postcolonial

13
1 เมื่อ ขาพเจามองตะวันตก ดวยแนวคิดหลังอาณานิคม ความเปนอื่นและความเทาเทียม ปริวิทย ไวทยาชีวะ นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม าพเจาเคยโยนคําถามแกใจของตัวเองวา “... เราไมไดเปนเมืองขึ้นใคร แตทําไมเรา ตองไปตามตะวันตก อายฝรั่งแขนลายพวกนั้น...” เมื่อมองสิ่งที่อยูรอบตัวเรานั้น ตางก็ไดรับ อิทธิพลจากตะวันตกแทบทั้งสิ้น ไมวาจะเปนเทคโนโลยีตางๆ จนกลายเปนปจจัยที5 ในชีวิตของ เรา เชนเครื่องสําอาง รถยนต มือถือ การแตงตัว อาหาร รสนิยมทางศิลปะ การใหคุณคาความงาม หรือแมกระทั่งระบบการศึกษาที่เราใชอยูทุกวันนี้ลวนแตเปนสิ่งที่สงออกจากวัฒนธรรมของผูมี อารยะอยางตะวันตกมาสูตะวันออกที่คอย ยองมาอยางเงียบๆ และกระโดดเขามาถึงเรือนชาน เราอยางเปดเผยชัดเจน การเขามาอยางแนบเนียนแบบนีเราแทบไมรูสึกตัววามันเปนวาทกรรม ตะวันตก แมกระทั่งคําวา วาทกรรมเราก็ยังไมรูวามันแปลวาอะไร ขาพเจาไดอานหนังสือของอาจารยธีรยุทธ บุญมี ที่วาดวยเรื่อง ความคิดหลังตะวันตก (Post Western) ซึ่งเปนสวนหนึ่งในหนังสือชุด ความรูบูรณาการและถอดรื้อความคิดหลัง ตะวันตกนิยมที่ตองการวิพากษและถอดรื้อองคความรูทางประวัติศาสตร ปรัชญา และศิลปะ แบบที่ยึดติดกับอคติ ตะวันตกนิยมหรือ การยึดถือตะวันตกเปนศูนยกลางที่แทรกซึมอยูในทุก องคความรู ขาพเจาเองอาจจะใหน้ําหนักกับหนังสือเลมนี้มากสักหนอย เพราะความคิดหลัง ตะวันตกของอาจารยธีรยุทธ นั้นเปนแนวคิดที่ขาพเจาคิดวานาจะเปนอีกทางเลือกหนึ่งใหแกกับ โลกไดหลุดพนจากกรอบคิดตะวันตกที่เปนเพียงคําตอบเดียวที่มีอํานาจเหนือความคิดของเรา ใน บทความนีจะขอใชคําวา ขาพเจาอยางไมขัดเขิน ซึ่งอาจจะอานแลวรูสึกวาไทยเหลือเกิน แต ผูเขียนตองการเปน ขาพเจาอยางที่คนไทยหลาย คนใชเรียกแทนตนเอง อยางไรก็ตาม จากทีผูนําของลาวเคยใชคํานี้เรียกแทนตัวเอง ความนาสนใจของปรากฏการณดังกลาวไมไดอยูที่ความ สอดคลองตองกันระหวางภาษาไทยกับภาษาลาวเพียงเทานั้น เชนกันกับที่คําศัพทจํานวนมากใน ภาษาลาว ก็อาจไมไดมีความนาสนใจอยูตรงความงายและความซื่อจนสามารถเรียกเสียงหัวเราะ เฮฮาจากคนชั้นกลางกรุงเทพฯได แตสอดแทรกเรื่องราวของการตกเปนอาณานิคมของตะวันตก แมในชวงหลังการปฏิวัติลาว รัฐบาลของระบอบใหมจะประกาศหามผูคนใชคําราชาศัพทใน ชีวิตประจําวัน และบัญญัติภาษาปฏิวัติขึ้นมาแทนทีแตในชวงคริสตทศวรรษ 1990 เปนตนมา

Upload: pariwit-waithayacheewa

Post on 27-Mar-2016

213 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

postcolonial in education

TRANSCRIPT

 

เม่ือ “ขาพเจา” มองตะวันตก

ดวยแนวคิดหลังอาณานิคม ความเปนอื่นและความเทาเทียม ปริวิทย ไวทยาชีวะ นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ขาพเจาเคยโยนคําถามแกใจของตัวเองวา “...เราไมไดเปนเมืองข้ึนใคร แตทําไมเรา

ตองไปตามตะวันตก อายฝร่ังแขนลายพวกนั้น...” เม่ือมองส่ิงท่ีอยูรอบตัวเรานั้น ตางก็ไดรับ

อิทธิพลจากตะวันตกแทบท้ังส้ิน ไมวาจะเปนเทคโนโลยีตางๆ จนกลายเปนปจจัยท่ี 5 ในชีวิตของเรา เชนเคร่ืองสําอาง รถยนต มือถือ การแตงตัว อาหาร รสนิยมทางศิลปะ การใหคุณคาความงาม

หรือแมกระท่ังระบบการศึกษาท่ีเราใชอยูทุกวันนี้ลวนแตเปนส่ิงท่ีสงออกจากวัฒนธรรมของผูมี

อารยะอยางตะวันตกมาสูตะวันออกท่ีคอย ๆ ยองมาอยางเงียบๆ และกระโดดเขามาถึงเรือนชาน

เราอยางเปดเผยชัดเจน การเขามาอยางแนบเนียนแบบนี้ เราแทบไมรูสึกตัววามันเปนวาทกรรม

ตะวันตก แมกระท่ังคําวา “วาทกรรม” เราก็ยังไมรูวามันแปลวาอะไร

ขาพเจาไดอานหนังสือของอาจารยธีรยุทธ บุญมี ท่ีวาดวยเร่ือง ความคิดหลังตะวันตก

(Post Western) ซึ่งเปนสวนหนึ่งในหนังสือชุด “ความรูบูรณาการและถอดร้ือความคิดหลังตะวันตกนิยม” ท่ีตองการวิพากษและถอดร้ือองคความรูทางประวัติศาสตร ปรัชญา และศิลปะแบบท่ียึดติดกับอคติ “ตะวันตกนิยม” หรือ การยึดถือตะวันตกเปนศูนยกลางท่ีแทรกซึมอยูในทุก

องคความรู ขาพเจาเองอาจจะใหน้ําหนักกับหนังสือเลมนี้มากสักหนอย เพราะความคิดหลัง

ตะวันตกของอาจารยธีรยุทธ นั้นเปนแนวคิดท่ีขาพเจาคิดวานาจะเปนอีกทางเลือกหนึ่งใหแกกับ

โลกไดหลุดพนจากกรอบคิดตะวันตกที่เปนเพียงคําตอบเดียวท่ีมีอํานาจเหนือความคิดของเรา ใน

บทความนี้ จะขอใชคําวา “ขาพเจา” อยางไมขัดเขิน ซึ่งอาจจะอานแลวรูสึกวาไทยเหลือเกิน แต

ผูเขียนตองการเปน “ขาพเจา”อยางท่ีคนไทยหลาย ๆ คนใชเรียกแทนตนเอง อยางไรก็ตาม จากท่ี

ผูนําของลาวเคยใชคํานี้เรียกแทนตัวเอง ความนาสนใจของปรากฏการณดังกลาวไมไดอยูท่ีความ

สอดคลองตองกันระหวางภาษาไทยกับภาษาลาวเพียงเทานั้น เชนกันกับท่ีคําศัพทจํานวนมากใน

ภาษาลาว ก็อาจไมไดมีความนาสนใจอยูตรงความงายและความซ่ือจนสามารถเรียกเสียงหัวเราะ

เฮฮาจากคนช้ันกลางกรุงเทพฯได แตสอดแทรกเร่ืองราวของการตกเปนอาณานิคมของตะวันตก

แมในชวงหลังการปฏิวัติลาว รัฐบาลของระบอบใหมจะประกาศหามผูคนใชคําราชาศัพทใน

ชีวิตประจําวัน และบัญญัติภาษาปฏิวัติข้ึนมาแทนท่ี แตในชวงคริสตทศวรรษ 1990 เปนตนมา

 

