tsp i newsletter dec 09

8
TSP-I Dece m b er 2 009 Vol ume 2 , I ssue 12 NEWSLETTER 5 ธันวาคม วันพอแหงชาติ ขอพระองคทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะ การเตรียมพื้นที่เพื่อรองรับผูประกอบการ ในการทํางานเหมาะสมกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ในปจจุบัน ซึ่งคาดวาจะสามารถเปดใหบริการ ไดใน เดือนมีนาคม 2554 นอกจากนียังมีชั้น 4 อาคารกลุมนวัตกรรม 1 ที่มีการตอเติมชั้นดาดฟาเดิมเปนพื้นที่สํานักงาน จํานวน 12 หอง โดยมีพื้นที ่ใชสอยทั้งหมดประมาณ 2,016 ตรม. ขนาดพื้นที่หองอยูที110 – 240 ตรม ซึ่ง ทั้งหมดนี้เปนพื้นที่ที่เหมาะกับผูประกอบการทีตองการพื้นที่ขนาดใหญ สําหรับผูประกอบการ เทคโนโลยีใหมที่เปนกิจการเริ่มกอตั้งและกิจการ ขนาดเล็ก เรามีพื้นที่นําเสนอคะ นั่นคือ Garden of Innovation โดยโครงการนี้เริ่มดําเนินการกอสรางไป แลวตั้งแตวันที15 ตุลาคม 2552 อาคารนี้เปนอาคาร เชิงอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ภูมิทัศนโดยรวม มีสภาพเปนสวนที่รมรื่น เนนความเปนธรรมชาติให สมกับชื่อ Garden of Innovation พื้นที่โดยรวม 1,050 ตร.. มีลักษณะเปนอาคารชั้นเดียวจํานวน 20 หอง แตละหองมีขนาด 18 ตร.. ใชสําหรับเปน พื้นที่สํานักงานและหองปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังมี หองประชุมและหองรับรองไวใหบริการลูกคาอีกดวย คาดวาจะสามารถใหบริการผูประกอบการใหม ได ภายในเดือนมีนาคม 2553 คะ มาถึงตรงนีทุกทานคงเห็นแลววา อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย มีความพรอม ดานโครงสรางพื้นฐานไวสําหรับรองรับ ผูประกอบการเทคโนโลยีที่สนใจเขามา บมเพาะธุรกิจเทคโนโลยีและเชาพื้นที่ของ อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทยในการดําเนิน ธุรกิจ หากทานใดสนใจจะเขามาเปนสวนหนึ่ง กับเรา สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ไดทีฝายบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยี อุทยาน วิทยาศาสตรประเทศไทย ตลอดเวลาทําการ คะ......นูแอน สวัสดีคะ ชวงนี้หลายๆ ทานคงจะเห็นวา มีการดําเนินการกอสรางและปรับปรุงพื้นที่ภายใน อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย อยูหลายจุด งาน กอสรางและปรับปรุงพื้นที่ดังกลาวเปนการเตรียม ความพรอมทางโครงสรางพื้นฐานดานอาคาร สถานทีโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสงเสริมและ สนับสนุนผูประกอบการเทคโนโลยีในการสราง ความสามารถในการแขงขัน และกาวทันกระแสของ การเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้น เริ่มทีอาคารกลุมนวัตกรรม 2 ซึ่งประกอบ ไปดวย 4 อาคารที่เชื่อมตอกัน มีพื้นที่ใชสอยกวา 124,000 ตรม . โดยอาคารนี้ออกแบบภายใต แนวความคิด Work-Life Integration” ที่สงเสริม ใหเกิดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนา ความคิดสรางสรรค ใหผูเชามีความยืดหยุWhat had happened? 2 นักธุรกิจดาวรุ3 บทวิเคราะห 4 กลยุทธการบริหารธุรกิจ ในภาวะวิกฤตจากสามกก 5 Intellectual Property 6 คุณพรอมแลวหรือคะ? 7 Events Calendar for December’09 8 Inside this issue

