q&a intro law3

50
1 การสอบไลภาค 2 ปการศึกษา 2553 ขอสอบกระบวนวิชา LAW 1004 (LA 104) (LW 104) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป คําสั่ง ใหนักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว (ขอสอบมีทั้งหมด 120 ขอ) 1. ผูพิพากษาในศาลประเทศอังกฤษใชกฎหมายใดในการวินิจฉัยคดี (1) กฎหมายโรมัน (2) คําพิพากษาของศาลที่เปนบรรทัดฐาน (3) กฎหมายสิบสองโตะ (4) ประมวลกฎหมายของพระเจาจัสติเนียน ตอบ 2 หนา 22-23 กฎหมายคอมมอน ลอว (กฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร) เปนกฎหมายที่ถือเอาคําพิพากษา ของศาลเปนตัวบทกฎหมาย ดังนั้นบอเกิดของกฎหมายในระบบนี้จึงมาจากคําพิพากษา ซึ่งประเทศที่นิยมใช กฎหมายระบบนี้ไดแก ประเทศอังกฤษและเครือจักรภพอังกฤษ 2. กฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม ยังมีอิทธิพลตอประเทศในภาคพื้นยุโรปทั้งที่อาณาจักรโรมัน ไดลมสลายลงไปแลว เปนเพราะเหตุใด (1) กฎหมายโรมันเปนเนื้อหาวิชากฎหมายในมหาวิทยาลัย (2) การนํากฎหมายโรมันมาใชแทนจารีตประเพณีที่มีอยูเดิม (3) กฎหมายโรมันมีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 21,(คําบรรยาย) กฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม ไดมีการบันทึกไวเปนลายลักษณ อักษร แมตอมาอาณาจักรโรมันไดลมสลายลงไปก็ไดมีการนํากฎหมายที่บันทึกไวเปนลายลักษณอักษรดังกลาวมา ใชศึกษากันในมหาวิทยาลัย (ครั้งแรกที่เมืองโบโลญญา ประเทศอิตาลี) จนเปนที่แพรหลายในประเทศในภาคพื้น ยุโรป และไดนํากฎหมายดังกลาวมาบังคับใชแทนจารีตประเพณีซึ่งถือวาเปนสิ่งที่ลาสมัย

Upload: thanawatn-estafan-kaewnet

Post on 18-Feb-2016

222 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

Intro7763388

TRANSCRIPT

Page 1: Q&A Intro Law3

1

การสอบไลภาค 2 ปการศึกษา 2553

ขอสอบกระบวนวิชา LAW 1004 (LA 104) (LW 104) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายท่ัวไป คําส่ัง ใหนักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว (ขอสอบมีทั้งหมด 120 ขอ) 1. ผูพิพากษาในศาลประเทศอังกฤษใชกฎหมายใดในการวินิจฉัยคด ี (1) กฎหมายโรมัน (2) คําพิพากษาของศาลที่เปนบรรทัดฐาน (3) กฎหมายสิบสองโตะ (4) ประมวลกฎหมายของพระเจาจัสติเนียน ตอบ 2 หนา 22-23 กฎหมายคอมมอน ลอว (กฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร) เปนกฎหมายที่ถือเอาคําพิพากษา

ของศาลเปนตัวบทกฎหมาย ดังนั้นบอเกิดของกฎหมายในระบบนี้จึงมาจากคําพิพากษา ซ่ึงประเทศที่นิยมใช

กฎหมายระบบนี้ไดแก ประเทศอังกฤษและเครือจักรภพอังกฤษ 2. กฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม ยังมีอิทธิพลตอประเทศในภาคพ้ืนยุโรปทั้งที่อาณาจักรโรมัน

ไดลมสลายลงไปแลว เปนเพราะเหตุใด (1) กฎหมายโรมันเปนเนื้อหาวิชากฎหมายในมหาวิทยาลัย (2) การนํากฎหมายโรมันมาใชแทนจารีตประเพณีที่มีอยูเดิม (3) กฎหมายโรมันมีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 21,(คําบรรยาย) กฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม ไดมีการบันทึกไวเปนลายลักษณ

อักษร แมตอมาอาณาจักรโรมันไดลมสลายลงไปก็ไดมีการนํากฎหมายที่บันทึกไวเปนลายลักษณอักษรดังกลาวมา

ใชศึกษากันในมหาวิทยาลัย (ครั้งแรกที่เมืองโบโลญญา ประเทศอิตาลี) จนเปนที่แพรหลายในประเทศในภาคพ้ืน

ยุโรป และไดนํากฎหมายดังกลาวมาบังคับใชแทนจารีตประเพณีซ่ึงถือวาเปนส่ิงที่ลาสมัย

Page 2: Q&A Intro Law3

2

3. ลักษณะประมวลกฎหมายแพงของประเทศฝรั่งเศสเหมือนกับประมวลกฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหง

กรุงโรมหรือไม เพราะเหตุใด (1) มีลักษณะเหมือนกัน เพราะใชช่ือประมวลกฎหมายเหมือนกัน (2) มีลักษณะเหมือนกัน เพราะเปนกฎหมายแพงเหมือนกัน (3) มีลักษณะไมเหมือนกัน เพราะไมมีการจัดแบงโครงสรางเนื้อหาเปนหมวดหมู (4) มีลักษณะไมเหมือนกัน เพราะระบบกฎหมายแตกตางกัน ตอบ 3 หนา 22 ประมวลกฎหมายแพงของประเทศฝรั่งเศสนั้นจัดทําขึ้นโดยแบงโครงสรางเนื้อหาเปนหมวดหมู

เปนเรื่องๆอยางเปนระบบ ซ่ึงตางกับประมวลกฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม ซ่ึงถึงแมจะเปนตน

กําเนิดของระบบกฎหมายซีวิล ลอว แตมีลักษณะเปนการรวบรวมเอากฎหมายตางๆมาบันทึกไวในประมวล

กฎหมายเดียวกันเทานั้นโดยมิไดแบงเนื้อหาออกเปนหมวดหมูหรือเปนเรื่องๆแตอยางใด 4. ผูมีอํานาจเปนโจทกฟองคดีอาญาตอศาล ไดแก (1) พนักงานอัยการ (2) ผูเสียหาย (3) ทนายความ (4) ถูกเฉพาะขอ 1 และ 2 ตอบ 4 หนา 67 ผูที่มีอํานาจเปนโจทกฟองคดีอาญาตอศาล คือ 1. ผูเสียหายเปนผูย่ืนฟองคดีตอศาล

ดวยตนเอง หรือ 2. ผูเสียหายมอบคดีใหเจาพนังงานในกระบวนการยุติธรรมของรัฐ คือ พนักงานอัยการเปนผู

ดําเนินคดีแทนให 5. ขอใดเปนลักษณะของกฎหมายอาญา (1) ออกกฎหมายยอนหลังลงโทษได (2) ออกกฎหมายยอนหลังลงโทษไมได (3) ยอนหลังลงโทษไดแลวแตดุลยพินิจศาล

Page 3: Q&A Intro Law3

3

(4) ไมมีขอใดถูก ตอบ 2 หนา 54 สาระสําคัญทางกฎหมายอาญา คือ ตองมีกฎหมายบัญญัติวา การกระทําใดเปนความผิดและตอง

เปนกฎหมายซ่ึงมีผลบังคับใชอยูในขณะซ่ึงเกิดการกระทํานั้นดวย และไมมีผลยอนหลังไปลงโทษบุคคลใหหนัก

ขึ้นเปนอันขาด แตอาจยอนหลังเปนคุณแกผูกระทําผิด กลาวคือ อาจยอนหลังไปบัญญัติวาการกระทํานั้นๆไมเปน

ความผิด หรือเปนความผิดแตยกเวนโทษใหหรือใหลงโทษบุคคลนอยกวาที่กําหนดไวในกฎหมายที่ใชอยูในขณะ

ทําความผิดได 6. ผูเสียหายในคดีอาญาที่มีสิทธิไดรับคาตอบแทนความเสียหายจากกรมคุมครองสิทธิเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

จะตองเปนผูเสียหายในความผิดในเรื่องเก่ียวกับ (1) ที่ดิน (2) ลักทรัพย (3) ฉอโกง (4) ชีวิต รางกาย จิตใจ ตอบ 4 ตาม พ.ร.บ. คาตอบแทนผูเสียหายและคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 มาตรา

17 ไดบัญญัติวา ความผิดที่กระทําตอผูเสียหาย อันอาจขอรับคาตอบแทนไดตองเปนความผิดตามประมวล

กฎหมายอาญา ไดแก 1. ความผิดเก่ียวกับเพศ 2. ความผิดตอชีวิต 3. ความผิดตอรางกาย 4. ความผิดฐานทําใหแทงลูก และ 5. ความผิฐานทอดทิ้งเด็ก คนปวยเจ็บ และคนชรา 7. ขอใดไมเปนความผิดอาญา (1) นายซ่ิงขับรถยนตโดยประมาทชนรถยนตของ น.ส.ดวงดาวเสียหาย (2) นายซ่ิงขับรถยนตโดยประมาทชนสุนัขของ น.ส.ดวงดาวตาย (3) นายซ่ิงขับรถยนตเจตนาชนรถยนตของ น.ส.ดวงดาวใหเสียหาย (4) ถูกเฉพาะขอ 1 และ 2 ตอบ 4 หนา 57 การกระทําที่จะถือวาเปนความผิดทางอาญานั้น โดยปกติผูกระทําจะตองกระทําโดยเจตนา แต

การกระทําโดยประมาทนั้นก็อาจเปนความผิดทางอาญาได หากกฎหมายระบุไวโดยชัดแจงวา การกระทํานั้นแม

Page 4: Q&A Intro Law3

4

กระทําโดยประมาทก็เปนความผิด ซ่ึงความผิดฐานทําใหเสียทรัพยตาม ปอ. มาตรา 358 กฎหมายไดบัญญัติไว

วาจะเปนความผิดก็ตอเม่ือไดกระทําโดยเจตนาเทานั้น ดังนั้น การทําใหเสียทรัพยโดยประมาทจึงไมเปนความผิด

ทางอาญา 8. นายโกดื่มสุราเขาไปจนเมาแลวนึกสนุกใชปนยิงเขาไปในรถยนตที่แลนผานมา ลูกกระสุนปนถูกนายเฮงถึงแก

ความตาย ดังนี้นายโกมีความผิด (1) ฆาคนตายโดยไมเจตนา (2) ฆาคนตายโดยเจตนา (3) ฆาคนตายโดยประมาท (4) มีความผิดแตไดรับลดโทษเพราะกระทําขณะเมาสุรา ตอบ 2 หนา 57-58, (คําบรรยาย) การกระทําของนายโกเปนการกระทําโดยเจตนาโดยหลักยอมเล็งเห็นผล คือ

ไมไดประสงคตอผลของการกระทํา แตโดยลักษณะของการกระทํายอมเล็งเห็นไดวาการกระทําของตนจะเกิดผล

ขึ้นอยางไร คือยอมเล็งเห็นผลไดวาตองมีคนถูกลูกกระสุนปนตาย ดังนั้นนายโกจึงมีความผิดฐานฆาคนตายโดย

เจตนา 9. นายบกเรียนวิชาอยูยงคงกระพัน ยิงไมออก ฟนไมเขา แลวจิตใจฮึกเหิม ไดทาใหนายเดนทดลองฟนตนนาย

เดนรับคําทาใชมีดฟนนายบกคอขาดถึงแกความตาย ดังนี้นายเดน (1) ไมมีความผิดเพราะนายบกยอมใหฟน (2) มีความผิดฐานฆาคนตายโดยไมเจตนา (3) มีความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล (4) ฆาคนตายโดยประมาท ตอบ 3 หนา 57-58, (คําบรรยาย) การกระทําของนายเดน ถือวาเปนการกระทําโดยรูสํานึกและแมจะไมได

ประสงคตอผลของการกระทํา แตโดยลักษณะของการกระทํา ยอมเล็งเห็นผลไดวาการกระทําของตนจะเกิดผลขึ้น

คือ นายบกคอขาดถึงแกความตาย ดังนั้นการกระทําของนายเดนจึงมีความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล 10. รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 กําหนดใหสภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกจํานวน

Page 5: Q&A Intro Law3

5

(1) 400 คน (2) 450 คน (3) 480 คน (4) 500 คน ตอบ 3 หนา 49 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 93 กําหนดใหมีจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวน

ทั้งส้ิน 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง 400 คน และมาจากการเลือกตั้งแบบสัดสวน 80

คน หมายเหตุ ** (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554 กําหนดใหมี ส.ส. แบบ

แบงเขต 375 คน และแบบบัญชีรายช่ือ 125 คน รวมทั้งส้ิน 500 คน) 11. ขอใดคือผูหยอนความสามารถ (1) คนลมละลาย (2) คนตาบอดขายลอตเตอรี่ (3) คนไรความสามารถ (4) คนสาบสูญ ตอบ 3 หนา 133,(คําบรรยาย) ผูหยอนความสามารถ คือ บุคคลที่ถูกกฎหมายจํากัดหรือตัดทอนความสามารถ

ปจจุบัน มี 4 ประเภท คือ 1. ผูเยาว 2. คนไรความสามารถ 3. คนเสมือนไรความสามารถ และ 4. บุคคลวิกลจริต 12. นิติกรรมขอใดที่ผูเยาวทําไดเอง (1) นายเออายุ 15 ป ทํานิติกรรมรับการปลดหนี้จากเจาหนี้โดยไมมีเงื่อนไขใด ๆ (2) นายหนึ่งอายุ 14 ป ทําพินัยกรรม (3) นายหนุมกับนางสาวสวยอายุ 18 ป ทําการสมรสกันเองโดยบิดามารดาไมยินยอม

Page 6: Q&A Intro Law3

6

(4) ถูกทุกขอ ตอบ 1 หนา 136 นิติกรรมที่ผูเยาวสามารถทําไดเองโดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