ผูคนในประเทศลาวกลับเร่ิมใชภาษาพูดท่ีเปนภาษาปฏิวัตินอยลง แลวหันมาใชภาษาพูดท่ี

เช่ือมโยงกับสังคมลาว สมัยท่ียังถูกปกครองโดยสถาบันกษัตริยมากข้ึน คําวา "ขาพเจา" กลับมี

ความเปนมาท่ียาวนานและมีรองรอยแหงการตอสูอันสลับซับซอนซอนแฝงอยู

มองตะวันตกดวยแนวคดิหลังตะวันตก หลังสมัยใหมและหลังอาณานิคม

ปรัชญา Postmodern เปนการถกเถียงวาชีวิตแบบสมัยใหม ซึ่งมีปรัชญาแบบ Modern ท่ีเช่ือวา การใชความรูท่ีเกิดจากปญญาเหตุผลเปนระบบ เปนมาตรฐานนั้นจะนําพามนุษยไปสู

ความกาวหนาในทุกๆดาน ท้ังทางวัตถุ คุณธรรม การเมืองการปกครอง รวมท้ังการนําไปสูชีวิตที่มี

ความสุข เปนแนวทางที่ดีท่ีสุดสําหรับมนุษยแลวหรือ แตทายสุดแลววิถีชีวิตแบบโมเดิรน นั้นมิได

นําพามนุษยไปสูเปาหมายสูงสุดในชีวิตเชนนั้น หากไดนําพามนุษยตกสูหลุมพรางการเปนนัก

บริโภคนิยม แลกมาดวยการทําลายส่ิงแวดลอมธรรมชาติ การกดข่ีขูดรีดผูอ่ืน และยังกอใหเกิด

สงครามฆาลางมนุษยดวยกันเองซ้ําแลวซ้ําอีกเชนสงครามโลกครั้งท่ี1 และ 2 และสงครามอิรัก

เปนตน ในชวงทายศตวรรษท่ี 20 นักคิด นักวิชาการตะวันตกสวนใหญ ก็สรุปเอาวา ความคิด

สมัยใหมไดหมดภาระหนาท่ีทางประวัติศาสตรของมันแลว โลกไดกาวสูยุคใหมอีกยุคและวิถีชีวิต

มนุษยก็จะเปล่ียนไปเปนไมมีแบบแผนหรือพิมพเขียวสําหรับการดํารงชีวิตตามแบบโมเดิรน แต

จะเปนวิถีชีวิตท่ีมนุษยทุกคนมีอิสระ เสรีภาพ เคารพความแตกตาง ความเทาเทียม อดกลั้นและ

ช่ืนชมตอความหลากหลายของชีวิตมากข้ึน

ความคิดแบบ Postcolonial หรือ Post Western ก็ไดตั้งคําถามเชนเดียวกับ แนวคิด

Modern วา ถาคนตะวันตกวิพากษตอสังคมวิถีชีวิตแบบโมเดิรน และประเทศตะวันตกไดนิยาม

ตัวเองใหมวา เปน Postmodern ซึ่งเกิดจากสาเหตุท่ีไมสามารถบอกไดวา อนาคตขางหนาจะเปนอยางไรจึงตองใชคําวา post หรือ หลัง มาใชเปนหลังสมัยใหม ดังนั้น จึงเกิดคําวา “แลวทําไม

ประเทศอดีตอาณานิคมหรือประเทศดอยพัฒนาตางๆ จึงตองดิ้นรนแสวงหาพิมพเขียวแบบ

สมัยใหมไปดวย” ดวยความตองการที่จะมีแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือเดินรอยตาม

ตะวันตก ความคิด Postcolonial และ Post Western จึงเปนส่ิงเดียวกับวาทกรรมแบบ Post development

แมวาปรากฏการณอาณานิคมจะผานพนจบไปแลว อํานาจของตะวันตกที่อยูเหนือ

ภูมิภาคอ่ืนของโลกยังคงดํารงอยู จนถึงปจจุบันนี้ แลวอํานาจท่ีวานี้ไมไดเล็กนอยไปกวาสมัยอาณา

นิคมเลย เพียงแตวามันเปล่ียนรูปแบบ ขาพเจาจึงเขาใจวามันนาจะเขาขายของ อํานาจเชิง

สัญลักษณ ท่ีไมไดสงผานดวยแสนยานุภาพทางทหาร ไมไดเอาเรือรบไปปดปากอาว ไมไดเปน

แสนยานุภาพทางการเมืองหรือเศรษฐกิจ แตเปนการใชอํานาจท่ีผานระบบสัญลักษณ ซึ่งการใช

อํานาจเชิงสัญลักษณ กระทําผานส่ิงท่ีเรียกวา "ประดิษฐกรรมทางวัฒนธรรม" (Cultural artifact) ซึ่งสามารถโนมนาวจิตใจของผูท่ีถูกอํานาจกระทํานั้น ใหยอมรับโดยไมฝนใจหรือไมรูสึก

 

วาถูกบังคับ ยองเขามาแบบแนบเนียน อยูทนทานและเนิ่นนานกวา อํานาจทางทหาร ท่ีใชปลาย

กระบอกปนไปบังคับ ซึ่งแนนอนขาพเจาคิดวา ย่ิงบังคับย่ิงมีแรงตานขืน และมีโอกาสที่ไมยอมรับ

จึงเปนท่ีมาของการครอบงําทางความคิด ซึ่งมันมีความลํ้าลึกมากกวา วัฒนธรรมเองก็เปนสวน

หนึ่งในความหมายของปจเจก แตละคนนั้นมีกระบวนการ มีความคิดท่ีสงผานกันตลอดเวลา

ระหวางตัวตน การสรางตัวตนของกลุมตัวเอง หากถูกบังคับหรือมีอํานาจอ่ืนมาครอบงํา

กระบวนการสรางความหมายก็จะถูกบิดเบือนไป ตองยอมตามเขา ตองตามเขาไป ไมมี

ความหมายท่ีเฉพาะตัวตน

การใชอํานาจบังคับทางทหารจากปลายกระบอกปนของตะวันตกในดินแดนแอฟฟริกา

ปลายศตวรรษท่ี 20 มีการปฏิวัติความคิดคร้ังสําคัญ ไมเพียงของศตวรรษแตเปนการ

ป ฏิ วัติ คว ามคิดของ ยุคส มัย เ กิด ข้ึนนั้ นคื อ การ เ กิดป รัชญาความคิดห ลั งส มัยใหม

(Postmodern)และแนวคิดหลังอาณานิคม (Postcolonial) ประการแรก เกิดในหมูนักปรัชญา นัก

สังคมวิทยาตะวันตกกอนแตก็กระจายไปทุกวงวิชาการทั่วโลก พวกเขามองเห็นวาโลกไดกาวพน

ยุคสมัยใหม(modern)มาแลวท้ังทางเศรษฐกิจ การเงิน เทคโนโลยี ซึ่งจําเปนตองทบทวนระบบคิด

และองคความรูแบบโมเดิรนสมัยใหม ขาพเจาคิดวามันจะเปนพ้ืนฐานใหกับระบบการเมือง สังคม

ศิลปวัฒนธรรมแบบโมเดิรนใหมท้ังหมด ประการท่ีสอง เกิดในหมูนักวิชาการที่ไมใชตะวันตกแตก็

