techno

19
เทคโนโลยีอวกาศ กลองดูดาว(Astronomical Telescope) โดยทั่วไปแบงออกเปน 3 ชนิด อุปกรณทางดาราศาสตรที่สําคัญที่สุดและจําเปนที่สุด คือ กลองโทรทรรศนหรือกลองดูดาว เนื่องจากทํา ใหเราสามารถสังเกตวัตถุในทองฟาที่อยูไกลมาก ๆและสามารถบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุในทองฟานั้นได หนาที่หลักของกลองดูดาว คือ 1. รวบรวมพลังงานของวัตถุในทองฟา ทําใหสามารถบันทึกและวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่สงมาจาก วัตถุในทองฟาตาง ๆไดดวยความถูกตองสูง 2. ใหอํานาจการแยกเชิงมุม(Angular Resolution) สูง ทําใหการวัดตําแหนงของวัตถุทองฟาไดดวย ความถูกตองสูง และสามารถแจกจงรายละเอียดของวัตถุในทองฟา เชน ดาวคูได กลองโทรทรรศนแบงตามองคประกอบไดเปน 2 ชนิด คือ 1. กลองแบบหักเหแสง(Refractors) เปนกลองดูดาวที่ประกอบดวย เลนสหลายอัน ภาพของดาวเกิดจาก การหักเหแสง กลองแบบนี้มีผลตอความคลาดเคลื่อนมาก 2. กลองแบบสะทอนแสง(Reflectors) เปนกลองดูดาวที่ประกอบดวย กระจกโคงชนิดตาง ๆภาพของ ดาวเกิดจากการสะทอนของแสง กลองแบบนี้มีผลตอความคลาดเคลื่อนนอย อุปกรณหลักของกลองดูดาวคือ ชองรวมแสง ในกลองชนิดหักเหแสงไดแกเลนสวัตถุใชสรางภาพ ปฐมภูมิ สวนในกลองชนิดสะทอนแสงคือกระจกหลัก กลองหักเหแสง(Refractor) กลองชนิดนี้ประกอบดวย เลนส 2 ชนิด คือเลนสวัตถุและเลนสตา ใช หลักในการหักเหของแสงผานเลนส 2 อันนี้เพื่อทําใหเกิดภาพ โดยทั่วไป เลนส วัตถุจะเปนเลนสนูน และเลนสตาอาจเปนเลนสนูนหรือเลนสเวาก็ได เลนสวัตถุมักไมนิยมใชเปนเลนสเดี่ยว ๆเนื่องจากจะเกิดผลของ ความคลาด(Aberration) หลายชนิด เพื่อลดความคลาดใหเหลือนอยที่สุดจึงใช วัตถุประกอบกันเปนชุด เชน เลนสอรงค(Achromatic Lens) ถาเลนสตาเปนเลนสเวา เรียกวา “กลองหักเหแสงแบบกาลิเลียน (Galilean Refractor) ถาเลนสตาเปนเลนสนูน เรียกวา “กลองหักเหแสงแบบ เคปเปอเรียน(Keplerian Refractor)

Upload: jiraporn

Post on 28-May-2015

5.875 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Techno

เทคโนโลยีอวกาศ

กลองดูดาว(Astronomical Telescope) โดยท่ัวไปแบงออกเปน 3 ชนิด อุปกรณทางดาราศาสตรท่ีสําคัญท่ีสุดและจําเปนที่สุด คือ กลองโทรทรรศนหรือกลองดูดาว เนื่องจากทําใหเราสามารถสังเกตวัตถุในทองฟาท่ีอยูไกลมาก ๆและสามารถบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุในทองฟานั้นได หนาท่ีหลักของกลองดูดาว คือ

1. รวบรวมพลังงานของวัตถุในทองฟา ทําใหสามารถบันทึกและวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่สงมาจากวัตถุในทองฟาตาง ๆไดดวยความถูกตองสูง

2. ใหอํานาจการแยกเชิงมุม(Angular Resolution) สูง ทําใหการวัดตําแหนงของวัตถุทองฟาไดดวยความถูกตองสูง และสามารถแจกจงรายละเอียดของวัตถุในทองฟา เชน ดาวคูได

กลองโทรทรรศนแบงตามองคประกอบไดเปน 2 ชนิด คือ

1. กลองแบบหักเหแสง(Refractors) เปนกลองดูดาวท่ีประกอบดวย เลนสหลายอัน ภาพของดาวเกิดจาก การหักเหแสง กลองแบบนี้มีผลตอความคลาดเคลื่อนมาก

2. กลองแบบสะทอนแสง(Reflectors) เปนกลองดูดาวท่ีประกอบดวย กระจกโคงชนิดตาง ๆภาพของ ดาวเกิดจากการสะทอนของแสง กลองแบบนี้มีผลตอความคลาดเคลื่อนนอย

อุปกรณหลักของกลองดูดาวคือ ชองรวมแสง ในกลองชนิดหักเหแสงไดแกเลนสวัตถุใชสรางภาพปฐมภูมิ สวนในกลองชนิดสะทอนแสงคือกระจกหลัก

กลองหักเหแสง(Refractor) กลองชนิดนี้ประกอบดวย เลนส 2 ชนิด คือเลนสวัตถุและเลนสตา ใช

หลักในการหักเหของแสงผานเลนส 2 อันนี้เพ่ือทําใหเกิดภาพ โดยท่ัวไป เลนสวัตถุจะเปนเลนสนูน และเลนสตาอาจเปนเลนสนูนหรือเลนสเวาก็ได

เลนสวัตถุมักไมนิยมใชเปนเลนสเด่ียว ๆเนื่องจากจะเกิดผลของความคลาด(Aberration) หลายชนิด เพ่ือลดความคลาดใหเหลือนอยท่ีสุดจึงใชวัตถุประกอบกันเปนชุด เชน เลนสอรงค(Achromatic Lens)

ถาเลนสตาเปนเลนสเวา เรียกวา “กลองหักเหแสงแบบกาลิเลียน (Galilean Refractor) ถาเลนสตาเปนเลนสนูน เรียกวา “กลองหักเหแสงแบบ

เคปเปอเรียน(Keplerian Refractor)

Page 2: Techno

กลองท่ีใชเลนสในทองตลาดมักมีขนาดหนากลองประมาณ 2-4 นิ้ว เพราะเลนสขนาดใหญกวานี้จะมีราคาแพงมาก กลองใชเลนสมีความทนทานมากกวากลองชนิดอื่น ๆ การดูแลรักษานอย ใหภาพดาวเคราะห ดวงจันทร ดวงอาทิตย ไดชัดเจนเพราะไมมีสวนประกอบอื่นใดขวางหนากลองและเนื้อแกวท่ีใชทําเลนสไมคอยมีการเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ

กลองดูดาวแบบสะทอนแสง(Reflector)

