prevalence of carpal tunnel syndrome and factors … · and factors affecting wrist pain of the...

88
ความชุกของการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือและปัจจัยที่มีผลต ่อความเจ็บปวด ข้อมือในพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม PREVALENCE OF CARPAL TUNNEL SYNDROME AND FACTORS AFFECTING WRIST PAIN IN HOSPITAL STAFFS IN CHIANG MAI PROVINCE เยาวพา บุญเจริญ วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พ.ศ. 2562

Upload: others

Post on 24-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ความชุกของการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือและปัจจัยทีม่ผีลต่อความเจ็บปวดข้อมอืในพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจังหวดัเชียงใหม่

    PREVALENCE OF CARPAL TUNNEL SYNDROME AND FACTORS AFFECTING WRIST PAIN IN HOSPITAL STAFFS

    IN CHIANG MAI PROVINCE

    เยาวพา บุญเจริญ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา หลกัสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาสาธารณสุขศาสตร์

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัราชภัฏเชียงใหม่ พ.ศ. 2562

  • ความชุกของการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือและปัจจัยทีม่ผีลต่อความเจ็บปวดข้อมอืในพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจังหวดัเชียงใหม่

    PREVALENCE OF CARPAL TUNNEL SYNDROME AND FACTORS AFFECTING WRIST PAIN IN HOSPITAL STAFFS

    IN CHIANG MAI PROVINCE

    เยาวพา บุญเจริญ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา หลกัสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาสาธารณสุขศาสตร์

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัราชภัฏเชียงใหม่ พ.ศ. 2562

  • หัวข้อวทิยานิพนธ์ ความชุกของการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือและปัจจยัท่ีมีผลต่อความเจ็บปวดขอ้มือในพนกังานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดัเชียงใหม่

    ผู้วจัิย เยาวพา บุญเจริญ สาขาวชิา สาธารณสุขศาสตร์ อาจารย์ทีป่รึกษาวทิยานิพนธ์

    อาจารย์ทีป่รึกษาวทิยานิพนธ์หลกั อาจารย ์ดร.สิวลี รัตนปัญญา อาจารย์ทีป่รึกษาวทิยานิพนธ์ร่วม อาจารย ์ดร.เดชา ป่ินแกว้

    คณะกรรมการสอบ

    ......................................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย ์ดร.วนัชยั เลิศวฒันวลิาศ)

    ......................................................................... กรรมการ (อาจารย ์ดร.สิวลี รัตนปัญญา)

    ......................................................................... กรรมการ (อาจารย ์ดร.เดชา ป่ินแกว้)

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อนุมัติให้นับวิทยานิพนธ์ฉบับน้ี

    เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิาสาธารณสุขศาสตร์

    .................................................................. คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.กมลณฏัฐ ์ พลวนั) วนัท่ี .............. เดือน............................. พ.ศ................. ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัราชภฏัเชียงใหม่

  • หัวข้อวทิยานิพนธ์ : ความชุกของการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือและปัจจยัท่ีมีผลต่อ ความเจ็บปวดขอ้มือในพนกังานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดั เชียงใหม่

    ช่ือผู้วจัิย : เยาวพา บุญเจริญ สาขาวชิา : สาธารณสุขศาสตร์ อาจารย์ทีป่รึกษาวทิยานิพนธ์

    : อาจารย ์ดร. สิวลี รัตนปัญญา อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์หลกั : อาจารย ์ดร. เดชา ป่ินแกว้ อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ร่วม

    บทคดัย่อ

    การศึกษาคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือและปัจจยัท่ีมีผลต่อความเจ็บปวดขอ้มือในพนกังานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดัเชียงใหม่ กลุ่มตวัอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคือพนักงานในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจังหวดัเชียงใหม่ จ านวน 69 คน จ าแนกเป็น กลุ่มท่ีให้การบริบาลแก่ผูป่้วย 41 คน กลุ่มงานเอกสาร 15 คน และกลุ่มงานท่ีตอ้งออกแรง 13 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้มูลไดแ้ก่ แบบสอบถามประกอบด้วยค าถาม 4 ส่วน คือ 1) ขอ้มูลทัว่ไป 2) ปัจจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัอาการปวดขอ้มือท่ีผูว้ิจยัดดัแปลงจากแบบสอบถามมาตรฐานท่ีใชใ้นการวิเคราะห์อาการผิดปกติของกลา้มเน้ือและกระดูก (Standardized Nordic Questionnaire) 3) อาการเจ็บปวดซ่ึงน ามาจากมาตรวดัความเจ็บปวดสากล และ 4) การตรวจร่างกายพิเศษทางระบบกระดูกและข้อ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าเฉล่ีย และร้อยละเพื่อหาความชุกของการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ใชก้ารวเิคราะห์การถดถอยโลจิสติก วเิคราะห์ความสัมพนัธ์ของปัจจยัท่ีมีผลต่อการเกิดการบาดเจ็บขอ้มือของพนกังานในโรงพยาบาล

    ผลการวิจัย จากข้อมูลทั่วไปพนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุต ่ ากว่า 30 ปี ถนดัมือขวา ไม่เคยประสบอุบติัเหตุขอ้มือหรือมือ และไม่มีอุปกรณ์ป้องกนัการบาดเจบ็ขณะท างาน ในส่วนของลกัษณะงานพบวา่ กลุ่มตวัอยา่งส่วนใหญ่มีอายงุานนอ้ยกวา่ 5 ปี ลกัษณะงานส่วนใหญ่เป็นงานท่ีให้การบริบาลแก่ผูป่้วย ระยะเวลาการท างานเฉล่ีย 6 วนัต่อสัปดาห์ ลกัษณะการใช้งานของมือหรือข้อมือนั้ น พบว่า มีการออกแรงมือต่อเน่ืองเกิน 10 คร้ัง/นาที ถึงร้อยละ 73.9

  • มีการกระดกขอ้มือซ ้ า ๆ ร้อยละ 66.7 มีการยกของหนักร้อยละ 53.6 มีการบิดหมุนข้อมือซ ้ า ๆ ร้อยละ 55.1 และลกัษณะงานนั้นเป็นงานท่ีตอ้งการความละเอียดและตอ้งใชค้วามแม่นย าถึงร้อยละ 72.5 ความชุกในการเกิดการบาดเจ็บบริเวณขอ้มือของพนกังาน พบวา่มีความชุกของการเจ็บปวดร้อยละ 44.9 การวิเคราะห์ถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อความเจ็บปวดของข้อมือหรือมือในพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดัเชียงใหม่ พบว่า ท่าทางการท างานท่ีใช้ขอ้มือมากมีผลต่อความเจ็บปวดบริเวณขอ้มือหรือมืออยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติ (p = 0.02) โดยท่ีผูท่ี้มีการใชง้านหรือท่าทางการท างานของขอ้มือหรือมือท่ีมากมีโอกาสปวดขอ้มือไดม้ากกวา่ 1.786 เท่า เม่ือเทียบกบั ผูท่ี้ใชง้านหรือท่ีท่าทางการท างานขอ้มือหรือมือนอ้ย

    ค าส าคัญ: ความชุก, การกดทบัเส้นประสาท, ความเจบ็ปวดขอ้มือ, พนกังานโรงพยาบาลเอกชน

  • The Title : Prevalence of Carpal Tunnel Syndrome and Factors Affecting Wrist Pain in Hospital Staffs in Chiang Mai Province

    The Author : Yaowapa Booncharoen Program : Public Health Thesis Advisors

    : Dr.Siwalee Rattanapunya Chairman : Dr.Decha Pinkeaw Member

    ABSTRACT

    The purpose of this research was to examine the prevalence of carpal tunnel syndrome and factors affecting wrist pain of the employee in a private hospital in Chiang Mai. The sample group was 69 employees of the private hospital in Chiang Mai, classified into 41 employees who working for patient care, 15 working for the office only and 13 using labor.

