กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์...

50
หลักสูตร นิติศาสตรภาคบัณฑิต ระเบียบการสมัคร ประจำปการศึกษา 2554 ศูนยจัดการศึกษาและฝกอบรมดานกฎหมาย คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร www.law.tu.ac.th

Upload: hanayolaw

Post on 27-Jul-2015

23.218 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สอบวันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2554)รับสมัครถึง 31 มกราคม 2554กำหนดการสอบข้อเขียน วิชาความรู้ทั่วไป วิชาความถนัดทางกฎหมาย การย่อความวัน สอบวันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2554เวลา 09.00–12.00 น. ผู้ที่ต้องการคำแนะนำเพิ่มเติม หรือ ต้องการสั่งซื้อแนวข้อสอบกฎหมาย สำหรับเตรียมสอบภาคบัณฑิตสามารถติดต่อผมได้โดยตรงครับที่ 0859913533 หรือ [email protected] หรือ tutorlawgroup.blogspot.com

TRANSCRIPT

Page 1: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

หลักสูตร นิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 ศูนย�จัดการศึกษาและฝ�กอบรมด�านกฎหมาย คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�

www.law.tu.ac.th

Page 2: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

2 รหัสผู�สมัคร

3 ปฏิทินการรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข�าศึกษา

4 ประวัติความเป�นมาของคณะนิติศาสตร�

6 ข�อมูลที่ควรทราบเกี่ยวกับหลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

8 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร�

13 คำอธิบายรายวิชา

18 รายนามคณาจารย�ผู�ทรงคุณวุฒิ

31 ข�อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� 33 ตัวอย�างหนังสือสำหรับผู�ปฏิบัติงานในภาครัฐที่ประสงค�ขอโควตา 34 ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� 37 ความคิดเห็นบางประการจากบัณฑิตผู�สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตร 39 สภาพแวดล�อมทางการศึกษา 41 กิจกรรมนักศึกษา 46 หลักสูตรต�างๆ ที่เป�ดบรรยายในคณะนิติศาสตร�

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�

47 แผนผังคณะนิติศาสตร� 48 แผนผังมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�

รหัสผู�สมัคร

สารบัญ

Page 3: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประจำป�2

รหัสผูสมัครหลักสูตรนิติศาสตร ภาคบัณฑิต ทาพระจันทร ....................................................................

รหัสผูสมัครในระเบียบการนี้เปนสิทธิเฉพาะตัวของผูซื้อระเบียบการและประสงคจะสมัครเขาศึกษาเทาน้ัน

www.letec.law.tu.ac.th

ลงช่ือ.............................................................................................................ผูสมัคร

(...........................................................................................................)

หมายเหตุ : โปรดเก็บระเบียบการน้ีไวเปนหลักฐานเพื่อยืนยันสิทธิของทานในการกรอกใบสมัครและหากมีปญหาในการสมัคร

ใหนำระเบียบการน้ีมาติดตอเจาหนาที่

การนำรหัสผูสมัครในระเบียบการไปใชโดยไมมีสิทธิเปนการกระทำความผิด มีโทษตามกฎหมาย

5 4 0 1 9 9

tong
เล
Page 4: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

3หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

ปฏิทินการรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข�าศึกษา หลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิต ทาพระจันทร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประจำปการศึกษา 2554

กำหนดการ วัน สถานที่

วันจำหนายระเบียบการ วันศุกรที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึง

วันจันทรที่ 31 มกราคม 2554

- ซื้อดวยตนเองท่ี ศูนยจัดการศึกษาและฝกอบรมดานกฎหมาย คณะนิติศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

- ทางไปรษณีย โดยโอนเงินจำนวน 225 บาท (คาระเบียบการ 200 บาท +

คาจัดสง 25 บาท) เขาบัญชี ศูนยจัดการศึกษาและฝกอบรมดานกฎหมาย

ธนาคารทหารไทย สาขายอย ม.ธรรมศาสตร ทาพระจันทร

เลขที่บัญชี 155-2-04753-0 และสงโทรสาร (แฟกซ) สำเนาใบโอนเงินพรอม

ชื่อที่อยูในการจัดสงและหมายเลขโทรศัพทที่ติดตอไดมาที่หมายเลขโทรสาร

0-2222-0159

วันรับสมัคร วันศุกรที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึง

วันจันทรที่ 31 มกราคม 2554

สมัครผานระบบอินเตอรเน็ตที่ www.letec.law.tu.ac.th โดยผูสมัครสอบจะ

ตองมีรหัสผูสมัครสำหรับกรอกลงในแบบฟอรมใบสมัครทางอินเตอรเน็ตดวย

วันชำระเงินคาสมัครสอบ วันศุกรที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึง

วันจันทรที่ 31 มกราคม 2554

ชำระเงินผานระบบ Teller payment

- ธนาคารกสิกรไทย จำกัด มหาชน

- ธนาคารทหารไทย จำกัด มหาชน

- ธนาคารกรุงเทพ จำกัด มหาชน

ทุกสาขาทั่วประเทศ (คาสมัคร 200 บาท + คาธรรมเนียม 10 บาท) และโปรด

ตรวจสอบขอมูลหลักฐานการชำระเงินที่ธนาคารออกให ขอมูลตองตรงกับขอมูล

ในใบสมัคร

หมายเหตุ : หากทานไมไดดำเนินการชำระเงินในกำหนดเวลาดังกลาวทานจะ

ไมมีสิทธิเขาสอบขอเขียน

วันประกาศรายช่ือ

ผูมีสิทธิสอบขอเขียน

และผังที่นั่งสอบ

วันอังคารที่ 15 กมุภาพันธ 2554 - คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

- www.letec.law.tu.ac.th

- www.law.tu.ac.th

วันสอบขอเขียน วันอาทิตยที่ 20 กุมภาพันธ 2554 คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

วันประกาศผลสอบขอเขียน

และรายชื่อผูมีสิทธิสอบ

สัมภาษณ

วันพุธที่ 23 มีนาคม 2554 - คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

- www.letec.law.tu.ac.th

- www.law.tu.ac.th

วันสอบสัมภาษณ วันเสารที่ 14 พฤษภาคม 2554 คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร (หอง 301)

วันประกาศรายช่ือผูมีสิทธิ

เขาศึกษา

วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2554 - คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

- www.letec.law.tu.ac.th

- www.law.tu.ac.th

วันขึ้นทะเบียนนักศึกษา

และสงเอกสารข้ึนทะเบียน

วนัพฤหสับดีที ่26 พฤษภาคม 2554 ถงึ

วันเสารที่ 4 มิถุนายน 2554

- คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

- www.reg.tu.ac.th (ขึ้นทะเบียนในระบบ พิมพใบขึ้นทะเบียนแนบพรอม

เอกสารการข้ึนทะเบียนทั้งหมดและนำสงที่คณะนิติศาสตร ทาพระจนัทร)

วันปฐมนิเทศนักศึกษาใหม วันเสารที่ 4 มิถุนายน 2554 หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วันจดทะเบียนลักษณะวิชา วันเสารที่ 4 มิถุนายน 2554 ถึง

วันศุกรที่ 10 มิถุนายน 2554

www.reg.tu.ac.th (ลงทะเบียนในระบบทาง www.reg.tu.ac.th

และพิมพใบรายการนำไปชำระเงินที่ธนาคารกรุงไทย)

วันเปดภาคการศึกษาที่

1/2554

วันจันทรที่ 13 มิถุนายน 2554 คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ศูนยจัดการศึกษาและฝกอบรมดานกฎหมาย (LeTEC)

คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร โทร. 0-2613-2104, 0-2613-2108 โทรสาร 0-2222-0159

Page 5: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประจำป�4

ประเทศไทยมีการปฏิรูประบบกฎหมายคร้ังสำคัญยิ่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

เจาอยูหัว ในคร้ังนั้นไดเกิดแนวความคิดในการจัดต้ังโรงเรียนกฎหมายข้ึนโดยมีเมอรซิเออ กุสตาฟ

โรแลง ยัคแมงส หรือพระยาอภัยราชาสยามมานุกูลกิจ ดุษฎีบัณฑิตดานกฎหมายจากประเทศเบลเยียม

ซึ่งดำรงตำแหนงที่ปรึกษาราชการแผนดินไทยเปนผูถวายคำแนะนำ ตอมาเม่ือพระเจาบรมวงศเธอ

กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิทรงสำเร็จการศึกษาดานกฎหมายจากมหาวิทยาลัยออกซฟอรด ประเทศอังกฤษ

จึงไดทรงจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมข้ึนอยางไมเปนทางการเปนครั้งแรกในป พ.ศ. 2440

สวนการศึกษาวิชาการปกครองนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวก็ไดทรงจัดตั้ง

โรงเรียนมหาดเล็กขึ้นในพระบรมมหาราชวัง อบรมบุตรหลานของขาราชสำนักใหเจนจัดในระเบียบแบบแผน

ประเพณีราชการ เพ่ือสงออกไปรับราชการฝายปกครองตามหัวบานหัวเมืองตางพระเนตรพระกรรณ

ตอมาในป พ.ศ. 2453 ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวได

ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กขึ้นเปนโรงเรียนขาราชการพลเรอืน พระราชทาน

นามวา “โรงเรียนขาราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว” ขยายการศึกษาให

กวางขวางย่ิงขึ้นกวาแตกอน และตอมาในป พ.ศ. 2459 ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดตั้ง

มหาวิทยาลัยขึ้น พระราชทานนามวา “จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” เพื่อเปนพระบรมราชานุสรณแด

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกนาถ แบงการศึกษาออกเปนแผนกๆ และใหโอนโรงเรียนขาราชการพลเรือนมา

ขึ้นอยูในสังกัดของมหาวิทยาลัยนี้เรียกชื่อวา “แผนกวิชาขาราชการพลเรือน” ซึ่งตอมาในช้ันหลังไดเปลี่ยน

ชื่อเปน “คณะรัฐประศาสนศาสตร” และ “คณะรัฐศาสตร” ตามลำดับ

การศึกษาวิชากฎหมายและวิชาขาราชการพลเรือนหรือวิชารัฐประศาสนศาสตร หรือรัฐศาสตรใน

สมัยนั้นยังไมถึงขั้นปริญญา ผูที่ศึกษาและสอบไลไดตามหลักสูตรของโรงเรียนกฎหมายจะไดรับ

ประกาศนียบัตรแสดงวิทยฐานะวาเปน “เนติบัณฑิต” และผูที่ศึกษาและสอบไลไดตามหลักสูตรของแผนก

วิชาขาราชการพลเรือน หรือรัฐประศาสนศาสตร หรือรัฐศาสตรของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจะไดรับ

ประกาศนียบัตรแสดงวิทยฐานะวาไดศึกษาและสอบไลไดจบหลักสูตรแลวเทานั้น

ในป พ.ศ. 2476 ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก

พระปกเกลาเจาอยูหัวไดมีพระบรมราชโองการดำรัสเหนือเกลาฯ ใหรวมโรงเรียนกฎหมายกับ

แผนกรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเขาดวยกัน พระราชทานนามใหมวา “คณะนิติศาสตร

และ รัฐศาสตร” สังกัดอยูในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ในป พ.ศ. 2476 นั้นเอง โดยที่รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตยไดพิจารณาเห็นวา

ควรจะจัดการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยใหเจริญทัดเทียมกับการศึกษาในนานาอารยประเทศ

เพ่ือใหประชาชนไดมีโอกาสศึกษาวิทยาการอยางกวางขวางจนถึงปริญญาเอก อันเปนปริญญา

ขั้นสูงสุดของการศึกษาขั้นอุดมศึกษา จะไดนำเอาความรูไปใชใหเปนประโยชนแกชาติบานเมือง

รัฐบาลจึงไดจัดต้ังมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองขึ้น โดยตราเปนกฎหมายเรียกวา

“พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมืองพุทธศักราช 2476” โดย

พระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดโอนคณะนิติศาสตร และรัฐศาสตร

(โรงเรียนกฎหมายและโรงเรียนขาราชการพลเรือน) ซึ่งสังกัดใน

จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัยมารวมอยูในมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร

และการเมือง โดยมีศาสตราจารย ดร .ปรีดี พนมยงค เปน

ผูประศาสนการ ในขณะนั้นมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและ

การเมืองมีหลักสูตรการศึกษาชั้นปริญญาตรีธรรมศาสตรบัณฑิตคณะเดียว

ซึ่งเนนหนักในวิชากฎหมายเปนสวนใหญ ตอมา พ.ศ. 2492 ไดปรับปรุง

การศึกษาโดยแบงการศึกษาออกเปน 4 คณะ ดังนั้นชื่อของคณะนิติศาสตร

จึงเริ่มขึ้นในปนั้นเอง

พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ

เมอรซิเออ กุสตาฟ โรแลง ยัคแมงส

โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม

รั

(

แมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมือง

ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค

ประวัติความเป�นมาของคณะนิติศาสตร�

Page 6: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

5หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

เดิมการเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรทุกคณะไมตองผานการสอบคัดเลือกและไมไดบังคับเวลาเรียน ตอมา พ.ศ. 2503 ไดออก

ขอบังคับวาดวยการศึกษาช้ันปริญญาตรีใหม โดยใหมีการสอบคัดเลือกผูสมัครเขาศึกษาจำกัดจำนวนผูเขาศึกษาในคณะนิติศาสตร ในป

พ.ศ. 2505 มหาวิทยาลัยพิจารณาเห็นวานักศึกษาควรมีความรูพื้นฐานเปนอยางดีกอน ในการศึกษาข้ันมหาวิทยาลัยจึงมีขอบังคับใหนักศึกษา

ทุกคณะตองศึกษาวิชาพื้นฐานตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยในชั้นปที่ 1 แลวจึงศึกษาวิชาเอกของแตละคณะในปตอไป

ในป พ.ศ. 2515 คณะนิติศาสตรไดเปดหลักสูตรนิติศาสตรสำหรับผูที่สำเร็จ

การศึกษาช้ันปริญญาตรีจากคณะอื่นๆ นอกจากคณะนิติศาสตรมาแลว เรียกวา

หลักสูตรชั้นปริญญาตรี คณะนิติศาสตร ภาคบัณฑิต (เดิมเรียกวา หลักสูตรภาคค่ำ)