หลักการทํางานของกลองชนิดนี้ก็คือ เราจะ ใชกระจกเงาเวาเพ่ือรวมแสงกอน แลวมีกระจก เงาเล็กๆ หลายอันชวยสะทอนแสงไปยังแผน ภาพหรือสะทอนแสงผานท่ีมองเขาตาผูดูกลอง ชนิดนี้ท่ีใหญที่สุดในโลก มีเสนผานศูนยกลาง ของกระจกเงาเวา ยาวถึง 200 นิ้ว (5.1 เมตร) ตั้งอยูท่ีภูเขาพา โลมารแคลิฟอรเนีย ในอเมริกา ขณะนี้มีกลองโทร ทัศนแบบสะทอนแสง ขนาดใหญท่ีสุดในโลกขนาด 236 นิ้ว อยูท่ีหอดูดาวดาราศาสตรฟสิกส สหภาพโซเวียตรัสเซียกลองโทรทัศนชนิดใชแสงขนาดใหญมัก ใชเพ่ือถายรูปวัตถุบนทอง ฟาท่ีอยูไกลเพียง 6-7 พันลานปแสง เฉพาะในเวลากลางคืนท่ีทองฟา ปลอดโปรง กลองชนิดนี้นิยมใชมากกวากลองแบบหักเหแสง เนื่องจากกระจกทําไดงายกวาเลนสและมีราคาถูกกวา ท้ังคุณภาพของกลองแบบสะทอนแสงยังดีกวาและมีขนาดกระทัดรัดกวากลองหักเหแสงท่ีมีขนาด เทา ๆ กัน สวนประกอบสําคัญของกลองคือกระจกปฐมภูมิหรือกระจกหลัก ซึ่งเปนกระจกท่ีรับแสงท่ีตกกระทบคร้ังแรกแลวจะสะทอนเขาสูกระจกทุติยภูมิ ซึ่งยึดอยูกับโครงโลหะบาง ๆท่ีเรียกวา “สไปเดอร(Spider)” แสงท่ีสะทอนจากกระจกทุติยะภูมินี้จะมาโฟกัสตําแหนงท่ีเหมาะสมใด ๆขึ้นอยูกับชนิดของกลองสะทอนแสงดวย กระจกหลักทําหนาที่กําหนดขนาดของกลองดูดาว เชน กลองขนาด 200 นิ้ว หมายความวา เสนผานศูนยกลางของกระจกหลักมีคา 200 นิ้ว ถากระจกท่ีใชสะทอนแสงมีความโคงทรงกลมจะทําใหเกิดความคลาดไดจึงแกไขโดยทําใหเปนรูปทรงโคงแบบพาราโบลา กลองท่ีใชกระจก จะตองมีตัวสะทอนแสงแทรกอยูตรงกลางหนากลองทําใหปริมาณแสงลดลง แตขนาดของกระจกมักมีขนาดใหญเพราะราคาไมแพง กลองสะทอนลําแสงดานขางเรียกวาเปนแบบ newtorian สวนกลองท่ีสะทอนลําแสงออกมาทายกลองเรียกวาเปนแบบ Cassegrain สามารถทําใหยนความยาวของตัวกลองไดดีแตมักจะมีมุมมองของภาพแคบ

กลองใชเลนสและกระจก กลองใชเลนสและกระจกรวมกัน ไดรับการปรับปรุงจากระบบ Cassegrain ใหมี

มุมมองของภาพกวางขึ้นและตัวกลอง หนากลองปดสนิทกันฝุนได แตราคาคอนขางสูง กลองท่ีมีขนาดหนากลองใหญทําใหรวมแสงไดมากและมีความสามารถในการเห็นรายละเอียดของวัตถุท่ีตองการสองดูใหละเอียดมากขึ้นเรียกวามีกําลังแยกภาพสูง

Page 3: Techno

อุปกรณท่ีสําคัญของกลองดูดาวอีกชิ้นหนึ่งคือ ฐานกลอง ซึ่งมีท้ังระบบศูนยสูตร ซึ่งติดตามดาวท่ีเคลื่อนท่ีไดอยางสอดคลอง และระบบอาซิมุท ซึ่งเคลื่อนท่ีตามดาวไดยากแตเหมาะสําหรับรับน้ําหนักกลองใหญ ๆ แตมีมุมมองของภาพกวางกวา วิธีการต้ังกลองโทรทรรศนอยางงายท่ีสุดคือ ติดตั้งบนฐานท่ีมีแกนหมุนสองแกน แกนหนึ่งตั้งอยูในแนวดิ่งใหกลองหมุนกวาดมุมอาซิมุทไดโดยรอบ อีกแกนหนึ่งนอนตัวราบใหกลองหมุนกวาดมุมอัลติจูดไดอยางนอยครึ่งรอบคือตามวงกลมตั้ง สวนที่อยูขอบฟาโดยการหมุนกลองรอบแกนท้ังสองนี้ก็สามารถหันเหกลองติดตามการเคลื่อนท่ีของวัตถุในทองฟาได ฐานต้ังกลองแบบนี้เรียกวาฐานต้ังกลองอาซิมุท กลองดูดาวจะมีกลองนําหาภาพ (finder) คือกลองเล็ก ๆที่ติดอยูกับตัวกลองและขนานกับกลองใหญ เพ่ือใชในการเล็งในมุมมองท่ีกวางกอน กําลังขยายของกลองดูดาว คือความยาวโฟกัสของกลองหารดวยความยาวโฟกัสของเลนสตา เชน กลองมีความยาวโฟกัส 1000 มม. ถาใชเลนสตาที่มีความยาวโฟกัส 10 มม.มาสองดูจะไดภาพท่ีมีกําลังขยาย 1000/10 =100 เทา ความยาวของกลองโฟกัสของกลองดูดาวสามารถทําใหยาวมากขึ้นหรือหดสั้นลงก็ได คือถาใชเลนสเวา จะทําใหความยาวโฟกัสเพ่ิมขึ้น เรียกเลนสนี้วา bariow lens แตถาใชเลนสนูนจะสามารถลดความยาวโฟกัสของกลองนี้ใหสั้นลงได เรียกวา Telecompresser lens เลนสทั้งสองชนิดนี้เวลาใชงานตองอยูกอนเลนสตา แมวากําลังขยายจะเปลี่ยนความยาวโฟกัสของกลองและของเลนสตา แตในการสังเกตจริง ๆเราไมนิยมใชกําลังขยายสูง ๆเพราะจะทําใหความคมชัดของภาพลดลง เนื่องจากไปขยายความปนปวนของบรรยากาศโลกดวย การบันทึกภาพจากลองดูดาวลงบนฟลม คนสวนมากนิยมบันทึกภาพลงบนฟลม ซึ่งกลองดูดาวทําหนาท่ีเปนเลนสขยายใหญ และอาศัยขอตอใหตัวกลองถายรูปมาติดตรงตําแหนงโฟกัส ก็จะไดภาพกําลังขยายตํ่า ถาตองการใหภาพท่ีมีกําลังขยายสูงก็ตองติดเลนสตากอนท่ีจะผานเขาสูแผนฟลมในตัวกลองถายรูป สิ่งสําคัญในการถายภาพคือดาวท่ีตองการถายนั้นมีการเคลื่อนท่ีตลอดเวลา ดังนนั้นตองมีมอเตอรไฟฟาสําหรับขับเคลื่อนใหแกนหมุนของกลองติดตามดาวไดพอดีมิฉะนั้นภาพดาวจะปรากฏเปนทางยาวไปบนฟลม แตถาเปนภาพดาวตกไมจําเปนตองเคลื่อนตามเพราะดาวตกมีการเคลื่อนที่เร็วมาก

Page 4: Techno

กลองดูดาวท่ีนิยมใชในการถายภาพเปนกลองแบบชมิดท(schmidt Telascope) เนื่องจากสามารถถายภาพกินอาณาบริเวณหลายองศาบนทองฟา ทําใหไดภาพดาวเปนจํานวนมาก ซึ่งเม่ือใชรวมกับแผนกรองแสงชนิดตาง ๆแลวจะทําใหสามารถวิเคราะหคุณสมบัติของวัตถุทองฟาในชวงความยาวคลื่นตาง ๆ ได นอกจากนี้ยังนํามาใชประโยชนในการทําแผนท่ีสํารวจทองฟาหาดาวหางหรือมหานวดาราหรือซุปเปอรโนวา กลองโทรทรรศนวิทยุ คลื่นวิทยุและคลื่นแสงเปนคลื่นจากการแผรังสีท่ีคลายกันมากเพียงแตมีความยาวคลื่นตางกัน คลื่นท้ังสองทําใหเกิดการแผรังสีของแมเหล็กไฟฟา ในกลองโทรทรรศนวิทยุ ตัวสะทอนแสงถูกนํามาใชรวบรวมสัญญาณวิทยุท่ีมีกําลังออนจากอวกาศและปรับใหเขากับเสาอากาศ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงและขยายคลื่นวิทยุใหเปนสัญญาณไฟฟาจานกลองโทรทรรศนวิทยุแบบจานเดียวทํางานไดจํากัดแตเทคนิคสมัยใหมใชเสาอากาศหลายอันตอกันและทํางานรวมกัน

