รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

93
รายงานการประชุมเช งปฏ บัต การ โครงการจัดทําเมนูตามแนวทางเบญจว โครงการสายใยรักแหง ครอบครัวฯ สํานักงานสงเสรมและสนับสนุนว ชาการ 10 พ.ศ. 2554 สํานักงานส งเสร มและสนับสนุนว ชาการ 10 กรมพัฒนาสังคมและสวัสด การ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

Upload: virote-ruangsard

Post on 30-Mar-2016

218 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ 2554

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

รายงานการประชุมเชิงปฏบัิตกิาร

โครงการจัดทําเมนูตามแนวทางเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหง

ครอบครัวฯ สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวชิาการ 10 ป พ.ศ. 2554

สํานักงานสงเสรมิและสนับสนุนวชิาการ 10

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดกิาร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

Page 2: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

รายงานการประชุมเชิงปฏบัิตกิาร

โครงการจัดทําเมนูตามแนวทางเบญจวถีิ

โครงการสายใยรักแหงครอบครัวฯ สํานักงานสงเสริมและสนับสนุน

วชิาการ 10 ป พ.ศ. 2554

โดย

สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวชิาการ 10 จังหวัดเชียงใหม

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดกิาร

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย

สงิหาคม 2554

Page 3: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

คํานํา

รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการจัดทําเมนูตามแนวทางเบญจวิถ ี

โครงการสายใยรักแหงครอบครัวฯ สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 พ.ศ. 2554

เปนโครงการที่นําแนวทางการพัฒนาตามโครงการสายใยรักแหงครอบครัว ในพระราชูปถัมภ

สมเด็จพระบรมโอรสาธริาชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เปนแนวทางการดําเนินงานพัฒนาโครงการ

ตําบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ พ.ศ. 2554 ซึ่งดําเนินการในพื้นที่จังหวัด

เชียงใหม ลําปาง ลําพูน แมฮองสอน เชียงราย พะเยา แพร และนาน จํานวน 24 ตําบล ได

มารวมทบทวน วิเคราะห ปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการพัฒนาตามแนวทางเบญจวิถี เพื่อเปน

แนวทางการพัฒนาขยายผลตอไป

รายงานฉบับนี้ เปนรายงานสรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนผลการ

ดําเนินงานโครงการ โดยมีเนื้อหาครอบคลุมการทบทวนวัตถุประสงค กระบวนการ ผลที่คาด

วาจะไดรับ และผลการดําเนินงานโครงการที่ตามแนวทางการพัฒนาเบญจวิถีโครงการสายใย

รักแหงครอบครัวฯ ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน และแนวทางการขยายผลโครงการ

กจิกรรมของแตละพื้นที่การดําเนนิงาน เพื่อนําไปขยายผลการพัฒนาตอไป

การจัดทํารายงานฉบับนี้ อาจยังมีขอผิดพลาดและขาดความสมบูรณอยูบาง

ดวยเปนรายงานเพื่อสรุปการประชุมโครงการเฉพาะในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนเทานั้น

เพื่อจะไดนําไปเปนขอมูลประกอบการดําเนินการสรุปรวมกับภาคสวนอื่นๆ ในภาพรวมของ

ประเทศตอไป

สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวชิาการ 10

สงิหาคม 2554

Page 4: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

สารบัญ

หนา

คํานํา ก

สารบัญ ข

สวนที่ ๑ บทนํา 1

๑. หลักการและเหตุผล 1

๒. วัตถุประสงค 2

๓. พื้นที่ดําเนนิการ 2

๔. กลุมเปาหมาย 2

๕. ขัน้ตอนการดําเนนิการ 3

๖. ระยะเวลาในการดําเนนิการ 3

๗. ผูรับผิดชอบโครงการ 3

๘. ผลที่คาดวาจะไดรับ 3

สวนที่ ๒ ผลการประชุมจัดทําเมนูตามแนวทางการพัฒนาเบญจวถิี 4

ในพื้นที ่8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน

๒.๑ เมนูแนวทางเบญจวถิจัีงหวัดเชียงใหม 5

๒.๒ เมนูแนวทางเบญจวถิจัีงหวัดลําปาง 11

๒.๓ เมนูแนวทางเบญจวถิีจังหวัดลําพูน 21

๒.๔ เมนูแนวทางเบญจวถิจัีงหวัดแมฮองสอน 32

๒.๕ เมนูแนวทางเบญจวถิจัีงหวัดเชียงราย 39

๒.๖ เมนูแนวทางเบญจวถิจัีงหวัดพะเยา 58

๒.๗ เมนูแนวทางเบญจวถิจัีงหวัดแพร 67

๒.๘ เมนูแนวทางเบญจวถิจัีงหวัดนาน 78

ภาคผนวก 86

ภาพกจิกรรมการประชุม 86

Page 5: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

สวนท่ี ๑

บทนํา

๑. หลักการและเหตุผล

โครงการ “เมนูการพัฒนาเบญจวิถี” เปนโครงการที่กรมพัฒนาสังคมและ

สวัสดิการ ไดนอมนําพระราชบัณฑูรของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร

และพระกระแสของพระเจาวรวงคเธอ พระองคเจาศรีรัศมิ์ พระวรชายฯ ในการพัฒนาสถาบัน

ครอบครัวใหเกิดความแข็งแกรง เช่ือมโยงความสัมพันธของคน ๓ วัย โดยเนนโครงการหรือ

แนวปฏิบัติเพื่อเปนแบบอยางและพัฒนาไปสูสังคมไทย สงเสริมใหสวนราชการและเอกชน

สนับสนุนใหมีการดําเนินโครงการตางๆ ที่เหมาะสมและใหประสานโครงการที่มีอยูกอนใหเกิด

การดําเนินงานที่มีมาตรฐานมีแนวทางสอดคลองและตอเนื่องกัน มีเบญจวิถีตามแนวทางการ

พัฒนาโครงการสายใยรักแหงครอบครัวในพระราชูปถัมภสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม

มกุฎราชกุมาร คือ การเลี้ยงลูกดวยนมแม สุขอนามัยในครัวเรือน, การพัฒนาอาชีพตามหลัก

เศรษฐกิจพอเพียง การเสริมสรางครอบครัวอบอุน สนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต และการ

จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหชุมชน เปนแนวทางการพัฒนาในการดําเนิน

โครงการตําบลตนแบบพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ปงบประมาณ ๒๕๕๔ จังหวัดละ ๓ ตําบล

รวมทั้งหมด ๒๒๕ ตําบล เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในระดับบุคคล กลุม ครัวเรือน

ใหสามารถพึ่งตนเอง และนําพาชุมชนเขมแข็งยั่งยืน ดวยกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน

และชุมชน ภายใตทุนทางสังคมและศักยภาพครอบครัว ชุมชน อยางเหมาะสม มีกระบวนการ

เรยีนรูในการพัฒนาอยางตอเนื่อง

เพื่อใหการขับเคลื่อนโครงการตําบลตนแบบพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เกิด

ประสทิธภิาพประสทิธผิล เปนไปตามพระราชประสงคของพระองคทาน ที่จักใหเกิดแนวปฏิบัติ

เพื่อเปนแบบอยางการพัฒนาเชิงบูรณาการจากทุกภาคสวน สํานักงานสงเสริมและสนับสนุน

วชิาการ ๑๐ จึงไดจัดทําโครงการ เมนูการพัฒนาเบญจวถิขีึ้น โดยเปนการนําประสบการณและ

สิ่งที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานที่ผานมาของคณะทํางานและหนวยงานของกรมพัฒนาสังคม

และสวัสดกิาร ที่ขับเคลื่อนโครงการตําบลตนแบบทั้ง ๘ จังหวัดมาทบทวน วิเคราะห ปรับปรุง

Page 6: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

2

พัฒนากิจกรรมการพัฒนาตามเบญจวิถีและคนหา Best Practice ในระดับพื้นที่ เพื่อเปนแนว

ทางการพัฒนาและการขยายผล ตอไป

๒. วัตถุประสงค

๒.๑ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเรยีนรู แนวทางการพัฒนาเบญจวิถี ตามรูปแบบ

โครงการสายใยรักแหงครอบครัวในพื้นที่ตําบลตนแบบของบุคลากรหนวยงานกระทรวงการ

พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย และภาคเีครอืขาย

๒.๒ เพื่อใหไดเมนูการพัฒนาเบญจวิถี เปนคูมือและแนวทางปฏิบัติ ที่เปน

แบบอยางการพัฒนาเชิงบูรณาการจากทุกภาคสวน ตามแนวทางโครงการสายใยรักแหง

ครอบครัวฯ

๒.๓ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ

ม่ันคงของมนุษยและภาคเีครอืขาย ใหมคีวามเขาถึง เขาใจ และมีสวนรวมตั้งแตรวมคิด รวมทํา

รวมพัฒนา ในการขับเคลื่อนภารกิจฯ ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน มีประสิทธิภาพและเปน

รูปธรรม

๓. พื้นท่ีดําเนนิการ

ดําเนนิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานสงเสรมิและสนับสนุนวชิาการ ๑๐

๔. กลุมเปาหมาย ประกอบดวย

๔.๑ บุคลากรในหนวยงานกรมพัฒนาสังคมและสวัสดกิาร ๘ จังหวัด

๔.๒ คณะทํางาน พม. ระดับตําบล (ทมี B)

๔.๓ ภาคีเครือขายในการจัดกิจกรรมตามเบญจวิถีโครงการสายใยรักแหง

ครอบครัวฯ

๕. ขั้นตอนการดําเนนิงาน

๕.๑ สรางเครื่องมอื : แบบเมนูการพัฒนาเบญจวถิี

๕.๒ ศูนยพัฒนาสังคมทุกจังหวัด จัดประชุมผูแทนทีม B และภาคีเครือขายใน

การจัดกจิกรรมเบญจวถิฯี กรอกขอมูลกจิกรรมในแบบเมนูการพัฒนาเบญจวถิี

๕.๓ สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ จัดประชุมตัวแทน

คณะทํางาน พม. ระดับตําบล (ทีม B ๓ ตําบล) และตัวแทนของหนวยงานกรมพัฒนาสังคม

Page 7: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

3

และสวัสดกิารในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ สสว. โดยมีวัตถุประสงค (๑) เพื่อรวมวิเคราะห

กจิกรรมตามเมนูการพฒันาสังคมและสวัสดกิารรายจังหวัด เพื่อจัดทําเมนูการพัฒนาเบญจวิถี

ระดับกลุมจังหวัด (๒) เพื่อการศึกษาดูงาน Best Practice และ เพื่อคัดเลือกบุคลากรเปน

ตัวแทนกลุมในพื้นที่ สสว. จํานวน ๓ คน

๕.๔ สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๔ จัดประชุมทีมงาน เพื่อจัดทํา

เมนูการพัฒนาเบญจวิถีฉบับสมบูรณ ประกอบดวย ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมและ

สนับสนุนวิชาการ ๑๐ เจาหนาที่สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ และตัวแทนกลุม

จังหวัด ตามเขตพื้นที่รับผิดชอบสํานักงานสงเสรมิและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ และผูที่เกี่ยวของ

๖. ระยะเวลาในการดําเนนิการ

เดอืนสงิหาคม – กันยายน ๒๕๕๔

๗. ผูรับผิดชอบโครงการ

สํานักงานสงเสรมิและสนับสนุนวชิาการ ๑๐

๘. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

๘.๑ เกดิการแลกเปลี่ยนเรยีนรูจากบทเรยีน

๘.๒ ไดคูมอืการพัฒนาตามรูปแบบโครงการสายใยรักแหงครอบครัวฯ

๘.๓ บุคลากรของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย และ

ภาคีเครือขายไดรับการพัฒนาศักยภาพภายใตกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากการดําเนิน

โครงการตนแบบตามแนวทางโครงการสายใยรักแหงครอบครัวในแตละบริบทของพื้นที่ และมี

สวนรวมในการพัฒนางานดานดารพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โดยสามารถนําองคความรูไปใช

ในการขยายผลในพื้นที่อื่นอยางมปีระสทิธภิาพและเกดิประสทิธผิล

Page 8: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

สวนท่ี ๒

ผลการประชุมเชงิปฏบัิติการการจัดทําแนวทางการพัฒนาเบญจวถิ ี

ในพืน้ที่ ๘ จังหวัดภาคเหนอืตอนบน

การประชุมเชิงปฏบิัตกิารจัดทําแนวทางพัฒนาเบญจวถิ ีสํานักงานสงเสริมและ

สนับสนุนวิชาการ ๑๐ จากขั้นตอน และวัตถุประสงคของโครงการพัฒนาเบญจวิถี สํานักงาน

สงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ (สสว.๑๐) ไดกําหนดรูปแบบการประชุมเชิงปฏิบัติการ

ตัวแทนคณะทํางานพัฒนาสังคมระดับตําบล (ทีม B ๓ ตําบล) และตัวแทนของหนวยงานกรม

พัฒนาสังคมและสวัสดิการในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ สสว.๑๐ เพื่อรวมกันวิเคราะห

กิจกรรมตามเมนูการพัฒนาเบญจวิถีระดับกลุมจังหวัด ซึ่งขอมูลในการนํามาวิเคราะหเปนผล

จากการที่ศูนยพัฒนาสังคมจาก ๘ จังหวัด ประกอบดวยจังหวัดเชียงใหม ลําปาง ลําพูน

แมฮองสอน แพร นาน พะเยา เชียงราย และไดจัดประชุมทีม B และภาคีเครือขายโดยใชขอมูล

ที่เปนกรณีตัวอยางที่ดีสามารถที่จะนําเปนแบบอยางและพัฒนาไดมีผลการประชุมไดแนวทาง

โดยสรุป ดังนี้

Page 9: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

5

๒.๑ เมนูแนวทางเบญจวิถีจังหวัดเชียงใหม

ดานท่ี ๑ เล้ียงลูกดวยนมแมและสุขอนามัยในครัวเรอืน

๑. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม : โครงการแมลูกผูกพันสายสัมพันธแข็งแรง

๒. ความสําคัญของโครงการ

เนื่องจากปญหาและสถานการณในครอบครัวเปนครอบครัวเดี่ยว พอแมขาด

ความรูความเขาใจในการดูแลสุขภาพครรภ ดังนั้น จึงตองมีการใหความรูความเขาใจการดูแล

ครรภ การตรวจครรภ ปญหาสุขภาพจากการคัดกรอง (เจาะเลือด,วัดความดัน,ตรวจสุขภาพ)

ของอสม. ขอมูลการตกเกณฑ จปฐ. หมวดที่ ๑ ดานสุขภาพดี ๑๒ ตัวช้ีวัด ขอมูล กชช.๒ค

ดานที่ ๓ สุขภาพและอนามัย ตัวช้ีวัดที่ ๑๖ การปองกันโรคติดตอ ตัวช้ีวัดที่ ๑๘ การปลอดยา

เสพตดิ

๓. หนวยงานรับผิดชอบ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานสนับสนุน

งบประมาณตามแผนชุมชน ประกแบดวย (๑) หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ องคกรปกครอง

สวนทองทอง (๒) หนวยงานสนับสนุน คือ สป.สช. : สนับสนุนวิชาชีพ อาสาสมัคร (อสม. อพ

ม.อผส.)