โดยเขาศึกษาเฉพาะวิชาบังคับตามหลักสตูรช้ันปริญญาตรี ชัน้ปที ่ 2, 3 และ 4 ของ

คณะนิตศิาสตร ผูจบการศกึษาตามหลกัสตูรนีม้ศีกัด์ิและสิทธิเปน “นติศิาสตรบณัฑติ”

แหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ตอมาในป พ.ศ. 2529 คณะนิติศาสตรไดเปดการเรียนการสอนหลักสูตร

นิติศาสตร ชั้นปริญญาตรี ภาคปกติ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต และ

เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาในภาคเหนือของประเทศไทย ในปการศึกษา

2552 จึงไดเปดการเรียนการสอนหลักสูตรนิติศาสตร ภาคปกติ ณ มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร ศูนยลำปาง

คณะนิติศาสตรไดทำการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาต้ังแตป 2514 เปนตน

มาเปนระยะๆ และคร้ังสุดทายไดทำการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาช้ันปริญญาตรี

ของคณะนิติศาสตรในปการศึกษา 2552

สำหรับในระดับบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตรไดเปดสอนหลักสูตรปริญญาโท

และปริญญาเอกตลอดมา และดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรเปนระยะๆ จนกระทั่งได

ปรับปรุงหลักสูตรปริญญาเอกในปจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2539 และหลักสูตรปริญญาโทใน

ปจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2544 มีการเปดการเรียนการสอน 8 สาขาวิชา ไดแก สาขา

กฎหมายเอกชน สาขากฎหมายอาญา สาขากฎหมายมหาชน สาขากฎหมายระหวาง

ประเทศ สาขากฎหมายธุรกิจ สาขากฎหมายการคาระหวางประเทศ สาขากฎหมาย

ภาษี และสาขากฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม นอกจากน้ีคณะ

นิติศาสตรยังเปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชนอีกดวย

ในปการศึกษา 2552 คณะนิติศาสตรไดเปดการเรียนการสอนหลักสูตรนิติศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ (ภาคภาษาอังกฤษ) และในปการศึกษา

2553 คณะนิติศาสตรไดเปดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชากฎหมายมหาชน

ศ.ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช

ศ.ไพโรจน ชัยนาม ศ.จิตติ ติงศภัทิย

ศ.สัญญา ธรรมศักด์ิ ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย

อดีตคณาจารยผูทรงคุณวุฒิ

ศ.ดร.จิ๊ด เศรษฐบุตร

Page 7: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประจำป�6

ข�อมูลที่ควรทราบเกี่ยวกับหลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

หลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิตไดเริ่มเปดสอนเปนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2515

โดย ศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย ซึ่งในครั้งนั้นดำรงตำแหนงคณบดีคณะนิติศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย ไดริเริ่มจัดทำหลักสูตร

ชั้นปริญญาตรีคณะนิติศาสตร สำหรับผูสำเร็จการศึกษาช้ันปริญญาตรีจากสาขาอ่ืนๆ

นอกจากสาขานิติศาสตร ในเบ้ืองตนเรียกกันตามชวงเวลาของการศึกษาวา

“หลักสูตรชั้นปริญญาตรีคณะนิติศาสตร ภาคค่ำ” ตอมาเรียกช่ือใหมเพื่อสื่อถึง

คุณสมบัติของผูเขาศึกษาวา “หลักสูตรช้ันปริญญาตรีคณะนิติศาสตรภาคบัณฑิต”

โดยเขาศึกษาเฉพาะวิชาบังคับตามหลักสูตรชั้นปริญญาตรีในชั้นที่ 2, 3 และ 4

ของคณะนิติศาสตรเทานั้น ผูที่จบการศึกษาตามหลักสูตรน้ีมีศักด์ิและสิทธิเปน

“นิติศาสตรบัณฑิต” แหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลักสูตรน้ีเปนการศึกษาภาคค่ำ

ที่ศึกษาเฉพาะวิชาบังคับที่เปนวิชากฎหมาย 28 วิชา 85 หนวยกิต เทาน้ัน โดยไดรับ

การยกเวน ไมตองศึกษาวิชาพ้ืนฐานของมหาวิทยาลัย 36 หนวยกิต และวิชาเลือก

26 หนวยกิต ดวยเหตุผลในดานปรัชญาการศึกษาที่วางไวสำหรับหลักสูตรนี้โดย

เฉพาะ คือ

1. เปนหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อใหบุคคลที่อยูสายวิชาชีพหรือวิชาการอื่นไดเขา

มาศึกษาทำความเขาใจกฎหมายเพ่ือนำไปใชเสริมกับงานในสายงาน

ของตน

2. เหตุผลของการยกเวนไมตองศึกษาวิชาพ้ืนฐานของมหาวิทยาลัย 36

หนวยกิต และวิชาเลือก 26 หนวยกิต เพราะผูที่เขาศึกษาเปนผูสำเร็จ

การศึกษาช้ันปริญญาตรีอื่นมาแลว จึงมีความรอบรูเพียงพอกับวิชา

พื้นฐานทั่วไปของมหาวิทยาลัยได

ศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย

Master of Laws (Magna Cum Laude),

Southern Methodist University,

สหรัฐอเมริกา

Page 8: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

7หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

การที่ ศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย จัดทำหลักสูตรปริญญาตรีนิติศาสตรภาคบัณฑิตขึ้น โดยมีแนวคิดจากประสบการณของ

ทานอาจารยที่ไดเคยศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งผูที่จะศึกษาปริญญาตรีกฎหมายได จะตองเปนผูสำเร็จปริญญาตรีสาขาวิชา

อื่นมากอน จึงมีผลทำใหการศึกษากฎหมายทำไดดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ทานไดมองเห็นถึงความจำเปนในการเรียนแบบสหวิชา

(interdisciplinary) ดังที่ทานไดกลาวไวในหนังสือวิชาชีพนักกฎหมายของทานตอนหนึ่งวา “...นักกฎหมายสมัยน้ีมีความรับผิดชอบตอ

สังคมที่จะดำรงฐานะผูนำในกิจการของมวลมนุษย ตองใหผูศึกษากฎหมายมีความรูทางการเมือง เศรษฐศาสตร สังคม และ

มนุษยชน ในฐานะที่เปนผลพลอยไดจากการศึกษาท่ีเปนหลักสูตรวิชากฎหมายแท เพื่อสามารถรับใชประชาชนได...”

ดังนั้นการจัดทำหลักสูตรปริญญาตรีนิติศาสตรภาคบัณฑิตของทานศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย จึงแสดงใหเห็นถึงลักษณะ

อันสำคัญประการหนึ่งของศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย ที่เปนบุคคลที่มองการณไกล สามารถนำประสบการณการศึกษาใน

ตางประเทศของทานมาพัฒนาไมใชแตเฉพาะในเนื้อหาวิชาการทางกฎหมายดานตางๆ ของตางประเทศเทานั้น แตไดนำเอา

ประสบการณการศึกษาในเชิงหลักการและปรัชญาการศึกษา รวมทั้งการศึกษาของมหาวิทยาลัยตางประเทศมาใชเปน

แนวทางใหเกิดประโยชนในประเทศไทยอีกดวย จะเห็นไดวาในสังคมปจจุบันความจำเปนในการเรียนรูกฎหมายเพิ่มเติมสำหรับ

ผูสำเร็จการศึกษาในสาขาอ่ืนๆ สถาบันการศึกษากฎหมายท้ังที่เปนมหาวิทยาลัยของรัฐและของเอกชนตางก็นำหลักการและปรัชญา

ของหลักสูตรปริญญาตรีนิติศาสตรภาคบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นี้ไปพัฒนาจัดทำหลักสูตรเปดการเรียน

การสอนทั่วทุกภาคของประเทศไทย สำหรับการจัดการเรียนการสอนภาคบัณฑิตที่คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดย

หลักการแลวหลักสูตรและคณาจารยผูสอนทั้งอาจารยประจำและอาจารยพิเศษก็จะเปนชุดเดียวกันกับหลักสูตรชั้นปริญญาตรี

ภาคปกติ บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรดังกลาวจะไดรับพระราชทานปริญญาบัตรพรอมกับบัณฑิตภาคปกติของ

คณะนิติศาสตร

คณะนิติศาสตรไดปรับปรุงหลักสูตรเรื่อยมา เพื่อใหทันสมัยตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากความเขมขน

ในเนื้อหาวิชากฎหมาย ซึ่งถือเปนหลักสูตรตนแบบของคณะนิติศาสตรในประเทศไทยแลว ในป พ.ศ. 2552 คณะนิติศาสตรไดมุง

เสริมทักษะในดานการใชภาษากฎหมายสำหรับนักกฎหมาย จึงไดเปดสอนวิชาทักษะการใชภาษากฎหมาย : การคนควา การเขียน

และการนำเสนอเพ่ิมขึ้น สำหรับนักศึกษาท่ีประสงคจะเพ่ิมพูนความรูเฉพาะดานอ่ืนๆ เชน กฎหมายภาษีอากร กฎหมายทรัพยสิน

ทางปญญา การวาความและศาลจำลอง นักศึกษาอาจลงทะเบียนเพิ่มเติมเปนวิชาเลือก ซึ่งจะปรากฏผลการเรียนในใบ Transcript

เชนกัน

โดยที่นักศึกษาภาคบัณฑิตประกอบอาชีพประจำอยูแลว การเขาเรียนในหลักสูตรจึงมีความจำเปนตองจัดสรรเวลา

มาเรียนในตอนเย็นตั้งแตเวลา 17.30-20.30 น. ในวันจันทรถึงวันศุกรเปนหลัก ดังนั้นเพื่อประโยชนในการเรียนการสอนของนักศึกษา

คณะนิติศาสตรไดจัดใหมีการสัมมนาในวันเสารโดยคณาจารยของคณะฯ เพื่อสรุปเนื้อหาวิชา ฝกทำแบบฝกหัดและตอบขอสงสัย

เกี่ยวกับการเรียนการสอนอีกดวย

ตลอดระยะเวลา 3 ป ของการศึกษาท่ีคณะนิติศาสตร นอกจากนักศึกษาจะไดรับความสะดวกในการจัดการเรียนการสอนแลว

คณะนิติศาสตรไดจัดหองสมุดสัญญา ธรรมศักดิ์ ซึ่งมีหนังสือกฎหมายท่ีสมบูรณและทันสมัยที่สุดแหงหน่ึงของประเทศไทย และยังจัด

หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ตลอดจนหองคอมมอนรูมไวเพื่อใหนักศึกษาไดพักผอน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยางเพียงพอ

กวา 3 ทศวรรษท่ีคณะนิติศาสตรไดเปดหลักสูตรดังกลาว คณะนิติศาสตรไดผลิตบัณฑิตจำนวนนับหม่ืนคน โดยมีบัณฑิต

ที่มีความมุงมั่นซึ่งไดรับผลการศึกษาระดับเกียรตินิยมอยูเสมอๆ และบัณฑิตจำนวนไมนอยไดศึกษาตอในระดับปริญญาโท และ

ปริญญาเอกของคณะนิติศาสตร นับเน่ืองมาจนถึงปจจุบัน คณะนิติศาสตรไดจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิต

เพื่อเพ่ิมพูนความรูอันเปนประโยชนในการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต บัณฑิตหลายคนไดตัดสินใจปรับเปล่ียนอาชีพเดิมไปสูอาชีพ

นักกฎหมาย เชน จากแพทยไปเปนผูพิพากษา หรือจากวิศวกรไปเปนอาจารยสอนกฎหมาย เปนตน ดวยเหตุนี้ คณะนิติศาสตรจึง

มีความม่ันใจในพันธกิจที่ไดปฏิบัติหนาที่จัดการเรียนการสอนหลักสูตรนี้ และพรอมที่จะพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยและสอดคลอง

กับความตองการของสังคมและเศรษฐกิจ สมดังปณิธานที่วา “คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จะรวมคิด รวมทำ และ

รวมนำสังคมตลอดไป”

Page 9: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประจำป�8

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552)

1. ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) นิติศาสตรบัณฑิต

(ภาษาอังกฤษ) Bachelor of Laws Program

ชื่อปริญญา (ชื่อเต็มภาษาไทย) นิติศาสตรบัณฑิต

(ชื่อยอภาษาไทย) น.บ.

(ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ) Bachelor of Laws

(ชื่อยอภาษาอังกฤษ) LL.B.