แนวคิดเกี่ยวกับการสรางกลองโทรทรรศนวิทยุเกิดขึ้นคร้ังแรกเม่ือ ค.ศ.1931 วิศวกรดานวิทยุชาวอเมริกันชื่อ แจนสกี พบวาเครื่องมือของเขารับสัญญาณคลื่นวิทยุไดจากดาราจักรทางชางเผือก ในชวงทศวรรษท่ี 1950 โกรท รีเบอร นักวิทยุสมัครเลนไดสรางกลองวิทยุเครื่องแรกเพ่ือสํารวจคลื่นวิทยุจากทองฟา กลองท่ีมีชื่อเสียงมากท่ีสุดอยูท่ีโจเดรลลแบงก ในเชลเชียร จานโลหะขนาดยักษมีเสนผานศูนยกลาง 77 เมตร ทําหนาที่รับคลื่นวิทยุแลวสงไปท่ีจุดโฟกัส แตไมมีในภาพ เราจะมองไมเห็นอะไรจากกลองโทรทรรศนวิทยุ แตคลื่นจะถูกบันทึกไวเปนรอยบนกระดาษกราฟ องคประกอบกลองโทรทรรศนวิทยุ มีองคประกอบคือ

1) หนวยรับคลื่น หรือสายอากาศ(antenna) 2) เครื่องรับ (receiver) 3) หนวยบันทึกขอมูล และ 4) เครื่องกําเนิดความอื้ออึงมาตรฐาน(standard noise denerator) หนวยรับคลื่น ทําหนาท่ีรวบรวมพลังงานคลื่นวิทยุแลวสงมาตามสายหรือทอนําคลื่น มาเขาเคร่ืองรับ ซึ่ง

จะขยายความเขมขึ้นเปนอยางมาก และแปรเปนกระแสไฟตรง สงไปยังหนวยบันทึกขอมูล ซึ่งอาจเปนเคร่ืองวัดกระแสไฟฟาท่ีมีปากกาขีดเปนเสนกราฟซึ่งเรียกวาเครื่องบันทึกแผนขอมูล

หนวยรับคล่ืน

หนวยขยายข้ันแรก

หนวย

ออสซืเลเตอรภายใน

หนวยขยายคล่ืนช้ันกลาง

อินดิเกรเตอร

Page 5: Techno

โทรทรรศนวิทยุทําการไดท้ังกลางวันและกลางคืน เมฆหมอกไมมีผลรบกวนการรับคลื่นวิทยุ ซึ่งยาวกวาคลื่นแสงมากและสามารถทะลุผานเมฆหมอกในบรรยากาศของโลกและผานฝุนผงในท่ีวางระหวางดวงดาวไดดวย ดังนั้นจึงสามารสํารวจทิศทางท่ีกลองโทรทรรศนใชแสงสองตรวจไมได เพราะถูกบังดวยฝุนและกาซทึบแสง กลองโทรทรรศอวกาศ

กลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิล(เอชเอสที) เปนดาวเทียมท่ีมีความซับซอนมาก ถูกสงเขาวงโคจรโลกดวยกระสวยอวกาศ ซึ่งหางจากพ้ืนผิวโลก 512 กิโลเมตร (320ไมล) เพ่ือปฏิบัติงานเหนือพ้ืนผิวโลก กลองโทรทรรศนอวกาศจึงสามารถหลีกเลี่ยงปญหาของการมองผานบรรยากาศของโลก และสามารถตรวจสอบการแผรังสีอัลตราไวโอเล็ตและอินฟาเรดได

ดาวเทียม การเลือกวงโคจรของดาวเทียมและยานสํารวจอวกาศ

ดาวเทียม ดาวเทียม หมายถึง ยานชนิดไมมีมนุษยขับคุมที่ถูกสงขึ้นไปโคจรรอบโลก ถายานใดโคจรไปไกลจากโลกเพื่อเยี่ยมเยียนดวงจันทร ดวงอาทิตย หรือดาวเคราะหอื่น ๆมักเรียกวา ยานอวกาศ และถาดาวเทียมดวงใดมีมนุษยขับคุมก็เรียกวายานอวกาศดวย ในศตวรรษท่ี 2 นักเขียนชาวกรีกชื่อลูเซียนไดแตงนิยายเกี่ยวกับการเดินทางไปยังดวงจันทรโดยท่ีเขาเองก็ไมไดคิดวาจะเปนจริงและไมรูดวยวาดวงจันทรอยูหางจากโลกเพียงใด ค.ศ.1865 นักเขียนชาวฝร่ังเศสชื่อ จูลส เวิรน ไดเขียนถึงเรื่องราวของกลุมนักเดินทางจากโลกไปยังดวงจันทรโดยอาศัยลูกกลมกลวงท่ีถูกยิงออกไปโดยปนใหญ ดวยความเร็ว 11.2 กิโลเมตรตอวินาที และแทจริงแลวนี่คือความเร็วหลุดพนแรงดึงดูดของโลก ซิออลคอฟสกี ชาวรัสเซีย เปนผูไขปริศนาในการเดินทางทองอวกาศ ซึ่งเขียนบทความและหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้มานานกวา 80 ปแลว เขาวางแผนที่จะใชพลังผลักดันของจรวดแบบเผาไหมธรรมดา ภายในชองกลวงบรรจุดินปน เม่ือจุดไฟกาซรอนจะพุงออกมาทางชองอากาศและผลักจรวดใหเคลื่อนท่ีไปขางหนาโดยไมตองมีอากาศอยูรอบ ๆเลย ในป ค.ศ.1926 โรเบิรต กอดดารด วิศวกรดานจรวดชาวอเมริกันไดสรางและทดสอบจรวดลําแรกท่ีใชเชื้อเพลิงเหลวแทนผงดินปน ระหวางสงครามโลกครั้งท่ี 2 ประเทศเยอรมันไดสรางจรวดเชื้อเพลิงเหลวสําหรับบรรทุกระเบิด หลังสงครามสิ้นสุดลงประเทศสหรัฐอเมริกาก็ไดสรางจรวดเพ่ือใชในการสงดาวเทียม

จุดเริ่มตนของยุคอวกาศ วันท่ี 4 ตุลาคม ค.ศ.1957 โซเวียตไดสงดาวเทียมดวงแรกของโลกชื่อ สปุคนิก 1 ขึ้นสูทองฟา ดาวเทียมดวงนี้มีลักษณะเปนลูกบอลสีน้ําเงินเสนผานศูนยกลาง 58 เซนติเมตร บรรจุเคร่ืองสงวิทยุขนาดเล็กซึ่งสงสัญญาณ ปบ-ปบ ไดเทานั้น ใชจรวดเปนตัวสงดาวเทียมเขาสูเสนทางโคจร เนื่องจากไมมีอะไรหยุดยั้งดาวเทียมดวงนี้ มันจึงโคจรรอบโลก ในเสนทางเดียวกับดวงจันทรโดยไมไดออกไปนอกชั้นบรรยากาศ และเคลื่อนที่ชาลง และลดระดับลงจนในท่ีสุดถูกเผาไหมไปในชั้นบรรยากาศเม่ือเดือนมกราคม ค.ศ.1958