    The questionnaires were used for data collection. They were divided into four parts: 1) general information, 2) factors related to wrist pain, modified from standardized Nordic questionnaire, 3) painful symptoms of derived from internation pain scale measurement, and 4) special test of Orthopedics. The statistics using for data analysis consisted of mean and percentage, to find the prevalence of nerve compression in the wrists. The logistic regression analysis was used to analyze the relationship of factors affecting the occurrence of wrist injuries of the employees.

    Results: Most of the employees were females, under 30 years old, right hands, never having an accident whether wrist or hand, and no PPE (Personal Protection Equipment) when working. In terms of job description, it was found that most of them had less than five years of work and were involed in patient care.Their average working time was 6 days per week. It was found that 73.9 percent of them worked hard by using hands or wrists more than 10 times / minute and 66. 7 percent repeatedly lift their wrists up and down, 53. 6 percent lifted heavy stuff,

  • 55.1 percent were repeatedly twisting their wrists, and 72.5 percent of their jobs required care and precision.

    It was found that the prevalence of injuries at the wrists of the employees was 44.9 percent. The analysis of factors affecting the pain of the wrists or hands showed that the hard work of the wrists was statistically significant to the wrist or hand pain (p = 0.02) . Those using more wrists or hands had 1.786 times the opportunity to have wrist pain than those using less wrists or hands in their work. Keywords: Prevalence, Nerve Compression, Wrist Pain, Private Hospital Employees

  • กติติกรรมประกาศ

    วิทยานิพนธ์ฉบบัน้ีส าเร็จไดด้ว้ยความกรุณาจาก อาจารย ์ดร.สิวลี รัตนปัญญา อาจารย์ ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก และอาจารย์ ดร.เดชา ป่ินแก้ว อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ท่ีไดก้รุณาให้ค าปรึกษา ค าแนะน า และตรวจแกไ้ขขอ้บกพร่องต่าง ๆ อนัเป็นประโยชน์ต่อการวิจยัมาโดยตลอดจนส าเร็จเรียบร้อยเป็นอยา่งดี

    ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย ์ดร.วนัชยั เลิศวฒันวิลาศ ท่ีไดใ้ห้ค าปรึกษา แนะน า ข้อคิดเห็น ตรวจสอบและแก้ไขวิทยานิพนธ์ ตลอดจน รองศาสตราจารย์ ดร.สรา อาภรณ์ และอาจารย ์ดร.ฐิติรัช งานฉมงั คุณฐาปินุช กนัธิมาพร พยาบาลอาชีวอนามยั ท่ีกรุณาตรวจสอบขอ้มูลแบบสอบถามและใหค้ าแนะน าท่ีเป็นประโยชน์

    ขอขอบพระคุณ นายแพทย์อนุพงศ์ เรืองเดชอนันต์ ท่ีให้ความอนุเคราะห์ในด้านสถานท่ีและพนกังานในโรงพยาบาลเอกชนทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และขอขอบคุณ ผูท่ี้เก่ียวขอ้งในงานดา้นอ่ืน ๆ ท่ีไม่ไดก้ล่าวนาม ท่ีมีส่วนช่วยใหง้านวจิยัน้ีส าเร็จลุล่วงไปดว้ยดี

    ประโยชน์อนัพึงไดจ้ากการศึกษาในคร้ังน้ี ขอใหเ้ป็นกตเวทิตาแด่บิดา มารดา ครอบครัว ตลอดจนผูเ้ขียนหนงัสือและบทความต่าง ๆ ท่ีให้ความรู้แก่ผูว้ิจยั จนสามารถท าให้งานวิจยัน้ีส าเร็จไดด้ว้ยดี และเป็นตวัอยา่งการศึกษาส าหรับผูท่ี้สนใจต่อไป

    เยาวพา บุญเจริญ

  • สารบัญ

    หน้า บทคัดย่อ ........................................................................................................................................... ข ABSTRACT ..................................................................................................................................... ง กติติกรรมประกาศ............................................................................................................................ ฉ สารบัญ ............................................................................................................................................. ช สารบัญตาราง ................................................................................................................................... ฌ สารบัญภาพ ..................................................................................................................................... ญ บทที ่ 1 บทน า ..................................................................................................................................... 1

    ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา ........................................................................... 1 วตัถุประสงคข์องการวจิยั ................................................................................................. 3 ขอบเขตการวจิยั ................................................................................................................ 3 ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บจากการวจิยั ............................................................................ 4 นิยามศพัทเ์ฉพาะและนิยามปฏิบติัการ.............................................................................. 4

    2 เอกสารและงานวจัิยทีเ่กีย่วข้อง ............................................................................................. 6 โรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ ......................................................................... 6 ปัจจยัท่ีมีผลต่อการกดทบัของเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ ............................................... 22 งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง .......................................................................................................... 32 กรอบแนวคิดการวจิยั ..................................................................................................... 35

    3 วธีิด าเนินการวจัิย ................................................................................................................ 36 รูปแบบการวิจยั .............................................................................................................. 36 ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง ............................................................................................. 36 เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้มูล ......................................................................... 36 การเก็บรวบรวมขอ้มูล .................................................................................................... 39 การวเิคราะห์ขอ้มูล ......................................................................................................... 40

  • สารบัญ (ต่อ)

    หน้า บทที่ 4 ผลการวเิคราะห์ข้อมูล ......................................................................................................... 42

    ตอนท่ี 1 วเิคราะห์ขอ้มูลคุณลกัษณะส่วนบุคคล ............................................................. 42 ตอนท่ี 2 วเิคราะห์ขอ้มูลลกัษณะงาน และปัจจยัท่ีเก่ียวขอ้งท่ีมีผลต่อความเจบ็ปวดบริเวณ

    ขอ้มือ ของพนกังานในโรงพยาบาล ................................................................ 45 ตอนท่ี 3 ความชุกและอาการแสดงของการเจบ็ปวดบริเวณขอ้มือ .................................. 47 ตอนท่ี 4 วเิคราะห์ปัจจยัท่ีมีผลต่อความเจบ็ปวดบริเวณขอ้มือของพนกังานใน

    โรงพยาบาล ..................................................................................................... 49 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ..................................................................................... 50

    สรุปผลการวจิยั ............................................................................................................... 50 อภิปรายผล ..................................................................................................................... 52 ขอ้เสนอแนะ ................................................................................................................... 54

    บรรณานุกรม ................................................................................................................................... 57 ประวตัิผู้วจัิย .................................................................................................................................... 61 ภาคผนวก........................................................................................................................................62 ภาคผนวก ก รายช่ือผูเ้ช่ียวชาญในการตรวจสอบเคร่ืองมือในการวิจยั ..................................... 63 ภาคผนวก ข แบบสอบถามส าหรับการวจิยั .............................................................................. 64 ภาคผนวก ค ค่าความเช่ือมัน่ของแบบสอบถาม การตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา (Content Validity) ............................................................................................... 72

  • สารบัญตาราง ตารางที ่ หน้า

    2.1 แสดงอตัราการกระท าซ ้ า ๆ ในแต่ละส่วนของร่างกายท่ีอาจเป็นอนัตรายได ้................... 27 4.1 ขอ้มูลทัว่ไป (n = 69) ........................................................................................................ 42 4.2 ลกัษณะงาน (n = 69) ........................................................................................................ 45 4.3 ความชุกการเจบ็ปวดขอ้มือและลกัษณะการปวดขอ้มือ ................................................... 47 4.4 วเิคราะห์ปัจจยัท่ีมีผลต่อความเจบ็ปวดขอ้มือหรือมือของพนกังานในโรงพยาบาล

    เอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดัเชียงใหม่ (n = 69) .............................................................. 49