2. ปรัชญาและวัตถุประสงค�ของหลักสูตร หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตมีความมุงหมายจะผลิตบัณฑิตใหมีความรอบรูกฎหมาย ทั้งในภาคทฤษฎีและในภาคปฏิบัติ

ใหสามารถที่จะออกไปประกอบวิชาชีพทางกฎหมายแขนงตางๆ ได โดยฝกฝนใหนักศึกษาสามารถใชวิชานิติศาสตรใหถูกตองแกกรณี

รูจักใชเหตุผล เขาใจในตัวบทกฎหมายทั้งในการตีความและเจตนารมณของกฎหมาย และสําเร็จการศึกษาเปนบัณฑิตทางกฎหมาย

ผูประพฤติตนอยูในกรอบของคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีความหนักแนนมั่นคง มีจิตสํานึกทางสังคม

มีความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพ กับใชความรูทางกฎหมายในทางท่ีเปนประโยชนตอสังคมและประเทศชาติ

ดวยความมุงหมายดังกลาว คณะนิติศาสตรไดวางหลักสูตรใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและความตองการ

ของสถาบันตางๆ ทั้งของรัฐและเอกชน ซึ่งตองอาศัยนักกฎหมาย เชน ตุลาการ อัยการ ทนายความ พนักงานฝายปกครอง ตํารวจ

นิติกร ผูสอนในสถานศึกษา หรืองานที่เกี่ยวของกับการบริการสาธารณะ รวมทั้งงานของรัฐวิสาหกิจและเอกชนดวย โดยบัณฑิตจะเปน

ผูมีความรูทั้งในกฎหมายพื้นฐานตางๆ ท่ีมีความสําคัญและจําเปน และจะเปนผูมีความรูความชํานาญในทางลึกหรือเฉพาะดานใน

กฎหมายสาขาใดสาขาหนึ่งมากข้ึน สําหรับการอบรมบมเพาะปลูกฝงดานคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณนั้น คณะนิติศาสตร

จะดําเนินการในเรื่องนี้อยางเปนรูปธรรมและอยางตอเนื่องใหแกนักศึกษาตลอดระยะเวลานับแตเขาศึกษาจนจบการศึกษาออกไป

ทั้งในรูปของการปลูกฝงเบื้องตนในวิชาบังคับของคณะในช้ันปแรก การจัดใหมีวิชาท่ีเกี่ยวของโดยเฉพาะเจาะจง การกําหนดใหมีการ

สอดแทรกเพ่ือปลูกฝงดานคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในทุกรายวิชา ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งในการศึกษา “นิติวิธี” ของวิชา

นิติศาสตรแตละวิชาอยูแลว ทั้งนี้ หลักสําคัญในระบบซิวิลลอวซึ่งรวมระบบกฎหมายไทยไวดวย เนนการสอนใหผูเรียนมีความรูที่แทจริง

ในคุณธรรมทางกฎหมายซึ่งยอมดํารงอยูในหลักกฎหมายทั้งหลายเอง การสอนคุณธรรมจึงไมไดแยกจากการสอนกฎหมายแตไมอาจ

เพิ่มเติมลงไปไดโดยตรงในคําอธิบายรายวิชาของแตละวิชา

3. คุณสมบัติของผู�สมัคร 1. ตองมีวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาช้ันปริญญาตรี สาขาใดก็ได ยกเวนสาขานิติศาสตร และตองมีหลักฐานที่แสดงวาเปนผูสำเร็จ

การศึกษาชั้นปริญญาตรีมาแสดงอยางครบถวนในวันขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา

2. มีคุณสมบัติอื่นๆ ตามขอบังคับวาดวยการศึกษาช้ันปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3. ไมรับพระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา ภายใตพระราชบัญญัติคณะสงฆไทย

การพิจารณาและวินิจฉัยของมหาวิทยาลัยถือวาเปนที่สุด และหากปรากฏในภายหลังวา ผูสมัครขาดคุณสมบัติขอใดขอหน่ึงอยู

กอนการสมัครสอบคัดเลือกจะถูกตัดสิทธิทันที หากไดขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาแลวจะถูกถอนชื่อออกจากการเปนนักศึกษา

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร�

Page 10: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

9หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

4. วิธีการคัดเลือก 1. สอบขอเขียน สอบวันอาทิตยที่ 20 กุมภาพันธ 2554 วิชาที่สอบมีดังนี้

1. วิชาความรูทั่วไป 20 คะแนน

2. วิชาความรูเกี่ยวกับกฎหมาย 60 คะแนน

3. วิชายอความ 20 คะแนน

รวม 100 คะแนน

2. สอบสัมภาษณ วันเสารที่ 14 พฤษภาคม 2554 ณ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร โดยผูที่มีสิทธิ

เขาสอบสัมภาษณจะตองสอบผานเกณฑการคัดเลือก (สอบผานขอเขียน)

5. จำนวนรับเข�าศึกษา 500 คน แยกเป�น 5.1 จำนวนผูสอบผานการคัดเลือกตามเกณฑปกติ 400 คน

5.2 จำนวนผูที่ไดรับจัดสรรโควตาสำหรับผูปฏิบัติงานในภาครัฐ 100 คน โดยมีหลักเกณฑการจัดสรรดังนี้

5.2.1 ผูขอโควตาสำหรับผูปฏิบัติงานในภาครัฐจะตองสมัครสอบและเขาสอบคัดเลือกเชนเดียวกับผูสมัครอื่นทั่วไป

5.2.2 ผูขอโควตาจะตองเปนเจาหนาทีใ่นหนวยงานของรัฐ หรอืสมาชิกรฐัสภา หรอืสมาชกิสภาทองถิน่ อนัหมายความถึง

สมาชิกสภาจงัหวัด สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบจ. และสมาชิกสภาเทศบาล

5.2.3 ผูขอโควตาจะตองแสดงหนังสือรับรองจากหนวยงานของรัฐตนสังกัดวาการเขาศึกษาจะเปนประโยชนตอ

การปฏิบัติหนาที่ในหนวยงานนั้นๆ โดยตองสงหนังสือรับรองมายังคณะนิติศาสตรกอนวันสอบขอเขียน

5.2.4 ผูขอโควตาจะตองเปนผูปฏิบัติงานในหนวยงานที่ตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล อันไดแก นนทบุรี

ปทุมธานี สมุทรปราการ นครปฐม สมุทรสาคร ซึ่งจะสามารถมาศึกษาไดอยางสม่ำเสมอ

5.2.5 ในการจัดสรรโควตา คณะนิติศาสตรจะบวกคะแนนเพ่ิมใหกับผูขอโควตาอีก 10 คะแนน ในช้ันของการตรวจ

คะแนนขอเขียน

5.2.6 ผูขอโควตา 100 คน ที่มีสิทธิเขาสอบสัมภาษณจะตองไดคะแนนรวมของการสอบขอเขียนกับคะแนนตาม

ขอ 5.2.5 เทากับหรือมากกวาคะแนนการสอบขอเขียนของผูสอบผานการคัดเลือกคนสุดทายตามขอ 5.1

6. ระบบการศึกษา 1. จัดการศึกษาวิชากฎหมายท่ีสำคัญตามหลักสูตรชั้นปริญญาตรี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยผูทรงคุณวุฒิ

ที่เปนอาจารยประจำและอาจารยพิเศษ

2. จัดการเรียนการสอนโดยการบรรยายในวันจันทรถึงวันศุกร ตั้งแตเวลา 17.30-20.30 น. และการสัมมนาในวันเสาร

โดยใชเวลาศึกษาตามหลักสูตรไมนอยกวา 3 ปการศึกษา

3. การศึกษาตามหลักสูตรนี้ นักศึกษาจะตองมีเวลาเรียนไมต่ำกวา 70% ของเวลาเรียนทั้งหมด

7. ระยะเวลาการศึกษา เมื่อไดขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาในภาคบัณฑิตมาครบ 6 ปการศึกษานับตั้งแตวันขึ้นทะเบียนของมหาวิทยาลัยแลว นักศึกษา

ผูใดยังสอบไลไดไมครบทุกลักษณะวิชาตามหลักสูตรช้ันปริญญาตรีของคณะนิติศาสตร นักศึกษาผูนั้นจะถูกถอนช่ือออกจากทะเบียน

นักศกึษา

Page 11: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประ10

8. การวัดผลการศึกษา คณะนิติศาสตรวัดผลการศึกษาสำหรับวิชาบังคับและวิชาเลือกในคณะนิติศาสตรดวยระบบคะแนน โดยแตละวิชามีคะแนนเต็ม

100 คะแนน ซึ่งอาจแบงเปนคะแนนทดสอบระหวางภาคและคะแนนสอบไลประจำภาคตามที่ผูสอนกำหนดโดยอนุมัติของคณบดี

นักศึกษาจะตองสอบไลไดคะแนนไมต่ำกวา 60 ใน 100 จึงจะถือวาสอบไลไดในลักษณะวิชาน้ันๆ

9. โครงสร�างหลักสูตร 9.1 หลักสูตรการศึกษา

นักศึกษาตองศึกษาวิชาบังคับรวม 31 วิชา (88 หนวยกิต) ดังตอไปนี้

น. 100 ความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย 3 หนวย

LA 100 Introduction to Law and Legal System

น. 101 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา 3 หนวย

LA 101 Juristic Act and Contract

น. 200 กฎหมายลักษณะหน้ี : หลักท่ัวไป 3 หนวย

LA 200 Obligation : General Principles

น. 201 กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได 3 หนวย

LA 201 Wrongful Acts, Management of Affairs Without Mandate

and Undue Enrichment

น. 202 กฎหมายลักษณะทรัพยสิน 3 หนวย

LA 202 Property Law

น. 210 กฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป 4 หนวย

LA 210 Criminal Law : General Principles

น. 211 กฎหมายอาญา : ภาคความผิด 4 หนวย

LA 211 Criminal Law : Offense

น. 230 เอกเทศสัญญา 1 3 หนวย

LA 230 Specific Contracts 1

น. 231 เอกเทศสัญญา 2 3 หนวย

LA 231 Specific Contracts 2

น. 232 กฎหมายลักษณะประกันดวยบุคคลและทรัพย 2 หนวย

LA 232 Security Transactions : Real and Personal

น. 250 กฎหมายมหาชนเบ้ืองตน 2 หนวย

LA 250 Introduction to Public Law

น. 251 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 3 หนวย

LA 251 Constitutional Law

น. 260 ทักษะการใชภาษากฎหมาย : การคนควา การเขียน และการนำเสนอ 3 หนวย

LA 260 Skill in Legal Language : Research Writing and Presentation

น. 280 ระบบศาลและหลักท่ัวไปวาดวยวิธีพิจารณาคดี 2 หนวย

LA 280 Judicial System and General Principles of Procedural Law

น. 300 กฎหมายลักษณะครอบครัว 3 หนวย

LA 300 Family Law

Page 12: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

11หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

น. 301 กฎหมายลักษณะมรดก 2 หนวย

LA 301 Law of Succession

น. 330 กฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท 3 หนวย

LA 330 Partnerships and Company

น. 331 กฎหมายลักษณะต๋ัวเงิน 3 หนวย

LA 331 Bills and Notes

น. 332 กฎหมายลักษณะประกันภัย 2 หนวย

LA 332 Law of Insurance

น. 350 กฎหมายปกครอง 1 2 หนวย

LA 350 Administrative Law 1

น. 351 กฎหมายปกครอง 2 2 หนวย

LA 351 Administrative Law 2

น. 381 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 3 หนวย

LA 381 Law of Civil Procedure

น. 382 กฎหมายลักษณะพยาน 3 หนวย

LA 382 Law of Evidence

น. 384 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3 หนวย

LA 384 Law of Criminal Procedure

น. 390 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง 4 หนวย

LA 390 Public International Law

น. 450 กฎหมายแรงงาน 3 หนวย

LA 450 Labor Law

น. 451 กฎหมายการคลังและการภาษีอากร 1 3 หนวย

LA 451 Law of Public Finance and Taxation 1

น. 460 นิติปรัชญา 1 3 หนวย

LA 460 Philosophy of Law 1

น. 461 หลักวิชาชีพนักกฎหมาย 2 หนวย

LA 461 Legal Profession

น. 462 ประวัติศาสตรกฎหมายไทย 3 หนวย

LA 462 Thai Legal History

น. 491 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล 3 หนวย

LA 491 Private International Law

9.2 การศึกษาเพ่ือขอรับอนุปริญญาในสาขาวิชานิติศาสตร

นักศึกษาผูใดไดศึกษารายวิชาตางๆ ตามหลักสูตรในสาขาวิชานิติศาสตรไดหนวยกิตสะสมไมนอยกวา 71 หนวย มีสิทธิ

ไดรับอนุปริญญา โดยตองศึกษารายวิชาดังตอไปน้ี

น. 100 น. 101 น. 200 น. 201 น. 202 น. 210 น. 211 น. 230 น. 231

น. 232 น. 250 น. 251 น. 260 น. 280 น. 300 น. 301 น. 330 น. 331

น. 332 น. 350 น. 351 น. 381 น. 382 น. 384 น. 390

Page 13: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประจ12

แผนการศึกษาสำหรับนักศึกษานิติศาสตรภาคบัณฑิต (รวม 88 หนวยกิต)*

ชั้นปที่ 2

ภาค 1 ภาค 2

น. 100 ความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย (3)

น. 101 กม.ลักษณะนิติกรรมและสัญญา (3)

น. 200 กม.ลักษณะหน้ี : หลักท่ัวไป (3)

น. 210 กม.อาญา : ภาคทั่วไป (4)

น. 250 กม.มหาชนเบ้ืองตน (2)

น. 202 กม.ลักษณะทรัพยสิน (3)

น. 211 กม.อาญา : ภาคความผิด (4)

น. 230 เอกเทศสัญญา 1 (3)

น. 231 เอกเทศสัญญา 2 (3)

น. 232 กม.ลักษณะประกันดวยบุคคลและทรัพย (2)

รวม 15 หนวย รวม 15 หนวย

ภาคฤดูรอน

น. 260 ทักษะการใชภาษากฎหมาย : การคนควา การเขียน และการนำเสนอ (3 หนวย)

ชั้นปที่ 3

ภาค 1 ภาค 2

น. 201 กม.ลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได (3)

น. 251 กม.รัฐธรรมนูญ (3)

น. 280 ระบบศาลและหลักท่ัวไปวาดวยวิธีพิจารณาคดี (2)

น. 300 กม.ลักษณะครอบครัว (3)

น. 330 กม.ลักษณะหุนสวน-บริษัท (3)

น. 301 กม.ลักษณะมรดก (2)

น. 331 กม.ลักษณะตั๋วเงิน (3)

น. 350 กม.ปกครอง 1 (2)

น. 381 กม.วิธีพิจารณาความแพง (3)

น. 390 กม.ระหวางประเทศแผนกคดีเมือง (4)

รวม 14 หนวย รวม 14 หนวย

ชั้นปที่ 4

ภาค 1 ภาค 2

น. 351 กม.ปกครอง 2 (2)

น. 450 กม.แรงงาน (3)

น. 451 กม.การคลังและการภาษีอากร 1 (3)

น. 461 หลักวิชาชีพนักกฎหมาย (2)

น. 462 ประวัติศาสตรกฎหมายไทย (3)

น. 332 กม.ลักษณะประกันภัย (2)

น. 382 กม.ลักษณะพยาน (3)

น. 384 กม.วิธีพิจารณาความอาญา (3)

น. 460 นิติปรัชญา 1 (3)

น. 491 กม.ระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล (3)

รวม 13 หนวย รวม 14 หนวย

* อยูในระหวางการขออนุมัติจากมหาวิทยาลัย

Page 14: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

13หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

น. 100 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย 3 (3 - 0 - 6)

LA 100 Introduction to Law and Legal System

ขอความคิดพื้นฐานที่จำเปนและสำคัญของกฎหมาย หลักจริยธรรมในการตราและการใชกฎหมาย และระบบ

กฎหมายกอนจะศึกษาในเน้ือหาสาระวิชาอื่นๆ ตอไป ในรายวิชาน้ีจะศึกษาความหมาย ความเปนมา และบอเกิดของกฎหมาย

ประเภทและการจัดหมวดหมูของกฎหมาย การบัญญัติกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย การยกเลิกกฎหมาย นิติวิธี

บทบาทหนาที่ของกฎหมายในสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องความสำคัญของจริยธรรมในการใชกฎหมาย ปฏิสัมพันธระหวาง

