wat moopoeng

24
หอธรรมวัดหมูเปิ้ง จิรนันท์ ดวงอาจ

Upload: jiranan-duang-aat

Post on 05-Apr-2016

217 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

การอนุรักษ์ งานสถาปัตยกรรมและงานศิลปกรรมหอธรรมวัดหมูเปิ้ง ตำบลเหมืองจี้ จังหวัดลำพูน

TRANSCRIPT

Page 1: Wat Moopoeng

หอธรรมวัดหมูเปิ้งจิรนันท์ ดวงอาจ

Page 2: Wat Moopoeng
Page 3: Wat Moopoeng

หอธรรมวดัหมเูป้ิง

ต.เหมอืงจ้ี อ.เมอืง จ.ล�ำพนู

Page 4: Wat Moopoeng

2

การสรา้งหอธรรมโดยตน้ก�าเนิด เกดิจากพระธรรมคมัภรีท์ีจ่ารกึธรรมและค�า

สัง่สอน ถอืไดว้า่เป็นสิง่หน่ึงทีส่�าคญัในองคป์ระกอบทัง้สามของพระพทุธศาสนาจงึ

ไดร้บัการดแูลเป็นอยา่งด ีโดยมกีารสรา้งอาคารต่างๆ ทีส่�าคญัเกบ็พระธรรมคมัภรี์

เหลา่นัน้ทัง้ต�าราเอกสาร ทีส่�าคญัเกบ็รวมไวอ้ยูด่ว้ย หอธรรมสนสถานประเภทหน่ึง

ของพทุธศาสนา ตัง้อยูใ่นวดัซึง่จะอยูใ่นเขตพทุธาวาสและบางวดัตัง้อยูใ่นเขต

สงัฆวาส เป็นอาคารขนาดเลก็ส�าหรบัเกบ็รกัษาและศกึษาพระธรรมโดยเฉพาะ

อยา่งยิง่คอื พระไตรปิฎก หอธรรมจงึเปรยีบเสมอืนหอ้งสมดุส�าหรบัเป็นอาคารที่

เกบ็พระธรรมคมัภรีจ์งึถกูเรยีกวา่ “หอธรรม” ซึง่เป็นภาษาพืน้เมอืงทางภาคเหนือที่

ตรงกบัภาษาภาคกลางวา่ “หอพระไตรปิฎก” แต่ถา้หอไตรอยูอ่ารามหลวงมกัมชีือ่

เรยีกวา่หอพระมณเฑยีรธรรม

หอธรรมวดัหมเูป้ิง

Page 5: Wat Moopoeng

3

หอไตรปิฎกหรอืหอธรรมทีพ่บทางภาคเหนือของประเทศไทยนัน้พบว่ามี

การใชว้สัดใุนการท�าคมัภรีม์มีอียูส่ามประเภทดว้ยกนัคอื ขอ่ย ใบลาน สา โดย

ชาวลา้นนาใหค้วามเคารพนบัถอืสงูสดุแก่หอธรรมโดยถอืเป็นทีศ่กัดิส์ทิธบิรสิทุธิ ์

ซึง่มคีวามเชือ่วา่ถา้ผูใ้ดทีไ่ด ้“สรา้งหอธรรมจะถอืวา่เป็นการสรา้งอานิสงสผ์ลบุญ

