ospe psu 2555

145
คู่มือ ทักษะตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ ของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สภาเภสัชกรรม สรุป OSPE ตุลาคม 2555 Rx 28-29 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Upload: busayamas-boonrakchart

Post on 01-Dec-2015

6.586 views

Category:

Documents


60 download

DESCRIPTION

ทักษะตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สภาเภสัชกรรม

TRANSCRIPT

คู่ม ือ

ทักษะตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ

ของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สภาเภสัชกรรม

สรุป OSPE ตุลาคม 2555 Rx 28-29

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 1

สารบัญ

เรื่อง

เทคนิคทางเภสัชกรรม

การระบุชนิด/ร ูปแบบของยาจากลักษณะภายนอก

การตรวจสอบลักษณะของยาที่เส ื่อมคุณภาพ ยาหมดอาย ุ

การพ ิจารณาวันหมดอายุ หรือคาดการวันหมดอายุจากวันผลิต และการ

ก าหนดวันส ิ้นส ุดการใช้ยา

การแนะน าการใช้และการเก็บรักษายาบางชนิดที่ส าคัญ

การเลือกบรรจุภ ัณฑ์ให ้เหมาะสมกับชนิด/ร ูปแบบของยา

การคัดเล ือกผลิตภ ัณฑ์ยาที่ม ีค ุณภาพโดยพ ิจารณาข้อก าหนดมาตรฐานของ

ผลิตภ ัณฑ ์

เทคนิคการชั่ง

เทคนิคการตวง

เทคนิคการลดขนาดผงยาและการผสม

เทคนิคการกรอง

เทคนิคการหลอม

เทคนิคการเตรียมยาเตรียม

เภสัชกรรมคลินิก

การซ ักประวัติ การจ่ายยาและการให ้ค าแนะน า/การส ่งต่อแพทย์

การตรวจสอบใบสั่งยา/ซองยา/ความเหมาะสมของการส ั่งใช้ยา

การนับเม ็ดยาด้วยถาดนับเม ็ดยา/การจัดท าฉลาก

ยาเทคนิคพ ิเศษ

การให ้ค าแนะน าส าหรับยาที่ต ้องระมัดระวังในการใช้

อาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยา

การประเมินผลการตรวจทางห ้องปฏิบ ัติการ

หน้า

3

10

12

14

15

17

20

22

24

27

28

29

37

41

47

53

75

85

89

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 2

สารบัญ

เรื่อง

การสืบค้นข ้อมูลจากแหล่งข ้อมูลที่เหมาะสม

หนังส ือทางเภส ัชกรรม

การค านวณทางเภสัชกรรม

การค านวณทางคลินิก

การค านวณทางเคมี

การค านวณทางเทคโนโลยีเภส ัชกรรม

ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ

พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510

พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต ่อจิตและประสาท พ.ศ.2518

พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ้ทษ พ.ศ.2522

พระราชบัญญัติวิชาชีพเภส ัชกรรม พ.ศ.2537

ข้อบังคับสภาเภส ัชกรรม

ว่าด้วยจรรณยาบรรณแห่งวิชาชีพเภส ัชกรรม พ.ศ.2538

คณะผู้จัดท า

หน้า

101

108

111

114

116

125

131

137

139

143

1

หากมีข ้อผ ิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ด ้วย

คณะผู้จัดท า

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 3

เทคนิคทางเภสัชกรรม

การระบุชนิด/รูปแบบของยาจากลักษณะภายนอก

แนวข้อสอบ

ออกข้อสอบปีละ 1 -2 ข้อ โดยน าเภส ัชภ ัณฑ ์ในรูปแบบต่างใส ่ไว ้ในขวด ไม่ม ีฉลากระบุใดๆทั้งส ิ้น

ทั้งหมด 5 ผลิตภ ัณฑ ์ ไม่สามารถเปิดขวดได้ จ ับขวดได้หรือไม่ขึ้นอยู่ก ับสนามสอบ

เนื้อหา

ชนิดของเภสัชภัณฑ ์ รูปตัวอย่าง

Bulk powders

ยาผงบรรจุในขวดหรือกระปุก

ปากกว้าง สามารถใช้ช้อนตวง

แ บ่ ง ผ ง ย า ใ ห ้ ไ ด้ ข น า ด ต า ม

ต้องการ

Mucilln® (Isphagula husk) Agiolax® (Isphagula husk+Senna)

Divided powders

ยาผงแบ่งบรรจุในบรรจุภ ัณฑ ์

ตามขนาดการใช้ มักแบ่งบรรจุ

ในซองเพ ื่อให ้สะดวกในการใช้

โดยส่วนใหญ ่ต้องละลายน้ า

ก่อนรับประทาน

Mucilln® (Isphagula husk) ORS

Dusting powders

(แป้งโรยผิวหนัง)

ประกอบ ด้ว ยตัว ย าที่ เป ็นผ ง

ละเอียดซ ึ่งกระจายบนผิวหนัง

ได้ดี

ผงพ ิเศษ ยาผงโยคี

Granules

ยาผงที่ท า ให ้ผ งยาเกาะ ติดกัน

เป็นอนุภ าค ใหญ ่ขึ้น ขนา ด

ระหว่าง 0.2–4 mm

Agiolax® (Isphagulahusk+Senna) Fluimucil® (Carbocysteine)

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 4

ชนิดของเภสัชภัณฑ ์ รูปตัวอย่าง

Effervescent granules

ยาแกรนูลที่ เม ื่อน าไปผสมน้ า

จะเกิดฟองฟ ู่ของก๊าซ เพ ื่อกลบ

รสเฝื่อนของยาทาให ้รสชาติดี

ขึ้น

ENO®

Hard gelatin capsules

เปลือก capsule ทาจาก gelatin

ประกอบด้วยส ่ว น cap และ

body ซึ่งบรรจุยาผงอยู่ภ ายใน

ห รื อ บ ร ร จุ เ ม ็ ด ก ล ม เ ล็ ก ๆ

(pellets)

Soft gelatin capsules

เปลือก capsule ทาจาก gelatin

และสารช่วยหยุ่น ยาที่บรรจุ

ภายในอาจเป็นของเหลว ยาน้ า

แขวนตะกอน หรือยากึ่งแข็ง

Vitamin E Isotretinoin

Plain compressed tablets

ยาเม็ดตอกอัดธรรมดา ผิวของ

เม็ดยาจะไม่แวว เหมือน Film-

coated tablets

Multiple compressed tablets

ยาเม็ดตอกอัดหล ายชั้น จะมี

ลักษณะของเม็ดยาเป็นชั้นๆสี

ต่างกัน

Magesto® Decolgen®

Effervescent tablets

ขน าด ขอ ง เ ม็ ด ย าจ ะมี ขน า ด

ใหญ ่ จ น ไม่ส าม ารถ กลืน ไ ด้

ส่วนมากจะมีลักษณะกลม เม ื่อ

ใส ่ล งไป ในน้ า จ ะ เกิดฟ อ ง ฟ ู่

ของก๊าซ

CDR®

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 5

ชนิดของเภสัชภัณฑ ์ รูปตัวอย่าง

Sugar-coated tablets

ยาเม็ด เคลือบน้ าตาล ลักษณะ

เม็ดจ ะแวว ไม่ม ีเหลี่ยมหรือ

ขอบของเม็ดยาชัดเจน และจะ

ไม่ม ีตัวอักษรหรือส ัญลักษณ์ใด

บนเม็ดยา

Film-coated tablets

ยาเม็ดเคลือบฟ ิล์ม ลักษณะเม็ด

จะแวว มีเหลี่ยมหรือขอบของ

เม็ด ย าชั ด เ จ น แล ะมัก จ ะ มี

ตัวอักษรหรือส ัญลักษณ์ใดบน

เม็ดยา

Lozenges, Troches

ยาอมเม็ดแข็ง ใช้อม เพ ื่อให ้ตัว

ยาออกฤทธิ์ในช่องปาก

Pastilles, Jujubes

ยาอมเม็ดนิ่ม

Pills

ยาเม็ดที่ม ีล ักษณะปั้นหรือตอก

อัดเม็ด เป็นก้อนกลม และต้อง

กลืนลงไป โดยไม่เคี้ยวหรืออม

ไว้

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 6

ชนิดของเภสัชภัณฑ ์ รูปตัวอย่าง

Rectal suppositories

ยาเหน็บท วารหนัก ตัวย าจ ะ

ละลายหรือกระจายตัวอยู่ในยา

พ ื้ น ที่ ห ล อ ม ห รื อ ล ะ ล า ย ที่

อ ุณหภูม ิของร่างกายหลังสอด

ใส ่ ลักษณะส่วนใหญ ่เหมือน

ดังรูป

Vaginal suppositories ,

Pessaries

ลักษณะเม็ดค่อนข้างใหญ ่ ไม่

สามารถกลืนได้ง่าย นิยมทาใน

ลักษณะรูปแบบเม็ดแบน ปลาย

ด้านหนึ่ง เรียว เพ ื่อให ้ส อดได้

ง่าย

Solutions

ตัวยาที่เป ็นสารละลายใส ไม่

หนืด

Syrups

ยาน้ า เชื่ อ ม ชนิด รั บป ระท าน

กระส ายยาแต่งรสหว านด้ว ย

น้ าตาลหรือสารแต่งรสหวาน มี

ลักษณะหนืด

Elixirs

ยาน้ ารับประทานมีน้ ากระสาย

ยาประกอบด้วยน้าและ alcohol

แต่งรสหวานด้วยน้าต าลหรือ

สารแต่งรสหวาน มีลักษณะใส

มีรสหวาน ใช้รับประทาน

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 7

ชนิดของเภสัชภัณฑ ์ รูปตัวอย่าง

Spirits (เหล ้ายา)

เป ็นส ารละลายของสารห อม

ร ะ เ ห ย ใ น alcohol ห รื อ

ส ่วนผสมของน้ าและ alcohol

Spirit ที่ม ีตัวยาประกอบอยู่ใน

ต า รับ มัก อยู่ ใน รูปส ูดดมหรือ

รับประทาน

Mixtures

ย า น้ า ผ ส ม ใ ช้ รั บ ป ร ะ ท า น

อนุภาคยาละ เอียดเป็น colloid

กระจายตัวในน้ ากระสายยาที่

เ ห ม า ะ ส ม มี ลั ก ษ ณ ะ ขุ่ น

เล็กน้อย

ยาธาตุน้ าแดง ยาแก้ไอน้ าด า

Suspensions

(ยาน้ าแขวนตะกอน)

ประกอบด้วยตัวยาที่ไม ่ละลาย

แ ล ะ แ ข ว น ต ะ ก อ น ใ น น้ า

กระสายยาที่เหมาะสม มีความ

ห นื ด เ ล็ ก น้ อ ย อ า จ ใ ช้

รับประทานหรือใช้ภายนอกก็

ได้

ยาลดกรดชนิดน้ า ยาธาตุน้ าขาว

Emulsions

ประกอบด้วยตัวยาเป็นน้ าม ัน

กระจายตัวในน้ ากระสายยาที่

เหมาะสม

Scott's® emulsion (Cod liver oil)

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 8

ชนิดของเภสัชภัณฑ ์ รูปตัวอย่าง

Lotions

ใช้ท า ภ ายน อกโ ดยไม่ ต้อ ง ถู

นวด ประกอบด้วยตัวยาส าคัญ

ที่ละลายหรือกระจายตัวในน้ า

กระสายยาที่เหมาะสม อาจจะ

เป็น Suspensions Solutions

Emulsions

Liniments

ยาทาถูนวด ใช้ทาภายนอกโดย

การถูนวด ประกอบด้วยตัวยา

หนึ่ง ห รือ ม าก กว่า ห นึ่ง ชนิ ด

ละลายผสมในยาพ ื้นที่เป ็นน้า

มันหรือ emulsions Creams

ย า ค รี ม ใ ช้ ท า ภ า ย น อ ก

ประกอบด้วยตัวยากระจายตัว

ในยาพ ื้นที่เป ็น emulsion

Ointments (ยาขี้ผ ึ้ง)

ใช้ทาภายนอกประกอบด้วยตัว

ยาละลายหรือกระจายตัวในยา

พ ื้ น ที่ เ ป ็ น มัน ไ ม่ ล ะ ล า ย น้ า

เพ ื่อให ้เคลือบคลุมผิวได้ดี

Pastes

มักใช้ทาเฉพาะที่ เช่น ในช่อง

ปาก มักมีลักษณะแข็งกว ่าและ

เ ป็ น มั น น้ อ ย ก ว่ า ย า ขี้ ผ ึ้ ง

เ นื่ อ ง จ า ก มี ผ ง ย า ผ ส ม อ ยู่

มากกว่ายาขี้ผ ึ้ง

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 9

ชนิดของเภสัชภัณฑ ์ รูปตัวอย่าง

Gels

ใช้ทาภายนอกมีลักษณะใส

Emulsion gels, Emulgels

ใช้ท าภ ายนอ กมีลัก ษณ ะขุ่ น

เล็ก น้อ ย ส าม า รถ ซึม เ ข้า ส ู่

ผ ิวหนังได้ดี ละลายน้ าง่ายไม่

เหนียวเหนอะหนะ

Paints (ยาป้าย)

ใช้ป ้ายทาฆ่าเชื้อแก้เจ ็บคอ

Transdermal patches

(ยาแผ่นแปะผิวหนัง)

เภส ัชภ ัณฑ ์ยาตา ห ูจมูกและคอ (eye, ear, nose and throat preparations)

เภส ัชภ ัณฑ ์ยาฉีด (parenteral products)

เภส ัชภ ัณฑ ์ควบคุมการปลดปล่อยยา (controlled released products)

ระบบการน าส ่งยา (drug delivery systems)

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 10

เทคนิคทางเภสัชกรรม

การตรวจสอบลักษณะของยาที่เส ื่อมคุณภาพ ยาหมดอายุ

เภส ัชกรสามารถตรวจสอบและแยกยาที่ เส ื่อ มคุณภาพ และยาห มดอ ายุได้จ าก การส ัง เกตการ

เปลี่ยนแปลงทางกายภาพของเภส ัชภ ัณฑ ์ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของ ส ี กลิ่น รส ความเป็นกรดด่าง ความ

ข้นหนืด การแตกหัก ส ึกกร่อน การตกตะกอน การจับเป็นก้อนแข็ง การแยกชั้น การละลาย

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่พบได้บ ่อยและบ่งบอกความไม่คงสภาพของผลิตภ ัณฑ ์ยามีดังนี้

1. เภสัชภัณฑ ์ในรูปแบบของแข็ง เภส ัชภ ัณฑ ์ในรูปแบบของแข็งควรเก็บในบริเวณที่ม ีความชื้นต่ า

ดังนั้นจ ึงควรเก็บใน tight container หรือในภาชนะบรรจุจากบริษ ัทผู้ผลิต สภาพที่ม ีไอน้ าหรือหยดน้ าหรือ

ยาจ ับกันเป็นก้อนภายในภ าชนะบรรจุแสดงถึงสภาพที่ไม่ดี ถ ้า เภส ัชกรส ังเกต เห ็นสารกันความชื้น

(desiccant) ภายในภาชนะบรรจุจากบริษ ัทผู้ผลิตแสดงว่าควรระมัดระวังความชื้นในการเก็บยาและควรบอก

ผู้ป ่วยเมื่อจ ่ายยา สารที่เก ิดจากการสลายตัวบางชนิด เช่น salicylic acid ที่สลายตัวจาก aspirin สามารถระเห ิด

และตกผลึกกลับมาเกาะอยู่ตามผนังของภาชนะบรรจุ

Hard Gelatin Capsules และ Soft Gelatin Capsules การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของ

เปลือก ซ ึ่งท าจากเจลาตนิ เช่นการเปลี่ยนแปลงความยืดหยุ่น ความแข็ง ความนุ่ม ชี้ให ้เห ็นถึงความไม่คงตัว

ของผลิตภ ัณฑ ์ เปลือกของยาแคปซูลที่เก ็บในสภาวะที่ไม่เหมาะสมอาจนิ่มและติดกัน หรือแข็งและแตกแม้ม ี

แรงกดอ่อนๆ

Uncoated Tablets ยาเม็ดที่คงตัวต้องมีขนาด รูปร่าง น้ าหนักและสีเหมือนตอนที่เริ่มผลิตตลอดอายุ

ของยา นอกจากนี้การแตกกระจายตัวและการละล ายต้องไม่เปลี่ยนแปลง เกินข้อก าหนดในเภสัชต ารับ

ลักษณะความไม่คงตัวทางกายภาพของยาเม็ด ส ังเกตได้จากผงยาจ านวนมากหรือ เศษ เม็ดยาที่แตกร่อน

ออกมาจากเม็ดยาที่ก ้นภาชนะ รอ ยร้าว หรือรอ ยบิ่นที่ผ ิว เม ็ด ยา เม ็ดยาบ วม ร อยด่างที่เม ็ด ยา ( เ รียกว ่า

mottling) เม ็ดยาเปลี่ยนส ี เม ็ดยาเกาะติดกัน หรือผลึกที่เม ็ดยาหรือที่ผนังของภาชนะบรรจุ

Coated Tablets ลักษณะที่ไม่คงตัวทางกายภาพคือ รอยร้าว ร อยด่าง ที่เม ็ดยา สารที่ใช้เคลือบ

เหนียว และเม็ดยาเกาะกันเป็นก้อน

Dry Powders and Granules อาจเกาะกันเป็นก้อนแข็งหรือเยิ้มเหลว ผงยาและแกรนูลที่ต้องผสม

น้ าให ้อยู่ใ นรูปของสารละล ายหรือย าน้ า แขวนตะกอนก่อนใช้ ม ัก เป็นยาปฏิชีวนะหรือว ิตามินที่ไวต่ อ

ความชื้น ลักษณะความไม่คงสภาพได้แก่ การจับกันเป็นก้อนแข็ง การมีหยดน้ า เกาะข้างผนังภาชนะบรรจุ

ด้านใน นอกจากนี้ต้องส ังเกตสีและกลิ่นของผลิตภ ัณฑ ์ทั้งในรูปผงแห ้งและหลังจากผสมน้ าแล้ว

Effervescent Tablets, Granules, and Powders มีความไวต่อความชื้นส ูง ลักษณะความไม่คง

สภาพ ได้แก่ การบวมของซองบรรจุเนื่องจากแรงดันจากก๊าซ ที่เก ิดจากปฏิกิริยาของสารประกอบ ยาเม็ดอาจ

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 11

มีความแข็งมากขึ้นไม่เกิดการฟ ู่เม ื่อผสมน้ า ยาผงฟ ู่อาจมีลักษณะชื้น เยิ้ม เหลว ไม่เกิดฟองฟ ู่เม ื่อผสมน้ า

เรียกว ่า เกิด dead mixture

Rectal suppositories ลักษณะความไม่คงสภาพคือ อ่อนนุ่ม เกินไป โค้งงอ มีคราบน้ าม ันที่กล่อง

บรรจุ ยาเหน็บทั่วไปควรเก็บในตู้เย็น (2 -8 ºC)

Vaginal suppositories ต้องมีขนาด รูปร่าง น้ าหนักและสีเหมือนตอนที่เริ่มผลิตตลอดอายุของยา

ลักษณะความไม่คงสภาพคือ การแตกหัก กร่อน บิ่นของเม็ดยา

2. เภสัชภัณฑ ์ในรูปแบบของเหลว ความไม่คงสภาพอาจสังเกตจากสารละลายขุ่นหรือตกตะกอน

อิม ัลชันแยก ยาน้ าแขวนตะกอนไม่สามารถแขวนลอยได้หลังจากเขย่าขวด การ เจริญของเชื้อจ ุล ินทรีย์ การ

เปลี่ยนแปลงของสี กลิ่นและรส

Solutions, Elixirs, และ Syrups ลักษณะที่แสดงถึงความไม่คงสภาพที่ส าคัญ ได้แก่ การขุ่น การ

ตกตะกอน การเกิดก๊าซจากปฏิกิริยาเคมี การเจริญของเชื้อจ ุล ินทรีย์ การเปลี่ยนแปลงของสี กลิ่นและรส

Emulsions ลักษณะไม่คงสภาพของอิม ัลชันคือ การแยกชั้น (cracking) ของผลิตภ ัณฑ ์ ไม่ส ามารถ

ผสมเข้ากันได้เม ื่อเขย่า การเจริญของเชื้อจ ุล ินทรีย์ การเปลี่ยนแปลงของสี กลิ่นและรส

Suspensions ลักษณะไม่คงสภาพคือ การเกิดก้อนแข็ง (caking) ซึ่ง เป ็นลักษณะที่ผงยาไม่ส ามารถ

กระจายตัวแขวนตะกอนได้อีกด้วยแรงเข ย่าปานกลาง หรือผ งยาที่ม ีขนาดอนุภาค โตขึ้น การเจริญขอ ง

เชื้อจ ุล ินทรีย์ การเปลี่ยนแปลงของสี กลิ่นและรส

Tinctures และ Fluidextracts ลักษณะไม่คงสภาพคือ มักมีส ีเข้มขึ้น การเจริญของเชื้อจ ุล ินทรีย์

การเปลี่ยนแปลงของสี กลิ่นและรส

Sterile Liquids ลักษณะไม่คงสภาพคือ การปนเปื้อนของเชื้อจ ุล ินทรีย์ในของเหลวปราศจากเชื้อ

ม ักส ังเกตไม่ได้ด้วยตาเปล่า การขุ่น การเปลี่ยนส ี การเกาะกันเป็นก้อนแข็งของผงยา หรือการเกิดก๊าซ การมี

อนุภาคปนเปื้อน

3. เภสัชภัณฑ ์รูปแบบกึ่งแข ็ง

Creams ลักษณะความไม่คงสภาพ ได้แก่ การแยกของอิม ัลชัน การโตของผลึก (crystal growth)

ความข้นหนืดเปลี่ยนไป การหดตัวของเนื้อครีมเนื่องจากการระเหยของน้ า การเจริญของเชื้อจ ุล ินทรีย์ การ

เปลี่ยนแปลงของสีและกลิ่น

Ointments ลักษณะความไม่คงสภาพ ได้แก่ การแยกของของเหลว เช่น น้ าม ันออกมาจากยาขี้ผ ึ้ง

(bleeding) ความข้นหนืดเปลี่ยนไป การเกิดเม็ดหยาบ การเจริญของเชื้อจ ุล ินทรีย์ การเปลี่ยนแปลงของสีและ

กลิ่น

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 12

เทคนิคทางเภสัชกรรม การพิจารณาวันหมดอายุ หรือคาดการวันหมดอายุจากวันผลิต และการก าหนดวันส ิ้นส ุดการใช้ยา

1. การด ูว ันหมดอายุของผลิตภัณฑ ์ยาส าเร็จรูปที่จ ่ายโดยเภสัชกร ให ้พ ิจารณาจากฉลาก ผลิตภ ัณฑ ์

ยาและผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพทุกชนิดต้องบอกวันหมดอายุ (expiration date) ท ี่เข้าใจได้ง่ายและชัดเจน โดยทั่วไป

ก าหนดวันหมดอายุของยาเม็ดไม่เกิน 5 ปี และยาน้ า 2 -3 ปี นับจากวันที่ผลิตเมื่อเก็บภายใต้สภาวะที่ก าหนด

หรือเมื่อก าหนดไว้เป ็นอย่างอื่น ถ้าว ันหมดอายุของยาระบุไว ้ในรูป “เดือน/ปี” หมายถึงว ันส ุดท้ายของเดือนที่

ก าหนด ว ันหมดอายุท ี่ก าหนดโดยบริษ ัทผู้ผลิตนี้ไม ่ส ามารถน าไปใช้กับผลิตภ ัณฑ ์ที่แบ่งบรรจุในภาชนะ

บรรจุท ี่แตกต่างไปจากเดิม

2. การก าหนดวันสิ้นสุดการใช้ (beyond-use date) ว ันส ิ้นส ุดการใช้เป ็นว ันที่ก าหนดและระบุฉลาก

ของภาชนะที่จ ่ายให ้ผ ู้ป ่วยโดยเภส ัชกรได้ก าหนดเป็นว ันที่ผ ู้ป ่วยควรส ิ้นส ุดการใช้ผลิตภ ัณฑ ์นั้น

- การก าหนดวันสิ้นสุดการใช้ ของผลิตภัณฑ ์ยาจากบริษ ัทผ ู้ผล ิตที่จ ่ายโดยเภสัชกร

ให ้ใช้ตามวันหมดอายุของผลิตภ ัณฑ ์หรือภายใน 1 ปีจากวันที่จ ่ายยา (dispensed) โดยให ้เลือกใช้

ว ันที่ส ั้นกว่า

การก าหนดดังกล่าวเป็นการก าหนดระยะเวลาการใช้ท ี่ยาวที่ส ุด ซ ึ่งสภาพจริงอาจจะสั้นกว่าเนื่องจาก

มีป ัจจ ัยที่ม ีผลต่อคุณภาพเมื่อผู้ป ่วยได้รับผลิตภ ัณฑ ์ยาไป

- การก าหนด วันสิ้นอายุการใช้ ของยาที่ปรุงโดยเภสัชกร

ส าหรับยาเตรียมทั่วไปซึ่งเป ็นการก าหนดระยะ เวลาเมื่อ เก็บรักษาในภาชนะปิดแน่น ป้องกันแสง

และเก็บที่อ ุณหภูม ิห ้อง (tight, light-resistant containers stored at controlled room temperature ) ดังนี้

1) ต ารับยาเตรียมรูปแบบของเหลวที่ไม่ใช่น้ า (non-aqueous) หรือรูปแบบของแข็ง ท ี่เตรียมจาก

ผลิตภ ัณฑ ์ยาส าเร็จรูปเป็นแหล่งของตัวยาส าคัญ ก าหนดวันสิ้นอายุการใช้ ไม่เก ิน 25% ของอายุผล ิตภัณฑ ์ท ี่

เหล ือหรือ 6 เด ือนโดยเล ือกใช้ระยะเวลาที่ส ั้นกว่า เช่น ถ้าน า diazepam tablet ที่เหลือว ันหมดอายุ 1 ปี มาบด

เตรียมเป็นยาแคปซูลจะมีว ันส ิ้นส ุดการใช้ เท ่ากับ 3 เดือน (25% ของ 1 ปี) แต่ถ้าเตรียมจากตัวยาส าคัญที่เข้า

ตามมาตรฐานเภสัชต ารับ จะมีว ันส ิ้นส ุดการใช้ไม่เกิน 6 เดือน เช่น เตรียมจาก Diazepam USP powder

2) ต ารับยาเตรียมที่ใช้น้ าท ี่เตรียมจากผลิตภัณฑ ์ยาส าเร็จรูป เป ็นแหล่งของตัวยาส าคัญหรือจากตัว

ยาส าคัญที่เข้ามาตรฐานตามเภส ัชต ารับ ก าหนดวันสิ้นอายุการใช้ไม่เก ิน 14 ว ัน เมื่อเก ็บในที่เย็น เช่น ในตู้เย็น

เช่นเตรียม Diazepam oral suspension จาก Diazepam tablet หรือ Diazepam USP powder จะมีว ันส ิ้นอายุ

การใช้ไม่เกิน 14 ว ัน แต่ถ้าม ีข้อมูลการศึกษายืนยัน เช่น มีข้อมูลว ่าความคงตัวอาจถึง 60 ว ัน ก็อาจก าหนดวัน

ส ิ้นส ุดการใช้ ให ้ยาวขึ้นกว่า 14 ว ันได้

3) ต ารับอื่นๆก าหนดวันส ิ้นอายุการใช้ไม่เกินระยะเวลาที่ใช้ในการรักษา (duration of therapy ) หรือ

30 ว ัน โดยเลือกระยะเวลาที่ส ั้นกว่า แต่ถ้าม ีข้อมูลการศึกษายืนยันว ่าความคงตัวยาวกว่า นี้ ก ็ส ามารถก าหนด

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 13

ยาวกว่า 30 ว ันได้ เช่น เตรียม Diazepam suppositories จาก Diazepam tablet (ว ันหมดอายุเหลือ 1 ปี) หรือ

Diazepam USP powder จะมีว ันส ิ้นส ุดการใช้ 3 เดือน (25% ของวันหมดอายุ 1 ปีของ Diazepam tablet) หรือ

6 เดือน (ตามวันหมดอายุเกิน 6 เดือนของ Diazepam USP powder) หรืออาจก าหนดไม่เกิน 30 ว ันหรือตาม

ระยะเวลาการรักษา

4) การก าหนดวันส ิ้นส ุดการใช้ของยาเตรียมโดยเภส ัชกรขึ้นเอง จะต้องพ ิจารณาจากวันหมดอายุของ

สารทุกชนิดที่ใช้ในการปรุงยา ว ันหมดอายุของผลิตภ ัณฑ ์น่าจะต้องส ั้นกว่าว ันหมดอายุของสารแต่ละชนิดที่

เป ็นส ่วนประกอบการก าหนดวันส ิ้นอายุการใช้ จะต้องพ ิจารณาปัจจ ัย ได้แก่ คุณสมบัติความคงตัวของสาร

ลักษณะของสารที่รวมกันอยู่ในส ูตรต ารับ ลักษณะรูปแบบยาที่เตรียม ว ิธ ีการเตรียมยา การบรรจุและการเก็บ

รักษา

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 14

เทคนิคทางเภสัชกรรม

การแนะน าการใช้และการเก็บรักษายาบางชนิดที่ส าคัญ

การเก็บรักษายาภายใต้สภาวะที่ก าหนดซึ่งรวมถึงการขนส่งไปถึงผู้ใช้ผลิตภ ัณฑ ์ยา ได้แก่

1. อุณหภูมิ ได้แก่

- ช่องแช่แข็ง ( freezer ) -25 °C ถึง -10 °C

- ที่เย็นจ ัด (cold) ส ูงไม่เกิน 8 °C

- ตู้เย็น (refrigerator) 2-8 °C

- ที่เย็น (cool) 8-15 °C การเก็บในที่เย็น ( in a cool place) อาจเก็บรักษาในตู้เย็น

- อุณหภูม ิห ้อง (room temperature) อุณหภูม ิของอากาศแวดล้อมในห้อง

- อุณหภูม ิห ้องแบบควบคุม (controlled room temperature, CRT) ควบคุมที่ 20-25 °C

- ที่อ ุ่น (warm) 30-40 °C

- ที่ร้อนหรืออุณหภูม ิส ูงเกิน (excessive heat) ส ูงเกิน 40 °C

- ป้องกันการเยือกแข็ง (protection from freezing) เก็บไว ้ส ูงกว ่า 0 °C

- ในที่แห ้ง (dry place) เก็บแบบ CRT (20-25 °C) โดยมีความชื้นส ัมพ ัทธ ์ (relative humunity, RH) ส ูง

ไม่เกิน 40%

- ในกรณีไม่ระบุอุณหภูม ิการเก็บรักษา ให ้เก็บโดยป้องกันความชื้น การเยือกแข็งหรืออุณหภูม ิส ูงเกิน

โดนเก็บที่ CRT

เภส ัชภ ัณฑ ์หลายชนิดต้องเก็บในที่เย็น โดยเฉพาะที่อ ุณหภูม ิต่ ากว ่า 15 °C เช่นยาเหน็บทวารหนัก ยา

ปฏิชีวนะในรูปแบบยาน้ าแขวนตะกอน ผลิตภ ัณฑ ์ที่ม ีน้ าม ันหอมระเหย และครีมบางชนิดที่ ต้องเก็บใน

ที่เย็น ส ่วนยาฉีดอินซ ูลินควรเก็บที่อ ุณหภูม ิ 2 -8 (หรือ 10) °C คือในตู้เย็นแต่ไม่ใช่ช่องแช่แข็ง

ยาน้ าเชื่อมอาจมีป ัญหาการตกผลึกของน้ าตาล จ ึงควรหลีกเลี่ยงเก็บในตู้เย็น

2. ความชื้น ยาในรูปแบบของแข็งควรป้องกันความชื้น ผลิตภ ัณฑ ์เหล่านี้ควรบรรจุในภาชน ะที่ป ้องกัน

อากาศและความชื้นได้ และควรชี้แจงให ้ผ ู้ป ่วยปิดฝาหลังจากใช้ย า ยาผงที่แบ่งบ รรจุในกล่อง/ห ่อ

กระดาษควรเก็บในที่แห ้ง

3. แสง ขวดสีชาใช้ป ้องกันผลิตภ ัณฑ ์ที่ไวต่อแสง การใส ่กล่องช่วยป้องกัน แสงได้ ภาชนะบรรจุไม่ควร

ส ัมผัสแสงอาทิตย์โดยตรงแม้จะเป็นภาชนะป้องกันแสงก็ตาม

4. การติดไฟ ผลิตภ ัณฑ ์ที่ม ีตัวท าละลายอินทรีย์ท ี่ต ิดไฟได้ควรมีฉลาก “ติดไฟได้ เก็บให ้ห ่างจากเปลวไฟ ”

ตัวอย่าง ยาเตรียม Salicylic Acid Lotion BP ที่ใช้กับหนังศีรษะ ควรแนะน าให ้หลีก เลี่ยงการเป่าผมให ้

แห ้งในบริเวณใกล้ไฟหรือเปลวไฟ

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 15

เทคนิคทางเภสัชกรรม

การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับชนิด/รูปแบบของยา

ภาชนะที่ม ีการส ัมผัสกับยาเตรียมโดยตรงตลอดเวลา ซึ่งรวมถึงส ่วนของ closure เรียกว ่า immediate

container ภาชนะที่ใช้ไม่ควรท าปฏิกิริยากับยาเตรียมที่บรรจุอยู่ท ั้งทางกายภาพและเคมี จนท าให ้ความแรง

(strength) คุณภาพ (quality) และความบริส ุทธ ิ์ (purity) ของยาเตรียมเปลี่ยนแปลงไปเกินกว่าที่ก าหนดไว้

ตามเภส ัชต ารับ เภส ัชต ารับก าหนดภาชนะส าหรับบรรจุยาเตรียมชนิดต่างๆส าหรับเภส ัชกรและผู้จ ่ายยาดังนี้

- บรรจ ุภัณฑ ์ก ันเด ็กเป ิด (child resistant packaging) เป ็นบรรจุภ ัณฑ ์ที่ม ีการป้องกันไม่ให ้เด็กเล็ก

เปิดได้ง่าย ตัวอย่างเช่น ออกแบบฝาปิดขวดยาให ้ขณะหมุนเปิดออกต้องมีการกดฝาด้วย หรือ กดฝาลงและ

ยกขึ้นเพ ื่อให ้ฝาเปิดออก

- บรรจ ุภัณฑ ์ก ันเป ิดก ่อน (tamper resistant packaging, tamper evident packaging, tamper proof

packaging) เป ็นบรรจุภ ัณฑ ์ที่ได้ม ีการปิดผนึกไว ้ซ ึ่งจะต้องท าลายหรือฉีกผนึก เหล่านั้น เม ื่อต้องการเปิด

ภาชนะบรรจุยา ว ัตถุประสงค์เพ ื่อให ้เกิดความปลอดภัยแก่ผ ู้ใช้

- ภาชนะต้านแสง (light-resistant container) ภาชนะบรรจุท ี่สามารถปกป้องยาจากแสง เช่น ภาชนะ

บรรจุส ีชาหรืออาจใช้ภาชนะใส ปราศจากสีหรือโปร่งแสงซ ึ่งม ีการห ุ้มภาชนะด้วยว ัสดุท ึบแสง ในกรณีนี้

ต้องมีฉลากที่ระบุว ่าภาชนะนี้ต้องปิดด้วยว ัสดุท ึบแสงจนกว่าจะมีการใช้หรือจ ่ายยา light-resistant container

ใช้ส าหรับบรรจุยาที่ระบุว ่า “protect from light” (หรือป้องกันแสง)

- ภาชนะปิดอย่าด ี (well-closed container) เป ็นภาชนะบรรจุท ี่ใช้ป ้องกันยาจากฝุ่นละอองภายนอก

และป้องกันการส ูญเส ียยาที่บรรจุอยู่ ภายใต้สภาวะการใช้ ขนส่ง เก็บรักษา และระหว่างการจ่ายยา

- ภาชนะปิดแน่น (tight container) เป ็นภาชนะบรรจุท ี่ป ้องกันยาจากการปนเปื้อนของสารจาก

ภายนอกทั้งในสภาวะของเหลว ของแข็งและก๊าซ ป้องกันการส ูญ เส ียยา และป้องกันการเปลี่ยนแปลงจาก

การเส ียน้ าผลึก (efflorescence) การชื้นเหลวของยาจากการดูดน้ า (deliquescence) หรือการระ เหย ภายใต้

สภาวะการใช้ ขนส่ง เก็บรักษาและระหว่างการจ่ายยา และยังสามารถปิดได้แน่นหลังจากเปิด ใช้ อาจใช้

ภาชนะปิดสนิท (hermetic container) แทน ในกรณีของยาที่ม ีการจ ่ายแบบ single dose ได้

- ภาชนะปิดสนิท (hermetic container) เป ็นภาชนะบรรจุท ี่ป ้องกันซ ึมผ่านของอากาศหรือก๊าซอื่นๆ

ภายใต้สภาวะการใช้ ขนส่ง เก็บรักษาและระหว่างการจ่ายยา

- ภาชนะบรรจ ุยาหน่วยเด ียว (single-unit container) เป ็นภาชนะบรรจุท ี่บรรจุยาในปริมาณที่พอดี

กับหนึ่งหน่วยขนาดยา (single dose) และมีการใช้ท ันทีหลังจากเปิดภาชนะ ดังนั้น immediate container

และ/หรือ หีบห ่อภายนอกควรมีลักษณะ เป็น tamper-resistant packaging ด้วย แต่ละ single-unit container

ควรมีฉลากแสดงเอกลักษณ์ ปริมาณ และ /หรือความแรง ชื่อบริษ ัทผู้ผลิต รุ่นผลิต (lot number) และวัน

หมดอายุของยาเตรียมด้วย

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 16

- ภาชนะบรรจ ุหนึ่งมื้อยาภาชนะบรรจ ุหนึ่งหน่วยขนาดยา (single-dose container) คือ single-unit

container ที่ใช้บรรจุยาเตรียมที่เป ็นยาฉีดเท่านั้น จึงควรแสดงฉลากในลักษณะเดียวกัน เช่น pre-filled

syringes, cartridges, fusion-sealed containers และ closure-sealed containers

- ภาชนะบรรจ ุหนึ่งมื้อยาภาชนะ (unit-dose container) คือ single-unit container ที่ใช้บรรจุยา

เตรียมที่ไม่ใช่ยาฉีด

- ภาชนะบรรจ ุยาหลายขนาด (multiple-unit container) คือภาชนะบรรจุท ี่บรรจุยาที่ไม ่ใช่ยาฉีด

ยอมให ้ม ีการน ายาเตรียมออกจากภาชนะในปริมาณต่างๆโดยไม่เปลี่ยนแปลงความแรง คุณภาพ และความ

บริส ุทธ ิ์ของยาเตรียมที่เหลือ

- ภาชนะบรรจ ุหลายมื้อยา (multiple-dose container) คือ multiple-unit container ส าหรับยาฉีด

เท่านั้น

ภาชนะบรรจุสามารถผลิตจากวัสดุต่างๆ เช่น แก้ว พลาสติก โลหะ ซ ึ่งม ีคุณสมบัติในการป้องกัน

แสง ความชื้น แตกต่างกัน

ภาพตัวอย่าง

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 17

เทคนิคทางเภสัชกรรม การคัดเล ือกผลิตภัณฑ ์ยาที่มีคุณภาพโดยพิจารณาข้อก าหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ ์

แนวข้อสอบ

ลักษณะของข้อสอบจะให ้ใบ Certificate ของยามา 1 ชนิด กับเกณฑ์ข้อก าหนดในหัวข้อต่างๆ หรือ

เปรียบเทียบยาจาก 2 บริษ ัท ซ ึ่งม ีตัวยาส าคัญเดียวกันกับเกณฑ์ข้อก าหนดในหัวข้อต่างๆ ในฐานะที่ท ่านเป็น

เภส ัชกร ให ้อธ ิบายข้อมูลและเกณฑ์ต่างๆของยาดังกล่าวให ้แก่ผ ู้อ านวยการโรงพยาบาลฟ ังเพ ื่อพ ิจารณายาเข้า

โรงพยาบาล

ตัวอย่าง Certificate

Certificate of analysis

Product Name : CALTAB-1250

Registered No. : 1A 251/45 Batch Size : 400,000 tablets

Lot & Control No. : CUT1204 Mfg. Date : 11-01-12

Analytical No. : 1201/135 Exp. Date : 11-01-16

Active Ingredients : Each tablet contains : Calcium carbonate 1250.0 mg

Equivalent to calcium 500.0 m g

Description White ,oblong ,biconvex, with engraved “CALTAB” on one side and “1250” on the other

TESTS REQUIREMENT RESULTS

Identification Positive Positive

Range of mean weight 293.0-332.6 m g/tab 1406.64 mg/tab

Uniformity of dosage units

(Weight variation)

Acceptance value is not more than L1

(L1 = 15.0)

1.9%

Disintegration time Not more than 10 mins 6 mins 54 seconds

Dissolution Not less than 75% (Q)of LA of Calcium carbonate

is dissolved in 30 minutes

Min. 87.2%, Max 98.0%

Av. 93.3%

Acid neutralizing capacity Not less than 5 mEq of acid is consumed by the

minimum single dose recommended in the

labeling and not less than 22.5 mEq/tab

23.2 mEq/tab

Assay 92.5-107.5 %LA of Calcium carbonate 99.7%

Reference : USP 30

Raw material : Calcium Carbonate Light Batch No. 12610

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 18

วิธ ีการอธ ิบายใหพ้ ูดดังนี้

1. บอกชื่อตัวยาส าคัญว่าชื่ออะไร ปริมาณเท่าไหร่ ม ีชื่อทางการค้าว ่าอย่างไร

2. ให ้บอกเกณฑ์แต่ละห ัวข้อเป็นชื่อภาษาอังกฤษ และภาษาไทยแปลว่าอะไร โดยมีเกณฑ์ก าหนดอย่างไร

และยาของเรานั้นผ่านเกณฑ์แต่ละข้อหรือไม่

3. สุดท้ายให ้สรุปด้วยว ่าควรพ ิจารณายาดังกล่าวเข้าโรงพยาบาลหรือไม่ เพราะอะไร

เนื้อหา : ตัวอย่างค าที่ควรรู้ความหมาย

Active ingredient ตัวยาส าคัญ

Metabolite สารที่เป ็นผลผลิตจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงสารในร่างกาย

Description ลักษณะเฉพาะทางกายภาพของยา การตรวจลักษณะของผลิตภ ัณฑ ์

Identification การตรวจพ ิส ูจน์เอกลักษณ์ของยา แบ่งเป็น

- Chemical test เป ็นการตรวจสอบทางเคมี เพ ื่อพ ิส ูจน์ว ่าเป ็นสารที่ต้องการหรือไม่

- Chromatographic method เป ็นการตรวจวิเคราะห ์สารต่างๆโดยใช้เทคนิคทางโครมาโตกราฟ ี เช่น

HPLC, IR

Uniformity of dosage unit ความสม่ าเสมอหรือความเป็นเนื้อเดียวกันของยาเม็ดแต่ละหน่วย สามารถ

ท าการประเมินได้จาก 2 วิธ ี

- Weight variation (ความแปรปรวนของน้ าหนัก)

- Content uniformity (ความสม่ าเสมอของตัวยาส าคัญในยาเม็ด )

Type ≥ 25 mg และ ≥ 25% < 25 mg หรือ < 25%

Uncoated WV CU

Film coated WV CU

Other coated CU CU

Thickness การหาความหนาของยาเม็ด ความหนาของยาเม็ดขึ้นกับ ปริมาณตัวยาส าคัญ สารเติมแต่ง

ขนาดของ punch-die แรงตอกอัด การไหลของแกรนูล

- เครื่องมือ ชื่อ Teclock micrometer caliper

- หลักหน่วยอ่านหน้าปัดเล็ก 1 ต าแหน่ง ทศนิยมอ่านหน้าปัดใหญ ่ 3 ต าแหน่ง หน่วย mm

Hardness การหาความแข็งของเม็ดยา

- เครื่องมือ ชื่อ Stoke-Monsanto hardness tester

- อ่านค่าที่ได้บนสเกล ทศนิยม 1 ต าแหน่ง หน่วย kg

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 19

Friability ค่าความกร่อนของเม็ดยาหาได้จากส ูตร

% ความกร่อน = (น้ าหนักก่อนการทดสอบ – น้ าหนักหลังการทดสอบ) х 100

น้ าหนักก่อนการทดสอบ

เกณฑ์การประเมินตาม USP 30

1. กรณีมีเม ็ดยาห ักหรือแตกหลังการทดสอบ ถือว ่าตัวอย่างไม่ผ ่านการทดสอบ

2. กรณีไม่ม ีเม ็ดยาแตกหรือห ัก และค่า % ความกร่อนที่ห ายไปน้อยกว่า target value (<1.0%) ถือว ่า

ผ่านการทดสอบ

3. กรณีไม่ม ีเม ็ดยาแตกหรือห ัก และค่า % ความกร่อนที่หายไปมากกว่า target value ให ้ทดสอบเพ ิ่มอีก

2 ครั้ง หาค่าเฉลี่ยของน้ าหนักที่หายไป โดยน้ าหนักที่หายไปจะต้องไม่เกิน 1.0 %

Disintegration time เวลาในการแตกตัวของเม็ดยา

Dissolution การละลายของยา/การปลดปล่อยตัวยาออกจากเม็ดยา

- Apparatus 1 เรียกว ่า basket ใช้กับ ยาเม็ดแข็ง

- Apparatus 2 เรียกว ่า paddle ใช้กับ capsule

- การประเมินมี 2 วิธ ี คือ Unit sample และ Pooled sample (ถ้าไม่ก าหนดใน monograph จะใช ้ Unit sample)

Acid neutralizing capacity ความสามารถในการสะเทินกรด

pH การตรวจหาความเป็นกรด -ด่าง

Particulate matter การตรวจหาการปนเปื้อนของอนุภาคแปลกปลอม

Sterility การทดสอบความปราศจากเชื้อ ผลการเพาะเชื้อไม่พบเชื้อขึ้น

Loss on drying เป ็นการทดสอบเพ ื่อหาปริมาณความชื้นและสารระเหยอื่นๆที่ระ เหยได้ ณ อุณหภูม ิท ี่

ก าหนด

Bacterial endotoxins test เป ็นเกณฑ์มาตรฐานในการก าหนดคุณลักษณะเฉพ าะของยาฉีด เพ ื่อดูว ่า มี

สารปนเปื้อนที่ก ่อให ้เกิดไข้ในผลิตภ ัณฑ ์ยาฉีดนั้นหรือไม่

Assay การวิเคราะห ์หาปริมาณตัวยาส าคัญ

Degradation product การตรวจสอบการรั่วซ ึมของภาชนะบรรจุยาฉีด

Average weight (Range of mean weight) ค่าเฉลี่ยน้ าหนัก

Heavy metal โลหะหนัก จะเป็นเกณฑ์หนึ่งที่ก าหนดปริมาณที่สามารถปนเปื้อนได้

TMAX เวลาที่ใช้ในจนกว่าความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดส ูงส ุด

T 1/2 ค่าครึ่งชีว ิตของยา

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 20

เทคนิคทางเภสัชกรรม

เทคนิคการชั่ง

แนวข้อสอบ

ลักษณะข้อสอบในปัจจ ุบ ันจะเป็น station ที่ต้องมีการท าข้อสอบต่อเนื่องกัน 2 station คือชั่ง station

นึงแล้ว น าสารไปใช้ station ต่อไป โดยโจทย์ท ี่ให ้มาจะเป็นส ูตรต ารับ ต้องระวังให ้ดีว ่าโจทย์ให ้ชั่งสารอะไร

แล้วค านวณปริมาณสารที่ต้องชั่ง (ไม่ต้องรีบอ่านโจทย์หรือรีบค านวณเร็วเกินไป)