Post on 19-Oct-2014

950 views

Category:

Technology


2 download

DESCRIPTION

จดหมายข่าวอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ประจำเดือนธันวาคม 2552

TRANSCRIPT

Page 1: TSP I Newsletter Dec 09

TSP-I

December 2009

Volume 2, Issue 12

NEWSLETTER

5 ธนัวาคม วนัพอแหงชาต ิขอพระองคทรงพระเจรญิยิ่งยนืนาน ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะ

การเตรียมพื้นที่เพื่อรองรบัผูประกอบการ

ในการทํางานเหมาะสมกับวิ ถี ชี วิตที่ เป ล่ียนไป

ในปจจุบัน ซ่ึงคาดวาจะสามารถเปดใหบ ริการ

ไดใน เดือนมีนาคม 2554

นอกจากนี้ ยังมีช้ัน 4 อาคารกลุมนวัตกรรม

1 ที่มีการตอเติมช้ันดาดฟาเดิมเปนพื้นที่สํานักงาน

จํานวน 12 หอง โดยมีพื้นที่ใชสอยทั้งหมดประมาณ

2,016 ตรม. ขนาดพื้นที่หองอยูที่ 110 – 240 ตรม ซ่ึง

ทั้งหมดนี้ เปนพื้นที่ที่ เหมาะกับผูประกอบการที่

ตองการพื้นที่ขนาดใหญ สําหรับผูประกอบการ

เทคโนโลยีใหมที่ เปนกิจการเ ร่ิมกอต้ังและกิจการ

ขนาดเล็ก เรามีพื้นที่นําเสนอคะ นั่นคือ Garden of

Innovation โดยโครงการนี้เร่ิมดําเนินการกอสรางไป

แลวต้ังแตวันที่ 15 ตุลาคม 2552 อาคารนี้เปนอาคาร

เชิงอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอม ภูมิทัศนโดยรวม

มีสภาพเปนสวนที่รมร่ืน เนนความเปนธรรมชาติให

สมกับ ช่ื อ Garden of Innovation พื้ น ที่ โ ดย รวม

1,050 ตร.ม. มีลักษณะเปนอาคารชั้นเดียวจํานวน

20 หอง แตละหองมีขนาด 18 ตร.ม. ใชสําหรับเปน

พื้นที่สํานักงานและหองปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังมี

หองประชุมและหองรับรองไวใหบริการลูกคาอีกดวย

คาดวาจะสามารถใหบริการผูประกอบการใหม

ได ภายในเดือนมีนาคม 2553 คะ

มาถึงตรงนี้ ทุกทานคงเห็นแลววา

อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย มีความพรอม

ด านโครงสร างพื้ นฐานไ ว สําห รับรอง รับ

ผูประกอบการเทคโนโลยีที่ สนใจ เข ามา

บมเพาะธุรกิจเทคโนโลยีและเชาพื้นที่ของ

อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทยในการดําเนิน

ธุรกิจ หากทานใดสนใจจะเขามาเปนสวนหนึ่ง