  • สารบัญภาพ ภาพที ่ หน้า

    2.1 กระดูกแขนส่วนปลาย ........................................................................................................ 8 2.2 กลา้มเน้ือชั้นต้ืนและชั้นลึกดา้นหนา้ปลายแขน ................................................................ 10 2.3 กลา้มเน้ือชั้นต้ืน ชั้นกลางและชั้นลึกดา้นหลงัปลายแขน ................................................. 11 2.4 หลอดเลือดแดงปลายแขน ................................................................................................ 12 2.5 หลอดเลือดด าปลายแขน .................................................................................................. 12 2.6 กระดูกฝ่ามือ มือ และน้ิวมือ ............................................................................................. 15 2.7 กลา้มเน้ือและเส้นเอน็ในมือดา้นหนา้และดา้นหลงั .......................................................... 16 2.8 เส้นประสาทในมือ ........................................................................................................... 17 2.9 การกดทบัของเส้นประสาทมีเดียนบริเวณขอ้มือ .............................................................. 20 2.10 กรอบแนวคิดในการวจิยั .................................................................................................. 35

  • บทที ่1

    บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

    ปัญหาการบาดเจ็บและเจ็บป่วยในระบบโครงร่างกระดูกและกลา้มเน้ือเป็นปัญหาท่ีส าคญัท่ีพบได้บ่อยและบางคร้ังส่งผลกระทบเร้ือรังต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของพนักงาน โดยสาเหตุหลักท่ีเกิดจากการประกอบอาชีพคือการสัมผสัปัจจัยเส่ียงทางการยศาสตร์ เช่น การท างานซ ้ าซาก ท่าทางการท างานท่ีไม่เหมาะ การเอ้ือมตวัหยิบของ บิดขอ้มือ หรือยกของหนกั เป็นต้น (สุดธิดา กรุงไกรวงศ์, ม.ป.ป.) จากรายงานสถิติการเจ็บป่วยท่ีเกิดจากการท างานของแรงงานในปี พ.ศ. 2557 พบผูป่้วยกลุ่มโรคกระดูกและกล้ามเน้ือจ านวน 47,061 ราย คิดเป็น อตัราป่วย 72.45 ราย ต่อ 100,000 คน ซ่ึงเพิ่มข้ึนจาก ปี พ.ศ. 2556 ท่ีพบผูป่้วยกลุ่มโรคกระดูกและกล้ามเน้ือจ านวน 21,985 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 34.02 ราย ต่อ 100,000 คน (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2557) โดยโรคในระบบโครงร่างกระดูกและกลา้มเน้ือท่ีพบบ่อยจากการใช้ขอ้มือท างานซ ้ าซาก คือโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel Syndrome)

    การศึกษาของพัทนัม (Putnum, 2003) อ ธิบายอาการหลักของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (Carpal Tunnel Syndrome) ท่ีมกัพบจากกรณีศึกษาเพศหญิง 37 ราย มีอาการชาท่ีเกิดข้ึนซ ้ า ๆ ในช่วงกลางคืนหรือตอนเช้า และฮนัท์ (Hunt) พบว่ามีความสัมพนัธ์ระหว่างการประกอบอาชีพท่ีมากเกินไปกับการเกิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (Carpal Tunnel Syndrome) เขาแสดงให้เห็นว่าการถูกกดทบัเส้นประสาทโดยเฉพาะเส้นประสาทสั่งการ เป็นปัจจัยส าคัญท่ีท าให้เกิดกล้ามเน้ือบริเวณโคนน้ิวโป้งลีบ นอกจากน้ีได้ศึกษาความสัมพนัธ์ระหว่างเส้นประสาทรับความรู้สึกกบัเส้นประสาทสั่งการ พบว่าผูป่้วยมีอาการชา ร่วมด้วย (Fagarasanu and Kumar, 2003) โดยมีรายงานการวิจยัอุบติัการณ์การเกิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือ พบว่า 1.5-3.98 ต่อประชากร 1,000 คน (พงศ์พิชญ์ แสนศรี, 2556) จากงานวิจยัผลกระทบต่อสุขภาพจากการใช้คอมพิวเตอร์ของพนักงานธนาคารพาณิชย ์จงัหวดัขอนแก่น พบว่า พนักงานมีความผิดปกติทางระบบกล้ามเน้ือถึงร้อยละ 91.1 และร้อยละ 36.7 ในกลุ่มน้ีมีอาการปวดแขนส่วนปลาย (เนสินี ไชยเอีย และคนอ่ืน ๆ, 2548) ซ่ึงก่อใหเ้กิดความร าคาญ

  • 2

    แก่ตวัพนกังานเองอีกทั้งเกิดความกงัวลวา่จะท างานไม่ดีเท่าท่ีควรการขาดงานเพื่อรักษาตวั ซ่ึงโรคเหล่าน้ีเป็นการบาดเจ็บสะสมซ่ึงจะตอ้งรักษาอยา่งต่อเน่ือง และหากพนกังานยงักลบัมาท างานเดิม ท่าทางเดิมซ ้ า ๆ โอกาสท่ีจะไม่หายหรือกลบัมาเป็นซ ้ ายิ่งเพิ่มข้ึน โดยการรักษาตั้งแต่ระยะเร่ิมตน้เป็นเร่ืองท่ีส าคญัมาก เน่ืองจากเป็นช่วงท่ีท าให้การรักษาจะไดผ้ลดีท่ีสุดและไม่เส่ียงต่อความพิการ หรือกลา้มเน้ือถูกท าลายอยา่งถาวร (คณิตศ ์สนัน่พานิช, 2550)

    ในส่วนของปัจจยัท่ีส่งเสริมใหเ้กิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือจากงานวิจยัท่ีผ่านมาได้มีการศึกษาเก่ียวกบัความถ่ีของการเกิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือในพนกังาน พบวา่เกิดจากปัจจยัของแต่ละบุคคล เม่ือคอมพิวเตอร์เขา้มามีบทบาทส าคญัในการท างาน แมว้่าจะยงัเป็นท่ีถกเถียงกนัในเร่ืองของสาเหตุการเกิดโรค แต่บางการศึกษาเช่ือว่าการเกิดโรค การกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือนั้นเกิดจากการใชข้อ้มือซ ้ า ๆ ในท่างอขอ้มือ (Fagarasanu and Kumar, 2003) รวมถึงการสัมผสัแป้นพิมพ์ท่ีรุนแรง (Rhode, 2016) นอกจากน้ียงัมีรายงานว่าแรงงานในกลุ่มงานอุตสาหกรรมมีความชุกและอุบติัการณ์ของโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือมากกวา่ในประชากรทัว่ไป อีกทั้งยงัมีปัจจยัความเครียดในระดบัสูงทั้งดา้นกายภาพและจิตใจ (Roquelaure, 2001) และบางการศึกษายงัพบวา่พนกังานท่ีท างานประจ านั้นมีความชุกของการเกิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ ร้อยละ 31.0 ในขณะท่ีพนกังานนอกเวลามีความชุกในการเกิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ ร้อยละ 19.3 (Bonfiglioli, 2006)