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. เพื่อปองกันและแกไขปญหาสุขภาพที่เหมาะสมของชุมชน

๒. เพื่อทราบปญหาและใหความชวยเหลอื

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

ขั้นตอนการดําเนินงาน คือ (๑) เวทีประชาคม “แผนชุมชน” (๒) ชุมชนจัดทํา

แผนเสนอโครงการ (๓) อปท.จัดงบประมาณสนับสนุน (๔) ประสานภาคีเครือขายและบูรณา

การแผน (๕) ดําเนนิการ (๖) ประเมนิผลตัวช้ีวัดความสําเร็จ

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

ตัวช้ีวัด คือ (๑) จํานวนแมที่เขารวมโครงการ ฯเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียว

อยางนอย ๖ เดือน รอยละ ๖๐ (๒) จํานวนเด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย รอยละ ๑๐๐

(๓) จํานวนคนอายุ ๖ ปขึ้นไป ออกกําลังกาย สัปดาหละ ๓ วัน อยางนอยรอยละ ๖๐ (๔)

จํานวนคนที่ตอเกณฑ จปฐ. หมวด๑ ไดรับบรกิารดานสุขภาพครบถวน

๗. งบประมาณ ไมมขีอมูล

๘. ผลการดําเนินงาน ไมมขีอมูล

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ ไมมขีอมูล

Page 10: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

6

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข ไมมขีอมูล

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ ไมมขีอมูล

ดานท่ี ๒ พัฒนาอาชพีตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๑. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม การพัฒนาศักยภาพศูนยเรียนรูตามหลักเศรษฐกิจ

พอเพยีง

๒. ความสําคัญของโครงการ

เนื่องจากปจจุบันมีการใชสารเคมีในการทําการเกษตรเปนอยางมากสงผล

กระทบตอสุขภาพ/สิ่งแวดลอม/และตนทุนการผลิตจึงควรกระตุนและสงเสริมใหมีการทํา

การเกษตรอยางปลอดภัยตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีงอกีทัง้เปนแหลงเรยีนรูภูมปิญญาทองถิ่น

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

๑. หนวยงานรับผิดชอบหลัก องคกรปกครองสวนทองถิ่น

๒. หนวยงานสนับสนุน คือ (๑) กศน. : หมูหลุม, พืชสมุนไร (๒) เกษตรอําเภอ

: เมล็ดพันธุพชื (๓) มหาวทิยาลัยแมโจ : พันธุปลา (๔) ศูนยพัฒนาสังคม : โรงเรือน, พันธุสุกร,

เมล็ดพันธุพืช, วัสดุประมง : พันธุปลา (๕) บานธรรมปกรณ : ภูมิปญญา, โรงเรียนผูสูงอายุ

(๖) พัฒนาที่ดนิ : ตรวจคุณภาพดนิ และ (๗) มหาวทิยาลัยเชียงใหม : ใหความรู

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. ศูนยเรยีนรูฯมกีารสรางเครอืขายการเรยีนรูที่เขมแข็งและเปนศูนยเรียนรูที่มี

ชีวติ

๒. ชุมชนมสุีขภาพดแีละมคีวามสุข

๓. ชุมชนแกไขปญหาหนี้สนิไดโดยหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

ขั้นตอนการดําเนินงาน คือ (๑) จัดเวทีประชาคมเพื่อรวบรวมองคความรูที่

ประสบผลสําเร็จเปนรูปธรรม (๒) จัดทําหลักสูตรองคความรูจําแนกเปน “ฐานเรียนรู” (แตละ

เรื่อง/วชิา) (๓) พัฒนาวทิยากรชุมชนผูถายทอดความรู (๔) จัดทําสื่อการเรียนรู ไดแก เอกสาร,

แผนพับ,วีดิทัศน,คอมพิวเตอร เปนตน (๕) เทคโนโลยี ไดแก โปรเจคเตอร,เครื่องเสียง

,คอมพวิเตอร เปนตน (๖) การจัดกระบวนการเรยีนรู (๗) การประเมนิผล

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

Page 11: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

7

ตัวช้ีวัด คอื (๑) จํานวนองคความรูภายในศูนย (๒) จํานวนวิทยากรในศูนย (๓)

จํานวนผูรับบรกิาร (๔) ความพงึพอใจของผูรับบรกิาร

๗. ผลการดําเนินงาน ไมมขีอมูล

๘. ปจจัยแหงความสําเร็จ ไมมขีอมูล

๙. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข ไมมขีอมูล

๑๐. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

องคความรู ๑.ปลูกพืช ๒.เลี้ยงสัตว ๓.ปุยอินทรีย ๔.น้ําหมักชีวภาพ ๕.น้ําสม

ควันไม ๖.วทิยากรชุมชน ๗.ถายทอดภูมปิญญา

ดานท่ี ๓ เสรมิสรางครอบครัวอบอุน

๑. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม การขับเคลื่อนสถาบันครอบครัวโดยใชกลไก ศูนยพัฒนา

ครอบครัวในชุมชนและสภาเด็กและเยาวชน

๒. ความสําคัญของโครงการ (อยูในเอกสาร)

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

๑. หนวยงานรับผิดชอบหลัก องคปกครองสวนทองถิ่น

๒. หนวยงานสนับสนุน คอื หนวยงาน พม.และภาคีเครอืขาย

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. เพื่อเสรมิสรางความสัมพันธของสมาชิกในครอบครัวใหมากขึ้น

๒. เพื่อเสรมิคุณธรรมและจรยิธรรมใหกับชุมชน

๓. เพื่อใหคนในชุมชนไดแสดงออกถงึความกตัญู

๔. เพื่อสบืสานวัฒนธรรมประเพณทีองถิ่น

๕. เพื่อกอใหเกดิความรักความอบอุนเกดิขึ้นในครอบครัว

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๑. สํารวจและสอบถามความตองการของประชาชนในการเขารวมกจิกรรม

๒. ประชุมครัวเรือนสมาชิกศูนยพัฒนาครอบครัวในชุมชนและสภาเด็กและ

เยาวชนที่เขารวมกจิกรรมเพื่อนําเสนอขอมูลสถานการณทางสังคมและออกแบบกิจกรรมในเชิง

ปองกัน/แกไขปญหา/สงเสรมิพื้นที่สรางสรรค

๓. ประสาน/บูรณาการรวมกับภาคเีครอืขาย

๔. สนับสนุนกจิกรรมเสรมิสรางความสัมพันธในครอบครัว / สาน ๓ วัย

Page 12: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

8

๕. สนับสนุนกจิกรรมสรางสรรคสําหรับเด็ก/เยาวชน

๖. สนับสนุนกิจกรรมสงเสริมความรูฟนฟูการประกอบอาชีพระยะสั้นและ

ระยะยาว

๗.ประเมนิผล

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

๑. จํานวนครอบครัวที่เขารวมกจิกรรม ศูนยพัฒนาครอบครัวในชุมชนและสภา

เด็กและเยาวชน ไมนอยกวารอยละ ๖๐

๒. มกีลไกเฝาระวังปญหาครอบครัวและปญหาสังคม

๗. ผลการดําเนินงาน ไมมขีอมูล

๘. ปจจัยแหงความสําเร็จ ไมมขีอมูล

๙. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข ไมมขีอมูล

๑๐. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ ไมมขีอมูล

ดานท่ี ๔ สรรสรางการจัดการส่ิงแวดลอมท่ีด ี

๑. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิบบมสีวนรวมและยั่งยนื

๒. ความสําคัญของโครงการ

๑. สภาพปาไมถูกทําลาย

๒. ระบบนเิวศเปลี่ยนไป

๓. อนุรักษภูมปิญญา (ฝายแมว)

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

๑. หนวยงานรับผิดชอบหลัก คอื องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.)

๒. หนวยงานสนับสนุน คือ (๑) ชุมชนในพื้นที่ตําบลเชิงดอย (๒) เครือขายลุม

น้ํากวง

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. เพิ่มพื้นที่ปาในชุมชน

๒. การชะลอน้ําไมใหชะลางหนาดิน

๓. สรางความตระหนัก ความรวมมอื การรักษาปา

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

Page 13: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

9

๑. สรางความตระหนัก/ความรวมมือ/การดูแลรักษาปาแกประชาชนทั้งคน

ทองถิ่นและกลุมชาตพิันธุ

๒. สํารวจพื้นที่ปาถูกทําลาย

๓. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อจัดทําแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม

๔. ประสานภาคเีครอืขายเพื่อบูรณาการกจิกรรม

๕. ประชุมสมาชิกโครงการ

๖. ดําเนนิการ

๖.๑.ปลูกปา

๖.๒.สรางฝายแมว

๖.๓. ทําแนวกันไฟ

๖.๔. เวทแีลกเปลี่ยนเรยีนรูการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิบบยั่งยนื

๖.๕.กจิกรรมอื่นๆ

๗. ขยายความรวมมอื/สรางเครอืขายเพิ่มขึ้น

๘. การสงเคราะหครอบครัว กรณผูีประสบภัยธรรมชาติ

๙. ประเมนิผล

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

๑. เพิ่มพื้นที่ปา ๗๐๐ ไร

๒. เพิ่มผูเขารวมโครงการ

๓. พื้นที่ปามกีารพัฒนา ฟนฟูระบบนเิวศ

๔. ชาวบานไดรับน้ําจากธรรมชาติ

๕. มปีลาเพิ่มขึ้น

๗. ผลการดําเนินงาน ไมมขีอมูล

๘. ปจจัยแหงความสําเร็จ ไมมขีอมูล

๙. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข ไมมขีอมูล

๑๐. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ ไมมขีอมูล

Page 14: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

10

ดานท่ี ๕ สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวิีต

๑. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม กองทุนสวัสดกิารชุมชน

๒. ความสําคัญของโครงการ กองทุนที่เกิดจากการรวมตัวของประชาชนดวยความ

สมัครใจ ที่ประสงคจะดูแลกันและกันบนพื้นฐานของความเอื้ออาทรตอกัน

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

๑ฬ หนวยงานรับผิดชอบหลัก คอื องคปกครองสวนทองถิ่น

๒. หนวยงานสนับสนุน ไมมขีอมูล

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. สงเสรมิการออม

๒. เอื้ออาทรตอกัน

๓. สงเสรมิการพึ่งพาตนเองของชุมชน

๔. เพื่อจัดสวัสดกิาร

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๑. มกีารใหความรู(พระ,พมจ.)

๒. จัดตัง้กลุมแมบาน

๓. ขอตกลงของกลุม/คณะกรรมการ

๔. ขยายฐานสมาชิกโดยประธานกองทุนเริ่มจากการประชุมผูสูงอายุ

ประจําเดอืน

๕.ออมครบ ๑ ป จดทะเบยีนป ๒๕๕๓

๖.รับเงินสมทบจากรัฐบาล(ขาที่ ๒) ๗ ม.ีค.๕๔

๗.เทศบาลตําบลเชิงดอยตัง้เงินสมทบ (ขาที่ ๓)

๘.ชุมชนรวมกับภาคเอกชนทอดผาปาออมบุญ(ขาที่ ๔)

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

๑. มสีมาชิกเพิ่มขึ้นมกีารจัดสวัสดกิารเกดิ/แก/เจ็บ/ตาย

๒. รูปแบบสวัสดกิารตรงกับความตองการของสมาชิก

๗. ผลการดําเนินงาน

๘. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๙. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑๐. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

Page 15: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

11

๒.๒ เมนูแนวทางเบญจวิถี จังหวัดลําปาง

ดานท่ี ๑ เล้ียงลูกดวยนมแมและสุขอนามัยในครัวเรอืน

๑. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม “โครงการแมลูกผูกพัน สานสัมพันธครอบครัว”

๒. ความสําคัญของโครงการ

๑) การที่หญงิตัง้ครรภรูวธิกีารดูแลสุขภาพของตนเองและทารกในครรภ

๒) วัยรุนไมมีความพรอมในการตั้งครรภ ครอบครัวที่ยากจนและขาดความ

พรอมในการดูแลบุตร

๓) มีการสงเสริมการออมตั้งแตเด็กและครอบครัว การจัดสวัสดิการใหกับ

เด็กแรกคลอด

๔) เปนการสงเสรมิความสัมพันธในครอบครัว และการเลี้ยงลูกดวยนมแม

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

๑. หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ หนวยงานในสังกัด พม. บทบาทหนาที่ (๑)

การประสานงานหนวยงานในสังกัด พม. (๒) การประสานภาคีเครือขาย (๓) การประชุมทํา

ความเขาใจรวมกันถึงวัตถุประสงคโครงการ (๔) การสงเสริมสนับสนุนขอมูลวิชาการ

งบประมาณ และ (๕) การตดิตามผลการดําเนนิโครงการ/กจิกรรม

๒. หนวยงานสนับสนุน คือ หนวยงานในพื้นที่ (อปท ,สาธารณสุขอําเภอ,รพ.

สต.) บทบาทหนาที่ (๑) สนับสนุนการดําเนินโครงการทั้งกิจกรรม งบประมาณ บุคลากร วัสดุ

อุปกรณ (๒) มีสวนรวมในการดําเนินโครงการ (๓) ติดตามการดําเนินงานตามโครงการ/

กิจกรรม เพื่อทราบปญหา/อุปสรรค (๔) เสนอแนะแนวทางขั้นตอนการดําเนินงานโครงการ

เพื่อแกไขปญหา

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑) เพื่อเทิดพระเกียรติวันคลายวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจา

สริกิติิ์พระบรมราชินนีาถ

๒) เพื่อรณรงคและประชาสัมพันธการเลี้ยงดูลูกดวยนมแม

๓) เพื่อจัดตัง้ “กลุมแม” เปนรูปธรรมขึ้น

๔) เพื่อคัดเลอืกเปนอาสาสมัครนมแมในชุมชนอยางนอยหมูบานละ ๑ คน

๕) เพื่อเพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียวอยางนอย ๖ เดือน

มากกวารอยละ ๓๐

Page 16: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

12

๖) รณรงคปลูกจิตสํานึกสังคมไทยใหเล็งเห็นความสําคัญของสถาบัน

ครอบครัวและมสีวนรวมในการเลี้ยงดูเด็กและเยาวชนอยางใกลชิด

๗) เพื่อใหเกดิสายใยของความรักความผูกพันระหวางแมกับลูก

๘) เพื่อสงเสรมิการจัดสวัสดกิารในครอบครัวและชุมชน

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๑) ตัง้คณะกรรมการโครงการฯ

๒) ประชุมคณะทํางานโครงการฯ เพื่อวางแผนการดําเนินงานตามโครงการ

และมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบ

๓) ประชาสัมพันธโครงการฯ เพื่อช้ีแจงวัตถุประสงคโครงการฯ

๔) ดําเนนิโครงการ “แมลูกผูกพัน สานสัมพันธครอบครัว” ตามกิจกรรมยอย

ตาง ๆ

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

เชิงปรมิาณ : (๑) มีการจัดตั้งกลุมนมแมZ ๒) มีแมเปนอาสาสมัครนมแม

ในชุมชน อยางนอยหมูบานละ ๑ คน

เชิงคุณภาพ : มีอัตราการเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียวอยางนอย ๖ เดือน

มากกวารอยละ๓๐

๗. งบประมาณ บูรณาการรวมกันในหนวยงาน พม. และหนวยงานในพื้นที่ (อปท.)