กฎหมายกับปรากฏการณทางสังคมอื่นๆ ปฏิสัมพันธระหวางวิชานิติศาสตรกับศาสตรอื่น ระบบกฎหมายในภาพรวม ตลอดจน

ขอความคิดวาดวยสิทธิหนาที่ การใชสิทธิ รวมตลอดถึงผูทรงสิทธิอันไดแก บุคคลท้ังในทางกฎหมายเอกชนตามบรรพ 1 แหง

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และบุคคลในทางกฎหมายมหาชน

น. 101 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา 3 (3 - 0 - 6)

LA 101 Juristic Act and Contract

หลักกฎหมายวาดวยนิติกรรม หลักทั่วไปวาดวยสัญญา ความสามารถของบุคคล ผลของความเปนโมฆียะกรรม

โมฆะกรรม ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หลักการสำคัญที่เกี่ยวของกับสัญญาตามที่ปรากฏในกฎหมายวาดวย

ขอสัญญาที่ไมเปนธรรม กฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภค กฎหมายวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือกฎหมายพิเศษ

อื่น รวมตลอดถึงปญหาเกี่ยวของกับหลักกฎหมายสัญญาในปจจุบัน

น. 200 กฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป 3 (3 - 0 - 6)

LA 200 Obligation : General Principles

หลักท่ัวไปแหงหนี้ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย รวมตลอดถึงปญหาเกี่ยวของกับหลักกฎหมายลักษณะหนี้

ในปจจุบัน

น. 201 กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได 3 (3 - 0 - 6)

LA 201 Wrongful Acts, Management of Affairs Without Mandate and Undue Enrichment

หลักกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย รวมตลอด

ถึงหลักกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดในกฎหมายพิเศษอื่นๆ เชน กฎหมายวาดวยความรับผิดอันเกิดจากผลิตภัณฑ

กฎหมายวาดวยการคุมครองสิ่งแวดลอม ตลอดจนสภาพปญหาการใชบังคับกฎหมายท่ีเกิดขึ้นในปจจุบัน

น. 202 กฎหมายลักษณะทรัพยสิน 3 (3 - 0 - 6)

LA 202 Property Law

หลักกฎหมายลักษณะทรัพยสิน ทั้งที่ปรากฏในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 และบรรพ 4

น. 210 กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป 4 (4 - 0 - 8)

LA 210 Criminal Law : General Principles

หลักท่ัวไปของกฎหมายอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1

น. 211 กฎหมายอาญา : ภาคความผิด 4 (4 - 0 - 8)

LA 211 Criminal Law : Offense

วิชาบังคับกอน : เคยศึกษาวิชา น.210 กฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

หลักกฎหมายอาญาภาคความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 และ 3

คำอธิบายรายวิชา

Page 15: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประจ14

น. 230 เอกเทศสัญญา 1 3 (3 - 0 - 6)

LA 230 Specific Contracts 1

หลักกฎหมาย ลักษณะซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให เชาทรัพย และเชาซ้ือ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

ตลอดจนกฎเกณฑที่เก่ียวของกับการคุมครองสิทธิผูซื้อ ผูเชาซื้อ ตามกฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภค และตามที่ปรากฏ

ในกฎหมายอ่ืน

น. 231 เอกเทศสัญญา 2 3 (3 - 0 - 6)

LA 231 Specific Contracts 2

หลักกฎหมายลักษณะตัวแทน นายหนา ยืม ฝากทรัพย จางทำของ และรับขน ตามประมวลกฎหมายแพงและ

พาณิชย บรรพ 3

น. 232 กฎหมายลักษณะประกันดวยบุคคลและทรัพย 2 (2 - 0 - 4)

LA 232 Security Transactions : Real and Personal

หลักกฎหมาย ลักษณะค้ำประกัน จำนอง จำนำ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3

น. 250 กฎหมายมหาชนเบ้ืองตน 2 (2 - 0 - 4)

LA 250 Introduction to Public Law

สถาบันทางกฎหมายมหาชน ความหมาย องคประกอบและรูปของรัฐ การเปนนิติบุคคลและสถาบันตางๆ ของรัฐ

ศึกษาความหมายและความจำเปนของการปกครองโดยกฎหมาย ความเปนมาและวิวัฒนาการของระบบกฎหมาย

มหาชน ขอบเขตและลักษณะเฉพาะของกฎหมายมหาชน

ศึกษาบอเกิดของกฎหมายมหาชน แนวความคิดและนิติวิธี (Juristic Method) ของกฎหมายมหาชน

น. 251 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 3 (3 - 0 - 6)

LA 251 Constitutional Law

ประวัติ และวิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญ องคการตางๆ ของรัฐ สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ทฤษฎีที่สำคัญๆ

ของระบบรัฐธรรมนูญ เชน ทฤษฎีการแบงแยกอำนาจ ทฤษฎี Judicial Reviews รวมท้ังปรัชญาของแนวความคิดตางๆ

ในระบบรัฐธรรมนูญ

น. 260 ทักษะการใชกฎหมาย : การคนควา การเขียน และการนำเสนอ 3 (3 - 0 - 6)

LA 260 Skill in Legal Language : Research Writing and Presentation

แนวทางวิธีการสำหรับการศึกษากฎหมาย ความเขาใจและความสามารถในการแยกแยะแหลงขอมูลที่สำคัญสำหรับ

ใชในการศึกษา ฝกฝนการอาน การวิเคราะหขอมูลเพื่อจับประเด็นที่เปนสาระสำคัญ การโตเถียงวิพากษวิจารณ ความรู

เบื้องตนเก่ียวกับการวิจัยทางนิติศาสตร รวมตลอดถึงการแสดงความเห็นของตนเอง ฝกฝนการเขียนเรียบเรียง และนำเสนอ

ขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควา ควบคูไปกับการศึกษาแนวคิดและหลักจริยธรรมในการใชกฎหมาย

น. 280 ระบบศาลและหลักทั่วไปวาดวยวิธีพิจารณาคดี 2 (2 - 0 - 4)

LA 280 Judicial System and General Principles of Procedural Law

รูปแบบการจัดองคกรของศาล อำนาจของศาลตางๆ และอำนาจของผูพิพากษา กลไกการชี้ขาดการขัดกัน

แหงอำนาจศาล และหลักท่ัวไปวาดวยวิธีพิจารณาความ

Page 16: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

15หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

น. 300 กฎหมายลักษณะครอบครัว 3 (3 - 0 - 6)

LA 300 Family Law

แนวคิดและหลักการสำคัญของสถาบันครอบครัวและความสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัว หลักกฎหมาย

ลักษณะครอบครัวตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และตามกฎหมายพิเศษอื่นที่เกี่ยวของ

น. 301 กฎหมายลักษณะมรดก 2 (2 - 0 - 4)

LA 301 Law of Succession

หลักกฎหมายลักษณะมรดก ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 6

น. 330 กฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท 3 (3 - 0 - 6)

LA 330 Partnerships and Company

หลักกฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายวา

ดวยบริษัทมหาชน ตลอดจนองคกรธุรกิจในรูปแบบอื่นๆ

น. 331 กฎหมายลักษณะตั๋วเงิน 3 (3 - 0 - 6)

LA 331 Bills and Notes

หลักกฎหมายลักษณะตั๋วเงิน ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และศึกษากฎหมายวาดวยความผิดอันเกิด

จากการใชเช็ค

น. 332 กฎหมายลักษณะประกันภัย 2 (2 - 0 - 4)

LA 332 Law of Insurance

หลักกฎหมายลักษณะประกันภัย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย รวมตลอดถึงกฎหมายวาดวยการคุมครอง

ผูประสบภัยจากรถยนต

น. 350 กฎหมายปกครอง 1 2 (2 - 0 - 4)

LA 350 Administrative Law 1

ประวัติและลักษณะท่ัวไปของฝายปกครอง (Administration) และกฎหมายปกครอง บอเกิดของกฎหมายปกครอง

ในระบบกฎหมายตางๆ หลักการพ้ืนฐาน การใชและการตีความกฎหมายปกครอง การจัดระเบียบราชการบริหาร การจัดตั้ง

และสถานะทางกฎหมายของนิติบุคคลในกฎหมายมหาชน ทฤษฎีวาดวยการกระทำของฝายปกครอง หลักเกณฑเก่ียวกับ

กระบวนการปฏิบัติราชการของฝายปกครองและสัญญาทางปกครอง

น. 351 กฎหมายปกครอง 2 2 (2 - 0 - 4)

LA 351 Administrative Law 2

วิชาบังคับกอน : เคยศึกษาวิชา น. 350 กฎหมายปกครอง 1

แนวคิดและความจำเปนในการจัดระบบควบคุมฝายปกครอง แบบการควบคุมฝายปกครองในประเทศตางๆ

อาทิ คดีปกครอง การจัดตั้งศาลปกครอง วิธีพิจารณาคดีปกครอง หลักความรับผิดของฝายปกครองรวมตลอดถึงหลักการจัด

ระบบบริหารงานบุคคลและทรัพยสินของฝายปกครอง

น. 381 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 3 (3 - 0 - 6)

LA 381 Law of Civil Procedure

หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงวาดวยบททั่วไป วิธีพิจารณาในศาลช้ันตน การอุทธรณและฎีกา

Page 17: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประจ16

น. 382 กฎหมายลักษณะพยาน 3 (3 - 0 - 6)

LA 382 Law of Evidence

หลักกฎหมายวาดวยพยานหลักฐาน ทั้งที่เปนหลักทั่วไปของกฎหมายลักษณะพยาน และที่บทบัญญัติตามประมวล

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

น. 384 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3 (3 - 0 - 6)

LA 384 Law of Criminal Procedure

วิชาบังคับกอน : เคยศึกษาวิชา น. 381 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง หรือไดรับอนุมัติจากผูบรรยาย

หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

น. 390 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง 4 (4 - 0 - 8)

LA 390 Public International Law

ประวัติความเปนมาของกฎหมายระหวางประเทศ ทฤษฎีของกฎหมายระหวางประเทศ บอเกิดของกฎหมาย

ระหวางประเทศ เชน สนธิสัญญา จารีตประเพณีระหวางประเทศ หลักกฎหมายทั่วไป การกระทำที่มีผลในทางกฎหมาย

ระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางกฎหมายระหวางประเทศและกฎหมายภายใน บุคคลในกฎหมายระหวางประเทศ เชน

รัฐ การแบงประเภทของรัฐ สิทธิและหนาที่ของรัฐ หลักวาดวยเขตอำนาจของรัฐหรือดุลอาณาของรัฐ (Jurisdiction) องคการ

ระหวางประเทศ นิติบุคคลระหวางประเทศอ่ืนๆ และสถานะของปจเจกชนตามกฎหมายระหวางประเทศ

กฎหมายเก่ียวกับผลของการรับรองรัฐและการรับรองรัฐบาล การสืบสิทธิของรัฐ ความรับผิดชอบของรัฐ ความ

สัมพันธทางทูตและกงสุล ระบอบกฎหมายระหวางประเทศท่ีใชกับอาณาบริเวณตางๆ เชน ทะเล แมน้ำ คลองระหวางประเทศ

นานฟาและอากาศ นิติสัมพันธทางดานเศรษฐกิจระหวางประเทศ กฎหมายระหวางประเทศเก่ียวกับสิทธิมนุษยชน กฎหมาย

ระหวางประเทศเก่ียวกับส่ิงแวดลอม การระงับขอพิพาทระหวางประเทศสงคราม และการใชกำลังในความสัมพันธระหวาง

ประเทศ

น. 450 กฎหมายแรงงาน 3 (3 - 0 - 6)

LA 450 Labor Law

หลักกฎหมายแรงงานและประวัติความเปนมาของกฎหมายแรงงานของไทย สัญญาจางแรงงาน กฎหมายวาดวย

แรงงานสัมพันธ กฎหมายคุมครองแรงงานและกฎหมายอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ

น. 451 กฎหมายการคลังและการภาษีอากร 1 3 (3 - 0 - 6)

LA 451 Law of Public Finance and Taxation 1

หลักกฎหมายการคลังที่เกี่ยวกับการเงิน การคลัง วิธีการงบประมาณ ระบบภาษีอากร สถาบันการเงินและการคลัง

หลักเศรษฐศาสตรที่เกี่ยวของกับการเงินและการคลังที่รัฐใชในการบริหารประเทศ

น. 460 นิติปรัชญา 1 3 (3 - 0 - 6)

LA 460 Philosophy of Law 1

วิวัฒนาการของแนวความคิดปรัชญาทางกฎหมายต้ังแตในอดีตจนถึงปจจุบัน ตลอดจนปญหารากฐานแหงกฎหมาย

Page 18: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

17หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

น. 461 หลักวิชาชีพนักกฎหมาย 2 (2 - 0 - 4)

LA 461 Legal Profession

วิวัฒนาการของวิชาชีพกฎหมาย หนาที่และงานของนักกฎหมายในสาขาตางๆ คุณธรรม จริยธรรม มารยาท วินัย

และอุดมคติแหงวิชาชีพกฎหมาย องคกรทางวิชาชีพกฎหมาย กลไกและมาตรการขององคกรทางวิชาชีพที่ใชควบคุมกำกับดูแล

ผูประกอบวิชาชีพทางกฎหมาย ตลอดจนปญหาจริยธรรมของนักกฎหมายท่ีเกิดขึ้นในปจจุบัน โดยศึกษาจากกรณีศึกษาตางๆ

ที่เกิดขึ้นจริง

น. 462 ประวัติศาสตรกฎหมายไทย 3 (3 - 0 - 6)

LA 462 Thai Legal History

ประวัติศาสตรทางวัฒนธรรมและสังคมไทยดั้งเดิม อันเปนรากฐานของสถาบันทางกฎหมายที่สำคัญของประเทศ

ไทย อิทธิพลของแนวความคิด หลักกฎหมาย และระบบกฎหมายของอินเดีย และประเทศตะวันตกท่ีมีตอวิวัฒนาการของ

กฎหมายไทย

วิวัฒนาการของกฎหมายไทยต้ังแตสมัยโบราณจนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะต้ังแตสมัยจัดทำประมวลกฎหมาย

เปนตนมา โดยเนนหนักในแงกฎหมายเปรียบเทียบ เพื่อใหนักศึกษาเกิดความเขาใจในระบบกฎหมายไทย

น. 491 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล 3 (3 - 0 - 6)

LA 491 Private International Law

กฎเกณฑของกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลหรือเอกชนที่มีนิติสัมพันธในลักษณะ