    ส าหรับการศึกษาความชุกและปัจจยัท่ีมีผลต่อการเกิดการกดทบัเส้นประสาทมีเดียน บริเวณอุโมงค์อุ้งมือในพนักงานในพนักงานโรงพยาบาลของรัฐท่ีศึกษาในกลุ่มคนงาน ช่าง คนครัว และพนกังานเปล โดยการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยพบว่าเขา้เกณฑ์ร้อยละ 62 (ผูป่้วย/กลุ่มตวัอย่าง) แต่แสดงอาการอยูร้่อยละ 40 (ผูป่้วย/กลุ่มตวัอยา่ง) และพบวา่ปัจจยัท่ีมีความสัมพนัธ์กบัการเกิดการกดทบัเส้นประสาทมีเดียนบริเวณอุโมงคอุ์ง้มือ ไดแ้ก่ เพศหญิงมีโอกาสเป็นโรคมากกวา่เพศชาย 3.4 เท่า คนท่ีอายุมากกว่า 45 ปี มีโอกาสเป็นมากกว่าคนท่ีอายุน้อยกว่า 45 ปี ถึง 10.1 เท่า คนท่ีมีดชันีมวลกาย 25-29.9 มีโอกาศเป็นโรคมากกวา่คนท่ีมีดชันีมวลกายนอ้ยกวา่หรือเท่ากบั 24.9 เป็น 2.5 เท่า ระยะเวลาการท างานนานกว่า 12 ปีมีโอกาสเป็นโรคได้มากกว่าหรือเท่ากับ 12 ปี เป็น 2.5 เท่า แผนกคนครัวมีโอกาศเป็นมากท่ีสุดท่ี 18 เท่าของพนักงานเปล แต่ทั้ งน้ีไม่พบความสัมพนัธ์ระหวา่งลกัษณะของการใชง้านขอ้มือประจ ากบัการเป็นโรค แต่จากการศึกษาน้ีพบวา่ ยงัมีพนกังานเกือบคร่ึงหน่ึงของพนกังานท่ีตรวจวดัไฟฟ้าวินิจฉัยนั้นยงัไม่แสดงอาการ (สุพรรณี ปังสุวรรณ, 2016) ซ่ึงหากพนกังานไม่ตระหนกัถึงความส าคญัของโรคและปัจจยัเส่ียงต่าง ๆ ก็อาจน่ิงนอนใจและท าให้เกิดอาการท่ีรุนแรงเพิ่มข้ึนจนอาจไม่สามารถท างานในลกัษณะงานเดิมได้

  • 3

    และโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือเป็นโรคหน่ึงท่ีมีค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคสูง (พงศพ์ิชญ ์แสนศรี, 2556)

    อย่างไรก็ตาม การศึกษาท่ีผ่านมายงัไม่มีการศึกษาในโรงพยาบาลเอกชนท่ีครอบคลุม ทุกอาชีพโดยจากการเปรียบเทียบโรงพยาบาลของรัฐและเอกชนนั้น พบวา่ ผูป่้วยมีความคาดหวงัในสมรรถนะการให้บริการของเอกชนเป็นล าดับแรก รองลงมาคือความเช่ือถือและไว้วางใจ ในการบริการ และความกระตือรือร้นในการให้บริการตามล าดบั ดงันั้น บุคลากรเอกชนมกัจะมีภาระงานท่ีหนกัและมีความเครียดสะสม

    จากขอ้มูลขา้งตน้ผูว้ิจยัจึงสนใจศึกษาความชุกของโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel Syndrome) และปัจจยัในการเกิดโรคในกลุ่มพนกังานในโรงพยาบาลเอกชน เพื่อเป็นขอ้มูลในการพฒันานวตกรรมหรือการปรับเปล่ียนพฤติกรรมต่อไป

    วตัถุประสงค์ของการวจัิย

    1. เพื่อศึกษาความชุกในการบาดเจบ็ระบบโครงร่างและกลา้มเน้ือในส่วนรยางคส่์วนบนหรือขอ้มือในกลุ่มบุคลากรในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดัเชียงใหม่

    2. เพื่อศึกษาปัจจัย ท่ีมีผลต่อการเกิดความเจ็บปวดบริเวณข้อมือของพนักงาน ในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดัเชียงใหม่

    ขอบเขตการวจัิย

    ขอบเขตเนือ้หา การศึกษาคร้ังน้ีท าการส ารวจความชุกของการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ

    ในพนกังานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดัเชียงใหม่เป็นงานวิจยัเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยอาศยัแบบสอบถามทัว่ไป ลกัษณะงาน การประเมินความเจ็บปวดและการทดสอบวินิจฉัยโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือด้วยวิธีเฉพาะทางฟาเลนส์แมนนูเวอร์ (Phalen’s Manuver) และปัจจยัในการเกิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel Syndrome)

    ขอบเขตด้านประชากรและพืน้ที ่ ประชากรและพื้นท่ีท่ีศึกษาความชุกของการบาดเจ็บบริเวณข้อมือของพนักงาน

    ในโรงพยาบาลคือ พนกังานประจ าทุกคนในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในอ าเภอเมือง จงัหวดัเชียงใหม่ จ านวน 86 คน ขอ้มูลวนัท่ี 31 มกราคม พ.ศ. 2560 แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ไดแ้ก่ กลุ่มท่ี 1 ผูใ้หก้ารบริบาลแก่ผูป่้วยประกอบดว้ย แพทย ์ทนัตแพทย ์พยาบาล ผูช่้วยพยาบาล ผูช่้วยเหลือผูป่้วย พนกังานเปล กูชี้พ นกัวิชาการสาธารณสุข นกักายภาพบ าบดั นกัรังสีเทคนิค นกัเทคนิคการแพทย ์

  • 4

    เภสัชกร แพทยแ์ผนไทย 55 คน กลุ่มท่ี 2 พนกังานส านกังาน ประกอบดว้ย ทรัพยากรบุคคล ธุรการ เลขานุการ การตลาด เวชระเบียน บญัชี การเงิน การคลงั พนกังานส่งเอกสาร สารสนเทศ บริหาร 20 คน กลุ่มท่ี 3 ฝ่ายสนับสนุนบริการ ประกอบด้วย โภชนากร พ่อครัว แม่บา้นท าความสะอาด แม่บา้นซกัฟอก พอ่บา้น ช่างซ่อมบ ารุง 11 คน

    ขอบเขตด้านเวลา การศึกษาวิจยัคร้ังน้ีท าการเก็บขอ้มูลระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 – กุมภาพนัธ์

    พ.ศ. 2561 รวมระยะเวลา 12 เดือน

    ประโยชน์ทีค่าดว่าจะได้รับจากการวจัิย 1. พนกังานโรงพยาบาลทราบความชุกของโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือ

    (Carpal Tunnel Syndrome) และปัจจยัท่ีก่อให้เกิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel Syndrome) สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการป้องกนัและ ดูแลตนเองเพื่อลดอตัราการเกิดโรค หรือการรักษาในระยะแรกไดอ้ยา่งรวดเร็ว

    2. บุคลากรทางการแพทย์ทราบถึงปัจจัยการเกิดโรคและสามารถหาแนวทาง ในการรักษาหรือแนะน าผูป่้วยได ้

    3. หน่วยงานสามารถน าองค์ความรู้ไปใช้ในการปรับเปล่ียนสถานีงานเพื่อลด การเกิดโรคและเพื่อสุขภาวะท่ีดีของพนกังาน ลดอตัราการลางานเพื่อรักษาตวั

    นิยามศัพท์เฉพาะและนิยามปฏิบัติการ

    1. กลุ่มอาการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (Carpal Tunnel Syndrome) หมายถึง โรคท่ีมีการกดทบัทางเส้นประสาทมีเดียนในข้อมือ ขา้งใดขา้งหน่ึงหรือทั้ง 2 ขา้ง อาการแสดง มีความเจ็บปวดตั้งแต่ข้อมือ ฝ่ามือ น้ิวโป้ง น้ิวช้ี น้ิวกลาง และคร่ึงหน่ึงของน้ิวนางด้านติดกับน้ิวกลาง บางคร้ังมีอาการชาในบริเวณดงักล่าว รวมถึงการอ่อนแรงของมือ และกลา้มเน้ือฝ่ามือลีบ

    2. ความชุก (Prevalence) หมายถึง จ านวนกรณีผูท่ี้เป็นโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel Syndrome) ทั้งหมดในประชากร ณ เวลาหน่ึง ๆ หรือกล่าวคือ จ านวนผูป่้วยในประชากรหน่ึง ๆ หารดว้ยจ านวนประชากรทั้งหมดท่ีสนใจ ค่าน้ีใช้ประมาณว่าโรคน้ีเกิดบ่อยมากเพียงใดในประชากรท่ีช่วงเวลาหน่ึง ๆ ซ่ึงช่วยให้ทราบความน่าจะเป็นในการวินิจฉัยโรค (สมาคมระบาดวทิยาประเทศไทย, 2557)

    3. อาการเจ็บปวดของข้อมือ หมายถึง พนักงานในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจังหวดัเชียงใหม่ท่ีท าแบบสอบถามทั่วไปโดยเฉพาะบริเวณแขนส่วนปลาย ข้อมือ และมือ

  • 5

    แลว้มีอาการปวดระดบั 1 ข้ึนไป และเม่ือตรวจร่างกายโดยวิธีการทดสอบวินิจฉัยโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Phalen’s Maneuver) แลว้ไดผ้ลบวก (Positive)

    4. ระดับความเจ็บปวด หมายถึง ความเจ็บปวดของข้อมือท่ีเกิดข้ึนในพนักงาน ในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจังหวดัเชียงใหม่ โดยวดัจากแบบวดัความเจ็บปวดแบบ (Pain Scale) มีตัวเลขเป็นมาตรวดั อ้างอิงจากมาตรวดัความเจ็บปวดแบบรูปภาพแสดงสีหน้า โดยมีตวัเลขก ากับ (Wong-Baker Faces Pain Rating Scale) ค.ศ. 2010 มีค่า 0-10 ซ่ึง 0 หมายถึง ไม่มีความปวดเลย เพิ่มข้ึนจนถึง 10 หมายถึง ปวดมากท่ีสุดจนทนไม่ไหว

    5. โรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจงัหวดัเชียงใหม่ เป็นโรงพยาบาลเอกชนทัว่ไปขนาด 120 เตียง ตั้ งอยู่ในเขตอ าเภอเมือง จังหวดัเชียงใหม่ มีพนักงานประจ าทั้ งหมด 86 คน รองรับ การดูแลผูป่้วยในพื้นท่ี 25,000 ราย

  • บทที ่2

    เอกสารและงานวจิัยทีเ่กีย่วข้อง

    การศึกษาความชุกของการบาดเจ็บกลุ่มโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ในพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงในจังหวดัเชียงใหม่น้ี เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ในการส ารวจความชุกของโรคและปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุก ในการบาดเจบ็ โดยมีขอบเขตการศึกษาเอกสารและงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้งดงัน้ี

    1. โรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel Syndrome) 1.1 ความหมายโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel Syndrome) 1.2 กายวภิาคศาสตร์ของแขนส่วนปลายและมือ 1.3 พยาธิสภาพของการเกิดโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel

    Syndrome) 1.4 การรักษาโดยทัว่ไปของโรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ

    2. ปัจจยัท่ีมีผลต่อการกดทบัของเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ 3. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง

    โรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ความหมายของความผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อจากการท างานและ

    การกดทบัเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ความผิดปกติของระบบกระดูกและโครงร่างกล้ามเน้ือเน่ืองจากการท างาน (Work-

    related Musculoskeletal Disorders: WMSDs) หมายถึง ความผิดปกติของเน้ือเยื่อโครงร่างของร่างกาย ไดแ้ก่ กระดูก กลา้มเน้ือ ขอ้ต่อเอ็นกลา้มเน้ือ (Tendon) และเอ็นกระดูก (Ligament) รวมถึงเส้นประสาท ซ่ึงมกัพบว่ามีความเก่ียวขอ้งกบัการท างานในสภาพแวดลอ้ม หรือสภาพการท างาน ซ่ึงเป็นปัจจัยท่ีก่อให้เกิดความผิดปกตินั้ น ปัญหาน้ีมักเกิดข้ึนแบบสะสมเร้ือรัง เช่น เกิดจาก การออกแรงกระท าซ ้ า ๆ หรือลกัษณะท่าทางการท างานท่ีไม่เหมาะสมต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้เกิดอาการเจ็บปวดเฉพาะท่ีและจ ากัดความเคล่ือนไหวเป็นสาเหตุให้ความสามารถ

  • 7

    ในการท างานลดนอ้ยลง นอกจากน้ี การท ากิจกรรมต่าง ๆ ยงักระตุน้ให้เกิดอาการท่ีรุนแรงข้ึนดว้ยความผิดปกติของระบบกล้ามเน้ือและกระดูกโครงร่างเน่ืองจากจดัเป็นโรคท่ีเกิดจากการท างาน ชนิดหน่ึง ซ่ึงในสภาพความเป็นจริงสาเหตุของโรคน้ีไม่ไดเ้กิดจากการท างานเท่านั้นแต่มกัเกิดจากปัจจยัเหตุหลายอยา่งรวมกนั รวมทั้งปัจจยัเหตุท่ีอยูน่อกงานดว้ยการวนิิจฉยัโรคน้ีจึงไม่สามารถช้ีชดั ลงไปได้ว่าเกิดจากปัจจยัใดปัจจยัหน่ึง ในทางการแพทย์จึงจดัให้โรคหรือความผิดปกติน้ีเป็น โรคอันเก่ียวเน่ืองจากการท างาน (Work-related Disease) และได้ก าหนดโรคน้ีไวใ้นประกาศกระทรวงแรงงาน เร่ืองก าหนดชนิดของโรคซ่ึงเกิดข้ึนตามลกัษณะหรือสภาพของงานหรือเน่ืองจากการท างาน ขอ้ก าหนดชนิดของโรคซ่ึงเกิดข้ึนตามลกัษณะ หรือสภาพของงาน หรือเน่ืองจากการท างาน ในกลุ่มโรคระบบกลา้มเน้ือและโครงสร้างกระดูกท่ีเกิดข้ึนเน่ืองจากการท างานหรือสาเหตุจากลักษณะงานท่ีจ าเพาะหรือมีปัจจยัเส่ียงสูงในส่ิงแวดล้อมการท างานภายใต้พระราชบญัญติั เงินทดแทน พ.ศ. 2537

    นอกจากการเรียกช่ือโดยรวมของความผดิปกติของระบบกลา้มเน้ือและกระดูกโครงร่างวา่โรคระบบกลา้มเน้ือและกระดูก (Musculoskeletal Disorders) แลว้ยงัมีค าอ่ืน ๆ ท่ีใชใ้นความหมายเดียวกนัได้อีกโดยเน้นสาเหตุของการเกิดความผิดปกตินั้น ๆ เช่น ความผิดปกติจากการบาดเจ็บสะสมเร้ือรัง (Cumulative Trauma Disorders: CTDs) การบาดเจ็บจากการเคล่ือนไหวซ ้ า ๆ (Repetitive Strain Injury: RSI) และกลุ่มอาการท่ีเกิดจากการออกแรงท างานเกินก าลงั (Occupational Overused Syndrome: OOS)

    คาร์ปาล ทนัเนล (Carpal Tunnel) เป็นทางผ่านของเส้นประสาท และเอ็นของน้ิวมือ ในบริเวณขอ้มือ มีลกัษณะคลา้ยอุโมงค ์โดยมีเส้นประสาทช่ือ เส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve) เอ็นขนาดเล็ก จ านวน 9 เส้น ส าหรับงอน้ิวมือลอดผ่าน เม่ือเราหงายขอ้มือข้ึนด้านล่างของอุโมง จะเป็นกระดูกขอ้มือ (Carpal Bones) ส่วนบน ไดแ้ก่ กระดูกทราพีเซียม (Trapezium Bone) กระดูก ทราพีซอยด์ (Trapezoid Bone) กระดูกแคปปิเตต (Capitate Bone) กระดูกฮาเมต (Hamate Bone) หรือด้านหน้าของอุโมงค์ (Tunnel) จะเป็นพงัผืดหนาและแข็งแรง เรียกว่า อุโมงค์ใตแ้ผ่นพงัผืด (Transverse Ligament) ท าหน้าท่ีปกป้องเส้นประสาท และเส้นเอ็นดงักล่าว เส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve) จากแขนจะทอดสู่ขอ้มือและสู่มือ โดยทอดผ่านอุโมงในบริเวณขอ้มือ ท าหน้าท่ีควบคุมความรู้สึก (Feeling) ในบริเวณฝ่ามือดา้นหวัแม่มือ น้ิวช้ี และน้ิวกลาง และท าหนา้ท่ีควบคุมการเคล่ือนไหวกลา้มเน้ือท่ีอยูใ่นบริเวณฐานของหวัแม่มือ เส้นเอ็นทั้ง 9 เส้น ท่ีท าหนา้ท่ีงอน้ิวมือ และหัวแม่มือต่างลอดผ่านอุโมงค์ใต้แผ่นพงัผืด (Transverse Ligament) เรียกช่ือเอ็นเหล่าน้ีว่า เอ็นกลา้มเน้ือท่ีใชใ้นการงอ (Flexor Tendons) ไดแ้ก่ เฟลกเซอร์ โพลิซิส ลองกสั (Flexer Pollicis