ขยายไปสูนักวิชาการตะวันตกดวยเชนเดียวกัน กระแสประการที่สองนี้มองวา แมประเทศตางๆจะ

ไดเอกราชแลว แตความคิดแบบกดข่ีและเหยียดพวกอาณานิคม ก็ยังถูกผลิตออกซ้ํามาท้ังจากนัก

คิดตะวันตกและนักคิดในอดีตประเทศอาณานิคมอยางไมหยุดหย้ัง จึงจําเปนตองผลักดันวิชาการ

ตางๆใ หหางไกลจากอคติ จึงเกิดเปนความคิดท่ีเรียกวา Postcolonial เนื่องจากแมวาจะไดรับเอกราชแลวแต ก็ ยั ง มีความคิด ท่ี เปนแบบอาณานิคม พัฒนาตามแบบความทันสมัย

(Modernization) นิยมชมชอบองคความรูแบบตะวันตกเปนท่ีตั้ง ในชวงดังกลาว ถือวาเปน

ชวงเวลาแหงการปฏิวัติแนวคิดปรัชญาคร้ังสําคัญท่ีปลดปลอยความเปนมนุษยท่ีแทจริง

 

คูตรงขามตะวันออกตะวันตก

การพูดเร่ืองความเปนตะวันตกตะวันออก คํา ๆ นี้เองถูกสรางข้ึนมา ถูกสรางข้ึนมาเพ่ือ

ทําใหมีปฏิบัติการทางสังคมท่ีทําใหคนบางกลุมไดอํานาจคนบางกลุมไมไดอํานาจ ขาพเจาไม

สามารถจะพูดไดวาตะวันตกเปนอยางไร ตะวันออกเปนอยางไร ทุกวันนี้เรามีวิธีคิดแบบทุนนิยม

ซึ่งเปนส่ิงท่ีครอบงําสังคมทั้งโลกไปหมดแลว ความเปนตะวันตกตะวันออกท่ียํ้ายอกตรงนี้วา มัน

ถูกสรางข้ึนมาทําใหเปนคูตรงกันขาม คูความขัดแยงกันในแบบวิถีหลายๆ อยาง ไมไดเปน

ธรรมชาติของตะวันตกและตะวันออกดวยตัวของมันเอง หากจะเปนการสรางคูความหมายท่ี

ตรงกันขามกัน เพ่ือท่ีจะชิงความไดเปรียบเสียเปรียบในความสัมพันธเชิงอํานาจท่ีมีตอกัน ขาพเจา

มองวาการทําใหเกิดคูตรงขามกัน คือ การทําใหวิธีคิดแบบหนึ่งเหนือกวาวิธีคิดแบบหนึ่ง เปนวิธี

คิดใหมในสังคมไทย ไมใชวิธีคิดแบบดั้งเดิม เปนวิธีคิดใหมท่ีเกิดข้ึน

ความเปนตะวันตกตะวันออกถูกสรางข้ึนมาเม่ือไมนานมานี้เอง นักคิดชาวตะวันตกคน

หนึ่งบอกวา ความเปนตะวันตกถูกสรางข้ึนมาโดยกลุมนักปรัชญาของประเทศอาณานิคม งาน

เขียนของ Edward Said ในเร่ือง Orientalism เขาจะพูดถึงความเปนปากีสถาน แมวาเขาจะเปนผู

ท่ีมีเช้ือสายอเมริกันปาเลสไตน เขาก็พูดถึงความเปนตะวันออกกลางนั้นวา ถูกสรางข้ึนมาเพ่ือทํา

ใหตะวันตกหรือพวกฝร่ังผิวขาว เพ่ือลบคําวาตะวันตกออกไปกอน เพ่ือท่ีจะสามารถเขามาดูดซับ

สวนเกินทางเศรษฐกิจจากดินแดนแถบในน้ันไป ในความเปนตะวันออกนั้น ถูกสรางใหเปนภาพ

ของความโงเงาในทัศนะของตะวันตก ความเปนบานปาเมืองเถื่อน ไมเหมือนผิวขาวอยางเรา เชน

ในบันทึกการเดินทางของฝร่ังตะวันตก พูดวา เราไดไปคนพบ เราไปเจอ เราไปตื่นเตน มองเราไม

เหมือนมนุษย โดยเฉพาะฝงแถบ Southeast Asia

ความรูแบบตะวันตกตามความเห็นของ Edward Said มองวา ความรูแบบตะวันตกมีหนาท่ีสรางใหคนในโลกท่ีสามหรือประเทศ

อาณานิคม มีฐานะเปนเพียงวัตถุ (Object) แหงแรงงาน วัตถุแหง

ความตองการทางเพศ วัตถุแหงการกดเหยียดเพ่ือการค้ําจุนความ

เปนวีรบุรุษแบบผูชายหรือจริตแบบความเปนจาว เปนจักรวรรดิ

นิยมของตะวันตก ซึ่งการสรางความเหนือกวาดวยการผลิตซ้ํา

ความหมายเชนนี้ ถือเปนวิธีการที่แนบเนียน ลึกซึ้งรอบดานอยาง

บูรณาการมากกวาการจะใชกําลังเขารุกรานยึดเปนอาณานิคมหรือ

อาจจะกลาวไดวาเปนอาณานิคมรูปแบบใหมท่ีนากลัวกวาอาณานิคม

แบบเดิมเสียดวยซ้ํา Edward Said

 

สลัดกรอบท่ีตะวันตกครอบงําทางความคิด

ขาพเจารูสึกถึงการตีกรอบใหความคิดของตะวันตกวาไมเพียงแตเปนการสรางกรอบหรือ

ตีเสนใหมองเฉพาะกรอบ เชน มองวาตองพัฒนา ตองสราง ความกาวหนาทางวัตถุ ตองเรงให

เศรษฐกิจมีการขยายตัว การเปดเสรีทางการคาและการเงิน ฯลฯ แตโลกยังถูก “ครอบงําโดย

ความรูหรือการศึกษา” การควบคุมความคิดของตะวันตก มีท้ังท่ีละเอียดออนลึกซึ้งและท่ีชัดเจน

เปดเผยได การเรียนรูเทาทัน การควบคุมประเภทละเอียดออน เชน การสรางองคความรูท่ีดูเปน

กลาง เปนประโยชน คือตํารับวิชาการตางๆตั้งแตประวัติศาสตร วิทยาศาสตร แพทยศาสตร

ศิลปะ วรรณกรรม มนุษยศาสตร สังคมศาสตรก็แฝงดวยอคติท่ีเอ้ือตอการครอบงําของตะวันตก

จากการที่เราเช่ือม่ันวาในระบบความรูแบบตะวันตก เขาสอนใหเรียนรูอะไรก็เราก็เรียนตาม คิดวา

มันเปนส่ิงท่ีดีท่ีสุดสําหรับชีวิต

นักคิดในโลกท่ีสามบางสวนไดคนพบถึงมายาภาพของ Modern ท่ีวาสังคมตะวันตก

กาวหนาดีงามนั้น นั่นมิใชความจริงอีกตอไป การคนพบดังกลาวนั้นไดคนพบมาเปนระยะ

เวลานานและนานกวาท่ีจะมีการเกิดข้ึนของการตอสูเพ่ืออิสรภาพหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 และ

กอนท่ีคนตะวันตกเองจะมองเห็นรากฐานท่ีเปนจุดบอดของตัวเองเนื่องจากพวกเขาไดรับ

ประสบการณโดยตรงจากการเอารัดเอาเปรียบความทารุณ ดูถูกเหยียดหยามของลัทธิอาณานิคม

ตะวันตก เม่ือเกิดกระแสปรัชญา Postmodern ข้ึนในชวงปลายศตวรรษ ความคิด Postcolonial และ Post Western จึงมีแนวรวมเพียงพอท่ีจะวิพากษวิจารณจุดออนของสังคมตะวันตก โดย