เนื้อหา

การเล ือกใช้ว ัสด ุหรือภาชนะรองรับ ในการชั่ง

1. กระดาษ

- กระดาษธรรมดา : ใช้ชั่งยาที่เป ็นของแข็ง ผงแห ้งไม่ซ ึมเนื้อกระดาษ

- กระดาษแก้วหรือกระดาษมัน : ใช้ชั่งสารกึ่งแข็งและสารที่ซ ึมในกระดาษธรรมดา (ถ้ากระดาษหนา

ไม่พอให ้วางซ ้อนกระดาษธรรมดา)

การพ ับกระดาษชั่ง ใช้กระดาษสะอาด ตัดเป็นรูปส ี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดเหมาะสมกับปริม าณสารที่

ต้องการชั่ง เช่น 8×10 cm วิธ ีการพ ับกระดาษเพ ื่อป้องกันสารหก สามารถพ ับได้หลายแบบ เช่น

- การพ ับกระทงแบบมีปลายเปิด 1 ด้าน

- การพ ับทแยง (เหมาะกับงานวิเคราะห ์ เพ ื่อเทสารใส ่ volumetric flask)

2. กระจกนาฬิกา : ใช้ชั่งสารที่เป ็นของเหลว สารกึ่งแข็งปริมาณมาก สารที่หนืดน าออกจากกระดาษยาก

(Petrolatum/Vaseline) สารที่ก ัดกระดาษ (Iodine) สารที่เม ื่อวางไว ้ท ี่บรรยากาศแล้วเยิ้มเป็นน้า /ชื้นได้ง่าย

(NaOH, KOH)

3. บีกเกอร์ : ใช้ชั่งของเหลว

4. ถ้วยชั่ง : มีหลายรูปร่าง ท าจากวัสดุหลายชนิด เช่น อลูม ิเนียม พลาสติก

** White bee wax, Stearyl alcohol, Cetyl alcohol ------ กระดาษธรรมดา

** Wool fat, White petrolatum ------ กระดาษแก้วหรือกระดาษมัน

การเข ียนชื่อสารและน้ าหนักที่ต ้องการชั่ง

โดยเขียนลงบนภาชนะรองรับในการชั่งสาร ทั้งนี้ให ้ห ลีกเลี่ยงมิให ้สารส ัมผัสกับบริเวณที่ใช้เขียน

การอ่านฉลาก

อ่านครั้งท ี่ 1 : ก่อนหยิบ

อ่านครั้งท ี่ 2 : ก่อนชั่งสาร

อ่านครั้งท ี่ 3 : หลังชั่งสารก่อนเก็บขวด

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 21

การใช้เครื่องชั่งไฟฟ ้า (top loading balance)

1. พับกระดาษชั่งแบบกระทง

2. เขียนชื่อยาและน้ าหนักที่ต้องการชั่ง

3. ปรับสมดุลของเครื่องชั่ง ให ้ส ังเกตฟองอากาศอยู่ตรงกลางเป็นตัวบ่งชี้สมดุล (ในขั้นตอนนี้เนื่องจากเวลา

จ ากัดอาจมีการปรับเครื่องชั่งให ้สมดุลแล้ว ซึ่งจะแจ้งให ้ผ ู้สอบทราบ )

4. Tare เครื่องชั่ง

5. อ่านฉลากขวดยา ครั้งที่ 1 (ก่อนหยิบ)

6. หยิบขวดยา อ่านฉลากครั้งท ี่ 2 (ก่อนเปิดฝา)

7. เป ิดฝาขวด วางฝาหงายบนพื้นที่สะอาด

8. ชั่งสารตามปริมาณที่ต้องการ

9. เม ื่อได้ปริมาณที่ต้องการ ยกกระดาษชั่งออกจากจานชั่ง

10. Tare เครื่องชั่ง

11. ท าความสะอาดเครื่องชั่งด้วยแปรงปัด

12. ปิดฝาขวดยาให ้สนิท อ่านฉลากครั้งท ี่ 3 (ก่อนเก็บ)

การชั่งผงยา

เม ื่อใกล้จะได้ปริมาณตามที่ต้องการให ้ค่อยๆ เคาะผงยาลงบนกระดาษชั่ง หากน้ าหนัก เกิน สามารถ

ตักคืนลงขวดได้ ยกเว ้นสารนั้นเป็นสารที่ไวต่อความชื้นให ้ตักทิ้งไป

การชั่งของเหลวข้นหนืด

ปริมาณน้อย ------ ใช้กระจกนาฬิกา

ปริมาณมาก ------ ใช้บ ีกเกอร์

กรณีที่ไม ่ม ีเค รื่อ งชั่งท ี่ม ีค ว าม ไวที่ เหม าะส ม การชั่งของ เหลวปริม าณน้อยอ าจ ใช้ก ารเทียบ

(calibrate) จ านวนหยดของของเหลวต่อกรัม แล้วค านวณปริมาณหยดตามปริมาณน้ าหนักที่ต้องการ

การชั่งสารก ึ่งแข ็ง

ใช้ spatula 2 อัน หรือ spatula กับแท่งแก้วคน ช่วยในการตักสาร

ปริมาณน้อย ------ ใช้กระดาษแก้วหรือกระดาษมัน

ปริมาณมาก ------ ใช้กระจกนาฬิกาหรือบีกเกอร์

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 22

เทคนิคทางเภสัชกรรม

เทคนิคการตวง

แนวข้อสอบ

ลักษณะข้อสอบในปัจจ ุบ ันจะเป็นเทคนิครวมอยู่ใน Station เตรียมยาน้ าจากยาเม็ดซะส่วนใหญ ่

เทคนิคการตวงสาร

1. เลือกกระบอกตว งให ้เห มาะสมกับปริมาณของเห ลวที่ต้องการตว ง โดยเลือกกระบอกตว งขนาดที่

ใกล้เคียงกับปริมาณที่ต้องการตวงมากที่ส ุด ห ้ามตวงปริมาตรที่น้อยกว่า 20% ของปริมาตรความจุของ

ภาชนะ

ความจุ (mL) ปริมาตรต่ าส ุดที่ตวงได ้ (mL)

5 1

10 2

25 5

50 10

100 20

500 100

2. เขียนชื่อสารและปริมาณที่ต้องการตวงลงบนฐานกระบอกตวง

3. อ่านฉลากครั้งท ี่ 1 (ก่อนหยิบ)

4. หยิบขวดยา เปิดฝาขวด วางฝาหงายบนพื้นที่สะอาด

5. ถือกระบอกตวงด้วยมือข้างที่ไม ่ถนัด โดยวางฐานกระบอกตวงตรงไว้ระหว่างนิ้ว

6. อ่านฉลากครั้งท ี่ 2 (ก่อนตวง) ถือขวดยาด้วยมือข้างที่ถนัด โดยให ้ด้านที่ม ีฉลากอยู่ในอุ้งม ือ

7. ยกกระบอกตวงระดับสายตา แตะขวดยากับปากกระบอกตวง รินยาออกจากขวดช้าๆ หากตวงยาหกหรือ

หยด ใช้กระดาษเช็ดให ้สะอาดก่อนจะตวงต่อ โดยของเหลวใสจะอ่านปริมาตรตรงระดับ lower meniscus

คือส ่วนโค้งต่ าส ุดของของเหลว หากตวงได้ปริมาณเกินให ้เทส ่วนเกินออกจากกระบอกตวงทิ้ง ไม่เทคืน

ลงขวด

8. เม ื่อได้ปริมาณที่ต้องการให ้เทลงในภาชนะรองรับ

9. ปิดฝาขวด อ่านฉลากครั้งท ี่ 3 (ก่อนเก็บสาร)

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 23

การอ่านปริมาตร :

- ของเหลวใส (น้ า, แอลกอฮอล์) ------ อ่านปริมาตรที่ระดับ lower miniscus

- ของเหลวข้นหนืด (Mineral oil, Glycerin, Syrup) ------ อ่านปริมาตรที่ระดับ lower miniscus

- ของเหลวสีเข้ม (ด่างทับทิม/Potassium permanganate, Iodine soluton) ------ อ่านปริมาตรที่ระดับ

upper meniscus

การตวงของเหลวปริมาณน้อย

การตวงของเหลวปริมาณน้อยที่ไม่สามารถใช้กระบอกตวง ท าได้โดยการเทียบหยด (calibration

dropper)

ตัวอย่าง ตวงสาร A 0.8 mL

1. ใช้หลอดหยดดูดสารมา โดยให ้หลอดหยดตั้งตรงอยู่ในแนวดิ่ง

2. หยดสารลงในกระบอกตวงขนาดใดก็ได้ นับจ านวนหยดจนได้ปริมาตร 20% ของภาชนะบรรจุ

3. ค านวณจ านวนหยดของสารที่ต้องการตวง

สาร A ปริมาตร 2 mL ได้ x หยด

สาร A ปริมาตร 0.8 mL ได้ …… หยด

4. หยดของเหลวจ านวนเท่ากับจ านวนหยดที่ค านวณได้ลงในภาชนะรองรับ

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 24

เทคนิคทางเภสัชกรรม

เทคนิคการลดขนาดผงยาและการผสม

แนวข้อสอบ

ลักษณะข้อสอบมักเป็น station ต่อเนื่องมาจาก station ชั่งสาร ให ้อ่านโจทย์ดีๆ ว ่าก าหนดค่าอะไร

มาให ้บ ้าง อย่าท าด้วยความเคยชินเกินไป เช่น ค่าการละลายของสาร

เนื้อหา

เทคนิคการลดขนาดผงยา (Communication)

การลดขนาดโดยการบดผสมด้วยโกร่ง (Trituration)

ผงยาทั่วไป >> โกร่งกระเบื้อง

ผงยาติดส ี เช่น Activated charcoal , ผงขมิ้น >> โกร่งแก้ว

Calamine และ Sulfur เป ็นผงยาที่ไม ่ติดส ี จ ึงใช้โกร่งกระเบื้อง

การลดขนาดโดยการปาดบดหรือการบดให้เนียน (Levigation)

เป ็นเทคนิคการลดขนาดผงยาโดยใช้สารช่วยปาดบดหรือช่วยบดให ้เนียน ( levigating agent) ซ ึ่งเป ็น

ของเหลวหนืดที่สามารถท าให ้ผงยาเปียกแต่ไม่ละลายผงยา และเข้ากันได้กับยาพ ื้น เช่น glycerine, mineral

oil โดยทั่วไปมักใช้ slab & spatula หรืออาจท าโดยใช้โกร่งและลูกโกร่ง

การบด เป ็นผ ง ล ะเอ ียดโด ย ใช้ส ารช่ว ย เช่น ต ัวท าล ะล ายที่ร ะ เหยง่าย (Pulverization by

interventon)

ของแข็งบางชนิดเมื่อบดโดยตรงจะจับเป็นก้อนเหนียว เช่น Camphor, Menthol สามารถบดเบาๆ

โดยใช้โก่งแก้ว โดยการเติมแอลกอฮอล์ในปริมาณเล็กน้อยพอเปียกลงบนสารระหว่างบด โดยต้องบดเบาๆ

เม ื่อตัวท าละลายะเหยจะได้ผงละเอียด

เทคนิคการผสม ใช้เทคนิค geometric dilution

1. ใส ่ผงยาที่ม ีปริมาณน้อยที่ส ุดก่อน

2. เติมสารอื่นจ านวนเท่ากันกับที่ม ีอยู่ในโกร่ง บดผสมจนเข้ากันเบาๆ

3. เติมสารที่เหลือในลักษณะเท่ากับที่ม ีในโกร่งไปเรื่อยๆจนสารหมด

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 25

การบดผสมด้วยโกร่ง (trituration)

1) น าผงยาใส ่ตรงกลางของโกร่ง

2) มือข้างที่ไม ่ถนัดจ ับด้านข้างโกร่ง ม ือข้างที่ถนัดถือลูกโกร่งลักษณะคล้ายจ ับปากกา ห ันปากโกร่งออก

จากตัว

3) หมุนโกร่งตามเข็มนาฬิกา หรือทวนเข็มนาฬิกา จากก้นโกร่งขึ้นไปใกล้ขอบโกร่ง แล้วลงอีก สลับกัน

จนได้ผงยาละเอียดตามต้องการ

4) เทสารอื่นในปริมาณที่เท ่ากันลงไปบดผสม ตามหลักการ geometric dilution

5) หากผงยาติดข้างโกร่ง ใช้ม ือข้างที่ไม ่ถนัดถือ spatula แซะขูดได้ โดยไม่จ าเป ็นต้องวางลูกโกร่งลง เพ ื่อ

เปลี่ยนมาถือ spatula เพราะท าให ้เส ียเวลา และสูญเส ียผงยาจากลูกโกร่งที่น ามาวางพ ักไว ้ รวมทั้งอาจท า

ให ้เกิดการปนเปื้อนได้

6) บดผสมจนได้เป ็นเนื้อเดียวกัน

การผสมโดยใช้ slab และ spatula (spatulation)

1) วาง slab ที่ขอบโต๊ะให ้ส ันด้านล่างอยู่นอกขอบโต๊ะ เพ ื่อให ้ slab วางราบ มือข้างที่ไม ่ถนัดจ ับด้าม slab

2) เทผงยาลงกลาง slab ใช้ม ือข้างที่ถนัดจ ับ spatula การจับ spatula ให ้จ ับในลักษณะคว่ าม ือ นิ้วชี้ทาบไป

ตามแผ่น spatula

3) เติม levigating agent หรือ solvent โดยหยดในปริมาณที่พอให ้ผงยาเปียกทั่วบดผสมเป็นเลขแปดหรือ

วนเป็นขดลวดอย่างใดอย่างหนึ่งจนได้ smooth paste

4) วางยาพ ื้นบน slab ด้านข้างผงยา ใช้ spatula ปาดยาพ ื้นปริมาณใกล้เคียงกับผงยา ผสมแบบ geometric

dilution ท าเช่นนี้จนได้ครีมหรือขี้ผ ึ้งเป ็นเนื้อเดียวกัน

การผสมตัวยาเข ้าก ับยาพ ื้น (Incorporation)

1) ตัวยาเป ็นผง ไม่ละลายน้ า

บดผงยาให ้ละเอียดด้วย levigating agent จนได้ smooth paste จากนั้นน ามาผสมกับยาพ ื้นโดยวิธ ี

geometric dilution

การเลือก levigating agent จะต้องเลือก levigating agent ท ี่ผสมเข้ากับยาพ ื้น (base) ได้

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 26

Water in oil cream base

(Levigating agent = Mineral oil*)

Oil in water cream base

(Levigating agent = Glycerin, Propylene glycol)

- Water in oil cream base

- White ointment USP

- Wool alcohols ointment USP

- Simple ointment USP

- Emulsifying ointment BP

- Paraffin ointment

- Hydrophobic petrolatum USP

- Petrolatum**

- Cold cream

- Oil in water cream base

- Water soluble ointment base

- Hydrophilic ointment USP

- Macrogol ointment BP (PEG ointment USP)

- PEG base

- Vanishing cream

* Mineral oil มีชื่อพ ้องว ่า Liqid petrolatum, Liquid paraffin

** Petrolatum มีชื่อพ ้องว ่า Vaseline, Yellow soft paraffin, Soft paraffin

นอกจากการใช้ levigating agent ดังกล่าวแล้ว ยังอาจใช้ยาพ ื้นปริมาณ เล็กน้อยมาหลอมเพ ื่อใช้เป ็น

levigating agent ก็ได้

levigating agent คือ ของเหลวที่สามารถท าให ้ผงยาเปียกแต่ไม่ละลายผงยา และ เข้ากันได้กับยาพ ื้น

เช่น น้ า, glycerin, mineral oil

2) ตัวยาเป ็นผง ละลายน้ าได ้ (ให ้ดูจากค่าการละลายที่โจทย์ให ้มา)

ให ้น าตัวยามาละลายในน้ าปริมาณเล็กน้อย จากนั้นน าไปผสมกับยาพ ื้น ( base)

3) ตัวยาเป ็นของเหลวหรือเตรียมในรูปของเหลว

ให ้น าตัวยาดังกล่าวมาผสมกับยาพ ื้นได้เลย

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 27

เทคนิคทางเภสัชกรรม

เทคนิคการกรอง

แนวข้อสอบ

ลักษณะข้อสอบมักรวมอยู่ใน station เดียวกับการเตรียมยา Solution

เทคนิคการกรอง

1. เล ือกขนาดกรวยกรองให้พอเหมาะ เล ือกวัสดุช ่วยกรองที่เหมาะสม เช ่น กระดาษกรอง ส าล ี ผ้าขาว

บาง หากใช้กระดาษกรองควรอย ู่ต ่ ากว่าขอบกรวยประมาณ 0.5-1 cm

กระดาษกรอง (Plain Filter) ใช ้ก ับการกรองส าหรับเก็บตะกอน พ ับกระดาษกรองทบให้ได้ 60

องศา โดยพ ับทบสี่แล ้วให้เหลื่อมเล็กน้อย ฉีกมุมกระดาษกรองเล็กน้อย เพ ื่อให้กระดาษกรอง

แนบกรวย

กระดาษกรอง (Plaited Filter) ใช ้ส าหรับการกรองเพ ื่อเก็บน ายาที่กรอง พ ับกระดาษกรองแบบ

จีบให้ได้ 32 จีบ โดยการพ ับทบไปเรื่อยๆ ควรระวังให้ขนาดจีบเท่ากัน จีบเข้าออกสลับกัน ไม่

กร ีดส่วนปลาย

ส าลี ใช ้กรณีกรองฝุ่นผง และใช้ก ับของเหลวข้นหนืด เช ่น น า เช ื่อม สารสกัด ซึ่งไม่ควรกรอง

ด้วยกระดาษกรอง เน ื่องจากกรองได้ช ้ามาก เมื่อกรองเสร็จให้ใช ้แท่งแก้วกดบีบให้น ายาที่ค ้าง

ย ู่ในแผ่นส าล ีกรองให้หมด

ผ้าขาวบาง ใช ้กรณีกรองฝุ่นผง และใช้ก ับของเหลวข้นหนืด เช ่น น า เช ื่อม สารสกัด ใช ้ผ้าที่

สะอาดพ ับ 2 หรือ 4 ทบ วางบนกรวยกรอง (ยาขี ผ ึ งต้องกรองขณะร้อนและไม่ใช ้กรวยกรอง)

2. วางวัสดุช ่วยกรองลงในกรวย น ากรวยไปวางบน separatory funnel

3. ใช ้บ ีกเกอร์หรือ flask รองรับน ายาที่กรอง โดยให้ปลายกรวยด้านปลายตัดที่ย าวกว่าแตะที่ผนังบีก

เกอร์หรือ flask ตลอดการกรอง

4. ท ากระดาษกรองหรือส าล ีให้เปียกชื นด้วยน าหรือแอลกอฮอล์ ด้วยหลอดหยดพอเปียก

ลงท้ายด้วย -water (Perpermint water) ------ ใช ้น า

ลงท้ายด้วย -sprit ------ ใช ้แอลกอฮอล์

5. เทน ายาลงในกรวยกรองโดยใช้แท่งแก้วตั งตรงหรือเอียง 45 องศา น า ไม่ควรเทโดยตรงลงกลาง

กรวย เพราะกระดาษกรองอาจทะลุ

6. หากกรองสารที่ระเหยง่าย ให้น ากระจกนาฬิกาปิดที่กรวยกรองและใช้แผ่นฟ ิล ์มปิดปากภาชนะ

รองรับหรือใช ้ขวดปากแคบรองรับน ายาที่กรอง

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 28

เทคนิคทางเภสัชกรรม

เทคนิคการหลอม

เนื้อหา

1. เทคนิคการควบคุมและให้ความร้อน

1) การให ้ความร้อนโดยตรง (direct heat)

วางตะเกียง (burner) หรือเตาไฟฟ ้า (hot plate) บนแผ่นกระ เบื้องทนไฟ ระวังให ้ห ่างจากวัสดุติดไฟ

และเครื่องมืออื่น เช่น เครื่องชั่ง

การจุดตะเกียง ปรัล collar ที่ตะเกียงให ้อากาศเข้าพอเหมาะ

เป ิดก๊าซ จากนั้นจ ุดไฟ ปรับช่องอากาศ (air intake) จนได้เปลวไฟชนิด nonluminous flame เป ็นเปลว

ไฟสีฟ ้า

หากใช้ตะเกียง ให ้วางขาตั้ง (tripod) น าแผ่น wire gauze มาวางบนขาตั้ง

หากใช้เตาไฟฟ ้า ให ้น าแผ่น wire gauze มาวางบนเตาไฟ

ตั้งภาชนะที่ใส ่สารที่ต้องการให ้ความร้อนบน wire gauze เช่น beaker, casserole หากต้องการควบคุม

ความร้อนให ้ใช้เทอร์โมมิเตอร์ว ัดอุณหภูม ิท ี่ของเหลว

2) การให ้ความร้อนจากหม้ออังไอน้ า (water bath)

ใช้กรณีต้องการให ้ความร้อนแก่สารที่สลายได้ง่ายที่อ ุณหภูม ิไม่เกิน 100 °C เช่น wax, fat บางชนิด

หรือใช้ในการระเหยแห ้งสารที่ระเหยง่าย

เติมน้ าลง water bath พอประมาณไม่เต็มเกินไป ปิดฝา วางตั้งบนขาตั้งหรือ เตาไฟฟ ้าโดยไม่ต้องใช้

wire guaze

เม ื่อน้ าเดือด เปิดฝาที่เป ็นวงแหวนจนได้ขนาดที่พอตั้งภาชนะได้พอดี ตั้งภาชนะลงบนฝาให ้ไอน้ าแผ่

กระจายความร้อน (ในบางกรณี สามารถใช้ภาชนะจุ่มลงในหม้ออังไอน้ า)

2. การหลอม

หากจุดหลอมเหลวไม่ส ูงเกิน 100 °C ใช้หม้ออังไอน้ า ห ากสูงเกินให ้คว ามร้อนโดยคตรงอย่า ง

ระมัดระวังเพราะจะสลายง่าย

ใช้ casserole หรือ beaker ใส ่สารที่ต้องการหลอม โดยทั่วไปนิยมหลอมสารที่ม ีจ ุดหลอมเหลวสูงส ุด

ก่อน จากนั้นจ ึงต้องเติมสารที่ม ีจ ุดหลอมเหลวต่ ากว ่าลงมาเป็นล าดับ ( order of melting point) ในบาง

กรณี เช่นจ ุดหลอมเหลวของสารไม่ส ูงมากนักและมีค่าใกล้เคียงกัน อาจน ามาหลอมรวมกันได้

ใช้แท่งแก้วคนขณะให ้ความร้อนตลอดเวลา

หากมีฝ ุ่นผง ต้องกรองขณะร้อน โดยใช้ผ ้าขาวบาง (ไม่ต้องท าให ้เป ียก) ห ุ้มวางบนบีก เกอร์ขนาด

พอเหมาะโดยไม่ใช้กรวยกรอง เทสารที่หลอมเหลวลงบนผ้า ใช้แท่งแก้วบีบส ่วนค้างออกจนหมด

เนื้อหาสรุป OSPE ตุลาคม 2555 จัดท าโดย Rx 28–29 PSU ปรับปรุงเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 29

เทคนิคทางเภสัชกรรม

เทคนิคการเตรียมยาเตรียม

แนวข้อสอบ

ข้อสอบออก 1-3 ข้อมักออกการเตรียม suspension, syrup หรือการเตรียมแอลกอฮอล์ท ี่ความ เข้มข้น

ต่างกัน (ค านวณการเจ ือจางแอลกอฮอล์+เตรียม) โดยส่วนใหญ ่มักออกเป็น station ต่อเนื่อง 6 นาที

- การเตรียมต ารับ Mucilages ; Magmas ; Gels : bentonite, carbop ol, MC, suspension, syrup Etc.

- การเตรียมแอลกอฮอล์ท ี่ความเข้มข้นต่างกัน (ค านวณการเจ ือจางแอลกอฮอล์นั่นเอง)

เนื้อหา

การเตรียมต ารับ

ก่อนเตรียมต ารับเราควรที่จะรู้ค าย่อทั่วไปหรือค าย่อลาตินที่นิยมใช้ในทางเภส ัชกรรม เผ ื่อมีค านวณ

จะได้ค านวณได้ถูกต้องแม่นย า

ตัวอย่างค าย่อ

ค าย่อ ค าแปล

aa, อย่างละ

ad จนครบปริมาณ

div จงแบ่ง

d.t.d, DTD ให ้ยาในขนาดเช่นนั้น

DW น้ ากลั่น

et และ

ft.,Ft. ให ้ท า

fl.oz. fluid ounce = 30 ml

g. กรัม

gr. เกรน = 65 ml

gutt. หยด

M. จงผสม

ค าย่อ ค าแปล

mEq กรัมสมมูลย์

mg มิลลิกรัม

ml., mL. มิลลิลิตร

mmol มิลลิโมล

mOsm, mOsmol มิลลิออสโมล

No., # จ านวน

oz. ounce = 30 g

q.s. ad ปริมาณมากพอที่จะท าให ้ได้ครบ

Rx จงน าไป

Sig เขียนฉลาก

tbsp. ช้อนโต๊ะ = 15 ml

Tsp. ช้อนชา = 5 ml

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 30

การแปลงหน่วยที่ควรจ าได ้

1 kg = 2.2 lb (pound)

1 pint = 16 fl.oz. = 400 mL

2 pint = 1 quart

4 quart = 1 gallon

1 gallon = 3840 mL

1 grain = 65 mg

1 oz. = 30 g

1 fl.oz. = 30 mL

การเตรียมยารูปแบบของเหลวจากยาเม็ดหรือยาแคปซูล

ตัวอย่างที ่1 การเตรียม Metronodazole oral suspension จาก Metronidazole tablet 200 mg

Rx

Metronidazole 100 mg/tsp

Syrup 15 ml

Purified water q.s. to 2 fl.oz.

1.อันดับแรกต้องค านวณว่าใช้ metronidazole 200 mg กี่เม ็ด

Metronidazole ที่ต้องใช้ = (100 mg/5 ml) × 60 ml

= 1200 mg

จ านวนยาเม็ด 200 mg ที่ต้องใช้ = 1200 mg/ 200 mg

= 6 เม ็ด

จะต้องใช้เม ็ดยาจ านวน 6 เม ็ด

2.ว ิธ ีเตรียม

1) ใช้โกร่งกระเบื้องบดยาเม็ดจ านวน 6 เม ็ดให ้เป ็นผงละเอียด เติม syrup ลงไปในปริมาณพอให ้พ งยาเปียก

ทั่ว บดผสมเป็นเนื้อเดียวกัน จนได้ smooth paste

2) เติม syrup ที่เหลือทีละส ่วน (อย่างน้อยแบ่ง 2 ครั้ง) บดผสมให ้เข้ากันทุกครั้งท ี่เติม ( เวลาเทสารต้องมี

draining time โดยท าให ้เห ็นไม่ใช่แค่พ ูดออกมา)

3) ปรับปริมาตรในกระบอกตวง กลั้วล้างผงยาที่ติดในโกร่งลงในกระบอกตวงให ้หมด จากนั้น เติมน้ า

กระสายเพ ื่อปรับปริมาตรให ้ครบ 60 ml

4) เทกลับลงในบีกเกอร์ ผสมให ้เข้ากันอีกครั้งโดยใช้แท่งแก้วคน จากนั้นบรรจุขวด

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 31

ตัวอย่างที่2 การเตรียมยาสารละลาย Tetracycline solution 2.5 % w/v จาก Tetracycline capsule 250 mg

Rx

Tetracycline HCl 2.5 % w/v

M.Ft. Solution 1 fl.oz.(1*30 = 30 ml)

1. อันดับแรกต้องค านวณว่าใช้ tetracycline 250 mg กี่แคปซูล

Tetracycline HCl ที่ต้องใช้ = (2.5g/100 ml) × 30 ml

= 0.75 g

= 750 mg (อย่าลืมว ่าต้องเป็นหน่วยเดียวกัน !!!!)

ต้องใช้จ านวนยาแคปซูล 250 mg ที่ต้องใช้ = 750 mg/ 250 mg

= 3 แคปซูล

จะต้องใช้เม ็ดยาจ านวน 3 แคปซูล

2. ว ิธ ีเตรียม

1) น ายาแคปซูลแกะแยกเอาส ่วนเปลือกแคปซูลออกจากกัน เคาะให ้ผงยาออกจากแคปซูลจนหมด ลงใน

โกร่งหมดทั้ง 3 แคปซูล

2) เติมน้ าใช้ปริมาตร ¾ ของปริมาตรกระสาย (3/4 × 30 ml = 22 ml) ควรผสมให ้ผงยาละลาย

3) ปรับปริมาตรในกระบอกตวง ให ้ครบ 30 ml ด้วยน้ าล้างโกร่ง เทกลับลงไปในบีกเกอร์อ ีกครั้ง ผสมให ้เข้า

กัน

4) กรองแยกสารเติมแต่ง หรือ additive ที่ไม่ละลายน้ า หรือน้ ากระสายที่ใช้ออกไปโดยกรองด้วยกระดาษ

กรองให ้สารละลายใส (32 จ ีบ ใช้แท่งแก้วคนน า) จากนั้นบรรจุขวด

การเตรียมยาเจลจากยาฉีด

ตัวอย่าง การเตรียม Clindamycin gel 1 % w/w จาก Clindamycin injection 300 mg/2 ml

Rx

Clindamycin Phosphate 1 % w/v

Carbopol 940 2 % w/v

Purified water q.s. ad 1 fl.oz.

1. อันดับแรกต้องค านวณว่าใช้ Clindamycin และ Carbopol เท ่าไหร่

ใช้ Clindamycin Phosphate = (1 g/100 mL) × 30 mL

= 0.3 g

= 300 mg

ต้องใช้ Clindamycin injection = 2 ml = 1 ampule

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 32

ใช้ Carbopol = (2 g/100 mL) × 30 mL

= 0.6 g

ต้องใช้ Carbopol = 0.6 g

2. ว ิธ ีเตรียม

1) เตรียม gel base ปริมาณ 30 กรัม โดยใช้ Carbopol 0.6 g (ว ิธ ีเตรียม สามารถกระจาย Carbopol เข้ากับน้ า

ได้ 2 วิธ ี คือ บดในโกร่งกระเบ ื้อง และ กระจายในบีกเกอร์)

2) ค านวณปริมาณที่ใช้เตรียมเจลโดยห ักลบน้ าหนัก Carbopol ออก

ปริมาณน้ า = 30 g - ผง Carbopol 0.6 g

= 29.4 g

¾ × 29.4 = 22 ml

วิธ ีแรก ใส ่ผ ง Carbopol ในโกร่งกระ เบื้อง ค่อยๆเติมน้ าลงไป บดแรงๆให ้ผ งเปียกน้ าและ

กระจายไม่จ ับก้อน เติมน้ าเพ ิ่มจนครบ 22 ml ปรับปริมาตรจนครบ 30 ml ด้วยน้ าล้างโกร่ง

วิธ ีท ี่ 2 ตวงน้ าใส ่บ ีกเกอร์ 22 ml ค่อยๆโปรยผง Carbopol ลงทีละน้อยในน้ า คนผสมเร็วๆให ้ฟ ุ้ง

กระจายตัวไม่จ ับก้อน ปรับปริมาตรจนครบ 30 ml ด้วยน้ าล้างบีกเกอร์

3) ใช้เข็มฉีดยาดูด Clindamycin จากแอมพ ูลให ้ครบตามจ านวนที่ค านวณได้ (2 ml) เติมตัวยาลงผสมในเจล

ให ้เข้ากัน

4) เติมสารบางชนิดที่จ าเป ็น ส าหรับ Carbopol ต้องเติมด่าง เช่น Triethanolamine ลงปรับ pH ให ้เจลใส

การเตรียมยาน้ าให้ได ้ความเข ้มข้นหรือสัดส่วนที่ก าหนด

เป ็นเทคนิคในการละลายตัวยาที่เป ็นของแข็งในตัวท าละลาย หรือผสมตัวยาที่เป ็นของเหลวในน้ า

กระสาย

ตัวอย่าง การเตรียมสารละลาย Sodium citrate ความเข้มข้น 2 % w/v

Rx

Sodium citrate 2 % w/v

Purified Water q.s. ad 50 ml

วิธ ีเตรียม

1. ค านวณว่า Sodium citrate ที่ต้องใช้ = (2 g / 100 ml) × 50 ml = 1.00 g

2. เนื่องจาก sodium citrate เป ็นผงผลึกหรือผงหยาบจึงบดให ้ละเอียด ก่อนน าไปชั่งจ านวน 1 กรัม

3. ค านวณปริมาตรน้ ากระสายยาในต ารับ

ปริมาตรกระสายที่ใช้ = 50 – ปริมาตรของยา 1 g < ซึ่งม ีปริมาตรเมื่อละลายลดลงครึ่งหนึ่ง >

= 50 ml - 0.5 ml

= 49.5 ml

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 33

4. ใช้ส ่วนหนึ่งในน้ ากระสายยาในการละลาย ซ ึ่งนิยมใช้ปริมาณ ¾ ของปริมาณน้ ากระสายยา

ปริมาตรกระสายยาที่ใช้ = ¾ × 49.5 ml = 37 ml

5. ตวงปริมาณน้ าด้วยกระบอกตวง 37 ml ด้วยกระบอกตวงที่ใกล้เคียงที่ส ุด 50 ml เทลงในบีก เกอร์โดยใช้

แท่งแก้วคนน าสาร

6. ค่อยๆเติมผงยาลงในน้ าท ีละน้อย โดยใช้แท่งแก้วคนให ้ผงยาละลายจนหมด แล้วใช้แท่งแก้วคนน าสาร

จากบีกเกอร์ลงในกระบอกตวง ปรับปริมาตรในกระบอกตวงโดยการเติมน้ าท ี่เหลือ จนปริมาตรครบ 50

ml

7. เทสารละลายที่ได้กลับลงในบีกเกอร์แล้วคนผสม จากนั้นบรรจุขวด

การเจ ือจางยาให้มีความแรงตามที่ก าหนด

เช่น alcohol, น้ ายาฆ่าเชื้อ เป ็นเทคนิคที่ใช้เม ื่อจ าเป ็นต้องเตรียมสารละลายที่ต้องการ จากสารละลาย

ที่ม ีความเข้มข้นส ูงกว ่า เช่น stock solution ต่างๆ

ตัวอย่าง การเตรียมสารละลาย benzakonium chloride 1:2500

Rx

benzakonium chloride 1:2500

M.Ft. Solution 50 ml

โดยใช้ Benzakonium chloride 1% w/v

วิธ ีเตรียม

1. ค านวณปริมาณของ stock solution

ความแรงที่ต้องการ 1 : 2500 = (1 g/ 2500 ml) × 100 = 0.04 %

จาก N1V1 = N2V2

(0.04% × 50 ml) = (1% × V 2 ml)

V2 = 2 ml

2. ตวงสารละลาย Benzakonium chloride เข้มข้น 1% w/v โดยใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม เช่นดูดโดยใช้ป ิเปต

หรือตวงโดยใช้กระบอกตวงขนาด 10 ml น ามาใส ่ภาชนะเตรียมที่ม ีขนาดเหมาะสมเช่น บีกเกอร์

3. ค านวณปริมาตรน้ ากระสายยาที่ใช้ = 50 – ปริมาตรยา

= 50 ml – 2 ml = 48 ml

¾ ของปริมาตรน้ ากระสาย = ¾ × 48 ml = 36 ml

4. ตวงน้ ากระสายยา 36 ml ด้วยกระบอกตวง แล้วเทลงในบีกเกอร์อย่างช้าๆ (ใช้แท่งแก้วคนน า) พร้อมกับ

ใช้แท่งแก้วคนผสมให ้เข้ากัน

5. ปรับปริมาตรด้วยกระบอกตวงขนาด 50 ml โดยการเติมน้ า กระสายยาจนถึงปริมาตรที่ต้องการ เท

สารละลายกลับลงในบีกเกอร์ คนผสมให ้เข้ากัน บรรจุขวด

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 34

การเตรียมกระสายยาที่มีความหนืด

เช่น ยาน้ าเม ือก (Mucilages) ,Magmas, Gels ท าได้โดยการละลาย หรือกระจาย polymer ที่ม ีความ

หนืดในน้ าหรือตัวท าละลายที่เหมาะสมโดยเทคนิคที่ถ ูกต้อง

วิธ ีเตรียมกระสายยาที่ม ีความหนืด มีหลายวิธ ี ขึ้นกับคุณสมบัติสารเพ ิ่มความหนืดที่เล ือกใช้

การเตรียมโดยใช้โกร่ง เตรียมโดยการบดผสมสารเพ ิ่มความหนืดกับน้ า อ าจ เตรียมให ้กระจายตัวได้ 2

แบบ คือ

- การเตรียมโดยไม่ใช้สารช่วยกระจาย เช่น Acacia

- การเตรียมโดยใช้สารช่วยกระจาย (dispersing agent) เช่น glycerin , alcohol

การเตรียมโดยใช้บีกเกอร์

- เตรียมโปรยสารเพ ิ่มความหนืดลงในน้ า ตัวอย่างเช่น Bentonite, Sodiumcarboxymethylcel lulose,

Carbopol

- สารเพ ิ่มความหนืดชนิดใช้น้ าร้อนช่วยในการพองตัว เช่น Bentonite,Veegum

- สารเพ ิ่มความหนืดชนิดใช้น้ าร้อนช่วยในการกระจาย เช่น Methylcellulose จากนั้น เติมน้ า เย็น เพ ื่อให ้

ละลายใส

ตัวอย่างที่ 1 การเตรียม Acacia mucilage

Rx

Acacia 10 g (10% w/v) (ละลายน้ า)

Purified water to make 100 ml

วิธ ีเตรียม

1. เตรียมในโกร่งกระเบื้องเพ ื่อกระจาย acacia โดยเติม acacia ลงในโกร่งกระเบื้อง

2. ค านวณปริมาตรของน้ าในต ารับ

ปริมาตรกระสายที่ใช้ = 100 - ปริมาตรผงยา

= 100 ml - 5 ml = 95 ml

¾ ของปริมาตรน้ า = ¾ × 95 ml = 71.25 ml หรือ 72 ml

3. ตวงน้ า 72 ml เติมลงบดผสมกับ acacia ในโกร่งทีละน้อยจน acacia ละลายหมด

4. เท acacia mucilage ที่ละลายหมดแล้วในโกร่งลงในกระบอกตวง (ใช้แท่งแก้วคนน า) แล้วใช้น้ าส ่วนหนึ่ง

มากลั้ว acacia mucilage ที่อยู่ในโกร่ง แล้วเทลงในกระบอกตวงขนาด 100 ml ปรับปริมาตรให ้ครบด้วย

น้ า จากนั้นเทกลับลงในบีกเกอร์ ผสมให ้เข้ากันเบาๆ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 35

ตัวอย่างที่ 2 การเตรียม Bentonite magma

Rx

Bentonite 5 % w/w (ไม่ละลายน้ า)

Purified water to make 100 g

วิธ ีเตรียม

1. ใช้การเตรียมโดยการกระจายน้ าร้อนในบีกเกอร์ โดยชั่งน้ าหนักบีก เกอร์ โดยเลือกใช้บ ีก เกอร์ท ี่ม ีขนาด

ใหญ ่พอเหมาะ

2. ค านวณปริมาตรของน้ าในต ารับ

ปริมาตรกระสายที่ใช้ = 100 – ปริมาตรผงยา

= 100 ml – 5 ml = 95 ml

¾ ของปริมาตรน้ า = ¾ × 95 ml = 71.25 หรือ 72 ml

3. ตวงน้ า 72 ml แล้วเทลงในบีกเกอร์ท ี่ชั่งน้ าหนักไว ้แล้ว น าไปต้มให ้เดือด

4. ค่อยๆโปรย Bentonite ทีละส ่วนลงในน้ าร้อน ให ้แต่ละส ่วนเปียกน้ า เอง โดยไม่ต้องคนแล้วจ ึงเติมส ่วน

ต่อไปจนหมด ตั้งท ิ้งไว ้ 24 ชม. โดยคนเป็นครั้งคราว เม ื่อครบเวลาให ้คนจนเข้ากัน เติมน้ าส ่วนที่เหลือ

5. ปรับน้ าหนักให ้ได้ 100 กรัม ผสมให ้เข้ากัน

ตัวอย่างที่ 3 การเตรียม Methylcellulose solution

Rx

Methylcellulose 1500 1 % w/w

Purified water to make 100 ml

วิธ ีเตรียม

ใช้การกระจายผง Methylcellulose ในน้ าร้อนและละลายในน้ าเย็นในบีกเกอร์

1. ตวงน้ าประมาณ 1/3 ของน้ าในต ารับ ประมาณ 30 ml ใส ่ในบีกเกอร์ท ี่ม ีขนาดใหญ ่พอเหมาะ น าไปต้มให ้

เดือด

2. โปรย methylcellulose ลงไปทีละน้อยพร้อมกับใช้แท่งแก้วคนเร็วๆเพ ื่อให ้ methylcellulose กระจายทั่ว

3. เติมน้ าเย็นจ ัดประมาณ 2/3 ในต ารับ ประมาณ 60 ml ลงไปผสม คนให ้เข้ากัน โดยระวังไม่ให ้เกิดฟอง

4. ปรับปริมาตรให ้ครบด้วยน้ า จากนั้นเทกลับลงในบีกเกอร์ คนผสมให ้เข้ากันเบาๆ

การเตรียมแอลกอฮอล์ท ี่ความเข ้มข้นต่างก ัน

วิธ ี Allegation method

Allegation method : เป ็นว ิธ ีทางเลขคณิตที่ใช้ในการค านวณปัญหาการเจ ือจางและการเพ ิ่มความ

เข้มข้น โดยความแรงต้องระบุเป ็น % ทั้งหมด

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 36

วิธ ีการท า

1. เรียงความแรงของสารเริ่มต้นจากมากไปน้อยในแนวตั้ง (คอลัมน์ A)

2. ให ้ความแรงที่ต้องการอยู่ตรงกลาง (คอลัมน์ B)

3. หาผลต่างระหว่างความแรงที่ต้องการกับความแรงของสารตั้งต้นแต่ละตัว แล้วเขียนผลต่างนี้ให ้อยู่ด ้ าน

ขวามือของความแรงที่ต้องการ (คอลัมน์ C)

4. เขียนจ านวนของผลต่างของข้อ 3 อยู่ขวามือตรงข้ามกับความแรงของสารแต่ละตัว จ านวนดังกล่าวคิด

เป็นส ัดส ่วนของสารเริ่มต้นแต่ละตัว

เช่น

Allegation method

0.1% 0.01 ส่วน (ได้จาก 0.01% - 0.0%)

0.01%

0.0% 0.09 ส่วน (ได้จาก 0.1% - 0.01%)

(column A) (column B) (column C)

ตัวอย่าง การเตรียม Iso-alcoholic elixir ได้จากการผสม alcohol ความเข้มข้นต่ าและสูง ในอัตราส ่วนต่างๆ

เพ ื่อให ้ได้ความแรงของ alcohol ตามต้องการ

สมมุติต้องการเตรียม Iso-alcoholic elixir ที่ม ี alcohol 40 %v/v 100 ml จาก alcohol 9 % และ 75 %v/v

9 35

40 +

75 31

66

- สารละลาย 66 ml ต้องใช้ alcohol 9 % จ านวน 35 ml

ถ้าสารละลาย 100 ml ต้องใช้ alcohol 9 % จ านวน (35/66)×100 = 53 ml

- สารละลาย 66 ml ต้องใช้ alcohol 75 % จ านวน 31 ml

ถ้าสารละลาย 100 ml ต้องใช้ alcohol 75 % จ านวน (31/66)×100 = 47 ml

ดังนั้น การเตรียม Iso-alcoholic elixir ที่ม ี alcohol 40 % v/v ต้องใช้ alcohol 9 % และ 75 % จ านวน

53 ml และ47 ml ตามล าดับ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 37

เภสัชกรรมคลินิก

การซักประวัต ิ การจ่ายยาและการให้ค าแนะน า /การส่งต ่อแพทย์

แนวข้อสอบ

ออกข้อสอบทุกปี ป ีละ 1-4 ข้อ (โดยส่วนใหญ ่จะออกข้อสอบปีละ 2-3 ข้อ ) โดยมีลักษณะข้อสอบ

คือ

1. ซักประวัติผ ู้ป ่วย จ ่ายยาให ้ถูกต้องพร้อมให ้ค าแนะน า

2. ซักประวัติผ ู้ป ่วย ซ ึ่งมาด้วยอาการไม่พ ึงปรสงค์จากการใช้ยา ให ้เราค้นหาปัญหาที่เก ิดขึ้น พร้อมแก้ไข

ปัญหาและให ้ค าแนะน าแก่ผ ู้ป ่วย

ข้อพงึระวังในการสอบ

ท าความเข้าใจแต่ละข้ออย่างละเอียด และตอบอย่างตรงประเด็น

ฐานที่เป ็นการส ื่อสาร (เภส ัชกร VS ผ ู้ป ่วย หรือ เภส ัชกร VS บ ุคลากรทางการแพทย์) เริ่มต้นด้วยการ

แนะน าตัวและปิดท้ายโดยการเปิดโอกาสให ้สอบถามข้อสงส ัย

ฐานที่อาจารย์เล่นบทบาทสมมติ ให ้ปฏิบ ัติโดยวางตัว และใช้ค าพ ูดตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม เช่น

กรณีอาจารย์เป ็นผู้ป ่วย ให ้หลีกเลี่ยงค าพ ูดที่เป ็น technical term ถ้าอาจารย์เป ็นบุคลการทางการแพทย์

สามารถสื่อสารโดยใช้ technical termได้

เนื้อหา

แนวทางการซักประวัต ิ

ใครคือผู้ป ่วย

อายุเท ่าไหร่

น้ าหนักของผู้ป ่วย กรณีเป ็นเด็ก

เพศชายหรือหญ ิง กรณีเพศหญ ิง ก าลังตั้งครรภ์อยู่หรือไม่ ก าลังให ้นมบุตรหรือไม่

วันนี้มาด้วยโรคหรืออาการอะไร

เริ่มมีอาการดังกล่าวตั้งแต่เม ื่อไหร่ เป ็นมานานเท่าไร

ความรุนแรงของอาการเป็นอย่างไร เม ื่อเท ียบกับว ันแรกที่เริ่มเป็น

เคยมีอาการเช่นนี้มาก่อนหรือไม่

มีอาการอื่นร่วมอีกหรือไม่

มีส ิ่งใดที่ท าให ้อาการแย่ลง หรือ ดีขึ้น เช่น ยา อาหาร หรือการปฏิบัติตัวอื่นๆ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 38

โรคประจ าตัวที่ผ ู้ป ่วยเป็น ยาและผลิตภ ัณฑ ์เสริมอาหารรวมทั้งสมุนไพรที่ได้รับ

อาชีพหรือสภาวะแวดล้อมที่อาจเกี่ยวข้องกับการเจ ็บป่วย

ใช้ยาหรือผลิตภ ัณฑ ์อื่นๆ เพ ื่อบรรเทาอาการมาก่อนหรือไม่

ตอนนี้ก าลังได้รับยา หรือผลิตภ ัณฑ ์เสริมอาหารอะไรอยู่หรือไม่

มีประวัติแพ ้ยาหรือส ิ่งอื่นหรือไม่ (ถ้าม ี) ม ีอาการอย่างไร

มีประวัติอาการไม่พ ึงประสงค์อื่นนอกเหนือจากการแพ ้ยาหรือไม่ (ถ้าม ี) ม ีอาการอย่างไร

อาการที่จ าเป ็นในการส่งต่อผ ู้ป ่วยไปพบแพทย์

1. อาการผิดปกติเก ี่ยวก ับระบบทางเด ินหายใจ

ปวดบริเวณหน้าอกเวลาหายใจเข้า

หายใจส ั้นและเร็ว

หายใจออกมีเส ียงหวีด (wheeze)