Page 6: Techno

ดาวเทียมที่โคจรรอบโลกสงสัญญาณโทรศัพทและโทรทัศนขามโลกไดเรียกวา ดาวเทียมสื่อสารสวนดาวเทียมตรวจสภาพอากาศหรือดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาจะศึกษารูปรางของโลก ความหนาแนนของบรรยากาศ การแผรังสีอวกาศ สภาพดินฟาอากาศและการเปลี่ยนแปลงของดาวเคราะห ยานขนสงยานอวกาศแอเรียนไดถูกพัฒนาโดยองคการอวกาศยุโรปไดใหแนวทางใหมและประหยัดในการวางดาวเทียมในวงโคจรดาวเทียมยูฮูรุ ซึ่งถูกสงขึ้นไปโดยองคการนาซาเม่ือป ค.ศ.1970 ไดสํารวจรังสีเอกซของทองฟาโดยสมบูรณแบบ และคนพบการคงอยูของดาวนิวตรอนท่ีมองไมเห็นเพราะมีขนาดเล็กคูกับดาวธรรมดาคูหนึ่ง

การเลือกวงโคจรของดาวเทียม การเลือกวงโคจรใหดาวเทียมขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการใชงาน ดาวเทียมท่ีใชตรวจสภาพดินฟา

อากาศเพ่ือการพยากรณอากาศและท่ีใชศึกษาเกี่ยวกับโลกมักมีวงโคจรตํ่า สูงจากผิวโลก 1,000 กิโลเมตร(620 ไมล) เดินทางรอบขั้วโลกและถายภาพของพื้นดินดานท่ีหันขางใหใตแนวโคจรของดาวเทียม ดาวเทียมเพ่ือการสื่อสารทํางานเหมือนสถานี รับ-สง บางดวงเคลื่อนท่ีในแนวราบของเสนศูนยสูตรของโลกใหมีวงโคจรคงท่ี ดาวเทียมเหลานี้โคจรเหนือพื้นโลกประมาณ 36,000 กิโลเมตร และใชเวลาโคจรคงท่ี 24 ชั่วโมงจึงครบหนึ่งรอบ เนื่องจากมันหมุนรอบโลกใชระยะเวลาเทากับท่ีโลกหมุนรอบตัวเอง ดวงดาวที่ปรากฏใหเห็นจึงไมเคลื่อนที่ ดาวเทียมสปุคนิกของรัสเซีย เปนดาวเทียมดวงแรกท่ี ถูกสงขึ้นไปโคจรรอบโลกเม่ือ ค.ศ.1957 ดาวเทียมเอกพลอเรอล 1 ดาวเทียมดวงแรกของอเมริกาถูกสงขึ้นไปเม่ือวันท่ี 31 มกราคม 1958 ความสําเร็จในการปลอยดาวเทียม ต้ังแตป ค.ศ.1985 ปลอยไดสําเร็จถึง 2,766 ดวง อัตราสวนท่ีปลอยดาวเทียม มากกวา 120 ดวงตอป

วงโคจรของดาวเทียม ดาวเทียมทุกดวงไมไดเคลื่อนรอบโลกอยูในวงโคจรเดียวกัน แตมีวงโคจรตาง ๆกันไปอยูกับงานแตละประเภท ดาวเทียมสื่อสารสวนใหญโคจรอยูในแนวเสนศูนยสูตรโลก ซึ่งเรียกวา วงโคจรสถิตรอบโลก เพราะดาวเทียมโคจรดวยอัตราเร็วเทากับการหมุนรอบตัวเองของโลกพอดี จึงปรากฏดาวเทียมอยูนิ่งกับท่ีในทองฟา จานสายอากาศขนาดยักษซึ่งคลายกับจานโทรทรรศนวิทยุท่ีต้ังอยูบนพ้ืนโลกจึงหันตรงจับดาวเทียมอยูไดตลอดเวลา ดาวเทียมคอมแซทของสหภาพโซเวียตบางดวงยูในวงโคจรรีรูปไขซึ่งจะชวยใหดาวเทียมอยูสูงเหนือประเทศของตนได ทั้งนี้เปนเพราะพ้ืนท่ีประเทศสหภาพโซเวียตสวนใหญอยูคอนไปทางขั้วโลกเหนือ ซึ่งถาดาวเทียมอยูในวงโคจรส ถิต เ หนือเ สนศูนยกลางโลกแ ลวจะ ไมสามาร ถเ ห็นดาวเทียมไดดีนัก สวนดาวเ ทียมสํารวจทรัพยากรธรรมชาติของโลก เชน ดาวเทียมแลนเซท โคจรอยูในแนวขั้วโลก เพราะโลกหมุนรอบตัวเองอยูใต

Page 7: Techno

ดาวเทียมซึ่งโคจรอยู ดาวเทียมจึงสามารถมองเห็นพ้ืนผิวทุกสวนของโลกไดชั่วเวลาเพียงไมกี่วัน ภาพจากดาวเทียมท่ีถายบริเวณสามารถนํามาเปรียบเทียบกันเพ่ือดูแล การเปลี่ยนแปลงใด ๆท่ีเกิดขึ้น สวนวงโคจรรอบโลกระดับต่ําใชสําหรับดาวเทียมท่ีอยูในอวกาศ

วงโคจร 4 แบบ แผนผังแสดงวงโคจรหลัก 4 แบบของดาวเทียม ในวงโคจรเดียวกันอาจมีดาวเทียมจํานวนมากมายหลายดวง โดยเฉพาะในวงโคจรสถิต อวกาศกวางใหญไพศาลมากและดาวเทียมแตละดวงอยูหางกันหลายพันกิโลเมตร ปจจุบันมีวัตถุมากกวา 5,000 ชิ้นโคจรอยูรอบโลก แตเปนดาวเทียมท่ียังคงปฏิบัติงานอยูจริง 300 ดวงเทานั้น ท่ีเหลือเปนดาวเทียมท่ีหมดอายุแลวและซากเหลือของจรวดนําสงดาวเทียมมีจํานวนมากมายแตโอกาสท่ีวัตถุเหลานั้น ฟงดูวาจะมาชนกันมีนอยมาก เพราะความกวางใหญของอวกาศ

Page 8: Techno

การบินอวกาศของมนุษย หองปฏิบัติการอวกาศ

นักบินอวกาศ คือบุคคลท่ีเดินทางไปยังอวกาศ สิ่งมีชีวิตแรกท่ีโคจรในอวกาศคือสุนัขชื่อไลกา โดยไปกับดาวเทียมดวงที่สองของอดีตสหภาพโซเวียตท่ีชื่อวาสปุคนิค 2 ซึ่งถูกสงขึ้นไปเม่ือวันท่ี 3 พฤศจิกายน 1957 สุนัขไลกาโคจรรอบโลกเปนเวลาหนึ่งสัปดาหกอนที่ออกซิเจนจะหมด นักบินอวกาศคนแรกคือยูริ กาการิน จากโซเวียต เขาถูกสงขึ้นไปในตอนเชาของวันท่ี 12 เมษายน 1961 โดยไปกับยานวอสตอก 1 จากคาซักสถาน กาการินบินไดสูง 300 กิโลเมตรจากพื้นโลก นักบินอวกาศคนแรกของสหรัฐอเมริกาคือ อลัน เชปปารดใชเวลาเพียง 15 นาที และ 22 วินาทีบินเหนือผิวโลก 170 กิโลเมตรบนแคปซูลยานเมอรคิวรี และกลับลงสูพ้ืนโลก ณ มหาสมุทรแอตแลนติกดวยรมชูชีพ