สังคมตะวันตกตั้งอยูบนพ้ืนฐานการเอารัดเอาเปรียบทางเศรษฐกิจ สภาพแวดลอมและการเปนอยู

ของสังคมอ่ืนๆของโลก แตชีวิตวัฒนธรรมและประวัติศาสตรตะวันตกก็ตั้งอยูบนการหลงตัวเอง

เหยียดสีผิวดูหม่ินทางวัฒนธรรม ปฏิเสธ ปดก้ัน หลงลืมความสําคัญและการดํารงอยูของคนอ่ืน

วัฒนธรรมอ่ืนๆ

ตะวันตกกําหนดกรอบวา “ความรู” ตองมาจากการวิจัยจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร

ใชตรรกะอยางชัดเจน จากการตรวจสอบประสิทธิภาพโดยผูเช่ียวชาญตะวันตกเปนตน เชน ร็อกก่ี

เฟลเลอร เคยมาใชคําปรึกษาแกรัฐบาลไทยสมัยรัชกาลท่ี 6 และบอกวาแพทยแผนไทยไมอยูใน

กรอบของวิทยาศาสตร ในท่ีสุดการแพทยแผนไทยก็ถูกปดตกไปจากการเรียนการสอน และพ่ึงจะ

มีการร้ือฟนไมนานมานี้เอง ความงามของศิลปวัฒนธรรมหรือความไพเราะของเสียงและดนตรีก็

เชนกัน ตองเปนเพลงคลาสิคหรือเสียงของนักรองโอเปรา ประติมากรรมตองเปนแบบกรีก ความ

งามของภาพเขียนก็ตองพัฒนาการมาตามแบตะวันตกจาก Impressionism เปน Expressionism เปน Surrealism เปน Abstractionism หรือถาเปนแฟช่ันก็ตองจากมาอิตาลี ฝร่ังเศส ฯลฯ

ขาพเจาคิดวาแมคุณธรรมก็ตองเปนแบบตะวันตก คือ มีความเปนปจเจกชน กลาแสดงออก กลา

รับผิดชอบ ถือตัวเองเปนศูนยกลาง และยังรวมไปถึงในการเรียนประวัติศาสตรเก่ียวกับ

 

วรรณกรรมของสหรัฐฯ อังกฤษ ฝร่ังเศส เยอรมัน ไดมีการแบงประวัติศาสตรออกเปนยุคอยาง

ละเอียด แตพอเปนของอารยธรรมอ่ืน เชน จีน อินเดีย ญี่ปุน หรือแมกระท่ังของไทยเองกลับถูก

แยกยอยนอยลงไป มันเกิดข้ึนโดยเราไมรูตัว ตรงนี้เปนจุดท่ีทําใหเรารูจักประวัติศาสตรคนอ่ืน

มากกวาการรูจักประวัติศาสตรของตัวเอง ซึ่งนั้นเปนการครอบงําวัฒนธรรมโดยไมรูตัวและเปน

การครอบงําทางวัฒนธรรมอยางเบ็ดเสร็จไมมีการตอตาน เนื่องจากมันถูกตีตราวาเปนส่ิงท่ีถูกตอง

ภาพความเปนอ่ืนท่ีถูกหยิบย่ืนให

แนวความคิดวาดวย “ความเปนอ่ืน” มีพ้ืนฐานมาจากวิธีคิดการแบงแยกส่ิงท่ีตางๆเปนคูตรงขามโดยเฉพาะการแบงแยกระหวางเอกลักษณ (Identity) กับ ความแตกตาง (Difference) หรือการแบงแยกตัวเรา (Self) กับ “คนอ่ืน” (Other) เม่ือสืบยอนกลับไปในประวัติศาสตรวิธีคิดตะวันตก นักปรัชญาอยางเฮเกล (Hegel) เห็นวามนุษยตระหนักถึงตนเองอยางสมบูรณได ก็ตอเม่ือในเง่ือนไขท่ีเราสัมพันธกับโลกขางนอก เฮเกลไดยกตัวอยางความสัมพันธระหวางทาสกับ

นายทาส ผูเปนนายจะแยกตัวเองออกจากทาส เพราะนายทางรับรูวาทางเปนผูท่ีอยูโลกขางนอก

ตนเอง จึงไมใชตัวเขา ตามแนวคิดวิภาษวิธี เฮเกลเห็นวาจิตสํานึกของมนุษยจะมีการพัฒนาในข้ัน

ตอมาท่ีจะไปพนความคิดปฎิปกษระหวางนายกับทาส มาสูการตระหนักรูวา การเปนเจานายดํารง

อยูไดเพราะมีทาสคอยทํางานรับใช และทาสก็เห็นวาชีวิตตนเองข้ึนอยูกับนายทาสเชนกัน ตางฝาย

ตางเริ่มตระหนักวา การมีอยูของอีกฝายทําใหการมีอยูของตนสมบูรณข้ึน

จากงานเขียน Orientalism ของ Edward Said วาทะกรรมหรือตัวบทท่ีสรางข้ึน สะทอน

เจตนารมณทางอํานาจของตะวันตกเหนือดินแดนอ่ืนๆท่ีไมใชตะวันตกอาศัย “อํานาจ”ของวาทกรรมนี้สรางความเปนจริงเก่ียวกับ “คนอ่ืนท่ีไมใชยุโรป” ความเปน Orientalism ในยุโรป คือ

กระแสนิยมตะวันออก เชน การตกแตงภายในบานแบบญ่ีปุนของคนอังกฤษ เอาของท่ีตนไมมีมา

โชว มาบริโภค เพ่ือยกระดับความเปนตะวันตก ใหรูสึกวาดูดีมีรสนิยมเม่ือเสพความเปน

ตะวันออก มันจึงซอนความเปนอ่ืนท่ีหยิบย่ืนใหและสรางบทบาทใหมใหตัวตนของตะวันออก

ขาพเจาพยายามท่ีจะเสนอถึงแนวความคิดคูตรงขามนี้จะตอกยํ้าวา เราจะดํารงอยูไดก็

ตอเม่ือมีส่ิงอ่ืน หรือ “คนอ่ืน” (The Other) คอยค้ําจุนการดํารงอยูของเรา เชนเราจะเปนคนท่ีมีตําแหนงแหงท่ีสูงสงกวาคนอ่ืนก็ตอเม่ือมีคนท่ีต่ํากวาหรือเราสามารถจําแนกคนท่ีมีชีวิตปกติ

ธรรมดาได ก็ตอเม่ือเราสามารถนิยามความเปนคนวิกลจริตได ในแงนี้ “คนอ่ืน” แมจะแตกตางจากตัวเรา แตก็ถูกทําใหเปนสวนหนึ่งของตัวเรา เพ่ือทําหนาท่ีใหตัวเราสมบูรณหรือแจมชัดข้ึน

คนท่ีไมใชยุโรปหรือตะวันออก ก็จะถูกกําหนดหรือสรางภาพ ใหอยูในกรอบท่ีกําหนดไวจาก คน

ผิวขาว จากแนวคิดนี้แสดงใหเห็นถึง การสรางแบบแผนวิธีคิด ท่ีกอใหเกิดความ “แปลกแยก” (Alienation) “ความเปนอ่ืน” (The Otherness) “ชายขอบ” (Marginalization) ผลิตซ้ําความรูสึกท่ีดอยกวา

 