เสมหะมีเลือดปน

หัวใจเต้นเร็วผิดปกต ิ

ไอติดต่อกันเป็นเวลานานต่อเนื่องอย่างน้อย 3 -4 ส ัปดาห ์

2. อาการผิดปกติเก ี่ยวก ับระบบหัวใจและหลอดเลอืด

ปวดเค้นหน้าอก

หัวใจเต้นเร็ว หรือจ ังหวะการเต้นผิดปกติ

นอนราบไม่ได้

เหนื่อยง่ายผิดปกติ

หน้ามืด เป ็นลมหลายครั้ง โดยไม่ม ีสาเหตุ

3. อาการผิดปกติเก ี่ยวก ับระบบทางเด ินอาหาร

กลืนล าบาก

อาเจ ียนมีเลือดปน

อุจจาระมีเลือดปนในปริมาณมาก หรือเป็นแบบเรื้อรัง

อาเจ ียนรุนแรงร่วมกับถ่ายอุจจาระไม่ออกมาหลายวัน

การคล าพบก้อนเนื้อในช่องท้อง

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 39

ตัวเหลืองตาเหลือง

น้ าหนักลดมากผิดปกติโดยไม่ทราบสาเหตุ

การขับถ่ายแปรปรวนจากปกติมาก เช่น ท้องร่วงสลับกับท้องผูก ท้องร่วงรุนแรง

4. อาการผิดปกติเก ี่ยวก ับห ู

ปวดหูมาก

มีของเหลวไหลออกจากห ู

หูหนวก ไม่ได้ยินเส ียง หรือได้ยินเส ียงน้อยลงกว่าปกติ

วิงเว ียนศีรษาะที่ไม่ทราบสาเหตุ เดินเซ หรือไม่สามารถทรงตัวได้

5. อาการผิดปกติเก ี่ยวก ับตา

ตาแดงร่วมกับปวดตามาก มีภาวะตาส ู้แสงไม่ได้

ตามัว หรือมองเห ็นผิดปกติ เช่น มองเห ็นภาพซ้อน มองเห ็นวงแสงรอบวัตถุ

6. อาการผิดปกติเก ี่ยวก ับระบบสืบพ ันธ ุ์และทางเด ินปัสสาวะ

ปัสสาวะไม่ออก

ปัสสาวะมีเลือดปน

ปัสสาวะแสบขัดร่วมกับอาการปวดท้อง/สะโพก/หลัง

ปัสสาวะแสบขัดร่วมกับมีไข ้

เลือดออกจากช่องคลอดในหญิงตังครรภ์

มัระดูผ ิดปกติ

7. อาการผิดปกติทางระบบประสาท

ปวดศีรษะรุนแรง

การชา หรืออ่อนแรงที่เก ิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน และ/หรือเป็นข้างใดข้างหนึ่งของร่างกาย เช่น แขน ขา

ใบหน้า

การมองเห ็นภาพผิดปกติท ี่เก ิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน

การพ ูดไม่ชัด หน้าเบี้ยว ปากบี้ยว ลิ้นอียง พ ูดไม่ได้ ไม่สามารถตอบสนองต่อค าพ ูดซ ึ่งเกิดขึ้นอย่าง

เฉียบพลัน

อาการชัก

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 40

8. อาการผิดปกติอ ื่นๆ

โรคผิวหนังที่ม ีอาการรุนแรง เช่น สะเก็ดเงิน หรือเรื้อนกวาง

คอแข็งร่วมกับมีไข้

อาเจ ียนเรื้อรัง

ซึม

ไม่ค่อยรู้ส ึกตัว ภาวะการรับรู้เก ี่ยวกับเวลา สถานที่ บ ุคคล ลดลง

หมดสติอย่างเฉียบพลัน ตัวเย็น

9. อาการติดเชื้ออ ื่นๆ เช่น ไข ้หวัดนก ไข ้หวัดใหญ่ ไข ้เล ือดออก ไข ้มาลาเรีย โรคมือเท ้าปาก

10. อาการแพ ้ยา อาหาร สารพ ิษ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 41

เภสัชกรรมคลินิก

การตรวจสอบใบสั่งยา/ซองยา/ความเหมาะสมของการสั่งใช้ยา

แนวข้อสอบ

จากการ review ข้อสอบปี 2545 – 2555 จะมี station ตรวจสอบใบสั่งยามีท ุกปี และพบว่าส ่วนใหญ ่

แล้วแต่ละปีจะออก 1-2 Station โดยลักษณะของข้อสอบ คือ

1. ตรวจสอบใบสั่งยาซ ึ่งถูกต้อง(ยึดเป็นหลัก) กับซองยาที่จ ัดมาว ่าถูกหรือไม่ ฉลากบนซองเ ขียนถูกหรือไม่

จ ัดยาครบ ขาด หรือเกินหรือไม่

2. ตรวจสอบความเหมาะสมของใบสั่งแพทย์ โดยให ้เขียนสิ่งที่ผ ิด และแนวทางแก้ไขให ้ถูกต้อง

เนื้อหา

การตรวจสอบจะยึดใบสั่งยาจากแพทย์เป ็นหลัก ถึงแม้ว ่า station ใดจะให ้ตรวจสอบทั้งใบสั่งยาและ

ซองยาก็ตาม ก็ให ้ยึดใบสั่งยาที่ผ ิดนั้นเป็นหลัก

หลักการตรวจสอบใบสั่งยา ให ้ตรวจสอบสิ่งต่อไปนี้

ชื่อและสถานที่ตั้งของสถานพยาบาล

ชื่อ-สกุลผู้ป ่วย ค าน าหน้าชื่อ , HN, อายุ, วันที่

ชื่อยาสามัญ / ชื่อการค้า

บางครั้งถ้าให ้ชื่อการค้ามา ไม่จ าเป ็นต้องมีชื่อสามัญและถ้าให ้ชื่อสามัญมาก็ไม่จ าเป ็นต้องมีชื่อการค้า

ความแรงของยา

รูปแบบของยา

วิธ ีการใช้

รับประทานกี่เม ็ด/ช้อนชา/ช้อนโต๊ะ/ซอง , ว ันละกี่ครั้ง

จ านวนเม็ดที่เหมาะสม

ส่วนใหญ ่แล้วยาที่ใช้ส าหรับโรคเรื้อรังนั้นมักจะใช้ 30 วัน

ลายเซ ็นแพทย์ผ ู้ส ั่งใช้ยา

หลักการตรวจสอบซองยา

ชื่อ-สกุลผู้ป ่วย ค าน าหน้าชื่อ , วันที่

ชื่อยาสามัญ , ชื่อการค้า อยู่ในเครื่องหมาย ( ) , รูปแบบ , ความแรงของยา , จ านวนเม็ด

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 42

รูปแบบยาในใบสั่งยากับตัวยาในซองยาต้องเป็นรูปแบบเดียวกัน หากใบสั่งยาเป็นยาเม็ด เคลือบฟ ิล์มแต่

ยาเม็ดที่จ ัดไว ้เป ็นรูปแบบยาเม็ดปลดปล่อยแบบทยอยก็อาจเกิดปัญหาได้ เพราะ regimen ของการใช้ท ั้ง 2

รูปแบบไม่เหมือนกัน และอาจมีข้อผิดพลาดเนื่องจากยาบางชนิดมีชื่อพ ้อง หรือลักษณะคล้ายกันจึงต้อง

ระวังเป็นพ ิเศษ

วิธ ีการใช้ ------ รับประทานกี่เม ็ด /ช้อนชา /ช้อนโต๊ะ /ซอง, ว ันละกี่ครั้ง เช้า เท ี่ยง เย็น ก่อนนอน

ฉลากเสริม------ จะต้องวงกลมสว่นที่ต้องการ ส ่วนที่ไม่ต้องการให ้ขีดออก

อักษรย่อเก ี่ยวกบัยาหยอดตา / หยอดหู

วิธ ีรับประทานยาและฉลากเสริมที่ควรรู้

ยา วิธ ีรับประทาน ฉลากเสริม

Cloxacillin /

Dicloxacillin 500 mg

14 ac - รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

- รับประทานยาก่อนอาหารครึ่ง - 1

ชั่วโมงหรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง

Amoxycillin 500 mg 14 pc หรือ 22 pc - รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

Amoxycillin+Clavulanate 650

mg, 1000 mg

q 8 hrs - รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

Azithromycin 250 mg

Roxitromycin 150 mg 12 ac

- รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

- รับประทานยาก่อนอาหารครึ่ง - 1

ชั่วโมงหรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง

Erythromycin 250 mg 14 ac - รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

- ห้ามรับประทานพร้อมยาลดกรด

- รับประทานยาก่อนอาหารครึ่ง - 1

ชั่วโมงหรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง

Norfloxacin 400 mg 12 ac - รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

-ไม่กินพร้อมนม ธาตุเหล็ก ยาลดกรด

- หลีกเลี่ยงไม่ให ้ผ ิวส ัมผัสแสงไฟหรือ

แสงอาทิตย์โดยตรง

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 43

ยา วิธ ีรับประทาน ฉลากเสริม

Doxycycline 500 mg 12 pc - รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

- ไม่กินพร้อมธาตุเหล็ก ยาลดกรด

- หลีกเลี่ยงไม่ให ้ผ ิวส ัมผัสแสงไฟหรือ

แสงอาทิตย์โดยตรง

Tetracycline 500 mg 12 pc - รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

- ไม่กินพร้อมนม ธาตุเหล็ก ยาลดกรด

- อาจท าให ้ผ ิวแพ ้แสง

Ketoconazole 200 mg, 400 mg 11 pc - รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด

- ไม่กินพร้อมยาลดกรด

- รับประทานหลังอาหารทันที

Metronidazole (trichromoniasis)

Metronidazole (บิดมีตัว)

1000 mg SD

ช 400 mg 13 pc 5 ว ัน

ญ 200 mg 14 pc 5 วัน

- รับประทานหลังอาหารทันที

- ห้ามดื่มเหล้าหรือเครื่องดื่มที่ม ี

แอลกอฮอล์

NSAIDs 11 pc, 13pc

(แล้วแต่ชนิดของยา)

- รับประทานหลังอาหารทันที

และดื่มน้ าตามมากๆ

กลุ่มยา Sulfa - - ดื่มน้ าตามมากๆ

ยาพ ่นโรคหอบหืดเพ ื่อบรรเทา

อาการ (เช่นSABA )

1 หรือ 2 puff prn - กลั้นปากหลังจากใช้ยา

ยาพ ่นโรคหอบหืดเพ ื่อควบคุม

อาการ ( เช่น steroid พ่น )

1 หรือ 2 puff OD - กลั้นปากหลังจากใช้ยา (ไม่ใช่ฉลาก

เสริมแต่เป ็นการให ้ค าแนะน า)

Simvastatin 10, 20 mg 11 hs - ห้ามหยุดยานี้จนกว่าแพทย์จะส ั่ง

Metformin 500 , 850 mg max dose 2550 mg/day - ห้ามหยุดยานี้จนกว่าแพทย์จะส ั่ง

Furosemide 5 mg 11 เช้า หรือ 12 - ห้ามหยุดยานี้จนกว่าแพทย์จะส ั่ง

- ควรรับประทานผลไม้ ส ้ม กล้วยร่วมด้วย

HCTZ 11 เช้า - ห้ามหยุดยานี้จนกว่าแพทย์จะส ั่ง

- ควรรับประทานผลไม้ ส ้ม กล้วยร่วมด้วย

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 44

Drug interaction ท ี่จ าเป ็นต้องรู้

Substrate Inhibitor Inducer ผลที่เก ิดข ึ้น แก้ไข

Itraconazole,

Ketoconazole

- Phynytoin

(CYP 3A4)

เพ ิ่มการ

metabolism ของ

Itraconazole,

Ketoconazole

หลีกเลี่ยงการใช้ร่วมกัน

Rifampicin

(CYP 3A4)

ลดระดับ

Rifampicin ใน

เลือด

ใช้ Fluconazole แทน

Simvastatin,

Lovastatin

Protease

inhibitor

(CYP 3A4)

- Simvastatin

เพ ิ่มขึ้น อาจเกิด

rhabdomyolysis

เลี่ยงการใช้ร่วมกัน หรือ

เปลี่ยนไปใช้ Atorvastatin,

Pravastatin

Amitriptyline Fluoxetine/

Sertraline

(CYP 2D6)

- ท าให ้

Amitriptyline

เพ ิ่มขึ้น

ใช้ Amitriptyline ขนาดต่ า

ก่อน ติดตามอาการ

ข้างเคียง เม ื่อหยุดยาที่เป ็น

ตัวยับยั้งต้องรอ 2-4 weeks

ก่อนปรับขนาดยา

Amitriptyline อาจเลี่ยงไป

ใช้ fluvoxamine แทน

Theophylline Cimetidine

(CYP 1A2)

- ท าให ้

Theophylline

เพ ิ่มขึ้น อาจเกิด

อาการใจส ั่น

เลี่ยงไปใช้ Ranitidine

Norfloxacin/

Ciprofloxacin

(CYP 1A2)

- ท าให ้

Theophylline

เพ ิ่มขึ้น

เลี่ยงการใช้ร่วมกันหรือ

เลี่ยงไปใช้ Levofloxacin

หรือ Ofloxacin

Erythromycin

(CYP 1A2)

Erythromycin ไป

ยับยั้งเอนไซม์ ท ี่

ท าลายยา

Theophylline

เปลี่ยนเป็น Amoxycillin

หรือ Roxithromycin

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 45

Substrate Inhibitor Inducer ผลที่เก ิดข ึ้น แก้ไข

Wafarin Cimetidine

(CYP 1A2)

- เพ ิ่มฤทธิ์ของ

Wafarin ท าให ้

เกิด bleeding

เลี่ยงการใช้ร่วมกัน

Norfloxacin/

Ciprofloxacin

(CYP 1A2)

Fluoxetine

(CYP 1A2)

Phenytoin Cimetidine

(CYP 2C9/19)

- ท าให ้ระดับ

Phenytoin

เพ ิ่มขึ้น

เปลี่ยนเป็นยากลุ่มอื่น เช่น

Ranitidine, Lansoprazole

Omeprazole

(CYP 2C9/19)

S-warfarin - Cabamazepine

(CYP 2C19)

ระดับ warfarin

ในเลือดลดลง

ติดตาม PT และ INR เม ื่อ

ใช้ยาร่วมกันและปรับเพ ิ่ม

ขนาดยาตามความ

เหมาะสม

Phenobarbital

(CYP 2C9/19)

Phenytoin

(CYP 2C9)

Rifampicin

(CYP 2C9)

ยาที่ห้ามใช้ในผู้ป ่วย G6PD

กลุ่มยาแก ้ปวด ลดไข ้ กลุ่มยารักษาโรคมาเลเรีย

Acetanilide

Aceophenetidine (phenaceti)

Amindopyrine (amiopyrine)

Antipyrine

Aspirin

Phenacetin

Probenicid

Pyramidone

Chloroquine

Hydroxychloroquine

Mepacrine (quinacrine)

Pamaquine

Pentaquine

Primaquine

Quinine

Quinocide

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 46

ยาปฏิชวีนะกลุ่มซ ัลฟา ยากลุ่มอ ื่นๆ

Dapsone

Sulfacetamide

Sulfamethoxazole (Bactrim)

Sulfamethoxypyrimidine

Sulfanilamide

Sulfapyridine

Sulfasalazine

Sulfisoxazole

Alpha-methyldopa

Ascobic acid

Dimercapol (BAL)

Hydrazine

Mestranol

Methylene blue

Nalidixic acid

Naphthalene

Niridazole

Phenylhydrazine

Toluidine blue

Trinitrotoluene

Urate oxidase

Vitamin K (water soluble)

Pyridium

กลุ่มยาโรคหัวใจ และหลอดเล ือด

Procainamide

Quinidine

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 47

เภสัชกรรมคลินิก

การนับเม็ดยาด้วยถาดนับเม็ดยา/การจัดท าฉลาก

แนวข้อสอบ

โจทย์จะส ั่งให ้นับเม็ดยาโดยบอกจ านวนเม็ดมาเลย หรืออาจต้องค านวณง่ายๆ เช่น 13 pc 7 วัน

พร้อมเขียนซองยาให ้เรียบร้อย แนะน าให ้เขียนซองยาก่อนใส ่ยาลงซอง และต้องเลือกซองสีใสหรือส ีชากรณี

ที่ม ีให ้เลือก

เนื้อหา

วิธ ีการนับเม็ดยาด ้วยถาดนับเม็ดยา

เช็ดถาดและที่นับยาให ้สะอาด ในแต่ละวันควรมีการเช็ดด้วยแอลกอฮอล์เป ็นครั้งคราว และควรมีถาดนับ

ยาแยกส าหรับยาบางชนิดเพ ื่อป้องกันการปนเปื้อน เช่น เพนนิซ ิลลิน เคมีบ าบัดเป็นต้น

เม ื่อหยิบยาที่ต้องการได้แล้ว เทลงในถาดด้วยจ านวนพ อสมควรกับปริมาณยาที่จะนับ โดยยังไม่เป ิดฝา

ด้านช่องเทยา

เป ิดฝาช่องเทยา จ ับด้านเรียวของที่นับยา นับยาจากในถาดลงในช่องเทยา นับครั้งละกี่เม ็ดก็ได้ แต่นิยม

นับครั้งละ 5 เม ็ด เพราะนับง่าย นับจนครบจ านวน

หากยาที่เทไว ้ไม่พอกับจ านวนยาที่ต้องการ ปิดฝาช่องเทยา แล้วจ ึงเท ยาจากขวดลงเพ ิ่มในถาด เปิดฝาช่อง

เทยาใหม่ นับจนครบ

ปิดฝาช่องเทยา

เทยาที่เหลือลงในภาชนะเดิม

เทยาลงในภาชนะที่เตรียมไว้ (คือซองยาที่เขียนเรียบร้อยแล้ว)

ท าความสะอาดถาดและที่นับยาอีกครั้งหนึ่ง

การจ ัดท าฉลากเพ ื่อการจ ่ายยาอย่างมีคุณภาพ

ฉลากยาทุกขนานที่จ ่ายควรพ ิมพ ์หรือเขียนให ้อ่านง่าย โดยอย่างน้อยต้องมีข้อมูลต่อไปนี้

วันที่จ ่ายยา

เลขที่จ ่ายยา หรือเลขที่ใบส ั่งยา (กรณีการจ่ายยาในโรงพยาบาล หรือร้านยาที่จ ่ายยาตามใบสั่ง)

ชื่อ-นามสกุลผู้ป ่วย

ชื่อยา ความแรง และจ านวน (ควรมีท ั้งชื่อสามัญและชื่อการค้า)

ข้อบ่งใช้ของยา

วิธ ีใช้ยาที่ชัดเจน และเข้าใจง่าย

ฉลากช่วยเพ ื่อแสดงค าแนะน าหรือค าเตือนที่จ าเป ็น

ชื่อที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท์ของสถานที่ขายยา

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 48

นอกจากนั้นอาจมีชื่อแพทย์ผ ู้ส ั่งใช้ยาและเภส ัชกรผู้จ ่ายยาเพ ื่อกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินกับผู้ป ่วย หรือ เกิด

ความผิดพลาดที่เร่งด่วน

ฉลากเสริมที่ควรรู้

ฉลากช่วย การน าไปใช้

ยาใช้ภายนอกห้ามรับประทาน - ยาน้ าท ี่ใช้ทาภายนอก - ยาทาถูนวด

- ยาทาผิว - ยาขี้ผ ึ้ง

- ยาครีม - ยาผงโรง

ยาใช้เฉพาะที่ห ้ามรับประทาน - ยาที่ใช้เฉพาที่ส าหรับจมูก ตา ปาก ห ู ทวารหนัก

- ช่องคลอด หรือท่อปัสสาวะ

เขย่าขวดก่อนใช้ - ยาแขวนตะกอน

- อ ิม ัลชั่น

- ยาที่ม ีการตกตะกอนหรือแยกตัวเมื่อวางไว ้นานๆ

- เช่น ยาน้ าผสม(mixtures) บางชนิด

ห้ามใช้ยานี้หลังจากวันที่

........................

- ยาปฏิชีวนะชนิดผงแห ้ง ควรใช้ภายใน 1-2 ส ัปดาห ์

- หลังจากเจ ือจางด้วยน้ าแล้ว

- ยาหยอดตา 1 เดือนหลังเปิดใช้

กินยานี้แล้วอาจท าให ้ง่วงนอน จ ึง

ไม่ควรขับขี่ยานยนต์ หรือท างาน

เกี่ยวกับเครื่องจ ักร หลีกเลี่ยงการ

ดื่มเหล้าหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

- Antihistamine: Brompheniramine,

- Chlorpheniramine, Dimenhydrinate,Diphenhydramine,

Hydroxyzine, Triprolidine

- Sedative: Alprazolam, Bromazepam,

- Chlordiazepoxide, Clonazepam, Diazepam, Haloperidol,

Lorazepam, Midazolam, Zolpidem

- Antidepressants: Amitriptyline, Nortriptyline,

- Doxepin, Imipramine,

- Anticonvulsants: Carbamazepine, Phenobaebital,

- Primidone

- Analgesic: Methadone, Morphine, Pentazocine

- Atc: Cinnaricine, Disulfuram, Methyldopa,

- Orphenadrine. Pizotifen

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 49

ฉลากช่วย การน าไปใช้

กินยานี้แล้วอาจท าให ้ง่วง ยาในหัวข้อที่ก ินยานี้แล้วอาจท าให ้ง่วงนอนข้างต้นที่จ ่ายให ้แก่เด็ก

ยานี้อาจท าให ้ง่วงซ ึมในวันถัดไป

หลังจากกินยา ดังนั้น จ ึงไม่ควรขับ

ขี่ยานยนต์ หรือท างานเกี่ยวกับ

เครื่องจ ักรกล และห ้ามดื่มเหล้า

หรือเครื่องดื่มที่ม ีแอลกอฮอล์

ยานอนหลับ

กินยานี้แล้วห ้ามดื่มเหล้าหรือ

เครื่องดื่มที่ม ีแอลกอฮอล์

- Disulfuram, Chlorpropamide, Glibenclamide,

- Metronidazole, Tinidazole

ไม่ควรกินยานี้พร้อมนม

ผลิตภ ัณฑ ์จากนม ยาลดกรด และ

ยาที่ม ีธาตุเหล็ก

- Tetracyclines: Chlortetracycline, Demeclocyclin,

- Oxytetracycline, tetracycline ยกเว ้น Doxycycline, Minocyclin

ไม่ควรกินยานี้พร้อมกับยาลดกรด - ยาที่ม ีการดูดซ ึมของยาลดลงเมื่อให ้ร่วมกับยาลดกรด

- ถ้าจ าเป ็นต้องให ้ร่วมกัน ควรให ้ห ่างกันอย่างน้อย 2-4 ชั่วโมง :

Azithromycin, Cefpodoxime, Gabapentin, It raconazole,

Ketoconazole, Sucralfate

- Enteric coat: Bisacodyl, Diclofenac, Lansoprazole,

- Omeprazole, Sodium valproate, Sulfasalazine,

ไม่ควรกินยานี้พร้อมยาลดกรด

หรือยาที่ม ีธาตุเหล็ก

- Ciprofloxacin, Norfloxacin, Ofloxacin, Doxycycline,

- Minocycline, Penicillamine Cefdinir

ห้ามหยุดยานี้จนกว่าแพทย์ส ั่ง - ยารักษาโรคห ัวใจ และ/หรือ โรคความดันโลห ิตส ูง

- ยารักษาโรคเบาหวาน

- ยาต้านวัณโรค

- Glucocorticosteroids: cortisone, Dexamethasone,

- Prednisolone

- ยารักษาโรคเรื้อรังกลุ่มอื่นๆ : Allopurinol, Dapsone

กินยาติดต่อกันทุกว ันจนหมด ยาต้านจุลชีพทุกตัว

เม ื่อใช้ยานี้แล้วควรหลีกเลี่ยงไม่ให ้

ผ ิวส ัมผัสแสงแดด หรือแสง

อัลตราไวโอเลต

- Amiodarone, Demeclocycline, Doxycycline,

- Griseofulvin, Minocycline, Ofloxacin, Chlorpromazine

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 50

ฉลากช่วย การน าไปใช้

ควรละลายยาหรือผสมยาในน้ า

ก่อนรับประทาน

- ยาเม็ดฟ ู่ ยาผง ยาแกรนูล เช่น Metamucil,

- Ascorbic acid effervescent, Calcium effervescent tablet,

Cholestyramine powder

กินยานี้แล้วปัสสาวะหรืออจุจาระ

อาจมีส ี

- ปัสสาวะมสี ีแดง: Levodopa

- ปัสสาวะมสี ีเหลืองหรือส ีน้ าตาลเข้ม : Nitrofurantoin

- ปัสสาวะมสี ีส ้มแดง: Rifampicin, Rifabutin

- ปัสสาวะมสี ีชมพ :ู Phenolphthalein

- ปัสสาวะมสี ีฟ ้า: Triamterene

- อุจจาระหรือปัสสาวะอาจเป็นส ีด า: Ferrous fumarate, Ferrous

Gluconate, Ferrous Sulfate

- อุจจาระเป็นส ีด า: Activated Charcoal

กินยาพร้อมอาหารหรือหลังอาหาร

ทันที

- Steroid: Dexamethasone, Prednisolone

- NSAIDs: Aspirin, Diclofenac, Ibuprofen, Ketoprofen,

- Indomethacin, Mefenamic acid, Naproxen, Piroxicam,

Sulindac, Tenoxicam

- Xanthine der.: Aminophyline, Theophyline

- Atc: Allopurinol, Bezafibrate, Bromocriptine,

- Clofibrate, Cyprosterone, Fenofibrate, Ferrous salt,

Gancyclovir, Griseofulvin, Itraconazole, Ketoconazole,

Levodopa, Lithium carbonate, Metformin, Metronidazole,

Nicotinic acid, Nifendipine, Nitrofurantoin, Pantazocin

Potassium chloride, Thiabendazole, Tinidazole

เคี้ยวเม็ดยาให ้ละเอียดก่อนกลืน - ยาเม็ดแก้ท ้องอืด, ยาเม็ดแก้ลดกรดบางชนิด

- Mebendazole, Niclosamide

กินยานี้ก ่อนอาหารครึ่งถึงหนึ่ง

ชั่วโมงหรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง

- Penicillin: Ampicillin, Cloxacillin, Dicloxacillin,

- Cephalexin, Cefaclor

- Macrolide: Azithromycin, Erythromycin,

- Tetracycline: Doxycycline, tetracycline

- Atc: Penicillamine, Sucralfate, Domperidone,

- Metoclopramide

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 51

ฉลากช่วย การน าไปใช้

ห้ามรับประทานเกิน 2 เม ็ดใน 1

ครั้ง ห ้ามรับประทานเกิน 8 เม ็ดใน

24 ชั่วโมง ใช้ยาติดต่อกันไม่เกิน 5

ว ัน

Paracetamol

ห้ามใช้เกิน 6 เม ็ดใน 24 ชั่วโมง

หรือ 10 เม ็ด ใน 1 สัปดาห ์

Ergotamine tartrate

ทายาบางๆบริเวณที่เป ็น Corticosteroid ที่ใช้ภายนอก

ไม่ใช่ยานี้ร่วมกับผู้อ ื่น และห ้ามใช้

หลังจากเปิดยานี้แล้วเกิน 1 เดือน

ยาหยอดตา

ยานี้ใช้อมใต้ลิ้น Isordil®

กินยานี้แล้วดื่มน้ าตามมากๆ - Allopurinol, Chloral hydrate, Cyclophosphamide,

- Ferrous sulfate, Iodine solution, Metronidazole, Phenytoin,

Potassium chloride

กินยานี้แล้วควรกินน้ าผลไม้ ส ้ม

กล้วย ร่วมด้วย

- Furosemide, HCTZ,

กลืนทั้งเม ็ด ห ้ามเคี้ยว - Enteric coat: Bisacodyl,Diclofenac, Lansoprazole,

- Omeprazole, Sodium valproate, Sulfasalazine

- Sustain release

รายการยาที่ต ้องเก็บพ้นแสงหรือบรรจ ุในขวดสีชา (protect from light)

Acetaminophen(Paracetamol) Acyclovir Allopurinol

Alprazolam Amiodarone Ascorbic acid (Vitamin C)

Atenolol Azathiopine Azidothymidine (AZT, Zidovudine)

Benzocaine Benzyl benzoate Betacarotene

Betamethasone Bromocriptine Brompheniramine maleate

Buspirone Calcifediol Calciferol, cholecalciferol

Calcitriol Carbamazepine Carbidopa

Chlortetracycline HCl Cimetidine Ciprofloxacin

Cisplatin Clarithromycin Clomiphene

Clonidine Colchicine Co-trimoxazole

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 52

Cromolyn sodium Dexamethasone Digitoxin/Digoxin

Diphenhydramine Disulfiram Doxycycline

Ephedrine Ergotamine Erythromycin

Estradiol Estrone Ethinylestradiol

Felodipine Ferrous salts Finasteride

Floctafenine Fluocinolone acatonide Fluoxymesterone

Fluvastatin Folic acid Folinic acid(Leucovorin)

Furazolidone Furosemide(Frusemide) Glipizide

Glyceryl trinitrate Griseofulvin Indomethacin

Isoniazid(INH) Isotretinoin Isosorbide dinitrate

Itraconazole Kanamycin Ketoconazole

Levodopa Leflunomide Levothyroxine

Losartan Melphalan Methimazole

Methotrexate(MTX) Methydopa Metoclopramide

Metoprolol Metronidazole Miconazole nitrate

Morphine Naphazoline nitrate Naproxen

Neostigmine Neomycin sulphate Nicardipine

Nifedipine Nimodipine Nitrazepam

Nitrofurantoin Nitrofurazone Norethisterone

Norfloxacin Nortriptyline Nystatin

Orphenadrine citrate Omeprazole Oxyetracycline

Para-aminosalicylic acid(PAS) Pentoxifylline Perphenazine

Phenylephrine Phenytoin Pilocarpine

Piperazine Prednisolone Provastatin

Propanolol Pyrimethamine Pyridoxine

Ranitidine Riboflavine Rifampicin

Salbutamol Sulphonamides Tamoxifen

Tetracycline Theophylline Thyroxine

Timolol Triamcinolone acetonide Verapamil

Vitamin A Warfarin

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 53

เภสัชกรรมคลินิก

ยาเทคนิคพ ิเศษ

แนวข้อสอบ

ออกข้อสอบทุกปี ป ีละ 1-4 ข้อ (ปีหลังๆจะออกปีละ 2-3 ข้อ) โดยให ้โจทย์มาว ่าให ้อธ ิบายว ิธ ีการใช้

อะไร แล้วก็ท าตามค าส ั่ง เว ้นเวลาให ้ผ ู้ป ่วยทวนวิธ ีการใช้ด้วยเพราะเค้าจะทวนจริง ไม่ม ีส มมติว ่าทวนแล้ว

เนื้อหา

ยาหยอดตา (Eye drops)

ยาหยอดตามีท ั้งชนิดที่เป ็นน้ าใสและเป็นยาน้ าแขวนตะกอน การใช้ยาหยอดตาที่เป ็นยาฆ่าเชื้อตาม

ทฤษฎีแล้วต้องใช้ยาให ้หมดตามที่แพทย์ส ั่ง โดยเฉลี่ยยาหยอดยา 1 หยด มีปริมาตร 50 ไมโครลิตร (ทั้งนี้

ข ึ้นอยู่ก ับความหนืดและขนาดของหลอดยาด้วย).

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทบทวนใบสั่ง เเพทย์ เช่น Chloramphenicol eye drop เป ็นยารักษาอาการติดเชื้อ

แบคทีเรียในตา หยอดตาขวา 2 หยด ว ันละ 4 ครั้ง

3. ล้างมือให ้สะอาด

4. เป ิดฝาครอบขวดยาออก โดยไม่วางฝาคว่ าลงบนพื้น หากเป็นยาที่ม ีหลอดหยดซึ่ง

เอาหลอดออกจากตัวขวดได้ยังไม่ต้องเอาหลอดหยดออกจากขวด

5. นอนหรือนั่งเงยหน้าขึ้น

6. ค่อยๆ ใช้ม ืออีกข้างดึงเปลือกตาล่างลงมาให ้เป ็นกระพ ุ้งและเหลือบตาขึ้นข้างบน

7. หยอดยา 1 หยดลงในกระพ ุ้งของเปลือกตาล่าง ระว ังอย่าให ้ปลายหลอดหยดสัมผัส

ส ่วนของลูกตา

8. ปล่อยมือ และอย่ากระพริบตาส ักครู่(อย่างน้อย 30 ว ินาที) หรืออาจหลับตาเบาๆ

สักครู่ ป ิดฝาให ้สนิท

ข้อแนะน าอื่นๆ

- หากต้องใช้มากกว่า 1 หยด ให ้หยดครั้งแรก 1 หยดก่อน ท าจนครบขั้นตอนและเริ่ม

ขั้นตอนใหม่เพ ื่อหยดอีก 1 หยด แต่ละหยดห่างกันประมาณ 1 – 5 นาที

- ถ้าต้องการใช้ยาหยอดตา 2 ชนิดขึ้นไป ควรเว ้นระยะห ่างในการหยอดยาแต่ละชนิดประมาณ 5 -10 นาที

จ ึงหยอดยาชนิดต่อไป ถ้ายาอีกชนิดเป็นยาขี้ผ ึ้งป ้ายตาให ้ใช้ยาหยอดตาก่อนและรอประมาณ 10 นาทีจ ึง

ใช้ยาขึ้งผ ึ้งป ้ายตา

- หากมียาล้นออกมาจากตา อาจซ ับด้วยผ้าหรือกระดาษที่สะอาด

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 54

- ห้ามใช้ยาหยอดตาร่วมกับผู้อ ื่น เพราะอาจท าให ้ติดโรคได้

- ยาอาจท าให ้ตาพร่า แสบตา หรือเคืองตาหลังจากหยอดตาได้ ดังนั้นไม่ควรขับรถหรือต้องท างานที่เส ี่ยง

ต่ออันตราย จนกว่าจะมองเห ็นได้ชัดเจนตามปกติ

- ห้ามล้างยาหยอดตา

- ถ้าลืมหยอดตา ให ้หยอดตาทันทีท ี่นึกขึ้นได้ แต่ถ้าใกล้จะถึงเวลาที่จะหยอดตาครั้งต่อไปให ้รอ หยอดตา

ครั้งต่อไปได้เลย

- ถ้ายาหยอดตาเป็นชนิดยาน้ าแขวนตะกอน จะต้องเขย่าขวดก่อนใช้

- ยาหยอดตาที่เป ิดใช้แล้ว ห ้ามใช้เกิน 1 เดือน ถ้ามียาเหลือให ้ท ิ้งไป

- ยาหยอดตาบางชนิดควรเก็บในตู้เย็น ฉะนั้นต้องอ่านฉลากให ้เข้าใจ หลังจากเอายาออกจากตู้เย็น ควรคลึง

หรือก าขวดยาหยอดตาให ้อุณหภูม ิของยาใกล้เคียงกับอุณหภูม ิของร่างกาย

- ยาหยอดตาบางชนิด จะท าให ้รู้ส ึกขมในคอได้ เพราะตาและคอมีทางติดต่อถึงกันได้ การกดหัวตาเบาๆ

ช่วยลดการไหลของยาจากตาลงคอได้

- ผู้ใช้เลนส์ส ัมผัส ควรถอดเลนส์ส ัมผัส ออกก่อนหยอดยาตา

ยาขี้ผ ึ้งป ้ายตา (Eye ointment)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทบทวนใบสั่ง เเพทย์ เช่น Terramycin eye ointment เป ็นยารักษาอาการติดเชื้อ

แบคทีเรียในตา ป้ายตา ข้างซ ้าย ว ันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน

3. ล้างมือให ้สะอาด

4. เป ิดจ ุกหลอดยาไว้ โดยวางให ้ฝาหลอดหงายขึ้น

5. นอนหรือนั่งเงยหน้าขึ้น

6. ค่อยๆ ใช้ม ืออีกข้างดึงเปลือกตาล่างลงมาให ้เป ็นกระพ ุ้งและเหลือบตาขึ้นข้างบน

7. ใช้ม ืออีกข้างจ ับหลอดขี้ผ ึ้งป ้ายตา และบีบขี้ผ ึ้งขนาดยาวประมาณ 1 เซนติเมตร

หรือ ½ นิ้ว ลงในกระพ ุ้งของเปลือกตาล่าง ระว ังอย่าให ้ปลายหลอดหยดสัมผัสส ่วน

ของลูกตา ขนตา เปลือกตา มือ หรือส ิ่งใดๆ

8. ปล่อยมือจากการดึงเปลือกตาล่าง

9. ค่อยๆ หลับตาและกลอกตาไปมาทุกทิศทางส ักครู่

10. ปิดฝาจุกหลอดยาให ้สนิท

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 55

ข้อแนะน าอื่นๆ

- ถ้าต้องใช้ยาขี้ผ ึ้งป ้ายตา 2 ชนิดขึ้นไป ควรเว ้นระยะห ่างในการป้ายตาแต่ละชนิดประมาณ 10 นาที ถ้ายา

อีกชนิดเป็นยาหยอดตาให ้หยอดยาก่อนและรอประมาณ 10 นาที จ ึงใช้ยาขี้ผ ึ้งป ้ายตา

- ห้ามใช้ยาป้ายตาร่วมกับผู้อ ื่นเพราะอาจท าให ้ติดโรคได้

- ยาอาจท าให ้ตาพร่า แสบตา หรือเคืองตาหลังจากหยอดตาได้ ดังนั้นไม่ควรขับรถหรือต้องท างานที่เส ี่ยง

ต่ออันตราย จนกว่าจะมองเห ็นได้ชัดเจนตามปกติ

- ห้ามล้างปลายหลอดยาขี้ผ ึ้งป ้ายตา

- ถ้าลืมป้ายตาให ้ป ้ายตาทันทีท ี่นึกขึ้นได้ แต่ถ้าใกล้จะถึงเวลาที่จะป้ายตาครั้งต่อไปให ้รอป้ายตาครั้งต่อไป

ได้เลย

ยาพ ่นจมูก (Nasal spray)

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ เช่น

- Rhinocort® ใช้เพ ื่อควบคุมอาการภูม ิแพ ้ ใช้ 1 puff (กด 1 ครั้ง) เวลา เช้า

และ เย็นควรใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นประจ าทุกว ัน

- Otrivin® ใช้เพ ื่อบรรเทาอาการคัดจมูก ใช้ 1 puffs เม ื่อจ าเป ็น

3. ก าจ ัดน้ าม ูกออกจากจมูกให ้หมด (ถ้ามี)

4. นั่งตัวตรงเงยศีรษ ะขึ้น เล็กน้อย หรือตั้งศ ีรษะตรง หรือก้มศีรษะ เล็กน้อ ย

(ขึ้นกับยาแต่ละชนิด) ห ุบริมฝีปาก

5. เขย่าขวดยา เปิดฝาขวดยา

6. สอดปลายที่พ ่นยาเข้าในรูจมูก ใช้นิ้วม ืออีกข้างปิดรูจมูกข้างที่เหลือ

7. สูดหายใจเข้าช้าๆ พร้อมกับกดที่พ ่นยาเข้าจมูก โดยให ้ปลายหลอดพ ่นชี้ไป

ทางผนังด้านข้างจมูกมากที่ส ุด ห ้ามพ ่นยาไปที่ผนังกั้นจมูก

8. กลั้นหายใจ 2-3 ว ินาที

9. พ่นยาในรูจมูกอีกข้างด้วยว ิธ ีเดียวกัน (ถ้าต้องพ ่นยา 2ข้างจมูก)

10. ถ้าต้องการพ ่นข้างละ 2 ครั้ง ควรพ ่นข้างละ 1 ครั้งให ้ครบทั้ง 2 ข้างก่อนแล้ว

จ ึงเริ่มพ ่นครั้งท ี่ 2 ให ้ครบทั้งสองข้าง

11. เช็ดท าความสะอาดที่ปลายพ ่น ปิดฝาให ้เรียบร้อย

ข้อแนะน าอื่นๆ

- กรณีเป ็นยาพ ่นบรรเทาอาการคัดจมูก สามารถใช้บรร เทาอาการได้เป ็นครั้ง

คราวเมื่อจ าเป ็น แต่ถ้ายาพ ่นที่เป ็นส เตียรอยด์จะต้องใช้อย่างสม่ า เสมอตาม

แพทย์ส ั่ง

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 56

- กรณีผู้ป ่วยต้องใช้ยาอย่างสม่ าเสมอ ถ้าลืมพ ่นยาให ้พ ่นทันทีท ี่นึกได้ แต่ถ้านึกได้ในระยะ เวลาที่ใกล้เคียง

กับเวลาที่จะพ ่นครั้งต่อไป ก็ให ้พ ่นยาของครั้งต่อไปเลย โดยไม่ต้องเพ ิ่มปริม าณการพ ่นยาเป็น 2 เท ่า

- ไม่ควรหยุดยา ลดขนาดยา หรือเพ ิ่มขนาดยาเอง โดยไม่ปรึกษาแพทย์

- การใช้ยาพ ่นจมูก อาจท า ให ้รู้ส ึกถึงรสขมของยาได้ เพราะช่องจมูกกับล าคอมีการติดต่อถึงกัน

- วิธ ีการใช้ยาพ ่นจมูกที่ผลิตโดยบริษ ัทต่างๆ อาจมีความแตกต่าง ให ้ดูรายละเอียดจากผลิตภ ัณฑ ์แต่ละ ชนิด

ด้วย

ยาหยอดจมูก (Nasal drops)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ เช่น Oxymetazoline ใช้เพ ื่อบรรเทาอาการคัดจมูก ใช้ 2 หยดเมื่อจ าเป ็น

3. ก าจ ัดน้ าม ูกออกให ้หมด (ถ้ามี)

4. ล้างมือให ้สะอาด

5. เป ิดฝาครอบขวดยาออก

6. นั่งตัวตรงเงยศีรษะขึ้นเล็กน้อย หรือ อาจนอนหงายห ้อยศีรษะลงต่ า

7. หยอดยาในรูจมูกตามจ านวนที่ก าหนด ไม่ให ้ปลายหลอดสัมผัสกับโพรงจมูก

8. นั่งท่าเดิมประมาณ 5 นาที เพ ื่อป้องกันยาไหลย้อนออกมา

9. หยอดยาในรูจมูกอีกข้างด้วยว ิธ ีการเดียวกัน (ถ้าต้องหยอดยาในรูจมูกทั้งสองข้าง)

10. ปิดฝาเก็บให ้เรียบร้อย

ขอ้แนะน าอื่นๆ

- กรณีที่เป ็นยาหยอดจมูกบรรเทาอาการคัดจมูก ควรใช้เป ็นครั้งคราวเมื่อจ าเป ็น ไม่ควรใช้ติดต่อกันเกิน 3-

5 ว ัน

- ถ้ายาหยอดจมูกเปลี่ยนส ีหรือมีตะกอนให ้ทิ้งไป

- ไม่ควรใช้ยานี้ร่วมกับผู้อ ื่น

น้ ายาสวนล้างจมูก (Nasal wash, Nasal douche) เช่นน้ าเกล ือ (0.9% normal saline) ล ้างจมูก

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ คือ 0.9% Normal saline nasal wash ใช้สวนล้างจมูก

3. เท 0.9% Normal saline ใส ่ถ้วยหรือแก้วที่เตรียมไว้ แล้วใช้กระบอกบอกฉีดยาดูด

น้ าเกลือจนเต็ม

4. นั่งหรือยืนก้มหน้าเล็กน้อยเอนศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่งเล็กน้อย กลั้นหายใจหรือ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 57

หายใจทางปากเพ ื่อ ป้องกันการส าลัก ฉีดน้ า เกลือประมาณ 5 -10 cc เข้าไปในรู

จมูกด้านบน

ในกรณีเด็กเล็กที่ยังส ่งน้ าม ูก เองไม่ได้ ให ้เด็กนอนในท่าศีรษะสูงพอควร

เพ ื่อป้องกันการส าลัก หรือในกรณีเด็กโตที่ส ั่งน้ าม ูก เองได้ ให ้ เด็กนั่งหรือยืน

แหงนหน้าขึ้นเล็กน้อย ถ้ากลัวเด็กส าลักอาจให ้ก้มหน้าสอดปลายหลอดฉีดเข้าไป

ในรูจมูก ให ้ ปลายกระบอกฉีดชิดด้านบนของรูจมูก ค่อยๆฉีดน้ า เกลือครั้งละ

ประมาณ 0.5-1 cc

5. ใช้ลูกยางแดงดูดน้ าม ูกออก หรือ ให ้ส ั่งน้ าม ูกออก

6. ท าซ ้ าหลายๆครั้งในรูจมูกแต่ละข้างจนไม่ม ีน้ าม ูก

ยาสูดก าหนดขนาด (Metered Dose Inhaler หรือ MDI)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ เช่น

- Seretide Evohaler® ใช้เพ ื่อควบคุมอาการหอบหืด ใช้ 1 puff (กด 1 ครั้ง) เวลา เช้า และ เย็นควรใช้ยานี้

ติดต่อกันเป็นประจ าทุกว ัน

- Ventolin Evohaler® ใช้เพ ื่อบรรเทาอาหารห ืด ใช้ 2 puffs เม ื่อมีอาการ

3. ถือหลอดพ ่นยาในแนวตั้ง เป ิดฝาครอบปากหลอดยาพ ่น

ออก เขย่าหลอดยาในแนวตั้ง 3-4 ครั้ง (กรณีที่ใช้เป ็นครั้ง

แรก หรือใช้เพ ื่อบรรเทาอาการเป็นครั้งคราว ควรทดลอง

กดที่พ ่นยาก่อนใช้จริง)

4. หายใจออกทางปากให ้ส ุดเต็มที่

5. ใช้ริมฝีปากอมรอบปากขวดพ ่นยาให ้สนิท เงยศีรษะขึ้น

เล็กน้อ ย (ว ิธ ีนี้ เห มาะกับผู้ เริ่มใช้ย าพ ่น แต่ว ิธ ีนี้ย าจ ะ

ตกค้างในช่องปากได้มาก) หรือ อ้าปากให ้ปากหลอดพ ่น

ยาอยู่ห ่างจากปากประมาณ 3-4 เซนติเมตร หรือ 1 -2 นิ้ว

เอนศีรษะไปด้านหลังเล็กน้อย (ว ิธ ีนี้ม ีข้อดีท ี่ยาตกค้างใน

ช่องปากน้อยกว่าและจะท าให ้ได้ละอองยาขนาดเล็กกว่า

เข้าไปในปอดได้ดีกว ่า)

6. หายใจเข้าช้าๆ และลึกๆ ทางปากพร้อมๆกับกดที่พ ่นยา 1 ครั้ง ตัวยาจะเข้าส ู่ล าคอพร้อมกับลมหายใจ

7. เอาหลอดพ ่นยาออกจากปาก ห ุบปากให ้สนิท กลั้นหายใจประมาณ 10 ว ินาทีหรือให ้นานที่ส ุดเท่าที่ จะท า

ได้

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 58

8. ผ่อนลมหายใจออกทางปากหรือจมูกช้าๆ

9. กรณีต้องพ ่นยาอีกครั้ง ควรเว ้นระยะห ่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 1-2 นาที จ ึงปฏิบ ัติใหม่ตามข้างต้น

10. หลังใช้เสร็จควรท าความสะอาดปากหลอดพ ่นด้วยน้ าสะอาด เช็ดด้วยกระดาษซับให ้แห ้ง ปิดฝาครอบให ้

เรียบร้อย

11. หลังจากพ ่นยาเสร็จ เรียบร้อย กลั้วในปากและคอด้วยน้ าสะอาดแล้วบ้วนทิ้ง เพ ื่อลดอาการปากคอแห้ง