  • 8

    Longus) เฟลกเซอร์ ดิจิโทรุม โพรฟันดสั (Flexor Digitirum Profundus) และเฟลกเซอร์ ดิจิโทรุม ซุปเปอร์ฟิเชียลิส (Flexer Digitorum Superficialis)

    จะเห็นว่าทางเดินของเส้นประสาทดังกล่าว นอกจากจะท าหน้าท่ีเป็นทางผ่านของเส้นประสาท และเส้นเอน็แลว้ มนัยงัท าหนา้ท่ีปกป้องอวยัวะดงักล่าวดว้ย แต่เน่ืองจากช่องทางเดินดงักล่าวเป็นช่อง (Space) ท่ีมีเน้ือคงท่ีหากมีความผิดปกติบางอย่างในบริเวณดงักล่าวเกิดข้ึน เช่น เยื่อหุ้มเอ็น (Synovium) เกิดอกัเสบ และบวมข้ึนมา ย่อมเป็นเหตุให้ช่องดงักล่าวแคบลง ยงัผลให้เส้นประสาทท่ีลอดผ่านถูกบีบรัด จนเกิดมีอาการชา ปวด ซ่ึงเรียกกลุ่มอาการน้ีว่า โรคการกดทบัเส้นประสาทบริเวณขอ้มือ (Carpal Tunnel Syndrome) (Vatchainum, 2014)

    กายวภิาคศาสตร์ของแขนส่วนปลายข้อมือ และมือ ปลายแขนหรือแขนท่อนปลาย (Forearm) เป็นโครงสร้างส่วนหน่ึงของรยางค์บน

    (Upper Limb) อยูร่ะหวา่งขอ้ศอกและขอ้มือ ซ่ึงจะต่างจากแขนหรือตน้แขน (Arm หรือ Upper Arm) ท่ีในทางกายวภิาคจะนบัจากหวัไหล่ลงมาถึงแค่ขอ้ศอก

    ปลายแขนประกอบดว้ยกระดูกยาว 2 ช้ิน คือ กระดูกเรเดียส (Radius) และกระดูกอลันา (Ulna) ประกอบกันเป็นข้อต่อเรดิโออัลนา (Radioulnar Joint) โดยมีเอ็นเยื่อระหว่างกระดูก (Interosseous Membrane) เ ช่ือมระหว่างกระดูกสองช้ินน้ี ปลายแขนจะปกคลุมด้วยผิวหนัง โดยพื้นผวิส่วนหนา้มกัมีขนนอ้ยกวา่พื้นผวิส่วนหลงั

    ภาพที ่2.1 กระดูกแขนส่วนปลาย ทีม่า: Josephbones, 2010-2015

  • 9

    ปลายแขนประกอบดว้ยกลา้มเน้ือจ านวนมากมายในกลุ่มกลา้มเน้ืองอน้ิว (Flexors) และกลา้มเน้ือเหยยีดน้ิว (Extensors) กลา้มเน้ืองอขอ้ศอก (กลา้มเน้ือเบรคิโอเรเดียลิส (Brachioradialis)) และกลุ่มกลา้มเน้ือคว ่ามือ (Pronators) และหงายมือ (Supinators) ในภาพตดัขวางของปลายแขนอาจแบ่งพื้นท่ีของปลายแขนออกเป็น 2 ส่วน ไดแ้ก่ พื้นท่ีดา้นหลงัปลายแขน (Posterior Compartment) ซ่ึงมีกล้ามเน้ือกลุ่มเหยียดมือซ่ึงเล้ียงโดยเส้นประสาทเรเดียล (Radial Nerve) และพื้นท่ีด้านหน้าปลายแขน (Anterior Compartment) ซ่ึงมีกล้ามเน้ือกลุ่มงอมือซ่ึงส่วนใหญ่เล้ียงโดยเส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve) และยงัมีเส้นประสาทอลันา (Ulnar Nerve) ซ่ึงวิง่ไปตามความยาวของปลายแขน

    กลุ่มกลา้มเน้ือชั้นต้ืนดา้นหน้าปลายแขน ไดแ้ก่ กลา้มเน้ือเฟลกเซอร์คาร์ไพเรเดียลิส (Flexor Carpi Radialis : FCR) เล้ียงโดยเส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve) กลา้มเน้ือปาล์มาริส ลองกสั (Palmaris Longus : PL) เล้ียงโดยเส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve) กลา้มเน้ือเฟลกเซอร์ คาร์ไพ อลันาริส (Flexor Carpi Ulnaris: FCU) เล้ียงโดยเส้นประสาทอลันา (Ulnar Nerve) กลา้มเน้ือโปรเนเตอร์ เทเรส (Pronator Teres: PT) เล้ียงโดยเส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve) กลา้มเน้ือ เฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซุเปอร์ฟิเชียลิส (Flexor Digitorum Superficialis: FDS) เล้ียงโดยเส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve)

    กลุ่มกล้ามเน้ือชั้ นลึกด้านหน้าปลายแขน ได้แก่ กล้ามเน้ือเฟลกเซอร์ดิจิทอรุม โปรฟันดสั (Flexor Digitorum Profundus: FDP) เล้ียงโดยเส้นประสาทมีเดียนและอลันา (Median Nerve& Ulnar Nerve) กล้ามเ น้ือเฟลกเซอร์ พอลิซิส ลองกัส (Flexor Pollicis Longus: FPL) เล้ียงโดยเส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve) กล้ามเน้ือโปรเนเตอร์ ควอดราตัส (Pronator Quadratus: PQ) เล้ียงโดยเส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve)

  • 10

    ภาพที ่2.2 กลา้มเน้ือชั้นต้ืนและชั้นลึกดา้นหนา้ปลายแขน ทีม่า: Josephbones, 2010-2015 กลุ่มกล้ามเ น้ือชั้ น ต้ืนด้านหลังปลายแขน ได้แก่ กล้ามเ น้ือเบรคิโอเร เ ดีย ลิส

    (Brachioradialis) เล้ียงโดยเส้นประสาทเรเดียล (Radial Nerve) กล้ามเน้ือเอกซ์เทนเซอร์ คาร์ไพ เรเดียลิส ลองกสั (Extensor Carpi Radialis Longus: ECRL)เล้ียงโดยเส้นประสาทเรเดียล (Radial Nerve) กลา้มเน้ือเอกซ์เทนเซอร์ คาร์ไพ เรเดียลิส เบรวิส (Extensor Carpi Radialis Brevis: ECRB) กลา้มเน้ือเอกซ์เทนเซอร์ ดิจิทอรุม (Extensor Digitorum: ED) กลา้มเน้ือเอกซ์เทนเซอร์ ดิจิไต มินิไม (Extensor Digiti Minimi : EDM) กล้ามเน้ือเอกซ์เทนเซอร์ คาร์ไพ อัลนาริส (Extensor Carpi Ulnaris: ECU) ทั้งหมดเล้ียงโดยเส้นประสาทเรเดียล (Radial Nerve)