๘. ผลการดําเนินงาน

๑) มกีารจัดตัง้กองทุนสวัสดกิารชุมชน เพื่อเด็กและเยาวชน

๒) มกีารจัดตัง้กลุมนมแม

๓) มีอัตราการเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียวอยางนอย ๖ เดือน มากกวา

๓๐%

๔) หญงิมคีรรภมสีุขภาพกาย จิตดขีึ้น สงผลตอพัฒนาการที่ดขีองแมตัง้ครรภ

๕) เกดิความผูกพันภายในครอบครัว การมสีวนรวมในการดูแลลูกรวมกัน

๖) ไดรับความรูในการดูแลแมตัง้ครรภและหลังคลอด รวมถึงโภชนาการที่ดีตอ

สุขภาพ

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑) ความรวมมือของหญิงตั้งครรภและสามี และบุคคลในครอบครัวในการ

ดูแลสุขภาพระหวางการตัง้ครรภและหลังคลอด

Page 17: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

13

๒) หนวยงานภาคทองถิ่นมีการรณรงคเรื่องการทองกอนวัยอันควรและมีการ

รณรงคการใหนมลูก

๓) อปท. มีการสงเสริมการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมในระดับครอบครัวและ

ชุมชน

๔) การตดิตามและใหกําลังใจ

๕) การอบรมใหความรู

๖) การประชุมแลกเปลี่ยนเรยีนรูอยางตอเนื่องในชุมชน

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

ปญหา คือ กลุมเปาหมายไมสามารถมารวมกิจกรรมพรอมกันไดในเวลาปกติ

แนวทางแกไข คือ จัดกิจกรรมในวันที่ ๑๒ สิงหาคม หรือวันอื่น ๆ ที่มีความเหมาะสม (ทุก

สัปดาห/วันอาทติย)

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

เปนโครงการตนแบบที่ อปท หรือหนวยงานอื่น สามารถนําไปประยุกตปรับใช

เพื่อพัฒนาชุมชนใหเกดิความยั่งยนืตอไป

ดานท่ี ๒ พัฒนาอาชพีตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๑. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการเศรษฐกจิพอเพยีงหลอเลี้ยงชีวติ

๒. ความสําคัญของโครงการ เปนการสงเสริมใหเกิดการเรียนรูในการดําเนิน

กจิกรรม และเปนศูนยเรยีนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

๑. หนวยงานรับผิดชอบหลัก คอื ศพส. อปท . สนง.เกษตร สนง.พัฒนาชุมชน

บทบาทหนาที่ คือ การสงเสริมสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง ในดานบุคลากร

งบประมาณ วัสดุอุปกรณ องคความรู การบรหิารจัดการ

๒. หนวยงานสนับสนุน ไมระบุ บทบาทหนาที่ คือ ประสานความรวมมือ

หนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ในการสนับสนุนกรดําเนินงานตามโครงการ การขยายผล

กลุมเปาหมาย และพื้นที่ดําเนนิการ

Page 18: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

14

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กิจกรรม เพื่อสงเสริมการดําเนินชีวิตตามหลัก

ปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๑. จัดเวทสีรางความเขาใจ

๒. จัดเก็บขอมูลครัวเรอืน

๓. ศกึษาวเิคราะหขอมูลครัวเรอืน

๔. จัดทําเวทคีรัวเรอืน/คัดเลอืกกลุมเปาหมาย

๕. สนับสนุนการดําเนนิกจิกรรมดานตาง ๆ ตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

๑. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายลดรายจาย รายไดเพิ่มขึ้น

๒. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายมอีาหารบรโิภค

๓. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมาย มสีุขภาพดขีึ้น

๗. งบประมาณ จํานวน ๑๘๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนแปดหมื่นบาทถวน)

๘. ผลการดําเนินงาน

๑. ชุมชนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง นําสู

การพัฒนาอาชีพอยางตอเนื่อง

๒. ผลผลติเกษตรปลอดภัย

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑. กลุมเปาหมายใหความรวมมอื

๒. ขอมูลครัวเรอืน/การวเิคราะหขอมูล

๓. การแลกเปลี่ยนเรยีนรูอยางตอเนื่อง

๔. มศูีนยเรยีนรู

๕. การตดิตามและใหกําลังใจอยางตอเนื่อง

๖. การสนับสนุนกจิกรรม

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑. ความตอเนื่องในการดําเนนิกจิกรรม

๒. การตดิตามและการแลกเปลี่ยนเรยีนรูในชุมชน

๓. สรางความตระหนักในกลุมเปาหมาย

๔. เจาหนาที่ผูรับผิดชอบตองทํางานอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ

๕. จัดทําแผนปฏบิัตริวมกับชุมชน

Page 19: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

15

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

๑. การขยายพื้นที่/กลุมเปาหมาย

๒. ศกึษาดูงานในพื้นที่อื่น (ที่เปนตนแบบ)

ดานท่ี ๓ เสรมิสรางครอบครัวอบอุน

๑. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม “สานสัมพันธรักพลังครอบครัวรวมทําความดี” ๔

กจิกรรม

๑) กจิกรรมสงเสรมิสุขภาพครอบครัวตัวอยาง

๒) กจิกรรมสงเสรมิการออม “พอหา แมเก็บ ลูกออม”

๓) กจิกรรม “ปกรก ปกรัก พทิักษสิ่งแวดลอม”

๔) กจิกรรมครอบครัวสัมพันธคน ๓ วัย

๕) กจิกรรม “บานนี้มรัีก”

๒. ความสําคัญของโครงการ

๑) เริ่มจากระดับตัวบุคคลในเรื่องของการสงเสรมิสุขภาพครอบครัวในชุมชน

๒) เสรมิสรางภูมคิุมกันและสานสัมพันธในครอบครัว

๓) เสริมสรางความม่ันคงใหกับครอบครัวโดยสงเสริมการออมใหกับ

ครอบครัว ชุมชน

๔) ตระหนักและสรางคุณคาของกระบวนการมีสวนรวมในการทํากิจกรรม

สาธารณะประโยชนในชุมชนดานตาง ๆ เชน สิ่งแวดลอม ฯลฯ

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

๑. หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ อปท. องคกรสาธารณะประโยชน/หนวยงาน

ภาคเีครือขายในระดับทองถิ่น บทบาทหนาที่ คือ (๑) สงเสริมองคความรู (๒) สงเสริม

และสนับสนุนงบประมาณ

๒. หนวยงานสนับสนุน คือ หนวยงานภาครัฐ (หนวยงานสังกัด พม.) บทบาท

หนาที ่คอื (๑) สงเสรมิ/สนับสนุนการดําเนนิงาน (๒) ประสานภาคเีครอืขาย

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑) เพื่อสรางสัมพันธภาพอันดขีองครอบครัวชุมชน

๒) เพื่อใหสมาชิกในครอบครัวไดมีสวนรวมในการทํากิจกรรมสาธารณะ

ประโยชนในชุมชนทองถิ่น

๓) เพื่อสงเสรมิการออม การจัดสวัสดกิารแกครอบครัวในระดับชุมชน

Page 20: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

16

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๑) ศกึษา/วเิคราะหขอมูลเพื่อประเมนิสถานการณในชุมชน

๒) กําหนดพื้นที่/กลุมเปาหมายในการดําเนนิการ

๓) จัดทําแผนการดําเนนิงานและประชาสัมพันธในการดําเนนิโครงการ

๔) ประสานการดําเนนิงานกจิกรรมระหวางภาคเีครอืขายในระดับทองถิ่น

๕) ดําเนนิการ

๖) ตดิตามประเมนิผล

๗) สรุปและรายงานผล

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

๑) รอยละ ๘๐ ของจํานวนกลุมเปาหมายเขารวมกจิกรรมกับชุมชน

๒) รอยละ ๘๐ ของจํานวนกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการเขารวม

กจิกรรมกับชุมชน

๓) รอยละ ๘๐ ของจํานวนกลุมเปาหมายมีกิจกรรมการออมภายใน

ครอบครัว

๗. งบประมาณ หนวยงานภาครัฐ/ภาคเอกชน/ อปท./ภาคเีครอืขายฯ

๘. ผลการดําเนินงาน

๑) เกิดปฏิสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัว และมีสัมพันธภาพความ

ผูกพันในครอบครัวชุมชนทองถิ่น

๒) เกิดกระบวนการมีสวนรวมของสมาชิกและครอบครัวในการดําเนิน

กจิกรรมสาธารณะประโยชนในชุมชนทองถิ่น

๓) เกิดการอออมเพื่อการจัดสวัสดิการแกสมาชิกและครอบครัวในระดับ

ชุมชนทองถิ่น

๔) เกดิการเปลี่ยนแปลงดานพฤติการณของสมาชิกและครอบครัวในชุมชนใน

ทศิทางที่ดขีึ้น

๕) เกดิระบบการจัดการชุมชนและสังคมแหงความเอื้ออาทร

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑) ผูนําและสมาชิกในชุมชนมสีวนรวมในการดําเนินกจิกรรมอยางตอเนื่อง

๒) การประสานงานและการประชาสัมพันธจากภาคสวนตาง ๆในชุมชน

ทองถิ่น

Page 21: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

17

๓) หนวยงานภาคทองถิ่นมีการสงเสริมการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมในระดับ

ครอบครัวและชุมชน

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑) การเช่ือมโยงและการบูรณาการทํางานระหวางหนวยงานภาครัฐ อปท.

และชุมชนทองถิ่น

๒) การจัดสรรงบประมาณที่เพยีงพอตอการดําเนนิโครงการ

๓) การประสานงานและประชาสัมพันธการดําเนนิกจิกรรมโครงการ

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

การสงเสรมิใหทองถิ่นบรรจุกิจกรรม/โครงการลงในแผนปงบประมาณทองถิ่น

เพื่อดําเนนิการขับเคลื่อนกจิกรรมอยางตอเนื่อง

ดานท่ี ๔ สรรสรางการจัดการส่ิงแวดลอมท่ีด ี

๑. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม โครงการเครือขายปาชุมชน คน ดิน น้ํา ปา อาชีพ ตําบล

เสรมิขวา)

๒. ความสําคัญของโครงการ

เพื่อฟนฟูและแกไขปญหาการตัดไมทําลายปาในชุมชนอยางมีสวนรวมยั่งยืน

จากสถานการณเมื่อป พ.ศ.๒๕๑๖ – ๒๕๑๙ มี นายทุนของจังหวัดลําปางไดเขาไปสัมปทาน

เหมอืงแรบานแมเลยีง ตําบลเสริมขวา จังหวัดลําปาง จากการทําเหมืองแร ทําใหลําน้ํา ซึ่งเปน

ลําน้ําสายหลักในการใชทําการเกษตร การบริโภคใชสอยเกิดเปนมลภาวะทํานาไมได ดื่มใชเปน

พิษ จึงเกิดการตอตานจากลุมชาวบาน จนเปนพื้นที่สีชมพูเกิดความรุนแรงมิใหดําเนินการ

เหมอืงแรไดตอไป ประกอบกับมกีลุมนายทุนในพื้นที่เขาไปตัดไมทําลายปาในพื้นที่บริเวณตนน้ํา

จากสาเหตุดังกลาว ในป ๒๕๒๐ เปนตนมาไดเกิดกลุมรักษชุมชน รักน้ํา รักปา เขารวม

กระบวนการจัดกจิกรรมของชุมชนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรม การจัดการเรื่องน้ํา เรื่องปา เรื่องที่

ทํากิน ภายใตกิจกรรม “บานจุม เมืองเย็น ”โดยการรวมตัวกันของชาวบาน ๑๒ หมูบาน ของ

ตําบล ทําใหเกิดการมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรของตําบล ดานน้ํา ปาและที่ทํากิน

เกิดความอุดมสมบูรณบนพื้นฐานความสามัคคี การวางแผนรวมกันในการจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู จนไดรับรางวัลลูกโลกสีเขียวจาก ปตท. และ

เพื่อเปนการฟนฟูแกไขปญหาตัดไมทําลายปาในชุมชนอยางมสีวนรวมและยั่งยนื

Page 22: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

18

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

๑. หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ หนวยงาน พม. องคการบริหารสวนตําบล

เสริมขวา ชุมชน ๑๒ หมูบาน บทบาทหนาที่ คือ (๑) การประชุมทําความเขาใจและขอตกลง

ระดับตําบล ระดับหมูบาน (๒) การทํากิจกรรมรวมกันในการรักษา ฟนฟูปา เชน การทําฝาย

แมว การทําแนวกันไฟ การตรวจปา การรณรงคสรางจิตสํานึก การวางแผนรวมกัน การ

ตดิตามกจิกรรมตอเนื่อง และการแลกเปลี่ยนเรยีนรู และ อบต.เสรมิขวาสนับสนุนงบประมาณ

๒. หนวยงานสนับสนุน คอื ปตท. อบต. หนวยงานพม. กองทุนสงเสริมสุขภาพ

ชุมชน บทบาทหนาที่ คือ (๑) สนับสนุนงบประมาณ (๒) สนับสนุนกิจกรรมโครงการ เชน

โครงการครอบครัวรักษโลกของศูนยฟนฟูเด็กลําปางโครงการเครือขายสรางปาสรางคน ๘๔

ตําบลวถิพีอเพยีง

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. แกไขปญหาการตัดไมทําลายปาในพื้นที ่

๒. การรวมตัวในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากร

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) การประชุมสรางความเขาใจ และทําขอตกลงระหวางชุมชนระดับตําบล

และระดับหมูบาน (๒) การจัดทําแผน กิจกรรมรวมกันในการรักษาและฟนฟูปา /การทําฝาย/

การทําแนวกันไฟ/การตรวจปา/การรณรงคสรางจิตสํานกึการอนุรักษปา ( ๓ ) ติ ด ต า ม ก า ร

ดําเนนิกจิกรรมอยางตอเนื่อง (๔) การแลกเปลี่ยนเรยีนรูรวมกัน

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑) เกิดเครือขาย กลุมอนุรักษทรัพยากรปาไมในพื้นที่ (๒) ปาคืนสภาพอุดม

สมบูรณ ชุมช่ืน แหลงน้ําพอใช (๓) เกิดแหลงอาหารในชุมชน (ตลาดธรรมชาติ) (๔) ไมใช

สารเคมใีนการเกษตร

๗. งบประมาณ ตามแตหนวยงานที่เขาดําเนินกิจกรรมกําหนดและบูรณาการในพื้นที่

รวมกัน

๘. ผลการดําเนินงาน

(๑) เกิดการการขับเคลื่อนของ ๑๒ หมูบาน ในการอนุรักษน้ํา ปา ในกิจกรรม

บานจุม เมืองเย็น (๒) เกิดการรักษชุมชนของคนในชุมชน ๑๒ หมูบาน (๓) ในป พ.ศ. ๒๔๕๗

ไดรับรางวัลลูกโลกสีเขียวในการอนุรักษและสิ่งแวดลอม การจัดการน้ํา ลําธาร ที่อยูที่ทํากิน

Page 23: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

19

(๔) เกิดกิจกรรมที่หนวยงาน และเครือขายใหการสนับสนุน และใหความสําคัญ เชน กิจกรรม

ครอบครัวรักษโลก ฯลฯ

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ชุมชนเกิดหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติรูสภาพปญหาในชุมชน (๒)

ชุมชนเห็นความสําคัญในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สรางขอตกลงรวมกัน (๓) ไดรับการ