ช่วยลดการเกิดเชื้อราในช่องปาก และการเกิดเส ียงแหบโดยเฉพาะจากการใช้ยาสเตียรอยด์

ข้อแนะน าในการใช้ยาพ ่นส ูด 2 ชนิด

กรณีที่ผ ู้ป ่วยต้องใช้ยาพ ่นส ูดร่วมกัน 2 ชนิด ต้องเว ้นระยะในการพ ่นยาแต่ละชนิด เช่น ยา พ ่นส ูด

ขยายหลอดลม และยาสเตียรอยด์ ควรพ ่นยาขยายหลอดลมก่อน เพ ื่อให ้ยาออกฤทธิ์ก ่อนจะท าให ้การพ ่นยา

สเตียรอยด์เข้าปอดได้มากขึ้น และเว ้นระยะ 5 นาทีจ ึงค่อยพ ่นยาสเตียรอยด์

ข้อแนะน าเพ ิ่มเติมอื่นๆ

- ก่อนใช้ยา ผ ู้ป ่วยควรฝึกซ ้อมการหายใจทางปากก่อน โดยสูดหายใจเข้าออกช้าๆลึกๆจนช านาญ

- ผู้ป ่วยอาจทดลองพ ่นยาหน้ากระจก ถ้าขณะพ ่นยามีไอระเหยของละอองยารอบๆปาก แสดงว่าใช้ยาไม่

ถูกต้อง

- ถ้าผู้ป ่วยมีเสมหะ ก่อนพ ่นยาควรก าจ ัดเสมหะออกจากล าคอก่อน

- การลืมพ ่นยาให ้พ ่นทันทีท ี่นึกขึ้นได้ และพ ่นครั้งต่อไปตามปกติ แต่ถ้านึกขึ้นได้ในระยะ เวลาที่ใกล้กับ

เวลาของการพ ่นครั้งต่อไป ให ้พ ่นครั้งต่อไปได้เลย โดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาดการพ ่นเป็น 2 เท ่า

- ยาพ ่นที่เป ็นยาขยายหลอดลมเท่านั้นที่สามารถใช้กับอาการจับห ืดฉับพลันได้ ส ่วนยาพ ่นที่เป ็นส เตียรอยด์

และยาอื่นๆ ไม่สามารถขยายหลอดลมได้ แต่จะใช้ส าหรับป้องกันอาการในระยะยาวและใช้เวลา 1 -4

ส ัปดาห ์จ ึงจะเห ็นผลเต็มที่ ดังนั้นจ ึงควรใช้ยาพวกนี้ตามแพทย์ส ั่งอย่างต่อเนื่อง

- เม ื่อใช้ยาหมดแล้ว ไม่ควรทุบหลอดยาหรอเผาไฟ เพราะอาจท าให ้หลอดยาระเปิดได้

ยาสูด Accuhaler

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ เช่น Seretide accuhaler เป ็นยาควบคุมโรคหอบหืด ใช้ครั้งละ

1 ส ูด ว ันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นประจ าทุกว ัน

3. ถือเครื่องในแนวราบขนานกับพ ื้น

4. เป ิด เค รื่อ ง accuhaler โดยใช้ม ือ ข้างห นึ่ง จ ับตัว เค รื่องด้านนอกไว้ แล้ว ใช้

นิ้วห ัวแม่ม ือของมืออีกข้างหนึ่งวางที่ร่อง

5. ดันนิ้วห ัวแม่ม ือในทิศออกจากตัวไปจนสุด

6. ถือเครื่องไว ้ในแนวนอน โดยให ้ปากกระบอกหันเข้าหาตัว ดันแกนเลื่อนออกไป

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 59

จนสุดจนได้ยินเส ียง “คลิก” และห ้ามดันกลับ

7. หายใจ ออกท างป าก ให ้ม ากที่ส ุด ระ ว ังอ ย่าพ ่นลมห ายใจ เข้า ไปใน เครื่อ ง

(เช่นเดียวกับ MDI)

8. อมปากกระบอกให ้สนิท

9. สูดลมหายใจ เข้าทางปากโดยผ่าน เครื่อ งมือ ให ้ “เ ร็ว แรงและ ลึก” แล้ว เอ า

เครื่องมือออกจากปาก

10. กลั้นหายใจประมาณ 10 ว ินาที หรือนานที่ส ุดเท่าที่จะท าได้ แล้วหายใจออกช้าๆ

11. ปิดเครื่องโดยวางนิ้วห ัวแม่ม ือบนร่อง แล้ว เลื่อนกลับมาหาตัวจนสุด เม ื่อ เครื่อง

ถูกปิดจะได้ยินเส ียง “คลิก” แกนเลื่อนจะคืนกลับมาในต าแหน่งเดิมโดยอัตโนมัติ

ส าหรับพร้อมที่จะใช้งานในครั้งต่อไป

12. หลังจากสูดยาเสร็จเรียบร้อย ให ้กลั้วปากและคอด้วยน้ าสะอาดแล้วบ้วนทิ้ง เพ ื่อลดอาการปากคอแห้ง

ช่วยลดการเกิดเชื้อราในช่องปาก และการเกิดเส ียงแหบโดยเฉพาะจากการใช้ยาสเตียรอยด์

ข้อแนะน าเพ ิ่มเติมอื่นๆ

- ถ้าผู้ป ่วยมีเสมหะ ก่อนสูดยาควรก าจ ัดเสมหะออกจากล าคอก่อน

- ปิด accuhaler ทุกครั้งท ี่ไม ่ได้ใช้ และดันแกนเลื่อนเมื่อต้องการจะใช้ยาในครั้งต่อไปเท่านั้น

- ห้ามใช้น้ าล้างเครื่อง แต่ให ้ใช้ผ ้าหรือกระดาษทิชชูสะอาดเช็ดท าความสะอาดแทน และเก็บ accuhaler ไว้

ในที่แห ้ง

- กรณียาหมดจะปรากฏเลข 0

ยาสูด Turbuhaler

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ เช่น ยา Budesonide ใช้เพ ื่อควบคุมอาการหอบหืด ส ูดครั้งละ 1

ส ูด ว ันละ 2 ครั้งเวลา เช้า และ เย็น

3. เป ิดฝาครอบขวดยาออก

4. ถือขวดยาในลักษณะตั้งตรง ปลายหลอดอยู่ด ้านบน

5. บิดฐานหลอดยาไปด้านขวา (ทวนเข็มนาฬิกา) ให ้ส ุด แล้วบิดกลับมาด้านซ้าย

(ตามเข็มนาฬิกา) ให ้ส ุดจะได้ยินเส ียง “คลิก” แสดงว่ายาบรรจุพร้อมที่จะส ูด

6. หายใจ ออกท างป าก ให ้ม ากที่ส ุด ระ ว ังอ ย่าพ ่นลมห ายใจ เข้า ไปใน เครื่อ ง

(เช่นเดียวกับ MDI)

7. ใช้ริมฝีปากอมปลายหลอดให ้สนิท

8. สูดหายใจเข้าทางปากให ้แรงและลึก

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 60

9. กลั้นหายใจไว้อย่างน้อย 10 ว ินาที หรือให ้นานที่ส ุด เท่าที่จะท าได้ แล้วหายใจ

ออกช้าๆ

10. ถ้าต้องการส ูดยามากกว่า 1 ครั้ง ให ้เริ่มท าใหม่ตั้งแต่ต้น

11. เม ื่อใช้เสร็จแล้ว ให ้ท าความสะอาดปากหลอดด้วยผ้าหรือ กระดาษทิชชูสะอาด

แล้วปิดฝาให ้สนิท

12. หลังจากสูดยาเสร็จเรียบร้อย ให ้กลั้วปากและคอด้วยน้ าสะอาดแล้วบ้วนทิ้ง เพ ื่อ

ลดอาการปากคอแห้ง ช่วยลดการเกิด เชื้อราในช่องปาก และการเกิด เส ียงแหบ

โดยเฉพาะจากการใช้ยาสเตียรอยด์

ข้อแนะน าเพ ิ่มเติมอื่นๆ

- ถ้าผู้ป ่วยมีเสมหะ ก่อนสูดยาควรก าจ ัดเสมหะออกจากล าคอก่อน

- หากลืมส ูดยาให ้ส ูดทันทีท ี่นึกขึ้นได้ และส ูดครั้งต่อไปตามปกติ แต่ถ้านึกขึ้นได้ในระยะ เวลาที่ใกล้กับ

เวลาของการส ูดครั้งต่อไป ให ้ส ูดครั้งต่อไปได้เลย โดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาดการส ูดเป็น 2 เท ่า

- ใช้ยาตามค าแนะน าของแพทย์ ไม่ควรลดขนาดการใช้ยา หรือหยุดใช้ยาเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์

- ยาส ูดที่เป ็นยาขยายหลอดลมเท่านั้นที่บรรเทาอาการหอบฉับพลันได้ ส ่วนยาส ูดส เตียรอยด์ใช้ส าหรับ

ป้องกันในระยะยาว และใช้เวลา 1 -4 ส ัปดาห ์ จ ึงจะเห ็นผลเต็มที่ ดังนั้นจ ึงควรใช้ยานี้ตามแพทย์ส ั่งอย่าง

ต่อเนื่องสม่ าเสมอ

- ถ้าพบแถบสีแดงปรากฏที่ด้านบนของช่องที่แสดงจ านวนขนาดยาที่ เหลืออยู่ แสดงว่ายาเหลือ 20 ครั้ง

(dose) ให ้ผ ู้ป ่วยรีบไปพบแพทย์เพ ื่อรับยาต่อ แต่ถ้าแถบสีแดงเลื่อนลงมาอยู่ส ่วนล่างแสดงว่ายาหมด

แม้ว ่าเขย่าขวดยาแล้วจะยังได้ยินเส ียงก็ตาม

ยาหยอดหู (Ear drops)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ เช่น Neomycin ear drop เป ็นยาหยอดหูใช้รักษาการติดเชื้อ

เเบคทีเรียภายในรูห ู ให ้หยอด 4 หยดลงในหูข้างขวา ว ันละ 4 ครั้ง

3. ล้างมือให ้สะอาด

4. เอ ียงศีรษะให ้ห ูข้างที่จะหยอดยาอยู่ด ้านบน

5. หยอดยาเข้าไปในหูตามที่ก าหนด ระวังอย่าเอาหลอดหยดสอดเข้าไปในรูห ู

6. เอ ียงตะเเคงอยู่ท ่าเดิม 3-5 นาที และอาจเอาส าลีใส ่ในรูห ูไว ้เล ็กน้อย เพ ื่อไม่ให ้ยาไหลออกมา

7. ถ้าเป็นยาน้ าแขวนตะกอน ให ้เขย่าขวดก่อนใช้

8. อาจแนะน าเพ ิ่มเติมว ่า ยาหยอดหูบางชนิดที่เก ็บไว ้ในตู้เย็น ก่อนใช้ยาให ้ก ายาหยอดหูในมือไว ้ประมาณ

2-3 นาที เพ ื่อปรับอุณหภูม ิให ้ใกล้เคียงกับร่างกายกอ่นหยอดยา

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 61

ยาอมใต้ล ิ้น (Sublingual tablets)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ เช่น Isosorbide dinitrate 5 mg เป ็นยาอมใต้ลิ้น ใช้ขยายหลอดเลือด รักษาอาการเจ ็บ

แน่นหน้าอก ใช้เฉพาะเวลามีอาการเจ ็บแน่นหน้าอก

3. เม ื่อมีอาการปวดหน้าอก แน่นหน้าอกหรือเจ ็บหน้าอกให ้นั่ง หรือ นอนลง

4. อมยา 1 เม ็ด ไว ้ใต้ล ิ้น โดยปล่อยให ้ยาละลายจนหมด ห ้าม เคี้ยวยา ห ้ามกลืน

ยาทั้งเม ็ด ห ้ามบ้วนหรือกลืนน้ าลาย

5. อาการจะดีขึ้นหลังจากอมยาไปแล้ว 5 นาที หากอาการไม่ดีขึ้นสามารถอมซ้ า

ได้ ถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลังจากอมเม็ดที่ 2 ให ้อม เม็ดที่ 3 แล้วรีบน าผู้ป ่วยส ่ง

โรงพยาบาล

6. หลังจากอมยาแล้วให ้อยู่ในท่าเดิมส ักพ ัก อย่าเพ ิ่งเปลี่ยนท่าท างรวดเร็ว เพราะ

จะท าให ้หน้ามืดได้

7. อาจอมยานี้เพ ื่อป้องกันการเกิดอาการ ก่อนประกอบกิจกรรมที่คาดว่าจะท าให ้ม ีอาการ 5-10 นาที

ยาเหน็บทวารหนัก (Rectal suppositories)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น Glycerol suppository ขนาด 2250 mg ใช้

ส าหรับอาการท้องผูก

3. ล้างมือให ้สะอาด

4. ถ้ายาเหน็บนิ่มให ้แช่ยาในตู้เย็นก่อนแกะออกจากห ่อ หรืออ าจแช่ในน้ า

เย็นก็ได้ เพ ื่อให ้ยาแข็งตัวจะสอดได้ง่ายขึ้น

5. แกะเม็ดยาออกจากห ่อ

6. นอนตะแคงโดยให ้ขาล่างเหยียดตรง และงอขาบนขึ้นจนหัว เข่าชิดอก

มากที่ส ุด หรือยืนตรงยกขาข้างหนึ่งขึ้นโดยให ้เท ้าเหยียบบนเก้าอี้ เอามือ

อ้อมไปด้านหลังแล้วสอดยาเหน็บ

7. สอดยาเหน็บเข้าไปในทวารหนัก เอาด้านที่ม ีปลายแหลมกว่าเข้าไปก่อน

โดยใช้นิ้วดันยาเข้าไปช้าๆ และเบาๆ พยายามสอดให ้ลึก เพ ื่อไม่ให ้แท่ง

ยาหลุดออกมา

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 62

8. นอนท่าเดิมซ ักครู่หนึ่ง (ประมาณ 15 นาที) ถ้าเป็นยาเหน็บระบายควรนอนในท่าเดิมไม่ต่ ากว ่า 15-20

นาที จ ึงลุกขึ้นไปถ่ายอุจจาระ แม้ว ่าหลังสอดยาแล้วจะมีความรู้ส ึกอยากถ่ายก็ต้องกลั้นอุ จจาระไว้ก่อน

หากลุกไปถ่ายทันทีหลังสอดยาจะท าให ้ยาหลุดออกมาจากทวารหนักก่อนที่จะออกฤทธิ์ได้เต็มที่

ยาสวนทวารหนัก (Rectal enema)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น Sodium Chloride enema ขนาด 250 ml ใช้

ส าหรับอาการท้องผูก

3. ล้างมือให ้สะอาด

4. ถ้ามีฝาปิดหลอดสวนให ้เอาฝาปิดออกก่อน และหล่อลื่นปลายหลอด

สวนด้วยสารหล่อลื่น

5. นอนตะแคงโดยให ้ขาล่างเหยียดตรง และงอขาบนขึ้นจนหัว เข่าชิดอก

มากที่ส ุด

6. สอดปลายหลอดสวนเข้าไปในทวารหนัก สอดโดยค่อยๆหมุนขวดยา

ช้าๆ และเบาๆ (ขณะสอดควรหายใจเข้าลึกๆ เพ ื่อให ้สอดใส ่ได้ง่ายขึ้น)

7. ค่อยๆบีบยาจากขวดหรือภาชนะบรรจุน้ ายาอย่างช้าๆจนน้ ายาหมด

8. พยายามขมิบทวารหนักไว ้ 2-3 ว ินาที

9. นอนในท่าเดิมประมาณ 15-30 นาที ถ้า เป ็นการสวนระบายแม้จะมี

ความรู้ส ึกอยากถ่ายก็ให ้กลั้นเอาไว ้ก่อน หากลุกไปถ่ายทันทีหลังสอด

ยาจะท าให ้ยาหลุดออกมาจากทวารหนักก่อนที่จะออกฤทธิ์ได้เต็มที่

โดยกลั้นไว ้นานสุดเท่าที่จะท าได้

ยาเหน็บช่องคลอดโดยใช้มือ (Vaginal suppositories)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น ยา Clotrimazole ขนาด 500 mg ใช้ส าหรับรักษา

อาการติดเชื้อราในช่องคลอด โดยสอดยาเหน็บช่องคลอดก่อนนอน

3. ล้างมือให ้สะอาด

4. แกะยาออกจากกระดาษห่อ จ ุ่มเม ็ดยาในน้ าสะอาดพอให ้ยาชื้น ( 1 -2 ว ินาที) เพ ื่อช่วยลดการระคายเคือง

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 63

5. นอนหงาย โดยชันห ัวเข่าขึ้นและแยกขาออก

6. สอดยาเข้าในช่องคลอด ให ้ลึกที่ส ุดเท่าที่จะท าได้ โดยใช้นิ้ว ช่วยดันยาเข้า

ไป

7. นอนท่าเดิมส ักครู่ ประมาณ 15 นาที เพ ื่อไม่ให ้ยาไหลออกมาจากช่อง

คลอด

ข้อแนะน าเพ ิ่มเติมอื่นๆ

ควรเหน็บยาติดต่อกันทุกว ันอย่างน้อย ตามจ านวนวัน หรือขนาดยาที่

ก าหนด เช่น 7 ว ัน หรือขึ้นกับชนิดของยาและตามค าแนะน าของแพทย์หรือ

เภส ัชกร เม ื่อสอดยาเหน็บแล้วควรนอนท่าเดิมนิ่งๆ จนกว่ายาจะละลายหมด

ปกติม ักจะเหน็บก่อนนอน ควรใช้กระดาษช าระซ ้อนทับกันหลายๆชั้นรองที่

กางเกงในไว้ เพ ื่อรองรับส ่วนของเม็ดยาที่จะละลายไหลออกมา

ยาเหน็บช่องคลอดโดยใช้เครื่องมือช่วยสอด (Vaginal suppositories)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น ยา Clotrimazole ขนาด 500 mg ใช้ส าหรับรักษา

อาการติดเชื้อราในช่องคลอด โดยสอดยาเหน็บช่องคลอดก่อนนอน

3. ล้างมือให ้สะอาด

4. แกะยาออกจากกระดาษห่อ

5. ใส ่เม ็ดยาในเครื่องมือช่วยสอด โดยมีขั้นตอนดังนี้

- โดยดึงก้านส ูบของเครื่องมือออกมาจนสุด

- ใส ่ยาในช่องใส ่ยาที่ปลายของเครื่องมือ เม ็ดยาจะติดที่ช่องใส ่ยา

6. นอนหงาย โดยชันห ัวเข่าขึ้นและแยกขาออก

7. สอดยาเข้าในช่องคลอด โดยมีขั้นตอนดังนี้

- โดยจับตัวเครื่องมือสอดยาที่ใส ่ยาแล้วด้วยนิ้วห ัวแม่ม ือและนิ้วกลาง

ส ่วนนิ้วชี้ให ้แตะอยู่ท ี่ปลายก้านส ูบ

- หันปลายที่ม ียาเข้าไปในช่องคลอด ค่อยๆสอดเครื่องมือ เข้าไปเบาๆ

เม ื่อสอดเข้าไปลึกพอควรให ้ใช้นิ้วชี้ด ันก้นลูกส ูบ เพ ื่อไล่ตัวยาออกจาก

เครื่องมือ โดยยาจะตกอยู่ในช่องคลอด

- เอาเครื่องมือออกจากช่องคลอด

8. นอนท่าเดิมส ักครู่ ประมาณ 15 นาที เพ ื่อไม่ให ้ยาไหลออกมาจากช่องคลอด

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 64

ยาฉีดอ ินซ ูล ิน (Insulin injection)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น ยาที่ค ุณได้รับคือ ยาฉีดอินซ ูลินใช้เพ ื่อลดระดับ

น้ าตาลในเลือด ขนาดยาของ regular insulin ใช้ 60 ยูนิต โดยให ้ฉีดอินซ ูลิน

กอ่นรับประทานอาหาร 15-30 นาที

3. ล้างมือด้วยสบู่และน้ าให ้สะอาด เช็ดมือให ้แห ้ง

4. คลึงขวดยาอินซ ูลินเบาๆ บนฝ่ามือทั้งสองข้างเพ ื่อให ้ตัวยาผสมเข้ากัน และ

มีอุณหภูม ิใกล้เคียงกับร่างกายจะช่วยลดอาการปวดหลังการฉีดยา

5. เป ิดฝาครอบจุกยางออก (ถ้ามี) เช็ดจ ุกยางด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์บนขวด

ยา

6. น ากระบอกฉีดยา (syringe)(โดยเลือกขนาด syringe ให ้เหมะสมกับปริมาณ

insulin ที่ต้องการ) ที่สะอาดออกมาจากภาชนะบรรจุ ดูดอากาศเข้ามาใน

กระบอกฉีดยาให ้ม ีปริมาตรเท่ากับขนาดอินซ ูลินที่ต้องการ

7. แทงเข็มฉีดยาให ้ทะลุจ ุกยางของยาลงไปในขวดยา แล้วฉีดอากาศเข้าไปใน

ขวดยา

8. คว่ าขวดยาที่ม ีเข็มปักค้างอยู่ ค่อยๆ ดูดอินซ ูลินจากขวดเข้าไปในหลอดฉีด

ยาในขนาดเท่าทีต้องการ

9. ตรวจดูว ่าม ีฟองอากาศหรือไม่ ถ้าม ีให ้ฉีดยากลับเข้าไปในขวดใหม่ แล้วดูด

ยากลับเข้ามาอีกครั้งจนได้ตามขนาดที่ต้องการ

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้กรณีที่ฉ ีดยาผสมสองชนิด

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น ยาที่ค ุณได้รับคือ ยาฉีดอินซ ูลินชนิดออกฤทธิ์ส ั้น

(น้ าใส) และชนิดออกฤทธิ์ยาว (น้ าขุ่น) เพ ื่อลดระดับน้ าตาลในเลือด

3. ล้างมือด้วยสบู่และน้ าให ้สะอาด เช็ดมือให ้แห ้ง

4. คลึงขวดยาอินซ ูลินเบาๆ บนฝ่ามือทั้งสองข้างเพ ื่อให ้ตัวยาผสมเข้ากัน และ

มีอุณหภูม ิใกล้เคียงกับร่างกายจะช่วยลดอาการปวดหลังการฉีดยา

5. เป ิดฝาครอบจุกยางออก (ถ้ามี) เช็ดจ ุกยางด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์บนขวด

ยา

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 65

6. น ากระบอกฉีดยา (syringe) ท ี่สะอาดออกมาจากภาชนะบรรจุ ดูดอากาศ

เข้ามาในกระบอกฉีดยาให ้ม ีปริมาตรเท่ากับขนาดอินซ ูลินชนิด น้ าขุ่นที่

ต้องการ แล้วฉีดลมเข้าไปในขวดอินซ ูลินชนิดน้ าขุ่น อย่าเพ ิ่งดูดยา

7. น ากระบอกฉีดยา (syringe) อันเดิม ดูดอากาศเข้ามาในกระบอกฉีดยาให ้ม ี

ปริมาตรเท่ากับขนาดอินซ ูลินชนิดน้ า ใสที่ต้องการ แล้วฉีดลมเข้าไปใน

ขวดอินซ ูลินชนิดน้ าใส และ

8. ดูดอินซ ูลินชนิดน้ าใสออกมาเท่ากับปริมาตรที่ต้องการ

9. น ากระบอกฉีดยา (syringe) อันเดิมที่ม ีอ ินซ ูลินชนิดน้ าใส อยู่ กลับมาดูด

อินซ ูลินชนิดน้ าขุ่นเท่ากับปริมาตรที่ต้องการ แล้วน าไปฉีดทันที

ข้อแนะน าว ิธ ีการฉีดอินซ ูลิน

1. ท าความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์

2. ใช้ม ือข้างหนึ่งดึงผิวหนังที่ฉ ีดยาให ้ส ูงขึ้น ม ือข้างที่เหลือจ ับกระบอกฉีดยา

คล้ายกับการจับปากกา แล้วแทงเข็มผ่านผิวหนังอย่างรวดเร็ว โดยวางเข็ม

เอียงท ามุม 45-90 องศากับผิวหนังบริเวณนั้น แล้วค่อยๆ ฉีดอินซ ูลินช้าๆ

โดยกดก้านสูบของกระบอกฉีดยาจนสุด

3. ถอนเข็มออกอย่างรวดเร็ว และกดบริเวณที่ฉีดด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล ์

4. เม ื่อฉีดเสร็จ และต้องการเก็บ เข็มไว ้ฉีดซ ้ า ให ้หลีก เลี่ยงการเช็ดท าความ

สะอาดเข็มด้วยแอลกอฮอล์ เนื่องจากท าให ้ลดความคมของเข็ม ในการทิ้ง

กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยาอย่างเหมาะสม

ข้อแนะน าเพ ิ่มเติมอื่นๆ

- ต าแหน่งที่เหมาะสมกับการฉีดอินซ ูลิน คือ หน้าท้อง หน้าขา บั้นเอว และหน้าแขน

- ไม่ควรฉีดยาในต าแหน่งเดิมบ่อยๆ ควรเลื่อนต าแหน่งในการฉีดยาให ้ห ่างจากต าแหน่งหลังส ุดประมาณ 1

นิ้ว

- ไม่ควรคลึงหรือนวดบริเวณฉีดยาหลังฉีดยาเสร็จ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 66

- ผลิตภ ัณฑ ์อินซ ูลินแต่ละชนิด อ าจมีข้อแนะน าว ิธ ีก ารใช้เพ ิ่ม เติม หรือ แตกต่างไปจากนี้ ให ้ยึดตาม

ผลิตภ ัณฑ ์นั้นๆ

ปากกาฉีดอ ินซ ูล ิน (Insulin pen)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น Mixtard 30 HM Penfill เป ็นยาที่ใช้ลดระดับน้ าตาลในเลือดส าหรับผู้ป ่วย

เบาหวาน ให ้ใช้ปริมาณ 15 unit ฉีดก่อนรับประทานอาหารเช้า 30 นาที

3. หมุนปากกา เพ ื่อถอดส่วนใส ่หลอดอินซ ูลินออก ใส ่หลอดอินซ ูลินเข้าไปในส่วนบรรจุหลอดอินซ ูลิน

4. เช็ดบริเวณจุกยางหลอดอินซ ูลินด้วยแอลกอฮอล์

5. ใส ่เข็มของปากกาเข้าไปที่ปลายหลอดอินซ ูลิน

6. หมุนตัวเลขให ้เท ่ากับขนาดยาที่ฉ ีด เขย่าปากกา โดยแกว่งไปมาประมาณ 10 ครั้ง

7. ท าความสะอาดผิวหนังที่จะฉีดด้วยแอลกอฮอล์

รอให ้แห ้ง

8. ใช้ม ือดึงผิวหนังบริเวณที่ฉีดยาให ้ส ูงขึ้น

9. แทงเข็มฉีดยาตั้งฉากกับผิวหนังบริเวณที่ฉีดจนมิด

เข็ม เดินยาโดยกดปุ่มที่ฉ ีดยาจนหมด ถอนปากกา

ออก ใช้ส าลีกดต าแหน่งที่ฉ ีดไว ้ส ักครู่

10. หลังจากจบขั้นตอนการฉีดอินซ ูลินแล้ว ให ้สวม

ปลอกนอกหัว เข็ม แล้วบิดห ัว เข็มทิ้ง ลงในถังที่

ปลอดภัย

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 67

การใช้ชุดตรวจตังครรภ์ (Pregnancy test)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ชุดทดสอบการตั้งครรภ์เป ็นการตรวจหาฮอร์โมน Human Chorionic Gonadotropin (HCG) ซึ่งสามารถ

ตรวจพบได้หลังจากประจ าเดือนขาดหายไป 1 ว ัน

3. ควรเก็บปัสสาวะครั้งแรกหลังตื่นนอน และควรเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (ปัสสาวะทิ้งไปก่อนแล้วค่อยเก็บ )

โดยอุปกรณ์ชุดทดสอบสามารถแบ่งตามวิธ ีการใช้ดังนี้

- แบบจุ่ม : จุ่ม แถบทดสอบลงในถ าดปัส ส าว ะในระดับ ขีดลูก ศ รที่ก าห นดบนแถบ

ทดสอบ 30 ว ินาที น าแถบทดสอบวางในระดับพ ื้นราบ (หรือวางบนถาดใส ่

ป ัสสาวะ) รออ่านผลภายในเวลา 1 -5 นาที

- แบบหยด : ใช้หลอดพลาสติกที่ให ้มาดูดปัสสาวะซึ่งอยู่ในถ้วยที่เตรียมไว้ หยดปัสสาวะ

ลงในหลุมทดสอบ 3 หยด ช้าๆ โดยให ้หยดแรกซึมก่อนถึงจะหยดปัสสาวะ

หยดต่อไป วางชุดทดสอบไว้ประมาณ 1 -5 นาที จ ึงอ่านผลการทดสอบ

- แบบปัสสาวะผ่าน : ปัสสาวะผ่านลงบนแผ่นดูดซ ับ ทิ้งไว ้จนแถบสีปรากฏภายใน 1 –5 นาที แล้ว

อ่านผลทดสอบ

4. อ่านผล

- ผลออกมา 1 แถบ ขึ้นที่ C แสดงว่าไม่ตั้งครรภ์ ให ้ตรวจซ ้ าอีกครั้งถ้าประจ าเดือนไม่มา

- ผลออกมา 2 แถบ ขึ้นที่ C และ T แสดงว่าตั้งครรภ์

- ไม่แสดงผลหรือผลออกมา 1 แถบ ขึ้นที่ T ให ้ตรวจอีกครั้ง เพราะเครื่องตรวจอาจเส ีย

การใช้หมากฝรั่งนิโคติน (Nicotine gum )

ข้อแนะน าและวิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น หมากฝรั่งนิโคติน 2 mg เป ็นหมากฝรั่งท ี่ช่วยในการเลิกบุหรี่

3. แนะน าให ้หยุดส ูบบุหรี่เม ื่อใช้หมากฝรั่งช่วยเลิกบุหรี่

4. เคี้ยวหมากฝรั่งช้าๆ จนกระทั่งม ีรสเผ็ดซ ่า (แสดงว่ามีนิโคตินถูกปลดปล่อยออกมา)

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 68

5. หยุดเคี้ยวแล้วพ ักหมากฝรั่งไว ้ท ี่กระพ ุ้งแก้ม หรือบริเวณเหงือกจนกระทั่งรสเผ็ดซ ่าหมดไป (ประมาณ 1

นาที) จ ึงเริ่มเคี้ยวใหม่

6. เคี้ยวช้าๆสลับกับการพ ัก ท าต่อเนื่องเป็นเวลา 30 นาที

7. เม ื่อใช้เสร็จแล้วห ่อกระดาษให ้ม ิดชิด ป ้องกันเด็กหรือส ัตว ์น าไปเล่น

ข้อแนะน าเพ ิ่มเติมอื่นๆ

- ควรงดเครื่องดื่มที่เป ็นกรด เช่น กาแฟ น้ าส ้ม น้ าอัดลม 15 นาที ก่อนใช้หมากฝรั่ง

- การกลืนน้ าลายอาจท าให ้ระคายเคืองทางเดินอาหาร หรือเกิดอาการแสบยอดอกได้ (heart burn)

- ขนาดหมากฝรั่งท ี่ใช้

สูบบุหรี่ < 25 มวน/ว ัน ใช้หมากฝรั่งขนาด 2 mg โดยใช้ไม่เกิน 30 ชิ้น/ว ัน

สูบบุหรี่ > 25 มวน/ว ัน ใช้หมากฝรั่งขนาด 4 mg โดยใช้ไม่เกิน 15 ชิ้น/ว ัน

การใช้แผ ่นแปะนิโคติน (Nicotine patch)

ข้อแนะน าและวิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น แผ่นแปะนิโคติน เป็นแผ่นแปะที่ช่วยในการเลิกบุหรี่

3. แนะน าให ้หยุดส ูบบุหรี่เม ื่อใช้แผ่นแปะช่วยเลิกบุหรี่

4. ควรติดแผ่นแปะในบริเวณที่ไม่ม ีขน ไม่ม ีบาดแผล โดยติดระหว่างบริเวณ คอ สะโพก หรือต้นแขนด้าน

นอก โดยควรท าความสะอาดผิวก่อน แล้วท าให ้แห ้ง ถ้าจ า เป ็นต้องติดบริเวณที่ม ีขน ไม่ควรโกนขน

เพราะอาจท าให ้ผ ิวหนังมีบาดแผลได้ แต่ให ้ใช้การตัดเล็มขนออก

5. ก่อนติดล้างมือให ้สะอาดและเช็ดให ้แห ้ง

6. ลอกแผ่นใสที่คลุมส ่วนเหนียวที่ม ีตัวยาออก

7. เวลาปิดแผ่น ให ้กดแผ่นไว้ประมาณ 10 ว ินาที เพ ื่อให ้แผ่นแปะติดแน่น เสร็จแล้วล้างมือให ้สะอาด เพ ื่อ

ก าจ ัดนิโคตินที่ติดที่เล ็บและนิ้ว

8. ติดแผ่นแปะทุกว ันในเวลาเดียวกัน โดยติดแผ่นตลอด 24 ชั่วโมง แม้ว ่าจะนอนหรืออาบน้ า ยกเว ้นมี

อาการนอนไม่หลับหรือฝันร้าย ให ้เอาแผ่นแปะออกก่อนนอน หรือติดแผ่นแปะเพ ียง 16 ชั่วโมง

9. การติดแผ่นแปะ ควรเปลี่ยนบริเวณที่ติดทุกว ัน เพ ื่อป้องกันการระคายเคืองผิวหนัง

10. ไม่ควรตัดแผ่นแปะเพ ื่อปรับขนาดยา

11. เม ื่อใช้เสร็จแล้วห ่อกระดาษให ้ม ิดชิด เพ ื่อป้องกันเด็กหรือส ัตว ์น าไปเล่น

12. ขนาดแผ่นแปะที่ใช้

สูบบุหรี่ < 20 มวน/ว ัน ใช้แผ่นแปะนิโตตินขนาด 20 cm2 1 ชิ้นเป็นเวลา 6-8 ส ัปดาห ์ จากนั้นใช้ขนาด

10 cm2 1 ชิ้น เป ็นเวลา 3-4 ส ัปดาห ์

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 69

สูบบุหรี่ > 20 มวน/ว ัน ใช้แผ่นแปะนิโตตินขนาด 30 cm2 1 ชิ้นเป็นเวลา 3-4 ส ัปดาห ์ จากนั้นใช้ขนาด

20 cm2 1 ชิ้น เป ็นเวลา 3-4 ส ัปดาห ์ จากนั้นใช้ขนาด 10 cm2 1 ชิ้น เป ็นเวลา 3-4 ส ัปดาห ์

การใช้แผ ่นแปะ Nitroglycerin

ข้อแนะน าและวิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น แผ่นแปะ Nitroglycerin ใช้ส าหรับรักษาอาการเจ ็บหน้าอก

3. ควรติดแผ่นแปะในบริเวณที่ไม่ม ีขน ไม่ม ีบาดแผล โดยติดระหว่างบริเวณ คอ สะโพก หรือต้ นแขนด้าน

นอก โดยควรท าความสะอาดผิวก่อน แล้วท าให ้แห ้ง ถ้าจ า เป ็นต้องติดบริเวณที่ม ีขน ไม่ควรโกนขน

เพราะอาจท าให ้ผ ิวหนังมีบาดแผลได้ แต่ให ้ใช้การตัดเล็มขนออก

4. ก่อนติดล้างมือให ้สะอาดและเช็ดให ้แห ้ง

5. ลอกหรือฉีกแผ่นอะลูม ิเนียมที่คลุมส ่วนเหนียวที่ม ีตัวยาออก และห ้ามจับแผ่นแปะส่วนที่เหนียวนั้น

6. เวลาปิดแผ่น ให ้กดแผ่นไว้ประมาณ 10 ว ินาที เพ ื่อให ้แผ่นแปะติดแน่น เสร็จแล้วล้างมือให ้สะอาด

7. ติดแผ่นแปะทุกว ันในเวลาเดียวกัน โดยติดแผ่นแปะ 12-14 ชั่วโมง หรือตามที่แพทย์ส ั่ง และให ้เอาแผ่น

แปะออกเพ ื่อให ้ม ี Nitrate free interval time 12 ชั่วโมง

8. การติดแผ่นแปะ ควรเปลี่ยนบริเวณที่ติดทุกว ัน เพ ื่อป้องกันการระคายเคืองผิวหนัง

9. ไม่ควรตัดแผ่นแปะเพ ื่อปรับขนาดยา

10. เม ื่อใช้เสร็จแล้วห ่อกระดาษให ้ม ิดชิด เพ ื่อป้องกันเด็กหรือส ัตว ์น าไปเล่น

ยาที่ต ้องผสมน้ าก ่อนใช้ (Powder for reconstitution )

ยาน้ าเชื่อมผงแห้ง (Dry syrup)

ถ้าผู้ป ่วยได้รับยาขวดเดียว ควรผสมน้ าให ้ผ ู้ป ่วยเลย ถ้าได้รับสองขวด ควรผสมให ้ 1 ขวด อีกขวด

อธิบายว ิธ ีการผสม

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น Amoxicillin เป ็นยารักษาต่อมทอนซิลอักเสบที่เก ิดจากการติดเชื้อ เเบ คทีเรีย ให ้

ทานครั้งละ 2.5 ml วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เท ี่ยง เย็น

3. การผสมยาต้องใช้น้ าต้มส ุกที่เย็นแล้ว หรือน้ าสะอาดที่เย็น ห ้ามใช้น้ าร้อนหรือน้ าอุ่น

4. ก่อนผสมน้ าควรเคาะผงยาในขวดให ้ร่วน ไม่จ ับตัวกัน

5. เติมน้ าครั้งแรก ประมาณ ½ ของขีดที่ก าหนด หรือพอท่วมผงยา

6. เขย่าให ้ยากระจายตัวทั่ว ไม่จ ับเป็นก้อนแข็ง

7. เติมน้ าปรับระดับให ้พอดีขีดที่ก าหนด แล้วเขย่าอีกครั้ง

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 70

8. หลังผสมน้ าแล้ว เก็บที่อ ุณหภูม ิห ้องได้ 7 ว ัน ถ้าเก็บในตู้เย็นจะเก็บได้นาน 2 ส ัปดาห ์

9. ควรรอให ้ยาขวดแรกหมดก่อน แล้วจ ึงผสมขวดที่ 2 ถ้ายาเหลือให ้ท ิ้งไป

Sodium thaiosulfate for solution

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น Sodium thaiosulfate for solution ใช้รักษาโรคเกลื้อน โดยทาบริเวณที่เป ็น

เกลื้อน หลังอาบน้ า

3. เคาะผงยาในขวดให ้ร่วน แล้วเติมน้ าละลายยาที่เตรียมไว้ให ้ หรือน้ าต้มส ุกที่เย็นแล้วผสมประมาณ 1/2 -

2/3 ของระดับคอขวด

4. เขย่ายาให ้ละลาย

5. เติมน้ าปรับระดับถึงคอขวด

6. ใช้ยาขวดแรกจนหมดก่อน จ ึงผสมยาขวดที่ 2

7. หลังผสมน้ าแล้วสามารถเก็บไว ้ได้นาน จนกว่าจะเกิดตะกอนสีเหลืองขึ้นจ ึงทิ้งไป

8. ยานี้เป ็นยาใช้ภายนอก ห ้ามรับประทาน

ผงเกล ือแร่ (Oral rehydration salt)

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น ผงเกลือแร่ ORS ใช้ทดแทนการส ูญเส ียน้ าและ เกลือแร่เนื่องจากอาการท้องเส ีย

อาเจ ียน

3. ใช้น้ าต้มส ุกที่เย็นแล้ว หรือน้ าสะอาดที่เย็น ปริมาตรตามที่ก าหนด เช่น 250, 750 ml ละลายผงเกลือแร่ 1

ซอง คนให ้ละลายจนหมด

4. หลังผสมน้ าแล้วควรดื่มภายใน 24 ชั่วโมง ไม่ควรทิ้งไว ้ข้ามคืน เพราะอาจมีจ ุล ินทรีย์เจริญได้

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 71

ยาผง Cholestylamine

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. ทักทาย แนะน าตัวเอง ระบุตัวผู้ป ่วย

2. ทวนใบสั่งแพทย์ยา เช่น ยาผง Cholestylamine เป ็นยาลดระดับไขมันในเลือด รับประทานวันละ 3 ครั้ง

ก่อนอาหาร

3. เทยา 1 ซองลงในน้ าต้มส ุกที่เย็นแล้วประมาณ 60 -90 ml คนให ้เข้ากัน

4. ดื่มช้าๆ ถ้าม ียาเหลือให ้เติมน้ า ผสมยาส ่วนที่เหลือดื่มจนหมด

5. กรณีไม่ชอบรสชาติยา ให ้ผสมกับเครื่องดื่มอื่นๆ ได้ เช่น น้ าผลไม้ น้ าส ้ม

6. ยาที่ผสมแล้วเก็บในตู้เย็นได้นาน 3 ว ัน

การใช้กระบอกฉีดยา (Syringe) ในการป้อนยาเด ็กเล ็ก

ข้อแนะน าว ิธ ีการใช้

1. เลือกขนาดกระบอกฉีดยา ให ้เหมาะสมกับปริมาตรยา

2. ชี้แจงถึงจ านวนยาที่ระบุเป ็นหน่วยว ัดที่ใช้ตามบ้าน (household measurement) เช่น ช้อนชาให ้เป ็น

ปริมาตรยาที่ต้องดูดด้วยกระบอกฉีดยา ซ ึ่งระบุเป ็นมิลลิลิตร หรือซ ีซ ี

3. ชี้ให ้เห ็นถึงขีด จ านวนมิลลิลิตรที่ต้องดูดแต่ละครั้ง ท ี่กระบอกฉีดยาแก่ผ ู้ร ับบริการ

4. วิธ ีป ้อน ควรฉีดยาเข้ากระพ ุ้งแก้มของเด็ก

5. ท าความสะอาดกระบอกฉีดยาหลังการใช้

ยาเม็ดคุมก าเนิด (Oral contraceptive tablets)

วิธ ีการรับประทานยาเม็ดคุมก าเนิด

ยาคุมก าเนิดชนิดแผง 21 เม็ด

ยา 1 แผ ง ประกอบด้วย เม็ด ยาฮอร์โมน 21 เม ็ด ให ้เริ่ม รับป ระทาน ยาตั้ง แต่ว ันที่ 1 ของรอบ

ประจ าเดือน (นับว ันแรกที่ม ีประจ าเดือนเป็นว ันที่ 1) อาจเริ่มรับประทานยาช้ากว ่านี้ได้แต่ต้องไม่เกินว ันที่ 5

ของรอบประจ าเดือน รับประทานยาติดต่อกันทุกว ันจนหมดแผงและควรรับประทานยาเวลาเดียวกันทุกว ัน

(เช่น หลังอาหารเย็น หรือก่อนนอน) หยุดยา 7 ว ัน ระหว่างหยุดยา 2 -4 ว ัน จะมีเลือดประจ าเดือนมา เม ื่อหยุด

ยาครบก าหนด 7 ว ัน ให ้เริ่มแผงใหม่ในวิธ ีเช่นเดิมโดยไม่ต้องสนใจว่าประจ าเดือนจะยังมีอยู่หรือไม่

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 72

ยาคุมก าเนิดชนิดแผง 28 เม็ด

ยา 1 แผง ประกอบด้วยเม็ดยาฮอร์โมน 21 เม ็ด และเม็ดที่ไม ่ม ีฮอร์โมน 7 เม ็ด ให ้เริ่มรับประทานยา

ในวันแรกของรอบประจ าเดือน โดยรับประทานยาเม็ดแรกในส่วนที่ระบุบนแผงว่าเป ็นจ ุด เริ่มต้นใช้ยา

รับประทานยาเวลาเดียวกันติดต่อกันทุกว ัน ตามวันก ากับ หรือตามทิศลูกศรจนหมดแผง รับประทานแผง

ใหม่ต่อได้เลยไม่ต้องหยุดยา ยากลุ่มนี้ต้องกินติดต่อกันทุกว ันไปตล อด โดยประจ าเดือนจะมาในช่วงที่

รับประทานยาเม็ดที่ไม ่ม ีฮอร์โมน

การปฏิบ ัต ิระหว่างรับประทานยาเม็ดคุมก าเนิด

การปฏิบ ัต ิเมื่อล ืมรับประทานยาเม็ดคุมก าเนิดชนิด combined pills

1. กรณีที่ล ืมกินเม็ดแป้งที่ไม ่ม ีฮอร์โมนให ้ทิ้งเม ็ดที่ล ืมและกินยาเม็ดต่อไปตามปกติ

2. กรณีที่ล ืมกินยาเม็ดคุมก าเนิดที่ม ี ethinylestradiol 30-35 µg 1 หรือ 2 เม ็ด (หรือเริ่มกินยาแผงใหม่ช้าไป 1

หรือ 2 ว ัน) หรือยาที่ม ี ethinylestradiol 20 µg (หรือเริ่มกินยาแผงใหม่ช้าไป 1 ว ัน)

ในกรณีที่ล ืมกินยาที่ม ีฮอร์โมน 1 เม ็ด ให ้กินเม็ดที่ล ืมทันทีท ี่นึกได้ และกินยาเม็ดต่อไปทุกว ันตามเวลา

กินยาปกติ และไม่ต้องใช้ว ิธ ีการคุมก าเนิดอื่นเพ ิ่มเติม

ในกรณีที่ล ืมกินยาที่ม ีฮอร์โมน 2 เม ็ด (เฉพาะชนิดที่ม ี ethinylestradiol 30-35 µg) ทั้งนี้ข ึ้นกับว ่าลืมกิน

ยาเมื่อไร

- กินเม็ดแรกทันทีท ี่นึกได้ แล้วทิ้งยาอีกเม็ดที่ล ืม และกินยาเม็ดต่อไปทุกว ันตามเวลากินยาปกติจน

หมดแผง ไม่ต้องใช้ว ิธ ีการคุมก าเนิดอื่นเพ ิ่มเติม

- กินเม็ดแรกทันทีท ี่นึกได้ แล้วกินอีกเม็ดที่ล ืมพร้อมกับการกินยาตามเวลากินยาปกติ และกินยาเม็ด

ต่อไปทุกว ันตามเวลากินยาปกติจนหมดแผง ไม่ต้องใช้ว ิธ ีการคุมก าเนิดอื่นเพ ิ่มเติม

- กินพร้อมกัน 2 เม ็ดในเวลาเดียวกันทันทีท ี่นึกได้ และกินยาเม็ดต่อไปทุกว ันตามเวลากินยาปกติจน

หมดแผง ไม่ต้องใช้ว ิธ ีการคุมก าเนิดอื่นเพ ิ่มเติม

3. กรณีกรณีลืมกินยาคุมก าเนิดที่ม ี ethinylestradiol 30-35 µg 3 เม ็ดขึ้นไป (หรือเริ่มกินยาแผงใหม่ช้าไป 3

ว ันขึ้นไป) หรือยาที่ม ี ethinylestradiol 20 µg 2 เม ็ดขึ้นไป (หรือเริ่มกินยาแผงใหม่ช้าไป 2 ว ันขึ้นไป)

กินยาที่ล ืมเม ็ดแรกในทันทีท ี่นึกได้ ท ิ้งยาเม็ดที่ล ืมที่เหลือ และกินยาเม็ดต่อไปทุกว ันตามเวลากินยา

ปกติ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 73

กินเม็ดแรกทันทีท ี่นึกได้ แล้วกินอีก เม็ดที่ล ืมพร้อมกับการกินยาตามเวลากินยาปกติ และกินยาเม็ด

ต่อไปทุกว ันตามเวลากินยาปกติจนหมดแผง

กินพร้อมกัน 2 เม ็ดในเวลาเดียวกันทันทีท ี่นึกได้ และกินยาเม็ดต่อไปทุกว ันตามเวลากินยาปกติจน