ระหวางประเทศในทุกดาน กลาวคือ การจัดสรรเอกชนในทางระหวางประเทศ ทั้งโดยสัญชาติและภูมิลำเนา การกำหนดสิทธิ

หนาที่ และสถานภาพของบุคคลในทางระหวางประเทศ กฎเกณฑวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย และวิธีการระงับขอพิพาท

ของบุคคลในทางระหวางประเทศ โดยการศึกษากฎหมายวาดวยสัญชาติ กฎหมายวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย กฎหมาย

เกี่ยวกับคนตางดาว และอนุสัญญาท่ีเกี่ยวของ

Page 19: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ประ18

รายนามคณาจารย�ผู�ทรงคุณวุฒิ

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

อาจารย ดร.กมลวรรณ จิรวิศิษฎ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

LL.M. (University of California Berkeley),

J.S.D. (University of California Berkeley)

ประเทศสหรัฐอเมริกา

สัมมนากฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา

สัมมนากฎหมายลักษณะตั๋วเงิน

อาจารย กริช ภูญียามา

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

น.ม. (ธรรมศาสตร)

สัมมนากฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

สัมมนากฎหมายรัฐธรรมนูญ

สัมมนากฎหมายปกครอง 1

รองศาสตราจารย ดร.กำชัย จงจักรพันธ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

ศศ.บ. (รัฐศาสตร) (รามคำแหง)

LL.M. in International Business Law (With Merit)

(University of London)

Ph.D. King's College (University of London)

ประเทศสหราชอาณาจักร

กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา

อาจารย กิตติวัฒน จันทรแจมใส

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

น.ม. (ธรรมศาสตร)

สัมมนาความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

สัมมนากฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา

สัมมนากฎหมายลักษณะหนี้

สัมมนากฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบคุคล

ผูชวยศาสตราจารย ดร.กิตติศักดิ์ ปรกติ

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.ม. (ธรรมศาสตร),

Magister Juris (Bonn) ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

Dip. de Droit Comparé (Strasbourg) ประเทศฝร่ังเศส

Doctor Juris (Bonn) ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

ความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา

กฎหมายลักษณะทรัพยสิน

หลักวิชาชีพนักกฎหมาย

ประวัติศาสตรกฎหมายไทย

นิติปรัชญา 1

อาจารย ดร.เขมภูมิ ภูมิถาวร

น.บ. (ธรรมศาสตร),

Doctorat de Université (Droit Privé) (Mention Très bien avec

éloges) (Université Robert Schuman de Strasbourg)

ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได

สัมมนากฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง

ลาภมิควรได

Page 20: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

19หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

ศาสตราจารย ดร.จตุรนต ถิระวัฒน

D.E.U.G., Licence en droit Université de Cean,

Maitrise en droit, Diplôme d'Etudes Approfondies,

Doctorat de l'Université de Paris II (Mention Honorable)

ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง

รองศาสตราจารย จักรพงษ เล็กสกุลไชย

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.

LL.M. (International Commercial Law) (Kent Univ.) Cert. in

English Language (Kent Univ.) ประเทศสหราชอาณาจักร

เอกเทศสัญญา 2

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง

ผูชวยศาสตราจารย ดร.จันทจิรา เอ่ียมมยุรา

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.ม. (ธรรมศาสตร),

D.E.A. (Droit public Fondamental) (Toulouse I),

Doctorat de l'Université Toulouse I (Mention très honorable

avec félicitations) (Droit public) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

กฎหมายปกครอง 1

อาจารย ดร.จุณวิทย ชลิดาพงศ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร) ,

LL.M. (Harvard University),

ว.ศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)

ปริญญาโท-เอก สาขาวิศวกรรมไฟฟา (Univ. of Southern California)

ประเทศสหรัฐอเมริกา

กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา

กฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป

เอกเทศสัญญา 1

สัมมนากฎหมายลักษณะพยาน

ศาสตราจารย ดร.จุมพต สายสุนทร

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

LL.M. (in International Legal Studies) New York University,

Doctor of Philosophy in the field of Law จาก

University of Washington ประเทศสหรัฐอเมรกิา

กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง

อาจารย ชวิน อุนภัทร

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (ธรรมศาสตร) สัมมนาความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

อาจารย ชาคริต สิทธิเวช

น.บ. (รามคำแหง),

Master of Environmental Law (The University of Adelaide)

ประเทศออสเตรเลีย

กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได

Page 21: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร20

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

รองศาสตราจารย ณรงค ใจหาญ

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

LL.M. (Kent Univ.) ประเทศสหราชอาณาจักร

กฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

กฎหมายอาญา : ภาคความผิด

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

อาจารย ณภัทร สรอัฑฒ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.บ.ท., น.ม. (กฎหมายอาญา) (ธรรมศาสตร)

LL.M. (Chuo University) ประเทศญ่ีปุน

สัมมนากฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป

รองศาสตราจารย ดร.ดาราพร ถิระวัฒน

น.บ. (เกียรตินิยมดี) (ธรรมศาสตร),

น.บ.ท., D.E.S. (Droit Privé)

Doctorat de l'Université

(Mention Très Bien) (Aix-Marseille III) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา

กฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป

กฎหมายลักษณะประกันภัย

รองศาสตราจารย ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Master of Law (Univ. of Pennsylvania)

D.E.A. (Sciences Criminelles)

Doctorat Nouveau Régime en droit pénal

(Mention très honorable)

(l' Université de Nancy II) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

กฎหมายอาญา : ภาคความผิด

อาจารย ทวีศักดิ์ เอ้ืออมรวนิช

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

ร.บ. (สุโขทัยธรรมาธิราช),

น.บ.ท., น.ม. (กฎหมายเอกชนและธุรกิจ) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย),

LL.M. in International Commercial and Business Law

(University of East Anglia) ประเทศสหราชอาณาจักร

กฎหมายลักษณะทรัพยสิน

สัมมนากฎหมายลักษณะทรัพยสิน

สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความแพง

อาจารย ธีระ สุธีวรางกูร

น.บ. (รามคำแหง),

น.ม. (สาขากฎหมายมหาชน) (ธรรมศาสตร)

ระบบศาลและหลักทั่วไปวาดวยวิธีพิจารณาคดี

กฎหมายปกครอง 1

อาจารย ธีระรัตน จีระวัฒนา

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

น.ม. (ธรรมศาสตร)

กฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท

กฎหมายลักษณะประกันภัย

Page 22: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

21หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

อาจารย ดร.นนทวัชร นวตระกูลพิสุทธิ์

น.บ. (ธรรมศาสตร),

D.S.U. de Droit commercial (กฎหมายพาณิชย) Université

PANTHEON-ASSAS (Paris 2)

D.E.A. de Droit des Affaires (กฎหมายธุรกิจ)

Université JEAN MOULIN -LYON 3

Docteur en droit (Spécialité Droit des Affaires) (กฎหมายธุรกิจ)

(Mention Très honorable avec

félicitations) Université JEAN MOULIN-LYON 3

ประเทศฝร่ังเศส

เอกเทศสัญญา 2

กฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท

รองศาสตราจารย นพนิธิ สุริยะ

น.บ. (ธรรมศาสตร),

LL.M. (Yale University) ประเทศสหรัฐอเมริกา

กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง

สัมมนากฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง

ศาสตราจารย ดร.บุญศรี มีวงศอุโฆษ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

Doctor iuris utriusque (Ruprecht Karls Universitaet,

Heidelberg) ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

กฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

อาจารย ดร.ปกปอง ศรีสนิท

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย), น.บ.ท.,

น.ม. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย),

D.E.A. (Sciences Pénales et Sciences Criminologiques)

(Mention assez bien) (Universite Aix-Marseille III)

Docteur en Droit (Mention Très honorable avec Félicitations

du jury à l’unanimité (Universite Aix-Marseille III)

ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

กฎหมายอาญา : ภาคความผิด

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

รองศาสตราจารย ประสิทธิ์ ปวาวัฒนพานิช

น.บ., น.ม. (ธรรมศาสตร),

LL.M. (Golden Gate University) ประเทศสหรัฐอเมริกา

กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล

ศาสตราจารย ดร.ประสิทธิ์ เอกบุตร

น.บ. (ธรรมศาสตร),

D.S.U. (Droit International Public), D.E.A. (Droit International)

Doctorat de I’ Université de Droit (Mention Très honorable)

(Régime unique 1984) (Université Paris II) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง

Page 23: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร22

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล

น.บ. (ธรรมศาสตร),

M.jur, Dr.Jur University of Gottingen

ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

กฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

รองศาสตราจารย ปติกุล จีระมงคลพาณิชย

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Master of Legal Institutions (MLI) (Univ. of Wisconsin)

ประเทศสหรัฐอเมริกา

เอกเทศสัญญา 2

กฎหมายลักษณะประกันดวยบุคคลและทรัพย

กฎหมายลักษณะพยาน

อาจารย ปยบุตร แสงกนกกุล

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

D.E.A. de droit Public (มหาวิทยาลัย Nantes) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายปกครอง 1

กฎหมายปกครอง 2

อาจารย ปูนเทพ ศิรินุพงศ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (ธรรมศาสตร) สัมมนากฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

สัมมนากฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

ศาสตราจารย ดร.ไผทชิต เอกจริยกร

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

D.S.U. de droit commercial

D.E.A. de Sciences Humaines et Juridique de la mer

(Mention assez bien)

Doctorat de l'Université de Nantes

(Mention Très Honorable, Régime 1984) ประเทศฝร่ังเศส

เอกเทศสัญญา 1

เอกเทศสัญญา 2

อาจารย พัชยา น้ำเงิน

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท. สัมมนาความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

สัมมนากฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา

สัมมนาระบบศาลและหลักทั่วไปวาดวยวิธีพิจารณาคดี

สัมมนาเอกเทศสัญญา 1

รองศาสตราจารย ดร.พันธุทิพย กาญจนะจิตรา สายสุนทร

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

D.E.A. de droit international,

Doctorat de l' Université Robert Schuman de Strasbourg

(Mention Honorable, Régime 1984) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล

Page 24: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

23หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.พินัย ณ นคร

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Diploma in English Legal Studies

(with Distinction) (Univ. of Bristol),

LL.M. (2nd Class Hons.) (Univ. of Cambridge),

Ph.D. (Univ. of Bristol) ประเทศสหราชอาณาจักร

กฎหมายลักษณะมรดก

ผูชวยศาสตราจารย พิรุณา ติงศภัทิย

D.E.U.G. (Droit)

Licence en Droit Public (Mention Public),

Matrise en droit (Mention Public),

D.E.A. (Droit international et du Developpement)

(Université de Nice) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง

สัมมนากฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง

ศาสตราจารย ดร.ไพโรจน กัมพูสิริ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)

Doctorat de l' Université (Droit Privé, Paris II)

ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายลักษณะครอบครัว

อาจารย ภัทรวัณย จงจิตต

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

Master of Laws (Commercial Law) และ

Master of Laws (International and Comparative Law)

จาก Monash University ประเทศออสเตรเลีย

สัมมนากฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง

ลาภมิควรได

อาจารย ภารวีร กษิตินนท

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย),

น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.

สัมมนาความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

สัมมนากฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง

ลาภมิควรได

อาจารย มณฑิรา อาชวานันทกุล

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

LL.M. Johannes Gutenberg University Mainz,

ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

สัมมนาความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

สัมมนากฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา

สัมมนากฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป

สัมมนาเอกเทศสัญญา 1

ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาตาลักษณ ออรุงโรจน

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

D.E.A. (Droit International), Doctorat de l' Université

de Toulouse I (Mention très honorable) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

กฎหมายอาญา : ภาคความผิด

กฎหมายลักษณะครอบครัว

สัมมนากฎหมายลักษณะครอบครัว

Page 25: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร24

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

รองศาสตราจารย มาลี พฤกษพงศาวลี

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.บ.ท., LL.M. (Yale University)

ประเทศสหรัฐอเมริกา

กฎหมายแรงงาน

อาจารย รณกรณ บุญมี

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2), น.ม. (ธรรมศาสตร),

น.บ.ท.

สัมมนากฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

สัมมนากฎหมายอาญา : ภาคความผิด

สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

รองศาสตราจารย ดร.รัศฎา เอกบุตร

น.บ. (เกียรตินิยมดี) (ธรรมศาสตร),

น.ม. (ธรรมศาสตร),

Licenciado en Derecho (Sobresaliente)

Doctorado en Derecho (Sobresalente : Cum Laude)

Universidad Complutense et Madrid ประเทศสเปน

กฎหมายลักษณะครอบครัว

รองศาสตราจารย ดร.วรเจตน ภาคีรัตน

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.บ.ท., Magister Juris (M.Jur),

Doctor der Rechte (Summa cum Laude)

(Universitat zu Gottingen) ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

กฎหมายปกครอง 1

นิติปรัชญา 1

รองศาสตราจารย ดร.วิจิตรา วิเชียรชม

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.ม. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย),

D.S.U. (Droit de Travail),

Docteur de l' Université de Paris II,

Spécialité : Droit de Travail ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป

กฎหมายแรงงาน

ศาสตราจารย วริิยะ นามศิริพงศพันธุ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.บ.ท., น.ม. (ธรรมศาสตร),

LL.M. (Harvard University) ประเทศสหรัฐอเมริกา

ความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

กฎหมายลักษณะทรัพยสิน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีรวัฒน จันทโชติ

น.บ. (ธรรมศาสตร),

น.ม. (กฎหมายเอกชน) (ธรรมศาสตร),

Doctor of Science of Law (Civil Law)

(Keio University) ประเทศญ่ีปุน

กฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป

กฎหมายลักษณะประกันดวยบุคคลและทรัพย

Page 26: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

25หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ วรปญญาอนันต

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

D.E.A. de Droit Privé

Doctorat de l' Université Robert Schuman Mention Très

Honorable avec Eloge Spécial du Jury (Droit Privé, Régime

1984) (Strasbourg) ประเทศฝร่ังเศส

ความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

กฎหมายลักษณะทรัพยสิน

ศาสตราจารย ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

D.E.A. de Droit Public Interne (Paris II)

Doctorat de l' Université de Droit d' Economic et

de Sciences Sociales de Paris II

(Mention Honorable) ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

กฎหมายปกครอง 2

รองศาสตราจารย สมยศ เชื้อไทย

น.บ. (เกียรตินิยมดี) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Diploma in Public Law (Bonn)

ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

ความรูพื้นฐานเก่ียวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย

กฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

นิติปรัชญา 1

รองศาสตราจารย (ร.ต.อ.) สรพลจ สุขทรรศนีย

ร.ป.บ. (โรงเรียนนายรอยตำรวจสามพราน),

น.บ. (รามคำแหง), น.บ.ท., ร.ป.ม. (M.P.A.) (นิดาฯ)

กฎหมายลักษณะประกันภัย

กฎหมายลักษณะพยาน

รองศาสตราจารย สหธน รัตนไพจิตร

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Diploma in English Legal Studies (Bristol),

LL.M. in Commercial Law (Bristol) ประเทศสหราชอาณาจักร

กฎหมายลักษณะตั๋วเงิน

สัมมนากฎหมายลักษณะตั๋วเงิน

อาจารย สาวตรี สุขศรี

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (ธรรมศาสตร),

น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.