ไดแก 1. นิติกรรมที่ทําใหผูเยาวไดมาซ่ึงสิทธิ หรือหลุดพนจากหนาที่ เชน การทํานิติกรรมรับการปลดหนี้จาก

เจาหนี้ โดยปราศจากเงื่อนไขหรือคาภาระติดพัน 2. นิติกรรมที่ผูเยาวตองทําเองเฉพาะตัว เชน การจดทะเบียนรับรองบุตร 3. นิติกรรมที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนในการดํารงชีวิตตามสมควร เชน ซ้ืออาหารรับประทาน 4. ผูเยาวอาจทําพินัยกรรมไดเม่ืออายุครบ 15 ปบริบูรณ 13. หากพระมหากษัตริยไมทรงลงพระปรมาภิไธยในรางพระราชบัญญัติที่ผานเห็นชอบจากรัฐสภา จะมีผลตอ

รางพระราชบัญญัตินั้นอยางไร (1) มีผลทําใหรางพระราชบัญญัติตกไป (2) พระมหากษัตริยทรงใชสิทธิยับย้ังรางพระราชบัญญัต ิ (3) ใหรัฐสภาเริ่มพิจารณาใหมตั้งแตวาระแรก (4) ใหประธานรัฐสภาสงใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตอไป ตอบ 3 หนา 32,(คําบรรยาย) กรณีที่พระมหากษัตริยไมทรงเห็นชอบดวยกับรางพระราชบัญญัติและทรงใชสิทธิ

ยับย้ังโดยไมทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานคืนมาหรือเม่ือพน 90 วันแลวมิไดพระราชทานคืนมา ไมมี

ผลทําใหรางพระราชบัญญัตินั้นตกไป เพียงรัฐสภาจะตองปรึกษาเพ่ือพิจารณารางพระราชบัญญัตินั้นใหม (โดย

เริ่มพิจารณาตั้งแตวาระแรก) 14. กฎหมายที่ประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลวแตก็ยังมีผลบังคับใชช่ัวคราวเทานั้น (1) พระราชบัญญัติ (2) พระราชกําหนด (3) พระราชกฤษฎีกา (4) พระบรมราชโองการ

Page 7: Q&A Intro Law3

7

ตอบ 2 หนา 32-33 พระราชกําหนด คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี

จึงถือเปนกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยฝายบริหาร โดยผูเสนอรางคือรัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชกําหนดนั้น ซ่ึง

การตราพระราชกําหนดนั้น จะตองมีเงื่อนไขในการตรา กลาวคือ จะตองเปนกรณีที่มีความจําเปนรีบดวนในอันจะ

รักษาความปลอดภัยและความม่ันคงของประเทศ ดังนั้นจึงตองนําขึ้นทูลเกลาฯ ใหพระมหากษัตริยทรงลงพระ

ปรมาภิไธย และประกาศใชบังคับเปนกฎหมายช่ัวคราวกอน จนกวาจะผานความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงจะทําให

พระราชกําหนดนั้นมีผลใชบังคับเสมือนเปนพระราชบัญญัติตอไป 15. ยุคกฎหมายใดที่เกิดกฎเกณฑจากการที่นักกฎหมายใชเหตุผลสรางขึ้นนอกเหนือไปจากกฎหมายประเพณี (1) ยุคกฎหมายลายลักษณอักษร (2) ยุคกฎหมายชาวบาน (3) ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย (4) ยุคกฎหมายเทคนิค ตอบ 3 หนา 8-9 เนื่องจากกฎหมายในยุคแรกคือกฎหมายชาวบานหรือกฎหมายจารีตประเพณีมีไมเพียงพอ

ดังนั้นนักกฎหมายซ่ึงเกิดขึ้นในยุคที่ 2 (ยุคนักกฎหมาย) จึงไดสรางหลักกฎหมายขึ้นมาเพ่ือเสริมกับกฎหมาย

ประเพณี ซ่ึงหลักกฎหมายของนักกฎหมายนี้จะเกิดจากการปรุงแตงเหตุผลในทางกฎหมายที่เกิดจากความคิด

ในทางกฎหมายของตน ดังนั้นจึงเปนกฎหมายที่สามัญชนใชสามัญสํานึกคิดเอาเองไมได ตองอาศัยการศึกษาและ

การเรียนรูดวยเหตุผลจึงเขาใจซ่ึงกฎหมายของนักกฎหมายดังกลาวที่ยังมีใชอยูในปจจุบัน ไดแก เรื่องการ

ครอบครองปรปกษ และเรื่องสิทธิเรียกรองขาดอายุความ เปนตน 16. ดําแยงการครอบครองที่ดินของขาวติดตอกันเปนระยะเวลา 10 ป จะไดมาซ่ึงกรรมสิทธ์ิโดยการครอบครอง

ปรปกษ เปนหลักกฎหมายที่สรางขึ้นในยุคกฎหมายใด (1) ยุคกฎหมายชาวบาน (2) ยุคกฎหมายประเพณี (3) ยุคกฎหมายเทคนิค (4) ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย ตอบ 4 ดูคําอธิบายขอ15. ประกอบ

Page 8: Q&A Intro Law3

8

17. ลักษณะของกฎหมายประเพณีคือ (1) ไดรับการประพฤติมาเปนเวลานมนาน (2) มีความชัดเจนแนนอน (3) ไดรับปฏิบัติตามอยางมีเหตุมีผล (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 7, (คําบรรยาย) กรณีที่จะเปนกฎหมายประเพณี จะตองประกอบดวยหลักเกณฑที่สําคัญ 2 ประการ

คือ 1. องคประกอบภายนอก คือ จะตองมีการประพฤติปฏิบัติสมํ่าเสมอเปนเวลานมนาน และมีความชัดเจน

แนนอน และไดมีการปฏิบัติตามกันมาอยางมีเหตุมีผล 2. องคประกอบภายใน คือ ความรูสึกนึกคิดในจิตใจของผูประพฤติปฏิบัติ ตองรูสึกและสํานึกวาจะตองทํา

เชนนั้น ถาไมทําเชนนั้นก็จะผิด (คือเช่ือวาเปนกฎหมายจึงตองทํา) 18. วิวัฒนาการของกฎหมายยุคใดที่กฎหมายเกิดจากการวินิจฉัยคดีที่มีขอพิพาทเกิดขึ้น (1) ยุคกฎหมายชาวบาน (2) ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย (3) ยุคกฎหมายเทคนิค (4) ยุคกฎหมายประเพณี ตอบ 2 หนา 8-9, (คําบรรยาย) เนื่องจากสังคมมนุษยมีการพัฒนาและมีความเจริญขึ้นทําใหความสัมพันธใน

สังคมมีความสลับซับซอน จนทําใหกฎหมายในยุคแรกคือกฎหมายชาวบาน (กฎหมายประเพณี) ที่ใชอยูมีไมเพียง

พอที่จะใชบังคับกับขอพิพาทที่เกิดขึ้น ดังนั้นนักกฎหมายซ่ึงเกิดขึ้นในยุคที่ 2 (ยุคนักกฎหมาย) จึงไดสรางหลัก

กฎหมายขึ้นมาเพ่ือเสริมกับกฎหมายประเพณีและเพ่ือแกปญหาที่เกิดในคดีที่สลับซับซอน เชน เรื่องสิทธิเรียกรอง

ขาดอายุความ เรื่องการครอบครองปรปกษ เปนตน

Page 9: Q&A Intro Law3

9

19. มาตรา 1341 ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บัญญัติวา “ ทานหามมิใหเจาของอสังหาริมทรัพยทํา

หลังคา หรือการปลูกสรางอยางอ่ืน ซ่ึงทําใหน้ําฝนตกลงยังทรัพยสินซ่ึงอยูติดตอกัน” ทานคิดวาจะไดหลัก

กฎหมายในเรื่องใดจากบทบัญญัติดังกลาว (1) หลักความเปนเพ่ือนบานที่ดี (2) หลักความไววางใจโดยสุจริตตอกัน (3) หลักคุมครองบุคคลที่สาม (4) หลักสุจริต ตอบ 1 หนา 42 บทบัญญัติของ ป.พ.พ. มาตรา 1337,1341,1342,1343,1349,1352,1353 และ 1355

เปนบัญญัติของกฎหมายที่ไดบัญญัติขึ้นโดยอาศัยหลักความเปนเพ่ือนบานที่ดี ซ่ึงเปนหลักกฎหมายทั่วไปหลัก

ใหญหลักหนึ่ง 20. ระบบกฎหมายใดที่ศาลสามารถใชจารีตประเพณีแหงทองถ่ินมาปรับใชกับขอเท็จจริงแหงคดีไดกรณีที่ไมมี

กฎหมายลายลักษณอักษรบัญญัติไว (1) ระบบคอมมอน ลอว (2) ระบบซีวิล ลอว (3) ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (4) ระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร ตอบ 2 หนา 19 การที่ศาลสามารถใชจารีตประเพณีแหงทองถ่ินมาปรับใชกับขอเท็จจริงแหงคดีไดในกรณีที่ไมมี

กฎหมายลายลักษณอักษรบัญญัติไวนั้น เปนวิธีอุดชองวางแหงกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

มาตรา 4 วรรคสอง ซ่ึงเปนกฎหมายที่ใชอยูในประเทศไทย ซ่ึงเปนประเทศที่ใชกฎหมายซีวิล ลอว หรือกฎหมาย

ลายลักษณอักษร 21. การเบิกความเท็จเพ่ือชวยเหลือผูมีอุปการคุณตอตนเองตามหลักกตัญุตานั้น เก่ียวของกับกฎหมายและ

ศีลธรรมอยางไร (1) ผิดกฎหมายแตไมผิดศีลธรรม

Page 10: Q&A Intro Law3

10

(2) ผิดศีลธรรมแตไมผิดกฎหมาย (3) ผิดทั้งกฎหมายและศีลธรรม (4) ไมผิดทั้งกฎหมายและศีลธรรม ตอบ 1 (LW 104 เลขพิมพ 44289 หนา 39) การเบิกความเท็จนั้นถือวาผิดกฎหมายเพราะมีกฎหมายบัญญัติ

ไววาการกระทําดังกลาวเปนความผิด แตไมผิดศีลธรรมเพราะการเบิกความเท็จดังกลาวความจริงแลวทําไปเพ่ือ

ชวยผูมีอุปการคุณตอตนซ่ึงเปนไปตามหลักกตัญุตา 22. กฎเกณฑใดที่ควบคุมความรูสึกนึกคิดภายในจิตใจของมนุษยดวย (1) ศีลธรรม (2) จารีตประเพณี (3) กฎหมาย (4) คานิยม ตอบ 1 หนา 19 ศีลธรรม เปนกฎเกณฑที่กําหนดและควบคุมความประพฤติทั้งภายในและภายนอกของมนุษย

แตกฎหมายและจารีตประเพณีจะกําหนดความประพฤติภายนอกของมนุษยเทานั้น 23. ระบบกฎหมายใดที่มีอิทธิพลตอการจัดทําประมวลกฎหมายแพงครั้งแรกในประเทศฝรั่งเศส (1) ระบบกฎหมายโรมัน (2) ระบบกฎหมายอังกฤษ (3) ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (4) ระบบกฎหมายคอมมอน ลอว ตอบ 1 หนา 21-22, (คําบรรยาย) ระบบกฎหมายซีวิล ลอว หรือระบบกฎหมายลายลักษณอักษรเปนระบบ

กฎหมายที่ไดรับอิทธิพลจากกฎหมายโรมัน หรือมีกฎหมายโรมันเปนรากฐาน เกิดขึ้นครั้งแรกในภาคพ้ืนยุโรป

(สมัยโรมัน) โดยกษัตริยจัสติเนียนไดทรงรวบรวมนักกฎหมายใหชวยกันบัญญัติออกมาในรูปกฎหมายลายลักษณ

อักษร ซ่ึงตอมาประเทศฝรั่งเศสไดนําเอากฎหมายนี้มาจัดทําเปนประมวลกฎหมายขึ้นเปนครั้งแรก จนเปนที่

Page 11: Q&A Intro Law3

11

แพรหลายไปทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศในภาคพ้ืนยุโรป และไดมีการพัฒนาขึ้นเปนวิชานิติศาสตรเพ่ือใชศึกษา

ในมหาวิทยาลัยตางๆ 24. ประเทศใดที่ใชระบบกฎหมายซ่ึงไดรับอิทธิพลจากกฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียน (1) สหรัฐอเมริกา (2) ออสเตรเลีย (3) อังกฤษ (4) ไทย ตอบ 4 หนา 21-22 ประเทศที่ใชระบบกฎหมายซีวิล ลอว หรือกฎหมายลายลักษณอักษร (โดยไดรับอิทธิพลมา

จากกฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียน) ไดแก ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมัน สเปน และไทย เปนตน สวนประเทศที่ใช

ระบบกฎหมายคอมมอน ลอว หรือกฎหมายจารีตประเพณี ไดแก ประเทศอังกฤษและเครือจักรภพอังกฤษ

สหรัฐอเมริกา เปนตน 25. กฎเกณฑใดที่หากบุคคลฝาฝน การจะไดรับโทษหรือไม ไมสามารถบังคับผูฝาฝนไดอยางจริงจังในปจจุบัน (1) จารีตประเพณี (2) ศีลธรรม (3) ศาสนา (4) กฎหมาย ตอบ 1 หนา 19 การกระทําผิดหรือฝาฝนกฎหมาย ผูกระทําจะมีความผิดและถูกลงโทษ แตการกระทําผิดหรือฝา

ฝนจารีตประเพณีจะไดรับเพียงการติเตียนจากสังคมเทานั้น 26. การที่นักศึกษาตองเสียคาปรับเนื่องจากบัตรประชาชนขาดอายุ เปนความผิดอาญาหรือไม (1) เปนความผิดอาญาที่เปนความผิดศีลธรรมดวย (2) เปนความผิดอาญาในทางเทคนิค

