volume 4 / 2013 frupdate set · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555)...

18
Volume 4 / 2013 DECEMBER 2013 @ FRUpdate SET Financial Reporting Update @ The Stock Exchange of Thailand AUDIT COMMITTEE FINANCIAL STATEMENT MERGING CONTROL

Upload: others

Post on 23-Apr-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Volume 4 / 2013

DECEMBER 2013

@FRUpdate SET Financial Reporting Update @ The Stock Exchange of Thailand

AUDIT COMMITTEE

FINANCIAL STATEMENT

MERGING CONTROL

Page 2: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Inspiration Get the Look

สวัสดีครับ FRUpdate@SET กลับมาพบทุกทานอีกคร้ัง....ทามกลางบรรยากาศของการแสดงออกของผูคนในสังคมปจจุบันท่ีออกมาเรียกรองแสดงพลังกันอยางมุงม่ัน ซึ่งเต็มไปดวยสีสรรของการแสดงออกทั้งธงชาติไทย ...เสียงนกหวีด... และการสื่อสารกันอยางรวดเร็วผานเครือขายสังคมออนไลน หวังวาทุกทานจะมีความทรงจําที่ดีสําหรับป 2556 ที่กําลังจะผานไปนะครับ

FRUpdate@SET Volume 4/2013 ซึ่งเปนฉบับสุดทายของปนี้ ยังคงเสนอเรื่องราวที่นาสนใจสําหรับทานนะครับ โดยไดนําเสนอบทความจากการจัดสัมมนาโตะกลมคณะกรรมการตรวจสอบของ KPMG เพื่อเตรียมพรอมการเดินทางสู IFRS ซึ่งจะชวยคณะกรรมการตรวจสอบในการทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพติดตามไดใน AuditCommittee BRIEF… แมวารายงานของผูสอบบัญชีจะเพ่ิงมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อตนป 2556 อยางไรก็ตาม IAASB ไดมีการขอความคิดเห็นเพ่ือปรับปรุงรายงานของผูสอบบัญชีใหมีขอมูลที่เปนประโยชนตอผูใชงบการเงินมากข้ึน ติดตามไดใน IFRS Update ...

แลวพบกันใหมในป 2557 นะครับ... พรใดที่ทุกทานปรารถนาไวสําหรับปใหมที่จะมีมาถึงน้ี ขอใหทานไดรับพรนั้นและสําเร็จในทุกสิ่งที่ปรารถนานะครับ

ลิขสิทธ์ิของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ทัศนะและขอคิดเห็นตางๆ ท่ีปรากฏในหนังสือเปนความเห็นสวนตัวของผูเขียน ซึ่งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป

ที่ปรึกษา FRUpdate@SETรศ.ดร.อังครัตน เพรียบจริยวัฒน ที่ปรึกษา ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยผาณิต เกิดโชคชัย ผูอํานวยการฝายศูนยการเรียนรู

ทีมงาน FRUpdate@SET : ฝายกํากับบริษัทจดทะเบียนปริมใจ เอี่ยมเพชราพงศ อุษณีย สมศิริ ชยาภรณ ตางวิวัฒน

We’ve got mailเราอยากทราบวาทานคิดอยางไรกับรูปแบบ

เน้ือหา หรือคําตอบท่ีทานอยากใหเราชวยหา...

สงสารถึงเราไดที่

[email protected]

สุภกิจ จิระประดิษฐกุลผูชวยผูจัดการ

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

3

6

1814

13

Audit Committee BRIEF การเตรียมความพรอมสู IFRS ของคณะกรรมการตรวจสอบ

IFRS UpdateReporting on Audited Financial Statements: Proposed New and Revised International Standards on Auditing - โฉมหนาใหมของรายงานผูสอบบัญชี

TFRS Progressมาตรฐานการบัญชีท่ีบังคับใชในป 2557 (ปรับปรุง 2555)

Financial Reporting QUIZ

Training & SeminarUPDATE

Page 3: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 3

Vol. 4 / 2013

ในชวง 2-3 ปที่ผานมานี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยมีการเปล่ียนแปลงหลายฉบับเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสากล (IFRS) โดยการเปลี่ยนแปลงบางฉบับเปนการเปลี่ยนแปลงจากฉบับเดิมอยางมีนัยสําคัญ ในขณะที่บางฉบับเปนการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาเพียงเล็กนอย รวมท้ังยังมีบางฉบับท่ียังไมมีการบังคับใช อยางไรก็ตาม สภาวิชาชีพบัญชีฯ ไดกําหนดเปาหมายที่จะกําหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยใหเหมือนกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศอยางเต็มรูปแบบในอนาคตอันใกล ดังนั้น จะมีมาตรฐานการบัญชีสําหรับเรื่องที่ยังไมเคยมีมากอน เชน เกษตรกรรม หรือเรื่องที่สําคัญและซับซอนเชนเครื่องมือทางการเงิน ทําใหคณะกรรมการตรวจสอบในฐานะของผูมีหนาท่ีสอบทานใหบริษัทจดทะเบียนมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ จําเปนตองเขาใจถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตองบการเงินและเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ โดย บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญช ีจํากัด (KPMG) แนะนําใหกรรมการตรวจสอบตองเตรียมความพรอมใน 4 ประเด็นหลักดังนี้