ปริญญาโท (กฎหมายอาญา)

(Ludwig-Maximilians Universität Mönchen)

ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

กฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

กฎหมายอาญา : ภาคความผิด

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

รองศาสตราจารย สุดา วิศรุตพิชญ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดบั 2) (ธรรมศาสตร),

น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.

LL.M. (Chuo University) ประเทศญ่ีปุน

กฎหมายลักษณะประกันดวยบุคคลและทรัพย

กฎหมายลักษณะประกันภัย

Page 27: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร26

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

อาจารย ดร.สุปรียา แกวละเอียด

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (ธรรมศาสตร),

D.E.A. Droit public fondamental (Mention assez bien),

(Université de Toulouse 1)

Docteur en droit (Mention Très honorable avec félicitations

du jury à l’unanimité) (Université de Toulouse 1)

ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายการคลังและการภาษีอากร 1

ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุรศักดิ์ มณีศร

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.ม. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย),

Dr.iur, (Johann Wolfgang Goethe-Universitat Frankfurt am

Main) ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

กฎหมายลักษณะนิติกรรมจะสัญญา

กฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป

เอกเทศสัญญา 1

กฎหมายแรงงาน

รองศาสตราจารย ดร.สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

D.E.A. (Sciences Criminelles)

Doctorat en droit (Mention Très Honorable)

l’ Universitè des Sciences Sociale de Toulouse

ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายอาญา : ภาคท่ัวไป

กฎหมายอาญา : ภาคความผิด

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

รองศาสตราจารย ดร.อนันต จันทรโอภากร

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

LL.M. (Yale University), J.S.D. (Yale University)

ประเทศสหรัฐอเมริกา

กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได

อาจารย อรรณพ วรพจนพิศทุธิ์

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) สัมมนากฎหมายลักษณะหนี้ : หลักทั่วไป

สัมมนากฎหมายลักษณะประกันดวยบุคคลและทรัพย

สัมมนากฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท

รองศาสตราจารย ดร.อรพิน ผลสุวรรณ สบายรูป

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

D.E.A. de Finances Publiques et Fiscalité,

D.S.U. de Finances Publiques Paris II,

Doctorat de l'Université de Droit d'Economie et de Sciences

Sociales de Paris II ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายการคลังและการภาษีอากร 1

Page 28: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

27หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

รายนามคณาจารยประจำ วิชาที่สอน

อาจารย อานนท มาเมา

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร) สัมมนากฎหมายลักษณะทรัพยสิน

สัมมนากฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

อาจารย อำนาจ ตั้งคีรีพิมาน

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (ธรรมศาสตร) สัมมนากฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกส่ัง

ลาภมิควรได

สัมมนากฎหมายลักษณะครอบครัว

ศาสตราจารย ดร.อำนาจ วงศบัณฑิต

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร)

น.บ.ท., LL.M. (New York University)

Doctor of Jurisprudence

(Osgoode Hall Law School) ประเทศแคนาดา

กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง

รองศาสตราจารย ดร.อุดม รัฐอมฤต

น.บ. (ธรรมศาสตร),

น.ม. (กฎหมายมหาชน) (ธรรมศาสตร),

D.S.U. (Droit Pénal) (Paris II)

D.E.A. (Science criminelles),

Doctorat en droit pénal (Mention Très honorable)

l’ Université de Nancy II ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

กฎหมายลักษณะพยาน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.เอกบุญ วงศสวัสดิ์กุล

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.ม. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.

D.E.A. (Droit public) Toulouse I, Doctorat en droit

(Mention très honorable avec félicitations du jury à

l'unanimité) Toulouse I ประเทศฝร่ังเศส

กฎหมายปกครอง 1

Page 29: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร28

รายนามคณาจารยพิเศษ วิชาที่สอน

ศาสตราจารย ดร.คณิต ณ นคร

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Dr. Jur. (Bonn) ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย

อดีตอัยการสูงสุด

หลักวิชาชีพนักกฎหมาย

รองศาสตราจารย ทิพยชนก รัตโนสถ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Dip. of Environmental Management and Planning

(CEMP, Univ. of Arberdeen) ประเทศสหราชอาณาจักร

Dip. in Human Right Law (International Institute of Human

Right, Strasbourg) ประเทศฝร่ังเศส

J.D. (Tulane Univ.), M.C.L. (Univ. of Virginia),

ประเทศสหรัฐอเมริกา

อดีตอาจารยประจำคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท

ศาสตราจารย ธานินทร กรัยวิเชียร

ธรรมศาสตรบัณฑิต,

LL.B. (London), of Gray’s Inn,

Barrister at Law, ประเทศสหราชอาณาจักร

องคมนตรี

หลักวิชาชีพนักกฎหมาย

รองศาสตราจารย ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ

น.บ. (รามคำแหง), น.บ.ท.,

น.ม. (มหาชน) (ธรรมศาสตร),

Magister Legum (LL.M.)

Doktor der Rechte (Dr. Jur.) (Ruhr-Universitat Bochum)

ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

อดีตอาจารยประจำคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

คณบดีคณะนิติศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (NIDA)

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

กฎหมายปกครอง 2

ศาสตราจารย กิตติคุณ ดร.ประชุม โฉมฉาย

B.A. (Hons) (Oxon),

M.A. (Oxon), B.LITT (Oxon) of LincoIn’s Inn, Barrister at Law,

ประเทศสหราชอาณาจักร

D.D.S. (Mention Bien),

D.D.U. (Mention Bien),

D.E.S. Docteur en droit (Paris) ประเทศฝร่ังเศส

ประวัติศาสตรกฎหมายไทย

Page 30: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

29หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

รายนามคณาจารยพิเศษ วิชาที่สอน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรีชา สุวรรณทัต

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Docotorat D, Universite (เกียรตินิยมสูงสุดทางกฎหมาย)

มหาวิทยาลัย Nice ประเทศฝร่ังเศส

อดีตคณบดีคณะนิติศาสตรและ

อดีตอาจารยประจำคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กฎหมายการคลังและการภาษีอากร 1

ศาสตราจารย ดร.ปรีดี เกษมทรัพย

น.บ. (เกียรตินิยม) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

M.C.I. (Tulane Univ.) ประเทศสหรัฐอเมริกา

Dr. Jur. (Bonn) ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

อดตีอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

และอดีตคณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

นิติปรัชญา 1

ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิศวาท สุคนธพันธ

น.บ. (ธรรมศาสตร),

Diploma in International Law and Development

(Netherland),

LL.M. (McGill Univ.) ประเทศแคนาดา

J.S.D. (Stanford Univ.) ประเทศสหรัฐอเมริกา

อดีตอาจารยประจำคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท

สัมมนากฎหมายลักษณะหุนสวน-บริษัท

อาจารย ภัทรศักดิ์ วรรณแสง

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

น.บ.ท., น.ม. (ธรรมศาสตร),

LL.M. (Temple Univ.) ประเทศสหรัฐอเมริกา

ศาลฎีกา

หลักวิชาชีพนักกฎหมาย

อาจารย ดร.วรรณชัย บุญบำรุง

น.บ. (ธรรมศาสตร),

D.E.A. (กฎหมายเอกชน),

Doctorat. (กฎหมายเอกชน) (University Robert Schuman),

ประเทศฝร่ังเศส

กรรมการรางกฎหมายประจำสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ระบบศาลและหลักทั่วไปวาดวยวิธีพิจารณาคดี

รองศาสตราจารย ดร.ศนันทกรณ โสตถิพันธุ

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ธรรมศาสตร),

Doctorate in Giurusprudenza Universita Degi Studi di Roma

“La Sapienza” ประเทศอิตาลี

อาจารยประจำคณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย

อดีตอาจารยประจำคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประวัติศาสตรกฎหมายไทย

Page 31: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร30

รายนามคณาจารยพิเศษ วิชาที่สอน

อาจารย สมลักษณ จัดกระบวนพล

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ปปช.)

ระบบศาลและหลักทั่วไปวาดวยวิธีพิจารณาคดี

ศาสตราจารย (พิเศษ) สิทธิโชค ศรีเจริญ

น.บ. (ธรรมศาสตร),

ประกาศนียบัตร (ประกันภัยชั้นสูง)

(New Zealand Institute of Insurance)

ประเทศนิวซีแลนด

สำนักงานสิทธิโชค ศรีเจริญ ทนายความ

หลักวิชาชีพนักกฎหมาย

ศาสตราจารย ดร.เสาวนีย อัศวโรจน

น.บ. (เกียรตินิยมดี) (ธรรมศาสตร),

น.ม. (ธรรมศาสตร)

LL.M. (International Legal Studies)

LL.M. (General Studies) (New York University School of Law)

ประเทศสหรัฐอเมริกา

นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ธรรมศาสตร)

อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

อดีตอาจารยประจำคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กฎหมายลักษณะตั๋วเงิน

ศาสตราจารย แสวง บุญเฉลิมวิภาส

น.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2), น.บ.ท., น.ม. (ธรรมศาสตร),

LL.M. (Tulane Univ.) ประเทศสหรัฐอเมริกา

อดีตอาจารยประจำคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หลักวิชาชีพนกักฎหมาย

ประวัติศาสตรกฎหมายไทย

ผูชวยศาสตราจารย ดร.หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล

น.บ. (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.,

Doctor Iuris (Vienna) ประเทศออสเตรีย

ประธานศาลปกครองสูงสุด

กฎหมายมหาชนเบ้ืองตน

อาจารย อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ

น.บ. (เกียรตินิยม) (ธรรมศาสตร), น.บ.ท.

LL.M. (Hons) (ธรรมศาสตร)

LL.M. (Harvard University) ประเทศสหรัฐอเมริกา

องคมนตรี

หลักวิชาชีพนักกฎหมาย

Page 32: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

31หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

ว�าด�วยการศึกษาชั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2540 (คัดมาเฉพาะสวนท่ีเกี่ยวของกับคุณสมบัติของผูสมัครเขาเปนนักศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิต)

ข�อ 7. คุณสมบัติของผู�สมัครเข�าเป�นนักศึกษา 7.1 ตองไมเปนโรคติดตออยางรายแรง โรคที่สังคมรังเกียจหรือโรคสำคัญที่จะเปนอุปสรรคขัดขวางตอการศึกษา

7.2 ตองไมเปนผูมีความประพฤติเสื่อมเสียอยางรายแรง

7.3 ตองไมมีชื่อในทะเบียนนักศึกษาหรือนิสิตของมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นในประเทศไทย

7.4 ตองเปนผูมีคุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้

(1) ...

(2) สำเร็จการศึกษาช้ันปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ยกเวนคณะนิติศาสตร)

(3) สำเร็จการศึกษาช้ันปริญญาหรือเทียบเทาจากมหาวิทยาลัยอื่น หรือสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนในประเทศหรือตาง

ประเทศซ่ึงสภามหาวิทยาลัยรับรอง (ยกเวนคณะนิติศาสตร)

(4) มีคุณสมบัติตามที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติใหเปนกรณีพิเศษ

ข�อ 8. การคัดเลือกเข�าเป�นนักศึกษา การคัดเลือกผูสมัครเขาเปนนักศึกษา ใหเปนไปตามระเบียบการคัดเลือกเพ่ือเขาศึกษาในสถาบันการศึกษาข้ันอุดมศึกษา

ของทบวงมหาวิทยาลัย หรือการคัดเลือกตามวิธีการที่มหาวิทยาลัยกำหนดโดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย

สำหรับผูที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติใหเขาศึกษาไดเปนกรณีพิเศษ สภามหาวิทยาลัยจะกำหนดใหยกเวนการคัดเลือก

ดังกลาวในวรรคแรก แตจะใหมีการสอบคุณวุฒิอยางอื่นแทนก็ได

ข�อ 9. การขึ้นทะเบียนเป�นนักศึกษา 9.1 ผูที่ผานการคัดเลือกเขาศึกษาได จะมีสถานภาพเปนนักศึกษาเมื่อไดขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา

9.2 ผูที่ผานการคัดเลือกเขาศึกษาไดตองขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาดวยตนเอง ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด

พรอมทั้งชำระเงินคาธรรมเนียมตางๆ

ผูที่ผานการคัดเลือกเขาศึกษาไดจะตองข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาภายในสิบสี่วันนับจากวันเปดภาคการศึกษา เวนแต

จะมีเหตุจำเปนและไดรับอนุมัติจากอธิการบดี

ข�อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�

Page 33: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร32

อัตราค�าธรรมเนียมการศึกษาชั้นปริญญาตรี หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต สำหรับนักศึกษารุนปการศึกษา 2554

คาธรรมเนียมท่ีนักศึกษาจะตองชำระ มีดังนี้

1. คาขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา 400 บาท

2. คาจดทะเบียนนักศึกษาลักษณะวิชา

2.1 ภาคการศึกษาปกติ หนวยกิตละ 800 บาท

2.2 ภาคฤดูรอน หนวยกิตละ 800 บาท

2.3 การสอบไลแกตัว หนวยกิตละ 100 บาท

3. คาบำรุงสุขภาพ (ยกเวนภาคฤดูรอน) ภาคการศึกษาละ 125 บาท

4. คาบำรุงกีฬา (ยกเวนภาคฤดูรอน) ภาคการศึกษาละ 200 บาท

5. คาบำรุงกิจกรรมนักศึกษา (ยกเวนภาคฤดูรอน) ภาคการศึกษาละ 200 บาท

6. คาบำรุงหองสมุด ปการศึกษาละ 2,000 บาท

7. คาบำรุงมหาวิทยาลัย

7.1 ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 450 บาท

7.2 ภาคฤดูรอน ภาคละ 225 บาท

8. คาธรรมเนียมการศึกษาเพ่ือการพัฒนา (ยกเวนภาคฤดูรอน) ภาคการศึกษาละ 2,400 บาท

9. คาธรรมเนียมในการใชบริการเครือขาย ปการศึกษาละ 800 บาท

10. คาเอกสารในการจดทะเบียนศึกษาลักษณะวิชา

10.1 ภาคแรกท่ีเขาศึกษา 200 บาท

10.2 ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 20 บาท

10.3 ภาคฤดูรอน ภาคละ 10 บาท

คาธรรมเนียม (เรียกเก็บเปนกรณี)

1. คารักษาสถานภาพกรณีลาพักการศึกษา ภาคการศึกษาละ 300 บาท

2. คารักษาสถานภาพกรณีถูกลงโทษใหพักการศึกษา ภาคการศึกษาละ 1,200 บาท

3. คาธรรมเนียมการคืนสภาพนักศึกษาภายหลังจากถูกถอนชื่อ

ตามขอบังคับ มธ. วาดวยวินัยนักศึกษา ภาคการศึกษาละ 1,200 บาท

4. คาขึ้นทะเบียนปรญิญาบัตรเมื่อสำเร็จการศึกษา 600 บาท

5. คาใบรับรองผลการศึกษา ฉบับละ 50 บาท

6. คาปรับในการจดทะเบียนลาชา วันละ 45 บาท

หมายเหตุ มหาวิทยาลัยสงวนสิทธิ์ในการเปล่ียนแปลงอัตราคาธรรมเนียม

Page 34: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

33หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

วันที…่……................…/…......................…………/……….....................

