ํามันหอมระเหยที่ผานกระบวนสกัดดวยคารบอนไดออกไซดโดยวิธีของเหลวยิ่งยวด (supercritical CO2 fluid extraction) ทําใหน้ํามันหอมระเหยที่ไดมีคุณภาพสูง ปลอดภัยจากสารตกคาง และสอดคลองกับมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท เชื่อมสมบัติ จํากัด 14 ม.9 ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : ซอสพริกอินทรียท่ีมีไลโคพีนสูง (Organic Chili Sauce Enriched With Lycopene)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ชิตา ออรแกนิค ฟูด จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สืบเนื่องจากปจจุบัน ผูบริโภคใหความสําคัญและใสใจสุขภาพมากขึ้น อาหารอินทรียนับเปนทางเลือกหนึ่งท่ีจะชวยใหผูบริโภคสามารถดูแลสุขภาพของตนเองไดโดยลดความเส่ียงจากการไดรับผลกระทบจากสารเคมีตางๆ ซอสหรือเครื่องจิ้มจัดเปนผลิตภัณฑอาหารชนิดหนึ่งท่ีมีบทบาทอยางมากตอรสชาติของอาหาร อนึ่ง ปจจุบันมีซอสและเครื่องจิ้มหลากหลายชนิด ซึ่งมักเนนเฉพาะเรื่องรสชาติและสวนผสมท่ีแตกตางและหลากหลาย แตไดละเลยการสรางผลิตภัณฑท่ีเปนประโยชนใหแกผูบริโภค ดังนั้น สนช. จึงไดสรางความรวมมือกับเมธีสงเสริมนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย นักวิชาการจากภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และผูประกอบการ ในการสรางมูลคาเพ่ิมใหกับผลิตภัณฑพริกอินทรียอยางครบวงจร ตามแนวทางแผนพัฒนาเกษตรอินทรียแหงชาติ ในสวนของยุทธศาสตรการเสริมสรางและจัดการองคความรูและนวัตกรรม และจัดเปนหนึ่งในโครงการนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตรดานธุรกิจเกษตรอินทรียของ สนช.

4. รายละเอียดผลงาน โครงการน้ีนับเปนนวัตกรรมระดับประเทศดานผลิตภัณฑซอสพริกอินทรีย ท่ีมีปริมาณไลโคพีนสูงจาก

สวนผสมที่มาจากเย่ือหุมเมล็ดของฟกขาวอินทรีย ซึ่งสวนผสมที่ใชผลิตซอสพริกท้ังหมด ตลอดจนกระบวนการผลิตไดรับการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท ชิตา ออรแกนิค ฟูด จํากัด 299 หมู 7 ต.นครเจดีย อ.ปาซาง จ.ลําพูน - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน นํ้าสมสายชูหมักจากเสาวรส Fruit Vinegar Drink From Passion Fruit 2. ชื่อเจาของผลงาน วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดง 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เปนผลิตภัณฑท่ีใชเสาวรส นํามาผานกระบวนการผลิต โดยนําเทคโนโลยีเมมเบรนมาใชในการผลิต ทําใหปราศจากสารเคมีใดๆ (All Natural) ทําใหไดน้ําสมสายชูท่ีปราศจากสารปนเปอน มากไปดวยคุณคาทางโภชนาการ ดีตอสุขภาพสืบเนื่องจากใชในการปรุงอาหารท่ีเนนคุณภาพสูง มีกล่ินหอมธรรมชาติ เหมาะกับการทําน้ําจิ้มและนํ้าสลัด และยังมีผูท่ีสนใจในสุขภาพใชผสมน้ําด่ืม เพ่ือปรับสมดุลและกําจัดสารพิษในรางกาย สรางภูมิตานทานตานเชื้อโรค ปวดขอ โรคเกาต ชวยระบบขับถาย และชวยกําจัดไขมันสวนเกิน 4. รายละเอียดผลงาน เปนนวัตกรรมการผลิตน้ําสมสายชูหมักจากเสาวรส โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต ผลิตภัณฑท่ีไดสามารถนํามาผลิตเปนผลิตภัณฑ Fruit Vinegar Drink ซึ่งเปนเคร่ืองด่ืมท่ีดื่มแลวจะรูสึกกระปรี้กระเปรา ใหความสดชื่น และมีประโยชนตอสุขภาพบุคคลท่ัวไปท่ีรกัสุขภาพ 5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ 6. สถานท่ีติดตอ

วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดง เลขท่ี 145 หมู 9 ตําบลโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย รหัสไปรษณีย 31260 โทรศัพท 0-44-6-6202

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของ ชุมชนโรงเรียน ตํารวจตระเวน

ชายแดน Food Processing and Organic Food Preservation Produced by the Community of Border Patrol Police School

2. ชื่อเจาของผลงาน นายปญญเดช พันธุวัฒน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดทรงมีพระราชดําริท่ีสอดคลองกับปญหาดังกลาว เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ดวยทรงพระเมตตาที่จะชวยเหลือเด็กและเยาวชนท่ีดอยโอกาส หรืออยูในถ่ินทุรกันดารใหมีความเปนอยูท่ีดีขึ้น ทรงเล็งเห็นวาการพัฒนาจะนําไปสูการเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็กท้ังรางกายสติปญญาและอารมณ ไดอยางเต็มศักยภาพทําใหเด็กเติบโตอยางคนมีคุณภาพเปนกําลังท่ีจะชวยพัฒนาชุมชนของตนเองและประเทศชาติตอไป ทรงเริ่มตนจากการดําเนินงานในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน โดยมุงเนนใหนักเรียนครูและผูปกครองรวมทําการเกษตรในโรงเรียน และนําผลผลิต ท่ีไดมาประกอบเปนอาหารกลางวัน ซึ่งนอกจากชวยแกปญหาการขาดแคลนอาหารกลางวันแลว ยังทําใหนักเรียนไดรับความรูดานโภชนาการและดานการเกษตรแผนใหมท่ีสามารถนําไปใชประกอบเปนอาชีพตอไป ท้ังนี้ โดยใหเด็กนักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณคาทางโภชนาการและไดบริโภคตลอดชวงการศึกษา

4. รายละเอียดผลงาน โครงการวิจัยนี้จัดทําขึ้นเพ่ือศึกษาการแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของชุมชนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน เพ่ือศึกษาถึงความรูความเขาใจในการการแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของชุมชนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน ศึกษาการมีสวนรวมตอการแปรรูป การถนอมอาหารเกษตรอินทรียของชุมชนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน ศึกษาถึงประโยชนในการแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนชุมชนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน และศึกษาปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะเพิ่มเติม ในการแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของชุมชนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน

5. สถานภาพของผลงาน มีผลผลิตของการแปรรูปแลว

6. สถานท่ีติดตอ วิทยาเขตสุพรรณบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 57 ม. 2 ถ. สุพรรณบุรี-ปาโมก ต.โคกโคเฒา อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน โครงการการถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหารและเคร่ืองดื่มเกษตร

อินทรีย 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ.ลักขณา จาตกานนท อ.นอมจิตต สุธีบุตร อ.เกศรินทร เพ็ชรรตัน และอ.เชาวลิต

อุปฐาก คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เมื่อพืชผักเกษตรอินทรียมีจํานวนมากขึ้น สงผลใหมีความตองการในการแปรรูปพืชผลทางการเกษตรผลผลิตสวนใหญของชุมชน ศูนยคลินิกเทคโนโลยีโชติเวช จึงมีแนวคิดในการดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีในการแปรรูปอาหารและเคร่ืองดื่มเกษตรอินทรียท่ีเกี่ยวเนื่องกับผลผลิตในทองถ่ิน จํานวน 5 หลักสูตร ประกอบดวย 1. การทําเสนพาสตาจากขาว 2. การประกอบอาหารจากเสนพาสตาจากขาว 3. เครื่องด่ืมแบบพาสเจอไรสท่ีผลิตจากมะมวง 4. ฮอยจอท่ีใชขาวโพดเปนวัตถุดิบหลัก และ 5. ธัญพืชสมุนไพรที่มีในทองถ่ิน 4. รายละเอียดผลงาน กลุมท่ี 1 ผูเขารับการอบรมทุกคนสามารถนําความรูไปใชประโยชนได คิดเปนรอยละ100 และจากการประเมินผลความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการที่มีตอการจัดโครงการการถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหารและเครื่องด่ืมเกษตรอินทรีย พบวา ผูเขารวมโครงการมีความพึงพอใจ อยูในระดับ มากท่ีสุด รอยละ 78.33 ระดับมาก รอยละ 14.82 และระดับปานกลาง รอยละ 6.85 กลุมท่ี 2 ผูเขารับการอบรมทุกคนสามารถนําความรูไปใชประโยชนได คิดเปนรอยละ100 และมีรายไดเพ่ิมขึ้น 1,001-2,000 บาท คดิเปนรอยละ 50.00 และจากการประเมินผลความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการที่มีตอการจัดโครงการการถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหารและเครื่องด่ืมเกษตรอินทรีย พบวา ผูเขารวมโครงการมีความพึงพอใจ อยูในระดับ มากท่ีสุด รอยละ 74.63 ระดับมาก รอยละ 19.81 และระดับปานกลาง รอยละ 5.86

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ินและจําหนายเชิงพาณิชยแลว 6. สถานท่ีติดตอ

คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑปลาดุกราดวยการเติมสมุนไพรไทย Improvement of the quality of dry-cured catfish product by adding Thai herbs 2. ชื่อเจาของผลงาน นางสาวเกษวด ีคงพรหม นางสาวรัตนาภรณ เหลือรักษ และอาจารยถาวร จันทโชติ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชมุชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปลาดุกราเปนสินคาพ้ืนเมืองท่ีมีชื่อเสียงของจังหวัดในภาคใต การผลิตปลาดุกรามีแหลงท่ีสําคัญไดแกกลุมเกษตรกรในอําเภอระโนด จังหวัดสงขลา กลุมเกษตรกรในพื้นท่ีลุมน้ําปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และกลุมเกษตรกรรอบๆ ทะเลสาบสงขลาในบริเวณทะเลนอย อําเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุง การพัฒนาผลิตภัณฑปลาดุกราในรูปอินทรียคือการพยายามยังย้ังหรือชะลอกระบวนการออกซิเดชันของกรดไขมันในผลิตภัณฑปลาดุกรา ซึ่งเปนสาเหตุท่ีกอใหเกิดกลืนหืนและไมพึงประสงคของผูบริโภคโดยการใชสมุนไพรเติมลงไปในชวงท่ีมีการแปรรูป สาร polyphenolics ในสมุนไพรอาจมีผลยังการเนาเสียในผลิตภัณฑปลาดุกราได ชวยปรับปรุงกล่ินรสและเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑปลาดุกราไดดวย 4. รายละเอียดผลงาน ดําเนินการศึกษาเกี่ยวกับการใชสมุนไพร 5 ชนิดไดแก ขิง ขา ตะไคร กระเทียม และใบกระเพรา นําไปบดผสมในขั้นตอนการทําปลาดุกรา ทําการหมักตามระยะเวลา 0 3 7 15 30 และ 45 วัน ตรวจสอบคุณสมบัติการเปนสารตานออกซิเดชันของสมุนไพร Total phenolics content, radical scavenging activity, reducing power และ chelating activity ทําการวิเคราะหคุณภาพปลาดุกราพบวาโดยคุณสมบัติของขิงและตะไครมีความสามารถในการเปนสารตานอนุมูลอิสระไดดีท่ีสุด ตรวจคุณภาพของปลาดุกรา ปริมาณความชื้น โปรตีน ไขมัน เถา ความเปนกรดดาง คาวอเตอรแอติวิตี้ คะแนนการประเมินคุณภาพดานประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑปลาดุกราอยูในระดับท่ียอมรับไดตลอดระยะการเก็บรักษานาน 30 วัน แตเมื่อครบระยะเวลาการเก็บรักษานาน 45 วันพบวาผลิตภัณฑปลาดุกราท่ีคลุกสมุนไพรเกิดการเส่ือมเสียเนื่องจากเชื้อรา 5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินโครงการเสร็จส้ินแลว 6. สถานท่ีติดตอ

คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 222 หมู 2 ต. บานพราว อ. ปาพะยอม จ.พัทลุง 93110

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การพัฒนาผลิตภัณฑโจกขาวเจาหอมดําอินทรียผสมก่ึงสําเร็จรูป Development of Instant Mixed Organic Black Rice Porridge

2. ชื่อเจาของผลงาน อมรรัตน สีสุกอง กิตติ กิตติสุวรรณ และพันธประภา ใชประพันธกูล คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน วิสาหกิจชุมชนจักสานบานดอนลานสรางสรร จังหวัดสุพรรณบุรี ปจจุบันมีการปลูกขาวหอมมะลิและขาวพันธุอื่น ๆ เพ่ิมขึ้น โดยนาขาวท้ังหมดยึดแนวพระราชดําริ “เกษตรอินทรีย” หน่ึงในพันธุขาวท่ีกลุมภูมิใจคือ “ขาวเจาหอมดํา” พันธุขาวท่ีเกิดจากการผสมขามพันธุระหวางขาวหอมมะลิและขาวสีดําพันธุพ้ืนเมืองของภาคเหนือ ซึ่งขาวพันธุดังกลาวอุดมดวยสารตานอนุมูลอิสระ วิตามินอี วิตามินบีคอมเพล็กซ แอนโทไซยานิน และสารสําคัญตอสุขภาพอีกหลายชนิด ในกระบวนการสีขาว จะมีขาวหักบางสวนเกิดขึ้น การเพ่ิมมูลคาขาวหักของขาวเจาหอมดําอินทรียใหเปนผลิตภัณฑท่ีมีคุณคาเปนเรื่องท่ีนาสนใจ ดังนั้นนักวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงไดรวมในโครงการ IPUS1 (2550) ในการศึกษาวิจัยการเพิ่มการใชประโยชนจากสวนขาวหักของขาวเจาหอมดําอินทรีย โดยการพัฒนาเปนผลิตภัณฑโจกผสมกึ่งสําเร็จรูป โดยมี 2 สูตร ไดแก สูตรโจกกึ่งสําเร็จรูปผสมเห็ดหอมอบแหง และสูตรโจกกึ่งสําเร็จรูปผสมสาหรายไกอบแหง งานวิจัยนี้ไดรับทุนอุดหนุนจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝายอุตสาหกรรม โครงการโครงงานอุตสาหกรรมสําหรับปริญญาตรี ประจําป 2550

4. รายละเอียดผลงาน การพัฒนาผลิตภัณฑโจกขาวเจาหอมดําอินทรียผสมกึ่งสําเร็จรูป มีวัตถุประสงคเพ่ือเพ่ิมมูลคาและเพ่ิมการใชประโยชนจากสวนขาวหักของขาวเจาหอมดําอินทรีย จากการศึกษาหาอุณหภูมิการอบแหงของขาวเจาหอมดําอินทรียโดยใชตูอบลมรอนแบบถาด พบวาอุณหภูมิในการอบแหงท่ีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสเปนอุณหภูมิท่ีเหมาะสม ซึ่งเวลาที่ใชอบแหง 8 ชั่วโมง ไดศึกษาการคัดเลือกสูตรผงปรุงรส 3 สูตร และศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑโจกกึ่งสําเร็จรูป เปน 2 สูตร โดยสูตรท่ี 1 สูตรผสมเห็ดหอม พบวาผูบริโภคยอมรับสูตรท่ีผสมเห็ดหอมท่ีอัตราสวนรอยละ 2 สูตรท่ี 2 สูตรผสมสาหรายไก พบวาผูบริโภคยอมรับสูตรท่ีผสมสาหรายไกท่ีอัตราสวนรอยละ 2 และไดศึกษาการวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของโจกขาวเจาหอมดําอินทรียท่ีไดท้ัง 2 สูตรและศึกษาการเปล่ียนแปลงระหวางการเก็บรักษา

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน

6. สถานท่ีติดตอ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 228-228/1-3 ถ.สิรินธร แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กทม. 10700

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การพัฒนาผลิตภัณฑเคร่ืองดื่มจากขาวเจาหอมดําอินทรีย The Development Of Rice Drinking Products From Organic Black Rice 2. ชื่อเจาของผลงาน อมรรัตน สีสุกอง สุกัญญา ศรทีองกูล และ อนิทิรา สิงหสุวรรณ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน วิสาหกิจชุมชนจักสานบานดอนลานสรางสรร จังหวัดสุพรรณบุรี ปจจุบันมีการปลูกขาวหอมมะลิและขาวพันธุอื่น ๆ เพ่ิมขึ้น โดยนาขาวท้ังหมดยึดแนวพระราชดําริ “เกษตรอินทรีย” หน่ึงในพันธุขาวท่ีกลุมภูมิใจคือ “ขาวเจาหอมดํา” พันธุขาวท่ีเกิดจากการผสมขามพันธุระหวางขาวหอมมะลิและขาวสีดําพันธุพ้ืนเมืองของภาคเหนือ ซึ่งขาวพันธุดังกลาวอุดมดวยสารตานอนุมูลอิสระ วิตามินอี วิตามินบีคอมเพล็กซ แอนโทไซยานิน และสารสําคัญตอสุขภาพอีกหลายชนิด การเพ่ิมการใชประโยชนของขาวหอมดําอินทรีย โดยการพัฒนาเปนผลิตภัณฑเครื่องด่ืม เปนผลิตภัณฑท่ีมีคุณคาทางโภชนาการ มีความหลากหลาย สามารถผลิตไดงาย เปนเรื่องท่ีนาสนใจศึกษาวิจัย ดังนั้นนักวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงไดรวมในโครงการ IPUS1 (2550) ในการศึกษาวิจัยการแปรรูป “ขาวเจาหอมดําอินทรีย” ไปเปนผลิตภัณฑเคร่ืองด่ืมจากขาวเจาหอมดําอินทรีย เพ่ือใหเปนเคร่ืองด่ืมเพ่ือสุขภาพและสามารถพัฒนาการผลิตในเชิงพาณิชยได