หมดแผง

ต้องใช้ว ิธ ีการคุมก าเนิดอื่นเพ ิ่มเติม เช่น ใช้ถุงยางอนามัยหรืองดเว ้นการมีเพศสัมพ ันธ ์จนกว่าจะกินยา

เม็ดที่ม ีฮอร์โมนต่อไปจนครบ 7 ว ัน และให ้พ ิจารณาเพ ิ่มเติมดังนี้

- ถ้าลืมกินยาในช่วง 1 อาทิตย์ แรกของแผงยา (ว ันที่ 1 -7) และมีเพศสัมพ ันธ ์โดยไม่ได้ป ้องกัน ควร

ใช้ยาคุมก าเนิดฉุกเฉิน

- ถ้าลืมกินยาในช่วงอาทิตย์ท ี่ 3 ของแผงยา (ว ันที่ 15 -21) ควรกินยาเม็ดต่อไปในแผงเก่าจนหมดและ

เริ่มกินยาแผงใหม่เลย โดยไม่ต้องเว ้น 7 ว ัน (ในกรณีที่เป ็นแบบไม่ม ีเม ็ดแป้ ง) หรือไม่ต้องกินเม็ด

แป้ง (ในกรณีที่เป ็นแบบ 28 เม ็ด) และให ้เริ่มกินแผงใหม่โดยเริ่มจากยาเม็ดที่ม ีฮอร์โมนเลย

การปฏิบ ัต ิอ ื่นๆระหว่างรับประทานยาเม็ดคุมก าเนิด

1. หากมีการอาเจ ียนหรือท้องร่วงรุนแรงหลายครั้ง ให ้ยังคงรับประทานยาตามปกติ แต่ต้องใช้ว ิธ ีคุมก าเนิด

อื่นๆ ร่วมด้วย เช่น การใช้ถุงยางอนามัย หรืองดการมีเพศสัมพ ันธ ์ในระหว่างนั้น และต่อไปอีก 1 ส ัปดาห ์

หลังจากอาการดังกล่าวหายแล้ว

2. หากต้องกินยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิก์ว ้าง ได้แก่ ยากลุ่ม tetracyclines, penicillins, quinolones, cephalosporins

และ metronidazole ซึ่งอาจมีผลลดประสิทธ ิภาพของยาคุมก าเนิด ท าให ้ม ีเล ือดออกกะปริบกะปรอยใน

ระหว่างที่ยังรับประทานยาไม่หมดแผง และเส ี่ยงต่อการตั้งครรภ์ ดังนั้นควรใช้ว ิธ ีคุมก าเนิดอื่น เช่น ใช้

ถุงยางอนามัย ร่วมด้วยระหว่างที่รับประทานยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว ้าง หรือ เปลี่ยนชนิดของยาเม็ด

คุมก าเนิดจากชนิดรวมเป็นชนิดที่ม ีแต่ progestin อย่างเดียว

3. หากต้องรับประทานยา rifampicin หรือยาอื่นที่ม ีคุณสมบัติเป ็น enzyme inducer ท าให ้ประส ิทธ ิภาพใน

การคุมก าเนิดของยาคุมก าเนิดลดลง ควรใช้ว ิธ ีคุมก าเนิดอื่นที่ไม ่ใช้ฮอร์โมนเพ ื่อป้องกันการตั้งครรภ์ เช่น

ใช้ถุงยางอนามัย ร่วมด้วยระหว่างที่รับประทานยา และต้องป้องกันต่อไปอีกอย่างน้อย 4 ส ัปดาห ์หลัง

หยุดยา rifampicin หรือยาอื่นที่ม ีคุณสมบัติเป ็น enzyme inducer แล้ว

อาการข้างเคียงของยาเม็ดคุมก าเนิดและการปฏิบ ัต ิต ัว

1. อาการคลื่นไส ้อาเจ ียน มักพบได้ใน 2 -3 แผงแรก แก้ไขได้โดยให ้รับประทานยาหลังอาหารเย็นหรือก่อน

นอน ถ้าปัญหายังคงอยู่ควรปรึกษาเภส ัชกรเพ ื่อเปลี่ยนชนิดยาเม็ดคุมก าเนิด

2. อาการเจ ็บคัดเต้านม พบในระยะแรกของการใช้ยา ซ ึ่งผ ู้ใช้ส ่วนใหญ ่จะมีอาการลดลงหรือหายไปในเวลา

ต่อมา

3. เลือดออกกระปริบกะปรอย มักพบในผู้ท ี่ล ืมรับประทานยาบ่อยๆ และอาจเกิดได้ในระยะแรกของการใช้

ยาเช่นกัน ซ ึ่งผ ู้ใช้ควรรับประทานยาอย่างสม่ าเสมอ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 74

4. การขาดประจ าเดือนระหว่างการใช้ยา ควรตรวจดูให ้แน่ใจว ่าไม่ได้เกิดการตั้งครรภ์ โดยเฉพาะผู้ท ี่ก ินยา

ไม่สม่ าเสมอหรือลืมรับประทานยายาบ่อยๆ

5. ผลข้างเคียงอื่นๆ ได้แก่ น้ าหนักตัวเพ ิ่ม ส ิว ฝ ้า ผมร่วง ปวดศีรษะ เป็นต้น อาการที่กล่าวมานั้นจะ เกิดขึ้น

ในระยะแรกของการใช้ยา และส่วนใหญ ่หายได้เองเมื่อใช้ยาไป 2 -3 เดือน แต่ถ้าห ากมีอาการมากหรือ

เป็นอยู่นานจนเป็นปัญหา หรือเกิดความกังวลใจควรปรึกษาแพทย์หรือ เภส ัชกร ซ ึ่งอาจแก้ไขโดยการ

เปลี่ยนชนิดยา ตลอดจนอาจแนะน าให ้ใช้ว ิธ ีคุมก าเนิดอื่นๆแทน

การใช้ยาคุมฉุกเฉิน

ยาเม็ดคุมก าเนิดที่มีโปรเจสตินอย่างเด ียว : Levonorgestrel 750 mcg/tablets (Madonna®, Postinor®)

วิธ ีใช ้

การรับประทานยาคุมก าเนิดฉุก เฉิน Levonorgestrel 750 mcg 2 เม ็ดห ่างกัน 12 ชั่วโมง แนะน าให ้

รับประทานยาเม็ดแรกเร็วที่ส ุดเท่าที่จะท าได้ภายใน 72 ชั่วโมง นับจากที่ม ีเพศสัมพ ันธ ์ท ี่ได้ไม่ได้ป ้องกัน

และรับประทานอีก 1 เม ็ดภายใน 12 ชั่วโมงต่อมาหลังจากการรับประทานยาเม็ดแรก ไม่ควรใช้เกิน 4 เม ็ด (2

แผง) ต่อเดือน

การรับประทานยาคุมก าเนิดฉุก เฉิน Levonorgestrel 750 mcg ทั้งสองเม็ดพร้อมกันในครั้ง เดียว

ภายใน 72-120 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพ ันธ ์ท ี่ไม ่ได้ป ้องกัน มีประส ิทธ ิภาพและผลข้างเคียงไม่แตกต่างกับ

ว ิธ ีการรับประทานยาสองเม็ดห ่างกัน

แนะน าผลข้างเคียงเพ ิ่มเติม

คลื่นไส ้อาเจ ียน (ถ้าอาเจ ียนภายใน 2 ชั่วโมงของการรับประทานยาให ้รับประทานย าซ ้ า และ

สามารถรับประทานยาต้านการอาเจ ียนก่อนครึ่งถึง 1 ชั่วโมง) นอกจากนี้ยังพบว่าสามารถรบกวนรอบเดือน

ถัดไป

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 75

เภสัชกรรมคลินิก

การให้ค าแนะน าส าหรับยาที่ต ้องระมัดระวังในการใช้

แนวข้อสอบ

ออกข้อสอบทุกปี ป ีละ 0-2 ข้อ (ปีหลังๆจะออกปีละ 1 ข้อ) โดยลักษณะของข้อสอบมีดังนี้

1. ให ้ใบสั่งยาจากแพทย์มา และมีโจทย์ส ั่งให ้อธ ิบายการใช้ยาดังกล่าวบอกกับให ้ค าแนะน าอื่นๆ

2. ผู้ป ่วยมาด้วยอาการข้างเคียงจากการใช้ยา ให ้ถามด้วยว ่าช่วงนี้ใช้ยาอะไรอยู่เป ็นประจ าหรือไม่ ห ากไม่

ถามเค้าก็จะไม่หยิบขึ้นมาให ้ดู หลังจากนั้นก็ให ้หาสาเหตุและปัญหา พร้อมให ้ค าแนะน า

เนื้อหา

การให้ค าแนะน าการใช้ยาที่มีด ัชนีในการรักษาแคบ

Digoxin

ชื่อยาและข้อบ ่งใช้

ยาเม็ด digoxin ใช้ในการรักษาภาวะ...ห ัวใจล้มเหลว/หวัใจวาย หรือห ัวใจเต้นผิดจ ังหวะ...(ข้อบ่งใช้

ขึ้นกับโรคที่ผ ู้ป ่วยเป็น)

ขนาด วิธ ีการใช้ และการเก ็บรักษา

รับประทานยา digoxin ขนาด ..... µg ครั้งละ .. . . . เม ็ด วันละ .. . . . ครั้ง (ตามที่ระบุในใบสั่งยาของ

แพทย์) ใช้ยานี้อย่างเคร่งครัด ไม่ควรเพ ิ่มขนาดยาหรือลดขนาดยาหรือหยุดยาเอง โดยไม่ม ีค าส ั่งจากแพทย์

และควรรับประทานยาในเวลาเดียวกัน

หากลืมรับป ระทานยา (ไม่เกิน 12 ชั่วโมงจากก าห นด ) ให ้รับประท านยาทนทีที่นึกได้ ถ้าลืม

รับประทานยาเกิน 12 ชั่วโมง ให ้ข้ามยามื้อนั้นไปและเริ่มรับประทานยามื้อถัดไปตามปกติโดยไม่ต้องเพ ิ่ม

ขนาดยา และหากผู้ป ่วยลืมรับประทานยามากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป ควรแจ้งให ้แพทย์ทราบ

เก็บยาในภาชนะปิดสนิท ที่อ ุณหภูม ิห ้องและเก็บให ้พ ้นมือเด็ก

ข้อควรระวังและข้อปฏิบ ัต ิเมื่อเก ิดป ัญหาในการใช้ยา

หากเกิดอาการผิดปกติไปนี้ ได้แก่ เบ ื่ออาหาร คลื่นไส ้ การมองเห ็นเปลี่ยนไป เช่น เห ็นแสงวูบวาบ

ภาพพร่ามัว การมองเห ็นส ีเปลี่ยนไป (เห ็นเป็นส ีเหลืองหรือ เขียว ) หรือ เห ็นแสงมีรัศมีรอบวัตถุ ส ับสน

เมื่อยล้าและกล้ามเนื้ออ่อนแรง ห ัวใจเต้นช้าลง หน้ามืด เป ็นลม ให ้รีบพบแพทย์ท ันที

ไม่ควรรับประทานยานี้พร้อมยาลดกรด หากใช้ยาลดกรดร่วมด้วยให ้รับประทานยาลดกรดหลัง

รับประทานยา digoxin แล้วอย่างน้อย 2 ชั่วโมง

แจ้งแพทย์ ท ันตแพทย์ หรือเภส ัชกรทุกครั้งท ี่ไปขอรับบริการว ่าก าลัง รับประทาน digoxin

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 76

Phenytoin (Dilantin®)

ชื่อยาและข้อบ ่งใช้

ยาเม็ด phenytoin ใช้ในการรักษา... . .ต้านการชักหรือภาวะห ัวใจ เต้นผิดปกติ หรือปวดประสาท

บริเวณใบหน้า.....(ข้อบ่งใช้ ขึ้นกับโรคที่ผ ู้ป ่วยเป็น)

ขนาด วิธ ีการใช้ และการเก ็บรักษา

รับประทานยา phenytoin ขนาด.... .mg ครั้งละ ... . . เม ็ด ว ันละ ... . .ครั้ง (ตามที่ระบุในใบสั่งยาของ

แพทย์) ใช้ยานี้อย่างเคร่งครัด ไม่เพ ิ่มขนาดยาหรือลดขนาดยาหรือหยุดยาเอง โดยไม่ม ีค าส ั่งจากแพทย์ การ

หยุดยาทันทีท ันใดสามารถเป็นสาเหตุให ้เกิดการชักได้

หากลืมรับประทานยา ให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ แต่หากนึกได้เม ื่อต้องรับประทานมื้อถัดไปให ้

ข้ามมื้อนั้นไปและเริ่มรับประทานมื้อถัดไปตามปกติ โดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาดยา

รูปแบบยาเป็นแคปซูลที่ควบคุมการปลดปล่อยตัวยา ห ้ามบดหรือเคี้ยวหรือเปิดแคปซูล

เก็บในภาชนะปิดสนิทป้องกันแสง ที่อ ุณหภูม ิห ้อง และเก็บให ้พ ้นมือเด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่อาจเก ิดข ึ้น

ยา phenytoin อาจท าให ้เกิดอาการวิงเว ียน การมองเห ็นพร่ามัวหรือเห ็นภาพซ้อน และง่วงซ ึม ควร

แนะน าให ้หลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะหรือท างานใกล้เครื่องจ ักร

ผลข้างเคียงอื่นๆ เช่น ส ับสน นอนไม่หลับ กล้ามเนื้อกระตุก ปวดศีรษะรุนแรง หากมีอาการดังกล่าว

ให ้ปรึกษาแพทย์

อาการพ ิษจากยา phenytoin ได้แก่ ม ึนงง เดินเซ ตากระตุก

ข้อควรระวังและข้อปฏิบ ัต ิเมื่อเก ิดป ัญหาในการใช้ยา

หากเกิดอาการคลื่นไส ้ อาเจ ียน ท้องผูก ปวดท้อง ส ูญเส ียการรับรสและความอยากอาหาร น้ าหนัก

ลด กลืนยาก ให ้รับประทานยาพร้อมอาหารหรือดื่มน้ าตามมากๆ แต่ถ้ายังคงมีอาการอยู่อ ีก ให ้กลับไปพบ

แพทย์

หากเกิดอาการเหงือกบวมแดง มีเลือดออก ควรจะไปพบทันตแพทย์ แต่ห ากอาการดังกล่าวมีความ

รุนแรง ให ้รีบพบแพทย์ท ันที

การดื่มเครื่องดื่มที่ม ีส ่วนผสมของแอลกอฮอล์ หรือรับประทานยานอนหลับหรือยาแก้แพ ้ จะ เพ ิ่ม

อาการง่วงซ ึมจากยา phenytoin จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง

หากขณะใช้ยา phenytoin ผู้ป ่วยมีอาการชัก ให ้ปรึกษาแพทย์

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 77

แจ้งแก่แพทย์ และเภส ัชกรเกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่ท ั้งท ี่แพทย์ส ั่งจ ่ายหรือยาที่ซ ื้อใช้เอง เพ ื่อที่จะหลีก เลี่ยง

การส ั่งจ ่ายยาที่ม ีผลรบกวนผลของยา phenytoin

Theophylline

ชื่อยาและข้อบ ่งใช้

ยา Theophylline ใช้ในการรักษา.....โรคห ืด หลอดลมอักเสบเรื้อรังและถุงลมโป่งพอง.....(ข้อบ่งใช้

ขึ้นกับโรคที่ผ ู้ป ่วยเป็น)

ขนาด วิธ ีการใช้ และการเก ็บรักษา

รับประทานยา theophylline ขนาด.....mg ครั้งละ.....เม ็ด ว ันละ... . .ครั้ง (ตามที่ระบุในใบสั่งยาของ

แพทย์) ใช้ยานี้อย่างเคร่งครัด

ไม่ควรเคี้ยวหรือบดยาที่ออกฤทธิ์นาน ควรกลืนยาทั้งเม ็ด

หากลืมรับประทานยาให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ และรับประทานยาในครั้งถัดไปของวันนั้น

ในช่วงระยะเวลาที่ห ่างเหมาะสม ห ้ามเพ ิ่มยา เป็น 2 เท ่า ถ้า เริ่มมีอาการหายใจหอบถี่ (shortness of breath)

อย่างรุนแรงควรปรึกษาแพทย์

เก็บยาในภาชนะปิดสนิท ที่อ ุณหภูม ิห ้อง และเก็บให ้พ ้นมือเด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่เก ิดข ึ้น

การรับประทานยา theophylline อาจท าให ้เกิดอาการคลื่นไส ้ อาเจ ียน ปวดท้อง เป ็นตะคริวที่ท ้อง

เบ ื่ออาหาร ควรรับประทานยาหลังอาหารทันทีหรือรับประทานพร้อมกับยาลดกรดหรือดื่มน้ ามากๆ ถ้าห าก

อาการข้างเคียงดังกล่าวยังมีอยู่ควรปรึกษาแพทย์

ถ้าเกิดผื่นผิดปกติท ี่ผ ิวหนัง (ปฏิกิริยาแพ ้ยา) ควรปรึกษาแพทย์ท ันที

ข้อควรระวังและข้อปฏิบ ัต ิเมื่อเกดิป ัญหาในการใช้ยา

หากเกิดอาการนอนไม่หลับ ห ัวใจ เต้นเร็ว ห ายใจ เร็ว พฤติกรรมผิดปกติไป มีไข้ต่ าๆ เหงื่อออก

กระหายน้ ามาก มีเส ียงกริ่งในห ู กล้าม เนื้อชักกระตุก อาเจ ียนบ่อยหรืออาจมีเลือดปน ชัก ควรรีบปรึกษา

แพทย์

แจ้งแพ ทย์ห รือ เภ ส ัชกรทุกครั้ ง เกี่ย ว กับ ย า ที่ ใ ช้อ ยู่ท ั้ งท ี่แพ ท ย์ส ั่ ง และ ยาที่ซ ื้อ เอ ง เพ ร าะ ย า

theophylline อาจเกิดปฏิกิริยากับยาอื่นได้

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 78

Warfarin

ชื่อยาและข้อบ ่งใช ้

ยา warfarin ใช้เพ ื่อต้านการแข็งตัวของเลือด ป้องกันอันตรายที่เก ิดจากการเกิดลิ่ม เลือดอุดตัน . . . . .

(ข้อบ่งใช้ ขึ้นกับโรคที่ผ ู้ป ่วยเป็น)

ขนาด วิธ ีการใช้และการเก ็บรักษา

รับประทานยา warfarin ขนาด.....mg ครั้งละ ... . . เม ็ด ว ันละ .... .ครั้ง หรือ เฉพาะบางวันในสัปดาห ์

(ตามที่ระบุในใบสั่งยาของแพทย์) ใช้ยานี้อย่างเคร่งครัด

หากลืมรับประทานยาให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ ถ้า เกิน 12 ชั่วโมงให ้ข้ามมื้อนั้นไปและเริ่ม

รับประทานมื้อถัดไปตามปกติโดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาดยา และหากผู้ป ่วยลืมรับประทานยามากกว่า 2 ครั้งขึ้น

ไป ควรแจ้งแพทย์ทราบ ควรบันทึกว ันที่ล ืมรับประทานยา และแจ้งแก่แพทย์ในการนัดครั้งต่อไป เพร าะ

การลืมรับประทานยาอาจท าให ้ผลการทดสอบการแข็งตัวของเลือดเปลี่ยนแปลงไปได้

เก็บยาในภาชนะปิดสนิทป้องกันแสงที่อ ุณหภูม ิห ้อง และเก็บยาให ้พ ้นมือเด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่อาจเก ิดข ึ้น

หากเกิดอาการเลือดออกผิดปกติ เช่น จ ้ าเลือดใต้ผ ิวหนัง เลือดออกที่ตาขาว เลือดก าเดาไหลมาก

และนานผิดปกติ เสลดเป็นก้อนเลือด เลือดออกมากผิดปกติในช่องปาก อาเจ ียนหรือน้ าลายมีเลือดปนหรือ

มีส ีน้ าตาล อุจจาระมีส ีแดงสดหรือมีส ีด าเหมือนน้ าม ันดิน ปัสสาวะมีเลือดปนหรือมีส ีแดงหรือส ีน้ าตาลเข้ม

ประจ าเดือนมามากกว่าปกติ ม ีอาการปวดโดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง ค วรมาพบแพทย์

เม ื่อเริ่มเกิดอาการ

ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบ ัต ิต ัวเมื่อเก ิดป ัญหาจากการใช้ยา

หลีก เล ี่ยงก ิจกรรมที่มีคว ามเสี่ยงต ่อการ เก ิดอ ุบัต ิ เหตุได ้สูง ควรพกบัตรที่แสดงว่าก าล ังได้ร ับย า

Warfarin เพ ื่อที่จะได้ร ับการดูแลรักษาได้ถ ูกต้องเมื่อได้ร ับอ ุบัต ิเหตุ

ไม่ควรเปล ี่ยนแปลงปริมาณอาหารพวกตับ และผักใบเข ียวต่างๆต่อมื้อ เน ื่อ งจากอาหารเหล่าน ี้มี

วิตามินเคในปริมาณมากอาจส่งผลต่อผลการรักษาด้วยยา Warfarin

แจ้งแพทย์ ทันตแพทย์ หรือเภสัชกรทราบทุกครั้งที่ไปขอรับบริการว่าก าล ังร ับประทานยา Warfarin

แจ้งแก ่แพทย์และเภสัชกรเก ี่ยวก ับยาที่ใช ้อยู่ทั้งที่แพทย์สั่งจ่ายหรือยาที่ซ ื้อใช้เอง เพ ื่อที่จะหลีกเล ี่ยงการ

สั่งจ่ายยาที่มีผลรบกวนผลของยา Warfarin

ก่อนใช้อาหารเสริม สมุนไพร และวิตามินเสริม ควรปรึกษาแพทย์และเภสัชกรทุกครั้ง

หากได้ร ับยาที่แตกต่างไปจากเด ิมให้สอบถามแพทย์หรือเภสัชกรทันที

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 79

การให้ค าแนะน าการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเก ิดอาการไม่พ ึงประสงค์จากยา

Methotrexate

ชื่อยาและข้อบ ่งใช้

ยาเม็ด Methotrexate ใช้ในการรักษาโรค.....มะเร็งชนิดต่างๆ หรือเพ ื่อกดภูม ิคุ้มกันในการรักษาโรค

ข้ออักเสบรูมาตอยด์ โรคสะเก็ดเงิน..... (ข้อบ่งใช้ ขึ้นกับโรคที่ผ ู้ป ่วยเป็น)

ขนาด วิธ ีการใช้ และการเก ็บรักษา

รับประทานยา Methotrexate ครั้งละ.....เม ็ด ว ัน/ส ัปดาห ์ละ ... . .ครั้ง (ปริมาณ ความถี่ตามที่ระบุใน

ใบสั่งแพทย์) ใช้ยานี้อย่างเคร่งครัด ไม่ควรเพ ิ่มขนาดยาหรือลดขนาดยาหรือหยุดยาเอง โดยไม่ม ีค าส ั่งจา ก

แพทย์ และควรรับประทานยาในเวลาเดียวกัน

หากรับประท านยาส ัป ดาห ์ละ 1 ครั้ง ก็คว รรับประทานยาในวัน เดีย ว กันขอ งแต่ละส ัปด าห ์

หากลืมรับประทานยา (ไม่เกิน 12 ชั่วโมงจากก าหนด) ให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ ถ้าเกิน 12 ชม.

ให ้ข้าม ย ามื้อนั้น ไปและ เริ่ม รับป ระท านมื้อ ถัด ไปต ามปกติโดยไม่ต้อ งเพ ิ่มขน าดยา ถ้าแพ ทย์ส ั่ ง ให ้

รับประทานสัปดาห ์ละ 1 ครั้งให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้แล้วรับประทานยาตามปกติในสัปดาห ์ถัดไป

และหากผู้ป ่วยลืมรับประทานมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป ควรแจ้งแพทย์ทราบ

การเก็บรักษา : เก็บยาในภาชนะปิดสนิทป้องกันแสงที่อ ุณหภูม ิห ้อง หลีกเลี่ยงความร้อน ความชื้น และ เก็บ

ยาให ้พ ้นมือเด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่อาจเกิดขึ้น :

- อาจท าให ้เกิดอาการแพ ้ได้โดยมีอาการคัน ผื่นลมพ ิษบริเวณใบหน้าและมือ บวมบริเวณริมฝีปากหรือ

ล าคอ แน่นหน้าอก หายใจล าบาก หากเกิดอาการเหล่านี้ควรรีบมาพบแพทย์ท ันที

- อาการไม่พ ึงประสงค์อื่นๆที่อาจพบได้ เช่น ผื่นแดง/ตุ่มน้ าท ี่ผ ิวหนัง ผ ิวหนังลอก ไอ มีไข้ เจ ็บหน้าอก ริม

ฝีปากหรือนิ้วมือมีส ีคล้ า ตาหรือผิวหนังเปลี่ยนเป็นส ีเหลือง ปัสสาวะมีส ีเข้มหรืออจุจาระมีสซี ีด คลื่นไส ้

อาเจ ียน ท้องร่วง เบ ื่ออาหาร ปวดท้อง เจ ็บปากและล าคอ มีเลือดออกผิดปกติ แผลฟกช้ า อ ่อนแรง ผมร่วง

ปวดศีรษะ มึนงง หากเกิดอาการข้างต้นควรแจ้งให ้แพทย์ทราบ

ข้อควรระวังหรือข้อควรปฏิบัติตัวเม ื่อเกิดปัญหาในการใช้ยา :

- ระหว่างใช้ยาอาจเกิดแผลในปากได้ จ ึงควรรักษาความสะอาดของช่องปากระหว่างใช้ยา

- ผู้ป ่วยว ัยเจริญพ ันธ ุ์ควรคุมก าเนิดระหว่างใช้ยานี้

- ผู้ป ่วยโรคตับหรือมีป ัญหาเกี่ยวกับระบบเลือด (เช่น โลห ิตจาง) หรือภ ูม ิคุ้มกัน (เช่น เอดส์ หรือติดเชื้อ

HIV) ควรแจ้งแพทย์ก่อนจ่ายยา Methotrexate

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 80

- ทุกครั้งท ี่ร ับยา Methotrexate ควรแจ้งแก่แพทย์และเภส ัชกรเกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่ท ั้งท ี่แพทย์จ ่ายและยาที่ซ ื้อ

ใช้เอง เนื่องจากยานี้สามารถเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาได้กับยาหลายชนิด

- ควรแจ้งแก่แพทย์เกี่ยวกับประวัติการดื่มแอลกอฮอล์

Cyclophosphamide

และข้อบ ่งใช้

ยาเม็ด Cyclophosphamide ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง

ขนาด วิธ ีการใช้ และการเก ็บรักษา

รับประทานยา Cyclophosphamide พร้อมอาหารครั้งละ.....เม ็ด ว ันละ.....ครั้ง (ตามที่ระบุในใบสั่งยา

ของแพทย์) และดื่มน้ ามากๆ ใช้ยานี้อย่างเคร่งครัด ไม่ควรเพ ิ่มขนาดยาหรือลดขนาดยาหรือหยุดยาเอง โดย

ไม่ม ีค าส ั่งจากแพทย์ และควรรับประทานยาในเวลาเดียวกัน

หากลืมรับประทานยา ไม่ เกิน 12 ชั่วโมงจากก าหนด ให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ ถ้า เกิน 12

ชั่วโมง ให ้ข้ามยามื้อนั้นไป และเริ่มรับประทานมื้อถัดไปตามปกติ โดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาดยา และหากผู้ป ่วย

ลืมรับประทานมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไปควรแจ้งแพทย์ทราบ

เก็บยาในภาชนะปิดสนิท ป้องกันแสง ที่อ ุณหภูม ิห ้อง หลีกเลี่ยงความร้อนชื้น และ เก็บยาให ้พ ้นมื้อ

เด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่อาจเก ิดข ึ้น

หากเกิดอาการต่อไปนี้ ได้แก่ อาการแพ ้ คัน ผื่นลมพ ิษบริเวณใบหน้า และมือ บวมหรือปวดเส ียว

บริเวณปากหรือล าคอ แน่นหน้าอก หายใจล าบาก ให ้รีบมาพบแพทย์ท ันที รวมทั้งอาการอื่น เช่น ผื่นแดง/ตุ่ม

น้ าท ี่ผ ิวหนัง ไอ มีไข้ ส ั่น เจ ็บหน้าอก ริมฝีปากหรือนิ้วมือมีส ีคล้ า ตาหรือผิวหนังเปลี่ยนเป็นส ีเหลือง ปวด

มากเมื่อถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะหรืออุจจาระมีเลือดปน ปัสสาวะมีส ีเข้มหรืออุจจาระมีส ีซ ีด ม ีเล ือดออก

ผิดปกติ แผลฟกช้ าผ ิดปกติ อ่อนแรง แผลในปาก หายใจล าบาก หายใจส ั้น เม ื่อยล้า ม ึนงง บวมบริเวณ เท้า

หรือห ัวเข่า และปัสสาวะล าบากหรือปวด และปัสสาวะมีส ีแดง ให ้รีบพบแพทย์ท ันที

นอกจากนี้การรับประทานยา Cyclophosphamide อาจรบกวนการมีประจ าเดือน คลื่นไส ้ อาเจ ียน

ท้องร่วง ลดความอยากอาหาร เจ ็บหรือมีฝ ้าขาวที่ริมฝีปาก ภายในปากหรือล าคอ ผมร่วง ผิวหนังหรือเล็บมีส ี

เปลี่ยนไป หากเกิดอาการข้างต้นควรแจ้งให ้แพทย์ทราบ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 81

ข้อควรระวังหรือข ้อควรปฏิบ ัต ิต ัวเมื่อเก ิดป ัญหาในการใช้ยา

ควรดื่มน้ าว ันละประมาณ 10 แก้ว และปัสสาวะบ่อยๆ เพ ื่อป้องกันการระคายเคืองไต แล ะกระเพ าะ

ปัสสาวะจากผลของยา

ควรแจ้งแก่แพทย์และเภส ัชกรเกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่ ท ั้งท ี่แพทย์ส ั่งจ ่ายและยาที่ซ ื้อใช้เอง เนื่องจากยา

Cyclophosphamide สามารถเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาได้กับยาหลายชนิด

แจ้งแพทย์ ท ันตแพทย์ทราบทุกครั้งท ี่ไปขอรับบริการว ่าก าลังรับประทานยา Cyclophosphamide

ผู้ป ่วยว ัยเจริญพ ันธ ุ์ควรคุมก าเนิดระหว่างการใช้ยานี้

ผู้ป ่วยโรคไต โรคตับหรือมีป ัญหาเกี่ยวกับระบบเลือดหรือไขกระดูก ควรแจ้งแก่แพทย์ก่อนสั่งจ ่าย

ยานี้

ยาต้านวัณโรค

Isoniazid

ชื่อยาและข้อบ ่งใช้

ยา Isoniazid ใช้ในการรักษาว ัณโรค

ขนาดยา ว ิธ ีการใช้ และการเก ็บรักษา

รับป ระท านยา Isoniazid ครั้ ง ล ะ .... . เม ็ด ว ันละ…..ครั้ ง ( ต ามที่ร ะบุใน ใบสั่ง ย าขอ งแพทย์)

รับประทานยาก่อนอาหารหรืออย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังอาหาร หรือก่อนนอน(ตามที่ระบุในใบสั่งยาของ

แพทย์) ต้องรับประทานยาทุกว ันอย่างต่อเนื่องถึงแม้จะรู้ส ึกว ่ าอาการดีขึ้นแล้ว หรือไม่ม ีอาการแล้วก็ห ้าม

หยุดยาเองโดยไม่ม ีค าส ั่งจากแพทย์

หากลืมรับประทานยา ให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ แต่ห ากนึกได้เม ื่อต้องรับประทานมื้อถัดไป

ให ้ข้ามมื้อนั้นและเริ่มรับประทานมื้อถัดไปตามปกติโดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาดยา

เก็บยาในภาชนะปิดสนิทป้องกันแสงที่อ ุณหภูม ิห ้อง หลีกเลี่ยงความร้อนความชื้น และเก็บยาให ้พ ้น

มือเด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่อาจเก ิดข ึ้น

ขณะใช้ยาอาจมีอาการรู้ส ึกเส ียวแปลบ เจ ็บเหมือนถูกหนามต า ชาบริเวณปลายมือหรือปลายเท้าให ้

ปรึกษาแพทย์ ซ ึ่งแพทย์จะจ่ายว ิตามินบี 6 เพ ื่อรักษาหรือป้องกันอาการดังกล่าว

ผลข้างเคียงจากการใช้ยาพบในผู้ป ่วยบางรายเท่านั้น

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 82

ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบ ัต ิต ัวเมื่อเก ิดป ัญหาจากการใช้ยา

หลีกเลี่ยงการรับประทานยานี้ร่วมกับยาลดกรด โดยให ้รับประทานยาลดกรดหลังจากรับประทาน

ยาIsoniazid อย่างน้อย 1 ชั่วโมง

หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่ม ีแอลกอฮอล์ เนื่องจากจะเพ ิ่มพ ิษต่อตับของยา Isoniazid

หากขณะใช้ยามีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะมีส ีด าหรือส ีเหลืองอ าพ ัน ปวดท้องรุนแรง

คลื่นไส ้ อาเจ ียน อ่อนเพลีย การมองเห ็นผิดปกติ ปวดตาหรือมีไข้ให ้รีบปรึกษาแพทย์

หากก าลังตั้งครรภ์หรือให ้นมบุตรควรแจ้งแก่แพทย์ก่อนการใช้ยา

Rifampin

ชื่อยาและข้อบ ่งใช ้

ยาเม็ด Rifampin ใช้ในรักษา.....ว ัณโรคหรือการติดเชื้อ .....(ขอ้บ่งใช้ขึ้นกับโรคที่ผ ู้ป ่วยเป็น)

ขนาด วิธ ีการใช้และการเก ็บรักษา

รับประทาน Rifampin ยาครั้งละ .... .แคปซูล ว ันละ…..ครั้ง (ตามที่ระบุในใบสั่งยาของแพทย์)

รับประทานยา 1 ชั่วโมงก่อนอาหารหรืออย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังอาหาร หรือก่อนนอน (ตามที่ระบุในใบสั่ง

ยาของแพทย์) ต้องรับประทานยาทุกว ันอย่างต่อเนื่องถึงแม้จะมีอาการดีขึ้นแล้วหรือไม่ม ีอาการก็ห ้ามหยุดยา

เองโดยไม่ม ีค าส ั่งจากแพทย์

หากลืมรับประทานยา ให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ แต่หากนึกได้เม ื่อต้องรับประทานมื้อถัดไป

ให ้ข้ามมื้อนั้นและเริ่มรับประทานมื้อถัดไปตามปกติโดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาดยา

เก็บยาในภาชนะปิดสนิทป้องกันแสงที่อ ุณหภูม ิห ้อง หลีกเลี่ยงความร้อนความชื้น และเก็บยาให ้พ ้ น

มือเด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่อาจเก ิดข ึ้น

หาก เกิดลมพ ิษ เป็นแผลที่ผ ิวห นังห รือ ในปาก มีไข้ ดีซ ่าน (ตัว เหลือง ตา เห ลือ ง) ขณ ะใช้ย า

Rifampin ให ้รีบปรึกษาแพทย์ท ันที

การรับประทานยา Rifampin อาจท าให ้เกิดอาการป วดศีรษะ ปวดกล้าม เนื้อ ปวดแสบที่ล ิ้นปี่

คลื่นไส ้ อาเจ ียน เป็นตะคริวที่ท ้องและท้องร่วงได้ ห ากมีอาการดังกล่าวรุนแรงควรปรึกษาแพทย์ ส ่วน

ปัญหาในทางเดินอาหารอาจบรรเทาได้ด้วยการรับประทานยาพร้อมอาหาร

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 83

ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบ ัต ิต ัวเมื่อเก ิดป ัญหาจากการใช้ยา

ระหว่างรับประทานยา Rifampin อาจท าให ้ป ัสสาวะ อจุจาระ น้ าลาย เสมหะ เหงื่อและน้ าตาเป็นส ี

ส ้มแดง รวมถึงคอนแทคเลนส์จะเปลี่ยนเป็นส ีส ้มแดงอย่างถาวรด้วย จ ึงควรหลีกเลี่ยงการใส ่คอนแทคเลนส์

ขณะใช้ยานี้

หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่ม ีแอลกอฮอล์ เนื่องจากจะเพ ิ่มพ ิษต่อตับของยานี้

ยา Rifampin เกิดปฏิกิริยากับยาหลายชนิด จ ึงต้องบอกให ้แพทย์ทราบว่าก าลังใช้ยาอะไรอยู่บ ้าง เพ ื่อ

จะได้ปรับขนาดหรือให ้หยุดยาอื่นก่อน ขณะที่ใช้ยา Rifampin

ยา Rifampin จะลดประสิทธ ิภาพของยาเม็ดคุมก าเนิด จ ึงควรปรึกษาแพทย์หรือเภส ัชกรเพ ื่อ

หลีกเลี่ยงไปใช้คุมก าเนิดว ิธ ีอ ื่น เช่น การใช้ถุงยางอนามัย ระหว่างการใช้ยา Rifampin

หากตั้งครรภ์หรือให ้นมบุตรให ้แจ ้งแก่แพทย์ก่อนการใช้ยา

Pyrazinamide

ชื่อยาและข้อบ ่งใช ้

ยาเม็ด Pyrazinamide ใช้ในการรักษาโรควัณโรค

ขนาด วิธ ีการใช้ และการเก ็บรักษาใช้รักษา

รับประทานยา Pyrazinamide ครั้ งละ . .. . . เม ็ด ว ันละ .. .. . ครั้ง (ตามที่ระบุในใบสั่งแพทย์) อาจ

รับประทานยาร่วมกับอาหารหรือนมหรือไม่ก็ได้ ต้องรับประทานยาทุกว ันอย่างต่อ เนื่องถึงแม้จะมีอาการดี

ขึ้นแล้ว หรือไม่ม ีอาการก็ห ้ามหยุดยาเอง โดยไม่ม ีค าส ั่งจากแพทย์

หากลืมรับประทานยา ให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ แต่หากนึกได้เม ื่อต้องรับประทานมื้อถัดไป

ให ้ข้ามมื้อนั้นและเริ่มรับประทานมื้อถัดไปตามปกติโดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาด

เก็บยาในภาชนะปิดสนิทป้องกันแสงที่อ ุณหภูม ิห ้อง หลีกเลี่ยงความร้อน ความชื้น และเก็บยาให ้

พ ้นมือเด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่อาจ เก ิดข ึ้น

การรับประทานยา Pyrazinamide อาจเกิดอาการคลื่นไส ้ อาเจ ียน ไม่อยากอาหาร รู้ส ึกไม่สบายตัว

ปวดกล้ามเนื้อ

ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบัติตัวเม ื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยา

หากขณะใช้ยามีอาการปวดหรือบวมที่ข ้อ ม ีผ ื่นที่ผ ิวหนัง ตัวเหลือง ตาเหลือง ม ีไข้ หรือหน าวสั่น

ป ัสสาวะเป็นส ีด า ให ้รีบปรึกษาแพทย์ท ันที

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 84

หากก าลังตั้งครรภ์หรือให ้นมบุตรควรแจ้งแก่แพทย์ก่อนการใช้ยา

ผู้ป ่วยโรคตับ เกาต์ เบาหวานหรือไตวาย ควรแจ้งแพทย์ก่อนมีการส ั่งจ ่ายยา Pyrazinamide

Ethambutol

ชื่อยาและข้อบ ่งใช ้

ยาเม็ด Ethambutol ใช้ในการรักษาว ัณโรค

ขนาด วิธ ีการใช้ และการเก ็บรักษา

รับประทานยา Ethambutol พร้อมอาหาร ครั้งละ…..เม ็ด ว ันละ…..ครั้ง (หรือรับประทานยาก่อน

นอน ตามที่ระบุในใบสั่งยาของแพทย์) ใช้ยานี้อย่างเคร่งครัด ไม่ควรเพ ิ่มขนาดยาหรือลดขนาดยาหรือหยุด

ยาเอง โดยไม่ม ีค าส ั่งจากแพทย์ และควรรับประทานยาในเวลาเดียวกัน

หากลืมรับประทานยาไม่เกิน 12 ชั่วโมงจากก าหนด ให ้รับประทานยาทันทีท ี่นึกได้ ถ้า เกิน 12

ชั่วโมงให ้ข้ามมื้อนั้นไปและเริ่มรับประทานมื้อถัดไปตามปกติโดยไม่ต้องเพ ิ่มขนาดยา และหากผู้ป ่วยลืม

รับประทานยามากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป ควรแจ้งแพทย์ทราบ

เก็บยาในภาชนะปิดสนิทป้องกันแสงที่อ ุณหภูม ิห ้อง หลีกเลี่ยงความร้อน ความชื้น และเก็บยาให ้พ ้น

มือเด็ก

ผลข้างเคียงและอาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยาที่อาจเก ิดข ึ้น

การรับประทานยา Ethambutol อาจท าให ้เกิดอาการคลื่นไส ้ อาเจ ียน ลดความอยากอาหาร ปวด

ศีรษะ มึนงง หากเกิดอาการข้างต้นควรปรึกษาแพทย์เพ ื่อปรับเปลี่ยนการรับประทานยา

ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบ ัต ิต ัวเมื่อเก ิดป ัญหาจากการใช้ยา

หากเกิดอาการต่อไปนี้ การมองเห ็นภาพไม่ชัดเจน ความสามารถในการมองเห ็นส ีแดงและสีเขีย ว

เปลี่ยนไป ปวดตา ผื่นคัน บวมบริเวณใบหน้า ริมฝีปากและล าคอ หายใจมีเส ียงหวีดหรือหายใจล าบากปวด

หรือปวดเส ียวที่ม ือหรือเท้า ปวดข้อไข้หรือส ั่น ควรหยุดยาแล้วรีบปรึกษาแพทย์ท ันที

ไม่ควรรับประทานยานี้พร้อมยาลดกรด ห ากใช้ยาลดกรดร่วมด้วยให ้รับประทานยาลดกรดหลัง

รับประทานยาแล้วอย่างน้อย 2 ชั่วโมง แจ ้งแพทย์หรือ เภส ัชกรทราบทุกค รั้งท ี่ไปขอรับบริการ ว ่าก าลัง

รับประทานยา ethambutol

หากตั้งครรภ์หรือก าลังให ้นมบุตรให ้แจ ้งแก่แพทย์ก่อนใช้ยา

ผู้ป ่วยโรคไต เกาต์ หรือมีป ัญหาเกี่ยวกับตาควรแจ้งแก่แพทย์ก่อนสั่งจ ่ายยา Ethambutol

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 85

เภสัชกรรมคลินิก

อาการไม่พ ึงประสงค์จากการใช้ยา

แนวข้อสอบ

ลักษณะข้อสอบเรื่องผื่นแพ ้ยา ส ่วนใหญ ่จะมีข้อสอบแค่ Maculopapular rash, Urticaria (ผ ื่นลมพ ิษ )

และ Steven-Johnson syndrome จ ารายละเอียดแค่ 3 แบบนี้ก ็ได้ โดยลักษณะข้อสอบมีดังนี้

1. ผู้ป ่วยมาด้วยอาการผื่นขึ้นทั่วร่างกาย ให ้ซ ักประวัติผ ู้ป ่วยพร้อมให ้ค าแนะน า ต้องบอกใ ห ้ผ ู้ป ่วยว ่ายา

ดังกล่าวชื่ออะไร ใช้รักษาโรคอะไร ผื่นดังกล่าว เป็นผื่นแพ ้ยาชนิดใด (บอกชื่อผื่น เป็นภาษาไทย) และ

แนะน าให ้ผ ู้ป ่วยหยุดยาดังกล่าว และไปพบแพทย์

2. ให ้ข้อมูลการรักษาก่อนหน้าของผู้ป ่วยมาว ่าเคยได้รับยาอะไรมาบ้าง ในวันนี้ผ ู้ป ่วยมาด้วยอาการผื่นขึ้น

ทั้งตัว โดยจะบอกลักษณะของผื่นและมีรูปให ้ดู โจทย์จะให ้ตอบว่าผื่นดังกล่าว เรียกว ่าอะไร และ เดจาก

การแพ ้ยาชนิดใด

เนื้อหา ลักษณะของผื่นแพย้าที่พบบ่อย

ลักษณะของผื่น รูปตัวอย่าง

Maculopapular rash

เป ็นตุ่มนูนและรอยแดงผสมกัน มีท ั้ง เกิด

เดี่ยว ๆและ รวมกันเป็นปื้น ขนาดใหญ ่ ขอบผื่นไม่

ชัดเจน ระยะแรกผื่นจะมีส ีแดง เม ื่ออาการทุเลาลงจะ

เปลี่ยนเป็นส ีคล้ า ม ีอาการคันและอาจมีไข้ต่ าๆร่วม

ด้วย

Urticaria (ผื่นลมพ ิษ)

มีลักษณะ เป็นรอยแดงและขยายใหญ ่ขึ้น

ขอบยกนูนเป็นรอยหยักๆ ไม่เป ็นวงกลม ส ีตรงกลาง

ซ ีดกว่าขอบ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 86

ลักษณะของผื่น รูปตัวอย่าง

Fixed drug eruption

ผื่นรูปร่างกลมหรือรี สีแดงจัด ตรงกลางเป็น

ส ีแดงคล้ าอมสีม ่วงหรือพองเป็นตุ่มน้ า ผื่นมักจะมี

อาการเจ ็บๆคันๆ เม ื่อหายแล้วจะทิ้งเป ็นรอยด า

Eczematous drug eruption

มีลักษณะเป็นตุ่มนูนและปื้นแดงคล้าย MP

rash แต่จะมีความนูนหนามากกว่า ม ีขนาดใหญ ่ อาจ

บวมเป็นตุ่มน้ าใสๆและแตกเป็นน้ าเหลืองไหลเยิ้ม

ต่อมาจะตกสะเก็ด มักมีอาการคันมาก

Erythema multiforme (EM)

ผื่นมีลักษณะคล้ายเป้ายิงธนู เป ็นวง 3 ชั้น

ชั้นในสุดมีส ีแดงเข้มจ ัดหรือเป็นตุ่มน้ าพอง ชั้นถัดมา

มีส ีซ ีดจาง และชั้นนอกสุดเป็นส ีแดงจางๆ ผื่นจะเกิด

ตามผิวหนังร่วมกับผื่นตามเยื่อบุอ ีก 1 แห่ง เช่น เยื่อบุ

ตา เยื่อบุช่องปาก ริมฝีปาก เป็นแผลถลอกตื้นๆมี

เลือดออก เมื่อแห ้งจะเป็นสะเก็ดส ีด า

Steven - Johnson syndrome (SJS)

มีลักษณะคล้ายกับผื่น EM แต่เป ็นวงกลมไม่

ครบ 3 ชั้น มีส ีแดงจัดหรือเข้ม ตรงกลางเป็นส ีเทา ด า

หรือพองเป็นตุ่มน้ า ผ ื่นที่ข ึ้นต ามร่างกายจะมีน้อ ย

กว่าร้อยละ 10 ของพ ื้นที่ผ ิวทั้งหมด และจะพบรอย

โรคบริเวณเยื่อบุมากกว่า 1 แห่งขึ้นไป

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 87

ลักษณะของผื่น รูปตัวอย่าง

Toxic Epidermal Necrolysis (TEN)