เรื่อง ขอรับการจัดสรรโควตาเพ่ือเขาศึกษาตอในหลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิต ประจำปการศึกษา 2554

เรียน คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ตามที ่ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปดรับสมัครบุคคลเขาศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิต

ประจำปการศึกษา 2554 และจัดใหมีหลักเกณฑการจัดสรรโควตาสำหรับผูปฏิบัติงานในภาครัฐจำนวน 100 คน ดังรายละเอียด

ทราบแลวนั้น...................................................................(โปรดระบุชื่อหนวยงาน)..............................................................................ไดพิจารณาแลวเห็นวาการจัดสง

ขาราชการหรือเจาหนาที่ในสังกัดของ.....................................................................................(โปรดระบุชื่อหนวยงาน)...........................................................................................

เขาศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิตจะเปนประโยชน.....................................................................................................(โปรดระบุเหตุผลและประโยชนที่

หนวยงานพึงจะไดรับในการสงขาราชการหรือเจาหนาที่เขามาศึกษา) ....................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ดังนั้น..................................................................(โปรดระบุชื่อหนวยงาน)...................................................................................................จึงขอสง

1. นาย/นาง/น.ส..................................................................................ตำแหนง........................................................ระดับ.......................เลขประจำตัวสอบ.............................................

2. นาย/นาง/น.ส..................................................................................ตำแหนง........................................................ระดับ.......................เลขประจำตัวสอบ.............................................

3. นาย/นาง/น.ส..................................................................................ตำแหนง........................................................ระดับ.......................เลขประจำตัวสอบ.............................................

เขาสอบคัดเลือกเขาศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประจำปการศึกษา

2554 และขอรับรองวาบุคคลดังกลาวขางตนนี้มีคุณสมบัติครบถวนตามหลักเกณฑการจัดสรรโควตาสำหรับผูปฏิบัติงานในภาครัฐ

ที่ปรากฏในประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เรื่อง การรับสมัครบุคคลเขาศึกษาในโครงการนิติศาสตรภาคบัณฑิต ทาพระจันทร

คณะนิติศาสตร ประจำปการศึกษา 2554

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถือ

(ลงช่ือ)………………………ผูบังคับบัญชา………………………

(…………………………………………………………………………........…………… )

ตำแหนง………………………………………………………………………………………

ชื่อหนวยงานที่ออกหนังสือราชการ………….………………………....

โทรศัพท………………………………………………………………………………………………………

โปรดสงหนงัสอืราชการเพ่ือขอโควตามายงั คณบดคีณะนิตศิาสตร มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ทาพระจนัทร เขตพระนคร กรุงเทพฯ

10200 ภายใน วันศุกรที่ 25 กุมภาพันธ 2554

ตัวอย�างหนังสือสำหรับผู�ปฏิบัติงานในภาครัฐที่ประสงค�ขอโควตา

Page 35: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร34

ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เรื่อง การรับสมัครบุคคลเขาศึกษาในโครงการนิติศาสตรภาคบัณฑิต ทาพระจันทร

คณะนิติศาสตร ประจำปการศึกษา 2554

-------------------------------------

ดวยคณะนิติศาสตรเห็นสมควรเปดรับสมัครบุคคลเขาศึกษาในโครงการนิติศาสตรภาคบัณฑิต ทาพระจันทร คณะนิติศาสตร

ประจำปการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จึงขอประกาศรายละเอียดเกี่ยวกับการรับสมัครสอบคัดเลือก ดังตอไปนี้

1. หลักสูตรท่ีเปดรับสมัคร ระดับปริญญาตรี หลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552)

2. จำนวนรับเขาศึกษา 500 คน แยกเปน 2.1 จำนวนผูสอบผานการคัดเลือกตามเกณฑปกติ จำนวน 400 คน

2.2 จำนวนผูที่ไดรับจัดสรรโควตาสำหรับผูปฏิบัติงานในภาครัฐ จำนวน 100 คน โดยมีหลักเกณฑการจัดสรร ดังนี้

2.2.1 ผูขอโควตาสำหรับผูปฏิบัติงานในภาครัฐจะตองสมัครสอบและเขาสอบคัดเลือกเชนเดียวกับผูสมัครอื่นทั่วไป

2.2.2 ผูขอโควตาจะตองเปนเจาหนาที่ในหนวยงานของรัฐ หรือสมาชิกรัฐสภา หรือสมาชิกสภาทองถิ่น อันหมายความถึง

สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบจ. และสมาชิกสภาเทศบาล

2.2.3 ผูขอโควตาจะตองแสดงหนังสือรับรองจากหนวยงานของรัฐตนสังกัดวาการเขาศึกษาจะเปนประโยชนตอการ

ปฏิบัติหนาที่ในหนวยงานนั้นๆ โดยตองสงหนังสือรับรองมายังคณะนิติศาสตรกอนวันสอบขอเขียน

2.2.4 ผูขอโควตาจะตองเปนผูปฏิบัติงานในหนวยงานที่ตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล อันไดแก นนทบุรี

ปทุมธานี สมุทรปราการ นครปฐม สมุทรสาคร ซึ่งจะสามารถมาศึกษาไดอยางสม่ำเสมอ

2.2.5 ในการจัดสรรโควตา คณะนิติศาสตรจะบวกคะแนนเพิ่มใหกับผูขอโควตาอีก 10 คะแนน ในชั้นของการตรวจ

คะแนนขอเขียน

2.2.6 ผูขอโควตา 100 คน ที่มีสิทธิเขาสอบสัมภาษณจะตองไดคะแนนรวมของการสอบขอเขียนกับคะแนนตามขอ

2.2.5 เทากับหรือมากกวาคะแนนการสอบขอเขียนของผูสอบผานการคัดเลือกคนสุดทายตามขอ 2.1

3. คุณสมบัติของผูสมัคร 1. ตองมีวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาชั้นปริญญาตรี สาขาใดก็ได ยกเวนสาขานิติศาสตร และตองมีหลักฐานที่แสดงวาเปนผูสำเร็จ

การศึกษาชั้นปริญญาตรีมาแสดงอยางครบถวนในวันขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา

2. มีคุณสมบัติอื่นๆ ตามขอบังคับวาดวยการศึกษาชั้นปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3. ไมรับพระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา ภายใตพระราชบัญญัติคณะสงฆไทย

Page 36: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

35หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

4. การจำหนายระเบียบการ 4.1 ซื้อดวยตนเองไดที่ ศูนยจัดการศึกษาและฝกอบรมดานกฎหมาย สำนักงานเลขานุการคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร ทาพระจันทร ตั้งแตวันศุกรที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันจันทรที่ 31 มกราคม 2554 ในราคาชุดละ 200 บาท

- วันจันทร - วันศุกร จำหนายระเบียบการ ระหวางเวลา 09.00-19.30 น.

- วันเสาร จำหนายระเบียบการ ระหวางเวลา 09.00-16.00 น.

4.2 สั่งซื้อระเบียบการทางไปรษณีย โดยโอนเงินจำนวน 225.- บาท เขาบัญชี ธนาคารทหารไทย สาขายอย ม.ธรรมศาสตร

ทาพระจันทร ชื่อบัญชี “ศูนยจัดการศึกษาและฝกอบรมดานกฎหมาย” เลขที่บัญชี “155-2-04753-0” และสงโทรสาร (แฟกซ)

สำเนาใบโอนเงินพรอมช่ือท่ีอยูในการจัดสงระเบียบการ และหมายเลขโทรศัพทที่สามารถติดตอไดสะดวก มาท่ีหมายเลขโทรสาร

0-2222-0159

5. การรับสมัคร สมัครผานระบบอินเตอรเน็ตที่ www.letec.law.tu.ac.th ระหวางวันศุกรที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันจันทรที่ 31 มกราคม

2554

6. ประกาศผังสอบและรายช่ือผูมีสิทธิสอบขอเขียน วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ 2554

7. วันสอบขอเขียน วันอาทิตยที่ 20 กุมภาพันธ 2554 เวลา 09.00-12.00 น. ณ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

วิชาที่ใชในการสอบคัดเลือก ประกอบดวย

1. วิชาความรูทั่วไป

2. วิชาความรูเกี่ยวกับกฎหมาย

3. วิชายอความ

8. วันประกาศรายช่ือผูสอบผานขอเขียนมีสิทธิเขาสอบสัมภาษณ วันพุธที่ 23 มีนาคม 2554

9. วันสอบสัมภาษณ วันเสารที่ 14 พฤษภาคม 2554 เวลา 08.00-12.00 น. ณ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

10. วันประกาศรายช่ือผูมีสิทธิเขาศึกษา วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2554

11. วันขึ้นทะเบียนนักศึกษา ระหวางวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2554 ถึงวันเสารที่ 4 มิถุนายน 2554

Page 37: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร36

12. วันปฐมนิเทศนักศึกษาใหม วันเสารที่ 4 มิถุนายน 2554 เวลา 09.00-12.00 น. ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

13. วันจดทะเบียนศึกษาลักษณะวิชา ระหวางวันเสารที่ 4 มิถุนายน 2554 ถึงวันศุกรที่ 10 มิถุนายน 2554

การพิจารณาและวินิจฉัยของมหาวิทยาลัยถือวาเปนที่สุด และหากปรากฏในภายหลังวาผูสมัครขาดคุณสมบัติขอใดขอหนึ่งอยู

กอนการสมัครสอบคัดเลือกจะถูกตัดสิทธิทันที หากไดขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาแลวจะถูกถอนชื่อออกจากการเปนนักศึกษา

ประกาศ ณ วันที่ กันยายน พ.ศ. 2553

(ลงนาม) สุรพล นิติไกรพจน

(ศาสตราจารย ดร.สุรพล นิติไกรพจน)

อธิการบดี

Page 38: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

37หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

ความคิดเห็นบางประการจากบัณฑติผู�สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตร

นางสาวสุมาภรณ� ศรีม�วง นิติศาสตร�ภาคบัณฑิต รุ�น 50 เกียรตินิยมอันดับ 2

กอนที่จะเขามาศึกษาตอในคณะนิติศาสตร ภาคบัณฑิต มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร มีแตคนพูดวา “ที่นี่จบยากมาก” แตก็รูสึกแปลกใจวาทำไมในทุกปถึงมีคน

มาสมัครเขาศึกษาตอภาคบัณฑิตของท่ี มธ. เปนจำนวนมาก ซึ่งเม่ือไดเขามาศึกษาแลว

จึงไดเขาใจวา แมจะเปนภาคบัณฑิต แตคุณภาพและเน้ือหาในวิชากฎหมายทุกวิชาท่ี

อาจารยในคณะไดสอนนั้น ไมไดแตกตางไปจากนักศึกษาภาคปกติเลย ทั้งนี้ นอกจาก

ความรูในทางกฎหมายที่ไดรับแลว ทางคณะยังไดปลูกฝงใหนักศึกษาเปนผูที่มีจิตสำนึกใน

ทางสังคม และมีความรับผิดชอบในวิชาชีพนักกฎหมายอีกดวย รวมถึงบรรยากาศในการ

เรียนที่อบอุน ซึ่งเพื่อนๆ ในภาคบัณฑิตตางชวยเหลือและเอ้ือเฟอกันเปนอยางดี และมี

กิจกรรมท่ีสงเสริมการเรียนและเพ่ือสังคมอยางตอเน่ือง และน่ีแหละคือเหตุผลวา ทำไม

เราถึงรักนิติศาสตร ธรรมศาสตร...