ในความเปนอ่ืนนั้น จะมี 2 ลักษณะแนวคิด คือ ประการแรก แนวคิดเร่ือง “คนอ่ืน” ท่ีกระทํากับผูคน เปนเร่ืองของ “คนอ่ืนท่ีเปนพวกเดียวกับเรา” หรือเปนคนอ่ืนประเภท “ตางพวกในแดนตน” และประการท่ีสอง แนวคิดเร่ืองการสราง “ความเปนอ่ืน” ท่ีกระทํากับธรรมชาติซึ่งไดขยายความใหแนวคิดการสรางความเปนอ่ืนใหมีความละเอียดออนย่ิงข้ึน มิใชจํากัดกรอบอยูเพียง

แคการวิเคราะหความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกันเอง การสรางความเปนอ่ืนนั้นเปนเทคนิคทาง

อํานาจประเภทหนึ่งท่ีอยูภายใตวิธีคิดแบบคูตรงขามและช้ีวาการครอบงําธรรมชาติก็คือ

กระบวนการเดียวกันกับการครองงํามนุษย โดยการเก็บกดปดก้ันในประเด็น เพศสภาพ ชนช้ัน

และเช้ือชาติ เปนดานหลัก อยางไรก็ตาม การสรางความเปนอ่ืนไมไดกระทําอยางงายๆ

ตรงไปตรงมา หากแตมีกลไกอันสลับซับซอนในการทําใหวิธีคิดคูตรงขามครอบงําในระดับวิธีคิด

ขาพเจามองวา การแบงแยกระหวางตัวเรากับ “คนอ่ืน” จึงไมไดกระทําเพ่ือใหแยกออกจากกันอยางเด็ดขาด หากตัวเรากับ “คนอ่ืน” เปน “สองดานของเหรียญเดียวกัน” เชน ความเปนคนไทย

จะมีความหมายสมบูรณเม่ือตระหนักรูวาอะไรไมใชไทย ไมวาเปนคนพมา ชาวเขาเปนตน

กลาวคือเราไมสามารถนิยามความเปนคนไทยได หากปราศจาก “คนอ่ืน” ท่ีแตกตางไปจากเรา เชนเดียวกับท่ีฝร่ังผิวขาวกําลังมองเรา

ในความเปนอ่ืน คุณอาจจะมองวาเรามักจะไมเรียกฝรั่งวาเปนอ่ืน แตจะเรียกชาติพันธุใน

ไทยวาเปนอ่ืน เรียกคนตางจังหวัดวาเปนอ่ืน เรียกความเปนอ่ืนในตัวเราทางวัฒนธรรมท่ีแตกตาง

จากเขา หรือแมเรียกคนท่ีไมใชพวกเดียวกับเราวา “ไอนั้น อีนี่” รวมถึงความนัยท่ีแฝงอยูกับคําวา “ชาวเขา” ซีงถือวามิใชชาวเรา คนสวนใหญถาพูดถึงคนสวนนอยท่ีไมใชพวกเรา ในเชิงเปนอ่ืน

(The Otherness) ท่ีดอยกวาเอง หรือคนสวนนอยมองตัวเองวาดอยกวาก็ได แตบางคร้ังคนสวนนอยก็อาจมองวาคนสวนใหญเปนคนชายขอบก็ได ถาชองวางทางวัฒนธรรมของคนสวนนอยคิดวา

ตนเองเขมแข็งกวา เชน คนจีนในเยาวราช ท่ีอาจมองวาคนอื่นนอกเยาวราชดอยกวาก็ได ซึ่งนั่น

หมายถึงการเกิดทองถ่ินนิยม (Localism) ตามมาดวยกระบวนการเบียดขับ ดวยกลไกอํานาจท่ี

รุนแรงอันไดแก กฎหมาย และการเบียดขับดวยความรูชุดหนึ่ง ท่ีเถลิงอํานาจแหงความรูอยูนั้น

ดวยการจัดวางโครงสรางตาง ๆ อันไมเปนธรรม และส่ิงท่ีขาพเจามองวามันเปนจุดเดนท่ีสําคัญ

มากของปรัชญา Post Western คือการท่ีมนุษยทุกกลุมมีความสามารถเชิงปรัชญา และศิลปะท่ีทัดเทียมกันและการมองวาปรัชญา ศิลปะเปนส่ิงท่ีเคล่ือนยาย ถายเท หยิบยืมกันมาตลอด ท้ังใน

อดีตและปจจุบันภายใตกระแสโลกาภิวัตน ศิลปะจึงถูกนํามาใชเปนเคร่ืองมือในการตานขืนกับ

อํานาจนําท่ีมีตอกลุมท่ีถูกกดข่ีเอาไว ดวยการแสดงออกในแบบตางๆ เพราะนั้นจะทําใหเราขจัด

หรือลดความเปนอ่ืนซึ่งเปนรากฐานของปญหาท่ีสําคัญลงไปได เนื่องจากการลดอัตตาของตัวตน

ลงไมมีการแบงแยกเขา เรา เพราะเราตางก็เปนปจจัยสําคัญของกันและกัน แตการที่จะทําใหการ

ครอบงําหรือ “ตะวันตกนิยม” พรามัวลงไปไดนั้น

 

สิทธิและความเทาเทียมกัน ภายใตการครอบงํา

การเปล่ียนแปลงทางสังคมคือการขยายตัวอยางรวดเร็วของประชากรท่ีทํางาน

อุตสาหกรรมและบริการ และประชากรเมือง การขยายตัวของการศึกษาระดับอุดมศึกษาท่ีมีการ

เพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็วหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ซึ่งเปนปรากฏการณท่ีเกิดท่ัวโลกท้ัง ลาตินอเมริกา แอฟฟริกา อินเดีย เอเชีย จึงเปนปจจัยท่ีทําใหนักศึกษาท่ัวโลกมีบทบาทมากตั้งแตทศวรรษ 1960 มีการเคารพสิทธิเสรีภาพของผูหญิง เด็ก คนชราท่ีเพ่ิมมากข้ึน ผูหญิงมีสิทธิเสรีภาพและมีสวน

รวมทางการเมืองมากข้ึน แสดงใหเห็นถึงความเทาเทียมกันของมนุษยเพ่ือลดชองวางทางชนช้ัน

สูง-ลาง ผูหญิง-ผูชาย สิทธิมนุษยชนและลดการเหยียดสี

การปฏิวัติทางปรัชญาแบบ Postmodern, Post Colonial และ Post Western ตั้งแตทศวรรษ 1980 สงผลใหมีความเคารพความแตกตางในทุกๆ ดาน ไมวาจะเปนความตางของ

สถานะ ชนช้ัน ชาติพันธุ เพศ วัย วัฒนธรรม ความคิดความเช่ือ กระท่ังการเคารพตอสภาพ

ธรรมชาติซึ่งจะสงผลอยางใหญหลวงตอโลกในศตวรรษปจจุบันนี้ ขาพเจามองเห็นวากระแส

ความคิดแบบ Post Western หรือ Postcolonial มององคความรูเหลานั้น ตั้งแตปรัชญา

จริยธรรม การเมือง การปกครอง วรรณกรรมคลาสสิค ดนตรีสากล ประวัติศาสตรนิพนธ

ประวัติศาสตรศิลปะ สถาปตยกรรม ฯลฯ ท้ังหมดลวนแตเพ่ือสรางภาพสรางตัวตนท่ีดีงามและ

ความมีเหตุมีผลใหตะวันตก แตการกดข่ีและเหยียดเพิกเฉยละเลยลืมการดํารงอยูของ

ศิลปวัฒนธรรม ปรัชญา ฯลฯ ประวัติศาสตรของตัวตนของคนอ่ืนหรือผู อ่ืน ขาพเจาขอตั้ง

ขอสังเกตวา ตะวันตกไดใชความรูทางวิทยาศาสตรตาง ๆ เปนเคร่ืองมือในการแทรกแซงครอบงํา

โลกไว สรางความไมเทาเทียมกันในฐานะท่ีทุกคนเปนมนุษยเหมือนกัน ไมวาจะเปนประเทศ

ตะวันตกกับประเทศตะวันออก หรือประเทศโลกท่ี 1 กับประเทศโลกท่ี 3 หรือประเทศพัฒนาแลวกับประเทศดอยพัฒนา การนิยามหรือการใหความหมายกับคําตาง ๆ ท่ีปรากฏในพื้นท่ีเหลานี้