การเตรียมความพรอมสู IFRS ของคณะกรรมการตรวจสอบ

Audit Committee BRIEF

1 นโยบาย ศึกษามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม เพื่อลดผลกระทบและการวางแผนระยะยาว โดยการวางแผนในเชิงนโยบาย เชน ทางเลือกของมาตรฐานการบัญชี การลงทุนในระบบ IT และบัญชี รวมทั้งบุคลากร นโยบายบัญชีของกลุมบริษัท เปนตน

2 การสื่อสาร วางแผนวิธีการสื่อสารที่เหมาะสม เพื่อใหแนใจวาทุกฝายที่เกี่ยวของเขาใจถึงผลกระทบดานตางๆ เชน คณะกรรมการบริษัท คณะจัดการหรือฝายจัดการ พนักงาน เจาหนี้ นักวิเคราะห ผูถือหุน เปนตน

3 บุคลากร ฝกอบรมและพัฒนาความรูท่ีเก่ียวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหมอยางตอเน่ืองแกบุคลากรอยางเหมาะสม เพ่ือประเมินใหไดวา บริษัทจะสามารถปฏิบัติไดหรือไม หรือมีขอติดขัดใดบาง ควรจะตองมีที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญหรือไม

4 ระบบ นําระบบ IT มาชวยในการลดปริมาณงานทั้งในเรื่องการเก็บขอมูลและการเปดเผยขอมูล ตลอดจนการรายงานและการวิเคราะหผลการดําเนินงาน โดยบริษัทอาจตองลงทุนดาน IT เพ่ิมเติม หรือปรับปรุงระบบ IT ท่ีใชอยูในปจจุบันใหสามารถรองรับระบบงานในอนาคตได หรืออาจเปนการจาง Outsource ปฏบิัติงาน

แนวคําถามเพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบหารือกับฝายบริหารในการเตรียมความพรอมในประเด็นหลักขางตนมีดังนี้

1. การเปลี่ยนแปลงมาตรฐานบัญชีมีผลกระทบอะไรบาง 2. ผูที่เกี่ยวของตอเรื่องนี้มีใครบางและมีความรูความเขาใจในระดับใด 3. มีการตั้งคณะทํางานดูแลเร่ืองนี้หรือยัง ใครรับผิดชอบ ดูแลอะไรบาง 4. ตองมีการปรับระบบ ขั้นตอนการทํางาน และการเก็บขอมูลหรือไม 5. บริษัทจดทะเบียนของกลุมบริษัททํางานไปในทิศทางเดียวกันหรือไม

Page 4: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 4

6. ฝายบริหารทราบถึงผลกระทบตองบการเงินหรือไม เมื่อไร อยางไร 7. คณะกรรมการบริษัทควรเก่ียวของกับเร่ืองนี้มากนอยแคไหน 8. มีการเตรียมแผนการสื่อสารตอผลกระทบตองบการเงินอยางไร 9. การเปลี่ยนแปลงมีผลตอนโยบายการจายเงินปนผลมากนอยแคไหน 10. จะอธิบายตอผูถือหุนในการประชุมผูถือหุนในปที่จะถึงหรือปตอไปอยางไร 11. ทานมีความพรอมแคไหน อยางไร ตอการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้

เพื่อเปนการเตรียมความพรอมของคณะกรรมการตรวจสอบ จึงขอสรุปมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับใชในป 2557 ป 2558 และภายหลังป 2558 ไวดังนี้

ป� 2557 • การตีความมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 13 ฉบับ โดย ฉบับท่ีอาจทําใหเกิดผลกระทบตองบการเงิน ไดแก โปรแกรมการใหสิทธิพิเศษแก ลูกคา (TFRIC 13) และขอตกลงสัมปทานบริการ (TFRIC 12)

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่นๆ สามารถติดตามไดใน FRUpdate (http://www.set.or.th/th/regulations/supervision/listed_download_p5.html)

มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินใหมที่สําคัญ

ประเด็นเปลี่ยนแปลงหลัก ผลกระทบ

โปรแกรมสิทธิพิเศษ แกลูกคา (TFRIC 13)

มีผลบังคับใชป 2557

• บริษัทรับรูสิทธิพิเศษที่ใหแกลูกคาโดยประเมินคะแนนรางวัลหรือคะแนนสะสมท่ีลูกคาสามารถใชสิทธิแลกสินคาหรือบริการดวยมูลคายุติธรรม

