summary - 9th asian future forum

1
มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง อนาคตเอเชีย Asian Future Forum STI: แนวโน้มโลกและการรองรับปรับตัวของไทย ผู้บรรยาย ดร. พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู ้อํานวยการ บริษัท โนวิสเคป คอนซัลติ้ง กรุ ๊ป จํากัด สรุปบรรยาย ครั ้งที9 พัฒนาการของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Science Technology and Innovation: STI) ของไทยในเชิง นโยบายสาธารณะมักจะเน้นการวิจัยในภาครัฐ สถาบันการศึกษา ระดับสูง หรือสถาบันวิจัย อย่างไรก็ตาม ในช่วงระยะเวลา 10 ปี ทีผ่านมา ระบบการวิจัยของไทยให้ความสําคัญกับนวัตกรรม แห่งชาติมากขึ้น เน ้นการให้ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน โดยมีหลายประเทศที่นํา STI เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งใน ชีวิตประจําวันของปัจเจกชนและสังคมมากขึ้น ไม่จํากัดอยู่เฉพาะ ภาครัฐหรืออุตสาหกรรมขนาดใหญ่เท่านั้น ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้เอง ก็มีการปรับโครงสร้างของ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย แรงกระตุ้น ที่ทําให ้ STI เปลี่ยนแปลงไปภายใต้บริบทของ โลกทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ได ้แก่ 1. ความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งเป็นการ เปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญ ส่งผลต่อการจัดสรรทรัพยากรระยะยาว และภาคเอกชนไม่สามารถรับมือได้ เช่น ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ภัยจากการก่อการร้าย ฯลฯ 2. การเกิดขึ้นของวิทยาศาสตร์ความยั่งยืน (Sustainability Science) มีความพยายามศึกษาวิจัยองค์ความรู้ใหม่ หรือการ เชื่อมโยงความรู้ระหว่างสาขา 3. ภูมิรัฐศาสตร์ของกลุ่มประเทศ BRICS ได้แก่ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้ ซึ่งเป็ นกลุ่มที่มีความสามารถในการ วิจัยและพัฒนา 4. การรวมกลุ่ม ASEAN ที่ก่อให้เกิดความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ภายในภูมิภาคได ้ 5. ความปกติใหม่ (New Normal) การกระจายความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ไปสู่ระดับปัจเจกชนและสังคมท้องถิ่นทําให้เกิด ปรากฏการณ์ความปกติใหม่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมที่เคยเป็ นเรื่องไกลตัวกลับกลายเป็นเรื่องใกล ้ตัวมากขึ้น 6. การพัฒนา STI อย่างเป็ นองค์รวม กล่าวคือ การดึงกลุ่มคนด ้อย โอกาสทางด้านเทคโนโลยีเข้ามาในระบบ หรือเข้ามาเป็นส่วนร่วม