งานวิจัยนี้ไดรับทุนอุดหนุนจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝายอุตสาหกรรม โครงการโครงงานอุตสาหกรรมสําหรับปริญญาตรี ประจําป 2550 4. รายละเอียดผลงาน การศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องด่ืมจากขาวเจาหอมดําอินทรียเพ่ือเพ่ิมความหลากหลายใหกับผลิตภัณฑโดยไดศึกษาสูตร วิธีการผลิตเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดําอินทรีย ศึกษาสูตรผสมน้ําขาวโพดโดยศึกษาอัตราสวนท่ีเหมาะสม ศึกษาปริมาณน้ําตาลท่ีเหมาะสม และไดศึกษาสูตรเครื่องด่ืมจากขาวเจาหอมดําอินทรียท่ีผสมวุนสวรรคสี ซึ่งวุนสวรรคสีไดจากการหมักวุนสวรรคดวย Monascus purpureus เพ่ือเปนการเพ่ิมปริมาณวิตามินและเสนใยในผลิตภัณฑเครื่องด่ืมใหสูงขึ้น โดยศึกษาอัตราสวนท่ีเหมาะสม ศึกษาองคประกอบทางเคมีของผลิตภัณฑท่ีไดและศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 228-228/1-3 ถ.สิรินธร แขวงบางพลัด ขตบางพลัด กทม. 10700

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การพัฒนาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดเพ่ือสุขภาพ Product Development of Sangyod Rice Health Cookies 2. ชื่อเจาของผลงาน นางสาวณัฐวรรณ ชฎากาณจน นางสาวมณฑริา จันทวงศ อาจารย ดร. อมรรัตน ถนนแกว คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชมุชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ขาวสังขหยดเปนพันธุขาวพ้ืนเมืองของจังหวัดพัทลุง เมล็ดขาวกลองมีสีแดงเขม นิยมบริโภคในรูปแบบขาวกลองและขาวซอมมือ ขาวสังขหยดเปนขาวท่ีมีคุณคาทางโภชนาการสูง ไดแก มีปริมาณไนอะซินสูง ชวยในการทํางานของระบบประสาทและผิวหนัง นอกจากนี้ยังมีวิตามินบี 1 ชวยปองกันโรคเหน็บชา วิตามินบี 2 ชวยปองกันโรคปากนกกระจอก รวมท้ังมีแรธาตุสําคัญคือ แคลเซียม และฟอสฟอรัส ชวยปองกันโรคกระดูกออน กระดูกพรุน เลือดแข็งตัวชา นอกจากนี้ยังพบวาขาวสังขหยดยังมีสีแดงและมีกล่ินหอมเฉพาะตัว สีแดงของขาวสังขหยดเปนสีของรงควัตถุ ประเภทฟลาวานอยดชนิดแอนโทไซยานิน รวมท้ังในน้ํามันรําขาวสังขหยดประกอบไปดวย วิตามินอี และโอริซานอล ซึ่งสารตางๆ ท่ีกลาวมานั้นมีคุณสมบัติเปนสารตานออกซิเดชันซึ่งสามารถกําจัดหรือลดอนุมูลอิสระในเซลลของส่ิงมีชีวิต ซึ่งมีผลในการชะลอและลดความเสี่ยงในการเปนโรคตางๆ เชน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคระบบภูมิคุมกันทํางานผิดปกติ เปนตน ดังนั้น การพัฒนาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดเพ่ือสุขภาพ จึงเปนแนวทางหนึ่งในการสรางมูลคาเพ่ิมใหกับขาวพ้ืนเมืองของภาคใต และสามารถชวยลดการนําเขาแปงสาลีจากตางประเทศได 4. รายละเอียดผลงาน ดําเนินการศึกษาเกี่ยวกับปริมาณแปงขาวสังขหยดท่ีเหมาะสมตอการผลิตคุกกี้ขาวสังขหยดแลวนําไปวิเคราะหคุณภาพทางเคมี คุณภาพทางกายภาพ คุณภาพทางประสาทสัมผัส ทดสอบความชอบของผูบริโภค เมื่อไดสูตรคุกกี้ท่ีไดคะแนนคุณภาพสูงสุด นําไปเพ่ิมคุณคาทางโภชนาการของคุกกี้ขาวสังขหยดท่ีผลิตจากแปงขาวสังขหยด โดยใชวัตถุดิบในทองถ่ินไดแกขาวตอกจากขาวสังขหยด จมูกขาวสังขหยด และงาดําในสัดสวนท่ีแตกตางกันไป แลวคัดเลือกสูตรท่ีไดรับการยอมรับมากท่ีสุดในการทดสอบไปศึกษาการเปล่ียนแปลงคุณภาพระหวางการเก็บรักษาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดตอไป 5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินโครงการเสร็จส้ินแลว โดยผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยด ท่ีมีการทดแทนแปงสาลีโดยแปงขาวสังขหยด รอยละ 20 เสริมธัญพืชชนิดขาวตอกจากขาวสังขหยดในผลิตภัณฑคุกกี้ รอยละ10 ไดรับการยอมรับสูงสุด และเมื่อเก็บรักษาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดใน ถุงอลูมิเนียมฟอลย และถุงพลาสติกชนิดโพลีโพรพิลีน เปนระยะเวลา 60 วัน ยังมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของผูทดสอบ 6. สถานท่ีติดตอ

คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 222 หมู 2 ต. บานพราว อ. ปาพะยอม จ.พัทลุง 93110

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน นํ้ามันรําขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย Organic Thai Hom Mali Rice Bran & Germ Oils

2. ชื่อเจาของผลงาน สหกรณผูผลิตเกษตรอินทรีย จาํกัด และสหกรณกรีนเนท จํากดั

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สหกรณกรีนเนท จํากัด ไดรวมมือกับกลุมผูผลิตใน จ.ยโสธร ทําการปลูก สี แปรรูป และสงออกขาวหอมมะลิอินทรีย ไปยังประเทศในสหภาพยุโรปมานานกวา 10 ป โดยมีความพยายามที่จะแปรรูปเพ่ือสรางมูลคาใหกับผลผลิตพลอยได (by product) ท่ีไดจากการสีขาวหอมมะลิอินทรีย เชน รําขาว และปลายขาว เปนตน จนกระท่ังป 2552 สหกรณกรีนเนทและโรงสีขาว 3 แหงของกลุมผุผลิตใน จ.ยโสธร ไดรวมมือกันพัฒนาผลิตภัณฑใหมไดสําเร็จ คือนํ้ามันรําขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย ท่ีผลิตในระบบสกัดแบบบีบเย็น (cold press) ซึ่งสามารถเพ่ิมมูลคาใหกับรําขาวท่ีใชเปนวัตถุดิบไดสูงถึง 4 เทาตัว

4. รายละเอียดผลงาน การผลิตน้ํามันรําขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย ในระบบสกัดแบบบีบเย็น นับเปนนวัตกรรมเกษตรอินทรีย เน่ืองจากยังไมเคยมีการผลิต ผลิตภัณฑอินทรียดวยกระบวนการผลิตเชนนี้มากอน กลาวคือ น้ํามันรําขาวสําหรับบริโภคท่ีจําหนายท่ัวไปในทองตลาด มาจากระบวนการผลิตท่ีใชสารเคมีและความรอนสูงในการสกัดน้ํามันออกมาจากรําขาว ซึ่งทําใหสูญเสียสารอาหารท่ีสําคัญไปมาก เชน กลุมสารตานอนุมูลอิสระ และวิตามินอี เปนตน การผลิตน้ํามันรําขาวท่ีสกัดแบบบีบเย็น จะคงรักษาคุณคาของสารอาหารท่ีสําคัญไวไดมาก จึงมีประโยชนในการบริโภคมากกวา และใชเปนเครื่องสําอางบํารุงผิวไดดีกวา ปจจุบัน สหกรณผูผลิตเกษตรอินทรียจํากัด ซึ่งรวมกันจัดตั้งโดยโรงสีขาว 3 แหง ของกลุมผูผลิตใน จ.ยโสธรและกรีนเนท เปนผูผลิตน้ํามันรําขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย รายแรกของประเทศไทย ท่ีไดรับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียสากลจากสํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย (มกท.) และไดพัฒนาเปนเม็ดแคปซูล เพ่ือใชเปนผลิตภัณฑเสริมอาหาร โดยไดรับการขึ้นทะเบียน อ.ย. เรียบรอยแลว

5. สถานภาพของผลงาน ผลิตออกจําหนายในเชิงพาณิชยแลว ท้ังในรูปของผลิตภัณฑเสริมอาหารและวัตถุดิบสําหรับผลิตเครื่องสําอางบํารุงผิว

6. สถานท่ีติดตอ - สหกรณผูผลิตเกษตรอินทรีย จํากัด 118/1 ถ.วารีราชเดช อ.เมือง จ.ยโสธร 35000 โทร.089-777-5860 - สหกรณกรีนเนท จํากัด 6 ซ.วัฒนานิเวศน7 ถ.สุทธิสาร แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร.02-277-9380-1, 02-277-9653 โทรสาร.02-277-9654

รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

กลมุท่ี 5: ปจจยัการผลติ

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : “ตะวัน คันไถ” ปุยอินทรียคุณภาพสูง

(High Quality Organic Fertilizer)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท รุงเจริญอุตสาหกรรม (1994) จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การพัฒนาแบคทีเรียสังเคราะหแสงท่ีเปนสวนประกอบหลักในปุยอินทรียนั้นสามารถชวยเพ่ิมผลผลิตขาว

ไดมากถึงไรละ 10 - 20 เปอรเซ็นต เนื่องจากดินในบริเวณรากขาวในระยะขาวตั้งทองจะมีสภาวะแบบไมมีออกซิเจนทําใหแบคทีเรียท่ีในกลุมแอนแอโรบิกแบคทีเรียเจริญไดดี สรางกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ซึ่งมีผลไปยับย้ังกระบวนการสรางเมตาโบลิซึมของรากขาว แตเมื่อนําแบคทีเรียสังเคราะหแสงมาใสลงในดินในระยะเวลาดังกลาว แบคทีเรียสังเคราะหแสงจะเปล่ียนไฮโดรเจนซัลไฟดใหอยูในรูปสารประกอบซัลเฟอรท่ีไมเปนพิษตอราก จึงมีผลใหรากของตนขาวเจริญงอกงามมากขึ้นอยางเห็นไดชัดและลักษณะของตนขาวก็มีความแข็งแรง นอกจากนี้ยังสามารถเพ่ิมปริมาณผลผลิต คุณภาพทั้งความหวานของผลไม (เพ่ิมปริมาณน้ําตาล) สีสันมันวาว กล่ินหอม ยืดอายุการเก็บรักษาใหนานขึ้น และปรับปรุงดินท่ีเส่ือมจากการปลูกพืชซ้ํา ยับย้ังโรคพืช และไวรัสพืชอยางเห็นไดชัด เชน ปุยชีวภาพท่ีผลิตจากแบคทีเรียสังเคราะหแสงท่ีมีรงควัตถุ (Pigment) ประเภทแคโรทีนอยด (carotenoid)

เปนสวนประกอบภายในเซลล เมื่อนํามาใชจะชวยเพิ่มปริมาณ carotene ในพืช เชนตนสมจีน ตนพลัม ตนมะเขือเทศ และ ตนขาวโพด และยังสามารถเพิ่มผลผลิตของขาวไดมากกวาเมื่อเทียบกับการใชปุยชีวภาพที่ไมมีแบคทีเรียสังเคราะหแสง

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิต ระดับประเทศ ของปุยชีวภาพ ท่ีใชจุลินทรีย

ผลิตปุยหมักและแบคทีเรียสังเคราะหแสงหมักรวมกับมูลวัวเปนวัตถุดิบหลักและวัตถุดิบประเภทอื่นรวมดวย เชน ฝุนขาวโพด แกลบ เปนตน ดวยวิธี solid state fermentation แบบใชอากาศ

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท รุงเจริญอุตสาหกรรม (1994) จํากัด 261 หมูท่ี 7 ถ.รอยเอ็ด-โพนทอง ต.มะอึ อ.ธวัชบุรี จ.รอยเอ็ด - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : สารชีวภาพเพื่อกําจัดเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลในนาขาว

(Biopesticide for Brown Planthopper Control)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ภูธนเกษตรอุตสาหกรรม จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การกําจัดและควบคุมเพล้ียกระโดดสีน้ําตาลนั้นจะทําไดโดยการไถกลบที่นาท่ีเกิดการระบาดของเพล้ียกระโดดสีน้ําตาล ทําใหเกษตรกรขาดรายไดจากการขายขาว หรือการใชสารเคมีกําจัด ซึ่งจากการใชวิธีการดังกลาวสงผลใหเกิดการพัฒนาภูมิตานทานตอสารเคมีของเพล้ียกระโดดสีน้ําตาลเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็ว เกษตรกรจึงตองใชสารเคมีเพ่ือกําจัดแมลงศัตรูพืชในระดับท่ีเขมขน และบอยครั้ง ทําใหตนทุนการผลิตพืชตอไรเพ่ิมสูงขึ้น นอกจากน้ีสารเคมีท่ีใชจะถูกดูดซึมเขาไปทางราก ใบ กิ่ง ลําตน หรือสวนหนึ่งสวนใดของพืชท่ีสัมผัสกับสาร แลวจะเคล่ือนยายไปสะสมในสวนตางๆ โดยเฉพาะยอดออนท่ีแตกใหมๆ หรือเมล็ดขาว ทําใหขาวท่ีผลิตไดเกิดการปนเปอนสารเคมี ดังนั้นการใชวิธีการควบคุมโดยชีววิธี (biological control) จึงเปนวิธีท่ีเหมาะสมในการควบคุมและกําจัดแมลงศัตรูพืช ซึ่งทําใหเกษตรกรสามารถควบคุมและกําจัดแมลงเหลานั้นไดอยางมีประสิทธิภาพและผลิตภัณฑท่ีผลิตออกมาไมเกิดการปนเปอนจากสารเคมี โดยจัดเปนวิธีการท่ีใชจุลินทรียท่ีเปนปฏิปกษกับแมลง ควบคุมและกําจัดแมลง ซึ่งเชื้อจุลินทรียท่ีเปนปฏิปกษตอเพล้ียกระโดดสีน้ําตาล คือราขาวบิวเวอรเรีย (Beauveria sp.)