นักบินอวกาศคนแรกท่ีสามารถโคจรรอบโลกไดสําเร็จเปนคนแรกคือ จอหน เกลน สามารถโคจรรอบโลกได 3 รอบ เดินทางเปนระยะทาง 130,000 กิโลเมตรใน 4 ชั่วโมง 55 นาที นักบินอวกาศสตรีคนแรกเปนชาวโซเวียต ชื่อวาเลนตินา เทเรชโกวา ใชเวลา 3 วันในอวกาศ เม่ือเดือนมิถุนายน ค.ศ.1963 บนยานวอสตอก อีก 19 ปตอมา โซเวียตก็สงนักบินอวกาศหญิงคนท่ี 2 ชื่อ สเวทลานา สาวิทสกายาไปยังอวกาศ และ อีก 1 ปตอมาสหรัฐจึงไดสงนักบินอวกาศหญิงคนแรกชื่อ แซลลี่ ไรด ไปกับกระสวยอวกาศชาเลนเจอร นักบินอวกาศคนแรกท่ีเดินทางจากโลกไปโคจรรอบดวงจันทรแลวกลับคือ แฟรง บอรแมน เจมส โลเวลลและวิลเลียม แอนเดอร และนักบินอวกาศคนแรกท่ีสามารถลงบนพ้ืนผิวดวงจันทรไดสําเร็จ คือ นีล อารมสตรอง จากโครงการยานอะพอลโล 11

ในขณะท่ีนักบินอวกาศอยูในสภาวะสุญญากาศนอกโลก จะมีความรูสึกไรน้ําหนัก การออกกําลังเปนสิ่งสําคัญสําหรับนักบินอวกาศในสถานีอวกาศ รางกายปรับตัวเร็วมากกับการไรน้ําหนัก หัวใจเร่ิมหายใจชาลง จํานวนเม็ดเลือดแดงคอย ๆลด ปริมาณของเลือกลดลง กลามเนื้อบอบบางและออนแอลง

แคลเซียมในกระดูกนอยลงและการตอตานการติดเชื้อลดตํ่าลง ถานักบินไมออกกําลังกายและกินวิตามินเสริมเขาก็ไมพรอมในการกลับมายังโลก และไมพรอมสําหรับผลกระทบที่สมํ่าเสมอของแรงโนมถวง หองปฏิบัติการอวกาศ ค.ศ.1970 สถานีวิจัยลอยฟาสกายแลบเปนสถานีอวกาศแรกของสหรัฐท่ีถูกสงขึ้นสูวงโคจรของโลกพรอมกับผูควบคุม 3 คน ในป 1973 ไดรับความเสียหายระหวางการสงขึ้น แตซอมแซมในระหวางโคจรโดยลูกเรือในยานอวกาศ สถานีอวกาศของโซเวียตคือ วัลยุค ถูกสงขึ้นไปเมื่อป พ.ศ.1971 สถานีอวกาศท้ังสองแหงไดรับความสําเร็จอยางดี และลูกเรือใชเวลาทองอวกาศไดนาน ปจจุบันสถานียานอวกาศเมียรไดเขามาแทนที่สถานีอวกาศท้ัง 2 แหงแลว (สถานีอวกาศเมียร เปนโครงการอวกาศดานวิทยาศาสตรของรัสเซีย รุนที่สาม นับจากโครงการ Salyut Station เมื่อป 1970 และ 1980 ซึ่งประสบผลสําเร็จทําให MIR เติบโตขึ้นมา ชื่อ MIR มีความหมายวา สันติ (Peace) โดยโครงการสถานีอวกาศเมียร เริ่มขึ้นครั้งแรกเม่ือป 1986 ชิ้นสวนสถานีชิ้นแรก ท่ีเรียกวา Core

Page 9: Techno

Module ถูกสงเขาสูวงโคจร เม่ือวันท่ี 20 กุมภาพันธ 1986 (พศ. 2529) อยูในวงโคจรท่ีระดับความสูง 248-261 กิโลเมตร (อยูตํ่ากวา สถานี ISS ) โดยโคจรรอบโลกดวยความเร็ว ประมาณ 28,000 กิโลเมตรตอชั่วโมง หรือประมาณ 16 รอบตอ 1 วัน ทํามุมเอียงกับเสนอิคลิปติด 51.6 องศา และหลังจากนั้น ชิ้นสวน อื่น ๆ ของสถานีก็ถูกสงขึ้นไปเชื่อมตอเร่ือยๆ มีมูลคาท้ังสิ้น 4.2 พันลานเหรียญสหรัฐ องคการอวกาศรัสเซยีไดประกาศออกมาอยางเปนทางการแลววา จะใหวันท่ี 6 มีนาคม 2544 เปนวันที่จะบังคับใหสถานีอวกาศมีรหลุดออกจากวงโคจรตกลงสูมหาสมุทรแปซิฟก ซึ่งนับเปนการปดฉากภารกิจของสถานีอวกาศท่ีมีอายุยาวนาน 15 ป ลงอยางถาวร ) หองปฏิบัติงานภายในยานอวกาศท่ีซึ่งนักบินอวกาศสามารถทํางานไดโดยไมตองสวมชุดอวกาศ มีสภาพการณสําคัญ 2 อยางที่ไมอาจสรางขึ้นไดบนโลกคือ สภาพไรน้ําหนักและสภาพสุญญากาศ ในอวกาศทุกสิ่งทุกอยางลอยไปมาซึ่งเปนประโยชนอยางยิ่งตอกระบวนการพิเศษบางอยางเชน การเจริญเติบโต หรือผลึกบริสุทธิ์ สภาพสุญญากาศหรือ “ความวางเปลา” ของอวกาศก็ยังเปนประโยชนมากตอการทดลอง หองทดลองคนควาทางวิทยาศาสตรสามารถบรรทุกการทดลองนานาชนิดรวมท้ังการทดลองท่ีเสนอมาจาก โรงเรียนหลาย ๆ แหงดวยกัน

ยานขนสงอวกาศหรือกระสวยอวกาศ สหรัฐอเมริกาสรางยานขนสงอวกาศขึ้นมาเปนลําแรก เพื่อประหยัดงบประมาณในดานการสรางยานอวกาศ ในระยะแรกของการสงยานอวกาศออกสูนอกโลกเม่ือกลับคืนสูบรรยากาศโลกจะถูกทําลายตองท้ิง จึงไดคิดยานท่ีสามารถเดินทางไป-กลับออกนอกโลกได ยานขนสงอวกาศสามารถสงดาวเทียมนานาชนิดขึ้นไป ซึ่งดาวเทียมเหลานี้มีสวนชวยงานของนักดาราศาสตรไดอยางดียิ่ง กลองโทรทรรศอวกาศ ฮับเบิล

กําหนดสงขึ้นในอวกาศในป 1986 มีลักษณะเหมือนกลองโทรทรรศสะทอนแสงท่ัวไปแตจะไปอยูในวงโคจรเหนือบรรยากาศโลกและแกปญหาความพราเลือนและความบิดเบือนที่เกิดจากยานอวกาศบนโลก กระสวยอวกาศใชกําลังจากเคร่ืองยนตจรวดสามเครื่องในการบินและการรอนลง การขึ้นโดยใชจรวดท่ีใชกําลังสองลําท่ีติดอยูกับกระสวยและจะตกลงมาทันทีท่ีมันไดทํางานแลว มันใชงานโดยแท็งกเชื้อเพลิงขนาดใหญภายนอกและตกลงมาเม่ือวางเปลา เมื่อสวนกระสวยท่ีโคจรและลับมายังโลก ยานโคจรก็จะวนรอบ ๆโลก มันสามารถวางสัมภาระในอวกาศ ซึ่งมักจะเปนดาวเทียมใหมหรืออาจเปนสวนหนึ่งของหองทดลองอวกาศ เม่ืองานเสร็จกระสวยจะใชจรวดของมันแหกการโคจรและกลับสูโลก อัตราเร็วในการกลับโดยผานบรรยากาศคือประมาณ 25,000 กิโลเมตรตอชั่วโมงทําใหภายนอกของกระสวยคุแดงดวยความรอนและการเสียดสีของอวกาศ องคการนาซาไดสงกระสวยอวกาศลําแรกขึ้นในป 1981 และในป 1986 กระสวยชาเลนเจอรระเบิดภายหลังขึ้นสูทองฟาไดไมถึงวินาที ทําใหนักบินอวกาศ 7 คนเสียชีวิต