ทีไ่ดก้ระท�าและความอิม่ใจจะเทา่กบัผูน้ัน้ไดส้รา้งวหิารหน่ึงหลงั ”จากค�ากลา่วน้ี

แสดงใหเ้หน็ถงึความส�าคญัของการสรา้งหอธรรม และอกีค�ากลา่วหน่ึงเป็นภาษา

บาลซีึง่แปลไดใ้จความวา่ “ถา้ใครแสดงถงึความหวงัผลบุญของตนทีไ่ดส้รา้งหอ

ธรรมถวายแดพ่ระศาสนาและหวงัความเป็นอยูท่ีด่ขี ึน้ในภพหน้า” ดว้ยเหตุทีช่าว

ลา้นนามศีรทัราทีแ่รงกลา้ การสรา้งหอธรรมถวายจงึมพีธิกีรรมในการถวายเครือ่ง

หมูบ่ชูาอนัเป็นวตัถุทีม่คีา่ กลา่วคอื อาจเป็นเงนิ ทอง เพชร พลอย หรอืแมแ้ต่

การถวายทาสบรวิารไวส้�าหรบัดแูลหอธรรม การอุทศิสว่นกุศลผลบุญทีไ่ดส้รา้ง

หอธรรมไดแ้ก่ บรรพบุรษุ ญาต ิมติร ทวยเทพต่างๆ และอนุโมทนาใหช้ว่ยดแูล

รกัษาหอธรรมจกัเป็นบุญกุศลอนัยิง่ ท�าใหถ้งึความส�าคญัของการสรา้งหอธรรม

วา่เป็นการแสดงถงึการหวงัผลบุญแก่ตนเองทีไ่ดร้บัจากการสรา้งหอธรรมถวาย

แดพ่ระพทุธศาสนา หวงัผลจากผลบุญทีต่นกระท�าและยงัเชือ่กนัวา่ในสมยัพระ

ศรอีารยเมตไตร มนุษยท์กุคนเสมอภาคกนัหมด ความทกุขร์อ้นจะไมม่ ีซึง่เป็น

ชวีติในอุดมคต ิ(อนาคตทีด่นีัน่เอง)

Page 6: Wat Moopoeng

4

หอธรรมวดัหมเูป้ิงทีม่คีวามเป็นมาอยา่งยาวนาน วดัหมเูป้ิงเดมิทเีป็นวดัปา่วดั

รา้ง ไมม่ผีูอ้าศยัอยู ่ แต่ในขณะนัน้ยงัมสีิง่ก่อสรา้งคอื ซุม้ประตโูขง ทีม่ลีายปนู

ป ัน้สวยงามมาก เมือ่ก่อนมชีาวบา้นมาหาของปา่และพอ่คา้จะใชเ้ป็นทีพ่กันอน

บรเิวณหน้าวดัยงัเคยมฝีงูชา้งและหมปูา่เป็นจ�านวนมากเน่ืองจากเป็นปา่ทบึและมี

แหลง่น�้า ต่อมาเมือ่มปีระชากรเพิม่มากขึน้ก่อใหเ้กดิชมุชนขึน้แถบน้ี ซึง่เป็นชมุชน

ทีน่บัถอืศาสนาพทุธ ท�าใหเ้กดิศรทัธาชาวบา้นชว่ยกนัสรา้งวดัขึน้และไดเ้ลอืกวดั

รา้งแหง่น้ีเป็นทีต่ ัง้ของวดัใหมท่ัง้เรยีกวดัน้ีวา่ วดัหมเูป้ิง เพราะวา่มหีมปูา่อยูม่าก