กับเรา สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

ไดที่ ฝายบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยี อุทยาน

วิทยาศาสตรประเทศไทย ตลอดเวลาทําการ

คะ......นูแอน

สวัสดีคะ ชวงนี้หลายๆ ทานคงจะเห็นวา

มีการดําเนินการกอสรางและปรับปรุงพื้นที่ภายใน

อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย อยูหลายจุด งาน

กอสรางและปรับปรุงพื้นที่ดังกลาวเปนการเตรียม

ความพรอมทางโครงสรางพื้นฐานดานอาคาร

สถานที่ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสงเสริมและ

สนับสนุนผูประกอบการเทคโนโลยีในการสราง

ความสามารถในการแขงขัน และกาวทันกระแสของ

การเปล่ียนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้น

เร่ิมที่ อาคารกลุมนวัตกรรม 2 ซ่ึงประกอบ

ไปดวย 4 อาคารที่เช่ือมตอกัน มีพื้นที่ใชสอยกวา

124,000 ตรม . โดยอาคารนี้ ออกแบบภายใต

แนวความคิด “Work-Life Integration” ที่ ส ง เส ริม

ให เ กิ ดสภ าพแว ดล อมที่ เ อื้ อ ต อ ก า รพัฒน า

ความคิดสรางสรรค ใหผู เชามีความยืดหยุน

What had happened? 2

นักธุรกิจดาวรุง 3

บทวิเคราะห 4

กลยุทธการบริหารธุรกิจ

ในภาวะวิกฤตจากสามกก

5

Intellectual Property 6

คุณพรอมแลวหรือคะ? 7

Events Calendar for December’09

8

Inside this issue

Page 2: TSP I Newsletter Dec 09

TSP-I ไดจัด Open House จํานวน 2 คร้ัง

ณ ศูนยปฏิบัตกิารลุกเรือการบนิไทยหลักส่ี

และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจนัทร

PAGE 2

Business matching process ระหวาง

Advance Factory Co. ,Ltd . และ

Higrimm Environmental Co.,Ltd.

T S P - I ออกบูธ เพ่ือ

ประชาสัมพันธหนวยฯ ในงาน

สัมมนา “SMEs ไทย กาวอยางไร

สูเศรษฐกิจเชงิ - สรางสรรค “ ณ

ม.รามคําแหง

T S P - I ตอนรับคณะ คณาจารย

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และคณะ

เจาหนาที่ภาครัฐบาล ประเทศอินเดยี

และประเทศปากีสถาน พรอมทั้งบรรยาย

สรุปภาพรวมของฝายบมเพาะธุรกิจ

อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย

What had happened?