สนับสนุนจากหลายเครือขายหนวยงาน เชน อบต. ปตท. พช. และ พม.ทั้งงบประมาณและ

กิจกรรม การประชุม การปรึกษาหารือ การวางแผนกิจกรรม และการติดตามผล (๔) ใช

ยุทธศาสตรในการจัดการพื้นที่ตําบล คอื คน ดนิ น้ํา ปาอาชีพ

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

สงเสริมความเขาใจ และปลูกจิตสํานึกการรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยาง

ตอเนื่อง ทัง้เด็ก เยาวชน ชุมชนในพื้นที่

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑) ไดรับการสนับสนุน จาก อบต. สนับสนุนงบประมาณหมูบานละ ๑๒,๐๐๐

บาท ตอป (๒) จากการไดรับรางวัลลูกโลกสีเขียว ไดรับการสนับสนุนจาก ปตท. (๓) ชุมชนใน

ตําบลมกีารพัฒนา การรักษาทรัพยากรธรรมชาตโิดยจะจัดทําโครงการโฉนดชุมชน

ดานท่ี ๕ สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวิีต

๑. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม เรยีนรูรวมกันสรางสรรคสังคม

๒. ความสําคัญของโครงการ

รูเทาทันการเปลี่ยนแปลง และสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข สภาพ

ปจจุบันมกีระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ตางคนตางรู มีปญหาเกิดขึ้น รอบตัว เชน การเมือง

การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม การศึกษา สุขภาพ ประเพณี วัฒนธรรม ทําใหคน

ไมมีความสุข สังคมวุนวาย จําเปนตองเสริมสรางการเรียนรูตลอดชีวิต ใหกับคนในชุมชนทุก

ดาน เพื่อใหรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงปรับตัวในการดํารงชีวิตไดอยางราบรื่นและมีความสุข

รวมกัน

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ อปท. หนวยงาน พม. จังหวัดลําปาง บทบาท

หนาที ่คอื บรหิารจัดการโครงการแบบมสีวนรวมของทุกภาคสวน

Page 24: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

20

หนวยงานสนับสนุน คือ ภาคีเครือขาย ภาครัฐ/ภาคเอกชน/ประชาสังคม เชน

พัฒนาชุมชน เกษตร สาธารสุข การศึกษานอกโรงเรียน หนวยงานของ พม. วัด ภาคประชาชน

(ทุกภาคสวน) บทบาทหนาที่ คือ แผนงาน /งบประมาณ และการดําเนินงาน ภายในขอบเขต

ภารกจิของหนวยงาน

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

เพื่อสงเสริมกระบวนการเรียนรูใหกับประชาชนกลุมเปาหมายระดับพื้นที่ ทั้ง

ดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ทรัพยากรสิ่งแวดลอมการศึกษา สุขภาพ และ

ศลิปะ ประเพณวีัฒนธรรม

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) ศกึษา สํารวจ สังเคราะหปญหาชุมชน (ขอมูลชุมชน)

(๒) คนหา ศักยภาพ ความตองการของชุมชน

(๓) วางแผนการดําเนนิงานอยางมสีวนรวมของทุกภาคสวน

(๔) จัดทําแผนปฏบิัตติามขัน้ตอน

(๕) ดําเนนิการ กจิกรรม/โครงการ

(๖) ตดิตามประเมนิผล

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายจาย เพิ่มรายได

เก็บออม สุขภาพดี สิ่งแวดลอมดี มีคุณธรรม ระบบการจัดการความรูคนในชุมชนมีคุณภาพ

ชีวติที่ดขีึ้น

๗. งบประมาณ -

๘ ผลการดําเนินงาน

ประชาชนทุกกลุมเปาหมาย ไดรับความรู มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ ทั้ง

ในดานสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม การเมือง การปกครอง การศึกษา สุขภาพ และศิลปะ

ประเพณวีัฒนธรรม มคีุณภาพชีวติที่ดขีึ้น ทัง้คนในครอบครัวชุมชนสังคม

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ไดรับความรวมมอื สนับสนุนจากภาคเครอืขายทุกภาคสวน

(๒) ผูนํามศัีกยภาพและจิตอาสา

(๓) การบรหิารจัดการอยางเปนระบบ

(๔) มขีอมูลที่ชัดเจน

Page 25: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

21

(๕) มีทุนทางสังคมหลากหลาย เชน กองทุนสงเสริมสวัสดิการสังคม ปราชญ

ชาวบาน ประเพณวีัฒนธรรม

(๖) ทมีงาน หนวยงาน องคกรมสีัมพันธภาพอันดี

(๗) ลงพื้นที่สรางความรู ความเขาใจ การดําเนนิงาน

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑) ความพรอมของกลุมเปาหมาย ในเรื่องเวลาที่ตองสอดคลองวิถีการ

ดํารงชีวติ

(๒) การเผยแพร ประชาสัมพันธ การสื่อสารไมทั่วถงึ

(๓) กจิกรรมไมครอบคลุมทุกพื้นที่

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑) ภาคเีครอืขายทุกภาคสวนใหความสําคัญสงเสรมิสนับสนุน และดําเนนิงาน

(๒) ชุมชนใหความสนใจ ยอมรับการแลกเปลี่ยนเรยีนรู

(๓) มศูีนยเรยีนรูเศรษฐกจิพอเพยีงในชุมชน

(๔) มสีวนรวม

(๕) กจิกรรมตอเนื่องสมํ่าเสมอ สอดคลองวถิชีีวติ

(๖) มแีผนตดิตามงานพื้นที่ตําบลตนแบบ

๒.๓ เมนูแนวทางเบญจวิถีจังหวัดลําพูน

ดานท่ี ๑ เล้ียงลูกดวยนมแมและสุขอนามัยในครัวเรอืน

๑. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม โครงการตําบลนมแมเพื่อสายใยรักแหงครอบครัว โดยมี

กิจกรรม คือ (๑) สํารวจขอมูลอนามัยแมและเด็ก (๒) ประชุมคณะทํางาน / จัดทําแผนที่

ทางเดินยุทธศาสตร (๓) พัฒนาองคความรูคณะทํางานฯ /แกนนําองคกรชุมชน (๔) เวที

ประชาคมตําบลนมแม (๕) สื่อสารกับชุมชน รณรงคประชาสัมพันธ (๖) เยี่ยมบานแบบบูรณา

การ (๗) เฝาระวังปองกันการสงเสรมิการเลี้ยงลูกดวยนมแม (๘) จัดทําสวนสมุนไพรสาธิต (๙)

จัดตั้งชมรมสายใยรักแหงครอบครัว (๑๐) มหกรรมตลาดนัดนมแม (๑๑) พัฒนาระบบบริการ

สาธารณสุข (๑๒) คนหาปราชญนมแม/ครอบครัวตนแบบ (๑๓) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู (ขวง

นมแม)

Page 26: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

22

๒. ความสําคัญของโครงการ ไมมขีอมูล

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ เทศบาลตําบลริมปง อําเภอเมืองลําพูน

บทบาทหนาที่ สนับสนุนและรวมดําเนนิงานอยางตอเนื่อง

หนวยงานสนับสนุน คือ ภาคีเครือขาย “นมแม” บทบาทการสนับสนุน คือ (๑)

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนองคความรูและวิชาการ (๒) มูลนิธิศูนยนมแม

สนับสนุนสื่อการเรียนรู (๓) กระทรวงแรงงาน สนับสนุนการสรางเสริมอาชีพ (๔) กระทรวง

พัฒนาสังคมฯ สนับสนุนการสรางเสริมอาชีพเศรษฐกิจในชุมชน/กระบวนการเรียนรู (๕)

กระทรวงมหาดไทย ประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของ (๖) กระทรวงศกึษาธิการ สนับสนุนการ

จัดกระบวนการเรียนรู/สื่อสารกับชุมชน (๗) กระทรวงเกษตรและสหกรณ สงเสริมอาชีพ

เศรษฐกจิในชุมชน

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. สรางการมีสวนรวมของทองถิ่น หนวยงานภาครัฐ ชุมชน เพื่อปกปอง

สงเสรมิสนับสนุนการเลี้ยงลกูดวยนมแม

๒. สรางเครือขายการเลี้ยงลูกดวยนมแมจากสถานบริการฯสูครัวเรือน ชุมชน

และสถานประกอบการ

๓. ขับเคลื่อนสังคมตําบลตนแบบ “นมแมเพื่อสายใยรักแหงครอบครัว”

๔. พัฒนาองคความรูและระบบบริการอนามัยแมและเด็กที่ไดมาตรฐานเพื่อ

การปกปอง สงเสรมิ สนับสนุนการเลี้ยงลูกดวยนมแม

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) แตงตั้งคณะกรรมการ/คณะทํางาน เพื่อแบงบทบาทหนาที่รับผิดชอบฝาย

ตางๆ (๒) สํารวจขอมูลดานอนามัยแมและเด็กในพื้นที่เปาหมาย เช่ือมโยงระบบขอมูลไปสูการ

ลงมือปฏิบัติในพื้นที่ และมีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันอยูเสมอ (๓) จัดทําแผนที่ทางเดิน

ยุทธศาสตรตําบลนมแมเพื่อสายใยรักแหงครอบครัว และแผนระดับปฏิบัติการเพื่อกําหนด

วิธีการทํางาน มาตรการทางวิชาการ และมาตรการทางสังคม (๔) จัดทําประชาคมตําบลแนว

ทางการดําเนินงานตําบลนมแมฯใหชุมชน และภาคีเครือขายรับทราบแนวทางการดําเนินงาน

รวมทัง้บทบาทภารกจิของฝายตางๆ (๕) สงเสริมใหชุมชนมีการประกาศใชมาตรการทางสังคม

เพื่อสงเสรมิการเลี้ยงลูกดวยนมแม (๖) รณรงคประชาสัมพันธการสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนม

Page 27: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

23

แมผานชองทาง และสื่อตางๆ เชน เสยีงตามสาย วิทยุชุมชน สปอตวิทยุเพื่อการเลี้ยงลูกนมแม

ปายคัตเอาท ประกวดการเขียนบทความ เรียงคํา คําขวัญ ภาพวาด ที่เกี่ยวของกับการเลี้ยง

ลูกดวยนมแม เปนตน (๘) รณรงคประชาสัมพันธเชิญชวนรานคาตนแบบที่ไมจําหนายนมผสม

ในการเลี้ยงทารก (๙) พัฒนาความรูเรื่องนมแมแกบุคลากรและชุมชนในทุกระดับ (๑๐) พัฒนา

ระบบการดูแลและการติดตามหญิงตั้งครรภ หญิงหลังคลอด โดยสถานบริการสาธารณสุข

อาสาสมัคร และแกนนําชุมชน (๑๑) คัดเลือก/สรรหา“ปราชญนมแม” “แม-ลูกตนแบบ”

“ครอบครัวตนแบบ” “ยุวทูตนมแม” (๑๒) พัฒนา สงเสริม สนับสนุนการดําเนินงานชมรม

สายใยรักแหงครอบครัว (๑๓) จัดทําสวนสาธิตสมุนไพรและพืชผักสวนครัวที่เปนแหลงอาหาร

สําหรับนมแม (๑๔) จัดตัง้มุมนมแมในหนวยงาน (๑๕) จัดตั้งศูนยเรียนรูชุมชนตําบลนมแมเพื่อ

สายใยรักแหงครอบครัว (๑๖) ออกเยี่ยมบานหญงิตัง้ครรภและหญงิหลังคลอดเพื่อสงเสริมการ

เลี้ยงลูกดวยนมแม (๑๗) สงเสริมการเรียนรูและการถายทอดแลกเปลี่ยน การทบทวน

ความกาวหนาการดําเนินงานทุก ๖ เดือน เพื่อปรับวิธีการทํางานใหสอดคลองและตอบสนอง

ตอปญหา (๑๘) จัดงานมหกรรมตลาดนัดนมแม เพื่อสรางกระแสทางสังคมเรื่องการเลี้ยงลูก

ดวยนมแม (๑๙) สรุปและรายงานผลการดําเนนิงาน

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑) ตําบลริมปง อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน เปนตําบลนมแมเพื่อสายใย

รักแหงครอบครัว (๒) ตําบลริมปง มีการประกาศใชมาตรการทางสังคมสงเสริมการเลี้ยงลูก

ดวยนมแม (๓) โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับตําบลเปาหมายผานการประเมินโรงพยาบาล

สายใยรักแหงครอบครัวระดับทอง (๔) รอยละ ๖๐ ทารกแรกเกิด – ต่ํากวา ๖ เดือน กินนมแม

อยางเดยีว

๗. งบประมาณ บูรณาการงบประมาณรวมกันในภาคเีครอืขายการทํางาน

๘. ผลการดําเนินงาน

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ความเขมแข็งของทองถิ่น /ทองที่ และองคกรในชุมชน (๒) มีและใชแผนที่

ทางเดินยุทธศาสตรเปนกรอบแนวทางการดําเนินงาน (๓) การทํางานแบบบูรณาการของภาคี

เครอืขาย (๔) มกีารสื่อสารกับสังคมอยางตอเนื่องดวยชองทางที่หลากหลาย

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

Page 28: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

24

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ คือ ขับเคลื่อนโครงการการพัฒนา

สตปิญญาเด็กไทย

ดานท่ี ๒ พัฒนาอาชพีตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๑. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการสงเสรมิกลุมอาชีพปนหมอลําน้ําลี้

๒. ความสําคัญของโครงการ

ภูมปิญญาทองถิ่นเปนเอกลักษณทองถิ่นนั้น สายน้ําลี้มีทรายที่พิเศษกวาแมน้ํา

อื่นๆ ในภาคเหนือ บรรพบุรุษไดใชทรายนี้ปนหมอสําหรับใชรองรับน้ําดื่ม ทําหมอยา ทํา

กระถางดอกไม ฯลฯ ซึ่งภูมิปญญานี้กําลังจะเลื่อนหายไปจากชุมชน เวลาวางจากการทํา

การเกษตรหลายคนอพยพไปคาแรงงานตางถิ่นทิ้งไวเพียงแตคนแกและเด็ก เนื่องจากรายไดไม

เพียงพอแกการยังชีพการวางงานหลังถูกเก็บเกี่ยว รวมทั้งหนี้สินที่ไมรับหมดจากชุมชนและมี

หนี้สินมากขึ้นเรื่อยๆ การรวมกลุมอาชีพยอมแสดงออกถึงความรัก ความสามัคคีของคนใน

ชุมชน ทําใหผลจากการวิจัยของ สสว.๑๐ รวมกับพี่นอง นักวิจัยทองถิ่น เพื่อการพัฒนาที่ตรง

จุดทําใหเกดิโครงการนี้ขึ้น

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ โครงการตําบลตนแบบ เทศบาลตําบลหนอง

ลอง กลุมอาชีพปนหมอสายน้ําลี้ บทบาทหนาที่ คื อ ก ลุ ม อ า ชี พ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ห ม อ แ ล ะ

อุตสาหกรรมครัวเรอืนจากทรายสานน้ําลี้ คนหาปญหา และแนวทางในการแกไขปญหาและ

แนวทางในการแกไขดวยตัวเอง สมาชิก การขยายสรางรายได และบรรจุลงในหลักสูตรของ

ชุมชน

หนวยงานสนับสนุน คือ ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๕๒ ลําพูน / บานพักเด็ก