ค�าวา่ เป้ิง แปลวา่พึง่พาอาศยั

Page 7: Wat Moopoeng

5

Page 8: Wat Moopoeng

6

หอธรรมวดัหมเูป้ิงเป็นหอธรรมทีส่วยงามและยงัเป็นศนูยร์วมจติใจของคนใน

ชมุชนบา้นหมเูป้ิง หอธรรมวดัหมเูป้ิงเป็นหอธรรมทีไ่ดร้บัการบรูณะมาแลว้ 2ครัง้

คอืเมอืปีพทุธศกัราช 2475 นบัวา่เป็นการบรูณะทีเ่ปลีย่นแปลงงานสถาปตัยกรรม

หอธรรมวดัหมเูป้ิงอยา่งมาก คอืเพิม่ตวัอาคารอเนกประสงคช์ัน้ลา่งขึน้มา จากเดมิ

ตวัอาคารชัน้ลา่งเป็นเพยีงแต่เสาไมเ้ทา่นัน้รวมถงึการประดบัตกแต่งดว้ยลวดลาย

ไมฉ้ลุและโกกนาค ต่อมาเมือ่ปีพทุธศกัราช 2535 ไดม้กีารทาสตีวัอาคารใหมท่ัง้

หลงัดว้ยสทีาบา้นเรอืนทัว่ไป ดว้ยความรูเ้ทา่ไมถ่งึการณ์ จากการทาสใีนครัง้นัน้

เป็นการทาสทีบัลวดลายฉลุทองทีส่บืต่อกนัมา แต่หอธรรมวดัหมเูป้ิงกม็ลีกัษณะ

ทีเ่ฉพาะตวัทีเ่ป็นอาคาร 2ชัน้ ชัน้บนเป็นหอธรรมทีเ่กบ็พระธรรมคมัภรี ์สว่นลา่ง

เป็นทีป่ระดษิฐานพระพทุธรปูปางมารวชิยั อดตีท�าหน้าทีเ่ป็นศาลาบาตรปจัจบุนั

ไดก้ลายเป็นทีอ่เนกประสงคไ์วว้างสิง่ของต่างๆของวดั อยา่งไรกต็ามหน้าทีข่อง

หอธรรมวดัหมเูป้ิงในปจัจบุนัไดเ้ปลีย่นแปลงไปจากเดมิจงึท�าใหห้อธรรมวดัหมเูป้ิง

หมดหน้าทีก่ารใชส้อยไปในทีส่ดุเหลอืเพยีงแต่ความงดงามของสถาปตัยกรรมและ

มคีณุคา่ทางประวตัศิาสตรข์องทอ้งถิน่

Page 9: Wat Moopoeng

7

บริเวณการสร้างหอธรรม

โดยทัว่ไปแลว้หอธรรมจะสรา้งในเขตสงัฆวาส เน่ืองดว้ยหอธรรมเปรยีบ

เสมอืนหอ้งหนังสอืเฉพาะพระภกิษุสงฆแ์ละสามเณรใชเ้ป็นทีค่น้ควา้ ทบทวน

ศกึษาพระธรรมค�าสอน การอยูใ่นเขตสงัฆาวาสจงึเอือ้ใหพ้ระภกิษุสงฆแ์ละสามเณร

เขา้ไปใชส้อยไดอ้ย่างสะดวก วดัโดยทัว่ไปในเขตนอกเมอืงส่วนใหญ่มหีอธรรม

เพยีงหลงัเดยีว และตัง้อยูบ่รเิวณใดบรเิวณหน่ึงทีไ่มไ่ดร้บัก�าหนดเป็นกฎเกณฑ์

ตายตวั เชน่ อยูด่า้นหลงักุฏ ิหรอืขา้งศาลาการเปรยีญ หรอืบรเิวณกลางวดั

โครงสรา้งของหอธรรมทางภาคเหนือมกัสรา้งเป็นเรอืนครึง่ตกึครึง่ไมส้รา้ง 2ชัน้

ชัน้บนมกีารตกแต่งแบบเรอืนไมแ้ทบทกุสว่น สรา้งจากไมท้ัง้หมด ลกัษณะของหอ

ธรรมทีนิ่ยมสรา้งกนัตามวสัดทุีใ่ชก่้อสรา้งในลา้นนามอียู ่ 3 ปะเภทไดแ้ก่ อาคาร

เรอืนไมท้ัง้หลงัชัน้เดยีว(มกัสรา้งกลางสระน�้า) สรา้งดว้ยวสัดุเครื่องไมล้ว้น นับ

ตัง้แต่เสาจนถงึชัน้หลงัคา หอธรรมชนิดน้ีนิยมท�าเป็นอาคาร 2ชัน้ ชัน้ลา่งปลอ่ย