Page 3: TSP I Newsletter Dec 09

นักธุรกิจดาวรุง

PAGE 3

นิตยสารฟอรจูนประจําเดือนพฤศจิกายน 2552 ไดจัดอันดับ

40 นักธุรกิจดาวรุงที่อายนุอยกวา 40 ป มีทั้งนักนวัตกรรม

นักประดษิฐ และผูนําความเปลีย่นแปลง ซึ่งจะเปนใครบาง

และแตละคนทําอะไรมีเร่ืองราวที่นาสนใจอยางไร ติดตาม

ใน T S P - I N e w s l e t t e r ไดตั้งแตฉบับนีเ้ปนตนไป

Sergey Brin (36) และ Larry Page (36) คูหูผูกอตั้ง Google

Sergey เ กิดที่ประเทศรัสเ ซีย เ ม่ือสิงหาคม 1973

หลังจากนั้น 22 ปขณะที่เปนนักศึกษาปริญญาเอกสาขา

Computer Science ที่มหาวิทยาลัยแสตนฟอรด สหรัฐ

อเมริการ เขาก็ไดพบกับ Larry Page ซ่ึงเกิดที่รัฐมิชิแกน

เม่ือเดือนมีนาคม 1973 ทั้งสองไดรวมกันสราง Search

engine ที่มีผูใชงานมากที่สุดในโลกคือ Google ในป 1995

ปจจุบันทั้งคูมีทรัพยสินคนละ 12,000 ลานเหรียญสหรัฐ

และยังคงใชหองทํางานรวมกัน

โปรดอยาสงสัยวาทั้งสองไดเรียนปริญญาเอกจนจบ

หรือไม

Mark Zuckerberg (25 ป) ผูกอตั้ง facebook

facebook ถือวาเปน social network ที่ไดรับความนิยมอีกแหงหนึ่งใน

โลก กอต้ังขึ้นโดย Mark Zuckerberg เ ม่ือเดือนกุมภาพันธ 2005

ณ มหาวิทยาลัยฮาวารด โดยได รับแรงบันดาลใจจากหนังสือ

The Exeter Face Book ซ่ึงจะสงตอ ๆ กันไปใหนักเรียนคนอื่น ๆ ได

รูจักเพื่อน ๆ ในช้ันเรียน ซ่ึง face book นี้จริง ๆ แลวก็เปนหนังสือเลม

หนึ่งเทานั้น จนเม่ือวันหนึ่ง มารคไดเปล่ียนแปลงและนํามันเขาสูโลก

ของอินเทอรเน็ต มีสมาชิกทั่วโลกกวา 300 ลานคน Yahoo เคยเสนอ

ซ้ือ facebook ในราคา 1,000 ลานเหรียญสหรัฐ และแนนอนมารค

ไมไดขาย facebook ใหกับใคร ถึงแมจะมีขาวฉาวมากมาย ปจจุบัน

มารคมีทรัพยสินรวม 2,000 ลานเหรียญสหรัฐ

ใ น ช ว ง เ ร่ิ ม ต น ธุ ร กิ จ เ ข า เ ขี ย น ตํ า แ หน ง ใ น น ามบั ต ร ว า

“I’m CEO,bitch”

โปรดติดตามอีก 10 ดาวรุงไดในฉบับตอไป @ เสาวภาพ

Page 4: TSP I Newsletter Dec 09

จากการวิเคราะหพฤตกิรรมผูบริโภคภายใตวิกฤต

เศรษฐกิจตกสะเก็ด พบวาพฤตกิรรมการตัดสินใจใชจาย

ของผูบริโภคเปล่ียนแปลงไป ผูบริโภคสวนมากเริ่มเลือก

วิธีการใชจายแบบไมฟุมเฟอยและใชแตของจําเปน

(มากกวา 70% รายละเอียดดังแสดงในรูป) และมีการวาง

แผนการใชจายลวงหนามากขึ้น อีกทั้ง พฤติกรรมในการ

เลือกซื้อของผูบริโภคจะตัดสินใจซื้อสินคา ณ จุดขายสูงถึง

61% โดยปจจยัในการเลือกซื้อสําคัญ คือ ความนาเชื่อถือ

ของแบรนด คุณภาพของสินคาและบริการ และความคงทน

ขณะที่ปจจยัดานโปรโมชัน่ ราคา และนวัตกรรมไมไดเปน

ปจจยัหลักในการผลักดันใหเกิดการตดัสินใจซื้อของผูบริโภค

โดยกลุมสินคาที่ไดรับผลกระทบสูง ไดแก กลุม

เคร่ืองดื่มตางๆ (กาแฟผงกึ่งสําเร็จรูป เคร่ืองดื่มแอลกอ

ฮอลลและชาเขียวพรอมดื่ม)