Page 10: Techno

Pioneer 10 เริ่มปฏิบัติการ: 2 มีนาคม 1972 ถึงจุดหมาย: 3 ธันวาคม 1973 สิ้นสุดภาระกิจ: 31 มีนาคม 1997 เปาหมาย: สํารวจและถายภาพดาวพฤหัสบดี และดวงจันทรของดาวพฤหัสบดี วัดสนามแมเหล็กและรังสีจากดาวพฤหัสบดี จากนั้นจึงโคจรออกนอกระบบสุริยะ โดยมีแผนโลหะสลักรูปมนุษย และตําแหนงของดวงอาทิตยถูกสงไปกับยานดวย

Mariner 10 เริ่มปฏิบัติการ: 3 พฤศจิกายน 1973 ถึงจุดหมาย: 5 กุมภาพันธ 1974 สิ้นสุดภาระกิจ: 24 พฤศจิกายน 1975 เปาหมาย: สํารวจดาวเคราะหช้ันในทั้ง 2 ดวงคือดาวศุกรและดาวพุธ

Viking 1 เริ่มปฏิบัติการ: 20 สิงหาคม 1975 ถึงจุดหมาย: 19 มิถุนายน 1976 รอนลงจอดบนดาวอังคาร: 20 กรกฎาคม 1976 สิ้นสุดภาระกิจ: 17 สิงหาคม 1980(ในวงโคจร) 13 พฤศจิกายน 1982(จอดบนดาวอังคาร)

Viking 2 เร่ิมปฏิบัติการ: 9 กันยายน 1975 ถึงจุดหมาย: 7 สิงหาคม 1976 รอนลงจอดบนดาวอังคาร: 3 กันยายน 1976 สิ้นสุดภาระกิจ: 11 เมษายน 1980(ในวงโคจร) 25 กรกฎาคม 1978(จอดบนดาวอังคาร) เปาหมาย: คนหาสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร และถายภาพความละเอียดสูงของพื้นผิวดาวอังคาร สํารวจโครงสรางและสวนประกอบของช้ันบรรยากาศและพื้นดิน

Voyager 1 เริ่มปฏิบัติการ: 5 กันยายน 1977 ถึงจุดหมาย: 5 มีนาคม 1979 เปาหมาย: สํารวจช้ันบรรยากาศ สนามแมเหล็ก ดวงจันทร และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร

Voyager 2 เริ่มปฏิบัติการ: 20 สิงหาคม 1977 ถึงจุดหมาย: 9 กรกฎาคม 1979 เปาหมาย: สํารวจดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร และขยายโครงการออกไปเพื่อสํารวจดาวยูเรนัส(1981) และดาวเนปจูน(1985)

Magellan เร่ิมปฏิบัติการ: 4 พฤษภาคม 1989 ถึงจุดหมาย: 10สิงหาคม 1990 สิ้นสุดภาระกิจ: 12 ตุลาคม 1994 เปาหมาย: สํารวจพื้นผิวดาวศุกรเพื่อศึกษาลักษณะภูมิประเทศ และวัดคาสนามแมเหล็ก

Galileo เริ่มปฏิบัติการ: 18 ตุลาคม 1989 ถึงจุดหมาย: 7 ธันวาคม 1995 สิ้นสุดภาระกิจหลัก: ธันวาคม 1997 สิ้นสุดภาระกิจสํารวจดวงจันทรยูโรปา: ธันวาคม 1999 เปาหมาย: สํารวจช้ันบรรยากาศ สนามแมเหล็กดาวพฤหัสบดี และดวงจันทร 4 ดวง (ใชเวลา 2 ป) และขยายระยะเวลาปฏิบัติภาระกิจไปอีก 2 ป ปจจุบันไดขยายระยะเวลาปฏิบัติภาระกิจออกไปอีก(Galileo Millennium Mission)

Page 11: Techno

กลองโทรทรรศนอวกาศ และกลองโทรทรรศนวิทยุ กลองโทรทรรศนอวกาศ

กลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิล(เอชเอสที) เปนดาวเทียมท่ีมีความซับซอนมาก ถูกสงเขาวงโคจรโลกดวยกระสวยอวกาศ ซึ่งหางจากพ้ืนผิวโลก 512 กิโลเมตร (320ไมล) เพ่ือปฏิบัติงานเหนือพื้นผิวโลก กลองโทรทรรศนอวกาศจึงสามารถหลีกเลี่ยงปญหาของการมองผานบรรยากาศของโลก และสามารถตรวจสอบการแผรังสี อัลตราไวโอเล็ตและอินฟาเรดได ตลอดเวลา 11 ปท่ีเดินทางอยูในอวกาศ กลองฮับเบิล Hubble Space Telescope (HST) ถายภาพมาแลวกวา 390,000 ภาพ จากเปาหมาย 15,700 แหงบนทองฟา

โคจรรอบโลกมาแลวกวา 64,240 รอบ หรือ 1.6 พันลานไมลเทียบไดกับเดินทางไปกลับดวงอาทิตยมาแลว 9 รอบ ในแตละวันจะสงขอมูลกลับมา 3-4 จิกะไบท

กลองโทรทรรศวิทยุ

กลอ งโ ท รท ร ร ศ วิท ยุ ถูกสร างขึ้นมาในป ค .ศ .1930 โดยวิศวกรชื่อ คารล แจนสกีใชคนหาสิ่ งที่แทรก เขามารบกวนการสงกระจายเสียงวิทยุในส มัยแ รก ๆ ตอ มาพบว ามีสัญญาณ ท่ีอ ธิบา ยไ ม ไ ด รั บ ไ ด จ า ก ท อ ง ฟ า

สัญญาณเหลานี้คลายกับสัญญาณท่ีใชในการสงกระจายเสียงวิทยุ การศึกษาสัญญาณเหลานี้จึงเรียกวา ดาราศาสตรวิทยุ

คลื่นวิทยุและคลื่นแสงเปนคลื่นจากการแผรังสีท่ีคลายกันมาก เพียงแตมีความยาวคลื่นตางกัน คลื่นท้ังสองนี้ทําใหเกิดการแผรังสีของแมเหล็กไฟฟา ในกลองโทรทรรศวิทยุ ตัวสะทอนแสงถูกนํามาใชรวบรวมสัญญาณวิทยุท่ีมีกําลังออนจากอวกาศและปรับใหเขาเสาอากาศ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงและขยายคลื่นวิทยุใหเปนสัญญาณไฟฟา จานกลองโทรทรรศวิทยุแบบจานเดียวทํางานไดจํากัดแตเทคนิคสมัยใหมใชเสาอากาาศหลายอันตอการทํางานรวมกัน.

Page 12: Techno

เคร่ืองมือและยานสํารวจอวกาศ การสํารวจดวงจันทร เมื่อวันท่ี 20 กรกฎาคม ค.ศ.1969 นักบินอวกาศนีล อารมสตรอง จากยานสํารวจอวกาศอพอลโลลงสูพ้ืนผิวดวงจันทรซึ่งเปนตํานานการผจญภัยและชัยชนะของมนุษยชาติอันย่ิงใหญ และในระหวางป ค.ศ.1969-1972 นักบินอวกาศท้ังหมด 12 คนไดสํารวจดวงจันทรดวยชุดอวกาศซึ่งชวยปองกันจากสภาพไรอากาศและการแผรังสีอันตรายจากดวงอาทิตยบนดวงจันทรได ยานสํารวจอพอลโล 1 ถึง 6 เปนยานไรคนบังคับถูกสงขึ้นไปเพ่ือทดสอบหินของดาวเสาร และยานสํารวจอพอลโล 7 –17เปนยานท่ีมีคนบังคับ