Page 12: Q&A Intro Law3

12

(3) เปนความผิดอาญาที่ผิดทั้งศีลธรรมและผิดเพราะกฎหมายหาม (4) ไมเปนความผิดอาญาใดๆ ตอบ 2 (คําบรรยาย) ความผิดทางเทคนิค (Technical Offence) คือ ความผิดอาญาที่ไมผิดศีลธรรมแตผิด

เพราะกฎหมายหาม ซ่ึงกฎหมายดังกลาว คือกฎหมายเทคนิคที่เกิดขึ้นในยุคกฎหมายเทคนิค เชน กฎหมายจราจร

กฎหมายที่เก่ียวกับบัตรประชาชน เปนตน 27. ขอใดถูกตองเก่ียวกับการใชกฎหมายประเพณีในระบบกฎหมายซีวิล ลอว (1) ยกเวนความรับผิดทางอาญาได (2) กําหนดความรับผิดทางอาญาได (3) นําโทษมาใชแทนกฎหมายลายลักษณอักษรได (4) เพ่ิมโทษทางอาญาได ตอบ 1 (คําบรรยาย) ขอจํากัดการใชกฎหมายจารีตประเพณีในระบบกฎหมายซีวิล ลวอ มีดังนี ้ 1. จะสรางความผิดทางอาญาขึ้นใหมไมดี 2. จะนําโทษตามกฎหมายจารีตประเพณีมาใชแทน

กฎหมายลายลักษณอักษรไมได 3. จะเพ่ิมโทษอาญาใหสูงกวาไมได 4. จะกําหนดหนาที่ของบุคคลเพ่ิมไมได 28. ระบบกฎหมายใดที่กฎหมายมิไดเปนลายลักษณอักษรเปนที่มาของกฎหมายที่มีความสําคัญที่สุด (1) ระบบคอมมอน ลอว (2) ระบบซีวิล ลอว (3) ระบบประมวลกฎหมาย (4) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร ตอบ 1 หนา 22 กฎหมายระบบคอมมอน ลอว หรือระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณอักษรเปนระบบกฎหมาย

ที่ไมไดมีการเอากฎหมายจารีตประเพณีมาบันทึกเปนกฎหมายลายลักษณอักษร เปนกฎหมายที่เกิดจากจารีต

ประเพณีและคําพิพากษาของศาล และคําพิพากษาของศาลยุติธรรมเปนที่มาของกฎหมาย

Page 13: Q&A Intro Law3

13

29. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของประเทศไทย ประกาศใชครั้งแรกในรัชสมัยใด (1) รัชกาลที่ 4 (2) รัชกาลที่ 5 (3) รัชกาลที่ 6 (4) รัชกาลที่ 9 ตอบ 3 หนา 23, (คําบรรยาย) เดิมประเทศไทยจะรับหลักกฎหมายและหลักปฏิบัติของอังกฤษเขามาใชบังคับ

จนถึงปลายรัชกาลที่ 6 ไดมีการเปล่ียนแปลงในระบบของกฎหมายไทย โดยรัฐไดตัดสินใจทําประมวลกฎหมาย

ขึ้นคือ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพที่ 1 และบรรพที่ 2 ซ่ึงรางโดยที่ปรึกษากฎหมายชาวฝรั่งเศสและ

ไดประกาศใชเปนเวลา 2 ป จึงไดมีการเปล่ียนแปลงอีกครั้งหนึ่ง โดยเปล่ียนจากการใชประมวลกฎหมายตามอยาง

ประมวลกฎหมายแพงฝรั่งเศสมาใชประมวลกฎหมายแบบเยอรมัน 30. การพิจารณารางพระราชบัญญัติในวาระใดที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมสามารถขอแปรบัญญัติเพ่ืออภิปราย

เนื้อหาในรางพระราชบัญญัติไดอีก (1) วาระที่ 1 วาระรับหลักการ (2) วาระที่ 2 วาระเพ่ือพิจารณา (3) วาระที่ 3 วาระลงมติ (4) วาระที่ 4 วาระเห็นชอบ ตอบ 3 หนา 30 ในการพิจารณารางพระราชบัญญัตินั้น มี 3 วาระ คือ วาระที่ 1 ขั้นรับหลักการ เปนการพิจารณา

หลักการโดยทั่วๆ ไปวาสมควรที่จะรับรางพระราชบัญญัตินั้นไวพิจารณาหรือไม วาระที่ 2 ขั้นพิจารณา เปนการ

พิจารณาเรียงลําดับมาตราโดยคณะกรรมาธิการที่สภาตั้งขึ้นในกรณีที่มีการแกไขเพ่ิมเติมหรือเปล่ียนแปลงจากราง

เดิม คณะกรรมาธิการตองช้ีแจงเหตุผลในการแกไขหรือเพ่ิมเติมดวย และ วาระที่ 3 ขั้นลงมติใหความเห็นชอบ คือ

การลงมติวารางพระราชบัญญัตินั้น สมควรตราเปนพระราชบัญญัติหรือไม โดยจะไมสามารถขอแปรญัตติเพ่ือ

อภิปรายเนื้อหาในรางพระราชบัญญัติไดอีก 31. การตราพระราชกําหนดเรื่องใดที่ตองกระทําโดยดวนและลับ

Page 14: Q&A Intro Law3

14

(1) ปองปดภัยพิบัติสาธารณะ (2) ความปลอดภัยของประเทศ (3) ภาษีอากร (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 32-33 พระราชกําหนด มี 2 ประเภท ไดแก 1. พระราชกําหนดทั่วไป เปนกรณีที่ตราพระราชกําหนดเพ่ือประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของ

ประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ หรือปองปดภัยพิบัติสาธารณะ และใหตราไดเฉพาะ

เม่ือคณะรัฐมนตรีเห็นวาเปนกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนรีบดวนอันมิอาจจะหลีกเล่ียงได และ 2. พระราชกําหนดเก่ียวดวยภาษีและเงินตรา เก่ียวกับภาษีอากรหรือเงินตรา ซ่ึงตองพิจารณาโดยดวนและลับเพ่ือ

รักษาประโยชนของแผนดินในระหวางสมัยประชุมสภาเทานั้น 32. องคกรที่มีหนาที่ตรวจสอบเงื่อนไขวาในการตราพระราชกําหนด มีความจําเปนรีบดวนมิอาจหลีกเล่ียงได

หรือไม (1) สภาผูแทนราษฎร (2) วุฒิสภา (3) รัฐสภา (4) ศาลรัฐธรรมนูญ ตอบ 4 หนา 33 ศาลรัฐธรรมนูญ เปนองคกรที่มีอํานาจหนาที่ในการวินิจฉัยวาในการตราพระราชกําหนดนั้น

เปนกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนรีบดวนอันมิอาจจะหลีกเล่ียงไดหรือไม (รัฐธรรมนูญฯ ฉบับ พ.ศ. 2550 มาตรา

185 ) 33. การเสนอรางพระราชกําหนดตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ริเริ่มโดย (1) รัฐมนตรีผูรักษาการ (2) คณะรัฐมนตร ี (3) นายกรัฐมนตรี

Page 15: Q&A Intro Law3

15

(4) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวา 20 คน ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 14. ประกอบ 34. กฎหมายลําดับรองของฝายบริหารตองอาศัยอํานาจจากกฎหมายแมบท กฎหมายแมบทในที่นี้ ไดแก (1) พระราชกําหนด (2) พระราชกฤษฎีกา (3) ประกาศกระทรวง (4) กฎกระทรวง ตอบ 1 หนา 33 กฎหมายลําดับรองของฝายบริหาร เชน พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวง

นั้นสามารถตราขึ้นไดก็โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายแมบทซ่ึงไดแก พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนด 35. ขอใดเปนที่มาของกฎหมายที่มิไดบัญญัติขึ้น (1) หลักความยุติธรรมตามธรรมชาติ (2) หลักความไมรูขอเท็จจริง แกตัวได (3) หลักความยินยอมไมเปนละเมิด (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 38-42, (คําบรรยาย) หลักกฎหมายทั่วไปเปนบอเกิดหรือที่มาของกฎหมายที่มิไดบัญญัติขึ้นอีก

ประการหนึ่ง โดยหลักกฎหมายทั่วไปอาจเปนหลักกฎหมายดั้งเดิม ซ่ึงเขียนเปนสุภาษิตกฎหมายลาติน หรือเปน

หลักกฎหมายที่แฝงอยูในบทกฎหมายตางๆ เชน หลักความยุติธรรมตามธรรมชาติ หรือหลักความไมรูขอเท็จจริง

แกตัวได หรือหลักความยินยอมไมทําใหเปนละเมิด เปนตน 36. ขอใดถูกตอง (1) ระบบซีวิล ลอว จะตีความกฎหมายตามตัวอักษรโดยเครงครัด

Page 16: Q&A Intro Law3

16

(2) ระบบซีวิล ลอว ถือวาคําพิพากษาเปนบอเกิดของกฎหมายลําดับแรก (3) ระบบคอมมอน ลอว ศาลจะเปนผูสรางหลักกฎหมาย (4) ระบบคอมมอน ลอว คําพิพากษาเปนเพียงคําอธิบายการใชกฎหมาย ตอบ 3 หนา 22 ตามหลักของระบบกฎหมายคอมมอน ลอว นั้น 1. ถามีหลักกฎหมายซ่ึงเปนหลักเกณฑทั่วไปอยูแลว ศาลหรือผูพิพากษาเปนแตเพียงผูแสดงหลักเกณฑนั้นๆ แลว

นํามาปรับแกคดีเทานั้น 2. ถาไมมีหลักกฎหมายดังกลาว ก็ใหศาลหรือผูพิพากษาเปนผูสรางหลักกฎหมายขึ้นโดยคําพิพากษาและคํา

พิพากษาของศาลดังกลาวถือเปนบรรทัดฐานของศาลตอๆมาซ่ึงเรียกวา “ Judge Made Law” 37. ขอใดถูกตองเก่ียวกับพระราชบัญญัต ิ (1) นายกรัฐมนตรีสามารถริเริ่มเสนอรางพระราชบัญญัติได (2) เปนกฎหมายเฉพาะฝายบริหาร (3) ศาลหรือองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญสามารถเสนอรางพระราชบัญญัติได (4) มีผลบังคับใชเม่ือผานความเห็นชอบจากรัฐสภา ตอบ 3 หนา 28-29 , 32 พระราชบัญญัติ เปนกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยฝายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) โดยผูมีอํานาจ

ตรา คือ พระมหากษัตริย และมีนายกรัฐมนตรีเปนผูลงนามสนองพระบรมราชโองการ ซ่ึงเนื้อหาของ

พระราชบัญญัตินั้นจะกําหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได แตตองไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ และมี

ผลใชบังคับเม่ือประกาศใหประชาชนทราบแลวในราชกิจจานุเบกษา และตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550

มาตรา 140(3) ใหสิทธิแกศาลหรือองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญสามารถเสนอรางพระราชบัญญัติได แตเฉพาะ

กฎหมายที่เก่ียวกับการจัดองคการและกฎหมายที่ประธานศาลและประธานองคกรนั้นเปนผูรักษาการเทานั้น 38. ขอใดไมใชสาระสําคัญของการพิจารณาคดีอาญา (1) ตองกระทําตอหนาจําเลยเสมอ (2) ตองเปนการพิจารณาโดยลับ (3) ตองมีการฟองรองเปนคดีอาญา

Page 17: Q&A Intro Law3

17

(4) ตองตั้งทนายความใหจําเลยในคดีอุกฉกรรจ ตอบ 2 หนา 68 ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การพิจารณาคดีอาญาจะเริ่มตนไดก็จะตองมีการ

ฟองรองคดีอาญาตอศาลกอนโดยอาจจะเปนการฟองโดยผูเสียหายหรือพนักงานอัยการก็ได (ศาลจะริเริ่มพิจารณา

คดีอาญาเองไมได) ซ่ึงการพิจารณาและสืบพยานในศาลใหทําโดยเปดเผยตอหนาจําเลย และในคดีอุกฉกรรจถา

จําเลยไมมีทนายใหศาลตั้งทนายใหเม่ือจําเลยตองการ 39. นายออดจางนายธงไปฆานายโต ตอมานายออดเกิดกลัวความผิดจึงไปบอกเลิกการจาง นายธงจึงไมไดไปฆา

นายโต ดังนี้ นายออด (1) มีความผิดแตไมตองรับโทษ (2) เปนผูใช แตไมตองรับโทษ (3) ไมมีความผิด (4) เปนผูใชรับโทษ 1 ใน 3 ตอบ 4 หนา 68 ผูใดกอใหผูอ่ืนกระทําความผิดไมวาดวยการใช บังคับ ขูเข็ญ จาง วาน หรือยุยง สงเสริมหรือ

ดวยวิธีอ่ืนใด ผูนั้นเปนผูใชใหกระทําความผิด ตองรับโทษเสมือนเปนตัวการแตถาความผิดมิไดกระทําลง เปน

เพราะผูถูกใชไมยอมกระทํา ยังไมไดกระทําหรือเหตุอ่ืนใด ผูใชตองระวางโทษเพียง 1 ใน 3 ของโทษที่กําหนดไว

สําหรับความผิดนั้น 40. สมพรใชไมตีศีรษะสมชายสามีโดยชอบดวยกฎหมาย เปนบาดแผลไดรับบาดเจ็บสาหัส ดังนี้ การกระทําของ

สมพร (1) ไมเปนความผิด (2) มีความผิดแตกฎหมายยกเวนโทษให (3) มีความผิดแตยอมความได (4) มีความผิดยอมความไมได ตอบ 4 (คําบรรยาย) ความผิดฐานทํารายรางกาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 เปนความผิดที่ไมอาจ