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเทศ ดานกระบวนการผลิตสารชีวภาพกําจัดศัตรูพืชจากเชื้อ

Beauveria bassiana (เชื้อราขาวบิวเวอรเรีย) ดวยถังหมักแบบแข็งอัตโนมัติ ภายใตการควบคุมสภาวะการหมักท่ีเหมาะสม ทําใหชวยลดระยะเวลาในการผลิตและไดสารชีวภาพที่มีคุณสมบัติในการปองกันกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท ภูธนเกษตรอุตสาหกรรม จํากัด 109 หมู 4 ถ.บานเกา-กาญจนบุรี ต.บานเกา อ.เมือง จ.กาญจนบุรี - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ชีวภัณฑจากจุลินทรียปฏิปกษ (PMOs) ยับย้ังเชื้อกอโรคเหี่ยว (Ralstonia

solanacearum) Bioproduct from Antagonistic Microorganisms, PMOs for Bacterial Wilt

2. ชื่อเจาของผลงาน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม และ บริษัท ปริ๊นเซส ฟูดส จํากัด

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน แบคทีเรีย Ralstonia solanacearum เปนเชื้อกอโรคเหี่ยวในผักหลายชนิด โดยเฉพาะอยางยิ่งผักตระกูลมะเขือ ซึ่งมักจะเขาทําลายและระบาดเปนวงกวางในระยะที่พืชใกลจะถูกเก็บเกี่ยว จึงสรางความเสียหายแกเกษตรกรเปนจํานวนมาก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มีความมุงมั่นสูความเปนเลิศทางวิชาการดานเกษตรอินทรีย จึงไดวิจัยศึกษาหาจุลินทรียทองถ่ินท่ีเปนปฏิปกษตอเชื้อกอโรคเหี่ยวดังกลาว ภายใตการสนับสนุนของ บริษัท ปริ๊นเซส ฟูดส จํากัด เพ่ือนําเอาผลงานวิจัยท่ีไดไปใชกับเกษตรกรในเครือขายของบริษัท เปนการลดละและเลิกการใชสารเคมีควบคุมเชื้อกอโรคเหี่ยวในการผลิตผักของเกษตรกร ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของบริษัทท่ีจะผลิตอาหารเพื่อสุขภาพจากระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย

4. รายละเอียดผลงาน ชื่อ PMOs หรือ Princess Food Microorganisms เปนชีวภัณฑท่ีไดจากเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษท่ีผานการคัดเลือกและทดสอบความสามารถในการยับยั้งเชื้อ R. solanacearum ประกอบดวยแบคทีเรียจํานวน 14 สายพันธุ ควบคุมการระบาดของเชื้อกอโรค ดวยความสามารถในการเขาครอบครองรากพืชไดเปนอยางดี ผลิตกรดอินทรียและสารชีวนะออกมายับย้ังเชื้อกอโรคเห่ียว ทําใหผักมีอัตราการรอดชีวิตสูงถึง 100% นอกจากนี้วิธีการนําเอาชีวภัณฑ PMOs ไปใชนั้น เกษตรกรสามารถขยายปริมาณเชื้อเพ่ิมขึ้นไดแบบงายๆ คือ การใชเศษวัตถุดิบอาหารประเภทผักและผลไมมาเพาะเล้ียงเชนเดียวกับการทําน้ําหมักชีวภาพ

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ มีเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงและมีผลิตภัณฑตนแบบแลว

6. สถานท่ีติดตอ - คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ต.สะลวง อ.แมริม จ. เชียงใหม 50330 - บริษัท ปริ๊นเซส ฟูดส จํากัด เลขท่ี 199 ถนนเชียงใหม-ฝาง ต.ขี้เหล็ก อ.แมริม จ.เชียงใหม 50330 คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ. วารินชําราบ จ. อุบลราชธานี 34190

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การใชสาร allelopathy จากพืชและการคลุมดินในการควบคุมวัชพืชในแปลงปลูกผัก

ระบบเกษตรอินทรีย Plant Allelopathy Substance and Soil Mulching Use on Weed Control in Vegetables Organic Farm System

2. ชื่อเจาของผลงาน นางสาวอตินุช แซจิว 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน วัชพืชในแปลงปลูกพืชเปนปญหาที่สงผลกระทบตอผลผลิตของพืชหลัก ธวัชชัย และ J.F.Maxwell (2544) สํารวจวัชพืชในแปลงปลูกผักในประเทศไทยพบวามีท้ังพืชใบเล้ียงเดี่ยวและพืชใบเล้ียงคูรวมประมาณ 27 ชนิด อน่ึงการปลูกพืชในระบบเกษตรอินทรีย วัชพืชเปนปญหาสําคัญท่ีกอใหเกิดความเสียหายกับผลผลิตของพืชหลักเชนกัน ท้ังนี้เนื่องจากการปลูกพืชระบบนี้ไมสามารถใชสารเคมีกําจัดวัชพืช ตองอาศัยแรงงานในการกําจัด การใชสาร allelopathy สกัดจากพืชรวมกับการคลุมดินจึงเปนแนวทางหนึ่งในการควบคุมและกําจัดวัชพืชในระบบการผลิตพืชผักอินทรีย ซึ่งมุงเนนความปลอดภัยของผลผลิต และคํานึงถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศ ท้ังนี้เน่ืองจากสาร allelopathy จากพืชนี้มีแนวโนมท่ีจะสลายตัวตามธรรมชาติไดรวดเร็ว 4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้เปนงานวิจัยการใชสารสกัดจากพืช เชน ลําตนใตดินหญาแหวหมู ใบยูคาลิปตัส รากหญาแฝก เปนตน รวมกับการคลุมดินในการยับย้ังการงอกของเมล็ดวัชพืชกอนการปลูกพืชผักในระบบเกษตรอินทรีย

ลําตนใตดินหญาแหวหมู ทดสอบการยับยั้งการงอกของเมล็ดวัชพืช 5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ 6. สถานท่ีติดตอ

ฝายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จ.นครปฐม

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การผลิตเชื้อจุลินทรียสําหรับยอยสลายสารในขยะและน้ําเสียเชิงพาณิชย

The Production of Effective Microorganisms in Compost and Sewage Biodegradation

2. ชื่อเจาของผลงาน ดนุวัต เพ็งอน อนันต ปนตารักษ พัฒน กสิกรรมยืนยง และสุชัญญา อรุณรุงโรจน 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ขยะและของเสียมีปริมาณเพ่ิมขึ้นทุกป ในกรุงเทพมหานครมีขยะวันละ 8,240 ตัน ซึ่งมีท้ังขยะที่ยอยสลายไดและยอยสลายไมได ขยะที่ยอยสลายไดจะมีสารประกอบมากมายรวมกันอยู เชน เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส แปง โปรตีนและไขมันซึ่งหากนํามายอยสลายดวยเอนไซมจากจุลินทรียแลวสามารถใชเปนปุยหมักใหแกพืชได 4. รายละเอียดผลงาน พบวาการใชจุลินทรียในรูปของปุยหมักจะทําใหการยอยสลายขยะเกิดขึ้นเร็วกวาการใชจุลินทรียในรูปของเหลว และการใชเชื้อเด่ียว MJUT076 ใหประสิทธิภาพการยอยสลายขยะดีท่ีสุด

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ ต.หนองหาร อ.สันทราย จ. เชียงใหม 50290 โทรศัพท 0 5387 3842 โทรสาร 0 5387 3843

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การใชถั่วปุยพืชสดเปนปุยอินทรียในการผลิตขาวพันธุสังขหยดพัทลุง

Application of Legume Green Manure as a Organic Fertilizer in Sangyodphatthalung Rice Variety Production

2. ชื่อเจาของผลงาน ดร.สมพร ดํายศ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพัีทลุง 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ในปจจุบันการใชปุยเคมีในระบบการปลูกขาว มีผลทําใหระดับความอุดมสมบูรณของดินลดลง แมวาจะมีการใชปุยเคมีใหแกขาวเปนประจําแลวก็ตาม เนื่องจากการลดลงของอินทรียวัตถุในดินนาที่ไมมีการใชปุยอินทรีย ซึ่งเปนปจจัยหลักไปจํากัดการเจริญเติบโตและศักยภาพการใหผลผลิตของขาว ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองมีการใชอินทรียในดินนา โดยเฉพาะในระบบการผลิตขาวอินทรีย โดยการใชปุยอินทรียชนิดตางๆ การใชปุยหมักมีขอจํากัดดานการจัดหาและขนสง การใชปุยคอกมีขอจํากัดดานปริมาณ ในขณะที่การใชปุยพืชสด (green manure) พวกถ่ัวปุยพืชสด (legume greem manure) พบวามีศักยภาพเปนแหลงอาหารหลักท่ีมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในการใชผลิตขาว โดยเฉพาะในระบบการผลิตขาวอินทรียพันธุสังขหยดพัทลุง 4. รายละเอียดผลงาน เปนกระบวนการเทคโนโลยีการผลิตและนวัตกรรมผลิตภัณฑตนแบบระดับจังหวัดพัทลุง โดยการใชถ่ัวปุยพืชสด 3 ชนิด ไดแก ถ่ัวพุม ถ่ัวพรา และโสนอัฟริกัน ในการผลิตขาวสังขหยดพัทลุงในระบบอินทรีย ซึ่งเปนพืชยุทธศาสตรในการพัฒนาจังหวัดพัทลุง

(ถ่ัวพุม) (ถ่ัวพรา) (โสนอัฟริกัน)

ถั่วปุยพืชสด

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และมีเทคโนโลยีตนแบบแลว 6. สถานท่ีติดตอ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง ตําบลควนมะพราว อําเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง 93000 โทร. 0-7461-8056-7 โทรสาร 0-7461-8056

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : การประยุกตใชเชื้อรา Beauveria bassiana สายพันธุทองถิ่นในการควบคุมศัตรูพืช

เพ่ือการผลิตผักวงศกะหล่ําปลอดภัยจากสารพิษในสภาพควบคุม Application of Endogenous Strains of Beauveria bassiana for Insect Pests Control in Safety Cruciferous Vegetable Production in controlled condition

2. ชื่อเจาของผลงาน: รุงเกียรติ แกวเพชร และ ศมาพร แสงยศ

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เชื้อรา B. bassiana เปนเชื้อราสาเหตุโรคของแมลง (entomopathogenic fungus) ท่ีสามารถควบคุมแมลง

ศัตรูพืชไดหลายชนิด เชน ตัวออนและตัวเต็มวัยของดวง และแมลงปากดูดตาง ๆ และมีประวัติและวิวัฒนาการอันยาวนานควบคูไปกับการควบคุมแมลงศัตรูพืช แตยังไมมีรายงานถึงผลการใชเชื้อท่ีไดจากทองถ่ินของประเทศไทยอยางชัดเจน เพราะสายพันธุเชื้อราดังกลาวท่ีใชในปจจุบันเปนสวนใหญเปนสายพันธุ ท่ีนําเขามาจากตางประเทศแถบยุโรปซ่ึงมีราคาแพงและมีสภาพแวดลอมท่ีแตกตางจากประเทศเรามาก จึงเปนความสําคัญของการศึกษาวิจัยเชื้อราน้ีในบริบทดังกลาวท้ังในดานประสิทธิภาพและการเพิ่มปริมาณเพ่ือใหเกิดความสะดวกในการใชงาน(Practical) และลดการใชสารเคมีของเกษตรกร

4. รายละเอียดผลงาน การวิจัยครั้งนี้ไดมีการทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมศัตรูพืชผักวงศกะหลํ่าในสภาพหองปฏิบัติการ

ของเชื้อรา B. Bassiana โดยมีการรวบรวมสายพันธุจากพ้ืนท่ีในจังหวัดสุพรรณบุรีและเชียงใหม ไดท้ังหมด 424 ไอโซเลทส และยังทําการศึกษาถึงการเพาะเลี้ยงเชื้อในวัสดุตาง ๆ เพ่ือใหเกษตรกรสามารถนําไปผลิตในปริมาณมาก (Mass Prodution)ได

การเจริญของเชื้อรา Beauveria bassiana บนวัสดุเพาะชนิดตาง ๆ

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ินการดําเนินการวิจัยแลว

6. สถานท่ีติดตอ - คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ถนนสิรินธร เขตบางพลัด กทม. 10700

- สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 295 ถ.ราชสีมา เขตดุสิต กทม. 10300

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : การถายทอดเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการเร่ือง การผลิตปุยหมักชีวภาพจากวัสดุ

เหลือใช

2. ชื่อเจาของผลงาน: สํานักงานคลินิกเทคโนโลยี เชียงราย

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปุยหมักชีวภาพ เปนปจจัยหลักท่ีสําคัญตอสุขภาพอนามัยของประชาชนมากขึ้น เนื่องมาจากผลิตผลทางการเกษตรท่ีผลิตออกมาสูผูบริโภคจะตองปลอดสารพิษและไมมีสารเคมีใด ๆ ตกคาง ดังนั้น การผลิตปุยหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร ถือเปนการเพ่ิมมูลคาของ เหลือใชอีกท้ังยังเพ่ิมพูน รายได ลดตนทุนการทําการเกษตรและประหยัดการนําเขาสารเคมีหรือปุยจากตางประเทศ รวมท้ังชวยลดปญหาส่ิงแวดลอม ดวยเหตุผลดังกลาว คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพื้นท่ีเชียงราย ในฐานะเครือขายถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชนไดเล็งเห็นความสําคัญตอส่ิงแวดลอมและสุขภาพของชุมชนทองถ่ิน จึงไดจัดทําโครงการการถายทอดเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตปุยหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช เพ่ือเปนการสงเสริมภูมิปญญาชาวบาน ทําใหชุมชนในทองถ่ินสามารถดํารงชีวิตไดอยางเขมแข็งเพ่ือใหเกิดความพึงพอใจอยางสูงสุด

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้มีวัตถุประสงค คือ เพ่ือเปนการสรางวิทยากรเครือขายถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชนในระดับ

ทองถ่ินท่ีเปนรูปธรรมและสามารถถายทอดองคความรูท่ีไดรับใหเปนไปตามความตองการของคนในชุมชนได และสงเสริมใหคนในชุมชนไดเรียนรูวิธีการทําปุยหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตรและเนนใหคนในชุมชนเล็งเห็นคุณคาการใชประโยชนจากการนําวัสดุเหลือใช นอกจากนี้ยังเปนการสรางเครือขายความรวมมือกับชุมชนเกี่ยวกับการนําภูมิปญญาทองถ่ินมาพัฒนาใหเกิดประโยชน ตลอดจนเปนการลดตนทุนการผลิตโดยการใชปุยหมักชีวภาพ ปุยน้ําชีวภาพหรือน้ําสกัดชีวภาพทดแทนปุยเคมีหรือปุยวิทยาศาสตรและสานเคมีปองกันกําตัดโรคและแมลงศัตรูพืช

5. สถานภาพของผลงาน

เสร็จส้ินในป 2552 และมีการนําโครงการดังกลาวมาตอยอดในป 53 โดยใชในพ้ืนที่ อ.แมลาว จ.เชียงราย 6. สถานท่ีติดตอ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพ้ืนที่เชียงราย 99 หมู 10 ตาํบลทรายขาว อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย 57120 โทร.053-729600-5 ตอ1004,1601

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : โครงการอบรมการทําปุยอินทรียจากมูลสัตวและเศษกากพืช 2. ชื่อเจาของผลงาน: นายยุทธ นนทะโคตร หัวหนาสาขาวิทยาศาสตร

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร เขตพื้นที่เชียงราย

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ตําบลทรายขาว ซึ่งอยูในเขตอําเภอพาน จังหวัดเชียงราย เปนอีกพ้ืนท่ีหนึ่งท่ีประชากรสวนใหญมี

อาชีพทําไร ทําสวน ทํานา และในปจจุบันปุยเคมีและยากําจัดศัตรูพืชท่ีผลิตจากสารเคมีไดเขามามีบทบาทในการทําเกษตรของคนในตําบลทรายขาวมากยิ่งขึ้น และยังพบวามีชาวบานที่เจ็บปวย อันเนื่องมาจากการใชยาปราบศัตรูพืช มีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งตนทุนการผลิตในการทําเกษตรก็มีแนวโนมสูงขึ้นดวยเชนกัน อันเนื่องมาจากตนทุนการใชปุยเคมีตองใชในปริมาณที่เพ่ิมขึ้น ทางสาขาวิทยาศาสตร ไดเล็งเห็นความสําคัญถึงปญหาในเรื่องนี้ จึงมีโครงการอบรมการผลิตปุยและยาจํากัดศัตรูพืชโดยใชสารธรรมชาติใหกับเยาวชน ตําบลทรายขาว เพ่ือจะไดรูจักการทําเกษตรที่ถูกวิธี ซึ่งการใชปุยและยากําจัดศัตรูพืชท่ีผลิตจากสารธรรมชาติ จะไมกอใหเกิดสารพิษตกคางในดินและแหลงน้ํา รวมท้ังยังชวยรักษาคุณภาพดินใหดีขึ้น และชวยเพ่ิมผลผลิตและกําไรมากขึ้น เนื่องจากตนทุนการผลิตท่ีนอยลง รวมท้ังชวยปลูกฝงทัศนคติในการทําการเกษตรเชิงอนุรักษอีกดวย 4. รายละเอียดผลงาน

โครงการอบรมการทําปุยอินทรียจากมูลสัตวและเศษกากพืชมีชาวบานในชุมชนบานรองธาร มีผูเขารวมโครงการ จํานวน 60 คน การดําเนินโครงการแบงเปนสามขั้นตอน คือ 1) ขั้นตอนการเตรียมการ มีการเตรียมสถานท่ีท่ีจะใชอบรม เตรียมวัสดุตางๆ ท่ีใชประกอบทําปุย เชน ผักตบชวา สารเคมีท่ีจําเปน 2) ขั้นตอนการอบรมภาควิชาการใหความรูทางวิชาการดานการทําปุยอินทรีย ประโยชนจากการใชปุย รวมท้ังความรูทางดานการใชปุยใหเหมาะสมตามชนิดของพืช และ 3) ขั้นตอนการปฏิบัติในภาคปฏิบัตินําโดยวิทยากรท่ีมีความรูจากเกษตรอําเภอพาน และหมอดินท่ีผานการอบรมและปฏิบัติเปนผูนําปฏิบัติ โดยแบงการปฏิบัติออกเปนกลุม

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ินและมีผลิตภัณฑตนแบบแลว

5. สถานท่ีติดตอ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพ้ืนที่เชียงราย 99 หมู 10 ตําบลทรายขาว อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การผลิตจุลินทรียท่ีเปนประโยชนจากปุยอินทรีย (Compost Tea Production) 2. ชื่อเจาของผลงาน - ผูชวยศาสตราจารยธีระพงษ สวางปญญางกูร เมธีสงเสริมนวัตกรรม ป 2552 ดาน eco-industry - ดร.ธารารัตน ซือตอฟ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน

การเพ่ิมปริมาณจุลินทรียท่ีเปนประโยชนในดินมีความจําเปนและสําคัญตอการผลิตพืชผักอินทรีย เพราะจุลินทรียท่ีเปนประโยชนในดินจะยอยสลายอินทรียวัตถุท่ีมีในดินแลวปลดปลอยธาตุอาหารหลัก (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม) ธาตุอาหารรอง (แคลเซียม แมกนีเซียม ฯลฯ) และจุลธาตุ (โบรอน สังกะสี เหล็ก ฯลฯ) ใหพืชไดใชอยางพอเพียง การผลิตจลิุนทรียท่ีเปนประโยชนจากปุยอินทรีย (Compost Tea) แลวนํามารดตนพืชหรือฉีดพนทางใบ จะชวยเพ่ิมปริมาณจุลินทรียท่ีเปนประโยชนในดินสามารถเปนปฏิปกษและยับย้ังการเจริญเติบโตของเชื้อราที่เปนสาเหตุของโรคพืช ลดการใชสารเคมีในการผลิตพืชผักได โดยกระบวนการที่ใชเวลา ส้ัน มีความงาย ไมมีโทษใดๆ ตอพืช และมีตนทุนการผลิตต่ํา 4. รายละเอียดผลงาน