Page 13: Techno

เคร่ืองมือสํารวจดาวศุกรและดาวพุธ ป ค.ศ.1961 ยานอวกาศลําแรกท่ีเขาใกลดาวศุกรคือ ยานโซเวียต เวเนรา ตอมา ป ค.ศ.1962 ยานมาริเนอร 2 ของอเมริกาไดสงขอมูลเกี่ยวกับอุณหภูมิท่ีสูงมากบนพ้ืนผิวของดาวศุกร จากนั้นมา ยานเวเนรา อีก 2-3 ลําไดสงขอมูลภาพถายจากพ้ืนผิวท้ังท่ีไมมียานสํารวจใดสามารถสงขอมูลไดเปนเวลานานกอนท่ีจะถูกเผาไหม ยานมาริเนอร 10 เปนยานเครื่องมือสํารวจยานแรกที่ประสบผลสําเร็จในการสํารวจดาวเคราะห 2 ดวง ซึ่งสงขึ้นไปเม่ือ ป 1973 เม่ือเขาไปใกลดาวศุกร ไดภาพถายท่ีชัดเจนของเมฆชั้นบน และเดินทางเขาใกลดาวพุธ ไดภาพถายพ้ืนผิว แตไมมีภูมิประเทศท่ีเปนพ้ืนท่ีบกท่ีจะใหยานท่ีปราศจากคนบังคับลงไปสํารวจได

Page 14: Techno

ยานเครื่องมือสํารวจดาวอังคาร การสํารวจดาวอังคารประสบผลสําเร็จคร้ังแรกเม่ือป ค.ศ.1965 โดยยานมาริเนอร 4 ของสหรัฐอเมริกา จากการสํารวจพบวา ลักษณะภูมิประเทศของดาวอังคารเปนปากปลองภูเขาไฟ ชั้นบรรยากาศเบาบาง ประกอบดวยกาซคารบอนไดออกไซด พ้ืนท่ีบนดาวอังคารปกคลุมดวยความมืด ซึ่งพ้ืนนี้เชื่อวาแตกอนเปนใตทะเล บางทีอาจจะมีสิ่งมีชวิีตท่ีเปนอินทรียสาร เชน ไซรทิสเมเจอรซึ่งเปนที่ราบสูงตระหงาน ในป 1969 ยานสํารวจ 2 ลําไดสํารวจดาวอังคารอีกคร้ังและถายรูปหุบเหวของดาวอังคารดวยรูปท่ีนาท่ึง เต็มไปดวยหุบเขาลึกและภูเขาไฟท่ีใหญโต สงลงมาโดยยานมาริเนอร 9 ในตนป 1970 และใน ป 1976 ไดสงคณะขึ้นไปสํารวจสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคารแตไมประสบผล ดาวอังคารเปนดาวท่ีมีความเปนไปไดมากท่ีสุดที่จะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู ดังนั้นจึงมีการออกแบบทดลองเพ่ือหาหลักฐานรองรอยของสิ่งมีชีวิตซึ่งอาจมีชีวิตอยูบนดาวอังคาร

Page 15: Techno

เคร่ืองมือสํารวจดาวเคราะหดวงอื่น ๆ ปลายป ค.ศ.1970 ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูนไดโคจรในอวกาศเปนรูปโคง ซึ่งเกิดขึ้นเพียงหนึ่งในทุก ๆ 180 ป นักวิทยาศาสตรจึงไดใชการเดินทางของดาวเหลานี้เพ่ือสงเคร่ืองมือสํารวจจากดาวเคราะหดวงหนึ่งไปยังอีกดวงหนึ่ง โดยอาศัยแรงดึงดูดของแรงโนมถวงท่ีจะผลักยานอวกาศออกไปใหไกล ยานเครื่องมือสํารวจวอยเอเจอรถูกสงขึ้นไปใน ป ค.ศ.1977 ไดรับความสําเร็จอยางดีในการเดินทางเขาใกลดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร หลังจากเดินทางไปดาวเสาร ยานวอยเอเจอร 2 ไดไปถึงดาวยูเรนัสในป 1986 ไดคนพบหลายสิ่งหลายอยาง เปาหมายสุดทายคือ การเดินทางไปยังดาวเนปจูนในป ค.ศ.1989 ยานวอยเอเจอรจะเดินทางตอไปในระบบสุริยะ แตก็มีโอกาสท่ียานเหลานี้จะถูกเก็บไปโดยมนุษยตางดาวในระบบดวงดาวอื่น ๆ.

(จาก ซูซา วิโบรวา สารานุกรมชุดโลกวันนี้ อวกาศและดาราศาสตร ไทยวัฒนาพานิช หนา 33)

Page 16: Techno

เว็บไซตความรูเกี่ยวกับดาราศาสตรและอวกาศ 39 ลิงคที่เก่ียวของ Darasart.Com : ดาราศาสตรสําหรับคนไทย http://www.darasart.com ดาราศาสตรสําหรับคนไทย ขาวสาร ความรู และความบันเทิง มากมายท่ีเกี่ยวกับ ดาราศาสตรและอวกาศ อัพเดตขาวและขอมูลทุกวัน FA-4 http://mx8.xoom.com/fa4 พ้ืนฐานดาราศาสตรและการดูดาวเบ้ืองตน วิธีใช แผนท่ีดาวของสมาคมดาราศาสตรไทย( สําหรับดูดาวดวยตาเปลา และกลองสองตาเบ้ืองตน ) Gallery UFO http://www.happy-box.com/happyufo/gallery/index.html รวมรูปภาพเกี่ยวกับอวกาศ ดวงดาว ดาราศาสตร กาแลกซีแอนโดรเมดา http://member.mweb.co.th/bpitk/cosmos/andromeda.html ขาวดาราศาสตร ความรูเกี่ยวกับโลก และจักรวาล ระบบสุริยะจักรวาล แกลเลอรี่ของนาซา ขาวดาราศาสตร http://thaiastro.nectec.or.th/news/blletin.html ความรูเกี่ยวกับดาราศาสตร ขาวสารสําหรับนักดูดาว จากสมาคมดาราศาสตรไทย ขาวสารวิทยาศาสตรเพ่ือคนไทย http://si-fi.tripod.com ขาวสารวิทยาศาสตรเพ่ือคนไทย ทันยุคทันสมัย ขาวสารอวกาศ เอกภพอนักวางใหญยังมีสิ่งท่ีนาสนใจอีกมากมาย คนดูดาว http://www.geocities.com/hidetsui รวมลิงคเกี่ยวดาราศาสตร การดูดาว จักรวาลของเราhttp://www.rb.ac.th/student/spaceandhuman/t1.html สาระความรูเกี่ยวกับอวกาศ การสงยาน การบินสูอวกาศ ดาวเทียม จักรวาลและอวกาศ http://www.geocities.com/chatree_web/index.htm เปนเว็บไซตท่ีรวมความรูเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล จักรวาลและอวกาศhttp://www.geocities.com/wilawanmansion เรื่องราวเกี่ยวกับอวกาศมากมาย มีรูปภาพสวยงามในอวกาศ จานบิน มนุษยตางดาว http://www.geocities.com/suriya382000 จานบินและมนุษยตางดาวท้ังกอนและหลังเหตุการณเมืองรอสเวลล นิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา การสรางจานบินของมนุษยโลกโดยใชเทคโนโลยีของมนุษยตางดาว เจ็ดพิภพจักรวาล http://www6.ewebcity.com/jedsada ใหความรูเกี่ยวกับสัญลักษณของดวงดาวในระบบสุริยะ รวมถึงรายละเอียดของตํานานเทพและอมนุษย ดวงอาทิตย : สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เลม 1 http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK1/chapter1/chap1.htm ใหความรูเกี่ยวกับดวงอาทิตย พรอมภาพประกอบ และวิดีโอมัลติมีเดีย ดาราจักรชนกัน ปรากฏการณแหงจักรวาล http://www.geocities.com/Athens/Parthenon/4883/galaxy.htm