และกลุมสินคาฟุมเฟอย (ไดแก ไอศครีม ชีส และ

พาสตา) สวนกลุมที่ไดรับผลกระทบปานกลาง ไดแก ขาว

หอม น้ํามันประกอบอาหาร และผงซักฟอก เปนตน

และกลุมสุดทายที่ไดรับผลกระทบนอย ไดแก

กลุมสินคาจําเปน เชน ยาสีฟน เคร่ืองปรุงอาหาร

ตางๆ เปนตน ดังนัน้ กลุมอุตสาหกรรมประเภท

สินคาอุปโภค บริโภคควรจําเปนตองมีการ

วางแผนการตลาดใหรัดกุมมากยิ่งข้ึนโดยเฉพาะ

ในภาวะเศรษฐกจิถดถอยอยางที่ประสบอยูใน

ปจจบุัน และเร่ิมคิดถึงวิธกีารประชาสัมพนัธ ณ

จุดขายมากขึ้น

ท่ีมา : บริษัท ฟารอีสท ดีดีบี จํากัด, นิตยสาร Positioning

INDUSTRY

PAGE 4

ANALYSIS

@ ภสิณี

Page 5: TSP I Newsletter Dec 09

กลยุทธการบริหารธุรกิจในภาวะวิกฤตจากสามกก

ไดปรับกลยุทธใหมและไมเขาไปแยงชิงกันในกลุมลูกคา

เดิมๆ ชวยใหสามารถสงวนทรัพยากรไดเปนอยางดี คุณ

สมพลจึงไดปรับกลุมลูกคาเปาหมายใหม เพื่อสรางโอกาส

ในการอยูรอด โดยเปลี่ยนจากกลุมลูกคาตางชาติและ

นักทองเที่ยวเปนกลุมบริษทัเอกชน / องคกรภาครัฐตางๆ

ที่เขามาในหาดใหญและพืน้ทีใ่กลเคียง รวมทั้งไดนําเสนอ

ในส่ิงที่แตกตางจากคูแขง และตอบสนองความตองการ

ของกลุมลูกคาหลักไดเปนอยางดี ไดแก การใหบริการอิน

เทอรเนตใหลูกคาฟรีและบริการอ่ืนๆ เพื่อใหสามารถ

ตอบสนองความตองการลูกคาไดเปนอยางดี ถึงแมวา

เปนตนทนุที่เพิ่มข้ึน แตทําใหเปนจดุที่สรางความสามารถ

ในการแขงขันไดเปนอยางดี และทําใหลูกคาตองการเลือก

โรงแรมนิวซีซั่นเปนแหงแรกในดวงใจ @ ภสิณี

หลังจากที่โจโฉสามารถกุมอํานาจรัฐบาล

กลางไดสําเร็จและวางแผนจะไปยึดเมืองอวนเซียนัน้

ซึ่งทําใหทางเมืองอวนเซียอยูในสภาพที่เรียกไดวาถูก

ตรึง ที่ปรึกษาเมืองอวนเซียไดแนะนําใหเตยีวส้ิวยอม

จํานน หากทําการสูรบมีแตเสียเปรียบและเสียกําลัง

โดยเปลาประโยชน เตียวส้ิวจึงยอมจํานนและรอ

จนกระทั่งโอกาสมาถึง และเมื่อโอกาสมาถึง เตยีวส้ิ

วก็สามารถพลิกวิกฤตเปนโอกาสและสามารถเขายึด

เมืองคืนและขับไลโจโฉไดในที่สุด จากเหตกุารณนี้

เตียวส้ิวใชกลยทุธ “การถนอมกาํลังเพื่อรอโอกาส”