ลวนแฝงเรนดวยการดูถูก เหยียดหยาม บงบอกถึงความไมเทาเทียมกันและความแตกตางท้ัง

วัฒนธรรม ความคิด รูปแบบการดําเนินชีวิต ความเจริญกาวหนาและองคความรู โดยมีตะวันตก

เปนผูนํา สวนตะวันออกยอมเปนผูตามดวยความยินยอมพรอมใจ

หากเราเคารพในสิทธิเสรีภาพซึ่งกันและกันแลว การครอบงํา กาวลํ้าเสนแมในทาง

ความคิด ก็จะไมเกิดข้ึน โดยท่ีตะวันออกเองก็ตองปรับเปล่ียนความคิดท่ีจะยกยองความรู

ตะวันตกใหเปนศูนยกลาง มากดทับความรูในฝงตน ละเลยภูมิปญญาของทองถ่ินตะวันออกไป ให

เร่ิมหันกลับมาใสใจรากเหงามรดกทางอารยธรรมของตนเอง อยางไมมีอคติในการแบงแยก เชน

ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในความขัดแยงในโลกปจจุบันระหวางวัฒนธรรม ในโลกชาวตะวันตกท่ีนับถือคริสต

และโลกมุสลิมท่ีนับถืออิสลาม แตก็อาจจะเปนความหวังท่ีเห็นไดยากย่ิง ในเร่ืองท่ีเล็ก ๆ ก็เปน

ประเด็นสรางความขัดแยงในหนาจอโทรทัศนแทบทุกวัน การใชส่ือมาสรางความเปนศัตรูตัวใหม

 

ใหแกตะวันตก ไมวาจะเปนขาวของโลกมุสลิมในสหรัฐอเมริกา นั่นเปนเร่ืองของวัฒนธรรมท่ีเปน

เร่ืองของความคิดและการใหความหมาย การท่ีเราจะหาเพียงจุดรวมหรือการผูกขาดทาง

วัฒนธรรม ความคิด ความเช่ือ ของตะวันตกคงเปนไปไดลําบาก มิเชนนั้นแลว The Clash of Civilization อาจจะเกิดข้ึนในอนาคตท่ีไมไกลนี้ ยกตัวอยาง เชน ตะวันตกจะตองปรับทาทีทาง

กระบวนการคิดเชิงปรัชญาและศิลปะใหมวา ตะวันตกไมไดเปนผูผูกขาดตนธารทางอารยธรรม

เทานั้น เพราะตะวันตกหยิบยืมส่ิงเหลานี้มาจากโลกมุสลิมไปเยอะมากแตไมอางอิงใน

ประวัติศาสตรท่ีถูกสรางมาเปนความรู ขาพเจามีความคิดเห็นตอการเรียนการสอนในปจจุบันวา

เรารับเอาความคิดจากทางตะวันตกมาแตไมหมดท้ังวิถีคิด คือ เราลอกมาหรือมาบิดเบี้ยวเอาตอน

หลัง โดยที่เราไมรูถึงภูมิหลัง เราถูกส่ังสอนดวยประวัติศาสตรแบบชาติตะวันตก ท่ีมีการกดเหยียด

ชนชาติอ่ืนๆ ท่ีไมใชตน เพราะเขาถือวาเขาคือตนธารทางอารยธรรม สวนเราคือปลายธารอารย

ธรรมท่ีเหือดแหงรอการฟนฟูจากชาวตะวันตกอยางฝรั่งเขา เราถูกสรางความไมเทาเทียมมาแต

ไหนแตไรในทุกส่ิงทุกอยาง

ในขณะเดียวกัน ขาพเจาคิดวา มันมีการสรางความเปนตะวันตกท่ีเปนศัตรูข้ึนมาอยาง

เขมขนมากข้ึน รวมท้ังพรอมๆ กับการสรางความเปนตะวันออก ตอกยํ้าใหชัดข้ึนมาอีก เพ่ือท่ีจะ

ตอบโตกับบรรดาเจาอาณานิคมท้ังหลาย ในชวงหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 มีประเทศเกิดใหม ประเทศท่ีตกเปนอาณานิคมเกิดใหมมากมาย กลุมประเทศเหลานี้เองตองสราง

ตัวเองข้ึนมาเปนประเทศข้ึนมา แลวก็สรางตัวเองพรอมกับสรางความเปนตะวันออกข้ึนมา แลวก็

บอกวาตะวันตกเปนศัตรู ตรงนี้เพ่ือจะบอกวา หากเราจะเขาใจความเปนตะวันตกตะวันออกเรา

ตองเขาใจท่ีมันสลับซับซอน มันไมงายดวยการใชประสบการณของคนบางคนท่ีอยูในโลกทุนนิยม

แลวมาบอกวาเปนอะไร มันเปนความสลับซับซอนท่ีทําใหเกิดความยากจนข้ึนในโลกใบนี้ เกิด

ความยากจนข้ึนในกลุมคนประมาณ 1 ใน 3 ของโลกท่ีไมมีอาหารกิน เปนผูยากไร ซึ่งตะวันตกเอง

ก็มอบตําแหนงแหงความอดอยากให โดยเฉพาะอยางย่ิงในกลุมประเทศโลกท่ีสาม ซึ่งในขณะที่

โลกมีการผลิตอาหารเพียงพอกับคนจํานวนมากแตพวกเขากลับถูกผลักใหเปน “ชายขอบในความ

หิวโหย” มากกวาท่ีจะชวยเหลือดวยความจริงใจ แตการเขาไปชวยเหลือผูท่ีถูกสถาปนาคําสาปใหก็

เปนการเขาไปมีอํานาจกดซ้ําเขาไปอีก เธอเดือดรอน ฉันจึงตองชวยเธอ ฉันวาอะไรเธอก็วาตาม นี่

หรือคืออิสรภาพที่ตะวันตกปลดปลอยและมอบให เปนการประกาศวาทกรรมเพื่อพัฒนา คนท่ี

ดอยกวานั่นเอง การสรางความเทาเทียมกันในสังคมโลกควรปรับเปล่ียนทาทีของการ

ประหัตประหารกันระหวางวัฒนธรรมท่ีขัดแยงท้ังโดยตรงและโดยออม เปนการหยิบยืมกันทาง

อารยธรรมท่ีมีการผสมผสาน (Cross Culture) ท้ังระหวางตะวันตกและตะวันออกรวมท้ังภายในตะวันออกดวยกันเอง เพราะถาเรามองวาตะวันออกเหนือกวา การสรางความยุติธรรมก็ไมสามารถเกิดข้ึนได ขาพเจามองวามันเปนเพียงแคการเปล่ียนข้ัวการเมืองเทานั้น ในท่ีสุดมันก็จะนําไปสู

The Clash of Civilization ซึ่งเปนส่ิงท่ีขาพเจาไมปรารถนาท่ีจะเห็นในลักษณะดังกลาวและ

ขาพเจาเห็นวาความเปนตะวันตกและความเปนตะวันออกนั้นควรจะมองในลักษณะของ “ไมจิ้ม

 

10 

ฟน” ท่ีแตละดานก็มีลักษณะเฉพาะของกันและกันไมมีนัยยะของการกดทับมากกวาการมองในลักษณะของ “เข็ม” ท่ีทําใหผูหนึ่งเหนือกวาและอีกฝายกดทับดวยดานท่ีไมแหลมคมทั้งๆท่ีท้ังดานปลายของเข็มก็ไมสามารถใชประโยชนไดถาไมมีรูอันต่ําตอยดอยคา