ของการใช้องค์ความรู้ร่วมกัน ทําให้เกิด Sharing Economy และ สามารถควบคุมการใช ้ทรัพยากรได ้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 7. นวัตกรรมราคาประหยัด (Cheap Innovation) มีการลดต ้นทุน ลดราคาสินค้าให้กลุ่มคนใต้ฐานพิรามิดสามารถใช้ได้ เช่น Microfinance ในบังคลาเทศ เป็นต ้น 8. การ เปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในอดีต STI มักจะเกิดขึ้นเพื่อการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน แต่ปัจจุบัน STI เป็นไปเพื่อการ พัฒนา ส่งผลกระทบต่อรูปแบบธุรกิจใหม่ สินค ้านวัตกรรมเกิดขึ้น ได ้ง่าย ทําให ้เกิดความท ้าทายต่อระบบทรัพย์สินทางปัญญาเดิม ปัจจัยหน่วง ที่มีต่อ STI ได ้แก่ 1. ระบบความเชื่อในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ประกอบไป ด้วยหลากหลายศาสนา ดังนั ้น ระบบความเชื่อและวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ควรต ้องเป็นไปในแนวทางเดียวกัน 2. การเมืองและการทูตทาง STI แนวความคิดเรื่องนักการทูตด ้าน วิทยาศาสตร์ถือเป็นเรื่องใหม่ แต่ก็เป็นเรื่องสําคัญในการเจรจา ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการใช ้ทรัพยากรธรรมชาติ 3. นวัตกรรมของจีนและอินเดีย ที่อาจเป็นภัยคุกคามต่อการสร้าง แบรนด์ของคนไทย การพัฒนาแบรนด์ของตนภายในตลาด เทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับประเทศเป็นไปได ้ยาก 4. การเติบโตแบบสีเขียว (Green Growth) ปัญหาด้าน สิ่งแวดล้อม และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทําให้การ กําหนดนโยบาย STI ต ้องคํานึงถึงปัญหาเหล่านี้มากขึ้น เกาหลีใต เป็นเพียงประเทศเดียวที่ดําเนินนโยบายการเติบโตแบบสีเขียว อย่างชัดเจน 5. การ ปฏิรูปการศึกษาระดับอุดมศึกษา การจัดอันดับ มหาวิทยาลัยทําให ้นักวิจัยเน้นการตีพิมพ์ผลงานมากกว่าการสอน และการวิจัยที่เน้นผู้เรียนและสังคมเป็นสําคัญ นอกจากนั ้น การ ปรับโครงสร ้างการบริหารงานของมหาวิทยาลัยก็ไม่ได ้เอื้อต่อการ สร ้างความรู้แบบครบวงจรของนักวิจัย 6. การคอร์รัปชั่นในวงการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม ที่ขัดขวางการพัฒนาประเทศ เช่น การเลือกปฏิบัติใน การให ้ทุนวิจัยหรือการให ้ตําแหน่ง ปัจจัยที่สามารถเป็นได้ทั ้งแรงกระตุ ้นและแรงหน่วง ต่อ STI ได ้แก่ 1. การปรับกระบวนทัศน์เชิงเศรษฐศาสตร์เทคโนโลยีระดับโลก เกิดคําถามเรื่องความเปลี่ยนแปลงทางสังคมกับเทคโนโลยีว่าสิ่ง ใดเกิดก่อนกัน โดยมีการแข่งขันทางความคิดระหว่าง 3 กลุ่ม ใหญ่ ได ้แก่ กลุ่มนักเศรษฐศาสตร์ที่มองว่ารัฐเป็นตัวแสดงสําคัญ ในการกําหนดนโยบาย กลุ่มนักบริหารยุทธศาสตร์ที่มองว่า บรรษัทข้ามชาติขนาดใหญ่เป็นตัวแสดงสําคัญในการผลิต เทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบต่อโลก และกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ที่มอง ว่าผู้สร้างเทคโนโลยีจะพัฒนาให้เกิดสินค้านวัตกรรม เรียกได้ว่า ผู้สร ้างองค์ความรู้กับตลาดดําเนินไปพร ้อมกัน 2. การเคลื่อนย้ายทางนวัตกรรม (Mobility Innovation) ที่จะ นําไปสู่การกระจายตัวของสังคมเมืองรูปแบบใหม่ เมืองจะเป็น ผู้ผลิตนวัตกรรมที่สําคัญ 3. การกระจายความรู ้ (Decentralization of Knowledge) มีการ กระจายตัวของผู้สร้างความรู้ไปสู่เมืองใหม่ และเกิดการ แพร่กระจายและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้แบบใหม่ด ้วย ประเทศไทย: ผู้ใช ้หรือผู้ตามเทคโนโลยี ? - ไทยสามารถเป็นผู้นําได้โดยการใช้ความเป็นเมืองมหานครเป็น เวทีของ STI ให้แก่ภาคเอกชน ทําให้สามารถเพิ่มศักยภาพและ โอกาสในการพัฒนาได ้ - ต้องพยายามทําให้เกิด Inclusive Green Economy โดยต้อง ไม่ทําให ้คนไทยใช ้พลังงานทางเลือกราคาแพง - STI ต้องเข้าไปมีบทบาทในการกําหนดนโยบายทุกด้าน ทั ้ง การเงิน การค้า การลงทุน การศึกษา เพื่อให้มีลักษณะเป็ น Inclusive Policy Development โดยนักการเมืองต้องให้ ความสําคัญกับ STI มากขึ้น - กลุ่มเทคโนโลยีที่มีศักยภาพ เช่น เทคโนโลยีด้านอาหาร พลังงานหมุนเวียน นวัตกรรมทางด้านการบริการ นวัตกรรมความ เป็นเมือง และเทคโนโลยีสําหรับกลุ่มคนด ้อยโอกาส ประเด็นช่วงถาม-ตอบ - การใช ้ความเป็นเมืองของไทยเพื่อขับเคลื่อน STI ทําได ้ยาก เนื่องจากกฎหมายผังเมืองกําลังจะหมดอายุ ทําให ้ขณะนี้ ประเทศไทยอยู่ในช่องว่างของการ สร้างเมือง มีการสร้างเมืองตามความต ้องการของตลาด โดยเฉพาะเมืองที่มีนิคมอุตสาหกรรม เช่น จังหวัดระยอง ในขณะที่อุตสาหกรรมขยายตัว เมือง ขยายตามอุตสาหกรรม ดังนั้น ปัญหาที่ต ้องตามแก ้กันต่อไปคือความเป็ นชุมชนที่อยู่ร่วมกับอุตสาหกรรม - ไทยมีปัญหาการทําวิจัยมากมาย แต่ไม่สามารถผันมาเป็ นธุรกิจได ้ โดยเฉพาะสังคมที่มีภูมิปัญญาท ้องถิ่น ว่าจะสามารถผลิตเพื่อขายได ้อย่างไร OTOP ของไทยไม่สามารถแปรสภาพองค์ความรู ้ด ้วยตนเองได ้ ต ้องอาศัยอาจารย์มหาวิทยาลัย ในขณะเดียวกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นคือช่องว่างระหว่างผู ้ประกอบการ กับมหาวิทยาลัย จุดอ่อนคือผู ้ประกอบการไม่สามารถเข ้าถึงองค์ความรู ้ของมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยก็ให ้การอบรมแก่ผู ้ประกอบการแบบไม่ตรงจุด