ยอมความได ไมวาผูใดกระทําตอผูใด สําหรับการกระทําระหวางสามีกับภริยา หรือระหวางผูบุพการีกับ

Page 18: Q&A Intro Law3

18

ผูสืบสันดาน ซ่ึงเปนความผิดแตกฎหมายยกเวนโทษใหหรือลดหยอนโทษให หรือใหยอมความไดนั้น จะตองเปน

การกระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่งเฉพาะที่กฎหมายกําหนดไวเทานั้น เชน ความผิดฐานลักทรัพย ยักยอกทรัพย

หรือทําใหเสียทรัพย เปนตน 41. ถาปรากฏวาผูกระทําผิด ขณะกระทําไมมีความรูสึกผิดชอบเพราะเปนผูมีจิตฟนเฟอน โรคจิตหรือจิตบกพรอง

ประมวลกฎหมายอาญาจะ (1) ยกเวนโทษให (2) ลดโทษใหไมเกินก่ึงหนึ่งของอัตราโทษที่กําหนด (3) ยกเวนความผิด (4) ลดโทษนอยกวาอัตราโทษที่กําหนดไวเพียงใดก็ได ตอบ 1 หนา 56 การกระทําความผิดใด ถาในขณะกระทําบุคคลผูกระทําไมสามารถรูผิดชอบหรือไมสามารถ

บังคับตนเองได เพราะมีจิตบกพรอง โรคจิต หรือจิตฟนเฟอน กฎหมายอาญา (มาตรา 65) จะยกเวนโทษให

สําหรับความผิดนั้น 42. แดงจางเขียวใหไปฆาขาว เขียวยังไมทันไปฆาขาว ปรากฏวาขาวหัวใจวายถึงแกความตายไปกอน ดังนี้ แดง (1) เปนตัวการ (2) เปนผูสนับสนุน (3) เปนผูใช (4) ไมมีความผิดใด ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 39. ประกอบ 43. ขอใดเปนการพยายามกระทําความผิดซ่ึงไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนแท (1) ดํายิงแดง ถูกแดงไดรับบาดเจ็บเล็กนอย (2) ดํายิงแดง ปรากฏวาลูกกระสุนปนดาน

Page 19: Q&A Intro Law3

19

(3) ดํายิงแดง แดงหลบกระสุนปนได (4) ดํายิงแดง ปรากฏวาลืมใสลูกกระสุน ตอบ 4 หนา 1, (คําบรรยาย) การพยายามกระทําความผิดซ่ึงไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนแทเปนการกระทํา

ความผิดที่ไดกระทําไปตลอดแลว แตการกระทํานั้นไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนนอนซ่ึงอาจจะเปนเพราะเหตุ

ปจจัยซ่ึงใชในการกระทํา เชน ใชปนที่ไมมีลูกยิงโดยเจตนาฆา เปนตน หรือเพราะเหตุแหงวัตถุที่มุงหมายกระทํา

ตอก็ได เชน ยิงกระสุนใสตอไมโดยเขาใจวาตอไมเปนคนที่ตนตองการฆา เปนตน 44. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง (1) ความผิดสวนตัวจะสอบสวนไดก็ตอเม่ือผูเสียหายไดรองทุกขไวกอน (2) พนักงานอัยการจะฟองคดีอาญาไดก็ตอเม่ือมีการสอบสวนมาแลว (3) โดยปกติศาลไมตองไตสวนมูลฟอง ถาพนักงานอัยการเปนผูฟองคดีอาญา (4) ราษฎรเปนโจทกฟองในคดีอาญาไมได ตองใหพนักงานอัยการเปนผูฟองคดีอาญา ตอบ 4 หนา 67-68 ในการฟองคดีอาญานั้น 1. ถาพนักงานอัยการเปนผูฟองคดี โดยปกติศาลไมตองไตสวนมูลฟอง เพราะพนักงานอัยการจะฟองคดีไดก็

ตอเม่ือไดมีการสอบสวนมาแลว 2. ถาผูเสียหายเปนโจทกฟองคดีอาญาโดยลําพังตนเอง ศาลตองไตสวนมูลฟองเสียกอนเสมอเพราะเปนการฟอง

คดีโดยไมมีการสอบสวนของพนักงานสอบสวนมากอน หรืออาจเปนการฟองคดีในกรณีที่พนักงานสอบสวน

สอบสวนแลว และมีคําส่ังไมฟอง 45. ขอใดเปนหลักเกณฑการตีความตามกฎหมายอาญา (1) ตีความใหเปนผลรายแกผูตองหา (2) ตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด (3) ตีความตามเจตนารมณของกฎหมาย

Page 20: Q&A Intro Law3

20

(3) ตีความขยายความเพ่ือลงโทษผูกระทําผิด ตอบ 2 หนา 90 กฎหมายอาญาเปนกฎหมายพิเศษ การตีความจึงมีหลักเกณฑที่แตกตางกับกฎหมายทั่วไป คือ

1. ตองตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด 2. จะตีความในทางขยายความใหเปนการลงโทษหรือเพ่ิมโทษผูกระทําใหหนักขึ้นไมได และ 3. ในกรณีเปนที่สงสัย ศาลตองตีความใหเปนผลดีแกผูตองหาวาไมไดกระทําความผิด 46. สินสมรส ไดแก (1) เงินเดือนที่คูสมรสไดรับกอนสมรส (2) ดอกเบี้ยเงินฝากในธนาคารที่หญิงไดมากอนสมรส (3) ลูกหมูซ่ึงแมหมูของภริยาตกลูกเม่ือมีการสมรส (4) เงินมรดกที่ไดรับในขณะสมรสในฐานะทายาทโดยธรรม ตอบ 3 หนา 163 สินสมรส ไดแก 1. ทรัพยสินที่คูสมรสไดมาระหวางสมรส เชน เงินเดือนหรือรางวัลที่ไดจากการถูกลอตเตอรี ่ 2. ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยพินัยกรรม เม่ือพินัยกรรมระบุวาใหเปนสินสมรส 3. ดอกผลของสินสวนตัว ซ่ึงเกิดมีขึ้นเม่ือมีการสมรส เชน ลูกหมูซ่ึงแมหมูตกลูกเม่ือสมรสแลว (ดอกเบี้ยเงินฝากแมจะเปนดอกผลของสินสวนตัว แตไดมากอนสมรสจึงไมเปนสินสมรสแตเปนสินสวนตัว) 47. กรณีใดตอไปนี้มิใชการส้ินสุดการสมรส (1) หยา (2) ตาย (3) การสาบสูญ (4) ศาลพิพากษาใหเพิกถอน

Page 21: Q&A Intro Law3

21

ตอบ 3 หนา 166 การสมรสส้ินสุดลงไดโดยความตาย ศาลพิพากษาใหเพิกถอนการสมรสและการหยา (การสาบสูญเปนเพียงเหตุฟองหยาเทานั้น) 48. อุปกรณ คือ (1) พวงมาลัยรถยนต (2) ยางอะไหลที่อยูทายรถ (3) วิทยุติดรถยนต (4) บัวรดน้ํา ตอบ 2 หนา 188-189 “อุปกรณ” หมายความวา สังหาริมทรัพยซ่ึงโดยปกตินิยมเฉพาะถ่ินหรือโดยเจตนาชัด

แจงของเจาของทรัพยที่เปนประธาน เปนของใชประจําอยูกับทรัพยที่เปนประธานเปนอาจิณเพ่ือประโยชนแกการ

จัดดูแล ใชสอย หรือรักษาทรัพยที่เปนประธาน... จะเห็นไดวาอุปกรณไมใชทรัพยที่มีการรวมสภาพกับทรัพยที่

เปนประธานจนไมสามารถแยกออกจากกันได ซ่ึงแตกตางจากสวนควบ เชน ยางอะไหลที่อยูทายรถ ปลอกแวนตา

เปนตน (พวงมาลัยรถยนตถือเปนสวนควบของรถยนต) 49. กรณีใดมิใชมรดก (1) สิทธิเรียกรองตามสัญญากูยืมของเจามรดก (2) สิทธิตามสัญญาเชา (3) ที่ดินของเจามรดก (4) กําไลทองคําของเจามรดก ตอบ 2 หนา 171-172 “มรดก” หมายถึง ทรัพยสินทุกชนิดของผูตายตลอดทั้งสิทธิ หนาที่ และความ

รับผิดชอบตางๆดวย เวนแต ตามกฎหมายหรือวาโดยสภาพแลวเปนการเฉพาะตัวของผูตายโดยแท (สิทธิตาม

สัญญาเชา เปนสิทธิเฉพาะตัวของผูตาย) 50. มรดกยอมตกทอดเม่ือ

Page 22: Q&A Intro Law3

22

(1) เปดพินัยกรรมออกอาน (2) ทายาทแสดงเจตนายอมรับมรดก (3) ทายาทไดทราบถึงการตายของเจามรดก (4) เจามรดกตาย ตอบ 4 หนา 172, (คําบรรยาย) ป.พ.พ. มาตรา 1599 วรรคแรก บัญญัติวา “เม่ือบุคคลใดตายมรดกของบุคคล

นั้นตกทอดแกทายาท” ซ่ึงการตกทอดของมรดกนั้น จะตกทอดแกทายาททันทีเม่ือเจามรดกตาย 51. บุคคลใดตอไปนี้มิอาจรับมรดกในฐานะผูรับพินัยกรรม (1) คูสมรส (2) บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแลว (3) คนรับใชของเจามรดก (4) ศาลเจา ตอบ 4 หนา 173-175 บุคคลผูมีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ไดแก ญาติของผูตายและคูสมรสของ

ผูตาย ซ่ึงจะตองเปนบุคคลธรรมดาเทานั้นและที่สําคัญตองมีสภาพบุคคลในขณะที่เจามรดกตายดวย แตบุคคลผูมี

สิทธิรับมรดกในฐานะผูรับพินัยกรรมนั้นเปนบุคคลธรรมดาที่เปนญาติหรือคูสมรสของผูตายหรือไมก็ได หรือ

อาจจะเปนนิติบุคคล เชน วัด มูลนิธิ ก็ได (ศาลเจาไมมีสภาพเปนนิติบุคคล) 52. ผูสืบสันดานที่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ไดแก (1) บุตรนอกกฎหมายที่บิดาใหใชนามสกุล (2) บุตรบุญธรรมไดจดทะเบียน (3) บุตรที่เกิดจากบิดาและมารดาที่ไดจดทะเบียนสมรส (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 173-174 ผูสืบสันดานที่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ไดแก บุตร หลาน เหลน ล้ือ

ของเจามรดก ซ่ึงทายาทช้ันบุตรที่จะมีสิทธิรับมรดกนั้นหมายถึงบุคคล 3 ประเภท คือ

Page 23: Q&A Intro Law3

23

1. บุตรที่ชอบดวยกฎหมาย คือ บุตรที่เกิดจากบิดามารดาที่จดทะเบียนสมรสกัน 2. บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองโดยพฤติการณ เชน ใหใชนามสกุล แจงเกิดในสูติบัตรวาเปนบิดา เปนตน 3. บุตรบุญธรรมที่ไดจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมแลว 53. คนเสมือนไรความสามารถทําพินัยกรรมโดยไมไดรับความยินยอมจากผูพิทักษ พินัยกรรมยอม (1) สมบูรณ (2) ตกเปนโมฆียะ (3) ตกเปนโมฆะ (4) จะสมบูรณหากไดรับอนุญาตจากศาลดวย ตอบ 1 หนา 177 คนเสมือนไรความสามารถทํานินัยกรรมไดสมบูรณโดยลําพังตนเอง เพราะพินัยกรรมที่คน

เสมือนไรความสามารถไดทําขึ้นนั้น ไมมีกฎหมายบัญญัติหาม หรือวางเงื่อนไขไวแตอยางใด 54. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง (1) หากไมมีทายาทเปนผูรับมรดก ทรัพยมรดกยอมตกแกแผนดิน (2) การเปนทายาทโดยธรรมจะตองถือตามความเปนจริง (3) บุคคลที่เปนทายาทของเจามรดกยอมมีสิทธิรับมรดกเสมอ (4) ผูรับพินัยกรรมไมจําเปนตองมีความสัมพันธใดกับเจามรดกก็ได ตอบ 3 หนา 178-179 ทายาทของเจามรดกอาจสูญเสียสิทธิในการรับมรดกไดดวยเหตุอยางใดอยางหนึ่ง

ดังตอไปนี้ คือ 1. ถูกตัดมิใหรับมรดก 2. ถูกกําจัดมิใหรับมรดก 3. สละมรดก 4. อายุความมรดก 55. ขอใดมีลักษณะเปน กฎเกณฑ (Norm) ของรัฐที่ใชควบคุมความประพฤติของมนุษย (1) การรณรงคใหผูขับรถเม่ือเกิดการงวงไมควรขับรถ

Page 24: Q&A Intro Law3

24

(2) การขอความรวมมือใหสถานบันเทิงงดจําหนายสุราทุกวันพระ (3) การวางแฟนรายไดเพ่ือใหคํานวณอัตราการเสียภาษีนอย (4) การปรับสถานบันเทิงที่ฝาฝนไมยอมปดตามเวลาที่กําหนด ตอบ 4 หนา 15 กรณีที่จะถือวาเปนกฎเกณฑ (Norm) นั้นจะตองเปนขอบังคับที่เปนมาตรฐานที่ใชวัดและใช

กําหนดความประพฤติของสมาชิกของสังคมไดวาถูกหรือผิด ใหกระทําการไดหรือหามกระทําการ ซ่ึงหากผูใดฝา

ฝนไมยอมปฏิบัติตามกฎเกณฑที่กําหนดไวถือเปนส่ิงที่ผิดและจะถูกลงโทษ เชน ผูมีเงินไดตองเสียภาษีใหรัฐบาล