• รับรูรายไดสวนของคะแนนและหนี้สินเม่ือมีการใชสิทธิ

• มีการปนสวนกําไรใหกับสินคาที่แจกหรือแถม

• รายไดบางสวนจะถูกปนสวนเปนรายไดรอการตัดบัญชี ทําใหรายไดและกําไรของงวดลดลง

• สะทอนการสงเสริมการขายตามงวดที่มีการใชสิทธิ

ขอตกลงสัมปทานบริการ(TFRIC 12)

มีผลบังคับใชป 2557

• บริษัทตองบันทึกคาตอบแทนท่ีตองจายเพ่ือใหไดสัมปทาน โดยบันทึกเปนคาสิทธิหรือสินทรัพยไมมีตัวตนแทนที่จะเปนอาคารหรืออุปกรณ

• รับรูกําไรจากการขายอาคารหรืออุปกรณเมื่อโอนอาคารหรืออุปกรณใหผูใหสัมปทาน

• ผูประกอบการ

♦ มีกําไรหรือขาดทุนจากการ โอนสินทรัพยใหผูใหสัมปทาน

♦ การจัดประเภทรายการสินทรัพย

• ผูใหสัมปทานจะมีอาคารและ อุปกรณเพิ่ม

ป� 2558 • TFRS 13 การวัดมูลคายุติธรรม • TFRS 10, 11, 12 แนวคิดใหมเกี่ยวกับงบการเงินรวม การบัญชีเก่ียวกับกิจการรวมคา หรือควบคุมรวมกัน

Page 5: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 5

Vol. 4 / 2013

มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินใหมที่สําคัญ

ขอกําหนดหลัก ผลกระทบ

การวัดมูลคายุติธรรม (TFRS 13)

มีผลบังคับใชป 2558

• กรณีไมมีมูลคาตลาดอางอิง TFRS 13 นําเสนอการใชเทคนิคการประเมินราคาในการวัดมูลคายุติธรรม

• เงินลงทุนในหลักทรัพยนอกตลาดจําเปนตองนําเทคนิคดังกลาวมาใช งบการเงินจะผันผวนตามมูลคายุติธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป

แนวคิดใหมเก่ียวกับ งบการเงินรวม การบัญชีเก่ียวกับกิจการรวมคา หรือควบคุมรวมกัน (TFRS 10,11,12)

มีผลบังคับใชป 2558

• ใหแนวทางพิจารณาเก่ียวกับการควบคุมกิจการรวมคา หรือควบคุมรวมกัน โดยตองมีการพิจารณาเก่ียวกับการจัดการและผลประโยชนที่ไดรับตามเง่ือนไขของ IFRS 11 ซึ่งกําหนดเง่ือนไขสําหรับการจัดทํางบการเงินรวมหรือบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย

• อาจมีการทํางบการเงินรวมเพิ่มเติม

• การแสดงผลการดําเนินงานอาจเปลี่ยนแปลงไป

มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินใหมที่สําคัญ

ขอกําหนดหลัก ผลกระทบ

เคร่ืองมือทางการเ งิน (TFRS 9)

มีผลบังคับใชภายหลัง ป 2558

• ตราสารอนุพันธ วั ดมูลค าด วยมูลคายุติธรรม

• ผลตางจากการเปลี่ยนแปลงมูลคายุติธรรมหากเลือกแสดงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ นอกเหนือจากเงินปนผลจะไมสามารถโอนเพ่ือบันทึกในกําไรหรือขาดทุนไดอีก

• งบการเ งินจะผันผวนตามมูลคายุติธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป

• เม่ือขายเงินลงทุน กําไรหรือขาดทุนจะบันทึกในกําไรสะสม ทําใหการวัดผลการดําเนินงานเปล่ียนแปลงไป

สัญญาประกันภัย (TAS 4)

มีผลบังคับใชภายหลัง ป 2558

• การจัดประเภทสัญญา

• การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม

• การวัดความเพียงพอของหน้ีสิน

• กลยุทธทางการตลาด

• ความเพียงพอของขอมูลในการเปดเผย

• การคํานวณภาษี

เกษตรกรรม (TAS 41)

มีผลบังคับใชภายหลัง ป 2558

• ใหวัดมูลคาของสินทรัพยชีวภาพและผลผลิตท่ีเก็บเกี่ยวดวยมูลคายุติธรรม

• งบการเ งินจะผันผวนตามมูลคายุติธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป

• ประเด็นในทางปฏิบัติ ในการหามูลคายุติธรรม

หลังป� 2558 • TFRS 9 เครื่องมือทางการเงิน • TFRS 4 สัญญาประกันภัย • TAS 41 การบัญชีเกษตรกรรม

ที่มา : AC Forum โดย บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด (KPMG) (www.kpmg.com/th)