จินตนา ศุภกิจอนันต�คุณ นิติศาสตร�ภาคบัณฑิต รุ�น 50 เกียรตินิยมอันดับ 2

การเรียนกฎหมายท่ีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนชวงเวลาของ

ชีวิตท่ีคุมคาท่ีสุดชวงหน่ึงของขาพเจา เพราะขาพเจาไดพบกับครูบาอาจารยที่ทุมเทใหกับ

การเรียนการสอนอยางเต็มที่ ทานเตรียมการสอนอยางดี ตั้งใจสอนอยางมาก และใหเวลา

กับนักศึกษาในการซักถามหลังการบรรยาย กลาวไดวาสังคมวิชาการของที่นี่ เต็มไปดวย

อาจารยที่มีจิตวิญญาณของความเปน “ครู” คือ ปรารถนาใหลูกศิษยเขาใจกฎหมายและ

ใชกฎหมายเปน มีความรูคูคุณธรรม และใหความรูอยางเต็มภูมิ เร่ืองนี้ขาพเจาไมไดเห็น

คนเดียว เพื่อนของขาพเจาก็เห็นจริงตามน้ัน

นอกจากน้ี ขาพเจายังไดเพื่อนแทเพิ่มขึ้นอีกหลายคนจากการเรียนท่ีนี่ เพราะ

การเรียนกฎหมายตองเรียนเปนกลุม คิด วิเคราะห แกโจทยทั้งในหองเรียน ในขอสอบ

และในชีวิตจริง ซึ่งเพื่อนๆ ไดใหความเห็นทางกฎหมายท่ีเปนประโยชนจนไดคำตอบท่ีเปน

ไปตามหลักเหตุและผลทางกฎหมาย ขาพเจาไดคำตอบหลายๆ เรื่องที่ขาพเจาอยากรูจาก

การเรียนกฎหมายท่ีนี่ เพราะกฎหมายอยูรอบตัวเราและในชีวิตประจำวัน

การลงทุนเพื่ออนาคตมีหลายรูปแบบ แตขาพเจาเลือกที่จะลงทุนทางการศึกษา

เสมอ เพราะเราไดสิ่งท่ีติดตัวเราไปตลอดและนำไปใชประโยชนไดเสมอ คือ ความรูความ

สามารถ ขอบคุณคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่ทำใหขาพเจาไดเริ่มตนอยู

ในเสนทางกฎหมายท่ีนาศึกษาและคนหาตอไปไดอยางไมรูจบ

กอนที่จะ

ธรรมมศาสตร มีแต

ัั ึ

Page 39: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร38

นายชูสิทธ์ิ ลิขิตมั่นชัย นิติศาสตร�ภาคบัณฑิต รุ�น 50 เกียรตินิยมอันดับ 2

ตัวผู เขียนมีความต้ังใจแตดั้งเดิมที่จะเรียนคณะนิติศาสตร ที่มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร ตั้งแตครั้งที่ผูเขียนเอนทรานซ ในป 44 แตไมติด จะสอบตรงก็เกรดเฉลี่ย

ไมถึง ผูเขียนรูวามีนิติศาสตรภาคบัณฑิต จึงตั้งใจต้ังแตนั้นวาจะเขาเรียนในโปรแกรม

ดังกลาว เมื่อไดเขามาเรียนผูเขียนไดรับความรูที่เขมขน ถึงแกน สนุกสนานกับวิชา

กฎหมายดั่งที่ตั้งใจไว สำหรับผูที่จะเขามาเรียนขอใหตั้งใจและทุมเทกับมัน เพราะ

ภาคบัณฑิตนั้นตองทั้งเรียนและทำงานไปพรอมๆ กัน ควรเผ่ือเวลาในการอานหนังสือใหดี

(อานทุกวันไมมากก็นอย) และผูเขียนเช่ือวาทานจะประสบความสำเร็จดั่งที่ทานตั้งใจ

ทุมเทกับมัน

นายดำรงศักดิ์ แก�นอากาศ นิติศาสตร�ภาคบัณฑิต รุ�น 50 เกียรตินิยมอันดับ 2

ภายใตความสัมพันธทางสังคมท่ีสลับซับซอนในโลกยุคปจจุบัน ดูเหมือนวา

ประเด็นปญหาทางกฎหมายตางถูกหยิบยกข้ึนมาโตเถียงกันในวงสนทนาอยางไมจบส้ิน

ผูคนจากทุกชนช้ันในสังคมตางต้ังความหวังไววากฎหมายน้ันจะเปนเครื่องมือในการนำพา

พวกเขาไปสูจุดหมายปลายทางท่ีควรจะเปน ทั้งที่ความเปนจริงแลวจะมสีักกี่คนที่จะเขาใจ

วาภารกิจของกฎหมายน้ันมีอยูอยางไร

ดวยความท่ีเปนนักศึกษารัฐศาสตร ที่เนนการศึกษาเร่ืองทางการเมืองและสังคม

ทำใหหลีกเลี่ยงไมไดที่ตองใหความใสใจกับวิวาทะทางกฎหมายที่เกิดขึ้นภายใตวิกฤตการณ

ทางการเมืองของประเทศไทย ซึ่งประเด็นปญหาบางเร่ืองก็เปนเรื่องยากท่ีคนไมรูกฎหมาย

อยางผมในตอนนั้นจะเขาใจได ดังน้ีจึงทำใหผมมีความตั้งใจที่จะมาเรียนกฎหมายเปน

ปริญญาใบที่ 2 ผมตัดสินใจมาเรียนกฎหมายที่ธรรมศาสตรเพราะเห็นวาสถาบันนี้

ประกอบไปดวยคณาจารยที่มีชื่อเสียงหลายๆ ทาน ซึ่งแตละทานตางก็ไดรับการกลาวขาน

วามีความรูความสามารถในสาขาอาชีพของตนอยางสูง กลาวโดยเฉพาะหลักสูตรภาค

บัณฑิตนั้นก็เปนหลักสูตรท่ีเปดโอกาสใหบุคคลจากตางสาขาอาชีพเขามาศึกษากฎหมาย

ซึ่งขอดีของการเรียนหลักสูตรน้ีคือการมองปญหาทางกฎหมายจะไมยึดติดอยูเพียงตัวบท

หากเปนการมองปรากฏการณทางสังคมท่ีรอบดานซ่ึงมีสวนสัมพันธอยางมากตอการปรับ

ใชกฎหมาย

นอกจากการเรียนเพื่อรูกฎหมายและใชกฎหมายเปนแลว สถาบันน้ียังหลอหลอม

ใหนักศึกษากลาที่จะยืนหยัดในสิ่งที่ถูกตอง และเห็นแกผูอื่นกอนเสมอ ซึ่งทั้งสองประการ

นี้อาจกลาวไดวาเปนจิตวิญญาณของชาวธรรมศาสตร อุดมการณเหลาน้ีไดถูกผลิตซ้ำใหแก

บัณฑิตรุนแลวรุนเลา ผานทางเนื้อหาของวิชาและแบบอยางการใชชีวิตของอาจารย

ทุกทาน ดังนั้นจึงถือเปนเกียรติอยางสูงท่ีพวกทานท้ังหลายจะไดเขามาใชชีวิตแบบคน

ธรรมศาสตรภายในดินแดนท่ีไดชื่อวามีเสรีภาพทุกตารางน้ิว และขอใหทุกคนโชคดีครับ

Page 40: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

39หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

สภาพแวดล�อมทางการศกึษา สภาพแวดลอมในการศึกษาที่วิทยาเขตทาพระจันทรนั้นสราง

แรงกระตุนในการทำกิจกรรมทางการศึกษาไดอยางแทจริงทั้ง

ในและนอกชั้นเรียน คณาจารยผูทรงคุณวุฒิจะคอยสงเสริมให

นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และแลกเปล่ียนความคิดเห็นตางๆ

รวมท้ังประสบการณของแตละคนในช้ันเรียนอยู เสมอ และ

นักศึกษาเปนจำนวนมากก็มีความกระตือรือรนในการรวมแสดง

ความคิดเห็นดังกลาว ความเชื่อมั่นในตนเองและความกลา

แสดงออกของนักศึกษากฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรนั้น

แตกตางจากนักศึกษาสถาบันอื่นในประเทศไทยจนสามารถแยกได

อยางชัดเจน

เม่ืออยูนอกชั้นเรียน คณาจารยผูทรงคุณวุฒิ นักศึกษาและ

เจาหนาที่ฝายตางๆ มีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ

การศึกษา นโยบาย การบริหาร ศาสนา อุดมคติ และเร่ืองอ่ืนๆ

ไดตราบเทาที่ไมไดไปละเมิดสิทธิเสรีภาพของผูอื่น นอกจากนี้

คณะนิติศาสตรยังมีการจัดการสัมมนา การประชุมทางวิชาการ

โดยเฉพาะในดานกฎหมาย การปกครอง และทางออกตางๆ ของ

สังคม ซึ่งไดรับความสนใจจากผูเช่ียวชาญท้ังในและตางประเทศ

รวมท้ังผูสนใจใครรูอื่นๆ นักศึกษาจะไดรับการสนับสนุน สงเสริม

ใหจัดตั้งกลุมของตนเองขึ้นมาเพื่อการศึกษากฎหมาย หรือเพื่อ

จุดประสงคอื่นที่เกี่ยวของกับกฎหมาย

Page 41: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร40

สำหรับผูที่ตองการคนควาขอมูลวิจัย จะเห็นไดวาหองสมุดสัญญา ธรรมศักดิ์

นั้นเปนสถานที่เหมาะอยางยิ่งเพราะเปนแหลงรวบรวมหนังสือชุดและวารสารจำนวน

มากหลากหลายภาษา อาทิ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาญ่ีปุน

และภาษาไทย ปจจุบันมีการใหบริการคนควาฐานขอมูลออนไลนผานระบบ

คอมพิวเตอรอีกดวย หองสมุดน้ีนับวาเปนหองสมุดกฎหมายที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งใน

ประเทศไทย นอกจากนี้นักศึกษาสามารถคนควาหาขอมูลเพ่ือการวิจัยไดที่หองสมุด

ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คือ หองสมุดปรีดี พนมยงค และหองสมุดของ

คณะตางๆ ซึ่งไดรวบรวมเอกสารจำแนกเปนประเภทตางๆ ตามสาขาวิชาอยาง

สมบูรณครบถวน

Page 42: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

41หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

กิจกรรมนักศึกษา

พิธีการปฐมนิเทศนักศึกษาโครงการนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต ท�าพระจันทร� ประจำป�การศึกษา 2553 วันเสาร�ที่ 29 พฤษภาคม 2553 ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�

Page 43: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร42

ประมวลภาพงาน “พบเพ่ือนใหม� 53” วันท่ี 19-20 มิถุนายน 2553 ณ LEARNING RESORT PATTAYA

Page 44: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

43หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

ประมวลภาพวันไหว�ครูภาคบัณฑิต วันท่ี 22 กรกฎาคม 2553

Page 45: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร44

ประมวลภาพดูงานศาลแพ�ง วันท่ี 5 สิงหาคม 2553

Page 46: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

45หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

วันแห�งความสำเร็จ วันท่ี 13 สิงหาคม 2553

Page 47: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

ระเบียบการสมัคร ประจำป�การศึกษา 2554 คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ระเบียบการสมัคร ปร46

หลักสูตรต�างๆ ที่เป�ดบรรยายในคณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� ใใใใในนนนนคคคคคณณณณณณะะะะนนนนิิตตตตติิิิศศศศศศาาาสสสสตตตตตตรรรรรรร����� มมมมหหหหหหหหาาาาาววววิิิิทททททยยยยยยาาาลลลลััััยยยยยธธธธธรรรรรรรรรรมมมมศศศศศศาาาสสสสตตตตตตรรรรรรร�����

1. ระดับปริญญาตรี 1.1 ภาคปกติ หลักสูตร 4 ป (สำหรับผูที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย)

1. การสอบคัดเลือกผานสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

2. โครงการสอบคัดเลือกตรง (คณะนิติศาสตรจัดสอบคัดเลือกเอง) ณ ศูนยรังสิต และศูนยลำปาง

3. โครงการนักศึกษาผูพิการ

4. โครงการเรียนดีจากชนบท

5. โครงการจัดสงนักศึกษาชาวไทยท่ีนับถือศาสนาอิสลาม จังหวัดชายแดนภาคใต

6. โครงการนักศึกษาผูมีความสามารถดีเดนในการกีฬา

7. โครงการนักศึกษาเรียนดีเดน

1.2 ภาคบัณฑิต หลักสูตร 3 ป (สำหรับผูที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาใดก็ได ยกเวนสาขานิติศาสตร)

หลักสูตรนิติศาสตรภาคบัณฑิต

2. ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต (สำหรับผู�ที่สำเร็จการศึกษาระดับนิติศาสตรบัณฑิต) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน (หลักสูตร 1 ป)

3. ระดับปริญญาโท 3.1 หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตร 2 ปครึ่ง ไมเกิน 4 ป (สำหรับผูที่สำเร็จการศึกษาระดับนิติศาสตรบัณฑิต)

เปดรับสมัคร 8 สาขา ดังนี้

1. สาขากฎหมายเอกชน

2. สาขากฎหมายอาญา

3. สาขากฎหมายมหาชน

4. สาขากฎหมายระหวางประเทศ

5. สาขากฎหมายธุรกิจ

6. สาขากฎหมายการคาระหวางประเทศ

7. สาขากฎหมายภาษี

8. สาขากฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.2 หลักสูตรนิติศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ (ภาคภาษาอังกฤษ) หลักสูตร 2 ปครึ่ง ไมเกิน 4 ป

(สำหรับผูที่สำเร็จการศึกษาระดับนิติศาสตรบัณฑิต)

3.3 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน หลักสูตร 2 ป (สำหรับผูที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

ทุกสาขา)

3.4 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ หลักสูตร 2 ป (สำหรับผูที่สำเร็จ

การศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา)

4. ระดับปริญญาเอก หลักสูตร 2 ป� (สำหรับผู�ที่สำเร็จการศึกษาระดับนิติศาสตรมหาบัณฑิต) หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตเปดรับสมัครผูที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตในสาขาตางๆ โดยผูสมัครเปน

ผูเสนอหัวขอใหบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร เปนผูพิจารณา

สนใจสอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมท่ี ระดับปริญญาตรี (ภาคบัณฑิต ทาพระจันทร) โทร. 02-613-2104, 02-613-2108 โทรสาร 02-222-0159

ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต โทร. 02-613-2127, 02-613-2132, 02-613-2965 โทรสาร 02-222-0159

ระดับปริญญาโท และ ปริญญาเอก โทร. 02-613-2123, 02-613-2168 โทรสาร 02-222-0159

หรือฝายประชาสัมพันธ โทร. 02-613-2108

Page 48: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

47หลักสูตรนิติศาสตร�ภาคบัณฑิต

แผนผังคณะนิตศิาสตร�

พิมพที่: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, พ.ศ. 2553 โทรศัพท 0-2564-3105 ถึง 11 โทรสาร 0-2564-3119 http://www.tu.ac.th/org/tuprint

Page 49: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

คณะน

ิติศาส

ตร

Page 50: กำหนดการสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554

คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�

เป�นเลิศ เป�นธรรม ร�วมนำสังคม เป�นเลิศ เป�นธรรม ร�วมนำสังคม

ศูนย�จัดการศึกษาและฝ�กอบรมด�านกฎหมาย คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร� 2 ถนนพระจันทร� แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

คณะนิติศาสตร� มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�

เป�นเลิศ เป�นธรรม ร�วมนำสังคม