หรือหามเปดสถานบันเทิงเกินเวลาที่กําหนด เปนตน 56. ระบบกฎหมายของประเทศใดที่คําพิพากษาเปนเพียงคําอธิบายการใชตัวบทปรับแกคดีสามารถเปล่ียนแปลง

หรือกลับคําพิพากษาไดโดยอาศัยเหตุผลที่ดีกวา (1) ประเทศไทย (2) ประเทศสหรัฐอเมริกา (3) ประเทศอังกฤษ (4) ประเทศออสเตรเลีย ตอบ 1 หนา 21,24 ประเทศไทยเปนประเทศที่ใชกฎหมายระบบซีวิล ลอว หรือกฎหมายลายลักษณอักษร

ดังนั้นจึงถือวาคําพิพากษาของศาลเปนเพียงคําอธิบายการใชตัวบทกฎหมายปรับแกคดี ซ่ึงสามารถเปล่ียนแปลง

หรือกลับคําพิพากษาไดโดยอาศัยเหตุผลความคลาดเคล่ือนไมสอดคลองกับหลักหรือตัวบทกฎหมาย 57. ประเทศที่นิยมใหมีการแบงแยกกฎหมายเปนประเภทตางๆไดแก (1) สหรัฐอเมริกา (2) อังกฤษ (3) ไทย (4) ถูกเฉพาะขอ 1 และขอ 2

Page 25: Q&A Intro Law3

25

ตอบ 3 หนา 43 การแบงแยกกฎหมายออกเปนประเภทตางๆนั้น นิยมทํากันในประเทศที่ใชระบบกฎหมายซิวิล

ลอว หรือระบบกฎหมายลายลักษณอักษร เชน ฝรั่งเศส เยอรมัน และไทย เปนตน 58. นายดําตองการย่ืนคํารองขอใหศาลส่ังใหนายขาวบิดาของตนซ่ึงเปนคนวิกลจริตใหตกเปนคนไร

ความสามารถและตั้งนายดําเปนผูอนุบาล นายดําตองย่ืนคํารองตอ (1) ศาลปกครอง (2) ศาลอาญา (3) ศาลแพง (4) ศาลเยาวชนและครอบครัว ตอบ 3 หนา 69,220, (คําบรรยาย) ศาลแพง คือ ศาลที่มีอํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําส่ังคดีในทางแพง ซ่ึง

ไมอยูในอํานาจของศาลพิเศษอ่ืน โดยจะเปนคดีที่มีขอพิพาทหรือไมมีขอพิพาทก็ได เชน การรองขอใหศาลส่ังให

บุคคลวิกลจริตเปนคนไรความสามารถ หรือการรองขอใหศาลตั้งผูอนุบาล เปนตน 59. ขอใดเปนสาขายอยของกฎหมายมหาชน (1) กฎหมายรัฐธรรมนูญ (2) กฎหมายปกครอง (3) กฎหมายอาญา (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 46-47,50,53 กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่กําหนดความสัมพันธระหวางรัฐหรือหนวยงาน

ของรัฐกับราษฎร หรือระหวางหนวยงานของรัฐดวยกันเอง เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมาย

อาญา ฯลฯ สวนกฎหมายเอกชน เปนกฎหมายที่กําหนดสิทธิหนาที่ระหวางเอกชนในฐานะเทาเทียมกัน เชน

กฎหมายแพง กฎหมายพาณิชย กฎหมายแรงงาน เปนตน 60. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กําหนดใหนายกรัฐมนตรีตองแตงตั้งจาก (1) หัวหนาพรรคการเมือง

Page 26: Q&A Intro Law3

26

(2) สมาชิกสภาผูแทนราษฎร (3) สมาชิกวุฒิสภา (4) ไมมีขอใดถูก ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 171 วรรคสอง และ 172 วรรคแรก กําหนดใหนายกรัฐมนตรีตอง

แตงตั้งจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเทานั้น โดยใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณาใหความเห็นชอบบุคคลซ่ึงสมควร

ไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีใหแลวเสร็จภายใน 30 วันนับแตวันที่มีการเรียกประชุมรัฐสภาเปนครั้งแรก 61. การยุบสภาผูแทนราษฎรตองกระทําโดย (1) พระราชกําหนด (2) พระราชบัญญัติ (3) พระราชกฤษฎีกา (4) ประกาศสํานักนายกรัฐมนตร ี ตอบ 3 หนา 33 ตามรัฐธรรมนูญ การตราพระราชกฤษฎีกาของพระมหากษัตริยโดยคําแนะนําของ

คณะรัฐมนตรีนั้นจะเกิดขึ้นใน 3 กรณีคือ 1. รัฐธรรมนูญกําหนดใหตราขึ้นในกิจการที่สําคัญอันเก่ียวกับฝาย

บริหารและนิติบัญญัติ เชน พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา, พระราชกฤษฎีกายุบสภาผูแทนราษฎร หรือ

พระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้งสมาชิกผูแทนราษฎร ฯลฯ 2. โดยอาศัยอํานาจตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 196 (เรื่องเงินประจําตําแหนง บําเหน็จบํานาญและประโยชนตอบแทน) 3. โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายแมบท

(พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนด) ที่ใหอํานาจตราพระราชกฤษฎีการได 62. แดงใชปนยิงดํา ดําจึงยิงสวนกลับ แดงถึงแกความตาย ดังนี ้ (1) ดําไมตองรับโทษ เพราะกระทําดวยความจําเปน (2) ดําไมมีความผิด เพราะกระทําดวยความจําเปน (3) ดําไมตองรับโทษ เพราะเปนการปองกันโดยชอบ (4) ดําไมมีความผิด เพราะเปนการปองกันโดยชอบ

Page 27: Q&A Intro Law3

27

ตอบ 4 หนา 55-56 การกระทําของดํา เปนการกระทําเพ่ือปองกันสิทธิของตนใหพนภยันตราย ซ่ึงเกิดจากการ

ประทุษรายอันละเมิดตอกฎหมาย และเปนภยันตรายที่ใกลจะถึง เม่ือไดกระทําไปพอสมควรแกเหตุ ถือวาการ

กระทํานั้นเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมาย ผูกระทําไมมีความผิด (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68) 63. คดีแพงที่ตองทําเปนคํารอง เชน การย่ืนคํารองขอเปนผูจัดการมรดก ถือเปนคดีแพงประเภท (1) คดีมีขอพิพาท (2) คดีไมมีขอพิพาท (3) คดีที่มีขอโตแยง (4) คดีที่ตองมีคูความ ตอบ 2 หนา 69 คดีแพงนั้น แบงได 2 ประเภท คือ 1. คดีไมมีขอพิพาท คือ คดีที่ไมมีจําเลย เพราะไมมีคําขอใหศาลบังคับผูใด เปนแตขอใหศาลแสดงสิทธิของตน

หรือใหตนมีสิทธิอยางใดอยางหนึ่ง การฟองคดีจึงตองทําเปนคํารอง 2. คดีมีขอพิพาท คือ คดีที่จะตองมีจําเลยเขาเปนคูความดวย มีการขอใหศาลบังคับจําเลย การฟองคดีจึงตองทํา

เปนคําฟอง 64. การที่นายเขียวละเมอถีบนายแดงตกเตียง ดังนี้ นายเขียวมี”การกระทํา” หรือไม (1) ไมมี เพราะไมใชเจตนาของตน (2) มี เพราะมีการคิด ตัดสินใจ และตกลงกระทําตามที่ไดตัดสินใจ (3) ไมมี เพราะการเคล่ือนไหวไมอยูภายใตการควบคุมของจิตใจ (4) มี เพราะทําใหนายแดงไดรับบาดเจ็บ ตอบ 3 (คําบรรยาย) “การกระทํา” ในทางกฎหมายอาญานั้น หมายถึง การเคล่ือนไหวรางกายหรือไม

เคล่ือนไหวรางกายโดยรูสํานึก หรืออยูในอํานาจควบคุมบังคับของจิตใจ คือ จิตใจสามารถที่จะบังคับใหมีการ

เคล่ือนไหวหรือไมเคล่ือนไหวนั้นได (การละเมอไมถือวาอยูภายใตอํานาจบังคับของจิตใจ) 65. ขอใดที่ทําใหกฎหมายมหาชนแตกตางจากกฎหมายเอกชน

Page 28: Q&A Intro Law3

28

(1) กฎหมายมหาชนมีลักษณะเปนกฎเกณฑเฉพาะเรื่อง (2) กฎหมายมหาชนใชบังคับกับนิติสัมพันธที่ไมตองอาศัยความสมัครใจ (3) กฎหมายมหาชนมุงรักษาผลประโยชนของประชาชนแตละคน (4) กฎหมายมหาชนใชกับคูกรณีที่เปนเอกชนเทานั้นไมรวมถึงหนวยงานของรัฐดวยกันเอง ตอบ 2 หนา 44-45 “กฎหมายมหาชน” คือ กฎหมายที่กําหนดความสัมพันธระหวางรัฐหรือหนวยงานของรัฐ

กับราษฎรในฐานะที่รัฐเปนฝายปกครองราษฎร รัฐจึงจําตองตรากฎหมายขึ้นใชบังคับความประพฤติของพลเมือง

ภายในรัฐ โดยไมตองอาศัยความสมัครใจของผูกอนิติสัมพันธทั้งสองฝาย แตกฎหมายเอกชนเปนกฎหมายที่

กําหนดสิทธิ หนาที่ ระหวางเอกชนดวยกันเองในฐานะเทาเทียมกัน จึงตองอาศัยความสมัครใจของคูสัญญาทั้ง

สองฝาย 66. โดยหลักกฎหมายอาญาแลว การตระเตรียมกระทําความผิด (1) ยังไมเปนความผิด (2) เปนความผิดแตไมตองรับโทษ (3) เปนความผิดรับโทษเพียงหนึ่งในสามของความผิดสําเร็จ (4) เปนความผิดรับโทษสองในสามของความผิดสําเร็จ ตอบ 1 หนา 59-60 บุคคลจะตองรับผิดในทางอาญาก็ตอเม่ือไดลงมือกระทําความผิดแลวไมวาการกระทํานั้น

จะไดกระทําไปตลอดหรือจะบรรลุผลหรือไมก็ตาม สําหรับขั้นตอนของความคิด การตกลงใจ และการตระเตรียม

การที่จะกระทําความผิดนั้น ในทางกฎหมายยังไมถือวาเปนความผิดและจะตองรับโทษแตอยางใด (ยกเวนการ

ตระเตรียมการที่จะกระทําความผิดบางประเภทซ่ึงเปนความผิดรายแรง) 67. ตามหลักกฎหมายอาญา หากไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยชัดแจงวาการกระทําใดเปนความผิด (1) ตองวินิจฉัยโดยใชจารีตประเพณี (2) ตองวินิจฉัยโดยอาศัยบทกฎหมายใกลเคียงอยางย่ิง (3) ไมตองวินิจฉัยเพราะไมมีความผิดเกิดขึ้น (4) ถูกเฉพาะขอ 1 และขอ 2

Page 29: Q&A Intro Law3

29

ตอบ 3 หนา 54,90 กฎหมายอาญาตองตีความโดยเครงครัด ถาไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยชัดแจงวาการกระทํา

ใดเปนความผิด ยอมไมมีความผิด และไมมีโทษ ( อีกทั้งไมอาจนําวิธีการอุดชองวางตามกฎหมายแพงมาใชบังคับ

ในคดีอาญาได) 68. รัฐธรรมนูญปจจุบัน (พ.ศ. 2550) กําหนดใหผูสมัครรับการเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตองมีอายุ

ไมต่ํากวา (1) 20 ปบริบูรณ (2) 25 ปบริบูรณ (3) 30 ปบริบูรณ (4) 40 ปบริบูรณ ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 101 กําหนดใหผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ตองมีอายุไมต่ํากวา 25 ปบริบูรณ ในวันเลือกตั้ง 69. รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน (พ.ศ.2550 ) กําหนดใหมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดละ (1) 1 คน (2) 2 คน (3) 3 คน (4) แลวแตจํานวนประชากรโดยคํานวณจากประชากร 1 แสนหาหม่ืนตอสมาชิกวุฒิสภา ตอบ 1 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 111 กําหนดใหมีจํานวนสมาชิกวุฒิสภาจํานวนทั้งส้ิน 150 คนโดยมา

จากการเลือกตั้งในแตละจังหวัด จังหวัดละ 1 คน รวม 76 คน และมาจากการสรรหา 74 คน หมายเหตุ ** ปจจุบันมีการตั้งอําเภอบึงกาฬเปนจังหวัดที่ 77 ดังนั้นในการเลือกตั้งและสรรหาสมาชิกวุฒิสภา

วาระหนา จะประกอบไปดวยสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง 77 คน และมาจากการสรรหา 73 คน 70. มารดาของสามีลักทรัพยลูกสะใภ

Page 30: Q&A Intro Law3

30

(1) มีความผิดแตไมตองรับโทษ (2) มีความผิดแตยอมความได (3) มีความผิดแตไดรับการลดโทษ (4) มีความผิดยอมความไมได ตอบ 4 หนา 58-59, (คําบรรยาย) การกระทําระหวางสามีกับภริยา หรือระหวางผูบุพการีกับผูสืบสันดาน ซ่ึง

เปนความผิดแตกฎหมายยกเวนโทษให หรือลดหยอนโทษให หรือใหยอมความไดนั้น จะตองเปนการกระทํา

ความผิดฐานใดฐานหนึ่งเฉพาะทีกฎหมายกําหนดไวเทานั้น เชน ความผิดฐานลักทรัพย ยักยอกทรัพย หรือทําให

เสียทรัพย เปนตน (จากโจทยจะเห็นวาการที่มารดาของสามีลักทรัพยลูกสะใภนั้น ไมใชกรณีที่บุพการีกระทําตอ

ผูสืบสันดาน อันจะเปนเหตุใหผูกระทํามีความผิด แตกฎหมายยกเวนโทษให หรือลดหยอนโทษให และความผิด