Page 6: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 6

IFRS UPDATE

คณะกรรมการมาตรฐานการสอบบัญชีและงานใหความเชื่อมั่นสากล (The International Auditing and Assurance Standard Boards หรือ IAASB) ไดขอความคิดเห็นเก่ียวกับรางมาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศซ่ึงมีการปรับปรุงการเสนอรายงานของผูสอบบัญชีโดยมีวัตถุประสงคท่ีจะทําใหรายงานของผูสอบบญัชใีหขอมลูทีเ่ปนประโยชนตอผูใชงบการเงนิมากขึน้ ประเดน็หลกัทีม่กีารปรบัปรงุไดแกการจดัวางสวนของรายงานท่ีเปนความเห็นของผูสอบบัญชีและขอมูลเฉพาะเจาะจงใหแยกเปนสวนท่ีชัดเจนย่ิงขึ้น นอกจากนี้ยังใหมีการรายงานเรื่องสําคัญที่พบจากการตรวจสอบงบการเงิน และใหความเห็นเก่ียวกับความเหมาะสมในการใชดุลยพินิจของฝายจัดการในการจัดทํางบการเงินตามหลักการดําเนินงานตอเนื่อง (Going Concern)

ในการขอรับฟงความเห็นนี้ มีองคกรวิชาชีพดานบัญชีจากประเทศตางๆ ธนาคารโลก สถาบันจัดอันดับความนาเช่ือถือ รวมถึงหนวยงานกํากับดูแลดานตลาดทุนใหความเห็นอยางมากมาย มีท้ังสวนท่ีเห็นดวยและสนับสนุนใหมีการปรับปรุงรายงานของผูสอบบัญชีเพื่อประโยชนของผูใชงบการเงิน มีทั้งขอเสนอแนะเพ่ิมเติมใหรายงานมีการประเมินความเหมาะสมของวิธีการบัญชีท่ีบริษัทใชในกรณีท่ีมาตรฐานใหทางเลือกอ่ืน และบางสวนก็แสดงความกังวลเก่ียวกับบทบาทของผูสอบบัญชีในการรายงานและการท่ีจะทําใหมีการเปดเผยขอมูลมากเกินไป (Disclosure Overload)

FRUpdate ฉบับน้ีไดนําบางสวนของตัวอยางรายงานของผูสอบบัญชีมาแสดงไวเพ่ือใหเห็นภาพ สําหรับรายละเอียดสามารถติดตามไดจาก www.ifac.org

Reporting on Audited Financial Statements: Proposed New and Revised International Standards on Auditing - โฉมหนาใหมของรายงานผูสอบบัญชี

Page 7: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 7

Vol. 4 / 2013

ตัวอยาง – Auditor’s Report on Consolidated Financial Statements of a Listed Entity Prepared in Accordance with a Fair Presentation Framework

INDEPENDENT AUDITOR’S REPORT To the Shareholders of ABC Company [or Other Appropriate Addressee]

Report on the Audit of the Consolidated Financial Statements

Opinion In our opinion, the accompanying consolidated fi nancial statements present fairly, in all material respects, (or give a true and fair view of) the consolidated fi nancial position of ABC Company and its subsidiaries (the Group) as at December 31, 20X1, and (of) their consolidated fi nancial performance and their consolidated cash fl ows for the year then ended in accordance with International Financial Reporting Standards (IFRSs).

We have audited the consolidated fi nancial statements of the Group, which comprise the consolidated statement of fi nancial position as at December 31, 20X1, and the consolidated statement of comprehensive income, consolidated statement of changes in equity and consolidated statement of cash fl ows for the year then ended, and notes to the consoli-dated fi nancial statements, including a summary of signifi cant accounting policies.

Basis for Opinion We conducted our audit in accordance with International Standards on Auditing (ISAs). Our responsibilities under those standards are further described in the Auditor’s Responsibilities for the Audit of the Consolidated Financial Statements section of our report. We are independent of the Group within the meaning of [indicate relevant ethical requirements or applicable law or regulation] and have fulfi lled our other responsibilities under those ethical requirements. We believe that the audit evidence we have obtained is suffi cient and appropriate to pro-vide a basis for our opinion.

Key Audit Matters Key audit matters are those matters that, in our professional judgment, were of most signifi cance in our audit of the consolidated fi nancial statements. Key audit matters are selected from the matters communicated with [those charged with governance], but are not intended to represent all matters that were discussed with them. Our audit procedures relating to these matters were designed in the context of our audit of the consolidated fi nancial statements as a whole. Our opinion on the consolidated fi nancial statements is not modifi ed with re-spect to any of the key audit matters described below, and we do not express an opinion on these individual matters.

Page 8: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 8

The four specifi c topics and content presented below are purely for illustrative purposes. This section would be tailored to the facts and circumstances of the individual audit engagement and the entity. Accordingly, the IAASB has intentionally drafted these examples in a manner that illustrates that Key Audit Matters will vary in terms of the numberand selection of topics addressed and the nature in which they may be described, and areintended to be consistent with the disclosures in the entity’s consolidated fi nancial statements.