ผู้ป ่วยมักมีอาการน าคล้ายไข้หว ัด มีไข้ ปวด

ศีรษะ คลื่นไส ้ อาเจ ียน ท้องเส ีย ปวดเจ ็บตามตัวและ

ผิวหนัง ต่อมาจะ เกิดผื่นลักษณะผื่นลักษณะคล้าย

MP rash พ องเป็นตุ่มน้ า และหลุดลอกออกอย่า ง

รวดเร็ว เป็นแผ่นใหญ ่ๆ แผลตื้นๆ มีน้ า เหลืองหรือ

เลือดซ ึมคล้ายน้ าร้อนลวก เยื่อบุต่างๆมักถูกท าลาย

ด้วย เช่น ช่องปาก เยื่อบุตา อวัยวะ เพศ เม ื่อแห ้งจะ

เป็นแผ่นส ีด าเหมือน SJS

การประเมินความสัมพ ันธ ์ของผลิตภัณฑ ์กบัอาการอ ันไม่พ ึงประสงค์ตาม WHO criteria

1. Certain (ใช่แน่นอน)

(1) เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพ

(2) ไม่สามารถอธ ิบายด้วยโรคที่เป ็นอยู่หรือยาหรือสารเคมีอื่นๆที่ใช้ร่วม

(3) เม ื่อหยุดใช้ผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพ อาการอันไม่พ ึงประสงค์ดีขึ้นหรือหายจากอาการนั้นอย่างเห ็นได้ชัด

(4) หากใช้ผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพซ้ าใหม่ จะสามารถอธ ิบายอาการไม่พ ึงประสงค์ท ี่เก ิดขึ้นได้

2. Probable (น่าจะใช่)

(1) เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพ

(2) ไม่สามารถอธ ิบายด้วยโรคที่เป ็นอยู่หรือยาหรือสารเคมีอื่นๆที่ใช้ร่วม

(3) เม ื่อหยุดใช้ผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพ อาการอันไม่พ ึงประสงค์ดีขึ้นหรือหายจากอาการนั้น

(4) ไม่ม ีข้อมูลของการให ้ซ ้ า

3. Possible (อาจจะใช่)

(1) เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพ

(2) อาจสามารถอธิบายด้วยโรคที่เป ็นอยู่หรือยาหรือสารเคมีอื่นๆที่ใช้ร่วม

(3) ไม่ม ีข้อมูลการหยุดเกี่ยวกับการหยุดใช้ผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพ หรือมีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์

4. Unlikely (สงสัย)

(1) เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่ไม่สอดคล้องกับการใช้ผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพ

(2) สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป ็นอยู่หรือยาหรือสารเคมีอื่นๆที่ใช้ร่วมได้อย่างชัดเจน

หลกัการจ า : จ าหลัก 4 ข้อ ของ certain ก็พอ แล้วให ้ไล่ระดับลงมา

Certain มี 4 Probable มี 3 Possible ม ี 2 Unlikely ไม่ม ี

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 88

การประเมินการแพ ้ยาตาม Naranjo’s algorithm

ระดับคะแนน

≥ 9 Definite

5 - 8 Probable

1 - 4 Possible

≤ 0 Doubtful

ค าถาม ใช่ ไม่ใช่ ไม่ทราบ คะแนน

(ระบุ)

1. เคยมีสรุปหรือรายงานปฏิกิริยานี้มาแล้วหรือไม่ +1 0 0

2. อาการไม่พ ึงประสงค์นี้เก ิดขึ้นภายหลังจากได้รับยา

ที่ค ิดว ่าเป ็นสาเหตุหรือไม่

+2 -1 0

3. อาการไม่พ ึงป ระสงค์นี้ด ีข ึ้น เม ื่อห ยุดยาดังกล่า ว

ห รือ เมื่อ ให ้ย าต้า นที่ จ า เ พ าะ เจ า ะ จ ง ( specific

antagonist) หรือไม่

+1 0 0

4. อาการไม่พ ึงประสงค์ดังกล่าวเกิดขึ้นอีก เมื่อ เริ่มให ้

ยาใหม่หรือไม่

+2 -1 0

5. ปฏิกิ ริย าที่ เ ก ิด ขึ้นส าม ารถ เกิ ด จ า กส า เห ตุอื่ น

(นอกเหนือจากยา) ของผู้ป ่วยได้หรือไม่

-1 +2 0

6. ปฏิกิริยาดังกล่าวเกิดขึ้นอีกเมื่อให ้ยาหลอกหรือไม่ -1 +1 0

7. ส าม ารถตรว จ วัดป ริม าณ ยาได้ใน เลือ ด (ห รื อ

ของเหลวอื่น) ในปริม าณความเข้มข้นที่เป ็นพ ิษ

หรือไม่

+1 0 0

8. ปฏิกิริยารุนแรงขึ้น เม ื่อ เพ ิ่มขนาดยาหรือลดความ

รุนแรงลงเมื่อลดขนาดยาหรือไม่

+1 0 0

9. ผู้ป ่วยเคยมีปฏิกิริยาที่เหมือนหรือคล้ายคลึงกันนี้มา

ก่อนในการได้รับยาครั้งก่อนๆหรือไม่

+1 0 0

10. อาการอันไม่พ ึงประสงค์ได้รับการยืนยันโดยมีผล

ปฏิบัติการหรือผลจากการตรวจสอบอื่น ๆ ยืนยัน

+1 0 0

รวม

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 89

เภสัชกรรมคลินิก

การประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบ ัต ิการ

แนวข้อสอบ

ข้อสอบออกปีละ 1 ข้อ บางปีก็ไม่ออก แต่ป ีหลังๆออกทุกปี โดยข้อสอบมี 2 รูปแบบ คือ

1. การอธ ิบายค่า lab + แนะน าการปฏิบ ัติตัว

2. มาขอซื้อยา (ให ้ตัดส ินใจว่าจะจ่ายยาหรือไม่)+อธิบายค่า lab+แนะน าการปฏิบ ัติตัว

เนื้อหา

Lipid profile

แนวข้อสอบ

- โจทย์จะให ้ค านวณค่า LDL, แปลผลค่า lab (ต้องจ า goal ของแต่ละค่า ) และแนะน าการปฏิบ ัติตัว

- การค านวณ LDL; หน่วย mg/dL, mg% (ใช้ส ูตรนี้ได้เม ื่อ TG < 400 mg/dL)

เนื้อหา

สูตรค านวณค่า Lab

เป ้าหมายการรักษาตาม NCEP ATP III

ค่า Lab Goal

Total cholesterol (TC) < 200

Triglyceride (TG) < 150

VLDL (VLDL มีค่าประมาณ TG/5 ) < 50

HDL 40-59

การก าหนดเป้าหมายของค่า LDL จะต้องพ ิจารณาถึงระดับความเส ี่ยงต่อการเกิด CHD

Risk LDL goal

CHD/ CHD risk equivalent < 100

Risk factor ≥ 2 < 130

Risk factor = 0-1 < 160

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 90

CHD and CHD risk equivalent

1. Coronary heart disease (CHD) = คนที่เป ็น CHD อยู่แล ้ว

- Acute miocardial infarction

- Silent miocardial infarction or miocardia ischemia = กล้ามเนื้อห ัวใจตาย

- Unstable angina pectoris or stable angina pectoris = ปวดเค้นบริเวณอก

- Coronary procedure (coronary angioplasty, coronary surgey) = เคยใส ่ส ายสวนเข้าห ัวใจหรือ เคย

ผ่าตัดห ัวใจ

2. CHD risk equivalent = คนที่เป ็นโรคอื่นที่มีความเสี่ยงเท ่าก ับเป ็น CHD

เป ็นโรคเบาหวาน

Other clinical atherosclerotic diseases = หลอดเลือดบริเวณอื่นที่ไม ่ใช่ห ัวใจ

- Peripheral arterial disease = โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย

- Abdominal aortic aneurysm = โรคหลอดเลือดแดงที่ช่องท้องโป่งพอง

- Carotid artery disease on angiography or ultrasound = หลอดเลือดใหญ ่ที่คอผิดปกติหรือตีบ

มากกว่า 50%

- Renal artery disease = โรคหลอดเลือดที่ไต

Risk factors

Risk factor เกณฑ์ คะแนน

อายุ ชาย ≥ 45 ปี หญิง ≥ 55 ปี +1

ประวัติคนในครอบครัวตายก่อนวัยอัน

ควรด้วยโรค CHD

ญาติฝ ่ายชาย (พ ่อ พ ี่

น้อง) เป ็น CHD

ตายก่อนอายุ 55 ปี

ญาติฝ ่ายหญ ิง (พ ่อ พ ี่

น้อง) เป ็น CHD ตาย

ก่อนอายุ 65 ป ี

+1

ประวัติการส ูบบุหรี่ สูบบุหรี ่ +1

เป ็นโรคความดันโลห ิตหรือก าลังได้รับยา

รักษาโรคความดันโลห ิตหรือไม่

เป ็นโรคความดันโลห ิตหรือก าลังได้รับยา

รักษาโรคความดันโลห ิต

+1

ค่า HDL < 40mg/dL +1

≥ 60mg/dL -1

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 91

ค าแนะน าในการปฏิบ ัต ิต ัว

ลดน้ าหนักในคนที่น้ าหนักเกินหรืออ้วน

จ ากัดการรับประทานอาหารประเภทไขมัน โดยเฉพาะไขมันปะเภทอิ่มตัวและคอเลสเตอรอล เช่น ไขมัน

ส ัตว ์ เนื้อส ัตว ์ ผลิตภ ัณฑ ์จากนม อาหารทอด เป็นต้น

ลดปริมาณพลังงานที่ได้รับรวมต่อว ัน (ถ้าอ้วน)

ควรรับประทานอาหารประเภทโปนตีนและคาร์โบไฮเดรต และไขมันในสัดส ่วนที่เหมาะสม

ควรเพ ิ่มการรับประทานผักและผลไม้

ให ้ผ ู้ป ่วยระลึกเสมอว่าอาหารที่ม ีไขมันและคอเลสเตอรอลต่ าก็ยังม ีพลังงานสูงได้

ออกก าลังกายระดับปานกลาง (aerobic exercise) ขึ้นไป เช่น เดินเร็วๆ เป็นอย่างน้อยครั้งละ 30 นาที 3

ครั้งต่อส ัปดาห ์

ความดันโลหิต

แนวข้อสอบ

- โจทย์ให ้อธ ิบายถึงเป้าหมายของการลดความดันโลห ิต (ควรจะบอกว่าความดันโลห ิตของผู้ป ่วยอยู่ใน

stage ใดและเป้าหมายของความดันโลห ิตอยู่ท ี่เท ่าใด) และค าแนะน าในการปฏิบัติตัว

- ผู้ป ่วยโรคความดันโลห ิตส ูงมาขอซื้อยา HCTZ และ Enalapril ที่ร้านขายยา มีค่าเฉลี่ยของความดันโลห ิต

ครั้งล่าส ุดที่โรงพยาบาลมาด้วย โจทย์ให ้ซ ักประวัติ ตัดส ินใจว่าจะจ่ายยาหรือไม่ และแนะน าการปฏิบ ัติ

ตัว

เนื้อหา

ระดับความดันโลหิตสูง

SBP DBP

Optimal <120 and <80

Prehypertension 120-139

or

80-89

Stage 1 Hypertension 140-159 90-99

Stage 2 Hypertension ≥160 ≥100

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 92

เป ้าหมายของการลดความดันโลหิต

Goal (mmHg)

Pt. ท ั่วไป <140/90

Pt. Chronic kidney disease / Diabetes mellitus <130/80

Pt. Protienuria <125/75

การซักประวัต ิผ ู้ป ่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มาขอซื้อยา

แนะน าตัวว ่าเป ็นเภส ัชกร

สอบถามว่าใครเป็นผู้ใช้ยา

ประวัติแพ ้ยา และโรคประจ าตัวอื่นที่เป ็นร่วม ยาที่ก าลังใช้อยู่

ค้นหาสาเหตุขอการมาซ ื้อยา

ประวัติล ่าส ุดที่ไปรับยา /แพทย์นัดล่าส ุดเมื่อไหร่

ความถูกต้องและความสม่ าเสมอในการรับประทานยา

ตัดส ินใจว่าจะจ่ายยาหรือไม่ ขึ้นอยู่ก ับเหตุผลที่ผ ู้ป ่วยมาขอซื้อยา

แนะน าผู้ป ่วยว ่าผู้ป ่วยไม่ควรซ ื้อยารับประทานเอง ควรไปพบแพทย์ตามนัด เพ ื่อประ เมินผลการรักษา

และแพทย์อาจปรับเปลี่ยนยาให ้ตามความเหมาะสม

ค าแนะน าในการปฏิบ ัต ิต ัว

จ ากัดอาหารที่ม ีรสเค็ม หรืออาหารที่ม ีเกลือเป็นส ่วนประกอบ

ลดการรับประทานเกลือโดยการไม่เติมเกลือเพ ิ่มในอาหาร

จ ากัดการรับประทานอาหารประเภทไขมัน โดยเฉพาะไขมันปะเภทอิ่มตัวและคอเลสเตอรอล (ถ้าม ีภาวะ

ไขมันในเลือดส ูงร่วมด้วย)

ควรเพ ิ่มการรับประทานผักและผลไม้

ถ้าผู้ป ่วยมีภาวะอ้วนหรือน้ าหนักเกิน การลดน้ าหนักจะมีผลช่วยลดความดันโลห ิตได้

ควรงดการส ูบบุหรี่

จ ากัดการดื่มเครื่องดื่มที่ม ีแอลกอฮอล์

ออกก าลังกายระดับปานกลาง (aerobic exercise) ขึ้นไป เช่น เดินเร็วๆ เป็นอย่างน้อยครั้งละ 30 นาที 3

ครั้งต่อส ัปดาห ์

ควรท าจ ิตใจให ้แจ ่มใส ไม่เคร่งเครียดจนเกินไป

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 93

ระดับน้ าตาลในเล ือด

แนวข้อสอบ

- โจทย์ม ีอยู่ว ่าผ ู้ป ่วยมาขอซื้อยา ให ้อธ ิบายค่า FBS และ HbA1C ซ ักประวัติ ตัดส ินใจว่าจะจ่ายยาหรือไม่ และ

แนะน าการปฏิบ ัติตัว

เนื้อหา

อธิบายค่า lab

FBS เป ็นค่าที่แสดงถึงระดับน้ าตาลในเลือดหลังจากอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง

HbA1C เป ็นค่าของน้ าตาลที่จ ับอยู่บน Hemoglobin (เม ็ด เลือดแดง ) ใน 3 เดือนที่ผ ่านมา เพ ื่อว ัดความ

ร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป ่วย

เป ้าหมายของค่า FBS และ HbA1C

เกณฑ์ diagnosis DM Goal

Fasting blood sugar (FBS) ≥ 126 70-130

HbA1C ≥ 6.5% < 7%

ซักประวัต ิ

แนะน าตัวว ่าเป ็นเภส ัชกร

สอบถามว่าใครเป็นผู้ใช้ยา

ประวัติแพ ้ยา และโรคประจ าตัวอื่นที่เป ็นร่วม ยาที่ก าลังใช้อยู่

ค้นหาสาเหตุขอการมาซ ื้อยา

ประวัติล ่าส ุดที่ไปรับยา /แพทย์นัดล่าส ุดเมื่อไหร่

ความถูกต้องและความสม่ าเสมอในการรับประทานยา

ตัดส ินใจว่าจะจ่ายยาหรือไม่ ขึ้นอยู่ก ับเหตุผลที่ผ ู้ป ่วยมาขอซื้อยา

แนะน าผู้ป ่วยว ่าผู้ป ่วยไม่ควรซ ื้อยารับประทานเอง ควรไปพบแพทย์ตามนัด เพ ื่อประ เมินผลการรักษา

และแพทย์อาจปรับเปลี่ยนยาให ้ตามความเหมาะสม

ค าแนะน าในการปฏิบ ัต ิต ัว

รับประทานอาหารได้ตามปกติเหมือนคนทั่วไป แต่ปรับส ัดส ่วนอาหารชนิดต่า งๆให ้เหมาะสมดังนี้

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 94

- หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ม ีน้ าตาลส ูง ได้แก่ น้ าตาลและของหวาน เช่น ทองหยิบ ทองหยอด

ส ังขยา นมข้นหวาน เครื่องดื่มเกลือแร่ น้ าอัดลม รวมถึงผลไม้ท ี่ม ีน้ าตาลในปริมาณสูง เช่น ล าไย

ส ับปะรด ทุเรียน เป็นต้น

- หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ม ีไขมันอิ่มตัว เช่น ไขมันส ัตว ์ กะทิ น้ าม ันปาล์ม

- เลือกรับประทานอาหารที่ม ีเส ้นใยส ูง เช่น ผักใบเขียว

รับประทานอาหารและยาตรงเวลา เพ ื่อให ้ระดับน้ าตาลในเลือดและยาออกฤทธิ์ส ัมพ ันธ ์กัน

ลดน้ าหนักในคนที่น้ าหนักเกินหรืออ้วน

ออกก าลังกายระดับปานกลาง (aerobic exercise) ขึ้นไป เช่น เดินเร็วๆ เป็นอย่างน้อยครั้งละ 30 นาที 3

ครั้งต่อส ัปดาห ์

ควรเลือกสวมรองเท้าที่พอดี ไม่คับเกินไป และหมั่นดูแลส ุขภาพเท้าอย่างสม่ าเสมอ

Thyroid function

แนวข้อสอบ

- โจทย์ให ้ค่า lab มา ให ้ประเมินว ่าผู้ป ่วยเป็นโรคอะไร ซ ักประวัติเพ ื่อส ืบหาสาเหตุของโรค และให ้

ค าแนะน าแก่ผ ู้ป ่วย

เนื้อหา

Thyroid disorders

TT 4 & TT 3 TSH

Hyperthyrodism

Hypothyrodism

1. Hyperthyrodism

อาการแสดง

Hypermetabolism & กระตุ้นระบบประสาท Sympathetic

เหนื่อยง่าย เพลีย นอนไม่หลับ มือส ั่น (โดยเฉพาะเวลาท างานละเอียด เช่น งานฝีม ือ เขี ยนหนังส ือ) ห ัว

ใจเต้นเร็ว ใจส ั่น กระวนกระวาย น้ าหนักตัวจะลดลงเร็ว โดยที่ผ ู้ป ่วยกินได้ปกติหรืออาจกินจุขึ้นกว่าเดิม

ด้วยซ ้ า ทนร้อนไม่ได้ เหงื่อออกมาก ผิวหนังชื้น อยู่ไม ่ส ุข ชอบท าโน่นท านี่ ตาโปน

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 95

สาเหตุ

เป ็นโรค Grave’s disease ( เป ็นสาเหตุท ี่พบบ่อยที่ส ุด)

เป ็นโรคต่อมไทรอยด์อักเสบ

เป ็นเนื้องอกที่ต่อมใต้สมอง ที่ม ีการหลั่งฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์มากเกินไป

การได้รับสารไอโอดีนมากเกินไป (ซ ึ่งอาจอยู่ในอาหารหรือยาที่บริโภค จะกระตุ้นให ้ต่อมไทรอยด์

ท างานเกินได้)

เกิดจากการใช้ยา Amiodarone (ยานี้ม ีส ่วนผสมของไอโอดีน ถ้าใช้ในขนาดสูง อาจกระตุ้นให ้ต่อ ม

ไทรอยด์ท างานมากขึ้น)

ภาวะแทรกซ้อน

Atrail fibrillation, Hypothyrodism, โรคห ัวใจขาดเลือด (Congestive heart failure), ภาวะห ัวใจวาย, ภาวะ

กระดูกพรุน

2. Hypothyrodism

อาการแสดง

Hypometabolism

เฉื่อย เหนื่อยง่าย ทนเย็นไม่ได้ ห ัวใจโต เต้นช้า ผ ิวหนังแห ้งหยาบ น้ าหนักเพ ิ่ม บวมแต่กดไม่บ ุ๋ม ปวด

กล้ามเนื้อ ท ้องผูก (ล าไส ้ม ักเคลื่อนไหวช้า) ขาดสมาธ ิ คิดช้า ความจ าไม่ดี ขี้หนาว ผู้ป ่วยมักมีรูปร่างอ้วน

ขึ้น ทั้งท ี่ก ินไม่มาก (เนื่องจากร่างกายท างานเชื่องช้า ม ีการใช้พลังงานน้อย)

สาเหตุ

เป ็นโรค Hasimoto’s thyroid

ขาดไอโอดีน

เกิดจากการใช้ยา Lithium (Lithium จะยับยั้งการปล่อย Thyroid hormone จากต่อมไทรอยด์),

Amiodarone

ภาวะแทรกซ้อน

ภาวะหวัใจโต หวัใจวาย ซ ึมเศร้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดข้อ และอาจส ่งผลต่อระบบการเมทาบอลิซ ึม

ต่างๆของร่างกายได้

*** จะเห ็นได้ว ่า Amiodarone อาจท าให ้เกิดภาวะ Hyperthyrodism หรือ Hypothyrodism ก็ได้ ***

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 96

การซักประวัต ิ

แนะน าตัวว ่าเป ็นเภส ัชกร

ผลตรวจนี้เป ็นของใคร

ท าไมจึงไปตรวจ มีอาการอะไร

ประวัติโรคประจ าตัว ประวัติแพ ้ยา

ประวัติการใช้ยา

ประเมินภาวะโรคของผู้ป ่วย

สืบหาสาเหตุท ี่แท้จริงของผู้ป ่วย

การให้ค าแนะน าแก ่ผ ู้ป ่วย

แนะน าให ้ผ ู้ป ่วยไปพบแพทย์ และอธ ิบายถึงภาวะแทรกซ้อนของโรค เพ ื่อให ้ผ ู้ป ่วยตระหนักถึงการรักษา

โรค

Hematorogy

แนวข้อสอบ

- โจทย์ถามในลักษณะที่ผ ู้ป ่วยน าผล lab มาให ้ดู และถามว่าจะบริจาคเลือดได้หรือไม่

เนื้อหา

การซักประวัต ิและการให้ค าแนะน าในการปฏิบ ัต ิต ัว

กล่าวทักทายและแนะน าตัว

ถามผู้ป ่วยว ่าเป ็นผล Lab ของใคร

อาการที่เก ิดขึ้นร่วม เช่น ตับโต เปลือกตาซ ีด

ประวัติคนในครอบครัวหรือญาติสายตรง มีโรคประจ าตัว เช่น โรคโลห ิตจาง โรคทาลัสซ ิเม ีย หรือไม่

ประวัติโรคประจ าตัว และยาที่ก าลังใช้อยู่

มีประวัติแพ ้ยาหรือไม่ ถ้าม ี อาการเป็นอย่างไร

การเลือกรับประทานอาหาร เช่น ไม่รับประทานเครื่องในสัตว ์ ผ ักใบเขียว เป ็นต้น

ให ้ผ ู้ป ่วยไปพบแพทย์โดยตรง เพ ื่อการว ินิจฉัยที่ถ ูกต้องและตัดส ินใจว่าจะให ้บริจาคเลือดได้หรือไม่

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 97

Liver function test

แนวข้อสอบ

- โจทย์จะให ้ผล lab มา (โจทย์จะให ้ค่าปกติของค่า lab ก ากับมาด้วย ) + อธิบายค่า lab (ข้อสอบที่ review

มา จะให ้อธ ิบายเฉพาะค่า AST, ALT และ Alkaline phosphatase) + ซักประวัติห าสาเหตุท ี่เอ ็นไซม์ตับ

ส ูงขึ้น + แนะน าการปฏิบ ัติตัว

เนื้อหา

อธิบายค่า lab

AST และ ALT เป ็นค่าที่แสดงถึงอันตรายที่เก ิดขึ้นกับเซลล์ตับ เม ื่อมีค่าส ูงผิดปกติ แสดงว่ามีการท าลาย

ของเซลล์ตับ

Alkaline phosphatase (ALP) เป ็นเอ็นไซม์ในท่อน้ าดี ม ัก เพ ิ่มส ูงขึ้นในกรณีที่ม ีการอุดตันในระบบ

ไหลเว ียนน้ าดี

Billirubin เป ็น by product ที่ได้จ าก การท าลาย heme โดย เมื่อ heme สลายให ้ bilirubin จะ เกิด

conjugation ที่ตับ ได้เป ็น Conjugated bilirubin ซึ่งละลายน้ าได้ดี และขับออกได้ง่ายทั้งทางปัสสาวะและ

อุจจาระในรูป urobilirubin

เม ื่อมีการตรวจตัวอย่างเลือด อาจแบ่ง Billirubin เป ็น 2 กลุ่ม คือ Direct Bilirubin (Conjugated) และ

Indirected Bilirubin (Unconjugated) โดยรวมอยู่ในค่า Total Bilirubin เม ื่อพบว่าค่าทั้งสามนี้ส ูงกว ่าปกติ

อาจแสดงถึงการลดลงของการท างานของตับ การสลายเม็ดเลือดมากขึ้นหรือการอุดตันของทางเดินน้ าดี

ได้

- Total Bilirubin (TB)/ Bilirubin = สารน้ าดีท ั้งหมดในกระแสเลือด ถ้ามีมาก เรียกว ่า ม ีภาวะดีซ ่าน

(Juandice) มีอาการตาเหลืองตัวเหลือง

- Direct Bilirubin (DB) = สารน้ าดีชนิดที่ได้รับการเปลี่ยนแปลง (Conjugated) ที่ตับแล้ว ( เป ็นพวกที่

ละลายในน้ า)

- Indirect Bilirubin (ปกติจะไม่รายงาน แต่ห าได้จาก TB- DB) เป ็นพวกน้ าดี ซ ึ่งยังไม่ได้รับการ

เปลี่ยนแปลงที่ตับ (Unconjugated Bilirubin) ซึ่งเป ็นพวกที่ละลายในไขมัน

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 98

ค่า Lab ค่าปกติ

AST(Aspatate transaminase, SGOT) 0-35

ALT(Alanine transaminase, SGPT) 0-35

Alkaline phosphatase (ALP) 30-120

Total bilirubin (TB) 0-1.4

Direct bilirubin (DB) 0-0.30

การซักประวัต ิ

แนะน าตัวว ่าเป ็นเภส ัชกร

ผลตรวจนี้เป ็นของใคร

ท าไมจึงไปตรวจ มีอาการอะไร (เบ ื่ออาหาร คลื่นไส ้ อาเจ ียน ปวดท้อง ตาเหลืองตัว เหลือง มีไข้ต่ า)

ระยะเวลาที่เป ็น

ประวัติโรค ประวัติแพ ้ยา

ประวัติการใช้ยา

สืบหาสาเหตุท ี่ท าให ้เอ ็นไซม์ตับส ูงขึ้น

สาเหตุท ี่ท าให้เอ ็นไซม์ต ับสูงข ึ้น

ตับอักเสบจากไวรัส เช่น ไวรัสตับอักเสบ

การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากๆ

การใช้ยาบางชนิดเป็นเวลานาน เช่น

- ยารักษาว ัณโรค (Pyrazinamide, Isoniazid, Rifampin)

- ยารักษาภาวะไขมันในเลือดส ูงกลุ่ม Statins (Atorvastin, Simvastatin, Lovastatin, Pravastatin,

Rosuvastatin) หรือกลุ่ม Fibric acid derivatives (Gemfibrozil, Clofibrate, Benzafibrate)

- Methotrexate

- Paracetamol

การพ ักผ่อนไม่เพ ียงพอ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 99

ไวรัสตับเอกเสบบี (Hepatitis B virus)

แนวข้อสอบ

- โจทย์จะให ้อธ ิบายค่าแลป ระยะของโรค สาเหตุของการติดต่อ และให ้ค าแนะน าในการปฏิบัติตัว

เนื้อหา

อธิบายค่า Lab

AST และ ALT เป ็นค่าที่แสดงถึงอันตรายที่เก ิดขึ้นกับ เซลล์ตับ จะมีค่าส ูงผิดปกติเม ื่อมีการท าลายของ

เซลล์ตับ

HBsAg ( + ) แสดงว่าติดเชื้อหรือมีเชื้ออยู่ในร่างกาย

AntiHBs Ag (+) แสดงว่ามีภ ูม ิคุ้มกันแล้ว

HBeAg ( + ) แสดงว่าอยู่ในระยะที่แพร่เชื้อได้ (เชื้อมีการแบ่งตัว ม ีการแพร่เชื้อ/การเพ ิ่มจ านวนของเชื้อ )

AntiHBe Ag (+) แสดงว่าไม่ม ีการแพร่เชื้อ/ ไม่ม ีการแบ่งตัวของเชื้อ

HBV DNA ( + ) เป ็นค่าที่ยืนยันว ่าเชื้อก าลังแบ่งตัวอยู่

HBsAg ( + ) + AntiHBs Ag (+) = ติดเชื้อแล้ว + มีภ ูม ิคุ้มกันแล้ว

HBsAg ( - ) + AntiHBs Ag (+) = ฉีดว ัคซ ีนแล้ว

AntiHBe Ag (+) + AntiHBs Ag (+) = ติดเชื้อแล้ว หายแล้ว ม ีภ ูม ิคุ้มกันแล้ว

ระยะของโรค

Acute (เป ็นไม่นานเกิน 6 เดือน)

- มีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง เบ ื่ออาหาร เหนื่อยง่าย อิดโรย เป็นไข้

- ALT ส ูง (ALT > 2.5 เท ่าของ upper limit ของค่าปกติ)

Chronic (เป ็นนานกว่า 6 เดือน )

- มีอาการต่อเนื่อง หรือเป็นๆหายๆนานกว่า 6 เดือน

- AST > ALT

- HBeAg ( + ) = Active (เชื้อก าลังแบ่งตัว/แพร่เชื้อได้)

HBeAg ( - ) = Persistance

Carrier

- ไม่ม ีอาการ แต่พบเชื้อในกระแสเลือด

- normal AST & ALT

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 100

- HBeAg ( + ) = Asymtomatic (แพร่เชื้อได้)

HBeAg ( - ) = Active (ไม่สามารถแพร่เชื้อได้)

สาเหตุของการติดต่อ

ติดต่อได้ทางเลือด (การให ้เลือด การส ัก การฉีดยา การฝังเข็ม การท าฟ ัน) สารคัดหลั่ง (น้ าตา น้ าลาย

น้ านมปัสสาวะ น้ าอส ุจ ิ) และติดต่อจากแม่ส ู่ล ูกได้

ค าแนะน าในการป้องก ันและการปฏิบ ัต ิต ัว

ให ้ไปพบแพทย์ เพ ื่อติดตามตรวจดูเชื้อและทดสอบการท างานของตับ

ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งท ี่ม ีเพศสัมพ ันธ ์

หลีกเลี่ยงการส ัก หรือการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน

พักผ่อนให ้เพ ียงพอ

ห้ามบริจาคเลือด

ห้ามดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

แยกส ารับข้าวและเครื่องใช้ส ่วนตัวออกจากผู้อ ื่น

ระหว่างที่เป ็นโรคหลีกเลี่ยงการใช้ยาทีม ีพ ิษต่อตับ เช่น Paracetamol, Isoniazid, Erythromycin เป ็นต้น

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 101

การสบืค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่เหมาะสม

หนังสือทางเภสัชกรรม

แนวข้อสอบ

ข้อสอบจะออกปีละ 1 – 3 ข้อ ออกทุกปี เป ้าหมายหลักของ station นี้ คือ เป ิดให ้เจอข้อมูลที่ถ ูกต้อง

ครบถ้วน และสมบูรณ์ หา Key word ให ้ได้ และต้องรู้ว ่าควรใช้หนังส ือเล่มไหนในการที่จะได้มาซ ึ่งค าตอบ

โดยหนังส ือหลักๆที่ใช้ ข้อสอบที่ออกส่วนใหญ ่จะ เป็นการเปิดหนังส ือ Drug information handbook ,

MIMs , Drug interaction facts

เนื้อหา

ชื่อหนังสือ วิธ ีการเป ิดหนังสือ/รายละเอ ียดในหนังสือ

AHFS Drug Information

เป ิดจาก index ด้านหลัง

Availability & Indentification เฉพาะใน USA ยานอกบางตัว ซ ึ่งถ้า

ไม่พบใน Drug information จะสามารถพบได้ในนี้

หัวข้อที่พบได ้

- ชื่อ - Pharmacology

- Use - Mechanism of action

- Dosage & administration - Pharmacokinetic

- Caution - Chemistry & stability

- Pregnancy & lactation

MIMS Annual

เป ิดตาม Generic & brand name index ซึ่งอยู่ด ้านหน้าของเล่ม

เล่มนี้ประกอบด้วย

- Trade name, Generic name

- Dosage & Administration

- Description

- Indication

- Storage

- Presentation

- Action

- Pharmacology

- Pharmacokinetic

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 102

ชื่อหนังสือ วิธ ีการเป ิดหนังสือ/รายละเอ ียดในหนังสือ

Drug information handbook

เป ิด International brand names index ระวังเล่มที่ไม ่ม ี International

trade names index

เป ิดแบบเรียงตามตัวอักษรจาก A- Z

เล่มนี้ประกอบด้วย

- Generic name /U.S. Brand name/Canadian Brand name

- Pharmacology categories - Additional appendix information

- Uses/Unlabeled use - Restrictions

- Pregnancy - Lactation

- Medical safety issues - Contraindication

- Warning/precaution - Adverse reaction

- Overdose/Toxicity - Drug interaction

- Stability - Mechanism of action

- Pharmacokinetic - Dosage

- Administration - Dosage form

- Reference range - Monitoring parameter

- Test interaction - Additional information

- Extemporaneous prep. - Appendix table of contents

Drug fact & comparison

เป ิดจาก index ด้านหลังก่อน กรณีถามข้อมูลเปรียบเทียบยาในกลุ่ม

ให ้เป ิดไปย้อนกลับไปด้านหน้า

เล่มนี้ประกอบด้วย

- Information ของแต่ละกลุ่มยา ข้อมูลเปรียบเทียบยาในกลุ่ม

- Indications

- Administration & Dosage

- Actions

- Contraindications

- Warnings & Precautions

- Drug Interactions

- Adverse reactions

- Overdosage

- Patient information

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 103

ชื่อหนังสือ วิธ ีการเป ิดหนังสือ/รายละเอ ียดในหนังสือ

Handbook on

Injectable Drug

เป ิดจาก index ด้านหลัง

เล่มนี้ประกอบด้วย

- Products (size, strength, volume, form)

- Administration

- Stability

- Compatibility & additional Information (เป ็นตาราง)

(Solution, Additive, Drug in syringe, Y-site)

- การเก็บรักษา

Drug interaction facts

เป ิดจาก index ด้านหลัง ซ ึ่งจะมีตามชื่อยา, กลุ่มยา, trade name ซึ่งจะ

มี significant rate ด้วย

เล่มนี้จะประกอบด้วย

- Drugs or drug classes

- Significance 1-5

- Onset ,Severity, Documentation

- Effects

- Mechanism

- Management

- Discussion

Drug in pregnancy &

lactation

เป ิดจาก index ด้านหลัง

เล่มนี้ประกอบด้วย

- Fatal risk summary & recommendation

- Breast feeding summary & recommendation

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 104

ชื่อหนังสือ วิธ ีการเป ิดหนังสือ/รายละเอ ียดในหนังสือ

MIMS Thailand เป ิดจาก index ก่อน ซ ึ่งเป ิดได้ท ั้ง trade names & generic name

เล่มนี้ประกอบด้วย

- manufacturer - Distributor

- Content (C) - Indication (I)

- Dosage (D) - Administration of oral drugs (A)

- Contraindication (CI) - Special precaution (SP)

- Adverse reaction (AR) - Drug interaction (DI)

- Presentation/price (P/P) - Pregnancy category

- Poison classification

ประเภทยาตามกฎหมาย - P2 = วัตถุออกฤทธิ์ 2

- P3&P4 = วัตถุออกฤทธิ์ 3&4 - N3 = ยาเสพติดประเภท 3

- S = ยาควบคุมพิเศษ - D = ยาอันตราย

- NDD = ยาทั่วไป - E – D = ยาอันตรายใช ้ภายนอก

Pharmacotherapy :

a pathophysiologic approach

เป ิดตามสารบัญ ตามระบบอวัยวะของร่างกาย

เป ิดจาก index ด้านหลัง ตามชื่อโรคหรือชื่อยา

เล่มนี้ประกอบด้วย

- รายละเอียดของโรค

- แนวทางการรักษา

Remington

เป ิดจาก index ได้เลย

จะมีเนื้อหาทุกส ่วนที่เก ี่ยวข้องกับเภส ัชศาสตร์

- ข้อมูลยาตามการออกฤทธิ์ - ลักษณะทางกายภาพ

- ส ูตรโครงสร้าง - การละลาย

- ส ูตรโมเลกุล - การใช้ทางคลินิก

- น้ าหนักโมเลกุล

- การส ังเคราะห ์

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 105

ชื่อหนังสือ วิธ ีการเป ิดหนังสือ/รายละเอ ียดในหนังสือ

Merck index

จุดเด่นคือ มี index 2 แบบ ได้แก่ name index และ formula index

เป ิดจาก index โดยจะเรียงตามตัวอักษร A-Z และตัวเลข 0-9 เป ิดไล่

ตามตัวอักษรได้เลย เม ื่อพบชื่อสารจะเห ็นตัวเลข ซ ึ่งไม่ใช่เลขหน้าแต่

เป ็นเลขล าดับสาร น าเลขล าดับสารไปเปิดหาด้านหน้าโดยหาเลขที่

ใกล้เลขสารเรามากที่ส ุด

เวลาเขียนอ้างอิงเลขหน้า จะอยู่ด ้านล่าง ระวังตอบเลขล าดับสาร

มีข้อมูลทางกายภาพของสารที่ใช้ในทางเภส ัชกรรม

- น้ าหนักโมเลกุล

- ลักษณะทางกายภาพ

- จ ุดเดือด จ ุดหลอมเหลว

- จ ุดเยือกแข็ง

- ม ีส ูตรโมเลกุล

- ส ูตรโครงสร้าง

- ข้อมูลทางคลินิก เช่น therapeutic category, antidote เป ็นต้น

Martindale

เป ิดจาก index ได้เลย

เล่มนี้ประกอบด้วย

- แบ่งยาตามกลุ่มการรักษา มีข้อมูลของโรคในส่วนน าของบทนั้น

- ส ูตรโมเลกุล

- ส ูตรโครงสร้าง

- น้ าหนักโมเลกุล

- ลักษณะทางกายภาพ

- ผลข้างเคียง การรับยาเกินขนาด

- ข้อควรระวัง

- Interaction Pharmacokinetic

- ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธ ีการใช้

- ข้อมูลต ารับ

- ชื่อการค้า

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 106

ชื่อหนังสือ วิธ ีการเป ิดหนังสือ/รายละเอ ียดในหนังสือ

British pharmacopoeia (BP)

รุ่นเก่า (BP 1993, 1998, 2001) จะมีแค่ 2 Volume

- Appendix จะอยู่ Vol.2

- Content of appendix อยู่ท ี่หน้า A3 ของ Vol.2

รุ่นใหม่ เช่น BP 2011 จะมี 6 Volume

- Vol.1& 2 --> Medicinal substance -->ข้อมูลยาที่ยังไม่เป ็นต ารับ

- Vol.3 --> ยาที่เป ็นต ารับ เช่น tablets, suspensions

- Vol. 4 --> สมุนไพร Blood Product, Immune, Radiopharmacy

etc.

- Vol.5 --> Appendix and index

- Vol.6 --> ยาส ัตว ์

ข้อส ังเกต Appendices ใน BP ก็จะคล้ายๆกับ General Chapter ใน

USP

ใน monograph มันอาจจะ เขียนเป็น Appendix IIIA หรือ ตัว เลข

อย่าง เช่น 2.2.27 ก็ได้ ดังนั้น ถ้าเจอเลขชุดแบบนี้ก ็ให ้รู้ไว ้เลยว ่ามันก็

คือ Appendix โดยต่างกันแค่ท ี่มา กล่าวคือ

- 2.2.27 มาจาก European Pharmacopoiea แต่ Appendix มาจาก

BP

- ตัวอย่างเช่น ใน monograph บอกว่า ให ้ไปดูใน 2.2.27 เราก็เป ิด

ไปหาที่ หน้า Appendices ก็จะเจอว่า 2.2.27 คือ App. IIIA แล้วก็

ไปดูต่อว ่า App.IIIA มันอยู่หน้า A122 ซึ่งก็คือ ท า Thin-Layer

Chromatography นั่นเอง

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 107

ชื่อหนังสือ วิธ ีการเป ิดหนังสือ/รายละเอ ียดในหนังสือ

U.S. Pharmacopeia National

Formulary (USP)

USP(30) 2007 และ USP(34) 2011 ทั้ง 2 รุ่น ประกอบด้ว ย 3

Volume

- Volume 1 --> General Chapter ต่างๆ (อยู่ในเครื่องหมาย

<xxx>) เช่น <621> ก็คือ Chromatography

โดยการเปิด ให ้เป ิดที่ Page 29 ของ Vol.1 แล้วหา <621> ซึ่งพอ

เจอ ก็จะบอกเลขหน้ามา แล้วก็หาค าตอบ

ส่วนหัวข้ออื่นๆใน Vol.1 ที่ส าคัญ เช่น monograph ของ

Excipients, Dietary Supplements แลสารต่างๆ **แต่เน้นย้้าคือ

ไม่ม ีตัวยาใน Vol.1 นะ

- Volume 2 -->Monograph ยา A-L (USP 30/2007)

หรือยา A-I (USP 34/2011)

- Volume 3 -->Monograph ยา M-Z(USP 30/2007)

หรือยา J-Z (USP 34/2011)

เด่นๆ

- Microbial limit test

- Dissolution -->Tolerance -->บอกค่า Q

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 108

การค านวณทางเภสัชกรรม

การค านวณทางคลินิก

แนวข้อสอบ

ข้อสอบออกปีละ 1 ข้อ ออกเกือบทุกปี โดยโจทย์จะเน้นให ้ค านวณและเขียนฉล าก ซ ี่งม ี 2 รูปแบบ

ดังนี้

1. กินยาครั้งละกี่ mL + ต้องจ ่ายยากี่ขวด + เลือกว่าจะจ่ายยาขวดไหน (เช่น ให ้เลือกระหว่าง Paracetamol

drop 60 mg/0.6 ml ขนาด 15 ml หรือ Paracetamol syrup 125 mg/5 ml ขนาด 60 ml) + เขียนฉลากยา

2. กินยาครั้งละกี่ mL + ต้องจ ่ายยากี่ขวด + เขียนฉลากยา

จากการที่ review ข้อสอบ ข้อสอบมักจะให ้ regimen การจ่ายยามาแล้ว ยกเว ้น regimen ของ

Paracetamol (10-15 mg/kg/dose) จะต้องจ าเอง

ถ้าโจทย์ไม่ได้บอกความแรงของยา แสดงว่าเขาต้องการให ้เราอ่านความแรงของยาที่ขวดยาเอง

ตัวอย่าง

เด็กชายแดง มีส ุข น้ าหนัก 10 kg ได้รับการวินิจฉัยว ่าเป ็นโรคไซนัสอักเสบ เภส ัชกรจึงจ ่าย Amoxicillin 125

mg/5ml ขวดละ 60 ml ให ้แก่ผ ู้ป ่วย จงเขียนฉลากยาให ้ครบถ้วน

Rx Amoxicillin 80 mg/kg/day devided 2 dose for 14 days

เนื้อหา

การค านวณขนาดยาส าหรับเด ็ก

Paracetamol 10-15 mg/kg/dose

CPM 0.35 mg/kg/day in divided dose q 4 -6 hr

Ibuprofen Analgesic : 4-10 mg/kg/dose q 6-8 hr

Antipyretic : 5-10 mg/kg/dose q 6-8 hr

Amoxicillin Otitis media : 80-90 mg/kg/day divided 2-3 dose 10 days

GAS pharyngitis : 40-50 mg divided 2-3 dose 10-14 days

Sinusitis; ปกติ : 40-50 mg divided 2-3 dose 10-14 days

High risk : 80-90 mg divided 2-3 dose 10-14 days

(ใช้ ATB ภายใน 1-3 เดือน/ อยู่ nursery)

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 109

การค านวณทางคลินิกอ ื่นๆ

Body Mass Index (BMI)

(หน่วย: kg/m2)

การประเมินภาวะโภชนาการในคนไทย

BMI (kg/m 2) ภาวะโภชนาการ

18.5-22.9 ปกติ

≥ 23 น้ าหนักเกิน

≥ 25 โรคอ้วน

Body Surface Area (BSA)

มีการค านวณ 2 แบบ ดังนี้

1. การค านวณจากสูตร ใช้ส าหรับเด็กและผู้ใหญ ่

(หน่วย: m2)

2. หาจาก Nomogram ใช้ส าหรับเด็ก

(หน่วย: m2)

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 110

Ideal Body Weight (IBW)

ผู้ใหญ ่

ผู้ชาย (หน่วย: kg)

ผู้หญ ิง (หน่วย: kg)

Creatinine clearance (CrCl)

ผู้ชาย (หน่วย: mL/min, L/hr)

ผู้หญ ิง × 0.85 (หน่วย: mL/min, L/hr)

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 111

การค านวณทางเภสัชกรรม

การค านวณทางเคมี

สูตรที่ควรทราบ

1. การค านวณเก ี่ยวก ับ Osmol:

Osmol = molar x จ านวน ion ที่แตกตัว

2. การค านวณเก ี่ยวก ับ drip, drop

1 ml = 60 microdrop

3. การค านวณเก ี่ยวก ับ % Labeled amout

% Labeled amout = (ปริมาณสารที่ว ิเคราะห ์ได้ / ปริมาณสารที่ระบุไว ้ในฉลาก) x 100

4. การค านวณเก ี่ยวก ับ Molarity, Normality

Eq. wt = MW / Valency

Mole = g/MW Number of Eq. = g/Eq.wt

Molarity = (g/MW) /L Normality = (g/Eq.wt) /L

N = M x valency

ตัวอย่าง 1

สูตรยาตา Rx Boric acid 1.24 g

Sodium borate 0.02 g

Sodium chloride 0.29 g

Water qs. 100 ml

NaCl มีค่ากี่ mOsmol/L (ก าหนดให ้ NaCl มี MW = 58)

เฉลย

สารละลาย 100 ml มี NaCl = 0.29 g

สารละลาย 1000 ml มี NaCl = 2.9 g

= 2.9/58 = 0.05 mol

= 50 mmol

mOsmol = mmol x จ านวน ion ที่แตกตัว

= 50 x 2 = 100 mOsmol

NaCl มีค่า 100 mOsmol/L

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 112

ตัวอย่าง 2

แพทย์ส ั่งจ ่าย Dopamine (1:1) ขนาด 5 mcg/kg/min ให ้ผ ู้ป ่วยหนัก 60 kg จะต้องใช้กี่ microdrop / min

เฉลย

แพทย์ส ั่งจ ่าย Dopamine 5 mcg/kg/min

ผู้ป ่วยหนัก 60 kg ; 5 x 60 = 300 mcg/min

= 300/1000 mg/min ----------------- > เปลี่ยน mcg เป ็น mg

= 0.3 mg/min

= 0.3 ml/min ------------------------ > Dopamine 1 mg : 1 ml

= 0.3 x 60 microdrop / min --------> 1 ml = 60 microdrop

= 18 microdrop / min

ตัวอย่าง 3

แพทย์ส ั่งจ ่าย Dopamine (2:1) rate 5 microdrop/min ให ้ผ ู้ป ่วยหนัก 50 kg ผู้ป ่วยรายนี้จะได้รับ dopamine ใน

ขนาดกี่ mcg/kg/min

เฉลย

Dopamine 5 microdrop/min = ml/min -------------------------- > 1 ml = 60 microdrop

= mg/min --------------------- > Dopamine 2 mg : 1 ml

= mg/kg/mi -------------- > ต่อน้ าหนักผู้ป ่วย 50 kg

= mcg/kg/min --- > เปลี่ยน mg เป ็น mcg

= 3.33 mcg/kg/min

ตัวอย่าง 4

จากผลการทดลองหา % label amount ของยา จ านวน 5 เม ็ด พบว่า ยามี 95.68, 97.42, 99.16, 105.42 และ

101.68 mg ซึ่งฉลากระบุ 100 mg active ingredient/tab

จงหา % label amount และระบุว ่าผ ่านมาตรฐานหรือไม่ ก าหนดมาตรฐานที่ 95.0-105.0 %

เฉลย

% Labeled amout = (ปริมาณสารที่ว ิเคราะห ์ได้ / ปริมาณสารที่ระบุไว ้ในฉลาก) x 100

% Label amount = (95.68 + 97.42 + 99.16 + 105.42 + 101.68)/5 (เฉล ี่ยของยาทั้ง 5 เม็ด )

= 99.87 mg

สรุป ผ่านมาตรฐานที่ก าหนด

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 113

ตัวอย่าง 5

ผงน้ าตาลเกลือแร่ 1 ซอง มีส ่วนประกอบดังนี้

Sodium chloride 2.9 g

Trisodium citrate dehydrate 2.9 g

Potassium chloride 1.5 g

Glucose anhydrous 13.5 g

ละลายในน้ า 1 L

ความเข้มข้นของ sodium มีค่ากี่ mEq/L (MW ของ Sodium chloride = 58, Trisodium citrate dehydrate =

290, Potassium chloride = 74)

เฉลย

Sodium ในสูตรมี 2 ตัว คือ Sodium chloride และ Trisodium citrate dehydrate

Sodium chloride 2.9 g = 2900 mg

= 2900/58 = 50 mmol

= 50 x 1 = 50 mEq

Trisodium citrate dehydrate 2.9 g = 2900 mg

= 2900/290 = 10 mmol

= 10 x 3 = 30 mEq

ความเข้มข้นของ sodium มีค่า 50 + 30 = 80 mEq/L

N = M x valency

Eq = mol x valency

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 114

การค านวณทางเภสัชกรรม

การค านวณทางเทคโนโลยีเภสัชกรรม

สูตรที่ควรทราบ

1. ยาเหน็บ

Displacement Value = น้ าหนักเป็น g ของตัวยาที่แทนที่ Theobroma oil 1 g

2. ยาตา (Tonicity adjustment)

ค่า E = จ านวน g ของ NaCl ที่เท ียบได้กับตัวยา 1 g

3. Required HLB

ตัวอย่าง 1

จงค านวณปริมาณยาพ ื้นที่ใช้ของยาเหน็บ 10 แท่ง

Rx Aspirin 300 mg

PEG base q.s.