และสตรี / เทศบาลตําบลหนองลอง บทบาทหนาที่ คือ สนับสนุนงบประมาณ การปรับปรุง

ผลติภัณฑ การตดิตามและประเมนิผล การจัดทําบัญชีในครัวเรอืน แนะนําการตลาด

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) อนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น (๒) การจัดทําบัญชีครัวเรือน (๓) การสราง

รายได (๔) การใชเวลาวางจากการเกษตร (๕) การสรางเครือขายทํางาน (๖) การนอมนําเอา

หลักเศรษฐกจิพอเพยีงมาใชชุมชน

Page 29: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

25

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) วิจัยคนหา จุดแขง จุดออนของโครงการ (๒) รับสมัครอาสาสมาชิก (๓)

ดําเนินกิจกรรม การผลิต การตลาด การปรังปรุงผลิตภัณฑ (๔) การจัดทําหลักสูตร เผยแพร

กจิกรรมในโรงงเรยีน (๕) ตดิตามและประเมนิผล

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑) รายไดเพิ่มขึ้น ๒๐ % ของครอบครัว (๒) หลักสูตรสถานศึกษามีการจัดทํา

หมอดินสายน้ําลี้ จํานวน ๓ โรงเรียน (๓) จํานวนสมาชิกเพิ่มขึ้น ๕๐% (๔) มีกาจัดทําบัญชี

ครัวเรอืนทุกครอบครัว

๗. งบประมาณ ๕๔,๐๐๐ บาท

๘. ผลการดําเนินงาน

๑. มกีารสรางเครอืขายระหวางกลุมอาชีพ

๒. มกีารสรางหลักสูตรจํานวน ๕ หลักสูตรการปนหมอ

๓. มกีารจัดทําบัญชีครัวเรอืนทุกคนในกลุมสมาชิก

๔. มกีารปรับปรุงผลติภัณฑใหเหมาะสมกับตลาด

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑. การคนหาจุดดอย จุดเดน ดวยการวจัิย

๒. ชุมชนมจิีตสํานกึในการอนุรักษภูมปิญญาของตนเอง

๓. การสรางคุณภาพชีวติที่ดจีากรายไดและสุขภาพที่ดขีึ้น

๔. การใหความสําคัญของการประสานระหวางหนวยงานรัฐในการพัฒนา

๕. การตรวจสอบตดิตามอยางตอเนื่อง

๖. การประสานรับไวพัฒนากลุมจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑. ผลิตภัณฑไมทันสมัยตามความตองการสมัยใหม แนวทางปรับปรุง

ผลติภัณฑเพิ่มเตมิ

๒. ขาดการจัดการดานศูนยเรยีนรูชุมชน แนวทางจัดตัง้ใหเปนโรงเรยีนชุมชน

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

๑. ควรจัดเปนแหลงเรยีนรูระดับสูงขึ้นเพื่ออนุรักษภูมปิญญาจงได

๒. ทองถิ่นบรรลุโครงการไวในแผนพัฒนาทองถิ่นตนเอง

๓. ขยายหลักสูตรสูชุมชน โรงเรยีน หรอืผูที่สนใจเพิ่มเตมิ

Page 30: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

26

ดานท่ี ๓ เสรมิสรางครอบครัวอบอุน

๑. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม กองทุนสวัสดกิารชุมชนตําบลรมิปง

๒. ความสําคัญของโครงการ

ตําบลริมปงเปนตําบลหนึ่งที่ประชาการสวนใหญมีอาชีพเกษตร ประชาชนมี

รายไดนอย ขาดหลักประกันในการดํารงชีวิตและประสบปญหาทางดานสังคม เทศบาลตําบล

ริมปงรวมกับหนวยงานองคกรชุมชนไดเห็นความสําคัญในการแกไขปญหาโดยใชแนวคิด

ประชาชนมสีวนรวม กอใหเกดิการจัดสวัสดกิารใหกับสมาชิกและผูดอยโอกาส

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ คณะกรรมการกองทุนสวัสดิการ บทบาทหนาที ่

บรหิารกองทุนใหเปนไปตามวัตถุประสงค

หนวยงานสนับสนุน คือ เทศบาลตําบลริมปง พมจ. พอช. รัฐบาล บทบาท

หนาที ่คอื ใหการสนับสนุนงบประมาณวชิาการ

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กิจกรรม จัดสวัสดิการใหกับสมาชิกและ

ผูดอยโอกาส

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) ตั้งคณะแกนนํา (๒) ศึกษาดูงานรวบรวมขอมูล (๓) เปดเวทีประชาชนรับ

ฟงความคิดเห็นทุกภาคสวน(๔) จัดตั้งคณะกรรมการ(๕)ประชาสัมพันธโครงการ(๖) เปดรับ

สมัครสามขกิดําเนนิการตามแผน(๗) ประชาชนตดิตามทบทวน ประเมนิผลและเรยีนรูรวมกัน

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

๑ ชุมชนรวมกันสรางกองทุนสวัสดิการกอใหเกิดความม่ันคงในชีวิต เกิดความ

เอื้ออาทรซึ่งกันละกัน

๗. งบประมาณ สมาชิก เทศบาล รัฐบาล

๘. ผลการดําเนินงาน

- เปนไปตามเปาหมายมีสมาชิก ๑,๕๐๓ จายสวัสดิการตามระเบียบของ

กองทุน

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

- มคีณะกรรมการที่มคีวามตัง้ใจ

- นโยบายภาครัฐ

- องคปกครองสวนทองถิ่นใหการสนับสนุน

Page 31: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

27

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

- สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปมุงแตงประโยชนสวนตัวไมคอยเสยีสละ

- นโยบายของภาครัฐ หนวยงานของรัฐไมมคีวามชัดเจน

- งบประมาณการสนับสนุนไมแนนอน

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

- กองทุนสวัสดกิารชุมชนมโีอกาสที่จะตอยอดไปสูกระบวนการแกไขปญหาอื่น

ๆ ของสังคม หากกองทุนสวัสดิการมีความม่ันคง มีงบประมาณตองเปนที่ยอมรับเพื่อแกไข

ปญหาอยาง อื่น ๆ ตอไป

ดานที ๔ สรรสรางการจัดการส่ิงแวดลอมท่ีด ี

๑. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม โครงการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในเขตเทศบาลตําบล

รมิปง กิจกรรม คือ (๑) สํารวจชุมชนและศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ (๒) คืนขอมูลใหกับผูนํา

ชุมชน/องคกรชุมชน /ชุมชน (๓) จัดเวทีเสวนาสรางความเขาใจรวมกัน (๔) จัดกิจกรรม

แลกเปลี่ยนเรียนรู/ศึกษาดูงาน (๕) สื่อสารกับชุมชน รณรงคประชาสัมพันธ (๖) ติดตาม

ประเมนิผลการทํางาน (๗) สรุปและรายงานผลการดําเนนิงาน

๒. ความสําคัญของโครงการ

ในอดตีสังคมไทยเปนสังคมเกษตรกรรม มปีระชากรไมมาก การดํารงชีวติของ

ผูคนไมคอยสลับซับซอน กฎเกณฑที่ชวยใหสังคมอยูรวมกันอยางผาสุกก็ใชเพียงจารีตประเพณ ี

ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดตอกันมาจากบรรพบุรุษ แตในชวงทศวรรษที่ผานมา

ประเทศไทยมีการพัฒนาเปนเมืองมากขึ้น การพัฒนาทางดานเศรษฐกิจเติบโตอยางรวดเร็ว

ทําใหความตองการดานผลผลิตและการบริโภคของประชาชนมีมากขึ้นเปนเงาตามตัว

เชนเดียวกับภาคอุตสาหกรรมที่มีการเจริญเติบโตมากกวา ภาคเศรษฐกิจอื่นของประเทศ

ความเจรญิเตบิโตดังกลาวกอใหเกดิปญหาตาง ๆ มากมายตามมา รวมทั้งความเสื่อมโทรมของ

สภาพสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ เกิดปญหาเหตุรําคาญดานมลพิษบอย และมีความ

รุนแรงมากขึ้น ซึ่งจะนําไปสูอันตรายตอสุขภาพของประชาชนในชุมชน จากการศึกษาพบวา

มีปญหาเหตุรําคาญเกิดขึ้นทั่วประเทศ โดยมีสาเหตุมาจากกลิ่น ฝุนละออง เสียงดัง น้ําเสีย

สารพิษ และขยะ ซึ่งมีแหลงกําเนิดปญหามาจากกิจการที่เปนอันตรายแกสุขภาพ ตาม พรบ.

การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ โดยกิจการ ๑๐ อันดับแรกที่กอปญหาเหตุรําคาญมากที่สุดมี

Page 32: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

28

ดังนี้ ๑.การเลี้ยงสัตว ๒.การผลิตและจําหนายอาหาร ๓.โรงฆาสัตว ๔.รานซอมเครื่องยนต

และรถยนต ๕.การประดิษฐทองรูปพรรณ ๖.อาคารพาณิชยและที่พักอาศัย ๗.การประดิษฐ

สิ่งของเครื่องใช ๘.การเคลือบ ชุบ และหลอมโลหะ ๙.การเช่ือม ปม รีด คลึง ตัด ขัด เจาะ

โลหะ ๑๐.การปน ยอมและทอผา (สถานการณดานอนามัยสิ่งแวดลอม,๒๕๔๒ )ในการแกไข

ปญหาเหตุรําคาญจากมลพิษ ตองใชมาตรการหลายๆ อยางที่จะปองกันและปราบปรามการ

ฝาฝนกฎหมาย อยางไรก็ตามการใหคําแนะนําและการอบรมผูกอปญหาหรือผูประกอบการ

จะเปนกระบวนการที่จะสรางความตระหนักใหแกผูกอเหตุไดดีกวาการใชมาตรการทาง

กฎหมายอยางทันที เพื่อเปนการลดระดับความเสี่ยงและคุมครองสุขภาพของประชาชน พรบ.

การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ จึงไดบัญญัตแิหลงกําเนดิหรอืกจิกรรมใด ๆ ที่จะกอใหเกิดปญหา

เหตุรําคาญไว ๕ ประการ คือ ๑.แหลงน้ํา ทางระบายน้ํา ที่อาบน้ํา สวม หรือที่ใสมูล หรือเถา

หรือสถานที่อื่นใด หรือละอองเปนพิษ หรือเปน หรือนาจะเปนที่เพาะพันธุพาหะนําโรค หรือ

กอใหเกดิความเสื่อม หรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ ๒.การเลี้ยงสัตวในที่หรือโดยวิธีใด หรือ

มจํีานวนเกนิสมควรจนเปนเหตุใหเสื่อม หรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ ๓.อาคารอันเปนที่อยู

ของคนหรือสัตว โรงงานหรือสถานที่ประกอบการใด ไมมีการระบายอากาศ การระบายน้ํา

การกําจัดสิ่งปฏิกูล หรือการควบคุมสารเปนพิษ หรือมีแตไมมีการควบคุมใหปราศจากกลิ่น

เหม็น หรอืละอองสารเปนพษิอยางพอเพยีงจนเปนเหตุใหเสื่อมหรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ

๔.การกระทําใด ๆ เปนเหตุใหเกิดกลิ่น แสง รังสี เสียง ความรอน สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน

ฝุนละออง เขมา เถา หรือกรณีอื่นใด จนเปนเหตุใหเสื่อม หรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ ๕.

เหตุอื่นใดที่รัฐมนตรกีําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งกฏหมายไดกําหนดใหราชการ

สวนทองถิ่น และหนวยงานดานสาธารณสุข มีอํานาจหนาที่ตรวจสอบ และควบคุมปญหา

ดังกลาว

ตําบลริมปง อําเภอเมืองลําพูน ก็มีสภาพปญหาทางดานการสาธารณสุขและ

สิ่งแวดลอมเชนเดียวกัน โดยเฉพาะปญหาเหตุรําคาญ โดยมีสาเหตุมาจากกลิ่นจากการเลี้ยง

สัตว (ไก, สุกร) ฝุนละออง เสียงดัง น้ําเสีย สารพิษ และขยะ ซึ่งมีแหลงกําเนิดปญหามาจาก

กิจการที่เปนอันตรายแกสุขภาพ ตาม พรบ. การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ โดยผูที่ไดรับ

ผลกระทบจากเหตุรําคาญเขามารองเรียนที่เทศบาลตําบลริมปง ทั้งทางวาจาและทางลาย

Page 33: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

29

ลักษณอักษร โดยทางเทศบาลตําบลริมปงไดสงเจาหนาที่เขาไปดําเนินการตรวจสอบเพื่อหา

ขอเท็จจริงและหาแนวทางแกไข ก็สามารถแกไขปญหาไดในระดับหนึ่ง จากการวิเคราะหสรุป

บทเรยีนการดําเนนิงานที่ผานมา พบวา การแกไขปญหาเหตุรําคาญขาดความตอตอเนื่อง และ

ขาดการเช่ือมโยงขอมูลกับเครือขายองคกรในชุมชน ทําใหขาดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

ดังนัน้ ทางเทศบาลตําบลรมิปงจึงไดจัดทําโครงการแกไขปญหาเหตุรําคาญ เพื่อหารูปแบบแนว

ทางการดําเนินงานแกไขปญหาเหตุรําคาญโดยอาศัยเครือขายการมีสวนรวมขององคกรใน

ชุมชนและจากกลุมผูประกอบกิจการเพื่อใหการดําเนินงานมีความตอเนื่องและมีความยั่งยืน

ตอไป

๓. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก คือ เทศบาลตําบลริมปง อําเภอเมืองลําพูน

บทบาทหนาที่ คอื เปนแกนนําหลักสนับสนุนและรวมดําเนนิงานอยางตอเนื่อง

หนวยงานสนับสนุน คือ (๑) สํานักงานพลังงานจังหวัดลําพูน สนับสนุนองค

ความรูและวชิาการ (๒) กระทรวงเกษตรและสหกรณ สงเสรมิอาชีพเศรษฐกจิในชุมชน

๔. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อหารูปแบบแนวทางการดําเนนิงานแกไขปญหาเหตุรําคาญโดยอาศัย

เครือขายการมีสวนรวมขององคกรในชุมชนและจากกลุมผูประกอบกิจการ(๒) เพื่อสราง

เครือขายการดําเนินงานแกไขปญหาเหตุรําคาญในชุมชน (๓)เพื่อใหสามารถแกไขปญหาเหตุ

รําคาญไดอยางตอเนื่องและมคีวามยั่งยนื

๕. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)จัดประชุมเตรยีมความพรอมเครอืขายองคกรในชุมชนและตัวแทนกลุมผู

ประกอบกิจการเลี้ยงสัตวเพื่อทบทวนการดําเนินงานที่ผานมาและขอความรวมมือในการเฝา

ระวังเหตุรําคาญ ในชุมชน (๒)จัดกจิกรรมทบทวนความรูใหกับผูประกอบการเลี้ยงสัตวเกี่ยวกับ

การเลี้ยงสัตวที่ไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ระยะเวลา ๒ วัน (๓) ติดตามผลการดําเนินงาน

เพื่อแกไขปญหาเหตุรําคาญในชุมชน (๔)สรุปและรายงานผลการดําเนนิงาน

๖. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

๑. ไดรูปแบบการแกไขปญหาเหตุรําคาญในเขตเทศบาลตําบลรมิปง

๒. จํานวนเรื่องรองเรยีนจากเหตุรําคาญลดลง

๗. งบประมาณ บูรณาการงบประมาณรวมกันในภาคเีครอืขายการทํางาน

Page 34: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

30

๘. ผลการดําเนินงาน (๑)มีผูเลี้ยงสุกรแบบหมูหลุมและใหอาหารแบบธรรมชาติ

รวมกับการใชจุลินทรียทองถิ่น จํานวน ๓ ราย (๒) มีผูเลี้ยงสุกรโดยกําจัดกลิ่นมูลสุกรโดยใช