Goodwill Under IFRSs, the Group is required to annually test the amount of goodwill for impairment. This annual impairment test was signifi cant to our audit because the assessment process is complex and highly judgmental and is based on assumptions that are affected by expected future market or economic conditions, particularly those in [Countries X and Y]. As a result, our audit procedures included, among others, using a valuation expert to assist us in evaluating the assumptions and methodologies used by the Group, in particular those relating to the forecasted revenue growth and profi t margins for [name of business lines]. We also focused on the adequacy of the Group’s disclosures about those assumptions to which the outcome of the impairment test is most sensitive, that is, those that have the most signifi cant effect on the determination of the recoverable amount of goodwill. The Group’s disclosures about goodwill are included in Note 3, which specifi cally explains that small changes in the key assumptions used could give rise to an impairment of the goodwill balance in the future.

Valuation of Financial Instruments The Group’s disclosures about its structured fi nancial instruments are included in Note 5. The Group’s investments in structured fi nancial instruments represent [x%] of the total amount of its fi nancial instruments. Because the valuation of the Group’s structured fi nancial instruments is not based on quoted prices in active markets, there is signifi cant measurement uncertainty involved in this valuation. As a result, the valuation of these instruments was signifi cant to our audit. The Group has determined it is necessary to use an entity-developed model to value these instruments, due to their unique structure and terms. We challenged management’s rationale for using an entity-developed model, and discussed this with [those charged with governance], and we concluded the use of such a model was appropriate. Our audit procedures also included, among others, testing management’s controls related to the development and calibration of the model and confi rming that management had determined it was not necessary to make any adjustments to the output of the model to refl ect the assumptions that marketplace participants would use in similar circumstances.

Page 9: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 9

Vol. 4 / 2013

Acquisition of XYZ Business As described in Note 2, in December 20X1, the Group completed the acquisition of XYZ Business. XYZ Business was a division of a large private company. As of December 31, 20X1 the Group has completed the initial acquisition accounting on a preliminary basis. The Group will fi nalize the initial acquisition accounting during 20X2, and the amounts recorded as of December 31, 20X1 could change. We focused on this transaction because it is material to the consolidated fi nancial statements as a whole and the fact that values had not previously been assigned to the division as a standalone operation. In addition, determining the assumptions that underlie the initial acquisition accounting and the useful lives associated with the acquired intangible assets involves signifi cant management judgment given the nature of the [name of industry].

Revenue Recognition Relating to Long-Term Contracts The terms and conditions of the Group’s long-term contracts in its [name of segment] affect the revenue that the Group recognizes in a period, and the revenue from such contracts represents a material amount of the Group’s total revenue. The process to measure the amount of revenue to recognize in the [name of industry], including the determination of the appropriate timing of recognition, involves signifi cant management judgment. We identifi ed revenue recognition of long-term contracts as a signifi cant risk requiring special audit consideration. This is because side agreements may exist that effectively amend the original contracts, and such side agreements may be inadvertently unrecorded or deliberately concealed and therefore present a risk of material misstatement due to fraud. In addition to testing the controls the Group has put in place over its process to enter into and record long-term contracts and other audit procedures, we considered it necessary to confi rm the terms of these contracts directly with customers and testing journal entries made by management related to revenue recognition. Based on the audit procedures performed, we did not fi nd evidence of the existence of side agreements. The Group’s disclosures about revenue recognition are included in the summary of signifi cant accounting policies in Note 1, as well as Note 4.

Going Concern The consolidated fi nancial statements of the Group have been prepared using the going concern basis of accounting. The use of this basis of accounting is appropriate unless management either intends to liquidate the Group or to cease operations, or has no realistic alternative but to do so. As part of our audit of the consolidated fi nancial statements, we have concluded that management’s use of the going concern basis of accounting in the preparation of the Group’s consolidated fi nancial statements is appropriate.

Page 10: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 10

Management has not identifi ed a material uncertainty that may cast signifi cant doubt on the Group’s ability to continue as a going concern, and accordingly none is disclosed in the consolidated fi nancial statements of the Group. Based on our audit of the consolidated fi nancial statements of the Group, we also have not identifi ed such a material uncertainty. However, neither management nor the auditor can guarantee the Group’s ability to continue as a going concern.

Other Information [The illustrative wording for this section is subject to the IAASB’s fi nalization of proposed ISA 720 (Revised). The content of this section may include, among other matters: (a) a description of the auditor’s responsibilities with respect to other information; (b) identifi cation of the document(s) available at the date of the auditor’s report that contain the other information to which the auditor’s responsibilities apply; (c) a statement addressing the outcome of the auditor’s work on the other information; and (d) a statement that the auditor has not audited or reviewed the other information and, accordingly, does not express an audit opinion or a review conclusion on it.]

Responsibilities of [Management and Those Charged with Governance or other appropriate terms] for the Consolidated Financial Statements Management is responsible for the preparation and fair presentation of these consolidated fi nancial statements in accordance with IFRSs, and for such internal control as management determines is necessary to enable the preparation of consolidated fi nancial statements that are free from material misstatement, whether due to fraud or error. [Those charged with governance] are responsible for overseeing the Group’s fi nancial reporting process.