ฐานลักทรัพยนั้นยอมความไมได) 71. บุตรลักทรัพยของบิดา (1) มีความผิดแตไมตองรับโทษ (2) มีความผิดแตยอมความได (3) มีความผิดยอมความไมได (4) ไมมีขอใดถูก ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 70. ประกอบ (ความผิดฐานลักทรัพย ถาเปนการกระทําระหวางผูสืบสันดานกับผูบุพการี

ใหถือวาเปนความผิดอันยอมความได และศาลจะลงโทษนอยกวาที่กฎหมายกําหนดไวเพียงใดก็ได) 72. นิติกรรมขอใดที่ผูเยาวทําไดตามลําพังตนเอง (1) รบการใหที่ดินติดจํานอง (2) ซ้ือรถยนตเพ่ือใชขับไปเรียนหนังสือที่มหาวิทยาลัย (3) จดทะเบียนรับรองบุตร (4) ไมมีขอใดถูก

Page 31: Q&A Intro Law3

31

ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 12. ประกอบ 73. ส่ิงใดตอไปนี้มิใชสวนควบ (1) บานบนที่ดิน (2) วิทยุติดรถยนต (3) เลนสแวนตา (4) ที่งอกริมตล่ิง ตอบ 2 หนา 187 “สวนควบ” ของทรัพย คือ สวนซ่ึงโดยสภาพแหงทรัพยหรือโดยจารีตประเพณีแหงทองถ่ิน

เปนสาระสําคัญในความเปนอยูของทรัพยนั้น และไมอาจแยกจากกันได นอกจากจะทําลายทําใหบุบสลาย หรือทํา

ใหทรัพยนั้นเปล่ียนแปลงรูปหรือสภาพไป เชน บานบนที่ดิน ที่งอกริมตล่ิงเปนสวนควบของที่ดิน หรือแวนตา

เปนสวนควบของเลนส เปนตน 74. ขอใดตอไปนี้ถูกที่สุด (1) ส่ิงใดที่เปนทรัพยสินส่ิงนั้นยอมเปนทรัพยเสมอดวย (2) ส่ิงใดเปนทรัพยส่ิงนั้นยอมเปนทรัพยสินเสมอ (3) การจะเปนทรัพยหรือทรัพยสินไดตองมีกฎหมายกําหนดโดยเฉพาะ (4) ทรัพยและทรัพยสินมีความหมายเดียวกัน ตอบ 2 หนา 181 “ทรัพย” หมายถึง วัตถุมีรูปราง ซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาได เชน รองเทา นาฬิกา ตุกตาหมี

ฯลฯ สวน “ทรัพยสิน” หมายถึง ทรัพย และวัตถุไมมีรูปรางซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาได เชน พลังงานปรมาณู

แกส กรรมสิทธ์ิ ลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร ฯลฯ ดังนั้นถาส่ิงใดเปนทรัพยส่ิงนั้นยอมเปนทรัพยสินเสมอ 75. ขอใดตอไปนี้มิใชทรัพย (1) รองเทา (2) ลิขสิทธ์ิ

Page 32: Q&A Intro Law3

32

(3) นาฬิกา (4) ตุกตาหมี ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 74. ประกอบ 76. ส่ิงใดตอไปนี้เปนอสังหาริมทรัพย (1) ตนพลูที่ปลูกลงในที่ดิน (2) เรือยนต (3) รถยนต (4) แพที่ใชอยูอาศัย ตอบ 1 หนา 182-183 “อสังหาริมทรัพย” หมายถึง ที่ดิน และทรัพยอันติดอยูกับที่ดิน มีลักษณะเปนการถาวร

หรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเก่ียวกับที่ดิน หรือทรัพยอันติดอยูกับ

ที่ดิน หรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้นดวย (ตนพลู เปนไมที่มีอายุกวา 3 ปเม่ือปลูกบนที่ดินถือวาเปนทรัพย

อันติดอยูกับที่ดินและเปนสวนควบกับที่ดินจึงเปนอสังหาริมทรัพย) 77.ดอกเบี้ยเงินกู คือ (1) ดอกผลธรรมดา (2) ดอกผลนิตินัย (3) เปนทั้งดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย (4) ไมใชดอกผล ตอบ 2 หนา 190 “ดอกผลนิตินัย” หมายถึง ทรัพยหรือประโยชนอยางอ่ืนที่ไดมาเปนครั้งคราวแกเจาของทรัพย

จากผูอ่ืน เพ่ือการที่ไดใชทรัพยนั้น และสามารถคํานวณและถือเอาไดเปนรายวันหรือตามระยะเวลาที่กําหนดไว

เชน ดอกเบี้ย คาเชา หรือประโยชนในการใหเชาไปทํากินในที่ดิน

Page 33: Q&A Intro Law3

33

78. ขอใดถูกตองที่สุด (1) ดอกผลธรรมดาบางประเภทสามารถทดแทนดอกผลนิตินัยได (2) ทรัพยบางประเภทสามารถเปนไดทั้งอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพย (3) เจาของที่ทรัพยสินยอมมีสิทธิไดดอกผลแหงทรัพยสินนั้น (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 191 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1336 บัญญัติวา “ภายในบังคับแหงกฎหมายเจาของทรัพยสินมีสิทธิใช

สอยและจําหนายทรัพยสินของตนและไดซ่ึงดอกผลแหงทรัพยสินนั้น...” 79. บานทรงไทยที่ซ้ือขายกันโดยซ้ือเปนสวนๆ ไปประกอบในที่ดินอีกแหง คือ (1) อสังหาริมทรัพย (2) อุปกรณ (3) สวนควบ (4) สังหาริมทรัพย ตอบ 4 (คําบรรยาย) ทรัพยใดแมจะเปนอสังหาริมทรัพยแตก็อาจจะโอนกันในรูปสังหาริมทรัพยก็ได เชน บาน

ทรงไทยที่ซ้ือขายกันเปนสวนๆ ดังกลาว ไมถือวาเปนการซ้ือขายทรัพยอันติดอยูกับที่ดิน จึงไมเปนการซ้ือขาย

อสังหาริมทรัพย แตเปนการซ้ือขายทรัพยในสภาพของสังหาริมทรัพยทั่วไป 80. การไดมาซ่ึงกรรมสิทธ์ิโดยทางนิติกรรม คือ (1) การครอบครองปรปกษ (2) สัญญาซ้ือขาย (3) การแยงสิทธิครอบครอง (4) ที่งอกริมตล่ิง ตอบ 2 หนา 192-194 การไดมาซ่ึงสิทธ์ิมี 2 กรณี คือ

Page 34: Q&A Intro Law3

34

1. การไดมาโดยทางนิติกรรม เชน การซ้ือขาย แลกเปล่ียน ให เปนตน และ 2. การไดมาโดยทางอ่ืนนอกจากนิติกรรม เชน การไดมาโดยการครอบครองปรปกษ โดยอาศัยหลักสวนควบ

หรือโดยทางมรดก เปนตน 81. ขอใดตอไปนี้มิใชทรัยพสิทธิ (1) สิทธิครอบครอง (2) ภาระจํายอม (3) กรรมสิทธ์ิ (4) ไมมีขอใดถูก ตอบ 4 หนา 192 ทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่มีวัตถุแหงสิทธิเปนทรัพยสิน หรือสิทธิที่มีอยูเหนือทรัพยสินโดยตรง

เชน กรรมสิทธ์ิ สิทธิครอบครอง ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน สิทธิเหนือพ้ืนดิน ภาระติดพันใน

อสังหาริมทรัพย สิทธิจํานอง สิทธิจํานํา สิทธิยึดหนวง ลิขสิทธ์ิ สิทธิในเครื่องหมายการคา เปนตน 82. นิติบุคคลมีสิทธิ (1) เปนโจทกฟองคดีแพง (2) รับโทษทางอาญาทุกโทษ (3) รับรองบุตร (4) สมรส ตอบ 1 หนา 150-151 นิติบุคคลมีสิทธิและหนาที่ภายในขอบวัตถุประสงคของตน เชน อาจเปนโจทกฟองคดี

หรืออาจถูกฟองตอศาล อีกทั้งยังมีสิทธิหนาที่เหมือนบุคคลธรรมดา เวนแตสิทธิและหนาที่ซ่ึงโดยสภาพจะพึงมีพึง

เปนไดแกบุคคลธรรมดาเทานั้น เชน การสมรส การรับรองบุตร ฯลฯ 83. ขอใดมิใชผูแทนนิติบุคคล

Page 35: Q&A Intro Law3

35

(1) กรรมการสมาคมเปนผูแทนสมาคม (2) พระในวัดเปนผูแทนวัด (3) หุนสวนผูจัดการเปนผูแทนหางหุนสวนจํากัด (4) อธิบดีเปนผูแทนกรม ตอบ 2 หนา 151-152 นิติบุคคล เปนส่ิงที่ไมมีชีวิตจิตใจ จึงไมสามารถที่จะแสดงเจตนาหรือทําการใดโดย

ตนเองได ดังนั้น กฎหมายจึงบัญญัติใหนิติบุคคลแสดงเจตนาตางๆโดยผานผูแทนนิติบุคคล ซ่ึงอาจมีคนเดียวหรือ

หลายคนก็ได เชน รัฐมนตรีเปนผูแทนกระทรวง อธิบดีเปนผูแทนกรม เจาอาวาสเปนผูแทนวัดวาอาราม หุนสวน

ผูจัดการเปนผูแทนหางหุนสวนที่จดทะเบียนแลว กรรมการเปนผูแทนของบริษัทจํากัด คณะกรรมการสมาคมเปน

ผูแทนของสมาคม คณะกรรมการมูลนิธิเปนผูแทนของมูลนิธิ เปนตน 84. ผูเยาวทํานิติกรรมตอไปนี้ไดโดยไมตองไดรับอนุญาตศาล (1) ทําพินัยกรรมเม่ืออายุ 15 ป (2) ประนีประนอมยอมความ (3) ใหกูยืมเงิน (4) ขายอสังหาริมทรัพย ตอบ 1 หนา 134-135 ในการทํานิติกรรมของผูเยาวนั้น นอกจากผูเยาวจะตองไดรับความยินยอมจากผูแทน

โดยชอบธรรมแลว มีนิติกรรมบางประเภทผูเยาวจะตองไดรับอนุญาตจากศาลดวย เชน การขายอสังหาริมทรัพย

การใหเชาอสังหาริมทรัพยเกินกวา 3 ป การใหกูยืมเงิน หรือการประนีประนอมยอมความ เปนตน (การทํา

พินัยกรรมไมตองขออนุญาตจากศาล) 85. ขอใดที่คนเสมือนไรความสามารถ ทํานิติกรรมไดดวยตนเอง (1) การนําทรัพยไปลงทุน (2) กูยืมเงิน (3) ใหกูยืมเงิน (4) เชาบานอยูอาศัยเปนระยะเวลา 1 ป

Page 36: Q&A Intro Law3

36

ตอบ 4 หนา 138-139 คนเสมือนไรความสามารถ โดยหลักแลวสามารถทํานิติกรรมใดๆไดสมบูรณโดยลําพัง

ตนเอง เวนแตนิติกรรมที่สําคัญบางอยางตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษกอน มิฉะนั้นจะตกเปนโมฆียะ เชน

การนําทรัพยสินไปลงทุน การกูหรือใหกูยืมเงิน การค้ําประกัน จํานอง หรือการเชาหรือใหเชาสังหาริมทรัพยมี

กําหนดเวลาเกินกวา 6 เดือน หรืออสังหาริมทรัพยมีกําหนดเวลาเกินกวา 3 ป (บานเปนอสังหาริมทรัพย) 86. คนไรความสามารถทํานิติกรรมขอใดได หากผูอนุบาลยินยอม (1) นิติกรรมที่เปนการเฉพาะตัว (2) นิติกรรมที่เก่ียวกับสังหาริมทรัพย (3) นิติกรรมที่ไดไปซ่ึงสิทธิ (4) ทํานิติกรรมใดๆก็ไมไดทั้งส้ิน ตอบ 1 หนา 137 คนไรความสามารถทํานิติกรรมใดๆ นิติกรรมนั้นจะตกเปนโมฆียะทั้งส้ินไมวาจะไดทํานิติ

กรรมในขณะวิกลจริตหรือไมก็ตาม หรือไดทํานิติกรรมโดยผูอนุบาลจะไดยินยอมหรือไมก็ตาม นิติกรรมที่

เก่ียวกับคนไรความสามารถตองใหผูอนุบาลทําแทน เวนแตพินัยกรรมซ่ึงผูอนุบาลไมอาจทําแทนได เพราะการทํา

พินัยกรรมเปนสิทธิเฉพาะตัว ดังนั้นพินัยกรรมที่คนไรความสามารถไดทําขึ้น หรือใหผูอนุบาลทําแทนยอมตกเปน

โมฆะ 87. ขอใดไมถูกตอง (1) บุคคลใดถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญแลวกฎหมายถือวาถึงแกความตาย (2) เม่ือบุคคลใดถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญ มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกทายาท (3) เม่ือบุคคลใดถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญ ทําใหการสมรสขาดจากกัน (4) การเปนคนสาบสูญอาจมีการเพิกถอนคําส่ังได ตอบ 3 หนา 146 ในกรณีที่ศาลมีคําส่ังใหบุคคลใดเปนคนสาบสูญแลวจะมีผลตามกฎหมาย คือ 1. คูสมรสอีกฝายหนึ่งฟองหยาได (แตไมทําใหการสมรสส้ินสุดลง) 2. ถือเปนการส้ินสุดอํานาจปกครองบุตร 3. มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกทายาท

Page 37: Q&A Intro Law3

37

4. ถือเสมือนวาบุคคลนั้นส้ินสภาพบุคคลหรือถึงแกความตาย อยางไรก็ตามหากคนสาบสูญยังมีชีวิตอยูหรือตาย