Upload: noviscape-consulting-group

Post on 23-Mar-2016

212 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Presented on 19 Dec 2012

TRANSCRIPT

มลนธสถาบนวจยนโยบายเศรษฐกจการคลง

อนาคตเอเชยAsian Future Forum

STI: แนวโนมโลกและการรองรบปรบตวของไทยผบรรยาย ดร. พนธอาจ ชยรตน ผอานวยการ บรษท โนวสเคป คอนซลตง กรป จากด

สรปบรรยาย ครงท 9

พฒนาการของวทยาศาสตร เทคโนโลย และนวตกรรม (Science Technology and Innovation: STI) ของไทยในเชงนโยบายสาธารณะมกจะเนนการวจยในภาครฐ สถาบนการศกษาระดบสง หรอสถาบนวจย อยางไรกตาม ในชวงระยะเวลา 10 ปทผานมา ระบบการวจยของไทยใหความสาคญกบนวตกรรมแหงชาตมากขน เนนการใหความรวมมอระหวางภาครฐและภาคเอกชน โดยมหลายประเทศทนา STI เขามาเปนสวนหนงในชวตประจาวนของปจเจกชนและสงคมมากขน ไมจากดอยเฉพาะภาครฐหรออตสาหกรรมขนาดใหญเทานน ในภมภาคเอเชยต ะ ว น อ อ ก เ ฉ ย ง ใ ต เ อ ง ก ม ก า ร ป ร บ โ ค ร ง ส ร า ง ข อ งกระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย เชน มาเลเซย สงคโปร และไทย แรงกระตนททาให STI เปลยนแปลงไปภายใตบรบทของโลกทงในระยะสนและระยะยาว ไดแก1. ความทาทายจากการเปลยนแปลงของโลก ซงเปนการเปลยนแปลงครงสาคญ สงผลตอการจดสรรทรพยากรระยะยาว และภาคเอกชนไมสามารถรบมอได เชน ภยพบตทางธรรมชาต ภยจากการกอการราย ฯลฯ2. การเกดขนของวทยาศาสตรความย งยน (Sustainability Science) มความพยายามศกษาวจยองคความรใหม หรอการเชอมโยงความรระหวางสาขา3. ภมรฐศาสตรของกลมประเทศ BRICS ไดแก บราซล รสเซย อนเดย จน และแอฟรกาใต ซงเปนกลมทมความสามารถในการวจยและพฒนา4. การรวมกลม ASEAN ทกอใหเกดความรวมมอทางวทยาศาสตร เทคโนโลย และนวตกรรม ภายในภมภาคได 5. ความปกตใหม (New Normal) การกระจายความรทางวทยาศาสตรไปสระดบปจเจกชนและสงคมทองถนทาใหเกดปรากฏการณความปกตใหม ว ทยาศาสตร เทคโนโลย และนวตกรรมทเคยเปนเรองไกลตวกลบกลายเปนเรองใกลตวมากขน 6. การพฒนา STI อยางเปนองครวม กลาวคอ การดงกลมคนดอยโอกาสทางดานเทคโนโลยเขามาในระบบ หรอเขามาเปนสวนรวมของการใชองคความรรวมกน ทาใหเกด Sharing Economy และสามารถควบคมการใชทรพยากรไดอยางมประสทธภาพมากขน7. นวตกรรมราคาประหยด (Cheap Innovation) มการลดตนทน ลดราคาสนคาใหกลมคนใตฐานพรามดสามารถใชได เชน Microfinance ในบงคลาเทศ เปนตน8. การเปลยนแปลงกระบวนทศนของนโยบายวทยาศาสตร เทคโนโลย และนวตกรรม ในอดต STI มกจะเกดขนเพอการเพมขดความสามารถในการแขงขน แตปจจบน STI เปนไปเพอการพฒนา สงผลกระทบตอรปแบบธรกจใหม สนคานวตกรรมเกดขนไดงาย ทาใหเกดความทาทายตอระบบทรพยสนทางปญญาเดม ปจจยหนวงทมตอ STI ไดแก1. ระบบความเชอในภมภาคเอเชยตะวนออกเฉยงใตทประกอบไปดวยหลากหลายศาสนา ดงนน ระบบความเชอและวทยาศาสตร เทคโนโลย และนวตกรรม ควรตองเปนไปในแนวทางเดยวกน2. การเมองและการทตทาง STI แนวความคดเรองนกการทตดาน