ทางออกของปญหานี้ตะวันตกเองก็ตองยอมรับความจริงส่ิงท่ีเกิดข้ึนหรือเกาแกกวา

ยอมรับคุณคาในระบบคิดของทุกอารยธรรมท้ังโลกตะวันออกและโลกมุสลิมท่ีตะวันตกมองวาเปน

ศัตรูท่ีสําคัญ ไมถือเอาเหตุผลหรือความเปนวิทยาศาสตรเขามาทําการตัดสินช้ีขาด ไมหลงตัวเอง

วาเปนส่ิงท่ีมีอารยะและสิ่งท่ี “เปนอ่ืน” นอกเหนือไปจากตนเอง ถือวาไมใชอารยะ ตองยอมรับ

คุณคาความเปนมนุษยของโลกตะวันออกอยางเทาเทียมกันท้ังทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและ

วัฒนธรรม ขาพเจาตองการใหมีการปรับทาทีหรือสารัตถะ(Essentialism) ท่ีเราเช่ือกันวาตะวันตกเปนศูนยกลางเทานั้น แตก็ไมไดหมายความวาจะลมความคิดตะวันตกเสีย และสถาปนาตะวันออก

เสียท้ังหมด แตเราจําเปนท่ีจะตองมีการผสมผสานทั้งตะวันตกและตะวันออก เนื่องจากรากทาง

อารยธรรมของท้ังสองมันมีลักษณะท่ีเหล่ือมซอนทับกันอยางแยกไมออกเพราะตางก็เปนปจจัย

ของกันและกัน

หลังจากมองโลกตะวันตกแลวหันกลับมามองใหใกลตัวเรา

ตะวันตกใชองคประกอบหลายอยางตั้งแตการสรางองคความรู คุณคาความหมายท่ี

ปรึกษาผูเช่ียวชาญผลักดันใหมีการนําความรูความหมายแบบตะวันตกไปเปนนโยบายและการ

ปฏิบัติ ความรูถูกมองเปนความจริง และเปนประโยชนจริงในชีวิต มันกลายเปนเร่ืองความ

ถูกตองชอบธรรม เม่ือเปนส่ิงท่ีมีคามากก็เปนส่ิงท่ีคนเราปรารถนาท่ีจะตองแปรไปเปนนโยบาย

และการปฏิบัติ ซึ่งนโยบายการพัฒนาใหทันสมัยแบบตะวันตก ซึ่งเปนการอบรมสรางคนและ

สังคมใหเดินตามแบบอยางของตะวันตก ทฤษฎีของการพัฒนาดังกลาว ก็คือ ตะวันตกเหนือกวา

ทุกๆสวนในโลก มนุษยในวัฒนธรรมอ่ืนๆตองพัฒนาเปลี่ยนแปลงเหมือนตะวันตก ในรูปแบบ

ของการพัฒนาสังคม รูปแบบการจัดการการเมือง คานิยม วิถีชีวิต ความเหนือกวา ของความรู

แบบตะวันตก ทําใหเรายอมรับมันโดยไมมีการตั้งคําถามตอส่ิงท่ีเกิดข้ึน เชน ทําไมเราตองมี

มหาวิทยาลัยท่ีสอนวิชาเดียวกับมหาวิทยาลัยตะวันตกทุกอยาง เปาหมายของชีวิตถูกกําหนดวา

ตองเปนหมอ ทนายความ วิศวกรฯลฯ เพราะเช่ือในความจริง ความถูกตองขององคความรู

ตะวันตก ซึ่งเปนวิธีคิดท่ีเกิดจากวิธีคิดแยกสวนท่ีฝงรากลึกจนเราไมรูสึกตัว ผลเสียจากการที่คน

ถูกสรางเหมือน เคร่ืองจักรหรือหุนยนตท่ีเปนแบบเดียวกัน หลอหลอมจากโรงงานตะวันตก ทําให

คนกลายเปนเหมือนวัตถุท่ีเหมือนกันเพ่ือแสวงหาความรูในการควบคุมโลกท่ีเราอยู

มนุษยแตกลุมในโลกมีสิทธิท่ีจะเลือกอัตลักษณ (Identity) ทางการเมืองใหแกตน ประเทศ

ไทยก็ตกอยูภายใตการครอบงําของตะวันตกมาเปนเวลานานนับตั้งแตสรางรัฐชาติสมัยใหม

ตะวันตกบีบบังคับครอบงําประเทศไทยใหเดินเปนเสนตรงตามท่ีตะวันตกเปนผูกําหนดกติกา ท้ัง

 

11 

ทางความรู ความคิด ประวัติศาสตร วัฒนธรรม และประเทศไทยเองก็ไดสรางร้ือฟน สราง

ประดิษฐภาษาไทย ประวัติศาสตรชาติไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ จากศูนยกลาง อัต

ลักษณแหงชาติ สงตอไปยังทองถ่ินและชาติพันธุตางๆใหยอมรับระบบมาตรฐานเดียว ซึ่ง

กระบวนการสรางอัตลักษณแหงชาตินี้ไดทําลายวัฒนธรรม ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิ

ปญญาทองถ่ินตางๆ เชน การเรียนการสอนโดยโรงเรียนของรัฐผานการใชภาษาไทย ทําใหภาษา

พ้ืนเมืองท่ีแทจริงไดเลือนหายไปในกลุมชาติพันธุรุนหลังหรือการใหยอมรับความเปนคนไทย

ดังเชนในกรณีท่ีรัฐไทย พยายามเขาไปทําหนาท่ีกลืนกลายอัตลักษณของชาวมุสลิมภาคใตดวย

วิธีการตางๆ ใหมีการเรียนการสอนแบบรัฐไทย แตดวยขอจํากัดทางศาสนาท่ีตองดํารงอัตลักษณ

ของตนเอาไว ทําใหพวกเขาเหลานี้ไมสามารถเขาสูสังคมหรือมีการประกอบอาชีพไดอยางคนไทย

เนื่องจากรัฐไทยไมยอมรับการเรียนการสอนท่ีจัดแบบโรงเรียนปอเนอะ จึงทําใหกลายเปนปญหาท่ี

ทับถมมาเปนระยะเวลานาน ในลักษณะของ “สยามท่ีเปนอ่ืน” สําหรับพวกเขา จนนําไปสูการปะทุ

เปนปญหาท่ีไมสามารถแกไขไดในปจจุบัน เพราะฉะน้ันทางออกหนึ่งของรัฐคือรัฐตองมีนโยบาย

“หลังไทยนิยม” (Post Thailism) คือ การรื้อฟนและเคารพในความแตกตางหลากหลายทางสังคม

วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง พยายามสงเสริมดานบวกของความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ยอยตางๆ ในประเทศใหมีเขมแขงเพ่ือตอสูกับตะวันตกนิยม ดวยการเปดใจกวาง เคารพซึ่งกัน

และกัน แสวงหาชีวิตท่ีเปนธรรม เทาเทียมและมีความหมายรวมกัน

จิตวิญญาณไทย ภูมิปญญาตะวันตกและไมใชตะวันตก

การครอบงําของความคิดแบบตะวันตกเปนศูนยกลาง สําหรับขาพเจาแลว เห็นวาปจจุบัน

นั้น ไมมีตัวแสดงเฉพาะความคิดแบบตะวันตกเทานั้น แตยังมีตัวแสดงอื่นๆ เชน กระแสความคิด

แบบเกาหลี ญี่ปุน ผานละครท่ีสอดแทรกคานิยมและวัฒนธรรม ศิลปน ฯลฯ ท่ีเขามาในประเทศไทย ทําใหเกิดการช่ืนชมวัฒนธรรมของประเทศอ่ืนในตะวันออกดวยกัน ในบางคร้ังแทบจะมี