ในเวลาอ่ืนผิดไปจากเวลาที่กฎหมายสันนิษฐานไว ศาลก็อาจเพิกถอนคําส่ังใหเปนคนสาบสูญได 88. การส้ินสภาพบุคคลธรรมดา ไดแก (1) ถูกศาลพิพากษาลงโทษจําคุกตลอดชีวิต (2) ถูกศาลส่ังใหเปนบุคคลสาบสูญ (3) ถูกศาลส่ังใหลมละลาย (4) ถูกศาลส่ังใหเปนบุคคลไรความสามารถ ตอบ 2 หนา 140-141 สภาพบุคคลของบุคคลธรรมดายอมส้ินสุดลงเม่ือตาย ซ่ึงการตายนั้นมีได 2 กรณี คือ 1

ตามธรรมดา และ 2. ตายโดยผลของกฎหมาย คือ เม่ือบุคคลนั้นไดถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญ 89. นิติบุคคลแสดงเจตนาตางๆไดโดย (1) ผานผูแทนนิติบุคคล (2) แสดงเจตนาเปนลายลักษณอักษร (3) แสดงเจตนาไดดวยตัวเอง (4) ถูกทุกขอ ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 83. ประกอบ 90. ขอใดถือเปนภูมิลําเนานิติบุคคล (1) ที่ตั้งที่ทําการ (2) ภูมิลําเนาเฉพาะการตามขอตกลง (3) สาขา (4) ถูกทุกขอ

Page 38: Q&A Intro Law3

38

ตอบ 4 หนา 152-153 ภูมิลําเนาของนิติบุคคลแยกเปน 3 ประเภท 1. ที่ตั้งสํานักงานใหญหรือที่ตั้งที่ทํา

การ 2. ถ่ินที่เลือกเอาเปนภูมิลําเนาเฉพาะการตามขอตกลงหรือตราสารจัดตั้ง 3. ถ่ินของสํานักงานสาขาใน

สวนที่กิจการนั้นไดทําขึ้น 91. ผูปกครองของผูเยาวมีไดในกรณี (1) ผูเยาวไมมีบิดามารดา (2) บิดามารดาถูกถอนอํานาจการปกครอง (3) บิดามารดาหยาขาดจากกัน (4) ถูกเฉพาะขอ 1 และขอ 2 ตอบ 4 หนา 134 ผูปกครองของผูเยาวซ่ึงจะเปนผูแทนโดยชอบธรรม จะมีไดใน 2 กรณี คือ 1. ผูเยาวไมมีบิดามารดา (กรณีบิดามารดาตายหรือไมปรากฏบิดามารดา) 2. บิดามารดาถูกถอนอํานาจปกครอง 92. ทรัพยใดตอไปนี้มิอาจเปนของหม้ันได (1) อาคารพาณิชยของชายคูหม้ัน (2) รถยนตของชายคูหม้ัน (3) เงินที่ชายคูหม้ันกูยืมมาเพ่ือหม้ัน (4) ไมมีขอใดถูก ตอบ 4 หนา 157 “ของหม้ัน” หมายถึงทรัพยสินที่ฝายชายไดสงมอบหรือโอนใหแกหญิงเพ่ือเปนหลักฐานวา

จะสมรสกับหญิงนั้น ซ่ึงอาจจะเปนทรัพยสินประเภทใดก็ได (ทรัพยตาม (1)(2)และ (3) เปนของหม้ันได) 93. เม่ือหม้ันแลว หากตอมาคูหม้ันฝายใดฝายหนึ่งไมยินยอมสมรสดวย เชนนี ้ (1) รองขอตอศาลใหบังคับใหมีการสมรสได

Page 39: Q&A Intro Law3

39

(2) เรียกเบี้ยปรับได (3) ฝายที่มิใชฝายผิดเรียกคาทดแทนได (4) แมฝายหญิงเปนผูผิดสัญญาหม้ัน ก็ริบของหม้ันไวได ตอบ 3 หนา 157-158 ถาคูหม้ันฝายใดฝายหนึ่งผิดสัญญาหม้ัน อีกฝายหนึ่งจะฟองบังคับใหมีการสมรสไมได

มีสิทธ์ิก็แตเฉพาะเรียกคาทดแทนเนื่องจากมีการผิดสัญญาหม้ันเทานั้น 94. การสมรสมิอาจสมบูรณไดหาก (1) มิไดมีการหม้ันมากอน (2) ชายหญิงอายุ 19 ป ที่ทําการสมรสโดยมิไดรับความยินยอม (3) มิไดสงมอบสินสอด (4) ถูกทุกขอ ตอบ 2 หนา 158-160 เงื่อนไขที่จะทําใหการสมรสตกเปนโมฆียะ (การสมรสมิอาจสมบูรณ) มี 5 ประการ คือ

1. ชายและหญิงมีอายุไมครบ 17 ปบริบูรณ 2. ผูเยาวทําการสมรสโดยมิไดรับความยินยอมจาก

บิดามารดา หรือ ผูปกครอง 3. การสมรสโดยสําคัญผิดตัวคูสมรส 4. สมรสโดยถูกกลฉอฉล 5. การสมรสเพราะถูกขมขู (การสมรสสามารถทําไดโดยมิตองมีการหม้ันหรือสงมอบสินสอดกันกอนแตอยาง

ใด) 95. หญิงอายุ 21 ป ที่สามีที่ชอบดวยกฎหมายถึงแกความตาย (1) หากสมรสใหมกอน 310 วันนับแตการสมรสเดิมส้ินสุด การสมรสยอมตกเปนโมฆียะ (2) สมรสใหมไดทันที และการสมรสนั้นสมบูรณ (3) หากสมรสใหมกอน 310 วันนับแตการสมรสเดิมส้ินสุดการสมรส ยอมตกเปนโมฆะ (4) หากจะสมรสใหมกอน 310 วัน ตองขออนุญาตจากศาลกอน

Page 40: Q&A Intro Law3

40

ตอบ 4 หนา 160 หญิงที่สามีตายหรือที่การสมรสส้ินสุดลงดวยประการอ่ืน จะทําการสมรสใหมไดก็ตอเม่ือ

ระยะเวลา 310 วันนับแตวันส้ินสุดแหงการสมรสไดผานพนไปแลว เวนแต 1. คลอดบุตรแลวในระหวางนั้น 2. สมรสกับคูสมรสเดิม 3. มีใบรับรองแพทยวามิไดตั้งครรภ 4. มีคําส่ังของศาลใหสมรสได (แตถามีการฝาฝนบทบัญญัติได

กลาว ใหถือวาการสมรสยังคงสมบูรณ ไมตกเปนโมฆะ) 96. เงื่อนไขใดที่ไมทําใหการสมรสตกเปนโมฆะ (1) ผูรับบุตรธรรมสมรสกับบุตรบุญธรรม (2) บุคคลวิกลจริตสมรสกับบุคคลที่มีสภาพจิตปกต ิ (3) สมรสโดยปราศจากความยินยอม (4) สมรสซอน ตอบ 1 หนา 159-160 เงื่อนไขที่จะทําใหการสมรสตกเปนโมฆะ มี 4 ประการ คือ 1. สมรสกับบุคคลวิกลจริต หรือคนไรความสามารถตามคําส่ังศาล 2. สมรสกับญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรือลงมา หรือกับพ่ีนองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน 3. สมรสโดยปราศจากความยินยอมของชายหญิงคูสมรส และ 4. สมรสในขณะที่ตนมีคูสมรสที่ชอบดวยกฎหมายอยูแลวหรือที่เรียกวา สมรสซอน (ผูรับบุตรบุญธรรมสมรสกับบุตรบุญธรรมมีผลสมบูรณ แตการรับบุตรบุญธรรมเปนอันยกเลิกไป) 97. เงื่อนไขใดที่ไมทําใหการสมรสตกเปนโมฆียะ (1) ชายหญิงอายุไมครบ 17 ปบริบูรณ (2) สมรสโดยสําคัญผิดตัว (3) สมรสเพราะถูกขมขู

Page 41: Q&A Intro Law3

41

(4) คูสมรสที่มีบิดาคนเดียวกัน แตตางมารดากัน ตอบ 4 ดูคําอธิบายขอ 94. และ 96. ประกอบ (การสมรสตามขอ (4) เปนโมฆะ สวนการสมรสตามขอ (1) (2) และ (3) เปนโมฆียะ) 98. หนี้รวมระหวางสามีภริยา ไดแก (1) สามีกูยืมเงินภริยาเพ่ือใชจายในครอบครัว (2) ภริยากูยืนเงินจากธนาคารเพ่ือจายคารักษาพยาบาลบุตร (3) สามีกูยืมเงินจากธนาคารเพ่ือซ้ือวิทยุไวฟงที่ทํางาน (4) ถูกทุกขอ ตอบ 2 หนา 164-165 หนี้เก่ียวกับการจัดการบานและจัดหาส่ิงจําเปนสําหรับครอบครัว การอุปการะเล้ียงดู

ตลอดถึงการรักษาพยาบาลบุคคลในครอบครัวและการศึกษาของบุตรตามสมควรแกอัตภาพ ถือวาเปนหนี้รวม

ระหวางสามีภริยา ซ่ึงสามีและภริยาจะตองรวมกันรับผิดชอบ (ขอ (1) เปนหนี้ระหวางสามีภริยา (3) เปนหนี้

สวนตัว) 99. บุคคลบรรลุนิติภาวะเม่ือ (1) อายุ 20 ปบริบูรณ (2) อายุ 17 ปบริบูรณและสมรสโดยชอบดวยกฎหมาย (3) อายุ 16 ป โดยศาลอนุญาตใหทําการสมรส (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 133 บุคคลยอมบรรลุนิติภาวะในกรณีหนึ่ง คือ 1. เม่ือมีอายุครบ 20 ปบริบูรณ หรือ 2. เม่ือไดทําการสมรสในขณะที่มีอายุครบ 17 ปบริบูรณ หรืออายุไมครบ 17 ปบริบูรณแตไดรับอนุญาตจากศาล

ใหทําการสมรสได 100. สภาพบุคคลเริ่มตนเม่ือ

Page 42: Q&A Intro Law3

42

(1) นางขาวแทงบุตรขณะตั้งครรภได 4 เดือน (2) นางดําตั้งครรภบุตรเปนเวลา 8 เดือน (3) นางเทาคลอดบุตรแลวแตหมอยังไมตัดสายสะดือ (4) ผิดทุกขอ ตอบ 3 หนา 125-126 สภาพบุคคลยอมเริ่มแตเม่ือคลอดแลวอยูรอดเปนทารก (โดยจะตัดสายสะดือหรือไมไม

สําคัญ) ซ่ึงการอยูรอดเปนทารกนั้น อาจจะดูการเตนของหัวใจ การเคล่ือนไหวของกลามเนื้อ หรือดูที่การหายใจ

ซ่ึงการหายใจนั้นไมจํากัดวาจะมีระยะเวลาเทาใด ดังนั้นทารกที่ยังอยูในครรภมารดาจึงยังไมมีสภาพบุคคล 101. นายนอยไมรูวาเกิดเม่ือใด ทราบแตเกิดป พ.ศ. 2520 ดังนี้ตามกฎหมายถือวานายนอยเกิดเม่ือใด (1) 1 มกราคม 2520 (2) แลวแตนายอําเภอทองที่จะกําหนดวาเกิดเม่ือใดในป 2520 (3) 1 เมษายน 2520 (4) แลวแตนายนอยจะเลือกวาเกิดเม่ือใดในป 2520 ตอบ 1 หนา 128, (คําบรรยาย) ในกรณีที่ไมรูวาบุคคลเกิดวันใด เดือนใด แตรูปเกิด ใหวาถือวาบุคคลนั้นได

เกิดในวันตนป ซ่ึงเปนปที่บุคคลนั้นเกิด ในกรณีที่เกิดกอนวันที่ 18 ตุลาคม 2483 ใหถือเอา วันที 1 เมษายน เปน

วันตนป หากเกิดภายหลังจากนั้นใหถือเอาวันที่ 1 มกราคม เปนวันตนป ดังนั้นการที่นายนอยไมรูวาเกิดเม่ือใด

ทราบแตเกิดป พ.ศ. 2520 ดังนี้ตามกฎหมายถือวานายนอยเกิดเม่ือวันที่ 1 มกราคม 2520 102. ผลของการเปนคนไรความสามารถเริ่มตั้งแตเม่ือใด (1) เริ่มวันที่วิกลจริต (2) เริ่มวันที่ฟองศาล (3) เริ่มวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (4) เริ่มวันที่ศาลส่ัง

Page 43: Q&A Intro Law3

43

ตอบ 4 หนา 138, (คําบรรยาย) การเปนคนไรความสามารถนั้น จะตองประกอบดวยหลักเกณฑ 2 ประการ คือ

1. เปนคนวิกลจริต และ 2. ถูกศาลส่ังใหเปนคนไรความสามารถ และเม่ือศาลส่ังใหบุคคลใดเปนคนไร

ความสามารถแลว ผลของการเปนคนไรความสามารถใหเริ่มนับแตวันที่ศาลส่ัง (การที่ตองประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา เปนเรื่องในทางปฏิบัติเทานั้น) 103. สิทธิหมายถึง (1) การที่บุคคลทุกคนตองปฏิบัติตามที่กฎหมายกําหนด (2) หนาที่ที่ทุกคนตองปฏิบัติตาม (3) ประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครองให (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 97 สิทธิ คือ ประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครองให แบงออกเปน 1. สิทธิในตัวบุคคล เชน สิทธิในรางกาย อนามัย ช่ือเสียง ความคิดเห็น 2. สิทธิในตัวทรัพยสิน เชน ทรัพยสิทธิ สิทธิเรียกรองใหชําระหนี ้ 3. สิทธิในครอบครัว เชน สิทธิในการรับมรดก 4. สิทธิในทางการเมือง เชน สิทธิเลือกตั้ง 104. นายเอกขายสรอยคอทองคําใหนายโท โดยนายเอกไมรูวานายโทวิกลจริต นิติกรรมจะมีผล (1) ไมสมบูรณ (2) มีผลสมบูรณ (3) โมฆะ (4) โมฆียะ ตอบ 2 หนา 137-138 นิติกรรมที่บุคคลวิกลจริตไดทําลงจะเปนโมฆียะก็ตอเม่ือ นิติกรรมนั้นไดทําขึ้นขณะ