บอแกสชีวภาพ จํานวน ๖ บอ (๙ ราย)

๙. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ความเขมแข็งของทองถิ่น /ทองที่ และองคกรในชุมชน (๒)การทํางานแบบ

บูรณาการของภาคเีครอืขาย (๓)มกีารสื่อสารกับสังคมอยางตอเนื่องดวยชองทางที่หลากหลาย

๑๐. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

ขับเคลื่อนโครงการ ขยายใหครอบคลุมทุกหลังคาเรือนในปงบประมาณ

๒๕๕๕

ดานท่ี ๕ สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวิีต

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการปรับปรุงพื้นฐานวชิาการเด็กและเยาวชน (พี่สอน

นอง)

๓. ความสําคัญของโครงการ

การศึกษาถือไดวาเปนเครื่องมือของชาติ ตําบลหนองหลมขาดโรงเรียนและ

โรงพยาบาลประจําอําเภอทําใหเด็ก ๆ ขาดโอกาสทางการศึกษาที่ดี การกวดวิชาในเมืองของ

ผูปกครอง ในแตละปเปนจํานวนเงินหลายบาท ผูปกครองสวนใหญเปนเกษตรกรรายไดนอยทํา

ใหคุณภาพดานดานการศกึษาดอยกวาที่อื่น ๆ

เด็กและเยาวชนถูกหลอกกลวงโดยยาเสพติด เกมสและสิ่งยั่วยวนทางเพศทํา

ใหใชเวลาไปกับเรื่องที่ไมพัฒนาเปนปญหาทางสังคม

ทําใหชุมชนปรึกษากันวาลูกหลานบานเราควนไดรับการศึกษาที่ดีกวานี้ จึงทํา

ใหรับสมัครผูมีจิตอาสาที่ประสบความสําเร็จในการสอบมาสอนนอง ๆ ที่ไมมีโอกาสในการ

เรยีนรู เรื่อง ตาง ๆ เชน ดนตร ี/ กฬีา / วทิยาศาสตร

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตําบลหนองลอง

โครงการตําบลตนแบบเทศบาลตําบลหนองลอง บทบาทหนาที่ คือ สนับสนุนให เด็กและ

Page 35: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

31

เยาวชนรวมกลุมการสรางคุณคาของการมีจิตอาสา การจัดกิจกรรมตามความสนใจเด็ก ๆ

และเยาวชน ตดิตาม ประเมนิผล ปรับปรุงกิจกรรม

หนวยงานสนับสนุน ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๕๒ ลําพูน / เทศบาลตําบล

หนองลอง มีบทบาทหนาที่ คือ สงเสริมแนะนํากระบวนการดําเนินโครงการในรูปแบบของ

บุคลากร งบประมาณ องคความรู ตดิตามและประเมนิผลกจิกรรม

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. สรางจิตอาสาแกคนในชุมชน สํานกึรักบานเกดิ

๒. สรางคุณภาพการศกึษาดวยการเรยีนรูตลอดชีวติ

๓. การพัฒนาเด็กและเยาวชนคนในชุมชนมกีารเรยีนรูรวมกัน

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)วจัิยคนหาจุดรวม จุดด ีจุดดอยของชุมชน ดานการเรยีนรูตลอดชีวติ (๒)รับ

สมัครผูมีจิตอาสาในแตละดาน เชน ดนตรี วิชาการ ฯลฯ (๓)รับสมัครเด็กและเยาวชนผูสนใจ

เรยีนรู (๔)ดําเนนิกจิกรรมตามวัตถุประสงค (๕)ตดิตามประเมนิผล

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑)จํานวนผูมจิีตอาสาในการถายทอดเพิ่มขึ้น ๑๐ % (๒)ผลการเรยีนของเด็กและ

เยาวชนดีขึ้น ๒๐ % (๓)เด็กและเยาวชนสอบติดมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น ๙๐ % (๔)รอยละ ๖๐

ทารกแรกเกดิ – ต่ํากวา ๖ เดอืน กนินมแมอยางเดยีว

๘. งบประมาณ ๔๐,๐๐๐ บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

๑. มลีานกจิกรรมเกดิขึ้นกวา ๒๐ ลาน ทัง้ตําบล

๒. มกีารสอบเขามหาวทิยาลัยมากขึ้น

๓. มกีารสมัครมาเปนอาสาสมัครสอนรุนนองมากขึ้นทุกป

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑. ความภาคภูมใิจของอาสาสมัครที่ไดรับจากชุมชน

๒. ความสนใจของเด็กและเยาวชนในสิ่งที่สนใจอยากเรยีนรู

๓. การสงเสรมิผูนําในชุมชนในการพัฒนา

Page 36: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

32

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

โรงเรยีนในระบบมอบหมายงานนอกเวลาแกเด็กและเยาวชนทําใหไมสามารถที่

จะมาดําเนนิกจิกรรมที่สนใจ เชน ดนตรี กีฬา ไดอาสาสมัคร (รุนพี่ตองเดินทางไกลในการกลับ

ภูมลิําเนา)

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

กิจกรรมมีความหลากหลาย ตามความสนใจเด็กและเยาวชน รวมทั้งคนใน

ชุมชนรวมกันทองถิ่นใหความสนใจบรรจุลงในแผนพัฒนาของทองถิ่นเอง

๒.๔ เมนูเบญจวถีิจังหวัดแมฮองสอน

ดานท่ี ๑ เล้ียงลูกดวยนมแมและสุขอนามัยในครัวเรอืน ๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม การพัฒนาศักยภาพผูปกครองและผูดูแล เด็กเพื่อ

สงเสรมิภาวะโภชนาการเด็กตําบลแมสะเรยีง

๓. ความสําคัญของโครงการ ลดปญหาภาวะโภชนาการในเด็กและสงเสริมให

ผูปกครองและผูดูแลเด็กมสีวนรวมในกจิกรรม

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๔๓ จังหวัดแมฮองสอน มี

บทบาทหนาที่ (๑)ประสานภาคเีครอืขาย (๒) สนับสนุนงบประมาณ (๓) ลงพื้นที่หาขอมูลในแต

ละชุมชน

หนวยงานสนับสนุน โรงพยาบาลแมสะเรียง บทบาทหนาที่คือ สนับสนุน

วทิยากร รวมลงพื้นที่หาขอมูล

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อลดปญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

(๒)เพื่อสงเสรมิใหผูปกครองและผูดูแลเด็กมสีวนรวมในการแกไขในปญหา

โภชนาการในเด็ก

Page 37: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

33

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)ประเมินตัว ช้ีวัดตาม จปฐ. ในหมวดสุขภาพดี (๒)รวบรวมขอมูล

กลุมเปาหมายที่ตกเกณฑจปฐ. ในหมวดสุขภาพดี (๓) จัดประชุมกลุมและอบรมใหความรูดาน

โภชนาการแกผูปกครองและผูดูแลเด็ก จํานวน ๒ วัน (๔) ดําเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว (๕)

จัดรวบรวมเอกสารสรุปรายงานผลการดําเนนิงานกจิกรรม

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑)จัดอบรมใหความรูที่เกี่ยวกับภาวะโภชนาการแกกลุมผูปกครองและผูดูแล

เด็ก (๒)ผูปกครองสามารถนําความรูไปใชในการสงเสรมิภาวะโภชนาการเด็ก

๘. งบประมาณ จาก ศพส. หนวยที่ ๔๓ จังหวัดแมฮองสอน

๙. ผลการดําเนินงาน ผูปกครองและเด็กไดเขารวมอบรมไดรับความรูเกี่ยวกับเรื่อง

โภชนาการ

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑. ผูนําเขมแข็ง (อปท. กํานัน ผูใหญบาน ตัวแทนกลุม )

๒. ทมีงานเจาหนาที่ ศพส. ภาคเครอืขาย ทมี C ทมีงานในพื้นที่ประชาชน

๓. กลุมเปาหมาย ทุนทางสังคมในพื้นที่และการประชาสัมพันธในโครงการ

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑. การใหความรูดานโภชนาการแกผูปกครอง

๒. สํารวจขอมูลปญหาของบุคลากร

๓. ใหคําปรกึษาแนะนําในการักษาสุขภาพ อนามัยที่ด ี

๔. ตดิตามและประเมนิผล

๕. สงเสรมิและมกีารจัดกจิกรรมการออกกําลังกายรวมกัน

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

มีการจัดอบรมใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับนมแมในครอบครัวและรณรงค

ประชาสัมพันธใหชุมชนเลี้ยงลูกดวยนมแม

ดานท่ี ๒ พัฒนาอาชพีตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม สงเสรมิสนับสนุนเพื่อพัฒนาวถิชีีวติบนความพอเพยีง

๓. ความสําคัญของโครงการ

Page 38: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

34

จากการที่สังคมในปจจุบันมกีารเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดเวลา การรับ

คานยิมและวัฒนธรรมจากภายนอกสูชุมชนในทางที่ผิดทําใหหลายชุมชนหลงใหลไปตามกระแส

นยิม โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่อยูในวัยศกึษาและไมอยูในวัยศึกษา ทําใหครอบครัวตองแบก

ภาระคาใชจายเพิ่มขึ้นอยางหลกีเลี่ยงไมได หลาย ๆ ครอบครัวตองทํางานเพิ่มขึ้น โดยเปดพื้นที่

เพื่อทําการเกษตรใหมากขึ้น เพื่อไดรายไดเพิ่ม บางครอบครัวตองออกไปทํางานตางจังหวัด

เพื่อใหมีรายไดพอเพียงกับการใชจายที่ฟุมเฟอย เชน เสื้อผา อุปกรณอํานวยความสะดวกตาง

ๆ อาหารที่บริโภคเปนประจําที่มีราคาแพงโดยหลงลืมไปวามีสิ่งดี ๆ อยูในชุมชน ทั้งพืชผักสวน

ครัว พืชสมุนไพรอื่น ๆ อันจะชวยใหลดภาระคาใชจายของครอบครัวไดเปนอยางดี วิถีชีวิต

ชุมชนที่มคีวามเอื้ออาทร เอื้อเฟอเผ่ือแผเกื้อกูล แบงปนกันและกัน กลายเปนตางคนตางอยู มุง

แตจะเพิ่มรายไดจนลมืความสัมพันธ วัฒนธรรมประเพณอีันดงีามของชุมชนไป

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๔๓ จังหวัดแมฮองสอน

บทบาทหนาที่ คอื เปนภารกจิหลักในการขับเคลื่อนโครงการสงเสรมิสนับสนุน

เพื่อพัฒนาวถิชีีวติบนความพอเพยีง ประสานภาคีเครือขาย เตรียมขอมูล เตรียมกลุมเปาหมาย

เตรยีมสถานที่ ดําเนนิกจิกรรม

หนวยงานสนับสนุน เกษตรอําเภอ บทบาทหนาที่คือ สนับสนุนดานวิชาการ

เตรยีมกลุมเปาหมาย

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อใหครัวเรอืนและชุมชนไดเรยีนรูถงึการดํารงชีวติตามแนวเศรษฐกจิ

พอเพยีง (๒)เพื่อใหครัวเรอืนและชุมชนไดเรยีนรูถงึการพึ่งพาตนเองมากกวาการพึ่งพาภายนอก

(๓)เพื่อใหครัวเรือนและชุมชนไดนําแนวเศรษฐกิจพอเพียงไปเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต

(๔)เพื่อเปนการเพิ่มรายไดลดรายจายจากการดําเนนิกจิกรรมตางๆ ที่เหมาะสม

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กิจกรรม ใหความรูดานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

แกกลุมเปาหมาย

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ กลุมเปาหมายมรีายไดเพิ่มขึ้น

๘. งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาทถวน)

๙. ผลการดําเนินงาน

ประชาชนกลุมเปาหมายตามโครงการสงเสริมสนับสนุนเพื่อพัฒนาวิถีชีวิต

ชุมชนบนความพอเพยีง จํานวน ๒๐ ครัวเรอืน มคีวามรูความเขาใจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

Page 39: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

35

พอเพียง สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน และเผยแผความรูไปสู ชุมชนอื่น ๆ และเปน

แบบอยาง(เปนตนแบบใหกับชุมชนอื่น ๆได )

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

ผูนําชุมชนเขมแข็ง อปท. กํานัน ผูใหญบาน ตัวแทนกลุม ทีมงานเจาหนาที่

ศพส. เครือขายทีม C หนวยงานในพื้นที่ ประชาชน/กลุมเปาหมาย ทุนทางสังคมในพื้นที่ และ

การประชาสัมพันธโครงการ

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑)คน = การศึกษาความรู พื้นฐานของประชาชนกลุมเปาหมาย มีการศึกษา

นอย (๒)สื่อและภาษา = มคีวามแตกตางหลากหลาย

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑)มกีารสรางทักษะใหกับกลุมเปาหมายใหเกดิความชํานาญ (๒)กระจาย

ขยายเครอืขายใหเกิดผลเปนรูปธรรม (๓)มีการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุมเปาหมาย

กับกลุมภาคเีครอืขายและผูมสีวนไดเสยีในชุมชน/ หมูบาน (๔)ประชาสัมพันธ

ดานท่ี ๓ เสรมิสรางครอบครัวอบอุน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการเขาคายคุณธรรมเด็ก เยาวชน

๓. ความสําคัญของโครงการ

ปลูกฝงใหเด็กเยาวชนเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมมากขึ้น หางไกลจากสิ่งเสพ

ตดิ เช่ือฟงคําสั่งสอนของผูใหญและภาคภูมใิจในวัฒนธรรม ประเพณขีองตนเอง

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๔๓ จังหวัดแมฮองสอน

บทบาทหนาที ่ ศกึษาคนหารวบรวมขอมูล ระดมเวทสีรางความเขาใจ

ประสานองคกรเครือขายและกลุมเปาหมายเพื่อเสนอแผนงานกิจกรรม ดําเนินงานตาม

แผนงานกรอบกจิกรรม สังเกต ตดิตามผลการดําเนนิงานประเมนิผล สรุปผลการรายงาน

หนวยงานสนับสนุน เทศบาลตําบลแมลานอย

บทบาทหนาที ่ จัดทําโครงการตามกรอบกจิกรรม ประสานกลุมเปาหมาย

สถานที่ วทิยากรดําเนนิงานตามแผน/กกิรรม จัดทําหลักสูตรการฝกอบรม

Page 40: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

36

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อใหเด็ก/เยาวชน เปนผูมคีุณธรรมจรยิธรรม (๒)เพื่อใหเด็ก/เยาวชน ม ี

คานิยมที่พึ่งประสงค ๘ ประการ (๓)เพื่อใหเด็ก/เยาวชน หางไกลจากสิงเสพติด (๔)เพื่อใหมี

ความภาคภูมใิจวัฒนธรรมประเพณขีองตนเอง (๕)เพื่อใหมคีวามออนนอมถอมตน เช่ือฟงคําสั่ง

สอนของผูใหญ

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)คนหาศักยภาพของชุมชนและกลุมเปาหมาย (๒)หาแนวทางแกไขปญหา