การผลิตจุลินทรียท่ีเปนประโยชนจากปุยอินทรีย (Compost Tea) ทําไดโดยนําปุยอินทรียคุณภาพดี 1 สวนผสมกับน้ํา 40 สวน เติมน้ําตาลทราย 0.25 สวน แลวทําการเปาอากาศ (Brewing) เปนเวลา 48 ชั่วโมง ทําใหมีจุลินทรียเพ่ิมจํานวนมากขึ้นถึงระดับ 1.2108 – 4.5108 โคโลนีตอมิลลิลิตร และพบวามีจุลินทรีย 34 ไอโซเลตจาก 178 ไอโซเลตสามารถยับยั้งเชื้อแอนแทรกโนสที่แยกไดจากพริก (Colletotrichum capsici) ซึ่งลักษณะการเปนปฏิปกษพบท้ังแบบที่เชื้อปฏิปกษผลิตสารท่ีมีฤทธิ์ยับย้ังและปลอยออกมาจากเซลล (Inhibition) และเชื้อปฏิปกษท่ีสามารถเจริญแขงขัน (Competitive) กับเชื้อราเฉพาะในขอบเขตที่เชื้อปฏิปกษเจริญ ปจจุบันไดมีการนําไปใชกับศูนยพัฒนาพันธุพืชจักรพันธเพ็ญศิริ มูลนิธิชัยพัฒนา อ.แมสาย จ.เชียงราย

5. สถานภาพของผลงาน เร่ิมดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีตั้งแตป 2553 6. สถานท่ีติดตอ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน หัวเชื้อจุลินทรีย 8 พลัง (8 เซียน)

Super Microorganisms 8 Forces (8 Sians)

2. ชื่อเจาของผลงาน - ร.ต.อ.สามารถ นารถสูงเนิน วิทยากรเกษตรอินทรีย กระทรวงเกษตรและสหกรณ และท่ีปรึกษาชมรมเกษตรอินทรียแหงประเทศไทย

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การผลิตพืชอินทรียในปจจุบันมีปญหาการปนเปอนสารพิษสารเคมีในส่ิงแวดลอม เชนในดิน ในน้ํา และ

ในอากาศ ปญหาดินเส่ือมโทรม (ดินตาย) ดินไมอุมน้ําไมรวนซุย และขาดธาตุอาหารพืช จึงไดคิดคนสารปรับปรุงดินชนิดน้ีขึ้น เพ่ือชวยเหลือพ่ีนองเกษตรกรที่ผลิตพืชอินทรีย ใหประสบความสําเร็จ และมีประสิทธิภาพ

4. รายละเอียดผลงาน หัวเชื้อจุลินทรีย 8 พลัง (8 เซียน) ประกอบดวย

1) หัวเชื้อจุลินทรียเอสเอ็มเอส (SMS) Super Microbials Samart ใชเปนตัวยอยสลายอินทรียวัตถุใหมีอนุภาคเล็กลงจนละลายน้ําไดเพ่ือใหรากพืชดูดซึมซับไปใชประโยชนได (เซียนท่ี 1) 2) อาหารจุลินทรีย เชน กากนํ้าตาล (Molasses) หรือน้ําออย น้ําเชื่อม น้ําผลไม ฯลฯ เปนอาหารของจุลินทรีย ใชในการเพาะเล้ียงขยาย และผลิตสารสกัดตางๆ (เซียนท่ี 2) 3) สารชีวภาพสําหรับปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืช เอสเอ็มเอส.3 (SMS.3) (เซียนท่ี 3) 4) ฮอรโมนชีวภาพ (Biotically Hormone) ใชเรงการเจริญเติบโตของพืช (เซียนท่ี 4) 5) สารสกัดชีวภาพจากพืช เอสเอ็มเอส.เอฟพีอี. SMS.FPE. (Fermented Plants Extract) เปนสารชีวภาพปองกันโรคพืช (เซียนท่ี 5) 6) น้ําชีวภาพจากเศษอาหารหมกั (Biotically Food Fermented) ใชเพ่ิมธาตุอาหารพืช (เซียนท่ี 6) 7) น้ําหมักชีวภาพจากน้ําซาวขาว (Flour Fermented) ใชเสริมน้ําหมักจากเศษอาหาร (เซียนท่ี 7) 8) น้ําหมักจากเศษปลา – หอยเชอรี่หมัก (Amino Acid) ใชเพ่ิมแรธาตุและเรงการเจริญเติบโต (เซียนท่ี 8) นําวัสดุท้ัง 8 ชนิดดังกลาวขางตนมารวมกัน ในอัตราสวนท่ีเหมาะสมจะไดหัวเชื้อจุลินทรีย 8 พลัง (8 เซียน) ใชผสมน้ํา 500 – 1,000 เทา ฉีดพนรด ราดดินท่ีแปลงปลูกพืชอินทรีย จะทําใหดินรวนซุย อุมน้ํา อากาศผานได ปองกันโรคและแมลงศัตรูพืชได ใชไดผลในหลายๆพื้นท่ีท่ัวทุกภาคของประเทศ ขณะนี้ผลิตเปนสินคาออกจําหนายโดยรานโคราชเกษตรธรรมชาติ จังหวัดนครราชสีมา

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และจําหนายเชิงพาณิชยแลว

6. สถานท่ีติดตอ ร.ต.อ.สามารถ นารถสูงเนิน 414/56 หมู 5 ซอย 10 (โคราชวิลเลจ) ถนนเพชรมาตุคลา ตําบลหัวทะเล

อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร.089-947-7009, 084-605-0569 โทรสาร044-221-062

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน เชื้อสเตรปโตมัยซิส : จุลินทรียควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียของแตง

(Antagonistic Streptomyces for control bacterial fruit blotch disease in cucurbits)

2. ชื่อเจาของผลงาน รศ.ดร.เพชรรัตน ธรรมเบญจพล มหาวิทยาลัยขอนแกน และสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน โรคผลเนาแบคทีเรียของแตงเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac) ซึ่งทํา

ความเสียหายใหกับการผลิตแตงโม และแตงเทศ (เมลอน) เปนอยางมาก โดยทําใหผลเนาและเชื้อยังสามารถถายทอดไปกับเมล็ดพันธุและมีชีวิตอยูในเมล็ดพันธุไดเปนเวลานาน สงผลกระทบตอธุรกิจการผลิตเมล็ดพันธุแตงชนิดตางๆเปนอยางมาก เนื่องจากโรคนี้พบในแตงชนิดอื่นๆ ดวย เชน แตงกวา สคว็อช (squash) น้ําเตา และมะระ เพ่ือการควบคุมโรคนี้อยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน รศ.ดร.เพชรรัตน ธรรมเบญจพล ไดคนพบเชื้อจุลินทรียปฏิปกษสเตรปโตมัยซิส (Streptomyces) ท่ีสรางสารยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรค Aac ไดอยางแรงมาก และเพาะเล้ียงเพ่ิมปริมาณไดเร็ว ผานการวิจัยทดสอบดานความสามารถควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียไดอยางชัดเจนในระดับโรงเรือนปลูกพืชทดลองและการทดสอบในแปลง เมื่อนําเชื้อ Streptomyces นี้ไปคลุกกับเมล็ดแตงโมท่ีมีเชื้อ Aac (โดยการปลูกเชื้อ) พบวาชวยลดการเกิดโรคจากเชื้อ Aac บนตนกลาไดอยางชัดเจนและยังทําใหเปอรเซ็นตความงอกและสงเสริมการเจริญเติบโตของตนกลาตนแตงโมเพิ่มขึ้น ตนกลาโตเร็ว มีระบบรากท่ีแข็งแรง เชื้อ Streptomyces นี้จึงเหมาะสมสําหรับใชเปนชีวภัณฑควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียและสงเสริมการเจริญเติบโตของแตง ลดการใชสารเคมีกําจัดโรคพืช เหมาะสําหรับการผลิตแตงในระบบเกษตรอินทรีย

4. รายละเอียดผลงาน เชื้อสเตรปโตมัยซิสควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียของแตงในรูปท่ีเปนเชื้อสด นํามาใชคลุกเมล็ดและพนใบ

และตนในระหวางการเพาะปลูก

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

6. สถานท่ีติดตอ รศ.ดร.เพชรรัตน ธรรมเบญจพล สาขาโรคพืชวิทยา ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร

คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40002 โทรศัพท/โทรสาร 043 343114โทรศัพทเคล่ือนท่ี 085-0109667 E-mail : [email protected]

ภาพท่ี 2 เชื้อ Streptomyces ชวยกระตุนการงอกและการเจริญเติบโตของตนกลาแตงโมและควบคุมเช้ือสาเหตุโรคผลเนาแบคทีเรีย

ภาพท่ี 1. เชื้อ Streptomyces สรางสารยับยั้งการเจริญของเช้ือ Aac(A, B) เปรียบเทียบกับชิ้นวุนปกติ (C) และสรางเอนไซมเซลลเูลสไดมากและรวดเร็ว (D, E)

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ปุยนํ้าชีวภาพ ไบโอเทค-1 (Liquid Biofertilizer Biotech-1) 2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิศักดิ์ อุปริวงศ และคณะ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน

ปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-1 ผลิตโดยโครงการผลิตปุยน้ําชีวภาพ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยขอนแกน ป พ.ศ. 2546 โดยมีเปาหมายหลักเพ่ือใชเปนผลิตภัณฑปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ และการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ 4. รายละเอียดผลงาน

ปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-1 เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภาพชนิดหนึ่งท่ีผลิตจากกระบวนการหมักวัตถุดิบเศษผักผลไม เศษอาหาร พืชสมุนไพร หลากหลายชนิด ฯลฯ โดยหมักกับกากน้ําตาลเปนสารอาหาร ทําการหมักโดยใชหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ มข.1 ซึ่งผลิตโดยโครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภาพชุมชนเกษตรเทพารักษ ของภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี รวมกับภาควิชาทรัพยากรท่ีดินและสิ่งแวดลอม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยที่หัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ มข.1 เปนหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสายพันธุ ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย ศ.ดร. ชัยทัศน ไพรินทร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินการเสร็จส้ิน และมีผลิตภัณฑตนแบบ 6. สถานท่ีติดตอ

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002 โทรศัพทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: [email protected]

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ปุยนํ้าชีวภาพ ไบโอเทค-2 (Liquid Biofertilizer Biotech-2) 2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิศักดิ์ อุปริวงศ และคณะ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน

ปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-2 ผลิตโดยโครงการผลิตปุยน้ําชีวภาพเพ่ือชุมชนเกษตรกร ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัย ขอนแกน ป พ.ศ.2547 โดยมีเปาหมายหลักเพ่ือใชเปนผลิตภัณฑปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ และการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ 4. รายละเอียดผลงาน

ปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-2 เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภาพชนิดหนึ่งท่ีผลิตจากกระบวนการหมักวัตถุดิบพืชผักผลไม รําขาว พืชสมุนไพร หลากหลายชนิด ฯลฯ และใชกากนํ้าตาลเปนสารอาหาร ทําการหมักโดยใชหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-1 ซึ่งผลิตโดยโครงการผลิตปุยน้ําชีวภาพ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน และหรือหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ มข.1 ซึ่งผลิตโดยโครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภาพชุมชนเกษตรเทพารักษ ของภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี รวมกับภาควิชาทรัพยากรท่ีดินและส่ิงแวดลอม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยที่หัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ มข.1 เปนหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสายพันธุ ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย ศ.ดร.ชัยทัศน ไพรินทร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินการเสร็จส้ิน และมีผลิตภัณฑตนแบบ 6. สถานท่ีติดตอ

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002 โทรศัพทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: [email protected]

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ปุยนํ้าชีวภาพ ไบโอเทค-3 (Liquid Biofertilizer Biotech-3) 2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิศักดิ์ อุปริวงศ และคณะ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน

ปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-3 ผลิตโดยโครงการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตและใชปุยน้ําชีวภาพสูชุมชนเกษตรกร ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยขอนแกน ป พ.ศ.2548 โดยมีเปาหมายหลักเพ่ือใชเปนผลิตภัณฑปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ และการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ 4. รายละเอียดผลงาน

ปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-3 เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภาพชนิดหนึ่งท่ีผลิตจากกระบวนการหมักวัตถุดิบพืชผักผลไม พืชสมุนไพร หลากหลายชนิด ฯลฯ รวมกับปุยเคมีบางชนิด และใชกากน้ําตาลเปนสารอาหาร ทําการหมักโดยใชหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-1 ซึ่งผลิตโดยโครงการผลิตปุยน้ําชีวภาพ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน และหรือหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ มข.1 ซึ่งผลิตโดยโครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภาพชุมชนเกษตรเทพารักษ ของภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี รวมกับภาควิชาทรัพยากรท่ีดินและส่ิงแวดลอม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยท่ีหัวเช้ือจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ มข.1 เปนหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสายพันธุ ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย ศ.ดร.ชัยทัศน ไพรินทร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินการเสร็จส้ิน และมีผลิตภัณฑตนแบบ 6. สถานท่ีติดตอ

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002 โทรศัพทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: [email protected]

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ปุยนํ้าชีวภาพ มข.1 (Liquid Biofertilizer KKU.1) 2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิศักดิ์ อุปริวงศ และคณะ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปุยน้ําชีวภาพ มข.1 ผลิตโดยโครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภาพชุมชนเกษตรเทพารักษ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี รวมกับภาควิชาทรัพยากรที่ดินและส่ิงแวดลอม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากทบวงมหาวิทยาลัย (ขณะนั้น) ป พ.ศ.2545 โดยมีวัตถุประสงคหลักเพ่ือใชเปนผลิตภัณฑปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ และการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ 4. รายละเอียดผลงาน

ปุยน้ําชีวภาพ มข.1 เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภาพชนิดหนึ่งท่ีผลิตจากกระบวนการหมักวัตถุดิบท้ังพืชและสัตว หลากหลายชนิด ฯลฯ และกากน้ําตาล ทําการหมักโดยใชหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสายพันธุ ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย ศ.ดร.ชัยทัศน ไพรินทร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินการเสร็จส้ิน และมีผลิตภัณฑตนแบบ 6. สถานท่ีติดตอ

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002 โทรศัพทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: [email protected]

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย

1. ชื่อผลงาน การศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อรา Pochonia chlamydosporia ตอการควบคุม ไสเดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita

Efficacy of Pochonia chlamydosporia in controlling Meloidogyne incognita 2. ชื่อเจาของผลงาน ยุวดี ชูประภาวรรณ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ไสเดือนฝอยรากปม (root-knot nematode: Meloidogyne spp.) เปนศัตรูพืชสําคัญท่ีทําความเสียหายกับพืชปลูกท่ัวโลกท้ังพืชผัก ไมดอกไมประดับ พืชไร รวมท้ังไมผล พืชท่ีถูกทําลายแสดงอาการรากบวมพอง (root knot, gall) กุดส้ัน ทอลําเลียงน้ําและอาหารอุดตัน ลําตนแคระแกร็น ทําใหผลผลิตลดลง หรือตายในท่ีสุด การควบคุมดวยสารเคมีใหประสิทธิภาพสูง แตเกิดสารพิษตกคางในระบบนิเวศนท่ีเปนอันตรายตอหวงโซอาหาร การควบคุมโดยชีววิธีจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่ง เชื้อรา Pochonia chlamydosporia (PC) เปนเชื้อราชนิดหนึ่งท่ีมีการศึกษากันมากในตางประเทศและพบวามีศักยภาพในการควบคุมไสเดือนฝอยรากปม แตการศึกษาในประเทศไทยยังมีขอมูลจํากัด ดังนั้นจึงควรมีการเก็บรวบรวมเชื้อราชนิดนี้และคัดเลือกไอโซเลตที่มีศักยภาพในการนํามาใชควบคุมไสเดือนฝอยรากปมโดยชีววิธีตอไป 4. รายละเอียดผลงาน สามารถเก็บรวบรวมเชื้อรา PC ได 29 ไอโซเลต เมื่อนําเชื้อราไปทดสอบการทําลายไขไสเดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita (MI) ในหองปฏิบัติการ พบวาเชื้อราทุกไอโซเลตสามารถทําลายไขของ MI ได ในจํานวนนี้มี 11 ไอโซเลต ทําลายไขไดตั้งแต 90% ขึ้นไป และไอโซเลต YT 008 เปนไอโซเลตที่สามารถทําลายไข MI สูงสุดคือ 97.4% เมื่อนําเชื้อราไอโซเลต YT 008 ทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมโรครากปมของพริก มะเขือเทศ และคะนา ในเรือนปลูกพืชทดลอง พบวาเชื้อราสามารถควบคุมประชากรของ MI ได โดยสามารถลดจํานวนปม จํานวนไข จํานวนตัวท่ีรากพืช และจํานวนตัวในดินปลูกพริกและคะนาไดดี และในขณะนี้อยูระหวางการทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมโรครากปมในสภาพแปลงปลูก

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมโรครากปมในสภาพแปลงปลูก 6. สถานท่ีติดตอ

- ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190

รากพริก+PC+MI รากพริก+MI Conidia ของเชื้อ PC Chlamydospore ของเชื้อ PC

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : การผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากาศ เพ่ือเปนปจจัยการผลิตพืชผักอินทรีย (Aerated-Static-Pile Composting) 2. ชื่อเจาของผลงาน: ผูชวยศาสตราจารยธีระพงษ สวางปญญางกูร เมธีสงเสริมนวัตกรรม ป 2552 ดาน eco-industry

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การผลิตปุยอินทรียหรือปุยหมักแบบเดิมในประเทศไทยเพื่อใชเปนปจจัยการผลิตพืชผักอินทรีย พบวา

มักจะประสบปญหาหลายประการ เชน เปลืองแรงงานในการพลิกกลับกอง (เพ่ือเติมออกซิเจนใหกับจุลินทรียในกองปุย) ไดปุยอินทรียปริมาณนอยไมพอกับความตองการ และใชเวลานาน 3 – 6 เดือน เปนตน ดังนั้น เพ่ือเปนการแกปญหาดังกลาวจึงมีการไดนําองคความรูดานวิศวกรรมมาประยุกตใชและทําการศึกษาวิจัยจนไดวิธีการผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากาศ ท่ีสามารถผลิตปุยอินทรียคุณภาพดีไดคร้ังละ 10 ตันโดยไมพลิกกลับกอง และกระบวนการใชเวลาเพียง 1 เดือนเทานั้น

4. รายละเอียดผลงาน

การผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากาศมีการจัดรูปรางและขนาดของกองปุยใหมีความเหมาะสมท่ีจะเกิดการพาความรอน (Chimney Convection) ในกองปุยเพ่ือใหมีการไหลของอากาศเขาไปในกองปุยตามธรรมชาติ (Passive Aeration) มีการใชพัดลม (Blower) ขนาด 3 แรงมาอัดอากาศวันละ 2 ครั้ง ๆ ละ 15 นาที เขาไปในกองปุยผานทอพีวีซีขนาด 4 นิ้ว (Active Aeration) ทําใหสามารถผลิตปุยอินทรียขนาดกองละ 1 ตันไดครั้งละ 10 กอง มีคาไฟฟากองละ 100 บาท มีอัตราสวนเศษพืชตอมูลสัตว 3 ตอ 1 โดยปริมาตร ไดปุยอินทรียคุณภาพดีตามมาตรฐานปุยอินทรียของประเทศภายในเวลาเพียง 1 เดือนโดยไมตองพลิกกลับกอง ปจจุบันไดมีผูนําวิธีนี้ไปใชแลวถึง 480 แหงท่ัวประเทศ เทคโนโลยีนี้ไดรับรางวัลนวัตกรรมแหงชาติป 2549 รองชนะเลิศอันดับสอง ดานสังคม

5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีใหแกชุมชนและสังคมแลวต้ังแตป 2547 6. สถานท่ีติดตอ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : การผลิตปุยอินทรียไมพลิกกลับกองวิธีวิศวกรรมแมโจ 1 (MaejoEngineering1 Composting) 2. ชื่อเจาของผลงาน: ผูชวยศาสตราจารยธีระพงษ สวางปญญางกูร เมธีสงเสริมนวัตกรรม ป 2552 ดาน eco-industry 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน

การผลิตปุยอินทรียไมพลิกกลับกองวิธีวิศวกรรมแมโจ 1 เปนการวิจัยตอยอดจากการผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากาศซึ่งเปนของเจาของผลงาน เพ่ือแกปญหาการใชพลังงานไฟฟาท่ีเปนขอจํากัดในการผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากาศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในพ้ืนท่ีท่ีไฟฟาเขาไมถึง เชน ในบริเวณไรนาเพาะปลูก เปนตน โดยประยุกตใชองคความรูดานวิศวกรรมทําใหสามารถผลิตปุยอินทรียไดโดยไมตองพลิกกลับกอง การผลิตปุยอินทรียวิธีวิศวกรรมแมโจ 1 จะชวยใหมีการผลิตและใชปุยอินทรียมากข้ึน เกษตรกรและผูประกอบการสามารถนําไปใชผลิตปุยอินทรียไดเลยในแปลงเพาะปลูก เมื่อแลวเสร็จก็สามารถนําไปใชในแปลงไดเลย 4. รายละเอียดผลงาน

การผลิตปุยอินทรียวิธีวิศวกรรมแมโจ 1 มีการจัดรูปรางและขนาดของกองปุยใหมีความเหมาะสมท่ีจะเกิดการพาความรอน (Chimney Convection) ในกองปุยเพ่ือใหมีการไหลของอากาศเขาไปในกองปุยตามธรรมชาติ (Passive Aeration) ทําใหการยอยสลายทางชีวภาพแบบใชออกซิเจนเกิดไดสมบูรณ อัตราสวนผสมเศษพืชตอมูลสัตวมีคา 3 ตอ 1 โดยปริมาตร กองปุยมีความกวางฐาน 2.5 เมตร สูง 1.5 เมตร กองเปนรูปสามเหล่ียม มีความยาวของกองปุยไมจํากัด สามารถผลิตปุยอินทรียคุณภาพดีไดครั้งละ 30 – 100 ตันท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานปุยอินทรียของประเทศไดภายในเวลาเพียง 2 เดือนโดยไมตองพลิกกลับกอง

5. สถานภาพของผลงาน เร่ิมดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีตั้งแตป 2552 6. สถานท่ีติดตอ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การผลิตเชื้อจุลินทรียควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืช โดยใชสารเรงซุปเปอร พด3.

(Microbial activator Super LDD3 form antagonistic microorganisms)

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดิน 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การเพาะปลูกพืช ท้ังไมผล พืชไร และพืชสวน ทุกชนิดลวนมีการใชสารเคมีในการปองกันการเกิดโรค และกําจัดแมลง เพ่ือใหผลผลิตท่ีไดมีคุณภาพดี ซึ่งการเกิดโรคเปนปญหาหนึ่งท่ีสรางความเสียหายแกผลผลิตพืช ทําใหผลผลิตลดลงและราคาตก จึงจําเปนตองมีการปองกันกําจัด การใชสารเคมีเปนวิธีหนึ่งท่ีเกษตรกรนํามาใชในการควบคุมโรคพืช ซึ่งในปจจุบันมีการนําเขาสารเคมีจากตางประเทศเปนจํานวนมากทําใหตนทุนการผลิตเพ่ิมขึ้น และมีสารพิษตกคางเปนอันตรายกับส่ิงแวดลอมและมนุษย ดังนั้นจึงไดมีการศึกษากลุมจุลินทรียท่ีมีคุณสมบัติเปนปฏิปกษตอเชื้อสาเหตุโรคพืชในดิน ท่ีมีความสามารถปองกัน หรือยับย้ังการเจริญเติบโตของเชื้อสาเหตุโรคพืชไดซึ่งเปนแนวทางหนึ่งท่ีนํามาใชในการเกษตร เพ่ือการผลิตพืชผลทางการเกษตรที่ปลอดภัยจากสารเคมี รวมถึงการทําเกษตรอินทรีย และรักษาส่ิงแวดลอมอีกทางดวย

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้เปนนวัตกรรมผลิตภัณฑจุลินทรีย เพ่ือผลิตเชื้อจุลินทรียควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชในดินมีคุณสมบัติพิเศษคือ สามารถทําลายหรือยับย้ังการเจริญของเชื้อจุลินทรียในดินในสภาพน้ําขังท่ีเปนสาเหตุทําใหเกิดอาการรากเนาหรือโคนเนา ประกอบดวยเชื้อราไตรโคเดอรมา (Trichoderma sp.) และเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส (Bacillus sp.) โดยมีกลไกการควบคุมโรคพืชดังนี้ คือ การเขาทําลายเชื้อสาเหตุไดโดยตรง มีความสามารถในการแขงขันการใชอาหารและเจริญเติบโตไดดีกวาเชื้อสาเหตุโรคพืช ทําใหแหลงอาหารของเชื้อสาเหตุโรคพืชในดินถูกจํากัด และเชื้อสาเหตุโรคพืชไมสามารถเจริญไดในที่สุด ตลอดจนสามารถสรางสารปฏิชีวนะหรือสารพิษเพ่ือทําลายหรือยับย้ังการเจริญของเชื้อสาเหตุโรคพืชในดิน ทําใหเชื้อสาเหตุโรคพืช ไมสามารถแพรกระจายได

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ินแลว ผลิตเปนผลิตภัณฑตนแบบและ เทคโนโลยีตนแบบ

6. สถานท่ีติดตอ สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ โทร 02-579 0679

เช้ือแบคทีเรีย Bacillus sp.

เช้ือราสาเหตุโรคพืช

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน สารเรงซุปเปอร พด.7 สําหรับผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืช

Microbial activator Super LDD7 to extract active ingredients for control insect pest

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดิน

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันมีการใชสารเคมีในการกําจัดแมลงศัตรูพืชกันมาก ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงตอสุขภาพของ

เกษตรกรผูผลิตและผูบริโภค รวมถึงสงผลตอสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ กอใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ํา และระบบนิเวศ เกษตรกรหลายทานจึงมีความสนใจที่จะหันมาทําเกษตรอินทรียเพ่ือผลิตอาหารท่ีมีคุณภาพและปลอดภัย การใชสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีสารออกฤทธิ์ในการปองกันแมลงศัตรูพืชเปนแนวทางหนึ่งท่ีทําใหเกษตรกรหลีกเล่ียงการใชสารเคมีกําจัดแมลงศัตรูพืช ในการสกัดสารออกฤทธิ์จากพืชสมุนไพรนั้นสามารถใชสารสกัดไดหลายชนิด เชน น้ํา แอลกอฮอล เฮกเซน และนํ้าสมสายชู เปนตน ดังนั้นกรมพัฒนาท่ีดินจึงไดมีการคัดเลือกจุลินทรียท่ีมีประสิทธิภาพในการผลิตแอลกอฮอล กรดอะซิติก และกรดแลคติก เพ่ือใชในการสกัดพืชสมุนไพร ใชทดแทนสารสกัดดังกลาว

4. รายละเอียดผลงาน สารเรงซุปเปอร พด.7 สําหรับผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืช เปนนวัตกรรมผลิตภัณฑจุลินทรียท่ีมี

คุณสมบัติเพ่ิมประสิทธิภาพการสกัดสารออกฤทธ์ิโดยกระบวนการหมักพืชสมุนไพรชนิดตาง ๆ เพ่ือผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืช ประกอบดวยยีสตผลิตแอลกอฮอล และกรดอินทรียแบคทีเรียผลิตกรดอะซิติก และแบคทีเรียผลิตกรดแลคติกโดยผานการคัดเลือกชนิดท่ีมีประสิทธิภาพสูงเพ่ือผลิตสารดังกลาวสกัดสารออกฤทธ์ิ และสารไลแมลงท่ีอยูในพืชสมุนไพร รวมท้ังกรดอินทรียหลายชนิด ท่ีมีผลตอการปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืช โดยเนนสกัดพืชสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพล้ียแปง เพล้ียออน หนอนกระทูผัก และหนอนใยผัก ดังนี้ สมุนไพรที่มีประสิทธิภาพควบคุมเพล้ีย (เพล้ียแปง และเพล้ียออน) ไดแก ยาสูบ ดีปลี หางไหล กลอย และพริก สวนสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพควบคุมหนอน (หนอนกระทูผัก และหนอนใยผัก) ไดแก วานน้ํา มันแกว สะเดา หนอนตายหยาก และขมิ้นชัน

5. สถานภาพของผลงาน การวิจัยในหองปฏิบัติการ และโรงเรือนกระจกเสร็จส้ินแลว แตในภาคสนามเพ่ือทดสอบประสิทธิภาพอยู

ระหวางการดําเนินโครงการ และคาดวาจะผลิตผลิตภัณฑตนแบบในป 2553

6. สถานท่ีติดตอ สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดิน 2003/61 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Candida tropicalis Gluconobacter oxydans Lactobacillus fermentum

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ปุยชีวภาพ พด.12

Bio-fertilizer LDD 12

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดิน 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน

ปจจุบันปุยเคมีมีราคาแพงทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น และเพ่ิมความเส่ียงในการลงทุนใหกับเกษตรกร ปุยชีวภาพเปนเทคโนโลยีชีวภาพท่ีสําคัญย่ิง เปนแนวทางหนึ่งท่ีชวยเพ่ิมความอุดมสมบูรณของดินโดยอาศัยกิจกรรมของจุลินทรีย ซึ่งจะชวยลดหรือทดแทนปุยเคมีทางการเกษตรได ประกอบกับความใสใจในดานสุขภาพและส่ิงแวดลอมทําใหเกิดความตองการบริโภคสินคาอินทรียมากข้ึน ซึ่งการใชปุยชีวภาพสามารถสนับสนุนการผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรียได และยัง สามารถเพ่ิมผลผลิต เพ่ิมคุณภาพและเปนท่ียอมรับในการพัฒนาดานเกษตรอินทรีย ดังนั้น กรมพัฒนาที่ดินจึงไดคัดเลือกจุลินทรียท่ีมีประสิทธิภาพ โดยมุงเนนกิจกรรมของจุลินทรีย ท่ีสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศ และจุลินทรียท่ีสามารถละลายหรือดูดซับจากหินแรในดินทําใหไดธาตุอาหาร ท่ีพืชสามารถนําไปใชประโยชนได รวมท้ังจุลินทรียท่ีสรางสารเสริมการเจริญเติบโตใหกับพืช แลวผลิตเปนผลิตภัณฑ ปุยชีวภาพท่ีมีคุณภาพเพ่ือใหเกษตรกรนําไปใชประโยชนทางการเกษตรตอไป 4. รายละเอียดผลงาน

ปุยชีวภาพ พด.12 เปนกลุมจุลินทรียท่ีสามารถสรางธาตุอาหารหรือชวยใหธาตุอาหารเปนประโยชนกับพืชเพ่ือเพ่ิมความอุดมสมบูรณใหกับดิน และสรางฮอรโมนสงเสริมการเจริญเติบโตของพืช ประกอบดวยจุลินทรีย 4 ประเภท ไดแก จุลินทรียท่ีใหธาตุไนโตรเจน (Azotobacter tropicalis) จุลินทรียท่ีใหธาตุฟอสฟอรัส (Burkholderia unamae) จุลินทรียท่ีใหธาตุโพแทสเซียม (Bacillus subtilis) และจุลินทรียท่ีสรางสารกระตุนการเจริญเติบโตหรือฮอรโมนพืช (Azotobacter chroococcum)

5. สถานภาพของผลงาน

มีผลิตภัณฑตนแบบแลว 6. สถานท่ีติดตอ

สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดิน 2003/61 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Azotobacter tropicalis Burkholderia unamae

Bacillus subtilis Azotobacter chroococcum

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน จุลินทรียสําหรับพืชปรับปรุงบํารุงดิน พด11. (Microbial activator Super LDD11 form Green manure crops)

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดิน 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ไนโตรเจนเปนกาซท่ีอยูในอากาศมากถึงประมาณ 78 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร แตมนุษยนํามาใชประโยชนไดนอยมากเม่ือเทียบกับจุลินทรีย ซึ่งจุลินทรียบางชนิดสามารถนํากาซไนโตรเจนไปใชประโยชนไดโดยวิธีการตรึงจากอากาศใหกลายเปนแอมโมเนีย (NH3) แลวดูดกินแอมโมเนียไปสรางเปนกรดอะมิโนและโปรตีนในเซลลของจุลินทรีย การตรึงไนโตรเจนทางชีวภาพ ซึ่งเกิดขึ้นมากท่ีสุด โดยปริมาณการตรึงไนโตรเจนทางชีวภาพ 50 เปอรเซ็นต จะถูกนําไปใชทางดานการเกษตร ซึ่งแบคทีเรีย Genus Rhizobium มีบทบาทสําคัญท่ีสุดในการตรึงไนโตรเจนทางดานการเกษตร ดังนั้นการศึกษาถึงความสัมพันธแบบไดประโยชนรวมกันระหวางแบคทีเรียไรโซเบียมและพืชตระกูลถ่ัวท่ีนํามาเปนพืชปรับปรุงบํารุงดินจึงมีความสําคัญมาก ในการเพ่ิมมวลชีวภาพของตนพืช นอกจากนี้ยังเปนการลดการใชปุยไนโตรเจน สงผลตอการลดนําเขาของปุยไนโตนเจน และยังประโยชนตอส่ิงแวดลอมของดินดวย 4. รายละเอียดผลงาน