ความเขาใจดีกวาวัฒนธรรมของไทยเองอีกดวย จะนับวาเปนกระแสความคิดท่ีมาแรงและนากลัว

ไมแพตะวันตก แมในปจจุบันวัฒนธรรมถูกกําหนดหรือตีคุณคาดวยผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

เชน การร้ือฟนภูมิปญญาทองถ่ินของประเทศไทย จากโครงการของรัฐท่ีหยิบยืมตนแบบมาจาก

ญี่ปุน คือ หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ รวมท้ังวัฒนธรรมของชนกลุมนอย กลุมชาติพันธุท่ีปจจุบัน

กลายเปนสินคาทางวัฒนธรรมเพ่ือการทองเท่ียวในฐานะ “ผูถูกทองเท่ียว” ขาพเจาจึงตองโยน

คําถามใหตัวเองอีกคร้ังวา “...แลวอยางนี้มันสรางใหคนเทาเทียมกันจริงหรือ...” เรามองท่ีตัวเงิน

ท่ีเอาให ก็ไมตางอะไรกับตะวันตกทํากับเรา กับโลกท่ีสาม

 

12 

ทางออกของปญหาท่ีเกิดข้ึนโดยมีเปาหมายในรวมกัน โดยการรักษาวัฒนธรรมความเปนไทยไวใน

ขณะเดียวกันก็พรอมท่ีจะปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมบางอยางใหสอดคลองตามแบบตะวันตก ดังท่ี

ขาพเจาไดกลาวขางตนแลวเราจําเปนท่ีจะบูรณาการระหวางตะวันตกและตะวันออกเขาดวยกัน

โดยในแงมุมทางการเมืองนั้น ประเทศในตะวันออกเกือบทุกประเทศจะมีปญหาเก่ียวกับเร่ืองการ

คอรัปช่ันไมวาจะเปนจีน เกาหลีใต ญี่ปุน และไทยซึ่งดูจะหนักหนาสาหัสกวาเพ่ือน ขาพเจามองวา

มันเพราะรากฐานทางวัฒนธรรมของศาสนาท่ีคลายคลึงกัน กลาวคือ ตะวันออกใหความสําคัญกับ

ศาสนาท้ังพุทธและขงจื้อสอนใหเคารพผูอาวุธโส เนนความสัมพันธในครอบครัวเครือญาติและ

เกิด ระบบอุปถัมภ ซึ่งเปนระบบท่ีสอนใหคนไมเช่ือม่ันในศักยภาพของตนเอง จํากัดความคิดของ

มนุษยไมมีเหตุผล ทําใหมันกลายเปนส่ิงท่ีฝงรากอยางยาวนาน ซึ่งเปนจุดออนของตะวันออกหาก

เรามองตะวันตกอยางไมมีอคติแลวเราก็จะพบวาคานิยมของตะวันตกบางอยางเชน สิทธิ เสรีภาพ

ความเปนเหตุเปนผล เช่ือม่ันในความสามารถของมนุษย อาจจะเปนทางออกใหกับไทยไดใน

ความคิดหลังตะวันตก นอกจากตะวันออกจะตองมองจุดออนของตัวเองดวยการเติมใหแข็งแรง

ดวยความคิดแบบตะวันแลว ความคิดของตะวันออกดวยกันก็สามารถสรางจุดแข็งใหกับประเทศ

ไทยไดเชนกัน จะตองเร่ิมสรางโดยรัฐเพราะเราตองยอมรับวาสังคมไทยรัฐอยูเหนือประชาชนซ่ึง

ขาพเจาก็ไมเห็นดวยกับความคิดดังกลาว แตเราจําเปนตองพลิกวิกฤตใหเปนโอกาส โดยใชรัฐเปน

เคร่ืองมือในการสรางอุดมการณรวมกันของชาติผูนําทางการเมือง นักการเมือง ขาราชการ จะตอง

ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศนท่ีจะนําพาประเทศชาติไปสูความเทาเทียม

กิตติกรรมประกาศ

งานเขียนบทความช้ินนี้ “ขาพเจา” ไดรับแรงบันดาลใจจากการเรียนในเร่ืองของ

การศึกษาทามกลางการเปล่ียนแปลงของภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งมี รศ.ดร.ศิวรักษ ศิวารมย เปนผู

จุดประเด็นการใหเห็นถึงการเปล่ียนแปลงตางๆ และเขาใจความหมายของวัฒนธรรมท่ีไมใชเพียง

การฟอนรํา แตเปนการใหความหมาย ในการสรางตัวตนและในฐานะท่ีทุกคนเปน Subject ความรูดานสังคมศาสตรไมควรจะแยกจากกันกับการศึกษา จากการท่ีไดอานหนังสือเลมท่ีเขียนถึง

การถอดร้ือความคิดแบบตะวันตกนิยมของอาจารยธีรยุทธ บุญมีและอีกหลายๆ ช้ินงาน รวมถึง

การไดพูดคุยกับคุณพิณสุดา วงศอนันต นักศึกษาปริญญาโท สาขาการเมืองการปกครอง จึงได

ประเด็นท่ีพูดถึงความเปนอ่ืนไดชัดเจนมากข้ึน แมบทความนี้อาจจะไมสามารถเขาไปแกปญหา

สังคมได แตก็เปนการแหยใหเห็นความพยายามของ “ขาพเจา” ท่ีจะเขาไปมองส่ิงท่ีเกิดข้ึนใน

สังคมและเพ่ิมความสงสัยใครรูในสังคมศาสตรและการศึกษาตอไป

 

13 

บรรณานุกรม

จันทนี เจริญศรี. โพสตโมเดิรนกับสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพวิภาษา. 2544.

ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย. เชิงอรรถวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพมติชน. 2546.

ธเนศ อาภรณสุวรรณ. กําเนิดและความเปนมาของสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ.

สํานักพิมพคบไฟ. 2549.

ธเนศ อาภรณสุวรรณ. ปอกเปลือกประชาธิปไตยในอเมริกา : ตํานานเร่ืองคนเราเกิดมา ไมเทาเทียมกัน. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพศยาม. 2535.

ธีรยุทธ บุญมี. ถอดร้ือปรัชญาและศิลปะแบบตะวันตกเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพ

สายธาร. 2546

ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา. CHANGE 25 ปแหงการเปล่ียนแปลง การเผชิญหนาและความ ทาทายของสังคมไทย. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพ OPENbooks. 2548.

วัลลภา แวน วิลลเล่ียนสวารดและคณะ. จิตสํานึกใหมแหงเอเชีย 4 ทัศนะจากคานธีใหม.

กรุงเทพฯ. สํานักพิมพเฟองฟา. 2547.

วิทยาลัยการจัดการทางสงัคม. ความรูทองถิ่น การจัดการความรูสูการจัดการทางสังคม.

กรุงเทพฯ. สํานักพิมพเคล็ดไทย. 2547.

ศิวรักษ ศิวารมย. สังคมศาสตรการศึกษา. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพสรางสรรค. 2551.

สายชล สัตยานุรักษ. ชาตินิยม วัฒนธรรมและความขดัแยง. บทความแนวคดิประชุมวิชาการ

ชาตินิยมกับพหุวัฒนธรรม. โครงการจัดตัง้ศูนยภูมิภาคดานสังคมศาสตรและการ

พัฒนาอยางย่ังยืน คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2551.

สุภางค จันทวานิช. ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. 2552.

อคิน รพีพัฒน. ม.ร.ว. วัฒนธรรมคือความหมาย : ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอรด

เกียรซ. กรุงเทพฯ. ศนูยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). 2551.