Auditor’s Responsibilities for the Audit of the Consolidated Financial Statements The objectives of our audit are to obtain reasonable assurance about whether the consolidated fi nancial statements as a whole are free from material misstatement, whether due to fraud or error, and to issue an auditor’s report that includes our opinion. Reasonable assurance is a high level of assurance, but is not a guarantee that an audit conducted in accordance with ISAs will always detect a material misstatement when it exists. Misstatements can arise from fraud or error and are considered material if, individually or in the aggregate, they could reasonably be expected to infl uence the economic decisions of users taken on the basis of these consolidated fi nancial statements.

The shaded material below can be located in an Appendix to the auditor’s report (see paragraph 39 of this ISA). When law, regulation or national auditing standards expressly permits, reference can be made to a website of an appropriate authority that contains the description of the auditor’s responsibilities, rather than including this material in the auditor’s report (see paragraph 40 of this ISA).

Page 11: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 11

Vol. 4 / 2013

As part of an audit in accordance with ISAs, we exercise professional judgment and maintain professional skepticism throughout the planning and performance of the audit. We also:

• Identify and assess the risks of material misstatement of the consolidated fi nancial statements, whether due to fraud or error, design and perform audit procedures responsive to those risks, and obtain audit evidence that is suffi cient and appropriate to provide a basis for our opinion. The risk of not detecting a material misstatement resulting from fraud is higher than for one resulting from error, as fraud may involve collusion, forgery, intentional omissions, misrepresentations, or the override of internal control.

• Obtain an understanding of internal control relevant to the audit in order to design audit procedures that are appropriate in the circumstances, but not for the purpose of expressing an opinion on the effectiveness of the entity’s internal control.39

• Evaluate the appropriateness of accounting policies used and the reasonableness of accounting estimates and related disclosures made by management.

• Evaluate the overall presentation, structure and content of the consolidated fi nancial statements, including the disclosures, and whether the consolidated fi nancial statements represent the underlying transactions and events in a manner that achieves fair presentation.

• Obtain suffi cient appropriate audit evidence regarding the fi nancial information of the entities and business activities within the Group to express an opinion on the consolidated fi nancial statements. We are responsible for the direction, supervision and performance of the group audit. We remain solely responsible for our audit opinion.

We are required to communicate with [those charged with governance] regarding, among other matters, the planned scope and timing of the audit and signifi cant audit fi ndings, including any signifi cant defi ciencies in internal control that we identify during our audit.

We are also required to provide [those charged with governance] with a statement that we have complied with relevant ethical requirements regarding independence, and to communicate with them all relationships and other matters that may reasonably be thought to bear on our independence, and where applicable, related safeguards.

Report on Other Legal and Regulatory Requirements [The form and content of this section of the auditor’s report would vary depending on the nature of the auditor’s other reporting responsibilities prescribed by local law, regulation, or national auditing standards. Depending on the matters addressed by other law, regulation or

Page 12: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 12

national auditing standards, national standard setters may choose to combine reporting on these matters with reporting as required by the ISAs (shown in the Report on the Audit of the Financial Statements section), with wording in the auditor’s report that clearly distinguishes between reporting required by the ISAs and other reporting required by law or regulation.]

The engagement partner responsible for the audit resulting in this independent auditor’s report is [name].

[Signature in the name of the audit fi rm, the personal name of the auditor, or both, as appropriate for the particular jurisdiction]

[Auditor Address]

[Date]

Page 13: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 13

Vol. 4 / 2013

TFRS Progress

เมื่อเดือนพฤษภาคมและเดือนกันยายน 2556 ที่ผานมา สภาวิชาชีพบัญชีฯ ไดประกาศใหใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินในราชกิจจานุเบกษา รวม 7 ฉบับ โดยใหมีผลบังคับใชวันที่ 1 มกราคม 2557 เปนตนไป ทั้งนี้ มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินทั้ง 7 ฉบับขางตนเปนการปรับปรุงใหสอดคลองกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ (IFRS Bound Volume 2012) ดังนี้

มาตรฐานการบัญชี (ปรับปรุง 2555)

ฉบับที่ เรื่อง วันที่มีผลบังคับใช

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) การนําเสนองบการเงิน

เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2557

เปนตนไป

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) สัญญาเชา

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555)การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล

หรือกิจการที่เกี่ยวของกัน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) งบการเงินระหวางกาล

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ภาษีเงินไดเริ่มตั้งแต

วันที่ 1 มกราคม 2557 เปนตนไป

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2555)

ฉบับที่ เรื่อง วันที่มีผลบังคับใช

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555)

การจายโดยใชหุนเปนเกณฑเริ่มในหรือหลัง

วันที่ 1 มกราคม 2557 เปนตนไปมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5

(ปรับปรุง 2555)สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงานท่ียกเลิก