เป็นใตถุ้นโลง่ ชัน้บนตฝีาลอ้มทบึ มปีระตเูขา้ออกทางเดยีว หน้าต่างเจาะทางผนงั

ขา้งละ 1-2 บาน ชัน้บนสว่นมากนิยมยืน่เป็นระเบยีงรอบ มหีลงัคายาวชกัคลุมทกุ

ดา้นเพือ่กนัแดดฝน ระเบยีงโดยรอบน้ียงัมปีระโยชน์ส�าหรบัสามเณร พระภกิษุ ใช้

เป็นบรเิวณนัง่อา่นพระคมัภรี ์เน่ืองจากภายในหอ้งของอาคารคอ่นขา้งมดืทบึและ

อบัชืน้ หอธรรมประเภททีส่องคอื หอธรรมเครือ่งก่อ ใชอ้ฐิก่อเป็นโครงตนัอยา่ง

อาคารตกึนบัแต่ฐานลา่งถงึปลายผนงั ก่อนรบัเครือ่งบนหลงัคาอยา่งโครงสรา้งไม้

ของไทย โดยหน้าบนัมทีัง้แบบหน้าบนัไมห้รอืหน้าบนัก่ออฐิทบึป ัน้ลาย หอธรรม

ลกัษณะน้ีมขีนาดทีค่่อนขา้งใกลเ้คยีงหรอืใหญ่กว่าอย่างเครื่องไมเ้ลก็น้อย และ

สว่นใหญ่กท็�าเป็นสองชัน้คลา้ยอยา่งหอธรรมเครือ่งไมค้อืท�าเป็นเรอืนยกชัน้ ชัน้

ล่างอาจยกสงูลอยหรอืยกลอยเพยีงระดบัเตีย้ๆ ตอนล่างมทีัง้ก่อแบบทบึตนัและ

แบบมชีอ่งเปิดอยา่งหน้าต่าง-ประต ู หอธรรมประเภทน้ีนิยมใชห้อ้งลา่งเป็นทีเ่กบ็

ของบา้งกเ็ป็นกุฏทิีพ่กัอาศยัของพระทีน่อนเฝ้าหอธรรม

Page 10: Wat Moopoeng

8

และหอธรรมประเภททีส่าม หอธรรมครึง่ตกึครึง่ไม ้ ก่อสรา้งสว่นฐานอาคารแบบ

เครือ่งตกึ โดยรบัสว่นเรอืนชัน้บนและหลงัคาทีเ่ป็นเครือ่งไม ้ หอธรรมชนิดน้ีเป็น

ที่นิยมมากในระยะหลงัเมื่อหอธรรมอย่างเครื่องไมน้ัน้ไม่นิยมวางกลางสระน�้ า

อยา่งเกา่อกีแลว้ อาจเน่ืองดว้ยเหตุผลของพืน้ทีท่ีไ่มเ่อือ้อ�านวยต่อการขดุเป็นสระ

หรอืปญัหาความผพุงัของไม ้อนัเน่ืองจากความชืน้หรอืปญัหาการกกัเกบ็น�้าไมไ่ด ้

หรอืความอยากล�าบากส�าหรบัภกิษุโดยเฉพาะพระภกิษุสงูวยัทีเ่ดนิขา้มสะพาน

ไมข้นาดเลก็ขึน้ไปยงัหอธรรม หอธรรมจงึถูกพฒันาไปเป็นหอธรรมอยา่งเครื่อง

ก่อทัง้หลงัอกีครัง้ สว่นฐานอาคารของหอธรรมครึง่ตกึครึง่ไม ้ หากไมย่กสงูมากก็

นิยมก่อเป็นฐานโปรง่ คอืท�าเป็นแนวเสารายลอ้มอาคารระหวา่งเสา อาจก่อเป็น

ชอ่งโคง้กลมหรอืโคง้แหลมกไ็ด้

Page 11: Wat Moopoeng

9

องคป์ระกอบของหอธรรมวดัหมู

Page 12: Wat Moopoeng

10

หลงัคา ลกัษณะหลงัคาหอธรรมวดัหมูเป้ิง เป็นหลงัคาทรงจัว่ หลงัคามุงด้วย

กระเบือ้งดนิขอทรงสีเ่หลีย่มคางหมู

Page 13: Wat Moopoeng

11

ชอ่ฟ้า เป็นสว่นทีอ่ยูต่รงปลายยอดตรงทีป้่านลมมาบรรจบกนัของยอดหลงัคา