วิกลจริต และคูกรณีอีกฝายไดรูอยูแลววาผูนั้นเปนคนวิกลจริต

Page 44: Q&A Intro Law3

44

105. ขอใดคือการส้ินสภาพบุคคลตามกฎหมาย (1) การตายตามธรรมชาติ (2) การถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญ (3) คนที่สมองตายไมสามารถทําอะไรไดเองไมรูผิดชอบช่ัวดี (4) ถูกเฉพาะขอ 1 และขอ 2 ตอบ 4 ดูคําอธิบายขอ 88. ประกอบ 106. ขอใดถูกตองที่สุด (1) ทารกในครรภมารดาถือเปนทายาทแลว (2) สภาพบุคคลเริ่มแตเม่ือคลอด (3) เม่ือทารกคลอดแลวปรากฏวามีการเคล่ือนไหวรางกาย เชนนี้ ทารกมีสภาพบุคคล (4) เม่ือทารกคลอดแลวตองมีการหายใจอยางนอย 1 ช่ัวโมง จึงจะถือวามีสภาพบุคคล ตอบ 3 หนา 125-127 ทารกในครรภมารดายังไมมีสภาพบุคคล (ดูคําอธิบายขอ 100. ประกอบ) จึงไมอาจ

เปนทายาทได เพราะตามกฎหมายการเปนทายาทนั้น (ไมวาจะเปนทายาทโดยธรรมหรือทายาทในฐานะผูรับ

พินัยกรรม) จะตองมีสภาพบุคคลอยูในเวลาที่เจามรดกถึงแกความตายดวย แตทารกในครรภมารดามีสิทธิรับ

มรดกไดตามกฎหมาย ถาหากวาภายหลังไดคลอดแลวอยูรอดเปนทารกภายใจ 310 วันนับแตวันที่เจามรดกถึงแก

ความตาย (ป.พ.พ. มาตรา 15 และ 1604) 107. ทารกในครรภมารดา ขณะที่เจามรดกถึงแกความตาย (1) มีสภาพบุคคล (2) ไมมีสิทธิรับมรดก (3) มีสิทธิรับมรดกหากเกิดมารอดอยูภายใจ 310 วันนับแตวันเจามรดกตาย

Page 45: Q&A Intro Law3

45

(4) มีสิทธิรับมรดกถาเจามรดกทําพินัยกรรมยกทรัพยให ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 106. ประกอบ 108. บุคคลธรรมดาที่กฎหมายมิไดกําหนดภูมิลําเนาให ไดแก (1) คนเสมือนไรความสามารถ (2) คนไรความสามารถ (3) ผูเยาว (4) ผูถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดของศาล ตอบ 1 หนา 131-132 บุคคลที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาให ไดแก 1. ผูเยาว 2. คนไรความสามารถ 3. สามีและภริยา 4. ขาราชการ 5. ผูที่ถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดของศาล 109. ขอใดถูกตอง (1) บุคคลฝายเดียวสามารถทําสัญญาได (2) สัญญาเกิดขึ้นเม่ือคําเสนอคําสนองถูกตองตรงกัน (3) สัญญาที่ทําขึ้นนั้นจะกอใหเกิดผลผูกพันในทางกฎหมายทุกกรณี (4) การเลิกสัญญาตองตกลงไวในเนื้อหาของสัญญาเสมอ ตอบ 2 หนา 112 สัญญาจะเกิดขึ้นไดตองมีองคประกอบ ดังนี ้ 1. ตองมีบุคคลตั้งแต 2 ฝายขึ้นไปเปนคูสัญญา 2. ตองมีการตกลงยินยอมระหวางคูสัญญา กลาวคือ คูสัญญาฝายหนึ่งแสดงเจตนาเปนคําเสนอและอีกฝายแสดง

เจตนาเปนคําสนองรับคําเสนอนั้น สัญญาจึงจะเกิดขึ้น

Page 46: Q&A Intro Law3

46

3. ตองมีวัตถุประสงคแหงสัญญา ซ่ึงวัตถุประสงคนี้จะตองไมเปนการตองหามตามกฎหมายตองไมเปนการพน

วิสัย และตองไมขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มิฉะนั้นสัญญาจะตกเปนโมฆะไม

กอใหเกิดผลผูกพันในทางกฎหมาย 110. การกระทําที่เปนโมฆียะจะมีผล คือ (1) ใหสัตยาบันไมได (2) การกลาวอางไมกําหนดระยะเวลา (3) สมบูรณจนกวาจะบอกลาง (4) ผูมีสวนไดเสียทุกคนกลาวอางได ตอบ 3 หนา 105-107 นิติกรรมที่เปนโมฆียะ เปนนิติกรรมที่เม่ือทําขึ้นมาแลวจะมีผลใชบังคับกันไดตาม

กฎหมาย จนกวาจะมีการบอกลางใหตกเปนโมฆะ หรืออาจมีการใหสัตยาบันเพ่ือใหนิติกรรมนั้นมีผลใชบังคับได

อยางสมบูรณ (สวนนิติกรรมที่เปนโมฆะ เปนนิติกรรมซ่ึงเม่ือไดทําขึ้นมาแลวจะมีผลเสียเปลาใชบังคับกันไมได

เสมือนหนึ่งมิไดทํานิติกรรมนั้นขึ้นมาเลยและจะใหสัตยาบันก็ไมได) 111. ขอใดมิใชนิติเหต ุ (1) การเกิด (2) การตาย (3) การให (4) การละเมิด ตอบ 3 หนา 115-117 นิติเหตุ หรือเหตุที่กอใหเกิดผลทางกฎหมาย โดยอาจจะเปนเหตุที่เกิดจากพฤติการณตาม

ธรรมชาติ เชน การเกิด การตาย หรืออาจจะเปนเหตุที่เกิดจากการกระทําของบุคคลโดยปราศจากเจตนามุงผล

ในทางกฎหมาย ไดแก การจัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได และละเมิด หรืออาจจะเปนเหตุที่ไดตาม ป.พ.พ.

ลักษณะทรัพยและทรัพยสิน เชน การไดกรรมสิทธ์ิโดยหลักสวนควบ เปนตน (การใหเปนนิติกรรม) 112. ขอใดทําใหสิทธิระงับ

Page 47: Q&A Intro Law3

47

(1) ขาดตัวผูทรงสิทธิ (2) การชําระหนี้ตามกําหนด (3) การสูญส้ินวัตถุแหงสิทธิ (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 122-123 สิทธิอาจจะระงับไดดวยเหตุตอไปนี้ คือ 1. การขาดตัวผูทรงสิทธิ 2. การระงับแหงหนี้ เชน การชําระหนี้ การปลดหนี้ เปนตน 3. การส้ินวัตถุแหงสิทธิ 4. การระงับแหงสิทธิโดยบทบัญญัติแหงกฎหมาย 113. องคประกอบในการรองขอศาลใหบุคคลใดเปนบุคคลเสมือนไรความสามารถ ไดแก (1) จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ (2) ตาบอดหูหนวก (3) ติดการพนัน (4) มีความบกพรองทางรางกายและไมสามารถจัดการงานของตนเองได ตอบ 4 หนา 138 , (คําบรรยาย) บุคคลที่จะเปนคนเสมือนไรความสามารถนั้น จะตองประกอบดวยหลักเกณฑที่

สําคัญ 3 ประการ คือ 1. มีเหตุบกพรองบางอยางตามที่กฎหมายกําหนดไว 2. ไมสามารถจัดทําการงานของตนไดหรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเส่ือมเสียแกทรัพยสินของตนเองหรือ

ครอบครัวเพราะเหตุบกพรอง และ 3. ศาลส่ังใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ 114. การทํานิติกรรมของคนเสมือนไรความสามารถ (1) ผูพิทักษตองทําแทนทุกกรณี

Page 48: Q&A Intro Law3

48

(2) ผูพิทักษตองเปนผูใหความยินยอมทุกกรณี (3) คนเสมือนไรความสามารถทําเองได เวนแตนิติกรรมบางประเภทที่ตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษ (4) ทําอะไรเองไมไดเลย ตกเปนโมฆะหมด ตอบ 3 หนา 138-139 คนเสมือนไรความสามารถ โดยหลักแลวสามารถทํานิติกรรมใดๆไดสมบูรณโดยลําพัง

ตนเอง เวนแตนิติกรรมที่สําคัญบางอยางตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษกอน มิฉะนั้นจะตกเปนโมฆียะ เชน

การนําทรัพยสินไปลงทุน การกูหรือใหกูยืมเงิน การค้ําประกัน จํานอง หรือการเชาหรือใหเชาสังหาริมทรัพยมี

กําหนดเวลาเกินกวา 6 เดือน หรืออสังหาริมทรัพยมีกําหนดเวลาเกินกวา 3 ป เปนตน 115. ขอใดมิใชลักษณะของความยินยอมที่ผูแทนโดยชอบธรรมจะอนุญาตใหผูเยาวทํานิติกรรม (1) ทําเปนหนังสือ (2) ใหความยินยอมดวยวาจาก็ได (3) ใหภายหลังจากผูเยาวทํานิติกรรมแลว (4) ใหความยินยอมโดยปริยาย ตอบ 3 (เลขพิมพ 44289 หนา 162 ), (คําบรรยาย) การใหความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมนั้นไมมีแบบ

จะใหความยินยอมเปนลายลักษณอักษร หรือดวยวาจา หรือโดยปริยายก็ได แตจะตองใหกอนหรือขณะทํานิติ

กรรม ถาใหความยินยอมภายหลังจากทํานิติกรรมไปแลวกฎหมายถือวาเปนการรับรองนิติกรรมที่เปนโมฆียะ ซ่ึง

เรียกวาเปนการใหสัตยาบัน 116. บุคคลใดตอไปนี้มิอาจทําพินัยกรรมไดเลย (1) บุคคลวิกลจริต (2) คนเสมือนไรความสามารถ (3) คนไรความสามารถ (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 177 ตามกฎหมายหามมิใหคนไรความสามารถทําพินัยกรรมใดๆทั้งส้ิน พินัยกรรมซ่ึงคนไร

ความสามารถทําขึ้นจะตกเปนโมฆะ สวนพินัยกรรมซ่ึงคนวิกลจริตไดทําขึ้นจะตกเปนโมฆะ (เสียเปลา) ก็ตอเม่ือ

Page 49: Q&A Intro Law3

49

พิสูจนไดวาในเวลาทําพินัยกรรมผูทําวิกลจริตอยู (สวนพินัยกรรมซ่ึงคนเสมือนไรความสามารถทําขึ้น มีผล

สมบูรณ) 117. หากพระภิกษุมรณภาพในขณะที่บวชอยู ทรัพยสินที่ไดมาในระหวางครองสมณเพศจะตกแกใคร (1) แผนดิน (2) ทายาทโดยธรรม (3) วัดที่เปนภูมิลําเนา (4) ทายาทผูรับพินัยกรรม ตอบ 3 หนา 178 ทรัพยสินของพระภิกษุที่ไดมาในระหวางเวลาที่อยูในสมณเพศนั้น เม่ือพระภิกษุนั้นถึงแก

มรณภาพ ใหทรัพยสินนั้นตกเปนของวัดที่เปนภูมิลําเนาของพระภิกษุนั้น เวนแตพระภิกษุนั้นจะไดจําหนายไปใน

ระหวางที่พระภิกษุยังมีชีวิตอยู หรือไดทําพินัยกรรมยกใหแกผูใดไวแลว 118. หากคนไรความสามารถสมรสกับบุคคลที่ไมถูกจํากัดความสามารถ จะมีผลอยางไร (1) โมฆะ (2) โมฆียะ (3) สมบูรณ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 96.ประกอบ 119. หากคนเสมือนไรความสามารถ สมรสกับบุคคลที่ไมถูกจํากัดความสามารถ จะมีผลอยางไร (1) โมฆะ (2) โมฆียะ (3) สมบูรณ

Page 50: Q&A Intro Law3

50

(4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 96.ประกอบ (คนเสมือนไรความสามารถกฎหมายมิไดบัญญัติหามทําการสมรสแตอยาง

ใด) 120. บุคคลใดตอไปนี้มิอาจเปนทายาทโดยธรรมได (1) คูสมรส (2) ผูรับบุตรบุญธรรม (3) บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแลว (4) บุตรบุญธรรม ตอบ 2 หนา 173-175 ทายาทโดยธรรมมี 2 ประเภท คือ คูสมรส และญาติ ซ่ึงมี 6 ลําดับดังนี ้ 1. ผูสืบสันดาน (รวมถึงบุตรบุญธรรม และบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแลว) 2. บิดามารดา 3. พ่ีนองรวมบิดามารดาเดียวกัน 4. พ่ีนองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน 5. ปู ยา ตา ยาย 6. ลุง ปา นา อา (บิดามารดาในที่นี้หมายความถึงบิดามารดาผูใหกําเนิดไมหมายความ

รวมถึงผูรับบุตรบุญธรรม กลาวคือ ผูรับบุตรบุญธรรมไมมีสิทธิรับมรดกของเจามรดกซ่ึงเปนบุตรบุญธรรมของ

ตน)

MY LECTURE ...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................... เอ็มเจ ชีทราม คลังดาวโหลดเฉลยขอสอบ มหาวิทยาลัยรามคําแหง http://www.mjsheetramfree.com