ก าหนดค่า displacement value ของ aspirin = 1.5

น้ าหนักยาพ ื้นเปล่า 1 แท่ง = 2.2 g

เฉลย

Aspirin 1.5 g แทนที่ยาพ ื้น 1 g

Aspirin 0.3 x 10 g แทนที่ยาพ ื้น (1 x 0.3 x 10)/1.5 = 2 g

PEG base 1 แท่ง หนัก 2.2 g

PEG base 10 แท่ง หนัก 2.2 x 10 = 22 g

จะต้องใช้ยาพ ื้น 22 – 2 = 20 g

ตัวอย่าง 2

จงค านวณปริมาณ sodium chloride ที่จะต้องเติมลงไปในยา gentamicin แบบหยอดตา ความเข้มข้น 1

mg/mL จ านวน 50 mL เพ ื่อให ้ได้สารละลายแบบ isotonic

ก าหนดให ้ ค่า E ของยา gentamicin คือ 0.3 และ ค่า E ของ NaCl คือ 1

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 115

เฉลย

ยา gentamicin 1 mg/mL จ านวน 50 mL จะมียา 50 mg = 0.05 g

ค่า E ของยา gentamicin คือ 0.3 ; ยา 1 g = NaCl 0.3 g

ยา 0.05g = NaCl 0.015 g

จะต้องเติม NaCl ลงไปเพ ื่อให ้ได้ความเข้มข้น 9%

NaCl 0.9% จ านวน 50 mL จะมี NaCl = ( 0.9/100) x 50 = 0.45 g

ต้องเติม NaCl= 0.45 – 0.015 = 0.435 g

ตัวอย่าง 3

จงหาค่า required HLB ของต ารับ และปริมาณ emulsifier ที่ใช้

Mineral oil 30 g (HLB = 12)

Wool fat 2 g (HLB=10)

Stearyl alcohol 1.5 g (HLB = 14)

Emulsifier 10 g

Water 56.5 g

ก าหนด Span 80 และ Tween 80 มีค่า HLB = 4.3 และ 15.0 ตามล าดับ

เฉลย

ส่วนประกอบชั้นน้ าม ัน จ านวน HLB อัตราส ่วนในน้ าม ัน HLB ที่ค านวณได้

Mineral oil 30% 12 30/33.5 = 0.896 0.896 x 12 = 10.75

Wool fat 2% 10 2/33.5 = 0.060 0.060 x 10 = 0.597

Stearyl alcohol 1.5% 14 1.5/33.5 = 0.045 0.045 x 14 = 0.627

รวม 33.5% required HLB = 11.974

Tween 80 15.0 7.7

12

Span 80 4.3 3.0

10.7

ใช้ Tween 80 (7.7/10.7) x 10 = 7.2 g

ใช้ Span 80 10 – 7.2 = 2.8 g

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 116

ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ

พระราชบัญญัต ิยา พ.ศ.2510

แนวข้อสอบ

ลักษณะข้อสอบของ Station กฎหมาย มีท ั้งหมดประมาณ 3 รูปแบบ

1. เป ิดหนังส ือทางกฎหมายว่าจากโจทย์ท ี่ให ้มานั้นผิดพระราชบัญญ ัติใด มาตราใด วงเล็บใดบ้าง (ผ ิด

อย่างไร แล้วแต่ป ีว ่าให ้อธ ิบายหรือไม่) ม ีบทก าหนดโทษอย่างไร โดยใน Station นี้จะมีหนังส ือกฎหมาย

วางไว้ให ้ 1 เล่ม หรืออาจเป็นฉบับถ่ายเอกสารเฉพาะเรื่องนั้นแต่ม ีสารบัญเรียบร้อย

2. ถามประเภทยาต ามกฎหมาย โดยจะน าตัวอย่างยามาวางไว้ 5 ชนิด เรียงข้อ 1 -5 ให ้ตอบว่าเป ็นย า

ประเภทใดตามกฎหมาย บางปีจะถามต่อด้วยว ่าต้องใช้ใบส ั่งแพทย์หรือไม่ ผ ู้ช่วยเภส ัชกรจ่ายได้หรือไม่

ขายได้ท ี่ไหนบ้าง เพราะฉะนั้นต้องรู้ให ้ครอบคลุม

3. Station ถามตอบ ส ่วนมากจะเป็นยาเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในปัจจ ุบ ันที่ก าลังเป ็นข่าว โดย

จะเป็นผู้ป ่วยมาขอซื้อบ้าง หรืออาจจะเป็นประกาศกระทรวงมาให ้แล้วตอบค าถามคนคุม Station โดย

ส่วนใหญ ่ต้องรู้ว ่ายาดังกล่าวเป็นยาอะไร รักษาโรคอะไร เป็นยาประเภทใดตามกฎหมาย ขายได้หรือไม่

หาซ ื้อที่ไหนได้บ ้าง เช่น ปี 55 จะเป็น Pseudoephedrine ยาแก้ไอผสม Codeine

เนื้อหา

พระราชบัญญัต ิยา พ.ศ. 2510 ม ีรายละเอียดซ ึ่งจะแบ่งตามห ัวข้อของสารบัญได้ดังนี้

บทนิยามศัพท์

บอกความหมายของค าศ ัพท์ท ี่ใช้ใน พรบ.นี้ เช่น ความหมายของค าว ่า “ยา” “ผลิต” “ขาย” เป ็นต้น

มาตรา 4 ในพระราชบัญญ ัตินี้

“ยา” หมายความว่า

(1) วัตถุท ี่ร ับรองไว้ในต ารายาที่รัฐมนตรีประกาศ

(2) วัตถุท ี่ม ุ่งหมายส าหรับใช้ในการวินิจฉัย บ าบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ ็บป่วยของ

มนุษย์หรือส ัตว ์

(3) วัตถุท ี่เป ็นเภส ัชเคมีภ ัณฑ ์ หรือเภส ัชเคมีภ ัณฑ ์กึ่งส าเร็จรูป หรือ

(4) วัตถุท ี่ม ุ่งหมายส าหรับให ้เกิดผลแก่ส ุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระท าหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของ

มนุษย์หรือส ัตว ์

“ผลิต” หมายความว่า ท า ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ และหมายความรวมถึงเปลี่ยนรูปยา แบ่งยาโดย

มีเจตนาให ้เป ็นยาบรรจุเสร็จ ทั้งนี้ จะมีฉลากหรือไม่ก็ตาม

“ขาย” หมายความว่า ขายปลีก ขายส ่ง จ าหน่าย จ ่าย แจก แลกเปลี่ยนเพ ื่อประโยชน์ในทางการค้า

และให ้หมายความรวมถึงการมีไว ้เพ ื่อขายด้วย

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 117

หมวด 1 คณะกรรมการยา

บอกว่าคณะกรรมการยามีใครบ้าง ด ารงต าแหน่งวาระละกี่ป ี ม ีอ านาจยังไง และจะพ ้นจากต าแหน่ง

เม ื่อไหร่

หมวด 2 การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเก ี่ยวก ับยาแผนปัจจ ุบ ัน

มาตรา 12 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดผลิต ขาย หรือน าหรือส ั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซ ึ่งยาแผนปัจจ ุบ ัน เว ้นแต่จะ

ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต

การขออนุญ าตและก ารอนุญ าตให ้ เป ็น ไปตามห ลัก เกณฑ์ ว ิธ ีก ารและ เงื่อ นไขที่ก าหนดใน

กฎกระทรวง

มาตรา 13 บทบัญญ ัติมาตรา 12 ไม่ใช้บ ังคับแก่

(1) การผลิตยาซ ึ่งผลิตโดยกระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป ้องกันหรือบ าบัดโรค สภากาชาดไทย และ

องค์การเภส ัชกรรม

(2) การผลิตยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือของผู้ประกอบโรคศิลปะที่ส ั่งส าหรับคนไข้

เฉพาะราย หรือตามใบสั่งยาของผู้ประกอบการบ าบัดโรคสัตว ์ส าหรับส ัตว ์เฉพาะราย

(3) การขายยาสมุนไพรที่ไม่ใช่ยาอันตราย การขายยาสามัญประจ าบ้าน การขายยาซ ึ่งผ ู้ประกอบวิชาชีพ เวช

กรรมหรือผู้ประกอบโรคศิลปะในสาขาทันตกรรมขายเฉพาะส าหรับคนไข้ของตน หรือการขายยาซ ึ่ง

ผ ู้ประกอบการบ าบัดโรคสัตว ์ขายส าหรับส ัตว ์ซ ึ่งตนบ าบัดหรือป้องกันโรคหรือการขายยาซ ึ่งขายโดย

กระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป ้องกันหรือบ าบัดโรค สภากาชาดไทย และองค์การเภส ัชกรรม

(4) การน ายาติดตัวเข้ามาในราชอาณาจักร ซ ึ่งไม่เกินจ านวนที่จ าเป ็นจะต้องใช้เฉพาะตัวได้สามสิบว ัน

(5) การน าหรือส ั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรโดยกระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป ้องกันหรือบ าบัดโรค

สภากาชาดไทย และองค์การเภส ัชกรรม

ผู้ได้รับยกเว ้นตาม (1) และ (5) ต้องปฏิบ ัติตามหลักเกณฑ์ว ิธ ีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 14 ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให ้ผลิต ขาย หรือน า หรือส ั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซ ึ่งยาแผน

ปัจจ ุบ ันได้ เม ื่อปรากฏว่าผู้ขออนุญาต

(8) ใช้ชื่อในการประกอบพาณิชยกิจไม่ซ ้ าหรือคล้ายคลึงกับชื่อที่ใช้ในการประกอบพาณิชยกิจของผู้รับ

อนุญาตซึ่งอยู่ในระหว่างถูกส ั่งพ ักใช้ใบอนุญาตหรือซ ึ่งถูกเพ ิกถอนใบอนุญาตยังไม่ครบหนึ่งปี

(9) มีผ ู้ท ี่จะปฏิบ ัติการตามมาตรา 38 มาตรา 39 มาตรา 40 มาตรา 40 ทวิ มาตรา 41 มาตรา 42 มาตรา 43 หรือ

มาตรา 44 แล้วแต่กรณี

ผู้ม ีหน้าที่ปฏิบ ัติการตาม (9) ต้องอยู่ประจ า ณ สถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา หรือสถานที่น าหรือส ั่ง

ยาเข้ามาในราชอาณาจักรได้แต่เพ ียงแห ่งเดียว

มาตรา 15 ประเภทของใบอนุญาตส าหรับยาแผนปัจจ ุบ ัน

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 118

บอกประเภทของใบอนุญาต ว ่าม ีกี่ประเภท อะไรบ้าง รวมทั้งบอกวันหมดอายุด้วย (ใช้ได้จนถึง 31

ธ.ค. ของปีท ี่ออกใบอนุญาต)

บอกว่าถ้าใบอนุญาตหมดอายุจะขอต่อใบอนุญาตได้ยังไง เม ื่อไหร่

หมวด 3 หน้าท ี่ของผู้รับอนุญาตเก ี่ยวก ับยาแผนปัจจบุ ัน

มาตรา 19 ห ้ามมิให ้ผ ู้ร ับอนุญาต

(1) ผลิตหรือขายยาแผนปัจจ ุบ ันนอกสถานที่ท ี่ก าหนดไว้ในใบอนุญาต เว ้นแต่เป ็นการขายส ่ง

มาตราอ ื่นๆ

บอกสิ่งที่ผ ู้ร ับอนุญาตท าไม่ได้ และส ิ่งที่ต้องท า เช่น การจัดให ้ม ีเภส ัชกรประจ า จ ัดให ้ม ีป ้าย จ ัดให ้ม ี

การว ิเคราะห ์ยา/วัตถุดิบ จ ัดให ้ม ีฉลาก จ ัดใหม้ ีการแยกเก็บยา ท าบัญชี...

บอกหน้าที่ของผู้รับอนุญาตว่าต้องท าอะไรบ้างในกรณีที่ใบอนุญาตหาย หรือถูกท าลาย

หมวด 4 หน้าที่ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผ ู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจ ุบ ันชั้นหนึ่ง ในสาขา

ทันตะกรรม การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาล หรือผ ู้ประกอบการบ าบ ัดโรคสัตว์

มาตรา 38 ให ้เภส ัชกรชั้นหนึ่งตามมาตรา 20 ประจ าอยู่ ณ สถานที่ผลิตยาตลอดเวลาที่เป ิดท าการ

และให ้ม ีหน้าที่ปฏิบ ัติดังต่อไปนี้

(1) ควบคุมการผลิตยาให ้เป ็นไปโดยถูกต้องตามต ารับยาที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามมาตรา 79 ... . . . . . . .( เภส ัชกร

ฝ่ายการผลิต)

(5) ควบคุมการท าบัญชียาและการเก็บยาตัวอย่างตามมาตรา 25(6).........(เภสชักรฝา่ยควบคมุคณุภาพ)

มาตรา 39 ให ้เภส ัชกรชั้นหนึ่งตามมาตรา 21 ประจ าอยู่ ณ สถานที่ขายยาแผนปัจจ ุบ ันตลอดเวลาที่

เป ิดท าการ และให ้ม ีหน้าที่ปฏิบ ัติดังต่อไปนี้

(1) ควบคุมการแยกเก็บยาตามมาตรา 26 (2) และ (3)

(2) ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากตามมาตรา 26 (5)

(3) ควบคุมการขายยาให ้เป ็นไปตามพระราชบัญญ ัตินี้……………(แขวนป้ายผิดมาตรานี้)

(4) ปรุงยาในที่ท ี่ผ ู้ร ับอนุญาตขายยาได้จ ัดไว ้ตามมาตรา 26 (4)

(5) จัดให ้ม ีฉลากที่ภาชนะและห ีบห ่อบรรจุยาที่ปรุงตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบ

โรคศิลปะแผนปัจจ ุบ ัน หรือผู้ประกอบการบ าบัดโรคสัตว ์ ท ั้งนี้ ตามหลัก เกณฑ์ ว ิธ ีการและเงื่อน ไขที่

ก าหนดในกฎกระทรวง

(6) ควบคุมการส ่งมอบยาอันตราย ยาควบคุมพ ิเศษ หรือยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรม ผู้

ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจ ุบ ัน หรือผู้ประกอบการบ าบัดโรคสัตว ์

(7) ควบคุมการท าบัญชียาตามมาตรา ๒๖ (๖)

(8) การอื่นตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 119

มาตรา 45 ห้ามมิให ้เภส ัชกร ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจ ุบ ันชั้นหนึ่ง

ในสาขาทันตกรรม การผดุงครรภ์หรือการพยาบาล ผู้ประกอบการบ าบัดโรคสัตว ์ ปฏิบ ัติหน้าที่ผ ู้ม ีหน้าที่

ปฏิบ ัติการในสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา หรือสถานที่น าหรือส ั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรโดยตนมิ ได้ม ี

ชื่อเป ็นผู้ม ีหน้าที่ปฏิบ ัติการในสถานที่นั้น

*** ขอเน้นย้ าซ ักนิด...ตรงหน้าที่ ม ีท ั้งของผู้รับอนุญาต และของเภส ัชกร ก่อนตอบอย่าลืมดูให ้ดีนะ

คะว่า โจทย์ถามถึงหน้าที่ของใคร และอย่าลืมดูให ้ดีด้วยว ่า เขาหมายถึงเภส ัชกรที่ท างานด้านการผลิต ขาย

หรือน าเข้ายา ***

หมวด 5 การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเก ี่ยวก ับยาแผนโบราณ

หมวด 6 หน้าท ี่ของผู้รับอนุญาตเก ี่ยวก ับยาแผนโบราณ

หมวด 7 หน้าท ี่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ

หมวด 5 - 7 จะเกี่ยวกับยาแผนโบราณ รายละเอียดด้านในหมวด จะคล้ายกับ หมวดที่ 2 - 4

หมวด 8 ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ

มาตรา 72 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดผลิต ขาย หรือน าหรือส ั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซ ึ่งยาต่อไปนี้

(1) ยาปลอม

(2) ยาผิดมาตรฐาน

(3) ยาเส ื่อมคุณภาพ

(4) ยาที่ม ิได้ขึ้นทะเบียนต ารับยา ....เช่น Kamagra (Sidenafil ของอินเดีย ไม่ได้ขึ้นทะเบียนต ารับยาในไทย )

(5) ยาที่ทะเบียนต ารับยาถูกยกเลิก ส าหรับผู้รับอนุญ าตผลิตยาและผู้รับอนุญ าตให ้น าหรือส ั่งยาเข้ามาใน

ราชอาณาจักร หรือยาที่ทะ เบียนต ารับยาถูกยกเลิก เกินหกเดือน ส าหรับผู้รับอนุญ าตขายยา ...เช่น ยา

Sibutamine

(6) ยาที่รัฐมนตรีส ั่งเพ ิกถอนทะเบียนต ารับย า

ความใน (4) ไม่ใช้บ ังคับแก่กระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป ้องกันหรือบ าบัดโรคสภากาชาดไทย

และองค์การเภส ัชกรรม

มาตรา 73 ยาหรือว ัตถุต่อไปนี้เป ็นยาปลอม

(1) ยาหรือว ัตถุท ี่ท าเท ียมทั้งหมดหรือแต่บางส ่วนว่าเป ็นยาแท้

(2) ยาที่แสดงชื่อว ่าเป ็นยาอื่น หรือแสดงเดือน ปี ท ี่ยาส ิ้นอายุ ซ ึ่งม ิใช่ความจริง

(3) ยาที่แสดงชื่อหรือเครื่องหมายของผู้ผลิตหรือที่ตั้งสถานที่ผลิตยา ซ ึ่งม ิใช่ความจริง

(4) ยาที่แสดงว่าเป ็นยาตามต ารับยาที่ข ึ้นทะเบียนไว้ ซ ึ่งม ิใช่ความจริง

(5) ยาที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐานถึงขนาดที่ปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินกว่า

ร้อยละยี่ส ิบจากเกณฑ์ต่ าส ุดหรือส ูงส ุด ซ ึ่งก าหนดไว้ในต ารับยาที่ข ึ้นทะเบียนไว้ตามมาตรา 79

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 120

มาตรา 74 ยาต่อไปนี้เป ็นยาผิดมาตรฐาน

(1) ยาที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐานโดยปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์ขาดหรือ เกินจากเกณฑ์

ต่ าส ุดหรือส ูงส ุดที่ก าหนดไว้ในต ารับยาที่ข ึ้นทะ เบียนไว้ตามมาตรา 79 แต่ไม่ถึงขนาดดังกล่าวในมาตรา

73(5)

(2) ยาที่ผลิตขึ้นโดยความบริส ุทธ ิ์ห รือลักษณะอื่นซ ึ่งม ีความส าคัญต่อคุณภาพของยาผิดไปจากเกณฑ์ที่

ก าหนดไว้ในต ารับยาที่ข ึ้นทะเบียนไว้ตามมาตรา 79 หรือต ารับยาที่รัฐมนตรีส ั่งแก้ไขทะเบียนต ารับยา

แล้วตามมาตรา 86 ทวิ

มาตรา 75 ยาต่อไปนี้เป ็นยาเส ื่อมคุณภาพ

(1) ยาที่ส ิ้นอายุตามที่แสดงไว้ในฉลาก

(2) ยาที่แปรสภาพจนมีลักษณะเช่นเดียวกันกับยาปลอม ตามมาตรา ๗๓(๕) หรือยาผิดมาตรฐานตามมาตรา

74

มาตรา 75 ทวิ ห้ามมิให ้ผ ู้ใดขายยาบรรจุเสร็จหลายขนานโดยจัดเป็นชุดในคราว เดียวกัน โดยมี

เจตนาให ้ผ ู้ซ ื้อใช้ร วมกันเพ ื่อบ าบัด บ รรเทา รักษา หรือป้อ งกัน โรค ห รือ อาก ารของโรคใดโรคหนึ่ง

โดยเฉพาะ

ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บ ังคับแก่เภส ัชกรชั้นหนึ่ง ผ ู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผู้ประกอบโรค

ศิลปะในสาขาทันตกรรมซึ่งขายเฉพาะส าหรับคนไข้ของตน และผู้ประกอบการบ าบัดโรคสัตว ์ซ ึ่งขาย

ส าหรับส ัตว ์ซ ึ่งตนบ าบัด

หมวด 9 การประกาศเก ี่ยวก ับยา

มาตรา 76 ให ้รัฐมนตรีม ีอ านาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาระบุเกี่ยวกับต ารายา ยาประเภทต่างๆ

หมวด 10 การขึ้นทะเบ ียนต ารับยา

มาต รา 79 ผู้รับ อนุญ าตผลิต ยา หรือผู้ร ับอนุญ าตให ้น าหรือส ั่ง ยาเข้าม าในราชอาณ าจักรผู้ใ ด

ประสงค์จะผลิตหรือน าส ั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซ ึ่งยาแผนปัจจ ุบ ันหรือยาแผนโบราณ ต้องน าต ารับยานั้น

มาขอขึ้นทะเบียนต่อพนักงานเจ ้าหน้าที่ และ เมื่อได้รับใบส าคัญการขึ้นทะเบียนต ารับยาแล้วจ ึงจะผลิตยา

หรือน าหรือส ั่งยานั้นเข้ามาในราชอาณาจักรได้

มาตรา 79 ทวิ บทบัญญ ัติมาตรา 79 ไม่ใช้บ ังคับแก่

(1) ยาที่เป ็นเภส ัชเคมีภ ัณฑ ์ หรือเภส ัชเคมีภ ัณฑ ์กึ่งส าเร็จรูปซ ึ่งม ิใช่ยาบรรจุเสร็จ

(2) ยาสมุนไพร

(3) ยาตัวอย่างที่ได้รับอนุญาตให ้ผลิต หรือน าหรือส ั่งเข้ามาในราชอาณาจักรเพ ื่อขอขึ้นทะเบียนต ารับยา ตาม

หลักเกณฑ์ ว ิธ ีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง

(4) ยาที่ได้รับอนุญาตให ้น าหรือส ั่งเข้ามาในราชอาณาจักรตามหลัก เกณฑ์ ว ิธ ีการ และ เงื่อนไขที่รัฐมนตรี

โดยความเห ็นชอบของคณะกรรมการประกาศก าหนดในราชกิจจานุเบกษา

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 121

มาตรา 80 รายละเอียดการขอขึ้นทะเบียนต ารับยาตามมาตรา 79

หมวด 11 การโฆษณา

มาตรา 88 การโฆษณาขายยาจะต้อง

(1) ไม่เป ็นการโอ้อวดสรรพคุณยาหรือว ัตถุอ ันเป็นส ่วนประกอบของยาว ่าสามารถบ าบัด บรรเทา รักษาหรือ

ป้องกันโรคหรือความเจ ็บป่วยได้อย่างศักดิ์ส ิทธ ิ์หรือหายขาด หรือใช้ถ้อยค าอื่นใดที่ม ีความหมายท านอง

เดียวกัน

(2) ไม่แสดงสรรพคุณยาอันเป็นเท็จหรือเกินความจริง

(3) ไม่ท า ให ้ เข้า ใ จ ว ่ามีว ัตถุใ ด เป็นตัว ย าห รือ เป็นส ่ว นประกอบของยาซ ึ่ งค ว าม จ ริง ไม่ม ีว ัตถุห รือ

ส ่วนประกอบนั้นในยา หรือมีแต่ไม่เท ่าที่ท าให ้เข้าใจ

(4) ไม่ท าให ้เข้าใจว ่าเป ็นยาท าให ้แท้งลูกหรือยาขับระดูอย่างแรง

(5) ไม่ท าให ้เข้าใจว ่าเป ็นยาบ ารุงกามหรือยาคุมก าเนิด

(6) ไม่แสดงสรรพคุณยาอันตรายหรือยาควบคุมพ ิเศษ

(7) ไม่ม ีการรับรองหรือยกย่องสรรพคุณยาโดยบุคคลอื่น

(8) ไม่แสดงสรรพคุณยาว ่าสามารถบ าบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรค หรืออาการของโรคที่รัฐมนตรี

ประกาศตามมาตรา 7

ความใน (5) และ (6) ไม่ใช้บ ังคับแก่ข้อความในฉลากหรือเอกสารก ากับยาและความใน (1) (4) (5)

(6) (7) และ (8) ไม่ใช้บ ังคับแก่การโฆษณาซึ่งกระท าโดยตรงต่อผู้ประกอบโรคศิลปะ ผู้ประกอบวิชาชีพเวช

กรรม หรือผู้ประกอบการบ าบัดโรคสัตว ์

มาตรา 88 ทวิ การโฆษณาขายยาทางว ิทยุกระจายเส ียง เครื่องขยายเส ียง ว ิทยุโทรทัศน์ ทางฉายภ าพ

หรือภาพยนตร์ หรือทางส ิ่งพ ิมพ ์จะต้อง

(1) ได้รับอนุม ัติข้อความ เส ียง หรือภาพที่ใช้ในการโฆษณาจากผู้อนุญาต

(2) ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ผ ู้อนุญาตก าหนด

หมวด 12 พนักงานเจ ้าหน้าท ี่

มาตรา 91 ในการปฏิบัติหน้าที่ ให ้พนักงานเจ ้าหน้าที่ม ีอ านาจดังนี้

(1) เข้าไปในสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา สถานที่น าหรือส ั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร หรือสถานที่เก ็บยา

ในระหว่างเวลาท าการ เพ ื่อตรวจสอบควบคุมให ้การเป็นไปตามพระราชบัญญ ัตินี้

(2) น ายาในปริมาณพอสมควรไปเป็นตัวอย่างเพ ื่อตรวจสอบหรือว ิเคราะห ์

หมวด 13 การพ ักใช้ใบอนุญาตและการเพ ิกถอนใบอนุญาต

มาต รา 95 เม ื่อ ป รากฏต่อ ผู้อ นุญ าตว่า ผู้ร ับ อนุญ าตผู้ใ ด ไม่ป ฏิบ ัติตามพระ ราชบัญ ญ ัตินี้ ห รือ

กฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญ ัตินี้ ผ ู้อนุญ าตโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการมีอ านาจส ั่งพ ักใช้

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 122

ใบอนุญาตได้โดยมีก าหนดครั้งละไม่เกินหนึ่งร้อยยี่ส ิบว ัน หรือในกรณีมีการฟ ้องผู้รับอนุญ าตต่อศาลว่าได้

กระท าความผิดตามพระราชบัญญ ัตินี้ จะส ั่งพ ักใช้ใบอนุญาตไว้รอค าพ ิพากษาอันถึงที่ส ุดก็ได้

หมวด 14 บทก าหนดโทษ

มาตรา 109 ผู้ม ีหน้าที่ปฏิบ ัติการผู้ใดไม่ปฏิบ ัติตามมาตรา 38 มาตรา 39 มาตรา 40 มาตรา 40 ทวิ

มาตรา 41 มาตรา 42 มาตรา 43 หรือมาตรา 44 ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งพ ันบาทถึงห ้าพ ันบาท

มาตรา 110 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 45 ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งพ ันบาทถึงห ้าพ ันบาท

มาตรา 117 ผู้ใดผลิตยาปลอมอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 72 (1 ) ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่ส ามปีถึง

ตลอดชีว ิต และปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงห ้าหมื่นบาท

การผลิตยาปลอมที่ม ีล ักษณะตามมาตรา 73 (2) (3) หรือ (4) อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 72 (1) ถ้าผ ู้ผลิต

สามารถพ ิส ูจน์ได้ว ่ายานั้นไม่ถึงกับเป็นอันตรายแก่ผ ู้ใช้ยาต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินห ้าปี และปรับไม่เกิน

สองหมื่นบาท

มาตรา 119 ผู้ใดขาย หรือน าหรือส ั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซ ึ่งยาปลอมอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 72

(1) ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่หนึ่งปีถ ึงยี่ส ิบปี และปรับตั้งแต่สองพ ันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท

ถ้าผู้กระท าการตามวรรคหนึ่งกระท าโดยไม่รู้ว ่า เป ็นยาปลอม ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งพ ัน

บาทถึงห ้าพ ันบาท

มาตรา 122 ผู้ใดผลิต ขาย หรือน าหรือส ั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซ ึ่งยาที่ม ิได้ขึ้นทะเบียนต ารับยาอัน

เป็นการฝ่าฝืนมาตรา 72 (4) ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินห ้าพ ันบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา 122 ทวิ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 75 ทวิ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินห ้าปีหรือปรับไม่เกินห ้าหมื่น

บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา 124 ผู้ใดโฆษณาขายยาโดยฝ่าฝืนมาตรา 88 มาตรา 88 ทวิ มาตรา 89 หรือมาตรา 90 ต้อง

ระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท

ตัวอย่างประเภทยาตามกฎหมาย

ยาสามัญประจ าบ ้าน

ตัวอย่างยา ขนาดบรรจ ุ สรรพคุณ

Aluminium Hydroxide 200-600 mg.

Magnesium Hydroxide 200-400 mg.

แผง 4 และ 10 เม ็ด บรรเทาอาการจุกเส ียด ท้องขึ้นทอง

เฟ ้อ

ทิงเจอร์มหาห ิงคุ์ Asafetida 20 %w/v ขวด 15, 30 และ 60 ml บรรเทาอาการท้องขึ้น ท้องเฟ ้อ ปวด

ท้องในเด็ก

ผงน้ าตาลเกลือแร่ ORS 1 ซอง ผสมน้ า 250 ml ทดแทนการเส ียน้ าในรายที่ม ีอาการ

ท้องร่วงหรือในรายที่ม ีอาเจ ียนมากๆ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 123

ตัวอย่างยา ขนาดบรรจ ุ สรรพคุณ

Glycerin suppository 91%

เด็ก แท่งละ1.5 g

ผู้ใหญ ่ แท่งละ 2.55 g

ส าหรับบรรเทาอาการท้องผูก ใช้

เหน็บทวารหนักเพ ื่อช่วยการขับถ่าย

ยาระบายมะขามแขก มี Sennosides

เท ียบเท่ากับ Sennoside B 7.5 mg

แผง 4 และ 10 เม ็ด ยาระบาย

NaCl enema 15 %w/v

หลอดพลาสติก

10 และ 20 ml

ส าหรับบรรเทาอาการท้องผูก ใช้สวน

ทวารให ้ถ่ายอุจจาระ

Mebendazole 100 mg แผง 6 เม ็ด รักษาพยาธ ิเส ้นด้าย พยาธ ิตัวกลม

Paracetamol 500 mg แผง 4 และ 10 เม ็ด ลดไข้ บรรเทาอาการปวด

Paracetamol 325 mg แผง 4 และ 10 เม ็ด ลดไข้ บรรเทาอาการปวด

Paracetamol 325 mg/5 ml ขนาด 30 และ 60 ml ลดไข้ บรรเทาอาการปวด

Chlorpheniramine maleate 2 mg แผง 4 และ 10 เม ็ด อาการแพ ้ เช่น ลมพ ิษ น้ าม ูกไหล

ยาแก้ไอน้ าด า ขวด 60 ml บรรเทาอาการไอ และช่วยขับเสมหะ

Dimenhydrinate 50 mg แผง 2 เม ็ด ใช้ป ้องกันอาการเมารถเมาเรือ

Gentian Violet 1 %w/v ขวด 15 และ 30 ml รักษากระพ ุ้งแก้มและลิ้นเป็นฝ้าขาว

ยาใส ่แผล ทิงเจอร์ไอโอดีน ขวด 15 และ 30 ml รักษาแผลสด

ยาใส ่แผล โพวิโนไอโอดีน ขวด 15 และ 30 ml รักษาแผลสด

Isopropyl Alcohol Solution 70%v/v ขวด 30 ml ท าความสะอาดบาดแผล

Ethyl Alcohol Solution 70%v/v ขวด 30 ml ท าความสะอาดบาดแผล

Sodium Chloride 0.9 %w/v ขวด 500 ml ท าความสะอาดบาดแผล

Benzyl Benzoate 25 %w/v ขวด 30 และ 60 ml รักษาห ิด เหา และโลน

Coal Tar 1 %w/w

ขวด 5 g และ 15 g รักษาโรคผิวหนังเรื้อรังบางชนิด เช่น

เรื้อนกวาง ผวิหนังเป็นผื่นคนั

Calamide 8-15 %w/v

Zinc Oxide 3-12 %w/v

ขวด 60, 120, 180 ml บรรเทาอาการคันเนื่องจากผดผื่นคัน

ลมพิษ

วิตามินบีรวม (B 1 5 mg + B 2 2 mg +

B 6 2 mg + Nicotinamide 20 mg)

แผง 4 และ 10 เม็ด ป้องกันการขาดวิตามินบี และบ ารุง

ร ่างกาย

Vitamin C (Ascorbic Acid) 100 mg แผง 4 และ 10 เม ็ด ป้องกันการขาดวิตามินซ ี

Ferrous Sulfate

Equivalent to Iron 60 mg

แผง 4 และ 10 เม ็ด รักษาโรคโลหิตจางเนื่องจากขาดธาตุ

เหล็กในผู้ใหญ ่

น ามันตับปลา แผง 4 และ 10 Cap ป้องกันการขาดวิตามิน A และ D

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 124

ยาที่ไม่ใช่ยาอ ันตรายหรือ

ยาควบคุมพ ิเศษ ยาอ ันตราย ยาควบคุมพ ิเศษ

Paracetamol 500 mg + CPM 2 mg

แผง 10 เม ็ด

NSAIDs Anti-neoplastic

Antituberculosis Barbiturate

HCTZ 50 mg แผง 4 และ 10 เม ็ด Antimalarial เมล็ดสลอด น้ าม ันสลอด

NSAIDs ทาผิวหนัง Antihelmintic :

- Albendazole 200 mg

ยากัมมันตรังส ี

CPM 2 mg แผง 4 และ 20 เม ็ด General Anesthetic

Aminophylene 100 แผง 4 เม ็ด Fluoxetine Corticosteroid กิน

Penicillin V Potassium equivalent

to Penicillin V 200,000 unit ขวด

60 ml

Manoxidil Clofibrate

Amitriptyline Chlorampinical เด็กและใช้

ภายในผู้ใหญ ่ยาฉีดทุกชนิด รวมถึงน้ ากลั่น

ส าหรับฉีด Mebendazole 100 mg แผง 6 เม ็ด

Mebendazole 500 mg แผง 1 เม ็ด

รักษาพยาธ ิเส ้นด้าย ตัวกลม ตัวตืด

Steroid พ่นผสม

Steroid พ่นเดี่ยว Retinoids

Dextromethophan HBr 15 mg Erythropoietin

Dimenhydrinate 50 mg

แผง 4 และ 10 เม ็ด

Cafergot Gancyclovir

Valproic acid Anti HIV (AIDs)

Ambroxal HCl 30 mg Tramadol Clozapine

ยาแก้ไอขับเสมหะ Amoxycillin Sidenafil

Phenylephene 10 mg +

Paracetamol 325 mg + CPM หรือ

Bromphenniramine 4 mg

Azethromycin Cisapride

Norfloxacin Misoprostol

Finesteride Lamivudine รักษา Hepatitis B

Phenylephene 10 mg + CPM หรือ

Bromphenniramine 4 mg

Sumatriptan Oseltamivir

Cinnarizine Antipsychotic drugts

Chloramphenicol eye drop Aspirin 81 mg

Haloperidol

Nimesulide (ยากลุ่ม NSAIDs)

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 125

ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ

พระราชบัญญัต ิวัตถุออกฤทธิ์ต ่อจิตและประสาท พ.ศ.2518

บทนิยามศัพท์

มาตรา 4 ในพระราชบัญญ ัตินี้

“วัตถุออกฤทธิ์” หมายความวา ว ัตถุท ี่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทที่เปนสิ่งธรรมชาติหรือที่ได จาก

สิ่งธรรมชาติหรือว ัตถุท ี่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทที่เปนวัตถุส ังเคราะห ทั้งนี้ตามที่รัฐมนตรีประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษา

“วัตถุต ารับ” หมายความว า ส ิ่งปรุงไม ว าจะมีรูปลักษณะใด ที่ม ีว ัตถุออกฤทธิ์รวมอยู ด วย ทั้งนี้

รวมทั้งว ัตถุออกฤทธิ์ท ี่ม ีล ักษณะเปนวัตถุส าเร็จรูปทางเภส ัชกรรม ซ ึ่งพรอมที่จะน าไปใชแกคนหรือส ัตวได

“ผลิต” หมายความวา ท า ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ และหมายความรวมถึงเปลี่ยนรูป แบ งบรรจุ

หรือรวมบรรจุ

“ขาย” หมายความรวมถึง จ าหนาย จาย แจก แลกเปลี่ยน สงมอบหรือมีไวเพ ื่อขาย

“น าเขา” หมายความวา น าหรือส ั่งเขาในราชอาณาจักร

“สงออก” หมายความวา น าหรือสงออกจากราชอาณาจักร เพ ื่อไปตางประเทศ

“น าผาน” หมายความวา น าหรือสงผานราชอาณาจักรแตไมรวมถึงการน าหรือสงวัตถุออกฤทธิ์ผ ่าน

ราชอาณาจักรโดยมิไดมีการขนถายออกจากเครื่องบินที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศ

“เสพ” หมายความวา การรับว ัตถุออกฤทธิ์เขาส ูรางกายโดยรูอยูวาเปนวัตถุออกฤทธิ์ไมวาดวยวิธ ีใด

หรือทางใด

“ติดวัตถุออกฤทธิ์” หมายความวา เสพเปนประจ าติดตอกันจนตกอยูในสภาพที่จ า เป นตองพ ึ่งว ัตถุ

ออกฤทธิ์นั้น โดยสามารถตรวจพบสภาพเชนวานั้นไดตามหลักว ิชาการ

หมวด 1 คณะกรรมการวัตถุท ี่ออกฤทธิ์ตอจ ิตและประสาท

บอกว่าคณะกรรมการวัตถุท ี่ออกฤทธิ์ต อจิตและประสาทมีใครบ้าง ด ารงต าแหน่งวาระละกี่ป ี ม ี

อ านาจยังไง และจะพ ้นจากต าแหน่งเม ื่อไหร่

หมวด 2 การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเก ี่ยวก ับวัตถุออกฤทธิ์

มาตรา 13 หามมิใหผใูดผลิต ขาย น าเขา หรือสงออก ซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1

ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับแกกระทรวงสาธารณสุขหรือผูซ ึ่งได รับมอบหมายจากกระทรวง

สาธารณสุข เวนแตพระราชบัญญ ัตินี้จะไดก าหนดไวเปนอยางอื่น

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 126

มาตรา 13 ทวิ หามมิใหผใูดผลิต ขาย น าเขา หรือสงออก ซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 เว นแตการ

ผลิตเพ ื่อสงออกและการส งออกซึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 บางชนิดที่รัฐมนตรีประกาศระบุชื่อตาม

มาตรา 6 (4 ทวิ) โดยไดรับใบอนุญาต

ความในวรรคหนึ่งและวรรคสองไมใชบังคับแกกระทรวงสาธารณสุขหรือผูซ ึ่งไดรับมอบหมายจาก

กระทรวงสาธารณสุข เวนแตพระราชบัญญ ัตินี้จะไดก าหนดไวเปนอยางอื่น

มาตรา 15 บทบัญญ ัติมาตรา 13 ทวิไมใชบังคับแก

(1) การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ที่ผปูระกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบโรคศิลปะแผนป จจุบ ัน

ชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรม ขายเฉพาะส าหรับคนไขของตน หรือผูประกอบการบ าบัดโรคสัตว ชั้นหนึ่ง

ขายเฉพาะส าหรับใชกับส ัตวที่ตนบ าบัดหรือปองกันโรค

(2) การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 โดยกระทรวง ทบวง กรมสภากาชาดไทย หรือสถาบันอื่นของทาง

ราชการตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา

(3) การน าว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ติดตัว เข ามาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักรไม เกินปริมาณที่

จ าเป ็นตองใชรักษาเฉพาะตัวภายในสามสิบวันโดยมีหนังส ือรับรองของแพทยหรือ

(4) การน าเขาหรือสงออก ซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ในปริมาณเทาที่จ าเปนตองใชประจ าในการปฐม

พยาบาลในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในเรือ เครื่องบิน หรือยานพาหนะอื่นใด ที่ใช ในการขนส งสาธารณะ

ระห ว างประเทศที่ไม ได จดทะ เบียน ในราชอ าณาจัก ร แต่ถ าย านพาหนะดังกล าวจ ดทะเบียนใน

ราชอาณาจักรใหยื่นค าขอรับใบอนุญาตตามมาตรา 14

มาตรา 16 หามมิใหผใูดผลิต ขาย น าเขา หรือสงออกซึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประ เภท 4

หรือน าผานซึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ท ุกประเภท เวนแตไดรับใบอนุญาต

มาตรา 17 บทบัญญ ัติมาตรา 16 ไมใชบังคับแก

(1) การผลิตยาที่ม ีว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 ตามใบสั่งยาของผูประกอบวิชาชีพ เวชกรรม

หรือผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบ ันชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรม ส าหรับคนไข เฉพาะราย หรือของผู

ประกอบการบ าบัดโรคสัตวชั้นหนึ่งส าหรับส ัตวเฉพาะราย

(2) การผลิต ขาย น าเขาหรือสงออก ซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประ เภท 4 โดยกระทรวง ทบวง

กรม สภากาชาดไทย องคการเภส ัชกรรมหรือสถาบันอื่นของทางราชการตามที่รัฐมนตรีประกาศในราช

กิจจานุเบกษา

(3) การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 ที่ผ ูประกอบวิชาชีพ เวชกรรม หรือผูประกอบโรค

ศิลปะแผนปจจุบ ันชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรม ขายเฉพาะส าหรับคนไข ของตน หรือที่ผ ูประกอบการ

บ าบัดโรคสัตวชั้นหนึ่งขายเฉพาะส าหรับส ัตวซ ึ่งตนบ าบัดหรือปองกันโรค

(4) การน าว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 ติดตัวเขามาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักรไม เกิน

จ านวนที่จ าเปนตองใชรักษาเฉพาะตัวภายในสามสิบวันโดยมีหนังส ือรับรองของแพทยหรือ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 127

(5) การน าเขาหรือสงออก ซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 ในปริมาณพอสมควรเท าที่จ า เป น

ต้องใชประจ าในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในเรือ เครื่องบิน หรือยานพาหนะอื่น ใดที่

ใชในการขนส งสาธารณะระหว างประเทศที่ไม ไดจดทะเบียนในราชอาณาจักร แตถ ายานพาหนะ

ดังกล่าวจดทะเบียนในราชอาณาจักร ใหยื่นค าขอรับใบอนุญาตตามมาตรา 16

หมวด 3 หนาที่ของผูรับอนุญาต

บอกสิ่งที่ผ ู้ร ับอนุญาตท าไม่ได้ เช่น หามมิใหผูรับอนุญาต ผลิต ขาย น าเข าหรือ เก็บไว ซ ึ่งว ัตถุออก

ฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 นอกสถานที่ เป ็นต้น และสิ่งที่ต้องท า เช่น การจัดให ้ม ีเภส ัชกรประจ า จ ัด

ให ้ม ีป ้าย จ ัดให ้ม ีการว ิเคราะห ์ยา/วัตถุดิบ จ ัดให ้ม ีฉลาก จ ัดให ้ม ีการแยกเก็บยา ท าบัญชี เป ็นต้น

บอกหน้าที่ของผู้รับอนุญาตว่าต้องท าอะไรบ้างในกรณีที่ใบอนุญาตหาย หรือถูกท าลาย

หมวด 4 หน้าท ี่เภสัชกร

มาตรา 33 ใหเภส ัชกรผูม ีหนาที่ควบคุมการผลิตว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประ เภท 4 ปฏิบ ัติ

ดังตอไปนี้

(1) ควบคุมการผลิตใหเปนไปตามพระราชบัญญ ัตินี้

(5) ตองอยูประจ าควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปดด าเนินการ

มาตรา 34 ใหเภส ัชกรผูม ีหนาที่ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประ เภท 4 ปฏิบ ัติ

ดงัตอไปนี้

(1) ควบคุมการแยกเก็บว ัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา 28 (2)

(3) ควบคุมการขายใหเปนไปตามพระราชบัญญ ัตินี้

(5) ดูแลใหมีฉลากที่ภาชนะหรือห ีบหอบรรจุว ัตถุออกฤทธิ์ท ี่ปรุงตามใบสั่งยาของผู ประกอบวิชาชีพ เวช

กรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบ ันชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรม หรือผูประกอบการบ าบัดโรคสัตว

ชั้นหนึ่ง ท ั้งนี้ตามหลักเกณฑวิธ ีการและเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง

(7) ควบคุมการท าบัญชีรับจายว ัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑวิธ ีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง

(8) ควบคุมมิใหมีการขายวัตถุออกฤทธิ์แกผูซ ึ่งไมมีใบสั่งยาของบุคคลซึ่งกลาวใน (5) หรือแกผูซ ึ่งไม ไดรับ

ใบอนุญาตผลิต ขาย หรือน าเขาซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์

(9) ตองอยูประจ าควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปดด าเนินการ

หมวด 5 ว ัตถุออกฤทธิ์ปลอม วัตถุออกฤทธิ์ผ ิดมาตรฐาน และวัตถุออกฤทธิ์เส ื่อมคุณภาพ

มาตรา 36 หามมิใหผใูดผลิต ขาย หรือน าเขา ซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ดังตอไปนี้