มาตรฐานการบัญชีท่ีบังคับใชในป 2557 (ปรับปรุง 2555)

Page 14: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 14

การรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน (Common Control) มีลักษณะอยางไร

แนวทางปฏิบัติของ IFRS 3 ใหคํานิยามและอธิบายประเด็นที่เก่ียวกับ Common Control ไวดังนี้

• กลุมบุคคลท่ีเปนกลุมเดียวกันถือวามีอํานาจควบคุมกิจการเม่ือมีขอตกลงตามสัญญาใหมีอํานาจในการกําหนดนโยบายการเงินและการดําเนินงานของกิจการ

• กิจการอาจถูกควบคุมโดยบุคคลหรือกลุมบุคคลที่กระทําการรวมกันภายใตขอตกลงตามสัญญา และบุคคลหรือกลุมบุคคลนั้นไมตองจัดทํารายงานทางการเงินใหเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานการบัญชี ดังนั้น สําหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน จึงไมจําเปนตองมีงบการเงินรวมที่รวมกิจการที่ถูกควบคุมทั้งหมดเขาไวเปนสวนหนึ่ง (ตัวอยางเชนองคกรธุรกิจหลายแหงในประเทศจีนซ่ึงถูกควบคุมโดยหนวยงานตางๆ ของรัฐบาล กิจการเหลานี้อยูภายใตการควบคุมเดียวกันโดยรัฐบาล)

• สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของแตละกิจการท่ีมารวมกันทั้งกอนและหลังการรวมธุรกิจไมไดเปนปจจัยในการพิจารณาวาการรวมธุรกิจนั้นเปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันหรือไม ในทํานองเดียวกัน การที่กิจการที่มารวมกันเปนบริษัทยอยที่มิไดถูกนํามารวมในการจัดทํางบการเงินรวมของกลุมกิจการ กไ็มไดเปนปจจัยในการพิจารณาวาการรวมธุรกิจนั้นเปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันหรือไม

การรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน (Common Control) มีการบันทึกบัญชีอยางไร

สํานักงาน ก.ล.ต. ไดเผยแพรแนวทางปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ซึ่งกําหนดใหบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันดังนี้

• กรณีที่กิจการสองกิจการที่อยูภายใตการควบคุมเดียวกันมีการซ้ือสวนไดเสียระหวางกันจนถึงระดับที่มีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ หรือจนถึงระดับที่มีอํานาจในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานใหปฏิบัติเสมือนวาเปนวิธีการรวมสวนไดเสีย (similar to pooling of interests) โดยผูซื้อตองรับรูสินทรัพย และหนี้สินของกิจการที่ถูกนํามารวมดวยมูลคาตามบัญชีของกิจการที่ถูกนํามารวม ณ วันที่มีการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน

Financial Reporting QUIZ

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่องการรวมธุรกิจ (IFRS 3) ไมใชกับการรวมกิจการหรือธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ซ่ึงเปนการรวมธุรกิจซ่ึงกิจการหรือธุรกิจท้ังหมดท่ีนํามารวมกันอยูภายใตการควบคุมสูงสุดโดยบุคคลเดียวกัน หรือกลุมบุคคลเดียวกันท้ังกอนและหลังการรวมธุรกิจ และการควบคุมนั้นไมเปนการควบคุมชั่วคราว

การรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันถือวาไมมีการซ้ือธุรกิจเกิดข้ึน เน่ืองจากความเส่ียงและประโยชนที่มีตอบุคคล กลุมบุคคล กิจการ หรือกลุมกิจการที่มีอํานาจควบคุมสูงสุด ไมมีการเปล่ียนแปลงจากการรวมธุรกิจ

Page 15: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 15

Vol. 4 / 2013

• กรณีที่กิจการสองกิจการท่ีอยูภายใตการควบคุมเดียวกันมีการซ้ือสวนไดเสียระหวางกันไมถึงระดับที่มีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ หรือไมถึงระดับที่มีอํานาจในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงาน ใหกิจการบันทึกเงินลงทุนโดยใชวิธีราคาทุน

ตัวอยางของการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน

ตัวอยางที่ 1 นาย ก ถือหุน A อยูที่ 51% และ นาย ก มีอํานาจในการควบคุม B โดยถือหุนผาน บริษัท X ในสัดสวนการถือหุน 51% ดังนั้น กอนการรวมธุรกิจ A และ B อยูภายใตการควบคุมสูงสุดโดย นาย ก หลังการรวมธุรกิจ นาย ก ก็ยังคงมีอํานาจการควบคุมทั้ง A และ B โดยการถือหุนผานบริษัท X ดวยสดัสวน 51% การรวมธุรกิจในลักษณะนี้ถือวาเปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน

ตัวอยางที่ 2 กอนการรวมธุรกิจ P เปนผูถือหุนใหญของบริษัท S1 ในสัดสวน 90% และมีผูถือหุน A ถือหุนในบริษัท S1 ในสัดสวน 10% นอกจากนั้น P ยังเปนผูถือหุนใหญของบริษัท S2 ในสัดสวน 80% และมีผูถือหุน B ถือหุนในบริษัท S2 ในสัดสวน 20% บริษัท P ซึ่งเปนผูถือหุนใหญมีอํานาจในการควบคุมนโยบายทางการเงินและการดําเนินงาน

หลังการรวมธุรกิจ ผูถือหุนของบริษัท S1 ไดขาย บริษัท S1 ใหกับบริษัท S2 การรวมธุรกิจในลักษณะนี้จะถือวา เปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ทั้งสัดสวนที่ขาย 90% ของบริษัท S1 และสัดสวนอีก 10% ซึ่งเปนสัดสวนที่ A ถืออยูเดิมซึ่งเกิดจากการซื้อธุรกิจจากผูถือหุนสวนนอย กิจการตองใชวิธีการทางบัญชีเสมือนวาเปนวิธีการรวมสวนไดเสีย (similar to pooling of interests)

Page 16: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 16

ตัวอยางที่ 3 กอนการรวมธุรกิจ บริษัท A มีผูถือหุน คือ บริษัท X และ Y ซึ่งมีสัดสวนการถือหุน 20% และ 80% ตามลําดับ นอกจากนี้ บริษัท X และ Y ก็เปนผูถือหุนของบริษัท B โดยมีสัดสวนการถือหุนในบริษัท B เปน 80% และ 20% ตามลําดับโดยที่ทั้ง บริษัท X และ Y ไมมีความสัมพันธเกี่ยวของกัน

หลังการรวมธุรกิจ ทั้งบริษัท X และ Y เปนผูถือหุนของบริษัท A โดยมีสัดสวนการถือหุน 60% และ 40% ตามลําดับ และใหบริษัท A ถือหุนในบริษัท B 100%

การรวมธุรกิจในลักษณะนี้ไมเปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ถึงแมวาทั้งกอนและหลังการรวมธุรกิจทั้งบริษัท X และ Y จะเปนผูถือหุนในบริษัท A และ B แตอํานาจในการควบคุมของบริษัท A กอนการรวมธุรกิจจะเปน บริษัท Y และอํานาจในการควบคุม บริษัท B จะเปน บริษัท X ในขณะที่หลังการรวมธุรกิจ บริษัท X มีอํานาจในการควบคุมทั้งในบริษัท A และ B

Page 17: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 17

Vol. 4 / 2013

ตัวอยางที่ 4 นาย ก นาย ข นาย ค บริษัท X และ บริษัท Y ไมมีความสัมพันธในลักษณะของบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันแตอยางใด

กอนการรวมธุรกิจ • บริษัท A มีผูถือหุน 4 ราย โดยถือหุนรายละ 25% โดยผูถือหุนประกอบดวย นาย ก บริษัท X นาย ข

และ บริษัท Y• บริษัท B มีผูถือหุน 4 ราย โดยถือหุนรายละ 25% โดยผูถือหุนประกอบดวย บริษัท X นาย ข บริษัท Y และนาย ค

หลังการรวมธุรกิจ นาย ข บริษัท X และบริษัท Y ยังคงมีสัดสวนการถือหุนในบริษัท A และ B 25% ในขณะที่ นาย ก และ นาย ค มีสัดสวนการถือหุนลดลงเปน 13% และ 12% ตามลําดับ

การรวมธุรกิจในลักษณะนี้ไมถือวาเปนการรวธุรกิจภายใตเดียวกัน แมวาทั้งกอนและหลังการรวมธุรกิจ กลุมบริษัท X นาย ข และ บริษัท Y มีอํานาจในการควบคุมนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานในบริษัท A และ B เนื่องจากบริษัท X นาย ข และ บริษัท Y ไมไดเปนบุคคลที่เกี่ยวของกัน

ที่มา : แนวทางปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน (www.sec.or.th)ิ ั ิ ั ี ํ ั ิ ใ ี ั

Page 18: Volume 4 / 2013 FRUpdate SET · 2015. 3. 27. · ในป 2557 ( ปรับปรุง 2555) Financial Reporting QUIZ Training & Seminar UPDATE. Page 3 Vol. 4 / 2013 ในช

Page 18

ฝายกํากับบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 E-mail : [email protected]

Training & Seminar UPDATE

• จัดสัมมนาโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (มีคาใชจาย)วันสัมมนา ชื่อหลักสูตรสัมมนาท่ีนาสนใจ

23 มกราคม – 8 มีนาคม 2557(9.00-16.00 น.)(อบรมเฉพาะวันศุกรและวันเสาร)

โครงการอบรมเพ่ือรับประกาศนียบัตร CFO

21 มีนาคม – 24 พฤษภาคม 2557(9.00-16.00 น.)(อบรมเฉพาะวันศุกรและวันเสาร)

โครงการอบรมเพื่อรับประกาศนียบัตร Young CFO รุนที่ 3

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.fap.or.th