มกัเป็นปนูป ัน้หรอืไมแ้กะประดบักระจกหรอืปิดทองเป็นส่วนใหญ่ มลีกัษณะ

คลา้ยชอ่ฟ้าในภาคกลาง

Page 14: Wat Moopoeng

12

หน้าบนั เป็นแผงปิดหน้าจัว่ดา้นหน้าและดา้นหลงั ของตวัอาคารชัน้บน แกะ

สลกัไมล้ายพรรณพฤษา ลายสบัปะรด ลายดอกไมเ้ครอืเถา ปิดทองชว่งระหวา่ง

ลาย ปิดกระจกแกว้จนื

Page 15: Wat Moopoeng

13

ป้านลมหรอืเครือ่งล�ายอง ประดบัตกแต่งเพือ่ ปิดหวักระเบือ้งท�าเป็นลกัษณะ

ตา้นลม แผน่ไมแ้กะสลกั ประดบัดว้ยใบระกา ดา้นบนประดบัดว้ยชอ่ฟ้า ดา้น

ลา่งประดบัดว้ยหางหงสร์ปูเศยีรนาค ชว่งปีกนกก่อประดบั สวนเกลด็นาคตดิ

กระจกแกว้จนื

Page 16: Wat Moopoeng

14

โก่งคิว้หรอืสาหรา่ยรว่งผึง้ พบการตกแต่งในสว่นของโก่งคิว้ โดยมากมกัตกแต่ง

ใหม้คีวามกลมกลนืกบัสว่นของหน้าบนัทีเ่ป็นลายเครอืเถา สว่นการประดบัจะแกะ

สลกัปิดทองและประดบักระจกแกว้จนื

คนัทวยหรอืหชูา้ง เป็นองคป์ระกอบ

ทีใ่ชค้�้ายนัและตกแต่งดา้นขา้งระหว่าง

แขนนางกับเสาที่ยื่นรองรับชายคา

ปีกนก มลีกัษณะคลา้ยงวงชา้ง

Page 17: Wat Moopoeng

15

บานประตแูละบานหน้าต่าง เขยีนภาพพญานาคดว้ยสฝีุน่ เน่ืองจากในสว่นของ

ประตแูละหน้าต่างท�าดว้ยไมจ้งึมกีารแกะสลกัปิดทองและลายรดน�้าปิดทอง

Page 18: Wat Moopoeng

16

ระเบยีง ไมแ้กะสลกัลวดลายพรรณพฤกษา

Page 19: Wat Moopoeng

17

แป้นน�้ายอ้ย แผงไมอ้ยูต่รงชายคาของหลงัคา มกัเป็นลายเครอืเถาหรอืดอกไม ้

มลีกัษณะทีซ่�้าๆกนัเป็นงานไมแ้กะสลกั และลงชาด

Page 20: Wat Moopoeng

18

Page 21: Wat Moopoeng

19

ตวัอาคารชัน้ลา่ง เป็นปนูทัง้หมด เสาปนูหลอ่ ระเบยีงประดบัดว้ยลกูติง่

เป็นปนูหล่อ พืน้ราดดว้ยซเีมนต ์ และประดษิฐานพระพุทธรปูปนูป ัน้ปาง

มารวชิยั

Page 22: Wat Moopoeng

20

หอธรรมวดัหมเูป้ิงเป็นสิง่ทีม่คีณุคา่ทางการบนัทกึเรือ่งราวทางประวตัศิาสตร์

และดา้นโบราณสถานและศลิปกรรมในอดตีทีล่งตวัและมเีอกลกัษณ์เฉพาะตวัทาง

ดา้นรปูแบบและตวัโครงสรา้งของอาคารทีล่งตวักบัหน้าทีก่ารใชส้อย คอืตวัอาคาร

ชัน้บนเป็นไมท้ีไ่มด่ดูความชืน้และยงัมรีะบบระบายอากาศไดด้ ีเหมาะแก่การเกบ็

รกัษาพระธรรมคมัภรีใ์หม้อีายุการใชง้านทีย่าวนานขึน้ไม่ผุพงัเพราะใบลานไม่

ค่อยทนต่อความชืน้ อย่างไรกต็าม หอธรรมวดัหมเูป้ิงเป็นหอธรรมทีไ่ดร้บัการ