(1) วัตถุออกฤทธิ์ปลอม

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 128

(2) วัตถุออกฤทธิ์ผ ิดมาตรฐาน

(3) วัตถุออกฤทธิ์เส ื่อมคุณภาพ

(4) วัตถุออกฤทธิ์ท ี่ตองขึ้นทะเบียนวัตถุต ารับแตมิไดขึ้นทะเบียนไว

(5) วัตถุออกฤทธิ์ท ี่ร ัฐมนตรีส ั่งเพ ิกถอนทะเบียนวัตถุต ารับ

มาตรา 37, มาตรา 38, มาตรา 39 เป ็นนิยามของวัตถุออกฤทธิ์ปลอม ผิดมาตรฐาน และเส ื่อมคุณภาพ

หมวด 6 การขึ้นทะเบ ียนวัตถุต ารับ

มาตรา 40 ผรูับอนุญาตผลิตหรือผูรับอนุญาตน าเขาซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 ผู

ใดจะผลิตหรือน าเข าซ ึ่งว ัตถุต ารับที่ม ีว ัตถุออกฤทธิ์ดังกล าว ตองน าว ัตถุต ารับนั้นมาขอขึ้นทะเบียนต่อ

พนักงานเจาหนาที่กอน และเมื่อไดรับใบส าคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุต ารับแลว จ ึงจะผลิตหรือน าเข าซ ึ่งว ัตถุ

ต ารับนั้นได

มาตรา 41 รายการที่ต้องแจ้งการขอขึ้นทะเบียนวัตถุต ารับตามมาตรา 40

หมวด 7 การโฆษณา

มาตรา 48 หามมิใหผใูดโฆษณาเพ ื่อการคาซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์เวนแต

(1) การโฆษณาซึ่งกระท าโดยตรงตอผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนป จจุบ ันชั้นหนึ่ง

ในสาขาทันตกรรม เภส ัชกร หรือผูประกอบการบ าบัดโรคสัตวชั้นหนึ่งหรือ

(2) เปนฉลากหรือเอกสารก ากับว ัตถุออกฤทธิ์ท ี่ภาชนะหรือห ีบหอบรรจุว ัตถุออกฤทธิ์

หมวด 8 พนักงานเจ ้าหน้าท ี่

มาตรา 49 ในการปฏิบัติหน าที่ พนักงานเจ าหนาที่ม ีอ านาจ เข าไปในสถานที่ผลิต สถานที่ขาย

สถานที่น าเขา หรือสถานที่เก ็บ ซ ึ่งว ัตถุออกฤทธิ์ในระหว างเวลาท าการ เพ ื่อตรวจสอบให การเปนไปตาม

พระราชบัญญ ัตินี้และมีอ านาจน าว ัตถุออกฤทธิ์ในปริมาณพอสมควรไปเป นตัวอย างเพ ื่อตรวจสอบหรือใน

กรณีมีเหตุอ ันควรสงสัยว ามีการกระท าความผิดตามพระราชบัญญ ัตินี้อาจยึด หรืออายัดว ัตถุออกฤทธิ์ท ี่

เก ี่ยวข้องกับการกระท าความผิด ตลอดจนภาชนะหรือห ีบหอบรรจุว ัตถุออกฤทธิ์และเอกสารที่เก ี่ยวข องดวย

เพ ื่อประโยชนในการด าเนินคดี

หมวด 9 การพ ักใชใบอนุญาตและการเพ ิกถอนใบอนุญาต

มาตรา 53 ผ ูรับอนุญ าตผู ใดฝ าฝนหรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญ ัตินี้ห รือกฎกระทรวงหรือ

ประกาศที่ออกตามพระราชบัญญ ัตินี้ผ ูอนุญาตโดยความเห ็นหรือค าแนะน าของคณะกรรมการมีอ านาจส ั่ง

พ ักใชใบอนุญาตไดโดยมีก าหนดครั้งละไมเกินหนึ่งรอยยี่ส ิบว ัน แตในกรณีมีการฟองผูรับอนุญ าตตอศาลว่า

ไดกระท าความผิดตามพระราชบัญญ ัตินี้ผ ูอนุญาตจะสั่งพ ักใชใบอนุญาตไวรอค าพ ิพากษาถึงที่ส ุดก็ได

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 129

ประเภทของวัตถุออกฤทธิ์ต ่อจ ิตและประสาท

วัตถุออกฤทธิ์แบ่งได้ 4 ประ เภทตามระดับความเข้มงวดในการควบคุม และบทก าหนดโทษก็ม ี

ความแตกต่างกันด้วย โดยแบ่งได้ดังนี้

1. วัตถุออกฤทธิ์ต ่อจ ิตและประสาทประเภท 1 : ไม่ม ีประโยชน์ทางการแพทย์ ม ีแต่โทษมาก

วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1

Cathinone Mescaline analog เช่น

Escaline

Isoproscaline

Proscaline

4-Thiomescaline หรือ 4-TM

4-Thioescaline หรือ 4-TE

4-Thioproscaline หรือ 4-TP

3-Thiomescaline หรือ 3-TM

3-Thioescaline หรือ 3-TE

3-Thiometaescaline หรือ 3-TME

เป ็นต้น

4-methylaminorex

DET Parahexyl

DMHP PCE

DMT PHP(PCPY)

Etryptamine Psilocine

GHB (Gamma-hydroxybutyrate) Psilocybine

Methcathinone TCP

Mescaline Tetrahydrocannabinol

Mescaline derivatives

2. วัตถุออกฤทธิ์ต ่อจ ิตและประสาทประเภท 2 : มีประโยชน์ในทางการแพทย์บ ้าง แต่ม ีโทษมากหากใช้ไม่

ถูกต้อง

วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2

Amfepramone

(diethylpropion)

Flunitrazepam Nimetazepam Secobarbital

Flurazepam * Nitrazepam Temazepam

Amineptine Haloxazolam Pemoline Triazolam

Aminorex * Ketamine (ยาเค) Phenylpropanolamine Zaleplon

Butorphanol Loprazolam * Phencyclidine Zipeprol

Brotizolam Lormetazepam Phendimetrazine Zolpidem

Cathine Mazindol Phenmetrazine Zopiclone

* Ephedrine Methylphenidate * Phentermine Buprenorphine

ยาแก้ปวด อมใต้ลิ้น Estazolam Mesocarb Pipradrol

Fencamfamin * Midazolam Pseudoephedrine

Fenethylline N-Ethylamphetamine Quazepam

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 130

3. วัตถุออกฤทธิ์ต ่อจ ิตและประสาทประเภท 3 : มีประโยชน์ในทางการแพทย์มาก แต่ก็ม ีอ ันตรายและการ

เสพติดมาก

วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3

Amobarbital Glutethimide

- Meprobamate

Butalbital Pentazocine

Cyclobarbital Pentobarbital

4. วัตถุออกฤทธิ์ต ่อจ ิตและประสาทประเภท 4 : มีประโยชน์ในทางการแพทย์มาก และมีอันตรายน้อย แต่ม ี

การเสพติดได้

วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 4

Allobarbital

Clorazepate ซึ่งได้แก่เกลือ

โมโนโปแตสเซ ียม หรือได

โปแตสเซ ียมของกรดคลอรา

ซ ีป ิค (Clorazepic acid)

Inorganic bromide (ยกเว้น

Lithium bromide ที่ใช้ใน

อุตสาหกรรมเครื่องท าความ

เย็น และ Potassium bromide

Technical grade กับ sodium

bromide technical grade ที่ใช้

ในอุตสาหกรรมล้างรูป )

Pinazepam

* Alprazolam Clortermine Ketazolam Prazepam

Barbital Clotiazepam Lorazepam Propylhexedrine

Benzphetamine Cloxazolam Medazepam Pyrovalerone

Bromazepam Diazepam Mefenorex Secbutabarbital

Butobarbital Delorazepam Methyprylon SPA

Camazepam Ethchlorvynol Methylphenobarbital Tetrazepam

Chloral hydrate and its

adducts Ethinamate Nordazepam Tofisopam

Chlordiazepoxide Ethyl loflazepate Oxazepam Vinylbital

Chlorphentermine Fenproporex Oxazolam

Clobazam Fludiazepam Perlapine

Clonazepam Halazepam Phenobarbital

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 131

ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ

พระราชบัญญัต ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ .2522

บทนิยามศัพท์

มาตรา 4 ในพระราชบัญญ ัตินี้

“ยาเสพติดให้โทษ” หมายความว่า สารเคมีหรือว ัตถุชนิดใด ๆ ซ ึ่งเม ื่อเสพเข้าส ู่ร ่างกายไม่ว ่าจะโดย

รับประทาน ดม ส ูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วท าให ้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะส าคัญ เช่น

ต้องเพ ิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นล าดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ

อย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให ้รวมตลอดถึงพ ืชหรือส ่วนของพ ืชที่เป ็น

หรือให ้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให ้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให ้โทษและสารเคมีท ี่ใช้ในการผลิตยา

เสพติดให ้โทษด้วย ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ไม่หมายความถึงยาสามัญประจ า

บ้านบางต ารับตามกฎหมายว่าด้วยยาที่ม ียาเสพติดให ้โทษผสมอยู่

หมวด 1 คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ

บอกว่าคณะกรรมการคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให ้โทษมีใครบ้าง ด ารงต าแหน่งวาระละกี่ป ี ม ี

อ านาจยังไง และจะพ ้นจากต าแหน่งเม ื่อไหร่

หมวด 2 การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเก ี่ยวก ับยาเสพตดิให้โทษ

มาตรา 15 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดผลิตน าเข้า ส ่งออก จ าหน่ายหรือมีไว ้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให ้โทษใน

ประเภท 1 เว ้นแต่รัฐมนตรีได้อนุญาตเฉพาะในกรณีจ าเป ็นเพ ื่อประโยชน์ของทางราชการ

มาตรา 16 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดผลิต น าเข้า หรือส ่งออกซึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 2 เว ้นแต่ได้รับ

ใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะในกรณีจ าเป ็นเพ ื่อประโยชน์ของทางราชการ

มาตรา 17 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดจ าหน่าย หรือมีไว ้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 2 เว ้นแต่

ได้รับใบอนุญาต

มาตรา 20 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดผลิต น าเข้า ส ่งออก จ าหน่ายหรือมีไว ้ในครอบครอง เพ ื่อจ าหน่ายซ ึ่งยาเสพ

ติดให ้โทษในประเภท 3 เว ้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต

ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บ ังคับแก่

(1) การจ าหน่ายหรือมีไว ้ในครอบครองเพ ื่อจ าหน่ายซ ึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ที่ผ ู้ประกอบวิชาชีพ

เวชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมจ าหน่ายหรือมีไว ้ในครอบครองเพ ื่อจ าหน่ายเฉพาะผู้ป ่วยซ ึ่ง

ตนให ้การรักษา

(2) การจ าหน่ายหรือมีไว ้ในครอบครองเพ ื่อจ าหน่ายซ ึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ที่ผ ู้ประกอบวิชาชีพ

การส ัตวแพทย์ชั้นหนึ่งจ าหน่ายหรือมีไว ้ในครอบครองเพ ื่อจ าหน่ายเฉพาะสัตว ์ท ี่ตนบ าบัด

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 132

มาตรา 26 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดผลิต จ าหน่าย น าเข้า ส ่งออก หรือมีไว ้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให ้โทษ

ในประเภท 4 หรือในประเภท 5 เว ้นแต่รัฐมนตรีจะได้อนุญาตโดยความเห ็นชอบของคณะกรรมการเป็นราย

ๆ ไป

หมวด 3 หน้าท ี่ของผู้รับอนุญาต

บอกสิ่งที่ผ ู้ร ับอนุญาตท าไม่ได้ และส ิ่งที่ต้องท า เช่น การจัดให ้ม ีเภส ัชกรประจ า จ ัดให ้ม ีป ้าย จ ัดให ้ม ี

การว ิเคราะห ์ยา/วัตถุดิบ จ ัดให ้ม ีฉลาก จ ัดใหม้ ีการแยกเก็บยา ท าบัญชี...

บอกหน้าที่ของผู้รับอนุญาตว่าต้องท าอะไรบ้างในกรณีที่ใบอนุญาตหาย หรือถูกท าลาย

หมวด 4 หน้าท ี่ของเภสัชกร

มาตรา 36 ให ้เภส ัชกรผู้ม ีหน้าที่ควบคุมการผลิตยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ปฏิบ ัติดังต่อไปนี้

(1) ควบคุมการผลิตให ้เป ็นไปตามพระราชบัญญ ัตินี้

(2) ควบคุมให ้ม ีฉลากและเอกสารก ากับยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ตามมาตรา 29 (3)

(3) ควบคุมการบรรจุ และการปิดฉลากที่ภาชนะหรือห ีบห ่อบรรจุให ้เป ็นไปตามพระราชบัญญ ัตินี้

(4) ควบคุมการจ าหน่ายยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ให ้เป ็นไปตามมาตรา 31

(5) ต้องอยู่ประจ าควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เป ิดท าการ

มาตรา 37 ให ้ เภส ัชกรผู้ม ีหน้าที่ควบคุม การจ าหน่าย ย าเสพติด ให ้โทษ ในประเภท 3 ปฏิบ ัติ

ดังต่อไปนี้

(1) ควบคุมการแยกเก็บยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ตามมาตรา 31 (2)

(2) ควบคุมการปฏิบัติตามมาตรา 31 (3)

(3) ควบคุมการจ าหน่ายให ้เป ็นไปตามพระราชบัญญ ัตินี้

(4) ต้องอยู่ประจ าควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เป ิดท าการ

หมวด 5 ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ปลอม ผ ิดมาตรฐาน หรือเสื่อมคุณภาพ

มาตรา 3 9 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดผลิต จ าห น่าย น าเข้า ห รือส ่งออกซึ่งย าเส พติดให ้โทษในประเภท 3

ดังต่อไปนี้

(1) ยาปลอมตามมาตรา 40

(2) ยาผิดมาตรฐานตามมาตรา 41

(3) ยาเส ื่อมคุณภาพตามมาตรา 42

(4) ยาที่ต้องขึ้นทะเบียนต ารับยาแต่ม ิได้ขึ้นทะเบียนต ารับยาตามมาตรา 43

(5) ยาที่รัฐมนตรีส ั่งเพ ิกถอนทะเบียนต ารับยาตามมาตรา 46

มาตรา 40, มาตรา 41, มาตรา 42 เป ็นนิยามของยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ปลอม ผิดมาตรฐาน

และเส ื่อมคุณภาพ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 133

หมวด 6 การขึ้นทะเบ ียนต ารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 3

มาตรา 43 ผู้รับอนุญาตผลิตหรือน าเข้าซ ึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 จะผลิตหรือน าเข้าซ ึ่งยา

เสพติดให ้โทษดังกล่าว ต้องน าต ารับยาเสพติดให ้โทษนั้นมาขอขึ้นทะเบียนต ารับยาเสพติดให ้โทษต่อ

พนักงานเจ ้าหน้าที่ก ่อน และเมื่อได้รับใบส าคัญการขึ้นทะเบียนต ารับยาเสพติดให ้โทษแล้ว จ ึงจะผลิตหรือ

น าเข้าซ ึ่งยาเสพติดให ้โทษนั้นได้

หมวด 7 การโฆษณา

มาตรา 48 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดโฆษณายาเสพติดให ้โทษ เว ้นแต่

(1) เป ็นการโฆษณายาเสพติดให ้โทษในประเภท 2 หรือประเภท 3 ซ ึ่งกระท าโดยตรงต่อผู้ประกอบวิชาชีพ

เวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการส ัตวแพทย์

ชั้นหนึ่ง หรือ

(2) เป ็นฉลากหรือเอกสารก ากับยาเสพติดให ้โทษในประเภท 2 ประเภท 3 หรือประเภท 4 ที่ภาชนะหรือห ีบ

ห ่อบรรจุยาเสพติดให ้โทษในประเภท 2 ประเภท 3 หรือประเภท 4

โฆษณาตามวรรคหนึ่งที่เป ็นเอกสาร ภาพ ภาพยนตร์ การบันทึกเส ียงหรือภาพต้องได้รับอนุญาตจาก

ผู้อนุญาตก่อนจึงจะใช้โฆษณาได้

การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให ้เป ็นไปตามหลักเกณฑ์ ว ิธ ีการ และ เงื่อนไขที่ก าหนดใน

กฎกระทรวง

หมวด 8 พนักงานเจ ้าหน้าท ี่

มาตรา 49 ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญ ัตินี้ ให ้พนักงานเจ ้าหน้าที่ม ีอ านาจดังต่อไปนี้

(1) เข้าไปในสถานที่ท าการของผู้รับอนุญาตน าเข้าหรือส ่งออก สถานที่ผลิต สถานที่จ าหน่าย สถานที่เก ็บยา

เสพติดให ้โทษ หรือสถานที่ท ี่ต ้องได้รับอนุญ าตตามพระราชบัญญ ัตินี้ เพ ื่อตรวจสอบการปฏิบัติตาม

พระราชบัญญ ัตินี้

(2) เข้าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ เพ ื่อตรวจค้นเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้ตามสมควรว่ามีทรัพย์ส ินซ ึ่ ง

ม ีไว ้เป ็นความผิดหรือได้มาโดยการกระท าความผิด หรือได้ใช้หรือจะใช้ในการกระท าความผิดตาม

พระราชบัญญ ัตินี้ หรือซ ึ่งอาจใช้เป ็นพยานหลักฐานได้ ประกอบกับมีเหตุอันควรเชื่อว ่าเนื่องจากการเนิ่น

ช้ากว ่าจะเอาหมายค้นมาได้ ทรัพย์ส ินนั้นจะถูกโยกย้าย ซ ุกซ ่อน ท าลาย หรือท าให ้ เปลี่ยนสภาพไปจาก

เดิม

(3) ค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ ที่ม ีเหตุอ ันควรสงสัยตามสมควรว่ามียาเสพติดให ้โทษซุกซ ่อนอยู่โดยไม่

ชอบด้วยกฎหมาย

(4) ค้นตามบทบัญญ ัติแห ่งประมวลกฎหมายวิธ ีพ ิจารณาความอาญา

(5) ยึดหรืออายัดยาเสพติดให ้โทษที่ม ีไว ้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือทรัพย์ส ินอื่นใดที่ได้ใช้หรือจะใช้ใน

การกระท าความผิดตามพระราชบัญญ ัตินี้

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 134

หมวด 9 การพ ักใช้ใบอนุญาตและการเพ ิกถอนใบอนุญาต

มาตรา 52 ผู้รับอนุญ าตผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบ ัติตามพระ ราชบัญญ ัตินี้ หรือ กฎกระทรวง หรือ

ประกาศที่ออกตามพระราชบัญญ ัตินี้ผ ู้อนุญ าตโดยความเห ็นชอบของคณะกรรมก ารมีอ านาจส ั่งพ ักใช้

ใบอนุญาตได้โดยมีก าหนดครั้งละไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวัน แต่ในกรณีที่ม ีการฟ ้องผู้รับอนุญ าตต่อศาลว่า

ได้กระท าความผิดตามพระราชบัญญ ัตินี้ ผ ู้อนุญาตจะสั่งพ ักใช้ใบอนุญาตไว้รอค าพ ิพากษาถึงที่ส ุดก็ได้

ผู้ถ ูกส ั่งพ ักใช้ใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญ าตใด ๆ ตามพ ระราชบัญญ ัตินี้ในระหว่างถูกส ั่งพ ักใช้

ใบอนุญาตอีกไม่ได้

หมวด 10 มาตรการควบคุมพ ิเศษ

มาตรา 57 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดเสพยาเสพติดให ้โทษในประเภท 1 หรือประเภท 5

มาตรา 58 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดเสพยาเสพติดให ้โทษในประเภท 2 เว ้นแต่การเสพนั้น เป็นการเสพ เพ ื่อการ

รักษาโรคตามค าส ั่งของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจ ุบ ันชั้นหนึ่งในสาขา

ทันตกรรมที่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 17

หมวด 11 การน าผ ่านซึ่งยาเสพติดให้โทษ

หมวด 12 บทก าหนดโทษ

มาตรา 70 ผู้ใดผลิตหรือน าเข้าซ ึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 20 ต้อง

ระวางโทษจ าคุกตั้งแต่หนึ่งปีถ ึงสามปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสามแสนบาท

มาตรา 71 ผู้ใดจ าหน่าย มีไว ้ในครอบครองเพ ื่อจ าหน่าย หรือส ่งออกซึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท

3 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 20 วรรคหนึ่ง โดยมีจ านวนยาเสพติดให ้โทษไม่เกินที่ก าหนดตามมาตรา 20 วรรค

สี่ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

กรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าม ียาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 เกินจ านวนตามมาตรา 20 วรรคสี่ ต้อง

ระวางโทษจ าคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท

มาตรา 82 ผู้ใดผลิต น าเข้า หรือส ่งออกซึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ปลอม อันเป็นการฝ่าฝืน

มาตรา 19 (1) ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่สามปีถึงยี่ส ิบปี และปรับตั้งแต่สามแสนบาทถึงสองล้านบาท

มาตรา 83 ผู้ใดจ าหน่ายซ ึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ปลอม อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 39 (1 )

ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินห ้าปี และปรับไม่เกินห ้าแสนบาท

มาตรา 84 ผู้ใดผลิต น าเข้า หรือส ่งออกซึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ผิดมาตรฐานหรือยาเสพ

ติดให ้โทษในประเภท 3 เส ื่อมคุณภาพ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 39 (2) หรือ (3) ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน

สามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา 85 ผู้ใดจ าหน่ายซ ึ่งยาเสพติดให ้โทษในประเภท 3 ผิดมาตรฐานหรือยาเสพติดให ้โทษใน

ประเภท 3 เส ื่อมคุณภาพ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 39 (2) หรือ (3 ) ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือ

ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 135

ยาเสพติดให้โทษแบ่งเป ็น 5 ประเภท คือ

1. ประเภท 1 ยาเสพติดให ้โทษชนิดร้ายแรง

2. ประเภท 2 ยาเสพติดให ้โทษทั่วไป

ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศระบุชื่อยาเสพติดให ้โทษตามมาตรา 8 (1)

เพ ื่อประโยชน์แห ่งมาตรานี้ ค าว ่า ฝ ิ่นยา (Medicinal Opium) หมายถึง ฝ ิ่นที่ได้ผ ่านกรรมวิธ ีปรุงแต่ง

โดยมีความมุ่งหมายเพ ื่อใช้ในทางยา

3. ประเภท 3 ยาเสพติดให ้โทษที่ม ีล ักษณะเป็นต ารับยา และมียาเสพติดให ้โทษในประเภท 2 ผสมอยู่ด้วย

ตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดในราชกิจจานุเบกษา

ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1

*LSD (d-lysergic acid) *MDMA (ยาส่าย ยาอ ี

หรือ Ectasy หรือ Adam)

*Amphetamine

(ยาบ้า ยาม้า)

*Methamphetamine

(ยาบ้า)

*MDA (ยาเล ิฟ) *Heroin Etorphine PMA

Thiofentanyl Desomorphine Dexamphetamine Dihydroetophine

ยาเสพติดให้โทษในประเภท 2

*Opium ซึ่งหมายถึงฝ ิ่น

ด ิบ ฝ ิ่นสุก หรือมูลฝ ิ่น

*Medicinal Opium

(ฝิ่นยา) *Pethidine *Coca bush

*Cocaine *Fentanyl *Codeine *Methadone

*Dextropropoxyphene *Morphine *Diphenoxylate เด ี่ยว Trimepridine

ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3

1. ยาส าเร็จรูปที่ม ี codeine เป ็นส ่วนผสม

2. ยาส าเร็จรูปที่ม ี codeine phosphate เป ็นส ่วนผสม

3. ยาส าเร็จรูปที่ม ี dextropropoxyphene เป ็นส ่วนผสม

4. ยาส าเร็จรูปที่ม ี dihydrocodeine tartrate เป ็นส ่วนผสม

5. ยาส าเร็จรูปที่ม ี diphenoxylate เป ็นส ่วนผสม

6. ยาส าเร็จรูปที่ม ีฝ ิ่นยาเป็นส ่วนผสม เช่นยาแก้ไอน้ าด าขนาดเกินกว่า 60 ม ิลลิลิตร

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 136

4. ประเภท 4 สารเคมีท ี่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให ้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2 (ไม่รวม ergot alkaloid ที่

ผสมอยู่ใ นต ารับ ยาที่เป ็นยาตามกฎหมายว่าด้ว ยยา เช่น ยา cafergot หรือที่ เป ็นว ัตถุออกฤทธิ์ฯตาม

กฎหมายว่าด้วยว ัตถุออกฤทธิ์ฯ)

5. ประเภท 5 ยาเสพติดให ้โทษที่ม ิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น กัญชา พ ืชกระท่อม

ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1, 2, 4 และ 5 ให้รวม

1. ว ัตถุท ี่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่น แต่ม ีส ูตรโครงสร้างทางเคมีอย่างเดียวกัน

2. ไอโซเมอร์ใด ๆ ของยาเสพติดให ้โทษประเภท 1 และ 2

3. เกลือ เอสเทอร์ และอีเทอร์ใด ๆ ของยาเสพติดให ้โทษประเภท 1 และ 2

ยาเสพติดให้โทษในประเภท 4

*Acetic Anhydride *Acetyl Chloride *Ergotamine

รวมทั้งอนุพ ันธ ์ต ่างๆ เกล ือ เอสเทอร์ และอ ีเทอร์ใดๆ

*Lysergic Acid Safrole *Ergometrine

รวมทั้งอนุพ ันธ ์ต ่างๆ เกล ือ เอสเทอร์ และอ ีเทอร์ใดๆ

Piperonal Phenylacetic Acid Ethylidine Diacetate Chlorpseudoephedrine

ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3

1. กัญชา (Cannabis) ซึ่งหมายความรวมถึงทุกส ่วนของพ ืชกัญชา (Cannabis sativa L. และ Cannabis

indica Auth) และวัตถุ หรือสารต่างๆ ที่ม ีอยู่ในพ ืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ยาง และล าต้น เป ็น

ต้น

2. พืชกระท่อม ซึ่งหมายความรวมถึงทุกส ่วนของพ ืชกระท่อม (Mitragyna speciosa Korth) และวัตถุ

หรือสารต่างๆ ที่ม ีอยู่ในพ ืชกระท่อม เช่น ใบ ดอก ยอด ผล อัลกาลอยด์ และล าต้น เป ็นต้น

3. พืชฝิ่น ซึ่งหม ายถึงพ ืชที่ให ้ฝ ิ่น ห รือ อัล กาลอยด์ขอ งฝิ่น เป็นผลิตผลส าคัญ เช่นพ ืชที่ม ีชื่อ ทาง

พฤกษศาส ตร์ว ่า Papaver somiferum Linn และ Papaver bracteatum หรือที่ม ีชื่ออื่น ในตระกูล

เดียวกัน ทั้งนี้ให ้หมายความรวมถึงส ่วนต่างๆของพ ืชดังกล่าวด้วย เป ็นต้นว ่า พ ันธ ุ์ฝ ิ่น เมล็ดฝิ่น กล้า

ฝิ่น หรือฟางฝิ่น

4. พืชเห็ดขี้ควาย ท ี่ม ีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว ่า Psilocybe cubensis หรือที่ม ีชื่ออื่นในตระกูล เดียวกัน ซ ึ่ง

หมายความรวมถึงพ ืชที่ให ้สาร Psilocybin ทั้งนี้ให ้หมายความรวมถึงส ่วนต่างๆของพ ืชดังกล่าวด้วย

เป ็นต้นว ่า ดอกเห ็ด ก้านเห ็ด สปอร์ของเห ็ด ดังกล่าว

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 137

ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ

พระราชบัญญัต ิวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ .2537

หมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

มาตรา 28 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดซ ึ่งม ิได้เป ็นผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมท าการประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม

หรือแสดงด้วยว ิธ ีใด ๆ ให ้ผ ู้อ ื่นเข้าใจว ่าตนเป็นผู้ม ีส ิทธ ิประกอบวิชาชีพดังกล่าว โดยมิได้ขึ้นทะเบียนและรับ

ใบอนุญาต เว ้นแต่ในกรณีอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้

(1) การประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมที่กระท าต่อตนเอง

(2) นัก เรียน นัก ศึกษ า ห รือ ผู้ร ับ ก ารฝึกอบ รมซึ่งท าก ารฝึกห ัดห รือ ฝึก อบ รม ในคว ามควบคุม ขอ ง

สถาบันการศึกษาว ิชาเภส ัชศาสตร์ของรัฐหรือที่ได้รับอนุญ าตจากทางราชการให ้จ ัดตั้งสถาบันทาง

การแพทย์ของรัฐ หรือสถาบันการศึกษาหรือสถาบันทางการ แพทย์อื่นที่คณะกรรมการรับรอง ทั้งนี้

ภายใต้ความควบคุมของเจ ้าหน้าที่ผ ู้ฝ ึกห ัดหรือผู้ให ้การฝึกอบรมซึ่งเป ็นผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม

(3) บุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เม ืองพ ัทยา องค์การบริห ารส ่วนจังหวัด เทศบาล

ส ุขาภ ิบาล องค์การบริหารส ่วนท้องถิ่นอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา หรือสภากาชาด

ไทย มอบหมายให ้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมในความควบคุมของเจ ้าหน้าที่ซ ึ่ง เป ็นผู้ประกอบวิชาชีพ

เภส ัชกรรม ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีก าหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

(4) ก ารป ระกอบวิช าชีพ เภ ส ัชกรรมของที่ป รึกษ าห รือ ผู้ เ ชี่ ย ว ชาญ ของท างร าชก ารห รือ ผู้ส อนใน

สถาบันการศึกษาของรัฐ ซ ึ่งม ีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรรมของต่างประ เทศ ทั้งนี้ โดย

อนุม ัติของคณะกรรมการ

มาตรา 29 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดใช้ค าหรือข้อความด้วยอักษรไทยหรืออักษรต่างประ เทศว่า เภส ัชกร เภส ัช

กรหญ ิง แพทย์ปรุงยา นักปรุงยา หรือใช้อ ักษรย่อของค าดังกล่าว หรือใช้ค าแสดงวุฒ ิการศึกษาทางเภส ัช

ศาสตร์ หรือใช้อ ักษรย่อของวุฒ ิดังกล่าวประกอบกับชื่อหรือชื่อสกุลของตน หรือใช้ค าหรือข้อความอื่นใดที่

ม ีความหมายเช่นเดียวกัน หรือแสดงด้วยว ิธ ีใด ๆ ซ ึ่งท าให ้ผ ู้อ ื่น เข้าใจว ่าตนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เภส ั ช

กรรม ทั้งนี้ รวมถึงการใช้ จ ้าง วาน หรือยินยอมให ้ผ ู้อ ื่นกระท าดังกล่าวให ้แก่ตน เว ้นแต่ผ ู้ได้รับปริญญาหรือ

ประกาศนียบัตรในวิชาเภส ัชศาสตร์

มาตรา 30 ห้ามมิให ้ผ ู้ใดใช้ค าหรือข้อความที่แสดงให ้ผ ู้อ ื่นเข้าใจว ่าตนเป็นผู้ม ีความรู้ความช านาญใน

การประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมสาขาต่าง ๆ ทั้งนี้ รวมถึงการใช้ จ ้าง วาน หรือยินยอมให ้ผ ู้อ ื่นกระท าดังกล่าว

ให ้แก่ตน เว ้นแต่ผ ู้ได้รับหนังส ืออนุม ัติหรือว ุฒ ิบ ัตรว ่าเป ็นผู้ม ีความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพ

เภส ัชกรรมสาขานั้น ๆ จากสภาเภส ัชกรรมหรือที่สภาเภส ัชกรรมรับรองหรือผู้ประกอบวิชาชีพ เภส ัชก รรมผู้

ม ีคุณสมบัติตามที่ก าหนดในข้อบังคับสภาเภส ัชกรรม

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 138

มาตรา 31 การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญ าต การออกหนังส ืออนุม ัติหรือว ุฒ ิบ ัตรแสดงความรู้

ความช านาญในการประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมสาขาต่าง ๆ และหนังส ือแสดงวุฒ ิอ ื่นในวิชาชีพ เภส ัชกรรม

ให ้เป ็นไปตามข้อบังคับสภาเภส ัชกรรม

มาตรา 33 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องรักษาจรรยาบรรณแห่งว ิชาชีพเภส ัชกรรมตามที่ก าหนด

ไว้ในข้อบังคับสภาเภส ัชกรรม

มาตรา 44 ภายใต้บ ังคับมาตรา 28 ห ้ามมิให ้ผ ู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมซึ่งอยู่ในระหว่างถูกส ั่งพ ัก

ใช้ใบอนุญาตหรือซ ึ่งถูกส ั่งเพ ิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมหรือแสดงด้วยว ิธ ีใด ๆ ให ้ผ ู้อ ื่น

เข้าใจว ่าตนเป็นผู้ม ีส ิทธ ิประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรรมนับแต่ว ันที่ทราบค าส ั่งสภาเภส ัชกรรมที่ส ั่งพ ักใช้

ใบอนุญาตหรือส ั่งเพ ิกถอนใบอนุญาตนั้น

มาตรา 45 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมซึ่งอยู่ในระหว่างถูกส ั่งพ ักใช้ใบอนุญ าตผู้ใดกระท าการฝ่า

ฝืนตามมาตรา 44 และถูกลงโทษจ าคุกตามมาตรา 50 โดยค าพ ิพากษาถึงที่ส ุด ให ้คณะกรรมการส ั่ง เพ ิกถอน

ใบอนุญาตของผู้นั้นนับแต่ว ันที่ศาลมีค าพ ิพากษาถึงที่ส ุด

มาตรา 46 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมซึ่งถูกส ั่งเพ ิกถอนใบอนุญาตอาจขอรับใบอนุญาตอีกได้เม ื่อ

พ ้นสองปีนับแต่ว ันที่ถ ูกส ั่งเพ ิกถอนใบอนุญ าต แต่เม ื่อคณะกรรมการได้พ ิจ ารณาค าขอรับใบอนุญ าตและ

ปฏิเสธการออกใบอนุญ าต ผู้นั้นจะยื่นค าขอรับใบอนุญ าตได้อีกต่อ เมื่อส ิ้นระยะ เวลาหนึ่งปีนับแต่ว ันที่

คณะกรรมการปฏิเสธการออกใบอนุญาต ถ้าคณะกรรมการปฏิเสธการออกใบอนุญ าตเป็นครั้งท ี่สองแล้ว ผ ู้

นั้นเป็นอันหมดสิทธ ิขอรับใบอนุญาตอีกต่อไป

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 139

ข้อบ ังคับสภาเภสัชกรรม

ว่าด้วยจรรณยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2538

อาศัยอ านาจ ตามความในมาตรา 2 3 (4 ) (ฎ ) แห่งพระราชบัญญ ัติว ิชาชีพ เภส ัชกรรม พ .ศ .253 7

คณะกรรมการสภาเภส ัชกรรม โดยความเห ็นของสภานายกพ ิเศษ จ ึงออกข้อ บังคับว ่าด้วยจรรยาบรรณแห่ง

ว ิชาชีพเภส ัชกรรมไว้ดังต่อไปนี้

หมวด 1

หลักการทั่วไป

ข้อ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมย่อมด ารงตนให ้สมควรในสังคมโดยธรรมและเคารพต่อกฎหมายของ

บ้านเมือง

ข้อ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมย่อมไม่ประพฤติหรือกระท าการใด ๆ อันเป็นเหตุให ้เส ื่อม เส ียเกียรติ

ศ ักดิ์แห ่งว ิชาชีพ

ข้อ 3 ผู้ประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรรมย่อมประกอบวิชาชีพด้วยเจตนาดี โดยไม่ค านึงถึงฐานะ เชื้อชาติ

ศาสนา ส ังคม หรือลัทธ ิการเมือง

ข้อ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม พ ึงสร้างทัศนคติและความเข้าใจต่อเพ ื่อนมนุษย์ และส ังคม น าความรู้

ด ้านส ังคมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์ มาประยุกต์ในการประกอบอาชีพ

ข้อ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม พ ึงพยายามแสวงหาความรู้ ความก้าวหน้าทางว ิชาการต่าง ๆ เพ ื่อการ

พ ัฒนาองค์กร และวิชาชีพให ้ท ันต่อยุคสมัย

หมวด 2

การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

ข้อ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรรมในระดับที่ดี

ท ี่ส ุด

ข้อ 7 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องไม่จ ูงใจหรือชักชวนให ้มารับบริการทางว ิชาชีพ เภส ัชกรรมเพ ื่อ

ผลประโยชน์ของตน

ข้อ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องปฏิบ ัติต่อผู้มารับบริการโดยสุภาพและปราศจากการบังคับขู่เข็ญ

ข้อ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องไม่หลอกลวงหรือให ้ค ารับรออันเป็นเท็จหรือให ้ความเห ็นโดยไม่

ส ุจริตในเรื่องใด ๆ ภายใต้อ านาจหน้าที่แก่ส าธารณชน หรือผู้มารับบริการให ้หลงเข้าใจผิด เพ ื่อ

ประโยชน์ของตน

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 140

ข้อ 10 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องประกอบวิชาชีพ โดยค านึงถึงความปลอดภัยและเศรษฐานะของ

ผู้ป ่วยหรือผู้มารับบริการ

ข้อ 11 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องไม่ใช้หรือสนับสนุนการใช้ยาต ารับลับ

ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องไม่เป ิดเผยความลับของผู้มารับบริการซ ึ่งตนทราบมาเนื่องจากการ

ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม เว ้นแต่ความยินยอมของผู้มารับบริการหรือเมื่อต้องปฏิบ ัติตามกฎหมาย

หรือตามหน้าที่

ข้อ 13 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องไม่ใช้หรือสนับสนุนให ้ม ีการประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมหรือการ

ประกอบโรคศิลปะ โดยผิดกฎหมาย

ข้อ 14 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องปฏิบ ัติตามข้อจ ากัดและเงื่อนไขการประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม ที่

คณะกรรมการสภาเภส ัชกรรมก าหนดโดยเคร่งครัด

หมวด 3

การโฆษณาการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

ข้อ 15 ผู้ประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรรมต้องไม่โฆษณา ใช้ จ ้าง หรือยินยอมให ้ผ ู้อ ื่นโฆษณาการประกอบ

วิชาชีพเภส ัชกรรม ความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรร มของตน หรือของผู้อ ื่น

เว ้นแต่

(1) การแสดงผลงานทางวิชาการ

(2) การแสดงผลงานในหน้าที่ หรือในการบ าเพ ็ญประโยชน์สาธารณะ

(3) การประกาศเกียรติคุณเป็นทางการโดยสถาบันวิชาการ สมาคม หรือมูลนิธ ิ ทั้งนี้ต้องละ เว ันการ

แสวงหาประโยชน์ที่จะเกิดต่อการประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมส่วนบุคค

ข้อ 16 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมอาจแสดงข้อความเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรรมของตนที่

สถานประกอบวิชาชีพได้เพ ียงข้อความเฉพาะเรื่องต่อไปนี้

(1) ชื่อ นามสกุล และอาจมีค าประกอบชื่อได้เพ ียงค าว ่าเภส ัชกร เภส ัชกรหญ ิง หรืออักษรย่อของค า

ดังกล่าว ต าแหน่งทางว ิชาการ ฐานันดรศักดิ์ ยศ และบรรดาศักดิ์

(2) ชื่อปริญญา ว ุฒ ิบ ัตร หรือหนังส ืออนุม ัติ หรือหนังส ือแสดงคุณวฒุ ิอย่างอื่น ซ ึ่งตนได้รับจากสภา

เภส ัชกรรม หรือสถาบันนั้น ๆ

(3) สาขาของวิชาชีพเภส ัชกรรม

(4) เวลาท าการ

ข้อ 17 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมอาจแจ้งความการประ กอบวิชาชีพ เภส ัชกรรมเฉพาะการแสดงที่อยู่

ท ี่ต ั้งสถานประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรรม หมายเลขโทรศัพท์ หรือ เครื่องมือส ื่อสารอื่น และหรือ

ข้อความที่อนุญาตตามข้อ 16

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 141

ข้อ 18 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมผู้ท าการเผยแพร่หรือตอบปัญหาทางส ื่อมวลชน ถ้าแสดงตนว่าเป็นผู้

ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม ต้องไม่แจ ้งสถานประกอบวิชาชีพส ่วนตัวเป็นท านองการโฆษณา และ

ต้องไม่ม ีการแจ้งความตามข้อ 17 ในที่เดียวกันหรือขณะเดียวกันนั้นด้วย

ข้อ 19 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องระมัดระวัง ม ิให ้การประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมของตนแพร่

ออกไปในสื่อ มวลชนเป็นท านองโฆษณาความรู้ความสามารถ

หมวด 4

การปฏิบ ัต ิต ่อผ ู้ร่วมวิชาชีพ

ข้อ 20 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องยกย่องให ้เกียรติเคารพในศักดิ์ศรีซ ึ่งกันและกัน

ข้อ 21 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องไม่ท ับถมให ้ร้ายหรือกลั่นแกล้งกัน

ข้อ 22 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องไม่ชักจ ูงผู้มารับบริการของผู้อ ื่นมาเป็นของตน

หมวด 5

การปฏิบ ัต ิต ่อผ ู้ร่วมงาน

ข้อ 23 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมพ ึงยกย่องให ้เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรีของผู้ร่วมงาน

ข้อ 24 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมต้องไม่ท ับถมให ้ร้าย หรือกลั่นแกล้งผู้ร ่วมงาน

ข้อ 25 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมพ ึงส ่งเสริมและสนับสนุนการประกอบวิชาชีพของผู้ร่วมงาน

หมวด 6

การปฏิบ ัต ิในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

ข้อ 26 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม ต้องไม่โฆษณาหรือยินยอมให ้ผ ู้อ ื่นโฆษณาในลักษณะว่ามีผ ู้ประกอบ

วิชาชีพอยู่ปฏิบ ัติการในสถานปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้น โดยไม่เป ็นความจริง

ข้อ 27 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรม จะโฆษณาหรือยินยอมให ้ผ ู้อ ื่นโฆษณาว่ามีเภส ัชกรประจ า หรือ ขาย

ยาโดยเภส ัชกร หรือแจ้งชื่อว ่า เป ็นเภส ัชกรประจ า หรือข้อคว ามอื่นที่ก ่อให ้เกิดความเข้าใจใน

ลักษณะดังกล่าวได้ เฉพาะกรณีที่ผ ู้ประกอบวิชาชีพดังกล่าวได้อยู่ปฏิบ ัติการจริงเป็นการประจ าหรือ

ได้อยู่ปฏิบ ัติการตลอดเวลาที่เป ิดท าการเท่านั้น

ข้อ 28 กรณีผู้ประกอบวิชาชีพ เภส ัชกรรมไม่อยู่ปฏิบ ัติการจริงเป็นการประจ าหรือไม่ได้อยู่ปฏิบ ัติการ

ตลอดเวลาที่เป ิดท าการ จะสามารถโฆษณาหรือยินยอมให ้ผ ู้อ ื่นโฆษณาว่ามีเภส ัชกรได้ โดยต้องระบุ

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 142

วัน เวลา ที่อยู่ปฏิบ ัติการจริงประกอบชื่อของตนหรือประกอบค าว ่า เภส ัชกรประจ า ขายยาโดยเภส ัช

กร หรือ ข้อความอื่นในลักษณะดังกล่าว ให ้ชัดเจน

ข้อ 29 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมผู้ใดที่ม ีชื่อเป ็นผู้ม ีหน้าที่ปฏิบ ัติการหรือเป็นเภส ัชกรประจ า ถ้าม ิได้อยู่

ปฏิบ ัติงานประจ าหรือไปปฏิบัติงานไม่เป ็นเวลาที่แน่นนอน ไม่ม ีส ิทธ ิท ี่จะโฆษณาหรือยินยอมให ้

โฆษณาหรือแจ้งว ่า ม ีเภส ัชกรประจ า หรือ ขายยาโดยเภส ัชกร หรือแจ้งชื่อว ่า เป ็นเภส ัชกรประจ า

หรือ ข้อความอื่นที่ก ่อให ้เกิดความเข้าใจในลักษณะดังกล่าวได้

ข้อ 30 ผู้ประกอบวิชาชีพที่เป ็นผู้ให ้ความรู้เรื่องยาและผลิตภ ัณฑ ์ส ุขภาพ ในลักษณะต่าง ๆ และโดยสื่อต่าง

ๆ ต้องพ ึงระวังมิให ้การกระท าดังกล่าวของตน หรือให ้ผ ู้อ ื่นน าการกระท าดังกล่าวไปท าให ้เข้าใจว ่า

ส ่งเสริมหรือสนับสนุน ผลิตภ ัณฑ ์ใดผลิตภ ัณฑ ์หนึ่งที่เก ี่ยวกับเรื่องที่ให ้ความรู้นั้น

ข้อ 31 ผู้ประกอบวิชาชีพเภส ัชกรรมผู้ใดรับจ ้างหรือรับทุนสนับสนุนจากบริษ ัทเอกชนในการกระท าใด ๆ

หรือจ ัดท าผลงานใด ๆ จะต้องเปิดเผยข้อมูลให ้ทราบว่าผู้ใดเป็นผู้จ ้างหรือให ้ท ุนสนับสนุนควบคู่ไป

ด้วยทุกครั้งเม ื่อมีการแสดง อ้างอิงผลงาน หรือเผยแพร่ผลการกระท าหรือผลงานที่จ ัดท าขึ้น

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 143

คณะผู้จ ัดท า

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาล ัยสงขลานครินทร์

1. นายบุญโชติ ลิมปนานนท์ Rx 27 Pharmaceutical Sciences 077

2. นางสาวอุราภรณ์ สุขบัว Rx 28 Pharmaceutical Sciences 131

3. นางสาวกุลธ ิดา ข าคง Rx 28 Pharmaceutical Care 2002

4. นางสาวพ ัชรพรรณ สกุลหนู Rx 28 Pharmaceutical Care 2020

5. นางสาวส ุภาภรณ์ สุทธ ิวฒัน์มงคล Rx 28 Pharmaceutical Care 2031

6. นางสาวกานต์ธ ีรา จิ๋วพฒันกุล Rx 29 Pharmaceutical Sciences 008

7. นายจักรพงษ์ ทิศพ ่วน Rx 29 Pharmaceutical Sciences 009

8. นางสาวจุมพ ิตา ยอดสุรางค์ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 011

9. นายชวณัฐ ประทีปอุษานนท์ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 019

10. นางสาวฐิชากร สันติประเสริฐ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 024

11. นายณัฏฐพร สงฤทธิ ์ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 026

12. นางสาวปิยะนาถ พงษ์เพชร Rx 29 Pharmaceutical Sciences 055

13. นายพ ุฒ ิว ัชร์ สังวรกาญจน ์ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 070

14. นายภูเบศ แก้วขวัญเพชร Rx 29 Pharmaceutical Sciences 073

15. นางสาวมณฑพร สันตะการ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 075

16. นางสาวเมลิน่า มาลินี Rx 29 Pharmaceutical Sciences 081

17. นางสาวศิตารา ทุ่งหว้า Rx 29 Pharmaceutical Sciences 090

18. นางสาววัลภา รอดภัย Rx 29 Pharmaceutical Sciences 098

19. นายวิศรุต ลีลาส ุธานนท์ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 099

20. นางสาวส ินีนาถ สิงห ์ส ิทธ ิ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 109

21. นายอนุพงศ์ รัตนพ ันธ ์ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 117

22. นางสาวณัฏฐกานป์ เรืองว ัฒนาไชย Rx 29 Pharmaceutical Sciences 119

23. นางสาวณัฐฐิชา สุวรรณะ Rx 29 Pharmaceutical Sciences 130

24. นางสาวอรีญา กองพล Rx 29 Pharmaceutical Sciences 131

เนื้อหาสรุป OSPE จัดท าโดย Rx 28–29 PSU OSPE ตุลาคม 2555 แก ้ไขเพิ่มเต ิมโดย Dutch 099 Rx 29 144