วทยาศาสตรถอเปนเรองใหม แตกเปนเรองสาคญในการเจรจาระหวางประเทศทเกยวของกบการใชทรพยากรธรรมชาต 3. นวตกรรมของจนและอนเดย ทอาจเปนภยคกคามตอการสรางแบรนดของคนไทย การพฒนาแบรนดของตนภายในตลาดเทคโนโลยและนวตกรรมระดบประเทศเปนไปไดยาก4. การเตบโตแบบสเขยว (Green Growth) ปญหาดานสงแวดลอม และการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศทาใหการกาหนดนโยบาย STI ตองคานงถงปญหาเหลานมากขน เกาหลใต เปนเพยงประเทศเดยวทดาเนนนโยบายการเตบโตแบบสเขยวอยางชดเจน5. การปฏร ปการศกษาร ะด บอดมศกษา การจ ดอนด บมหาวทยาลยทาใหนกวจยเนนการตพมพผลงานมากกวาการสอนและการวจยทเนนผเรยนและสงคมเปนสาคญ นอกจากนน การปรบโครงสรางการบรหารงานของมหาวทยาลยกไมไดเออตอการสรางความรแบบครบวงจรของนกวจย6. การคอรรปชนในวงการวทยาศาสตร เทคโนโลย และนวตกรรม ทขดขวางการพฒนาประเทศ เชน การเลอกปฏบตในการใหทนวจยหรอการใหตาแหนง ปจจยทสามารถเปนไดทงแรงกระตนและแรงหนวงตอ STI ไดแก1. การปรบกระบวนทศนเชงเศรษฐศาสตรเทคโนโลยระดบโลก เกดคาถามเรองความเปลยนแปลงทางสงคมกบเทคโนโลยวาสงใดเกดกอนกน โดยมการแขงขนทางความคดระหวาง 3 กลมใหญ ไดแก กลมนกเศรษฐศาสตรทมองวารฐเปนตวแสดงสาคญในการกาหนดนโยบาย กลมนกบรหารยทธศาสตรทมองวาบรรษทขามชาตขนาดใหญเปนตวแสดงสาคญในการผลตเทคโนโลยทสงผลกระทบตอโลก และกลมนกวทยาศาสตรทมองวาผสรางเทคโนโลยจะพฒนาใหเกดสนคานวตกรรม เรยกไดวาผสรางองคความรกบตลาดดาเนนไปพรอมกน 2. การเคลอนยายทางนวตกรรม (Mobility Innovation) ทจะนาไปสการกระจายตวของสงคมเมองรปแบบใหม เมองจะเปนผผลตนวตกรรมทสาคญ 3. การกระจายความร (Decentralization of Knowledge) มการกระจายตวของผสร างความร ไปส เมองใหม และเกดการแพรกระจายและแลกเปลยนองคความรแบบใหมดวย ประเทศไทย: ผใชหรอผตามเทคโนโลย?- ไทยสามารถเปนผนาไดโดยการใชความเปนเมองมหานครเปนเวทของ STI ใหแกภาคเอกชน ทาใหสามารถเพมศกยภาพและโอกาสในการพฒนาได - ตองพยายามทาใหเกด Inclusive Green Economy โดยตองไมทาใหคนไทยใชพลงงานทางเลอกราคาแพง- STI ตองเขาไปมบทบาทในการกาหนดนโยบายทกดาน ทงการเงน การคา การลงทน การศกษา เพอใหมลกษณะเปน Inclusive Policy Development โดยนกการเมองตองให ความสาคญกบ STI มากขน- กลมเทคโนโลยทมศกยภาพ เชน เทคโนโลยดานอาหาร พลงงานหมนเวยน นวตกรรมทางดานการบรการ นวตกรรมความเปนเมอง และเทคโนโลยสาหรบกลมคนดอยโอกาส

ประเดนชวงถาม-ตอบ- การใชความเปนเมองของไทยเพอขบเคลอน STI ทาไดยาก เนองจากกฎหมายผงเมองกาลงจะหมดอาย ทาใหขณะน ประเทศไทยอยในชองวางของการสรางเมอง มการสรางเมองตามความตองการของตลาด โดยเฉพาะเมองทมนคมอตสาหกรรม เชน จงหวดระยอง ในขณะทอตสาหกรรมขยายตว เมองขยายตามอตสาหกรรม ดงนน ปญหาทตองตามแกกนตอไปคอความเปนชมชนทอยรวมกบอตสาหกรรม- ไทยมปญหาการทาวจยมากมาย แตไมสามารถผนมาเปนธรกจได โดยเฉพาะสงคมทมภมปญญาทองถน วาจะสามารถผลตเพอขายไดอยางไร OTOP ของไทยไมสามารถแปรสภาพองคความรดวยตนเองได ตองอาศยอาจารยมหาวทยาลย ในขณะเดยวกน ปญหาทเกดขนคอชองวางระหวางผประกอบการกบมหาวทยาลย จดออนคอผประกอบการไมสามารถเขาถงองคความรของมหาวทยาลย และมหาวทยาลยกใหการอบรมแกผประกอบการแบบไมตรงจด