โครงการน้ีเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑจุลินทรีย โดยจุลินทรียพด. 11 เปนผลิตภัณฑจุลินทรียท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการตรึงไนโตรเจนจากบรรยากาศเพื่อเพ่ิมมวลชีวภาพใหแกพืชปรับปรุงบํารุงดิน โดยแบงออกเปน จุลินทรีย พด.11 สําหรับโสนอัฟริกัน และจุลินทรีย พด.11 สําหรับปอเทือง ซึ่งจุลินทรียชนิดดังกลาวจะมีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสําหรับพืชชนิดนั้นๆ อีกท้ังยังมีจุลินทรียท่ีมีความสามารถในการละลายฟอสฟอรัสในดินใหเปนประโยชนแกพืช เพ่ือการใชประโยชนพืชปรับปรุงบํารุงดินใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ินแลว ผลิตเปนผลิตภัณฑตนแบบและ เทคโนโลยีตนแบบ 6. สถานท่ีติดตอ

สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ โทร 02-579 0679

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : โครงการนํารองการใชถุงขยะพลาสติกชีวภาพ PBS ในการคัดแยกขยะอินทรีย

เพ่ือผลิตปุยอินทรีย ณ เกาะเสม็ด (Bioplastic PBS Bags Usage for Seperating Organic Waste for Organic Fertilizer Production in Samed Island)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท แบ็กส แอนด โกลฟ จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน โครงการน้ีเปนโครงการนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตรดานอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพและธุรกิจเกษตรอินทรีย ท่ีไดรับการสนับสนุนทางดานวิชาการจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งนับวาเปนโครงการที่เนนการรณรงคสนับสนุนการใชพลาสติกชีวภาพในการคัดแยกขยะอินทรีย ในแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ และอุทยานแหงชาติๆ เพ่ือทําใหเกิดการจัดการขยะท่ีมีประสิทธิภาพ และเปนการสรางเพ่ิมมูลคาใหกับขยะอินทรีย จะกอใหเกิดมาตรการดานส่ิงแวดลอมเกี่ยวกับการจัดการขยะในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติตอไปในอนาคต โดยจัดทําแผนการดําเนินงานท่ีชัดเจนในการสรางความรูความเขาใจและกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน ในการคัดแยกขยะตนทางไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังสรางแนวทางการดําเนินการขายปุยอินทรียท่ีเกิดขึ้นในโครงการ เพ่ือใหโครงการสามารถสรางความย่ังยืนตอไป

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเทศดานกระบวนการผลิตปุยอินทรียจากการคัดแยกขยะอินทรียใน

พ้ืนท่ีทองเที่ยวของอุทยานแหงชาติเขาแหลมหญา หมูเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ดวยถุงขยะพลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพชนิด PBS เพ่ือนําไปเปนวัตถุดิบผลิตปุยอินทรียในโรงผลิตปุยอินทรียกึ่งอัตโนมัติท่ีไมตองทําการพลิกกองที่มีกําลังการผลิตสูงสุด 100 ตันตอเดือน

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท แบ็กส แอนด โกลฟ จํากัด 481/791-2 ซ.จรัญสนิทวงศ 37 แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : ผลิตภัณฑกําจัดแมลงศัตรูพืชจากสารสกัดสมุนไพรหนอนตายหยาก (New Bio-Pesticide from Stemona sp.)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ไบโอเซเวน จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน หนอนตายหยาก (Stemona spp.) เปนไมเถาชนิดหนึ่งซึ่งมีรากเปนพวงคลายกระชาย พบไดในปาท่ัวไป

ของประเทศจีน ญี่ปุน อินโดจีน มาเลเซีย ลาว และประเทศไทย ท้ังนี้ หนอนตายหยากจะมีชื่อเรียกแตกตางกันตามทองถ่ิน อาทิ พญารอยหัว กระเพียดหนู ตนสามสิบกลีบ โปงมดงาม สลอดเชียงคํา เปนตน อน่ึง ประโยชนทางการแผนโบราณของสมุนไพรหนอนตายหยาก ไดมีการนํารากมาใชประโยชนในการรักษาหิด เหา และใชเปนยาถายพยาธิ นอกจากนี้ ยังไดมีการนํามาใชเพ่ือการกําจัดเห็บเหาในโคและกระบือ ใชฆาหนอน ตลอดจนกําจัดลูกนํ้า สารสกัดหยาบของสมุนไพรหนอนตายหยากมีคา LD50 ในหนูเพศผู 1,078.95 มิลลิกรัม/น้ําหนัก 1 กิโลกรัม ในขณะท่ีคา LD50 ในหนูเพศเมีย 630.96 มิลลิกรัม/น้ําหนัก 1 กิโลกรัม ซึ่งจัดไดวาเปนสารประเภท slightly toxic อีกท้ังจากการศึกษาในแปลงพบวาสารสกัดหยาบสามารถสลายตัวไดภายใน 3 วัน ดังนั้น จึงมีความเปนไปไดในการนําสารสกัดสมุนไพรหนอนตายหยากมาใชเพ่ือการผลิตเปนผลิตภัณฑกําจัดศัตรูพืชชีวภาพที่เหมาะสําหรับการเกษตรของประเทศ โดยเฉพาะเกษตรอินทรีย

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเทศดานกระบวนการผลิตผลิตภัณฑกําจัดศัตรูพืชจากสมุนไพร

หนอนตายหยาก โดยเปนการนําสมุนไพรหนอนตายหยากพันธุ Stemona curtisii มาผานกระบวนการสกัดดวยสารละลายแอลกอฮอล เพ่ือใหไดสารสกัดหนอนตายหยากที่มีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพกลุมอัลคาลอยด อาทิ ออกซิพิโอสติโมนีน (oxypeostemonine) สตีโมเคอรทิซีน (stemocurtisine) และสตีโมเคอรทิซินอล (stemocurtisinol) ซึ่งเปนสารกลุมใหมท่ีมีฤทธิ์ตอระบบประสาทของแมลงซึ่งทําใหแมลงหยุดกินและตายไปในที่สุด แลวจึงนํามาพัฒนาใหเปนผลิตภัณฑสารกําจัดแมลงศัตรูพืช

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท ไบโอเซเวน จํากัด 406 ถ.รัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

กลมุท่ี 6: มาตรฐาน

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การจัดทํามาตรฐานเกษตรอินทรีย ป 2553 2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันความตองการผลิตผลและผลิตภัณฑเกษตรอินทรียมีมากข้ึนตามลําดับ เนื่องจากผูบริโภคคํานึงถึงสุขภาพและสุขอนามัยความปลอดภัยในการบริโภค รวมท้ังส่ิงแวดลอมมากข้ึน ดังนั้นจึงจัดทํามาตรฐานเกษตรอินทรียท่ีมีความสอดคลองกับมาตรฐานเกษตรอินทรียในระดับสากลขึ้น เพ่ือใหเกษตรกร ผูประกอบการ รวมถึงผูเกี่ยวของท้ังภาครัฐและเอกชน ไดนําไปใชปฏิบัติในการผลิตพืช สัตวและประมงอินทรีย หรือใชเปนแมบทในการอางอิง เพ่ือนําไปพัฒนาเปนมาตรฐานเฉพาะของกลุม หรือพัฒนาเปนแนวทางสําหรับหนวยงานทําหนาท่ีตรวจประเมินและตรวจรับรอง รวมถึงการแปลงเปนเอกสารคําแนะนําสําหรับเกษตรกรผูตองการทําการผลิตแบบอินทรีย ท้ังนี้เพ่ือใหสินคาเกษตรอินทรียของประเทศเปนที่ยอมรับในระดับชาติและระดับสากล 4. รายละเอียดผลงาน 4.1 มาตรฐานเกษตรอินทรีย : เกษตรอินทรีย เลม 1: การผลิต แปรรูป แสดงฉลากและจําหนายผลิตผลและ

ผลิตภัณฑเกษตรอินทรีย (มกษ. 9000 เลม 1-2552) 4.2 มาตรฐานเกษตรอินทรีย : เกษตรอินทรีย เลม 2: ปศุสัตวอินทรีย (มกษ. 9000 เลม 2-2548) 4.3 มาตรฐานเกษตรอินทรีย : เกษตรอินทรีย เลม 3: อาหารสัตวน้ําอินทรีย (มกษ. 9000 เลม 3-2552) 4.4 มาตรฐานเกษตรอินทรีย : การเล้ียงกุงทะเลระบบอินทรีย (มกษ. 7413 2550)

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ เลขท่ี 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน โครงการพัฒนาระบบการผลิตและมาตรฐานระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย

ทองถิ่น Development of Production and Standards Accreditation for Local Organic

Agriculture

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การสํารวจและศึกษามาตรฐานและระบบการตรวจรับรองของระบบการผลิตพืชอินทรียชุมชนเปนการศึกษาเพ่ือใหทราบขอมูลเบ้ืองตนของมาตรฐานและการตรวจสอบรับรองเกษตรอินทรียของชุมชน วามีศักยภาพและความพรอมในการพัฒนาสูมาตรฐานระดับชาติและสากล เพ่ือเปนการยกระดับการผลิต และการตรวจสอบรับรองของชุมชนที่มีศักยภาพเหลานั้นใหเปนท่ียอมรับในระดับชาติและระดับสากล เพ่ือขยายการสงออกตอไปในอนาคต โดยในป 2551 สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.) รวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดดําเนินการสํารวจในภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือไปแลว สําหรับโครงการนี้ซึ่งเปนโครงการในป 2552 มกอช. รวมกับมหาวิทยาลัยขอนแกน จึงไดดําเนินการสํารวจตอเนื่องในภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้ไดดําเนินการศึกษาในดานการผลิต มาตรฐานและระบบการรับรอง ดังนี้ 1. ดานการผลิต มีการสํารวจขอมูลการผลิตพืชอินทรีย รวมท้ังศึกษาสภาพปญหา/อุปสรรคที่เกี่ยวของกับการผลิตพืชอินทรียในพ้ืนท่ีภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต ของประเทศไทย ซึ่งผลการศึกษา พบวา จากการสุมสอบถาม ผูผลิตในพ้ืนท่ีภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต ของประเทศไทยสวนใหญไมมีความรูเกี่ยวกับการทํานาระบบเกษตรอินทรียในระยะปรับเปล่ียน ผูผลิตสวนใหญเปนเจาของพ้ืนท่ีทํากิน ใชน้ําจากแหลงชลประทานในการทํานา ใชแรงงานในครอบครัว เมล็ดพันธุท่ีใชเปนพันธุปทุมธานี ปุยอินทรียทําเพ่ือใชในการเพาะปลูกดวยตนเอง และการจําหนายผลผลิตจะจําหนายใหกับตลาดกลาง โดยมีปญหาและอุปสรรคดานการผลิต 3 ลําดับแรก คือ แมลงศัตรูพืช ระบบเกษตรอินทรียไมสามารถปองกัน/กําจัดแมลงศัตรูพืชได และไมมีการสนับสนุนจากภาครัฐในเรื่องการขอการรับรอง เชน คาใชจายในการตรวจรับรอง เปนตน 2. ดานมาตรฐานและระบบการรับรอง มีการศึกษาสภาพปญหา/อุปสรรคท่ีเกี่ยวของกับการตรวจรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย ในดานสภาพแวดลอม ปจจัยการผลิต และระบบการตรวจรับรองในพื้นท่ีภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต ของประเทศไทย และศึกษาระบบการตรวจรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรียของประเทศและตางประเทศ ผลการศึกษา พบวา ปญหาและอุปสรรคดานการตรวจรับรอง 3 ลําดับแรก คือ ไมมีความรูเกี่ยวกับมาตรฐานและการตรวจรับรองเกษตรอินทรียมากอน ไมชํานาญกับระบบเอกสารตรวจสอบ/รับรอง และขั้นตอนการตรวจสอบหลายขั้นตอน มีความยุงยาก

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน

6. สถานท่ีติดตอ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน โครงการพัฒนาตลาดและระบบการตรวจรับรองสินคาเกษตรอินทรีย Marketing Development and Organic Agricultural Product Accreditation

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เนื่องจาก สินคาเกษตรอินทรียของไทยสวนใหญเปนสินคาขั้นตน มีมูลคาคอนขางต่ํา สินคาแปรรูปมีจํากัดและไมแพรหลาย สินคาเกษตรอินทรียดานพืชของไทยที่ไดการรับรองระบบการผลิตตามมาตรฐานของไทย (มาตรฐานของกรมวิชาการเกษตร หรือมาตรฐานของ มกอช.) ยังไมสามารถสงออกไปจําหนายในสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน หรือ ประเทศท่ีพัฒนาแลว (ยกเวน ออสเตรเลีย ท่ียังไมมีกฎหมายการนําเขาสินคาเกษตรอินทรีย) เนื่องจากมาตรฐานการผลิตและการตรวจรับรองดานเกษตรอินทรียของประเทศไทยยังไมไดรับการยอมรับ (recognized) จากประเทศขางตน ดังนั้น จึงมีความจําเปนท่ีจะตองเรงเสริมสรางความเขมแข็งระบบการผลิตสินคาขั้นตน และแปรรูป (Primary and processed products) ใหมีความหลากหลาย มีคุณภาพและปริมาณตามความตองการของผูบริโภคท้ังภายในและตางประเทศโดยเร็ว เพ่ือใหระบบการควบคุมและการตรวจรับรองมาตรฐานดานเกษตรอินทรียเปนที่ยอมรับของประเทศนําเขารายใหญท่ีสําคัญ

4. รายละเอียดผลงาน ผลการศึกษาพบวา จากการสุมตัวอยางผูบริโภคในกรุงเทพฯ จังหวัดขอนแกน จังหวัดเชียงใหม จังหวัดลําปาง จังหวัดชุมพร ผูบริโภคสินคาเกษตรอินทรียสวนใหญเปนผูมีอํานาจตัดสินใจซื้อสินคาเกษตรอินทรีย และนิยมบริโภคซ้ือผลิตภัณฑอินทรียแปรรูปท่ีเปนอาหาร โดยเปนสินคาท่ีแปรรูปจากขาว รองลงมาคือ แปรรูปจากธัญพืชและแปรรูปจากผลไม ในการศึกษาพบปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการซื้อผลิตภัณฑแปรรูปอินทรีย เชน ผูบริโภคไมสะดวกในการจัดซื้อ ไมมั่นใจในเรื่องของความปลอดภัยจากสารปนเปอน ผลิตภัณฑมีราคาสูง ความไมเขาใจถึงความแตกตางระหวางผลิตภัณฑปลอดภัยจากสารพิษกับผลิตภัณฑอินทรีย ไมมีการลดราคา เปนตน จากการสํารวจขอมูลและจากการวิเคราะหขอจํากัดตางๆ ทําใหสามารถกําหนดชนิดของผลิตภัณฑอินทรียแปรรูปท่ีสอดคลองกับความตองการของผูบริโภค โดยดําเนินการแปรรูปเปนผลิตภัณฑ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ผลิตภัณฑอินทรียแปรรูปจากขาว ไดแก กวยเตี๋ยวเสนสด กวยเตี๋ยวเสนสดผสมฟกทอง กวยเตี๋ยวเสนแหง กวยเตี๋ยวเสนแหงผสมฟกทอง ขนมจีนเสนสด ขนมจีนเสนสดผสมผักและสมุนไพร ขนมจีนเสนแหงผสมผักและสมุนไพร ขนมนางเล็ด และผลิตภัณฑพาสตา สําหรับผลิตภัณฑอินทรียแปรรูปจากผักและผลไม ไดแก เยลล่ีจากน้ําลําไยผสมเนื้อลําไย เยลล่ีน้ําสมผสมน้ํามะเขือเทศ น้ําสมอินทรียพาสเจอไรซ ผักอินทรียรวมชนิดกึ่งสําเร็จรูป (ผักอินทรียอบแหง)

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน

6. สถานท่ีติดตอ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การใช IT ในการบริหารจัดการระบบควบคุมภายใน สําหรับการตรวจสอบรับรอง มาตรฐานเกษตรอินทรียแบบกลุมผูผลติ

Using IT to manage internal control system (ICS) for organic certification under grower group scheme

2. ชื่อเจาของผลงาน มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สืบเนื่องจากปญหาคอขวดสําคัญประการหนึ่งของการพัฒนาเกษตรอินทรียในประเทศไทยก็คือ การท่ีกลุมผูผลิต ท่ีตองการขอการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียแบบกลุมผูผลิต จะตองจัดทําระบบควบคุมภายใน (internal control system - ICS) ขึ้น เพ่ือชวยลดคาใชจายในการตรวจสอบรับรองมาตรฐาน แตการบริหารจัดการระบบควบคุมภายในนี้ยังคอนขางขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากยังไมไดมีการนําเทคโนโลยีใหมๆ เชน เทคโนโลยีขอมูล (information technology - IT) มาประยุกตใชกันมากนัก 4. รายละเอียดผลงาน มูลนิธิสายใยแผนดิน ซึ่งไดทํางานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบควบคุมภายในมานานกวา 10 ป จึงไดริเริ่มการนํา IT มาใชในระบบควบคุมภายใน โดยการพัฒนาระบบ software ระบบควบคุมภายในขึ้น ซึ่งจะชวยใหผูจัดการระบบควบคุมภายในสามารถจัดทําระบบขอมูลตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

5. สถานภาพของผลงาน อยูในระหวาการดําเนินโครงการ และมีผลิตภัณฑตนแบบแลว 6. สถานท่ีติดตอ

มูลนิธิสายใยแผนดิน 6 ซ.วัฒนานิเวศน7 ถ.สุทธิสาร แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร 02-277-9380-1, 02-277-9653 โทรสาร 02-277-9654

รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

กลมุท่ี 7: รปูแบบการผลติ

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : ระบบ ICM สําหรับการผลิตพืชอินทรีย (Integrated Cropping Management for Organic Agriculture)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ไบโอ-อะกริ จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สืบเนื่องจากการบริหารจัดการองคความรูและนวัตกรรมตลอดทั้งหวงโซการผลิตในธุรกิจเกษตรอินทรีย

โดยเฉพาะสวนของการผลิต และการสงเสริมการผลิต ยังมีขอจํากัดอยูหลายประการ เนื่องจากเปนการผลิตท่ีอาศัยภูมิปญญา หรือประสบการณเขามาแกปญหาในขั้นตอนการผลิต มากกวาการประยุกตใชองคความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีมีการพิสูจนทราบแลว สงผลใหผลผลิตเกิดความเสียหาย หรือมีคุณภาพต่ํากวามาตรฐานในการสงออก ดังนั้น โครงการน้ีจึงมีวัตถุประสงคในการจัดต้ังบริษัทเพ่ือใหบริการวิชาการและใหคําปรึกษาดานการผลิตพืชปลอดภัยตอสารเคมี / อินทรีย ตามหลักของเกษตรอินทรียเชิงผสมผสาน (Organic-ICM system) ใหกับเกษตรกรในลักษณะการบริหารงานครบวงจร โดยมีการพัฒนาชุดองคความรูและเทคโนโลยีการผลิตพืช (เฉพาะกลุม) ดวยวิธีทางธรรมชาติ บนพ้ืนฐานทางวิชาการที่ทุกปจจัยการผลิตและทุกขั้นตอนการจัดการในระบบการปลูกจะไดรับการพิจารณาและคัดเลือกอยางเหมาะสม และมีการดูแลติดตามผลอยางใกลชิดจากทีมผูเชี่ยวชาญ และนักวิชาการที่ปรึกษาโครงการฯ

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจระดับประเทศสําหรับการบริการใหคําปรึกษาการผลิตผัก

อินทรีย โดยอาศัยเทคโนโลยี การจัดการการผลิตเกษตรอินทรียแบบผสมผสาน (integrated cropping management) และกระบวนการผลิตของเกษตรกรรายยอยในพ้ืนท่ีจํากัด จากเครือขายผูเชี่ยวชาญคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยเปนรูปแบบที่ใชแกปญหา (solutions) ตลอดท้ังหวงโซการผลิตในระบบเกษตรอนิทรีย

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท ไบโอ-อะกริ จํากัด 67/17 หมู 8 ต.บางกระสอ ถ.รัตนาธิเบศร อ.เมือง จ.นนทุบรี - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การวิจัยและพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน เพื่อประโยชนตอการศึกษาและการอนุรักษ

สิ่งแวดลอม : มิติใหมของการเกษตรเพื่อสุขภาพและความอยูรอด (Research and Development of Sustainable Agricultural System : A New Agricultural Paradigm for Health and Survival)

2. ชื่อเจาของผลงาน ดนุวัต เพ็งอน อนันต ปนตารักษ อานัฐ ตันโช ดําเกิง ปองพาล มนัส กัมพุกุล ขยัน สุวรรณเกรียงศักด์ิ เมงอําพัน ประวิตร พุทธานนท บัญญัติ มณเฑียรอาสน อาคม กาญจนประโชติ อภิชาติ สวนคํากอง ณัฐวุฒิ ดุษฎี สุภักตร ปญญา ตะวัน ฉัตรสูงเนิน วรศิลป มาลัยทอง สุรชัย ศาลิรัศ และธนวัฒน รอดขาว

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน เนื่องจากตนทุนทางการผลิตพืชแบเคมีหรือพืชเชิงเด่ียวสูงขึ้น อีกท้ังยังมีปญหาสารพิษตกคางใน

กระบวนการผลิต ทําใหมีสารเคมีตกคางในหวงโซอาหาร น้ํา ดิน อากาศ ตลอดจนผลผลิตทางการเกษตรปนเปอนไปดวยสารเคมีและยาฆาแมลง จึงไดมีแนวคิดเพ่ือทดลองใชปจจัยการผลิตภายในประเทศเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตท้ังพืชไร พืชสวน สัตวปก ประมง โดยการใชเชื้อจุลินทรีย ปุยหมักอินทรีย และปุยน้ําชีวภาพ รวมกับการใชสารสกัดสมุนไพรเพื่อควบคุมและปองกันศัตรูพืชและสัตว โดยทําการทดลองควบคูไปกับการดําเนินการจัดการฟารมในพ้ืนท่ีเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดําริภายในมหาวิทยาลัยแมโจ จํานวนพ้ืนท่ี 10 ไร

4. รายละเอียดผลงาน จากสภาพดินท่ีมีความเปนกรด-ดางตํ่ากวา 5 และมีอินทรียวัตถุต่ํามากเมื่อป 2544 จนกระท่ังป 2548

ดินมีความเปนกรด-ดางอยูในระดับ 6-7 และดินมีอินทรียวัตถุมากขึ้น จากการทดลองปลูกขาวหอมมะลิ 105 และขาวหอมแดงพบวาไดผลผลิตสูง หลังจากปลูกขาวแลวทําการปลูกพืชไรหมุนเวียน พบวามีการเจริญเติบโตดี แข็งแรง ดินมีความโปรงและรวนซุย สําหรับไมผลพบวาท้ังมะมวง ลําไย และล้ินจี่สามารถเจริญเติบโตไดดีเชนกัน สวนระหวางแปลงไมผลระยะแรกปลูกเบญจมาศ พืชไรและพืชผัก พบวาไดผลผลิตดีโดยไมตองใชสารเคมีและพบวาสภาพดินดีมาก นอกจากนี้ไดทดลองเล้ียงปลา ไก เปดและสุกร พบวาการใชเชื้อจุลินทรียและสมุนไพร (ฟาทะลายโจรและขมิ้นชัน) ผสมอาหารทําใหลดรายจายและลดการใชสารปฏิชีวนะไดระดับหนึ่ง และจากการทดลองใชมูลสัตวผลิตกาซชีวภาพพบวาการใชมูลโคและกระบือทําใหมูลหมุนเวียนไดดี บอกาซไมเต็มเร็วคือสามารถใชไดนานกวา เกษตรกรมีความพึงพอใจนําไปเผยแพรและปฏิบัติตามกันอยางแพรหลาย

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน และไดยกระดับเปนฐานเรียนรูของมหาวิทยาลัย “ฐานเรียนรูเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดําริ”

6. สถานท่ีติดตอ สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ ต.หนองหาร อ.สันทราย

จ. เชียงใหม 50290 โทรศัพท 0 5387 3842 โทรสาร 0 5387 3843

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : การพัฒนาความสามารถในการทําเกษตรอินทรียของกลุมชุมชนวิทยาศาสตรเกษตรกร

พอเพียงบานหนองมัง อําเภอสําโรง จังหวัดอุบลราชธานี : กรณีเกษตรอินทรียกับ นิเวศนเกษตร (Science Community for Development Organic Farm at Ban Nong Mung Sumrong District, Ubonratchathani Province. : In Case Organic Farm and Farm Ecology.)

2. ชื่อเจาของผลงาน: ผศ.ดร.นิตยา วานิกร

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การทําเกษตรอินทรีย และเกษตรปลอดสารพิษ เปนระบบการผลิตทางการเกษตรที่คนเราเคยปฏิบัติกันมาแตโบราณ จนกระทั่งในยุคของการพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีทุกอยางจะตองเรงรีบผลิตเพ่ือใหไดผลผลิตปริมาณมากๆ สําหรับปอนระบบอุตสาหกรรม ทําใหมีการใชสารเคมีเพ่ือเรงการผลิต และใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชกันอยางกวางขวาง ซึ่งสารเคมีเหลานั้นสวนใหญจะมีพิษตกคางกอใหเกิดอันตรายท้ังตอตัวเกษตรกรผูผลิตและผูบริโภค อีกท้ังยังเปนการเพ่ิมตนทุนใหแกเกษตรกรเปนอยางมากและการผลิตเพ่ือมุงหวังผลกําไรเพียงอยางเดียวในระบบเกษตรเคมีนั้น ยังทําใหวัฒนธรรมการผลิตแบบดั้งเดิมท่ีเคยพ่ึงพากันของคนในชุมชนสูญหายไป ความผูกพันในระบบสังคมของชุมชนก็ลดลง ระบบการผลิตท่ีหวังพ่ึงเพียงผลผลิตอยางเดียวไมสามารถทําใหเกษตรกรในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได

4. รายละเอียดผลงาน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ รวมท้ังการตรวจสุขภาพตอภาวะเส่ียงจากสารเคมีทางการเกษตรดวยการเจาะเลือดทดสอบดวยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส สําหรับผลการประเมินระดับความรูตนเองของผูเขารวมโครงการจากแบบสอบถามมีรอยละ 75 ของผูเขารวมโครงการที่มีความรูในเรื่องพิษภัยจากสารเคมีทางการเกษตรเปนอยางดี และมีเพียงรอยละ 25 ของผูเขารวมโครงการเทาน้ันท่ีมีระดับความรูดังกลาวอยูในเกณฑพอใช แตผลการตรวจสารเคมีตกคางในเลือดของผูเขารวมโครงการประมาณรอยละ 88 อยูในระดับเส่ียงและไมปลอดภัย ซึ่งมีท้ังผูท่ีทําเกษตรอินทรีย เกษตรเคมี และผูท่ีอยูระหวางการปรับเปล่ียนจากการทําเกษตรเคมีไปเปนเกษตรอินทรีย แสดงใหเห็นวาแมผูเขารวมโครงการเหลานั้น มีระดับความรูในเรื่องดังกลาวดีก็ตาม แตมีพฤติกรรมการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในปจจุบัน (สําหรับผู ท่ียังคงใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชอยู) และในอดีต (ผู ท่ีอยูระหวางการปรับเปล่ียน) ยังไมถูกตองและเหมาะสมหรืออาจมีการฉีดพนสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในความถ่ีสูงมาก จึงทําใหมีสารเคมีตกคางอยูในเลือดคอนขางสูงมาก สําหรับผูทําเกษตรอินทรียนั้น อาจเปนผลมาจากการใชสารฆาแมลงในครัวเรือนท่ีไมถูกตองและเหมาะสม หรืออาจไดรับจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชของผูทําเกษตรเคมีท่ีอยูแวดลอมแปลงปลูกพืชของตนเอง ผลจากการเขารวมโครงการ ทําใหเกษตรกรทราบถึงอันตรายและพิษภัยจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืชตอตนเอง ผูอื่น และส่ิงแวดลอม และทราบถึงผลตกคางของสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในเลือดของตนเอง การทราบถึงขอมูลดังกลาวนาจะเปนแรงจูงใจใหเกษตรกรกลุมตัวอยางลดปริมาณการใชปุยเคมีและสารเคมีกําจัดศัตรูพืชลง พรอมท้ังปรับเปล่ียนกระบวนการผลิตเปนระบบเกษตรอินทรียในท่ีสุด

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน

6. สถานท่ีติดตอ ภาควิชาพืชไร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การพัฒนารูปแบบการทําเกษตรอินทรียของสมาชิกชมรมรักษธรรมชาติ จังหวัดยโสธร

Development a organic agricultural model of Nature keeping club's member in Yasothon province.

2. ชื่อเจาของผลงาน วิทยาลัยชุมชนยโสธร สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน

สืบเนื่องจากการมองเห็นวิสัยทัศนของจังหวัดยโสธร พ.ศ. 2553 – 2556 ท่ีกลาววา “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียสูสากล” นโยบายของจังหวัดยโสธรคือสงเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารทรัพยากรการเกษตรเปนเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทรียไมกระทบส่ิงแวดลอม และใหมีมูลคาเพ่ิมความสอดคลองกับความตองการของตลาด โดยเริ่มจากชุมชนบานนาโซ อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ท่ีไดเร่ิมทําเกษตรอินทรียอยางครบวงจร โดยเริ่มแรกคือการปลูกพืชสมุนไพรเพ่ือตองการลดคาใชจายในการรักษาโรค และไดพัฒนาการปลูกพืชชนิดอ่ืนมาเรื่อยๆ และแกนนําหลายคนไดมีโอกาสไปสัมมนาในที่ตางๆ ไดรับความรูเกี่ยวกับการเกษตรแบบย่ังยืน แนวคิดเกษตรผสมผสานเขามา จึงไดจัดต้ังเปนชมรมรักษธรรมชาติ โดยมีการทําเกษตรอินทรีย เพ่ือการบริโภคและการสงออก กอต้ังเมื่อ พ.ศ. 2534 จนถึงปจจุบัน มีสมาชิกในกลุมท่ีทําเกษตรอินทรียประมาณ 40 ครัวเรือน

4. รายละเอียดผลงาน การพัฒนารูปแบบการทําเกษตรอินทรียของสมาชิกชมรมรักษธรรมชาติ จังหวัดยโสธรนี้นับเปนนวัตกรรมการทําเกษตรอินทรียรูปแบบใหม ท่ีไดรวบรวมองคความรูการทําเกษตรอินทรียมาหลายสิบป ผสมผสานกับองคความรูสมัยใหมในปจจุบัน การถายทอดความทันสมัยทางเทคโนโลยีโดยมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมนอยท่ีสุดเทาท่ีจะเปนไปได การแปรรูปผลิตภัณฑท่ีหลากหลายและตอบสนองความตองการของผูบริโภคมากขึ้น ซึ่งรูปแบบที่ไดจะเปนตนแบบการทําเกษตรอินทรียของจังหวัดยโสธรตอไป

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

6. สถานท่ีติดตอ วิทยาลัยชุมชนยโสธร ถ.สุวรรณภูมิ-ยโสธร ต.สําราญ อ.เมือง จ.ยโสธร 35000

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน โครงการวิจัยการผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรียเพ่ือใชเปนอาหารสัตวอินทรีย The Organic Pasture Seed Production for Organic Livestock Feeding 2. ชื่อเจาของผลงาน ดร.ธํารงศักด์ิ พลบํารุง 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การเกษตรอินทรียเปนวาระแหงชาติ และเปนนโยบายสําคัญท่ีรัฐบาลไดบรรจุไวในแผนบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2548-2551 ในชวงเวลาดังกลาว ประเทศไทยไดผลักดันใหการเกษตรอินทรียขยายตัวเพ่ิมขึ้น การปศุสัตวอินทรียก็เปนระบบการผลิตท่ีไดรับการพัฒนาใหขยายตัวรองรับกระแสอนุรักษส่ิงแวดลอมและการผลิตอาหารปลอดภัย เน่ืองจากการผลิตปศุสัตวอินทรียมีผลตอการอนุรักษระบบนิเวศและส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะระบบการผลิตสัตวเคี้ยวเอื้องในแปลงพืชอาหารสัตว รวมท้ังการผลิตพืชอาหารสัตวอินทรีย หากสามารถผลิตเมล็ดพันธุไดตามมาตรฐานอินทรีย จะทําใหการเกษตรอินทรียขยายตัวอยางกวางขวางและยั่งยืน นอกจากนั้น ยังสามารถพัฒนาการผลิตเมล็ดพันธุอินทรียไปสูการผลิตเชิงการคา และการสงออกไปจําหนายตางประเทศ เนื่องจากประเทศไทยมีศักยภาพการผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวเขตรอน (Tropical pasture seed) สูงกวาประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชีย 4. รายละเอียดผลงาน สามารถผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวท้ัง 3 ชนิด มีคุณภาพดีตามมาตรฐาน ภายใตการจัดการระบบอินทรีย โดยการผลิตเมล็ดพันธุถ่ัวอินทรียมีความเปนไปไดมากกวาการผลิตเมล็ดพันธุหญา เนื่องจากสามารถผลิตเมล็ดพันธุถ่ัวฮามาตาอินทรียไดผลผลิต 30.00 ก.ก./ไร มีตนทุนการผลิต 60.66 บาท/ก.ก. เมื่อไมใชปุย และเพ่ิมผลผลิตเปน 48.00 ก.ก./ไร และมีตนทุนเฉล่ีย 85.40 บาท/ก.ก. เมื่อใชปุยร็อคฟอสเฟตอัตรา 16 ก.ก. P2O5/ไร และพบวาการผลิตเมล็ดพันธุหญากินนีสีมวงมีผลผลิตเฉล่ียสูงกวาหญารูซี่ โดย จังหวัดกาฬสินธุและเลยมีความเหมาะสมมากกวานครพนมและสกลนคร เนื่องจากหญากินนีสีมวงอินทรียสามารถใหผลผลิต 26.35 และ 26.50 ก.ก./ไร โดยไมใสปุย และมีตนทุนการผลิตต่ําท่ีสุดเฉล่ีย 85.70 และ 128.34 บาท/ก.ก. ตามลําดับ สวนการผลิตเมล็ดพันธุหญารูซี่อินทรียนั้นไดผลผลิตเมล็ดพันธุต่ํามาก อยางไรก็ตาม การทดลองน้ีแสดงใหเห็นวา คุณภาพปุยอินทรีย ซึ่งธาตุอาหารพืชสวนใหญอยูในรูป organic nutrients มีธาตุอาหารพืชท่ีนําไปใชไดไมเพียงพอตอการผลิตเมล็ดพันธุ และอัตราปุย วิธีการใสปุย ตลอดจนชวงเวลาใสปุยยังไมเหมาะสม นอกจากนั้นปุยอินทรียสําเร็จรูปยังมีราคาแพง ควรมีการศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพปุยอินทรียท่ีมีธาตุอาหารในรูปท่ีพืชนําไปผลิตเมล็ดพันธุใหไดผลผลิตสูง ศึกษาอัตราปุย วิธีใสปุย และชวงเวลาใสปุยท่ีเหมาะสมท่ีสุดกอนแนะนําและสงเสริมสูเกษตรกร 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

- กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว ถนนพญาไท เขตราชเทวี 10400

รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรียป พ.ศ. 2552-2553

กลมุท่ี 8: อืน่ๆ

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน เคร่ืองปนวัสดุการเกษตรเอนกประสงค 2. ชื่อเจาของผลงาน นายทวี ปงสุเสน 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยามีการจัดการเรียนการสอนในวิชา การผลิตสารชีวภาพเพื่อการเกษตรซึ่งยังขาดอุปปกรณในการสับบดเศษวัสดุพืชผลการเกษตรเพื่อใชในการทําปุยหมัก ท่ีใชในการเรียนการสอนเรื่อง การเลือกใชเศษวัสดุเพ่ือการผลิตปุยหมัก โดยในรายวิชา การผลิตสรชีวภาพเพื่อการเกษตร มีบทเรียนเรื่อง การทําปุยหมักและท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งคือในการผลิตปุยหมักนั้นมีขอเสียคือตองใชเวลาในการผลิตนานและวัสดุท่ีใชนั้นเกิดการยอยสลายในเวลาที่แตกตางกันทําใหสูญเสียธาตุอาหารโดยไมจําเปน ซึ่งในสวนของวัสดุท่ีใชหมักมีปริมาณธาตุอาหารท่ีคอนขางตํ่าอยูแลวดังนั้นหากมีการยอยสลายเศษวัสดุท่ีเหลือใชทางการเกษตรที่สามารถนํามาผลิตปุยหมักไดใหมีขนาดเล็กลงแบบสม่ําเสมอกันจะทําใหขบวนการหมักและการยอยสลายมีประสิทธิภาพมากขึ้นและยนระยะเวลาในการหมักใหสามารถนําไปใชเปนปุยอินทรียไดเร็วย่ิงขึ้น ดังนั้นคณะผูวิจัยจึงมีแนวคิดในการจัดทําเคร่ืองปนเอนกประสงคเพ่ือเปนการแกปญหาดังกลาวขางตน 4. รายละเอียดผลงาน เคร่ืองปนวัสดุการเกษตรเอนกประสงค เปนเครื่องท่ีใชสําหรับปนยอยเศษวัสดุการเกษตรเชน ฟางขาว ตอซังขาว ซังขาวโพด หรือ กิ่งไมแหงขนาดเล็ก เพ่ือนํามาผลิตปุยหมัก หรือเปนวัสดุในการเพาะเห็ดรวมถึงยังสามารถใชตีฝกถ่ัว ๆ เพ่ือแยกเมล็ดถ่ัวไดดวย

5. สถานภาพของผลงาน เสร็จส้ิน 6. สถานท่ีติดตอ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา เลขท่ี 1 หมู 6 ต. แมนาเรือ อ. เมือง จ. พะเยา 56000 โทรศัพท 054-483055

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน เคร่ืองอัดเม็ดปุยอินทรียแบบประยุกต 2. ชื่อเจาของผลงาน แผนกวิชาชางยนตการเกษตร

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน จากการศึกษารูปแบบกระบวนการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ด พบวาในปจจุบันมีวิธีการอยู 3 รูปแบบท่ีใชกันในครัวเรือนและกลุมเกษตรกรคือ แบบอัดแทง แบบรีดเปนแทงและแบบจานฉีดพนน้ําใหเปนเม็ด ซึ่งในแตละรูปแบบจะมีขอดี ขอเสีย แตกตางกันไปเชน แบบอัดจะมีการสึกหรอเร็วมากโดยเฉพาะใบมีด แบบจานจะมีราคาคอนขางสูง สวนแบบรีดราคาปานกลาง แตใหประสิทธิภาพและคงทนกวา แตการนําวัสดุใสเครื่องลําบาก จึงพัฒนาทอลําเลียงแบบเกรียวมาประยุกต เพ่ือใหการทํางานสะดวกขึ้น 4. รายละเอียดผลงาน เคร่ืองอัดเม็ดปุยอินทรียแบบประยุกต เปนการนํารูปแบบการทํางานของเคร่ืองมือ 2 ชนิด มารวมกันคือ เคร่ืองอัดเม็ดปุยแบบ Pellet mill กับทอลําเลียงขาวเปลือกแบบเกลียวสวานท่ีเกษตรกรใชลําเลียงขาวเปลือกจากพ้ืนท่ีสูรถบรรทุก เพ่ือชวยประหยัดแรงและเวลาใหสะดวกและงายตอการทํางาน จากการศึกษาหลักการทํางานของเคร่ืองมือท้ังสอง จึงนํามาสูการประยุกตใช โดยมือฝายชางที่เปนนักศึกษา และชางมืออาชีพ อธิบายในส่ิงท่ีเราตองการใหมืออาชีพชวยในส่ิงท่ีเกินกําลังความสามารถ และท่ีสุดก็ไดนําเคร่ืองมือท่ีประยุกตแลว มาทดสอบกับเคร่ืองยนตการเกษตรและมอเตอรไฟฟา พบขอบกพรองก็ทําการแกไข เชน เสียงดัง กําลังไมพอ รอบไมถึง จนกระท่ังพัฒนาปรับเปล่ียนเครื่องมือดังกลาวใหอยูดังรูปรางที่เห็น ซึ่งมีขีดความสามารถในการทํางานท่ีมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพกําลังการผลิตเปนที่นาพอใจไดระดับหนึ่ง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะเฉพาะของผลงานส่ิงประดิษฐ 1. สามารถอัดเม็ดปุยอินทรียไดทุกชนิด 2. ในความชื้นนอย ทําใหไมเสียเวลาตากนาน 3. สามารถอัดเม็ดปุยไดไมต่ํากวา 100 กิโลกรัมตอชั่วโมง 4. มีทอสงวัสดุไปยังกระบอกอัดเม็ด 5. สามารถปฏิบัติงานไดเพียงคนเดียว 6. ในความชื้นที่เหมาะสมเม็ดปุยท่ีไดสามารถนําไปใชหรือเก็บไดเลย 7. สามารถใชไดท้ังกับเคร่ืองยนตการเกษตร,มอเตอร 3 แรง 3 เฟส หรือ 5 แรง 2 เฟส 8. สามารถเคล่ือนท่ีไปตามจุดตางๆ ท่ีมีวัตถุดิบได 5. สถานภาพของผลงาน มีตนแบบแลว 6. สถานท่ีติดตอ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน: ผาทอเสนใยกัญชงอินทรียแบบยกดอกสําเร็จรูป

(Organic Hemp Textile Weaving Apparatus)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ดีดี เนเจอร คราฟ จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สืบเนื่องจากปจจุบันผาทอจากใยกัญชงไดรับความนิยมอยางมากในตลาดตางประเทศ ตามกระแสของการรณรงคการใชเสนใยผาจากธรรมชาติปราศจากสารเคมี (Organic fiber) และคุณสมบัติท่ีดีของผาใยกัญชง ทําใหความตองการของตลาดเพิ่มมากขึ้นเรื่อย บริษัท ดีดี เนเจอร คราฟ จํากัด เปนผูผลิตรายแรกและรายเดียว ในการผลิตผาทอใยกัญชงมานานกวา 6 ป โดยในข้ันตอนการทอจะมี 2 แบบ คือ การทอดวยมือ และการทอดวยเคร่ืองจักร แตเดิมในอดีตใชการทอดวยมืออยางเดียว แตพบปญหาหลัก คือ ลวดลายการทอไมสม่ําเสมอ แตพอนําเคร่ืองจักรมาชวยในการทอทําใหเกิดความยุงยากและเสียเวลาในการปรับแตงเคร่ืองทอ เนื่องจากเสนใยกัญชงจะมีความหยาบและขนาดไมสม่ําเสมอ

4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเทศดานผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตผาทอเสนใยกัญชงแบบ

ยกดอกสําเร็จรูป โดยการออกแบบและพัฒนาเคร่ืองทอผาแบบมือสําหรับเสนใยกัญชง โดยการสรางกี่ทอมือ 20 ตะกอ โดยใช 2 ขาเหยียบ และมีระบบมวนผาอัตโนมัติ รวมท้ังการปรับฟนหวีและตะกอใหมีขนาดใหญเปนพิเศษสําหรับรองรับการใชเสนใยกัญชงที่มาจากธรรมชาติและผานการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท ดีดี เนเจอร คราฟ จํากัด เลขท่ี 4 หมูบานสุดจิตตนิเวศน ซอย 1 ตรอก 3 ถนนพระราม 2 แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ ฯ 10150

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน: การบมเพาะผูประกอบการเกษตรอินทรีย Organic Enterprise Incubation 2. ชื่อเจาของผลงาน: มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน สืบเนื่องจากปญหาคอขวดสําคัญประการหนึ่งของการพัฒนาเกษตรอินทรียในประเทศไทยก็คือ การท่ีผูประกอบการขาดความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการหวงโซเกษตรอินทรีย ตั้งแตการสงเสริมการผลิตกับเกษตรกรรายยอย การบริหารจัดการระบบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย และการบริหารหวงโซผลิตภัณฑ ทําใหการพัฒนาเกษตรอินทรียในประเทศไมสามารถขยายตัวไปไดอยางกวางขวาง 4. รายละเอียดผลงาน มูลนิธิสายใยแผนดินรวมกับสมาคมการคาเกษตรอินทรียไทยไดริเร่ิมพัฒนากระบวนการฝกอบรมและการเปนพ่ีเล้ียงท่ีปรึกษาใหกับผูประกอบการไทยที่สนใจท่ีจะพัฒนาโครงการเกษตรอินทรียของตัวเอง โดยเริ่มตั้งแตการสัมมนาใหความรูกับผูบริหารของหนวยงาน (หลักสูตร 3 - 4 วัน) การจัดอบรมเจาหนาท่ีฝายปฏิบัติการ ท่ีรับผิดชอบโครงการเกษตรอินทรียและการทํางานกับเกษตรกร (หลักสูตร 12 วัน) และกระบวนการในการเปนพ่ีเล้ียง เพ่ือใหคําปรึกษาและคําแนะนํากับผูประกอบการ จนกระท่ังสามารถดําเนินโครงการเกษตรอินทรียประสบความสําเร็จตามเปาหมาย (รวมระยะเวลาอีก 10 เดือน)

5. สถานภาพของผลงาน มีรูปแบบ เน้ือหา และกระบวนการตางๆ พรอมใหบริการกับผูประกอบการแลว 6. สถานท่ีติดตอ

มูลนิธิสายใยแผนดิน 6 ซ.วัฒนานิเวศน7 ถ.สุทธิสาร แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร 02-277-9380-1, 02-277-9653 โทรสาร 02-277-9654

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ไบโอคลีน BioClean 2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิศักดิ์ อุปริวงศ 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน ไบโอคลีน ผลิตโดยโครงการไบโอคลีน ซึ่งวิวัฒนาการจากโครงการวิจัยปุยน้ําชีวภาพหลากหลายโครงการที่ผานมา (ไดแก โครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภาพชุมชนเกษตรเทพารักษ ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนการวิจัย ป พ.ศ. 2545 จากทบวงมหาวิทยาลัย ในขณะนั้น และโครงการผลิตปุยน้ําชีวภาพ ซึ่งไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย ป พ.ศ. 2546 จากมหาวิทยาลัยขอนแกน) ดวยทุนสวนตัวเริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2546 เพ่ือแกไขปญหาเรื่องกล่ินจากการใชปุยน้ําชีวภาพ ดวยเหตุนี้กระบวนการผลิตไบโอคลีนจึงเลือกใชวัตถุดิบจากดอกไมนานาพันธุ เพ่ือใหมีกล่ินหอมสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการ โดยมีเปาหมายหลักเพ่ือใชเปนผลิตภัณฑเพ่ือส่ิงแวดลอม เชน การบําบัดน้ําเสีย การกําจัดกล่ินในหองน้ํา/ทอ/รอง/รางระบายน้ํา/บอพักน้ําเสีย ฯลฯ และประยุกตใชในการปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ รวมท้ังการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ 4. รายละเอียดผลงาน ไบโอคลีน เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภาพชนิดหน่ึงท่ีผลิตจากกระบวนการหมักดอกไมนานาพันธุ 14 ชนิด อาทิเชน ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง ดอกกลวยไม ดอกพุทธรักษา ดอกบัว ฯลฯ และใชกากน้ําตาลเปนสารอาหาร ทําการหมักโดยใชหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ ไบโอเทค-1 และหรือหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ มข.1 โดยท่ีหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภาพ มข.1 เปนหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสายพันธุ ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย ศ.ดร.ชัยทัศน ไพรินทร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินการเสร็จส้ิน และมีผลิตภัณฑตนแบบ 6. สถานท่ีติดตอ

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002 โทรศัพทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: [email protected]

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน บานหญาแฝก Vetiver grass house 2. ชื่อเจาของผลงาน ศูนยเรียนรูเกษตรอินทรียทะเลแกว เพ่ือขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน การสรางบานหญาแฝก เปนการสงเสริมใหคนไทยมีบานแบบประหยัด ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พรอมๆ กับการสงเสริมใหคนไทยหันปลูกหญาแฝก ดวยการเพ่ิมรูปแบบการใชประโยชนของหญาแฝกใหมากขึ้น และยังเปนทางเลือกใหผูท่ีสนใจท่ีอยากจะมีบานไดเขามาศึกษาและทดลองทําบานหญาแฝก จากท่ีเคยเห็นการสรางบานดิน บานไมไผหรือบานฟาง มาแลวกอนหนาน้ี 4. รายละเอียดผลงาน ใชหญาแฝกที่มีใบยาวไดขนาด ตัดใบมาตากแดด ผึ่งใหแหงแลวนํามาคลุกกับดินเหนียวท่ีเตรียมไว จากนั้นนํามากอเปนผนังบาน ยึดโครงดวยไมไผ แลวตกแตงตามที่ตองการ โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังรูป

5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินงาน 6. สถานท่ีติดตอ

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก โทรศัพท 055-267 080 ตอ 5000

Vetiver Fiber-Clay Composite

Fresh Vetiver Grass

Sun-Dried

Preparation

Vetiver Fiber Bundle

Natural Clay

Clay Slurry

Composite

Vetiver Fiber-Clay Composite

Testing

Part a & bProperties of VF & Clayaaaaaaaaaaaaaaaaaaa

1.1 Properties of VF- Natural Moisture Content- Water Absorption Test- Direct Tensile Strength

1.2 Properties of Clays- Specific Gravity- Moisture Content- Liquid Limit and Plastic Limit- Shrinkage Limit- Particle Size Analysis byHydrometer

Part dConstruction of

Vetiver-Clay SiloDemonstration to

evaluate thePerformance

Part cMechanical and Physical

Properties of VFCC

2.1 Direct Tensile Strength

2.2 Axial CompressiveStrength

2.3 Flexural Strength

2.4 Direct Shear Strength

2.5 Bearing Strength

2.6 Density of VFCC- ASTM D2395-83

Dried Vetiver Fiber Sun-Dried Clay

Parametric Studies

• Ages of Vetiver6, 12 and 18 months

การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน : “สรีรารมย” รานสปาอินทรียรักษาสุขภาพ (“Sareerarom” Organic Medical Spa)

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท มายด เบลนเดอร จํากัด และ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

3. ท่ีมาและความสําคัญของผลงาน โครงการตนแบบสปาอินทรียรักษาสุขภาพหรือ Organic Medical Spa นี้ จึงเปนสวนหน่ึงของการสรางรูปแบบธุรกิจนวัตกรรมดานการบริการ เพ่ือเปนสวนหน่ึงของการสงเสริมตลาดเกษตรอินทรีย ท่ีใชวัตถุดิบภายในประเทศ และยังเปนการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) เพ่ือดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติ อีกดวย โครงการตนแบบนี้จะเริ่มตนจากโปรแกรมการรักษาอาการปวดหลังดวยวิธีการทางเวชศาสตรเพ่ือปรับสมดุลกลามเนื้อของคลินิค Back & Spa by Sareerarom เปนรายแรก 4. รายละเอียดผลงาน

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเทศดานการบริการ ดวยโปรแกรมการปรับสมดุลกลามเนื้อตออาการปวดหลังตามคําแนะนําโดยแพทยและนักกายภาพบําบัด เปนการรักษาดวยการใชรังสีอินฟาเรด Ultrasound และแผนความรอนชวยในการปรับสมดุลกลามเนื้อในระดับลึก รวมถึงการนวดบําบัดดวยผลิตภัณฑสปาท่ีเปนอินทรียท้ังหมด นับเปน Organic Medical Spa แหงแรกในประเทศไทย

4. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินโครงการ

5. สถานท่ีติดตอ - บริษัท มายด เบลนเดอร จํากัด 152 หมู 14 บางนาตราด บางพลี สมุทรปราการ 10540 - สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400