Page 17: Techno

รายงานการชนกันของดาราจักร ภาพถายของดวงดาว ดาราศาสตร http://www.geocities.com/darasard ความรูเกี่ยวกับดาราศาสตร การสํารวจอวกาศ วิวัฒนาการเกี่ยวกับกลองดูดาว เครื่องมือตางๆ คําศัพททางดาราศาสตร ดาราศาสตรอวกาศ http://www.thcity.com/i.am/solar ความรูเกี่ยวกับดาวเคราะห ระบบสุริยะ และดาราศาสตร ดูดาว http://www.doodaw.com รวบรวม บทความ ขาวสาร และสิ่งท่ีนาสนใจ ในศาสตรความลี้ลับของดวงดาว เรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร จักรวาล ตามลาละอองดาวhttp://thaiastro.nectec.or.th/library/stardust.html โครงการอวกาศสตารดัสต (Stardust) หรือ "ละอองดาว" คือโครงการท่ีจะสงยานอวกาศในราวเดือนกุมภาพันธ 2542 ไปยังดาวหางท่ีมีชื่อวา วีล-ทู (Wild-2) โดยคาดวาจะไปถึงในเดือนมกราคม 2547 น้ําตาลซายน http://come.to/namtarnsci วิทยาศาสตรเพ่ือเยาวชน ใหความรูดานวิทยาศาสตร ฟสิกส ดาราศาสตร อวกาศ สถานีอวกาศ นิทรรศการสถานีอวกาศเมียร http://www.geocities.com/CapeCanaveral/Hangar/8556 ใหความรูและประวัติความเปนมา การทํางานของสถานีอวกาศเมียร บานดาว http://www.geocities.com/starhome2001 ดาราศาสตรและการดูดาวขั้นพ้ืนฐาน การใชกลองดูดาว ปทานุกรมดาราศาสตร http://thaiastro.nectec.or.th/ency/ เปนเว็บเพจท่ีรวบรวมคําศัพทและความหมายทางดาราศาสตรเอาไว เพ่ือใหผูท่ีตองการศึกษาทางดานนี้ สามารถใชอางอิง และไดเขาใจความหมายของศัพทเฉพาะดานท่ีไมอาจหาไดจากพจนานุกรมทั่วไป พระมหากษัตริยไทยกับดาราศาสตร http://thaiastro.nectec.or.th/royal/maink.html ขอมูลเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ และเหตุการณสุริยุปราคา ที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริยและราชวงศไทย ภาพถายดาวฝมือคนไทย http://kumis.cpc.ku.ac.th/~supaporn/galaxy/index.html ประมวลภาพถายดาวบนทองฟาฝมือคนไทย โดย วรวิทยและเอกชัย ตันวุฒิบัณฑิต ภาพถายฝพระหัตถฯ http://thaiastro.nectec.or.th/royal/pcssgal.html รวมภาพถายฝพระหัตถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีเกี่ยวกับดวงดาว ทองฟา มือใหมหัดดูดาว http://skywatcher.hypermart.net/index.htm รวบรวมความรูพ้ืนฐานท่ัวไปสําหรับนักดูดาวมือใหมสมัครเลน ขอมูลเรื่องของทองฟา การเกิดฤดู จักรราศี การเกิดปรากฏการณ ขางขึ้น-ขางแรม ชื่อดาว-กลุมดาว และการดูกลุมดาว พรอมท้ังรวบรวมสิ่งท่ีนาสนใจ ของแตละกลุมดาวเอาไว ยูเอฟโอ http://geocities.com/jibjab_th

Page 18: Techno

ใหความรูเกี่ยวกับอวกาศและจักรวาล ประวัติความเปนมา คําศัพท ความหมายของคําวา UFO รวมภาพ เนบิวลา กาแล็กซี และอื่น ๆhttp://deepspace.s5.com/ รวมภาพของเนบิวลาและกาแล็กซีมากมาย พรอมรายละเอียด รวมท้ังลิงคไปยังเว็บไซตประเภทดาราศาสตรและศูนยแสดงภาพเกี่ยวกับอวกาศ รอยตะวัน พันดาว http://www.tawan.cjb.net กําเนิดเอกภพและความเปนมา เรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร ดวงดาวและอวกาศ หลุมดํา การดูดาว นิยายดาว ฯลฯ ระบบสุริยะจักรวาล http://www.thai.net/myservice ใหความรูเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล ดวงดาว ดาวหาง นําเสนอเปนภาพเคลื่อนไหวพรอมเสียงบรรยาย วิถีแหงดวงดาว http://members.xoom.com/urtext ใหความรูเกี่ยวกับดวงดาวจะเปนอยางไรใน ป 2000 และจะมีผลกระทบอยางไรตอโลกของเราบาง วิทยาศาสตรและดาราศาสตรจะถูกตองหรือไม เว็บดวงดาว http://come.to/sanupat เว็บดวงดาวท้ัง 9 ในระบบสุริยะ รวมถึงลิงคเว็บ search engine เว็บสอนวิธีการดูดาว http://www.jobtopgun.com/star-watching/mainpage.htm ดูดาวตั้งแตขั้นพ้ืนฐาน ความรูเกี่ยวกับจันทรุปราคา สมาคมดาราศาสตรไทยกับกิจกรรมชาวฟา http://thaiastro.nectec.or.th/activity/index.html ศูนยรวมคนดูดาว เพ่ือรวมทํากิจกรรม เกี่ยวกับดาราศาสตรไทย สารพันดาว http://www.geocities.com/Area51/Shire/1567/ การดูดาวและดาราศาสตร แผนที่ฟารายเดือน ปรากฏการณทองฟา และรวมเว็บดาราศาสตรท่ีนาสนใจ สุริยุปราคราเต็มดวง http://www.ku.ac.th/Internet/eclipse/ รายงานการเกิดสุริยุปราคราเต็มดวง ในเมืองไทย ป 2538 และความรูเกี่ยวกับการเกิดสุริยุปราครา หองภาพทองฟา http://thaiastro.nectec.or.th/gal/gallery.html รวมภาพถายดวงดาวบนทองฟา ดาวหางตางๆ หรือปรากฏการณท่ีเกิดขึ้นบนทองฟา แตละภาพระบุชื่อผูถายภาพ สภาพอากาศ เวลา สถานท่ีทําการถาย หอดูดาวเกิดแกว http://www.kirdkao.org หอดูดาวเกิดแกว มีสาระและความรูในเรื่องของดวงดาว และทองฟาท่ีนาอัศจรรยใจ อวกาศ&ระบบสุริยะ http://go.to/dexchao ความรูเกี่ยวกับอวกาศ จักรวาล ดาวฤกษ ดาวเคราะหตาง ระบบสุริยะ และดวงอาทิตย

Page 19: Techno

เอกสารอางอิง

กนก จันทรขจร. คูมือดูดาว .พิมพครั้งที่ 3,กรุงเทพฯโรงพิมพเพชรสยามการพิมพ.2530. ระวี ภาวิไล.ดาราศาสตรและอวกาศ. กรุงเทพฯ เจริญวิทยการพิมพ,2522. ซูซา วีโบรวา. สารานุกรมชุดโลกวันนี้ อวกาศและดาราศาสตร. ไทยวัฒนาพานิช กรุงเทพมหานคร.2538. โดทอล ไดวอน. สารานุกรมชุดโลกวันนี้ ดาวเคราะห โลก. ไทยวัฒนาพานิช กรุงเทพมหานคร.2538. แมคมิลแลน. สารานุกรมเยาวชน เทคโนโลยีรอบโลก ชุดที่ 2 จักรวาล สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช .

กรุงเทพมหานคร.2538. เคมบริดจ. สารานุกรม จักรวาลวิทยาศาสตร อวกาศภายนอกและภายใน. สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช

กรุงเทพมหานคร.2538.

กลับสูบทเรียน