  • 11

    กลุ่มกล้ามเน้ือชั้นกลางและชั้นลึกด้านหลงัปลายแขน ได้แก่ กล้ามเน้ือแอบดกัเตอร์ พอลิซิส ลองกัส (Abductor Pollicis Longus:APL) กล้ามเน้ือเอกซ์เทนเซอร์ พอลิซิส เบรวิส (Extensor Pollicis Brevis: EPB) กล้ามเน้ือเอกซ์เทนเซอร์ พอลิซิส ลองกัส (Extensor Pollicis Longus: EPL) กล้ามเน้ือเอกซ์เทนเซอร์ อินดิซิส (Extensor Indicis: EI) กล้ามเน้ือสุพิเนเตอร์ (Supinator) กล้ามเน้ือแอนโคเนียส (Anconeus) ทั้ งหมดเล้ียงโดยเส้นประสาทเรเดียล (Radial Nerve)

    ภาพที ่2.3 กลา้มเน้ือชั้นต้ืน ชั้นกลางและชั้นลึกดา้นหลงัปลายแขน ทีม่า: University of Washington, 2003-2004 หลอดเลือดแดงเรเดียล (Radial Artery) และหลอดเลือดแดงอลันา (Ulnar Artery) และ

    แขนงต่าง ๆ ให้เลือดไปเล้ียงปลายแขน หลอดเลือดเหล่าน้ีมกัจะวิ่งไปบนด้านหน้าของกระดูกเรเดียสและอัลนาลงไปตลอดปลายแขน หลอดเลือดด าชั้ นผิวหลัก ๆ ของปลายแขน ได้แก่ หลอดเลือดด าเซฟาลิค (Cephalic Vein) หลอดเลือดด ากลางปลายแขน (Median Antebrachial Vein) และหลอดเลือดด าเบซิลิค (Basilic Vein) หลอดเลือดด า เหล่าน้ีสามารถน ามาใส่หลอดคา (Cannularisation) หรือใชเ้จาะเลือด (Venipuncture) แต่แพทยม์กัจะใชก้ารเจาะเลือดจากหลอดเลือดด าในแอ่งแขนพบั (Cubital Fossa) มากกวา่

  • 12

    ภาพที ่2.4 หลอดเลือดแดงปลายแขน ทีม่า: Jones, 2017

    ภาพที ่2.5 หลอดเลือดด าปลายแขน ทีม่า: Farlex Inc, 2003-2017

  • 13

    มือ (Hand) คือ อวยัวะส่วนหน่ึงของร่างกายอยู่ต่อแขน ส าหรับจบั หยิบ ส่ิงของต่าง ๆโครงกระดูกของมือมนุษยมี์ทั้งหมด 27 ช้ิน โดยแบ่งเป็นกระดูกขอ้มือมีทั้งหมด 8 ช้ิน อยูเ่รียงติดกนัเป็นแถว ซ่ึงเช่ืองโยงกบักระดูกแขนกระดูกขอ้มือ (Carpal Bones; Carpus) เป็นกลุ่มของกระดูกช้ินเล็ก ๆ ท่ีเรียงตัวอยู่ระหว่างกระดูกของส่วนปลายแขนและกระดูกฝ่ามือ (Metacarpal Bones) และเป็นกระดูกท่ีประกอบกันเป็นส่วนประกอบหลกัของข้อมือ (Wrist) กระดูกส่วนใหญ่ของ กลุ่มกระดูกขอ้มือจะมีรูปร่างคลา้ยลูกเต๋า โดยท่ีพื้นผิวทางดา้นหลงัมือ (Dorsal Surface) และฝ่ามือ (Palmar Surface) จะมีลกัษณะขรุขระเน่ืองจากมีเอ็นและปลอกหุ้มเอ็น (Tendon Sheath) พาดผ่าน ขณะท่ีพื้นผวิดา้นอ่ืน ๆ จะค่อนขา้งเรียบเพื่อต่อกบักระดูกช้ินอ่ืน ๆ ไดอ้ยา่งสนิทส าหรับในมนุษย์จะมีกระดูกขอ้มือ จ านวน 8 ช้ิน ซ่ึงจะสามารถแบ่งออกไดเ้ป็น 2 กลุ่ม คือกระดูกขอ้มือท่ีติดต่อกบักระดูกเรเดียส จะเรียกวา่ กระดูกขอ้มือแถวแรก (Proximal Row) ซ่ึงมีจ านวน 4 ช้ิน ส่วนอีกกลุ่มจะติดต่อกบักระดูกฝ่ามือ จะเรียกวา่กระดูกขอ้มือแถวหลงั (Distal Row) ซ่ึงมีจ านวน 4 ช้ินเช่นกนั

    กระดูกข้อมือแถวแรกจะติดต่อกับกระดูกเรเดียส และกระดูกข้อมือในแถวหลัง ซ่ึงไดแ้ก่กระดูกสแคฟฟอยด์ (Scaffoid Bone) เป็นกระดูกขอ้มือแถวแรกท่ีอยูท่างดา้นน้ิวหัวแม่มือ และเป็นกระดูกช้ินท่ีใหญ่ท่ีสุดของแถวแรก เน่ืองจากมีรูปร่างงอเล็กน้อยคลา้ยตวัเรือจึงเป็นท่ีมาของช่ือกระดูกสแคฟฟอยด์ (Scaphoid) ซ่ึงในภาษาลาตินแปลว่า รูปเรือ แม้ว่าการแตกหักของกระดูกสแคฟฟอยด์จะเกิดไม่บ่อยนัก แต่เม่ือเกิดการบาดเจ็บของข้อมือ มักจะพบว่ากระดูก สแคฟฟอยด์จะได้รับความเสียหาย อีกทั้งยงัเป็นกระดูกท่ีมีการซ่อมแซมส่วนท่ีเสียหายได้ช้า เน่ืองจากมีระบบเลือดไปเล้ียงไม่มาก ดังนั้นเม่ือเกิดการบาดเจ็บของกระดูกช้ินน้ีจึงต้องรักษาโดยเร็ว เพื่อป้องกนัไม่ให้เกิดอาการแทรกซ้อนจากการท่ีขอ้มือผิดรูปกระดูกลูเนท (Lunate Bone) กระดูกลูเนทเป็นกระดูกข้อมือแถวแรกท่ีวางตวัอยู่ตรงกลางของข้อมือ และมีรูปร่างโค้งคล้ายพระจันทร์ โดยจะโค้งนูนไปทางกระดูกเรเดียส และส่วนเวา้ของกระดูกน้ีจะรับกับกระดูก แคปปิเตต (Capitate Bone) ซ่ึงอยู่แถวหลงักระดูกไตรกีตรัล (Triquetral Bone) กระดูกไตรกีตรัลเป็นกระดูกขอ้มือแถวแรกท่ีอยูท่างดา้นน้ิวกอ้ย และมีรูปร่างคลา้ยสามเหล่ียม ซ่ึงพื้นผิวทั้งสามดา้นจะติดต่อกับกระดูกข้อมือช้ินอ่ืน ๆ ท่ีเด่นชัดท่ีสุดคือรอยบุ๋มรูปวงรีท่ีอยู่บนพื้นผิวด้านหน้า ซ่ึงเป็นบริเวณติดต่อกบักระดูกพิสิฟอร์ม (Pisiform Bone) กระดูกพิสิฟอร์มเป็นกระดูกช้ินเล็ก ๆ ท่ีวางอยูท่ี่แถวหน้าของกระดูกขอ้มือ และเป็นกระดูกแบบเซซามอยด์ (Sesamoid Bone) แบบหน่ึง นั่นคือเป็นกระดูกท่ีเกิดจากการสะสมแคลเซียมของเอ็นจนเป็นกระดูกท่ีฝังตัวอยู่ในเส้นเอ็น เช่นเดียวกบักระดูกสะบา้ (Patella) ของขอ้เข่า (Knee Joint) บนพื้นผิวของกระดูกช้ินน้ีจะมีรอยท่ีติดต่อกบักระดูกไตรกีตรัลเป็นจุดเด่น