จึงทําใหสามารถผานวิกฤตดังกลาวมาได ดังตัวอยาง

ธุรกิจโรงแรมนิวซซีั่น กลางเมืองหาดใหญ บริหารโดย

คุณสมพล ชีววัฒนาพงศ ซึ่งประสบกับวิกฤตเศรษฐกิจ

วิกฤตความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ทําให

ธุรกิจในภาคใตลมตามๆ ซึ่งคุณสมพล ชีววัฒนาพงศ

PAGE 5

Page 6: TSP I Newsletter Dec 09

Property

Intellectual

ท่ีมา : กรมทรัพยสินทางปญญา

PAGE 6

Page 7: TSP I Newsletter Dec 09

สวัสดีคะ! อากาศหนาวมาแลว สลับกับรอนในเวลา

กลางวัน ตองรักษาสุขภาพนะคะ ฉบับนี้ซินดี้จะมาเลาเนื้อหา

เนนๆ เกี่ยวกับการลักษณะของผูประกอบการวาผูประกอบการ

แบบไหน? ที่จะเขารวมโครงการบมเพาะฯแลวไดประโยชนสูงสุด

เ นื่ อ งจากการสนับสนุ นและบริ ก ารต า งๆที่ ท าง อุทยาน

วิทยาศาสตรฯมีให Incubatee นั้นมีมากมายตามที่ไดเลามา

ตอเนื่องหลายฉบับอาจมีผูอานหลายทานที่มีคําถามวาแลว

ผูประกอบการในลักษณะใด จะสามารถใชประโยชนอยางสูงสุด

จากบริการตางๆ หรือพูดงายๆให เขาใจคือ ชวย Identify

ผูประกอบการในลักษณะดังกลาวเพื่อการเขาใจที่ชัดเจน ซึ่งจะ

ขอแยกลักษณะที่พิจารณาวาพรอมดังนี้

• ผูประกอบการหรือทีมงานมีผลงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑที่เปนเทคโนโลยีของตัวเอง ผลงานวิจัยสมบูรณในระดับ Lab Scale และตองการตอยอดในเชิงพาณิชย ( Commercial Scale)

• ผูประกอบการหรือทีมงานมีผลงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑที่เปนเทคโนโลยีของตัวเอง ผลงานวิจัยดังกลาวอาจดําเนินการไปแลวแตยังไมแลวเสร็จ หรือเกือบเสร็จสมบูรณ

• ผูประกอบการหรือทีมงานมีเทคโนโลยี มีความคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ แตยังไมไดเริ่มดําเนินการ

• ผูประกอบการที่ทําการซื้อเทคโนโลยีมาเพื่อการผลิตใน

เชิงพาณิชย

ในประเด็นเหลานี้ผูประกอบการสามารถขอใช

บริการไดแก

• ทุนสนับสนุนตางๆ ( Market Research Grant/

Prototype Grant)

• ที่ปรึกษาตางๆเชน ดานการตลาด/ การเงิน/ การ

บริหารจัดการ

• การใชบริการ Market Enabling ไดแก การทํา

Business Matching การพาออกตลาด การ

ประชาสัมพันธสินคา

• การรับการอบรมเพิ่มทักษะในดานตางๆที่ยังสราง

ความเขมแข็งเชน การบริหารจัดการ การวางแผน

การเงิน การวางแผนการตลาด การวางแผนเปด

ตลาดตางประเทศ

ซึ่งทั้งหมดที่กลาวมาผลิตภัณฑตองอยูบนพื้นฐาน

ของความเปนจริง กลาวคือผลิตภัณฑนั้นตองเปนที่

ตองการของตลาด สามารถขายไดและสรางรายไดใหแก

ผูประกอบการ เพราะนั่นคือความมุงม่ันของเราในการชวย

ใหผูประกอบการสามารถดําเนินธุรกิจไดอยางยั่งยืน แลว

พบกันใหมฉบับหนาคะ @ ซินดี้

PAGE 6

คุณพรอมแลวหรือคะ?

Page 8: TSP I Newsletter Dec 09

Dec 16 APO “สื่อสาร...เพื่อประสานพลงั" ” @ หอง แกรนดบอลรูม ช้ัน 2 โรงแรมดิเอ็มเมอรรัล รัชดา

Dec 18 APO TQA Seminar 2010 หัวขอ "Sustainable

Competitiveness using Business Excellence: Leadership and Innovation" @ หองอโนมา 1-2 โรงแรมอโนมา กรุงเทพ

สอบถามรายละเอยีดเพิม่เตมิไดที ่[email protected] หรือ www.sciencepark.or.th

PAGE 8

อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย / ฝายบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยี ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สวทช .

บรรณาธิการ: พลาเดช เฉลยกิตติ ผูพมิพโฆษณา: ชญาณพิมพ คุณภัทรณีซัง

กองบรรณาธิการ: ศรีทิพย อชุชิน ภสิณี ฟูตระกูล ภาวดี ใจเอื้อ เสาวภาพ รักษาพราหมณ

[email protected]

EVENTS Calendar for December 2009

Dec16 Thailand Bestbuys 2009 @ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิต์ิ

Dec18 Thailand ESCO Fair 2009 @ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิต์ิ

Dec 17-Dec19 InnovAsia 2009: Food in the Future @ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิต์ิ