บรูณะอยา่งต่อเน่ืองมาแลว้สองครัง้ ซึง่การบรูณะแต่ละครัง้ตอ้งยอมรบัวา่เป็นการ

ท�าลายไปดว้ย เน่ืองจากลวดลายปิดทองถกูสทีาทบัจนไมเ่หน็ลวดลายปิดทอง สว่น

ลกัษณะดา้นโบราณสถานและศลิปกรรมของหอธรรมวดัหมเูป้ิงนัน้ แฝงไปดว้ย

ความเชื่อของพญานาคซึง่ดูจากช่อฟ้าทีท่�าเป็นรูปนกหสัดลีงิคเ์ขา้กบัพญานาค

ลวดลายฉลุทองเป็นรปูพญานาค นิยมท�าดว้ยไมแ้กะสลกั หรอืการหลอ่ปนู สว่น

หน้าบนัเป็นไมแ้กะสลกัลงชาดปิดทองประดบักระจกแกว้จนื ลายพรรณพฤกษา

ซึง่สว่นหน่ึงไดร้บัอทิธพิลมาจากภาคกลางผสมผสานกบัความเชือ่ของทอ้งถิน่ไม่

วา่จะเป็นโก่งคิว้ทีค่ลา้ยลายห�ายนต ์ ดว้ยความเชือ่ทีว่า่หอธรรมเป็นเขตหวงหา้ม

ส�าหรบัคนทัว่ไป อดตีของหอธรรมถา้จะเปรยีบเทยีบกเ็ปรยีบเสมอืนหอ้งสมดุใน

ปจัจบุนั หอธรรมเป็นแหลง่ทีไ่มใ่ชเ่กบ็แคพ่ระธรรมคมัภรีเ์ทา่นัน้ แต่ยงัเป็นแหลง่

ทีเ่กบ็ขอ้มลูทางประวตัศิาสตร ์และยงัเกบ็ขอ้มลูความรูต้่างๆ ทีส่ะสมมาเป็นเวลา

นาน ไมว่า่จะเป็นต�านาน ต�ารายา คาถาอาคมต่างๆ ทีม่กีารบนัทกึดว้ยการจารลง

ในใบลานเพราะฉะนัน้จงึมกีารปลกูตน้ลานไวข้า้งหอธรรม เพือ่สะดวกในการจารกึ

ธรรมต่างๆ โดยไมต่อ้งออกไปหาใบลานทีไ่กลๆ ปจัจบุนัหน้าทีก่ารใชส้อยของหอ

ธรรมวดัหมเูป้ิงไดเ้ลอืนรางไปแลว้ อกีทัง้ไมม่กีารจารกึใบลานแลว้ ธรรมทีอ่า่นใน

ปจัจุบนักเ็ป็นธรรมส�าเรจ็รปูทีพ่มิพเ์ผยแพรท่ัว่ไป ปจัจุบนัหอธรรมวดัหมเูป้ิงได้

อยูใ่นการดแูลของกรมศลิปากรและชาวบา้น ใหก้ารดแูลรกัษาหอธรรมวดัหมเูป้ิง

ใหม้สีภาพดงัเดมิ

Page 23: Wat Moopoeng

หอธรรมวดัหมูเป้ิง

ภาพและเนื้อหาเรื่อง © 2014 (พ.ศ. 2557) โดย จรินนัท ์ดวงอาจ, 540310102

สงวนลขิสทิธิ์ตามพระราชบญัญตัิ

พมิพค์ร ัง้แรก เดอืนตลุาคม พ.ศ. 2557

จดัพมิพโ์ดย ภาควชิาศิลปะไทย คณะวจิติรศิลป์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

ออกแบบและจดัรูปเลม่โดย จรินนัท ์ ดวงอาจ

โดยใชฟ้อนท ์Browallia New 16 pt.

หนงัสอืเลม่นี้ เป็นผลงานทางวชิาการจดัท�าขึ้นเพือ่ส่งเสรมิ และต่อยอดศกัยภาพการศึกษา

ภายในภาควชิาศิลปะไทย คณะวจิติรศิลป์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

Page 24: Wat Moopoeng

หอธรรมวัดเจดีย์สรีหมูเปิ้ง

ตาลแวดป้าวล้อมขะยอมหอม แดดส่องกำ แปง

แคว้นหริภุญชัย