  • 14

    กระดูกข้อมือในแถวหลังจะต่อระหว่างกระดูกข้อมือในแถวแรก กับกระดูกฝ่ามือ ซ่ึงไดแ้ก่ กระดูกทราพีเซียม (Trapezium Bone) เป็นกระดูกขอ้มือแถวหลงัท่ีอยูท่างดา้นน้ิวหวัแม่มือ และมีพื้นท่ีส่วนใหญ่ติดต่อโดยตรงกบักระดูกฝ่ามือช้ินท่ี 1 (Metacarpus I) และกระดูกสแคฟฟอยด์ (Scaffoid Bone) ท่ีส าคญัคือบนพื้นผิวดา้นฝ่ามือของกระดูกช้ินน้ี จะมีร่องท่ีเป็นทางผ่านของเอ็นจากกลา้มเน้ือเฟลกเซอร์ คาร์ไพ เรเดียลิส (Flexor Carpi Radialis Muscle) และพื้นผิวดา้นน้ียงัเป็นจุดเกาะตน้ของกลา้มเน้ือท่ีใชใ้นการเคล่ือนไหวของน้ิวหัวแม่มือ ซ่ึงไดแ้ก่กลา้มเน้ือออพโพเนนส์ พอลิซิส (Opponens Pollicis) กล้ามเน้ือแอบดักเตอร์ พอลิซิส เบรวิส (Abductor Pollicis Brevis Muscle) และกลา้มเน้ือเฟลกเซอร์ พอลิซิส เบรวิส (Flexor Pollicis Brevis Muscle) กระดูกทราพีซอยด์ (Trapezoid Bone) เป็นกระดูกช้ินเล็ก ๆ ของกระดูกขอ้มือแถวหลงั ซ่ึงมีพื้นผิวติดต่อกบักระดูก ฝ่ามือช้ินท่ีสอง (Metacarpus II) กระดูกสแคฟฟอยด์ และกระดูกแคปปิเตต (Capitate Bone) เป็นกระดูกขอ้มือท่ีวางตวัอยูต่รงกลางของกระดูกขอ้มือแถวหลงั และเป็นกระดูกช้ินท่ีใหญ่ท่ีสุดในกลุ่มกระดูกขอ้มือ โดยจะมีพื้นผิวด้านล่างติดต่อกบักระดูกฝ่ามือช้ินท่ี 2, 3 และ 4 พื้นผิวดา้นบน จะติดต่อกับกระดูกลูเนท และพื้นผิวด้านข้างติดต่อกับกระดูกสแคฟฟอยด์และกระดูกฮาเมต (Hamate Bone) เป็นกระดูกขอ้มือในแถวหลงัท่ีวางตวัอยู่ทางดา้นน้ิวกอ้ย โดยจะมีรูปร่างคลา้ยรูปล่ิม และมีลกัษณะเด่นคือส่วนยื่นของกระดูกท่ีมีรูปร่างคลา้ยตะขอซ่ึงเรียกวา่ ฮามิวลสั (Hamulus) และเป็นท่ีมาของช่ือกระดูกฮาเมต (Hamate Bone) ซ่ึงในภาษาลาตินแปลว่า ตะขอ กระดูกช้ินน้ีมีพื้นผวิติดต่อกบักระดูกฝ่ามือช้ินท่ี 4 และ 5 รวมทั้งกระดูกไตรกีตรัลและกระดูกแคปปิเตต เน่ืองจากลกัษณะการวางตวัท่ีค่อนขา้งอยูท่างดา้นนอกของขอ้มือ กระดูกฮาเมตจึงจดัวา่เป็นกระดูกท่ีเสียหายไดง่้ายท่ีสุดในบรรดากระดูกขอ้มือ ซ่ึงอาการจะสังเกตไดจ้ากการกดเจ็บเหนือกระดูกช้ินน้ี และอาจรู้สึกเจ็บเม่ือก ามือ นอกจากน้ีเน่ืองจากกระดูกฮาเมตวางตวัอยู่ใกลก้บัเส้นประสาทอลันา (Ulnar Nerve) จึงมีความเป็นไปไดท่ี้จะเกิดความเสียหายกบัเส้นประสาท ท าให้กลา้มเน้ือของมืออ่อนแรง และเสียความรู้สึกของฝ่ามือในบริเวณน้ิวนางและน้ิวกอ้ย

    กระดูกฝ่ามือ (Metacarpal Bone) โครงกระดูกตรงฝ่ามือมีทั้งหมด 5 ช้ิน คือ กระดูก ฝ่ามือของน้ิวหัวแม่มือ กระดูกฝ่ามือของน้ิวช้ี กระดูกฝ่ามือของน้ิวกลาง กระดูกฝ่ามือของน้ิวนาง และกระดูกฝ่ามือของน้ิวกอ้ย

    กระดูกนิ้วมือ (Carpal Bone)โครงกระดูกตรงน้ิวมือมีทั้งหมด 3 กระดูก คือ กระดูก น้ิวมือท่อนต้น กระดูกน้ิวมือท่อนกลาง และกระดูกน้ิวมือท่อนปลาย กระดูกน้ิวมือท่อนต้น (Proximal Phalanges) เป็นกระดูกท่ีพบในรยางค์ของสัตวมี์กระดูกสันหลงัหลายชนิด ในมนุษย์กระดูกเหล่าน้ีเป็นกระดูกท่ีอยู่ท่ีโคนของน้ิวมือ ซ่ึงนูนออกมาสังเกตได้ชัด เรียกว่า ข้อน้ิวมือ หรือ มะเหงก (Knuckle) ส าหรับในสัตวมี์กระดูกสันหลงัชนิดอ่ืน กระดูกน้ิวมือท่อนตน้จะปรากฏ

  • 15

    ในต าแหน่งท่ีคล้าย ๆ กบัมือของมนุษย ์ไม่ว่าจะเป็นในอุง้เท้า ปีก หรือครีบ ในสัตวห์ลายชนิด กระดูกน้ีเป็นกระดูกน้ิวมือช้ินท่ียาวท่ีสุด กระดูกน้ิวมือท่อนกลาง (Intermediate Phalanges) เป็นกระดูกท่ีพบในรยางคข์องสัตวมี์กระดูกสันหลงัส่วนใหญ่ ในมนุษยก์ระดูกเหล่าน้ีเป็นกระดูกท่ีอยู่ท่ีปลอ้งกลางระหว่างขอ้น้ิวของน้ิวมือ ส าหรับในสัตวมี์กระดูกสันหลงัชนิดอ่ืน กระดูกน้ิวมือท่อนตน้จะปรากฏในต าแหน่งท่ีคลา้ย ๆ กบัมือของมนุษย ์ไม่ว่าจะเป็นในอุง้เทา้ ปีก กีบ หรือครีบกระดูกน้ิวมือท่อนกลางเป็นกระดูกน้ิวมืท่ีมีความยาวปานกลางเม่ือเทียบกบักระดูกน้ิวมือช้ินอ่ืน ๆ กระดูกน้ิวมือท่อนปลาย (Distal Phalanges) เป็นกระดูกท่ีพบในรยางค์ของสัตวมี์กระดูกสันหลงัหลายชนิด ในมนุษยก์ระดูกเหล่าน้ีเป็นกระดูกน้ิวมือท่ีอยู่ปลายสุดของน้ิวมือ ส าหรับในสัตว์มีกระดูกสันหลงัชนิดอ่ืน กระดูกน้ิวมือท่อนตน้จะปรากฏในต าแหน่งท่ีคลา้ย ๆ กบัมือของมนุษย ์ไม่วา่จะเป็นในครีบของปลาวาฬหรือปีกของนกโดยทัว่ไป กระดูกน้ิวมือท่อนปลายจะถูกต่อดว้ยกรงเล็บ ส าหรับในไ