ของกลุมเปาหมาย (๓)ประสานงานกับกลุมเปาหมายและผูนําหมูบาน (๔)เตรียมกลุมเปาหมาย

เตรียมหลักสูตรการฝกอบรม (๕)ประสานงานจัดหาวิทยากร (๖)ประสานวัสดุอุปกรณและ

สถานที ่

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ เด็กและเยาวชนมพีฤตกิรรมดขีึ้น

๘. งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาทถวน)

๙. ผลการดําเนินงาน

(๑)เด็กและเยาวชนเปนผูมคีุณธรรมจรยิธรรม (๒)เด็กและเยาวชนมคีานยิมที่

พึ่งประสงค ๘ ประการ (๓)เด็กและเยาวชนหางไกลยาเสพตดิ (๔)มคีวามออนนอมถอมตน เช่ือ

ฟงคําสั่งสอนของผูใหญ (๕)มคีวามภาคภูมใิจในวัฒนธรรมในประเพณขีองตนเอง

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ (๑) ผูนําเขมแข็ง (อปท. กํานัน ผูใหญบาน ตัวแทนกลุม)

(๒)ทีมงานเจาหนาที่ ศพส. ภาคเครือขาย ทีม C ทีมงานในพื้นที่ประชาชน (๓) กลุมเปาหมาย

ทุนทางสังคมในพื้นที่และการประชาสัมพันธในโครงการ

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑)กลุมเปาหมาย ภาคีเครือขาย เขารวมประชุมไมตอเนื่องไมกลาแสดงความ

คิดเห็นทําใหไดรับขอมูลที่เปนจริง ที่ไมสมบูรณและเปนปจจุบัน การสื่อสารประชาสัมพันธใน

กลุมลาชาขาดการดําเนนิงานกจิกรรมตอเนื่องอยางแทจรงิ

(๒)ประชาชน / กลุมเปาหมาย ผูรับบริการขาดความรูความเขาใจในกิจกรรม

ขาดการมสีวนรวมในกจิกรรม เชน การเสนอความคดิเห็น การเขารวมกจิกรรมกลุม

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

จัดคายคุณธรรม เด็ก เยาวชน โดยเด็กและเยาวชน แกนนําที่ผานการเขาคาย

ครัง้ที่ ๑/๕๔ เพื่อนําความรูที่ไดกลับมาถายทอดใหกับกลุมเปาหมายเด็กและเยาชนในพื้นที่

Page 41: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

37

ดานท่ี ๔ สรรสรางการจัดการส่ิงแวดลอมท่ีด ี

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม โครงการสงเสริมการปลูกกาแฟ ณ บานนาเจ็ดลอก

ตําบลผาบอง อําเภอเมอืงแมฮองสอน จังหวัดแมฮองสอน

๓. ความสําคัญของโครงการ

สงเสริมชุมชนมีสวนรวมในการหาแนวทางแกไข ปญหาดานสิ่งแวดลอมที่อาจ

เกดิขึ้นกับชุมชนในอนาคต และมอีาชีพม่ันคง ลดการทําไรเลื่อนลอย

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๔๓ จังหวัดแมฮองสอน

บทบาทหนาที ่ ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ / สนับสนุนงบประมาณ

หนวยงานสนับสนุน องคการบรหิารสวนตําบลผาบอง

บทบาทหนาที ่ เตรยีมพื้นที่ เตรยีมกลุมเปาหมาย

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อใหชาวบานมรีายไดเพิ่มขึ้น (๒)เพื่อสงเสรมิใหชุมชนบนพื้นที่สูงมอีาชีพ

ม่ันคงลดการทําไรเลื่อนลอย (๓) เพื่อสงเสริมชุมชนมีสวนรวมในการหาแนวทางแกไขปญหาที่

อาจเกดิขึ้นกับชุมชนในอนาคต

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)ศกึษาสภาพปญหาและความตองการของชุมชน (๒) ประชุมช้ีแจง

วัตถุประสงคของโครงการ(๓)ดําเนนิการตามแผน การปลูกกาแฟ (๔) สรุปและรายงานผล

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

กลุมเปาหมายมทีัศนคตทิี่ดตีอการรักษาอนุรักษสิ่งแวดลอมปาไม

ทรัพยากรธรรมชาติ

๘. งบประมาณ ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่๔๓จังหวัดแมฮองสอนจํานวน ๒๖,๔๔๕

บาท

๙. ผลการดําเนินงาน กลุมผูมีรายไดนอย จํานวน ๑๔ ราย มีตนกาแฟ ๑,๗๖๓ ตน

ปลูกในพื้นที่ของตนเอง

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑)ผูนําเขมแข็ง ผูใหญบาน นายก อบต.ผาบอง(๒)ทมีจาก ศพส.๔๓ มส.

(๓)ทมี C (๔)ภาคเีครอืขาย (๕)ประชาชนในพื้นที่

Page 42: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

38

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข ตนกลากาแฟ ยังไมเพียงพอตอความตองการ

ของกลุมเปาหมาย

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑)กจิกรรมรณรงคใหชุมชนรักษาสิ่งแวดลอมและธรรมชาติ (๒)กจิกรรมสราง

แบรนดกาแฟบานนาเจดลอก (เมื่อผลผลิตสามารถจําหนายได) (๓)กิจกรรมรณรงคใหชุมชน

แยกประเภทขยะ

ดานท่ี ๕ สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวิีต

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม สงเสรมิคุณธรรม จรยิธรรมแกเด็ก และเยาวชน

๓. ความสําคัญของโครงการ (๑) เพื่อใหเกิดการพัฒนาวิถีการดําเนินชีวิตของ

ตนเอง และครอบครัวในทิศทางที่เปนประโยชนตอสวนรวม (๒)เพื่อเปนการพัฒนาจิตใจใหเกิด

คุณธรรม และจรยิธรรมประจําใจ และเกดิการพัฒนาสังคมในระดับพื้นที่อยางยั่งยนื

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๔๓ จังหวัดแมฮองสอน

บทบาทหนาที่ (๑) บูรณาการ การดําเนินงานกับภาคีเครือขาย (๒) สนับสนุนงบประมาณ

ดําเนนิการ (๓) ตดิตามประเมนิผล และสรุปรายงานผล

หนวยงานสนับสนุน คือ (๑) สํานักงานวัฒนธรรมอําเภอแมสะเรียง (๒)

โรงเรยีนสงักัดสํานักงานการศกึษาขัน้พื้นฐาน เขต ๒ จังหวัดแมฮองสอน บทบาทหน าที่ คื อ

เปนวิทยากร, จัดเตรียมหลักสูตร, ประสานสถานที่ และสนับสนุน งบประมาณ ,คัดเลือก

กลุมเปาหมาย, เปนวทิยากรกลุม

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมคีุณธรรม จรยิธรรมตอหนาที่ และความ

รับผิดชอบ (๒)เพื่อเปนการพัฒนาจิตใจของกลุมเปาหมาย(๓)เพื่อใหเกิดการพัฒนาวิถีการ

ดําเนนิชีวติของตนเองและครอบครัวในทศิทางที่เกดิประโยชนตอสวนรวม

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) เสนอโครงการ(๒) ประสานภาคีเครือขายดานวิทยากร, สถานที่ฝกอบรม,

กลุมเปาหมาย และเตรียมหลักสูตรการฝกอบรม (๓)ดานการฝกอบรม (๔)ประเมินผลการ

ฝกอบรม

Page 43: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

39

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

กลุมเปาหมายเกดิความรูความเขาใจในเรื่องคุณธรรม จรยิธรรม และนําไป

เปนหลักปฏบิัต ิ ในการดําเนนิชีวติประจําวัน ไมนอยกวารอยละ ๘๕

๘. งบประมาณ

(๑)ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๔๓ จังหวัดแมฮองสอน จํานวน ๑๕,๐๐๐ บาท

(๒)สภาวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตําบลแมสะเรยีง จํานวน ๗,๐๐๐ บาท

รวมเปนเงิน ๒๒,๐๐๐ บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

กลุมเปาหมายคือเด็กและเยาวชน จํานวน ๑๐๐ คน จาก ๔ โรงเรียน ในพื้นที่

ตําบลแมสะเรยีง ไดรับความรู ความเขาใจในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และนําไปปรับใชในการ

ดําเนนิชีวติและเผยแพรความรูใหถงึคนรอบขาง

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

ความรวมมอืของภาคเีครอืขาย, คณะทํางานทมี C และหนวยงานในพื้นที่

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

ชวงระยะเวลาการดําเนินกิจกรรมอยูในชวงเปดเรียน ทําใหกลุมเปาหมายของ

โรงเรยีนไมสามารถเขารวมได

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

ควรเพิ่มกิจกรรมดานการเรียนรู และการปรับตัวใหเขากับสถานการณทาง

สังคมอยางเหมาะสม เชน การใชเทคโนโลยทีี่เหมาะสมกับวัย เปนตน

๒.๖ เมนูแนวทางเบญจวถิ ีจังหวดัเชียงราย

ดานท่ี ๑ เล้ียงลูกดวยนมแมและสุขอนามัยในครัวเรอืน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม ชุมชนตนแบบลดปวยลดความเสี่ยง

๓. ความสําคัญของโครงการ

ปจจุบันตําบลสันมะคา อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย มีอัตราผูปวยที่เปนโรค

ไมติดตอ เชน โรคความดัน โรคเบาหวาน ซึ่งตามสถิติอัตราผูปวยโรคความดัน จํานวนทั้งสิ้น

๑๖๓ ราย คิดเปนรอยละ ๓.๒๐ โรคเบาหวาน จํานวน ๒๐๖ ราย คิดเปนรอยละ ๔.๐๔ โดย

Page 44: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

40

อัตราการเกิดโรคมีแนวโนมที่สูงขึ้น สวนหนึ่งนั้นมาจากอุปนิสัยการรับประทานที่สงผลใหเกิด

ความเสี่ยงดังกลาวขึ้น นอกจากนี้ผูปวยที่ปวยในโรคดังกลาว ไมมีความรูในการดูแลตนเอง ทั้ง

ในเรื่องของการรับประทานอาหาร การออกกําลังกายที่ถูกตอง รวมถึงสุขอนามัยตาง ๆ ดังนั้น

การดูแลกลุมเปาหมายในพื้นที่ จําเปนอยางยิ่งตองดําเนินการในดานการปองกัน และ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุมที่เปนโรคคามดัน เบาหวาน ใหมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น จึงไดมีการ

จัดทําโครงการ ชุมชนตนแบบลดปวยลดความเสี่ยงขึ้น โดยใชรูปแบบการปรับเปลี่ยน

พฤตกิรรมการรับประทานอาหาร การออกกําลังกายที่ถูกตอง รวมทัง้สงเสริมกลุมเปาหมายให

มคีวามรูเกี่ยวกับสุขภาพ และสามารถดูแลตนเองไดอยางถูกตอง

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก(๑)โรงพยาบาลสงเสรมิสุขภาพตําบล (๒)สสอ.ปา

แดด

บทบาทหนาที ่

(๑)ใหบรกิารตรวจ รักษา กลุมเปาหมาย (๒)ใหความรูเกี่ยวกับการ

รับประทานอาหาร การออกกําลังกาย และสุขอนามัยทั่วไปแกกลุมเปาหมาย(๓)ใหการ

สนับสนุนงบประมาณดําเนนิการ(๔)ตดิตามและประเมนิผล ตดิตามเยี่ยมบาน

หนวยงานสนับสนุน (๑)เทศบาล (๒)พช. (๓)เกษตร(๔)หนวยงาน พม. จังหวัด

เชียงราย บทบาทหนาที่ (๑)ใหการสนับสนุนงบประมาณ (๒)รวมดําเนินกิจกรรม กําหนด

มาตรฐานชุมชน (๓)รวมการตดิตามประเมนิผล และตดิตามเยี่ยมบาน

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

๑. เพื่อเปนหมูบานที่ประชาชนมกีารปรับเปลี่ยนพฤตกิรรม

๒. เพื่อใหภาคเีครอืขายมสีวนรวมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤตกิรรม

๓. เพื่อใหประชาชนในหมูบานปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมลดโรค

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๑. จัดตัง้คณะกรรมการ (คณะทํางานระดับตําบล)

๒. จัดทําแผนพัฒนาหมูบานลดโรคโดยยึดหลักการมีสวนรวมของภาคี

เครือขายสุขภาพ คือ (๑) สํารวจ / ศึกษา บริบทสถานการณปญหาสุขภาพที่เกี่ยวของกับการ

ออกกําลังกาย ปลูกกินผักปลอดสารพิษ พฤติกรรมการกิน (๒) กิจกรรมการเรียนรูดาน

สุขภาพ จัดประชุมประชาคม จัดอบรมเรื่องสุขภาพ (๓) จัดสถานที่ออกกําลังกาย สงเสริม

การปลูกผักปลอดสารพษิ ผักพื้นบาน (๔) จัดกจิกรรมกระตุน

Page 45: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

41

๓. สํารวจ / ศกึษาบรบิทสถานการณ

๔. จัดประชุมประชาคม

๕. ประชาสัมพันธ

๖. เฝาระวังพฤตกิรรมสุขภาพ

๗. กําหนดมาตรฐานชุมชน

๘.สรุปผลการดําเนนิงาน

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

๑. สามารถลดพฤตกิรรมของกลุมเปาหมาย และกลุมเสี่ยง เรื่องการ

รับประทาน หวาน มัน เค็ม ไดไมตํ่ากวารอยละ ๙๐

๒. ชุมชนมขีอตกลงรวมกันในการเสรมิสรางความรูดานสุขภาพ

๒.๑ประชาชนทั่วไปมกีารออกกําลังกาย เลอืกรับประทานอาหารที ่

เหมาะสม

๒.๒ กลุมเสี่ยงทั่วไปปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมสรางสุขภาพ ใหความรู

สรางความตระหนัก

๒.๓ กลุมเสี่ยงสูง ควบคุมพฤตกิรรมสุขภาพ วถิชีีวติเขมเรื่องอาหาร

และการออกกําลังกาย

๒.๔ กลุมปวย ดูแลตนเอง ปองกันภาวะแทรกซอน ตดิตามเยี่ยมบาน

๒.๕ กลุมมภีาวะแทรกซอน ฟนฟูสภาพ เขาถงึบรกิาร

๘. งบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

๑. มคีณะกรรมการในการดําเนนิงาน

๒. มกีารตรวจสุขภาพแกกลุมเปาหมาย การคัดกรองกลุมเสี่ยง

๓. มกีารอบรมใหความรูแกกลุมเปาหมาย

๔. มกีารตดิตามเยี่ยมบาน

๕. ลดอัตราการเกดิโรคความดัน เบาหวาน แกกลุมเปาหมาย และผูปวยมีการ

ดูแลตนเองที่ถูกตอง

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑. ความรวมมอืของกลุมผูปวย กลุมเสี่ยงในการทํากจิกรรม

และการปฏบิัตติน

๒. ภาคเีครอืขายสุขภาพที่เกี่ยวของ เชน เกษตร พัฒนาชุมชน อสม. ชมรม

Page 46: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

42

ผูสูงอายุ ผูนําชุมชน อผส.๑๑.

ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑)การปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมในเรื่อง

(๑.๑)การดื่มสุรา (๑.๒)เครื่องดื่มชูกําลัง ( ๑ . ๓ ) อ อ ก กํ า ลั ง ก า ย

(๑.๔)การใชยาชุด (๑.๕)สุขภาพจิต (๑.๖)การรับประทานอาหาร

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

๑. โครงการชุมชนตนแบบลดปวยลดความเสี่ยงตองใชเวลาในการดําเนินการ

อยางตอเนื่อง และจะเห็นผลในระยะยาว เนื่องจากเปนโครงการที่เปนลักษณะเชิงปองกัน และ

การแกไข ทําใหหลายหนวยงานเห็นความสําคัญ เกิดความรวมมือทําใหเกิดการดําเนินการเชิง

บูรณาการมากขึ้น

๒. ประชาชนในพื้นที่เห็นความสําคัญของปญหา และสามารถขยายไปยังกลุม

อื่นที่ไมใชผูที่ประสบปญหาเกี่ยวกับโรคความดัน เบาหวาน

ดานท่ี ๒ พัฒนาอาชพีตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม “โครงการชุบชีวติดวยหลักเศรษฐกจิพอเพยีง”

กจิกรรม จัดระบบขอมูล ,ทําเนยีบปราชญชาวบาน ,การสํารวจงานอาชีพใน

ชุมชน ,การจัดทําหลักสูตรอาชีพในชุมชน ,ดําเนินกิจกรรมการฝกอบรมทักษะชีวิตและงาน

อาชีพ ,โรงเรยีนชาวบาน

๓. ความสําคัญของโครงการ

กลุมเปาหมายที่ตกเกณฑขาดความรู ขาดรายได ทักษะชีวติ และทักษะอาชีพ

ในการดําเนนิชีวติ ขาดสวัสดกิาร

จากขอมูล จปฐ กชช.๒ค บก.๐๑ และการสํารวจในตําบลศรีเมืองชุม พบ

กลุมเปาหมายที่ตกเกณฑ รายไดต่ํากวา ๒๓,๐๐๐ ตอปประสบปญหาดานอาชีพ ที่อยูอาศัย

รายได ขาราชการประกอบอาชีพ มีความจําเปนในการเสริมสรางความรูทักษะในการดําเนิน

ชีวิต ใหมีรายไดความเปนอยูที่เหมาะสม โดยใชปปราชญชาวบานเขามามีสวนรวมในการ

ถายทอด สงเสรมิใหมศัีกยภาพเขาสูระบบสวัสดกิารของชุมชน

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก : อปท

Page 47: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

43

บทบาทหนาที ่

(๑) สํารวจขอมูลกลุมเปาหมายผูดอยโอกาสทางสังคม

(๒) จัดเตรยีมสถานที่ ปราชญชาวบานจัดทําหลักสูตร คูมอื

(๓) ใหความรูเตรยีมกลุมเปาหมายเขาสูกระบวนการ

(๔) ประสานงานหนวยงานสนับสนุนวชิาการ งบประมาณ

(๕) ดําเนนิกจิกรรมกับกลุมเปาหมาย

(๖) ตดิตามประเมนิผล

หนวยงานสนับสนุน : หนวยงานในสังกัดกระทรวงพม. ,เกษตร,ประมง,

ปศุสัตว ,พัฒนาชุมชน บทบาทหนาที่ สนับสนุนวชิาการ งบประมาณ และทมีงาน

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

เพื่อใหกลุมเปาหมายที่ตกเกณฑและผูดอยโอกาสไดรับความชวยเหลอืทัง้ดาน

ความรู ทักษะชีวิตทักษะอาชีพและสามารถถายทอดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหแก

ผูรับบรกิารได โดยใหปราชญชาวบานเปนผูถายทอดวชิาการ

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)คัดเลอืกผูยากจนที่ตกเกณฑ จปฐ,บก.๐๑,กชช ๒ ค.เขารวมโครงการ

(๒)จัดเตรียมและพัฒนาอาคารสถานที่ (๓)กําหนดแผนการดําเนินงานภายในศูนยฯ(๔)จัดทํา

หลักสูตรที่เหมาะสม (๕)ระดมปราชญชาวบาน (๖)ฝกอบรมและดําเนินการ(๗)ผูเขารวม

โครงการการจัดทําบัญชีครัวเรอืนและการออม(๘)การบรหิารจัดการภายในศูนย

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑) กลุมผูตกเกณฑและผูดอยโอกาสทางสังคมที่เขารวมโครงการมคีุณภาพชีวติที่ดขีึ้น

(๒)มีอาชีพและรายได (๓)มีทักษะในการดําเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง(๔) มีทักษะใน

การถายทอดองคความรู

๘. งบประมาณ

(๑)การสํารวจจัดเตรยีมระบบขอมูลกลุมเปาหมาย ๖ แหง แหงละ ๕๐,๐๐๐

(๒)การฝกอบรม ฝกทักษะ ๖ รุน รุนละ ๓๐๐,๐๐๐ (๓)การจัดกิจกรรมกลุมอาชีพ ๑๒๐ คน

คนละ ๕,๐๐๐ รวมทัง้สิ้น ๒,๖๐๐,๐๐๐ .- บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

กลุมเปาหมาย ๑๒๐ ครอบครัว ไดรับการฝกทักษะชีวิต อาชีพ สามารถ

ประกอบอาชีพ สรางรายไดเขาสูระบบสวัสดกิารได

Page 48: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

44

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

มีศูนยการเรียนรูการเศรษฐกิจพอเพียงที่เอื้ออํานวยตอการจัดทําโครงการอยู

แลวบนเนื้อที่ ๑๐ ไร ๙๒ ตารางวา

องคกรชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการมีความเขาใจในการบูรณางาน

รวมกัน

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑)กลุมเปาหมายมปีญหาซ้ําซอน ยากแกไข ใชเวลาเตรยีมความพรอมในการ

เขาสูกระบวนการ (๒)ใชวิธีการจัดงานระหวางเขาโครงการ (๓)ใชกิจกรรมที่สามารถสราง

รายไดใหระยะเวลาสัน้ ระยะเวลาปานกลาง และระยะยาว

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑)ใชเปนรูปแบบในการขยายผลใหแกหมูบานอื่นๆ (๒)จัดเปนโรงเรยีนชาวบาน

เปดโอกาสใหชุมชนเขามาเรียนรูไดทุกเรื่อง (๓)ทองถิ่นสามารถจัดงบประมาณรองรับการให

ความชวยเหลอืผูประสบปญหาทางสังคม (๔) เปนเวทคีวามรวมมือของหนวยงานองคกรตาง ๆ

ในชุมชน

ดานท่ี ๓ เสรมิสรางครอบครัวอบอุน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม อุนรักครอบครัว ลอมรัว้ปองกันภัยสังคม

๓. ความสําคัญของโครงการ

(๑)ตําบลนางแลมเีครอืขายศูนยพัฒนาครอบครัวในชุมชนใหครอบคลุมทัง้ ๑๖

หมูบาน (๒)สถาบันครอบครัวมีความเขมแข็งทั้งระดับหมูบานและระดับตําบล (๓)ครอบครัว

เปนกลไกในการเฝาระวังปญหาในชุมชน (๔)ประชาชนชาวตําบลนางแลมีจิตสํานึกที่ถูกตอง มี

คุณธรรมอันม่ันคง (๕)เกดิความรัก ความอบอุน และความผาสุก ในครอบครัวและสังคม

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก เทศบาลตําบลนางแล

หนวยงานสนับสนุน ศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๑๒ จังหวัดเชียงราย

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) เพื่อสรางเครอืขายศูนยพัฒนาครอบครัวในชุมชนใหครอบคลุมทัง้ ๑๖

Page 49: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

45

หมูบานของตําบลนางแล (๒) เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันครอบครัวในระดับ

หมูบานและตําบล (๓) เพื่อใหครอบครัวเปนกลไกในการเฝาระวังปญหาในชุมชน (๔) เพื่อปลูก

จิตสํานกึที่ถูกตอง มคีุณธรรมอันม่ันคง (๕) เพื่อปลูกฝงใหเกิดความรัก ความอบอุน และความ

ผาสุกในครอบครัวและสังคม

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)จัดประชุมคณะทํางานกลุมเปาหมาย (๒)ประสานงาน หนวยงานที่เกี่ยวของ

(๓)คัดเลือกครอบครัวที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ (๔)ดําเนินกิจกรรม (๕)ประเมิน

(๖)รายงานผล

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

กลุมเปาที่เขารวมกิจกรรมไดจัดตั้งและสรางเครือขายครอบครัวเข็มแข็งใน

ชุมชนตนเองและนําแนวคดิจากกจิกรรมไปปรับใชสรางเสริมสัมพันธในครอบครัว

๘. งบประมาณ งบประมาณดําเนนิกจิกรรม รวมทั้งสิ้น ๔๐,๐๐๐.-บาท (สี่หมื่นบาท

ถวน)

๙. ผลการดําเนินงาน

๑. มเีครอืขายเฝาระวังภัยทางสังคม

๒. ครอบครัวมคีวามสัมพันธที่ดขีึ้น

๓. มคีวามรูเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

ครอบครัวที่เขารวมกจิกรรมมสีวนรวมในกจิกรรมในทุกฐานและมคีวาม

ตองการรวมที่จะปรับสัมพันธภาพของบุคคลในครอบครัว

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑. การสรางความเขาใจของเครอืขายในระดับชุมชน

๒. การใชระยะเวลาในการสรางเครอืขาย

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

มกีารพัฒนาในการจัดทําแผนงานของเครอืขายเขาสูแผนงานของ อปท.

ดานท่ี ๔ สรรสรางการจัดการส่ิงแวดลอมท่ีดี

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม โครงการจัดการขยะมูลฝอยแบบบูรณาการสามระบบ ใน

รูปขยายผล

Page 50: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

46

๓. ความสําคัญของโครงการ

ปจจุบันตําบลนางแล มปีรมิาณขยะถงึ๔๐ตันตอวันซึ่งมาจากการดํารงชีวติ

ของคนในชุมชน และการทองเที่ยว หากคิดเฉลี่ยเปนรายบุคคลแลว ๑ คนจะกอใหเกิดขยะ

ในปริมาณ ๒.๕๖ กิโลกรัมตอวัน จึงเปนภาระหนักของเทศบาลตําบลนางแล ในการบริหาร

จัดการกําจัดขยะเหลานั้น ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน สงผลใหมีขยะตกคางเปน

จํานวนมากในแตละวันสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และสภาพความเปนอยูในชุมชนมากมาย

ไดแก บานเมืองสกปรกไมนามอง เสียทัศนียภาพ สงกลิ่นเหม็นรบกวน เปนแหลงเพาะพันธุ

สัตว และพาหนะนําโรคตาง ๆ เชน หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเปนแหลงแพรเชื้อโรค

โดยตรง เชน อหิวาตกโรค อุจจาระรวง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิด

การปนเปอนของสารพิษ เชน ตะกั่ว ปรอท ลงสูพื้นดิน และแหลงน้ํา แหลงน้ําเนาเสีย ทอ

ระบายน้ําอุดตัน อันเปนสาเหตุของปญหาน้ําทวม เปนแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศ เชน ฝุน

ละออง เขมา ควัน จากการเผาขยะ และเกิดกาชมีเทนจากการฝงกลบขยะ และขยะบางชนิดไม

ยอยสลาย และกําจัดไดยาก เชน โฟม พลาสตกิ ทําใหตกคางสูสิ่งแวดลอม

ในป ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ ที่ผานมาเทศบาลตําบลนางแล รวมกับ หมูบานนางแล

หมู ๒ หมูบานนางแลเหนือ หมู ๓ และหมูบานแมปูคา หมู ๑๓ รวมกันริเริ่มดําเนินการแกไข

ปญหาขยะลนชุมชน และไมมทีี่กําจัดขยะ โดยสรางกระบวนการเรียนรูในชุมชน จัดตั้งองคกร

ชุมชนในการบริหารจัดการขยะโดยกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน และกอใหเกิดการ

สรางรายไดควบคูการสรางจิตสํานึกตอการรักษบานเกิดของคนในชุมชน นอกจากจะเปนการ

สงเสรมิการมสีวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง

จนเกดิชุมชนตนแบบการจัดการดานสิ่งแวดลอมในตําบลแลว ยังเปนการลดปรมิาณขยะที่นําไป

กําจัดโดยการเผาและฝงกลบได ทําใหชวยลดสภาวะเรือนกระจก (Green House Effect) ลด

ปรมิาณกาชคารบอนไดออกไซดที่มผีลใหอุณหภูมโิลกเพิ่มสูงขึ้นตามมา หรือเรียกวา ภาวะโลก

รอน (Globel Warmming)

ในป ๒๕๕๔ เทศบาลตําบลนางแล และหมูบานนางแล หมู ๒ หมูบานนาง

แลเหนือ หมู ๓ และหมูบานแมปูคา หมู ๑๓ มีปณิธานรวมกันที่จะขยายผลโครงการจัดการ

ขยะมูลฝอยแบบบูรณาการสามระบบ ในรูปขยายผลสูหมูบานที่มีความประสงคจะเขามามีสวน

Page 51: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

47

รวมในการจัดการขยะในรูปธนาคารขยะหมูบาน โดยเปนหมูบานที่ผานการลงมติประชาคม

หมูบานแลว จํานวน ๖ หมูบาน และขยายผลสูโรงเรยีนในพื้นที่อกี ๑ โรงเรียน ทั้งนี้ จะทําให

ตําบลนางแล เกิดกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนและความรวมมือของหมูบาน ชุมชน

และหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการบริหารจัดการขยะแบบคัดแยกจากตนกําเนิด และจัดการ

ขยะอยางเปนระบบและถูกวิธี สงผลใหตําบลนางแล เปนตําบลตนแบบแหงการจัดการ

สิ่งแวดลอมโดยกระบวนการมสีวนรวมของภาคประชาชนอยางแทจรงิ

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก เทศบาลตําบลนางแล

หนวยงานสนับสนุน (๑)ศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๑๒ จังหวัดเชียงราย

(๒)สํานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม และจังหวัดเชียงราย

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อเพิ่มประสทิธภิาพในการบรหิารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลด

งบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนผลมาจากขยะ

มีพิษ และสิ่งปฏิกูลตางๆ (๒) เพื่อรณรงค และขยายผลสูการสรางกระบวนการมีสวนรวมของ

ประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมถิ่นเกิด และบูรณาการความรวมมือในการจัดการ

สิ่งแวดลอมของทองถิ่น สอดคลองหลักการของเมอืงนาอยูอยางยั่งยนื

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๖.๑ จัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรอืน

๖.๑.๑ จัดฝกอบรมตัวแทนสมาชิกครัวเรือน เพื่อเปนแกนนําและเปนสื่อกลาง

ในการถายทอดความรูความเขาใจในการบริหารจัดการขยะและคัดแยกขยะในครัวเรือนและ

ชุมชนโดยมหีลักสูตร คอื (๑) หลักสูตรการคัดแยกขยะในครัวเรอืนตามมาตรฐานที่กรมควบคุม

มลพิษกําหนด (๒) หลักสูตรการติดตั้งบอดักไขมันในครัวเรือน และรานคาที่ถูกสุขลักษณะ มี

คุณภาพ และประหยัดงบประมาณ (๓) หลักสูตรการผลติปุยชีวภาพในครัวเรอืนและชุมชน

๖.๑.๒ ตดิตาม ประเมนิผล และใหการสนับสนุนกิจกรรมการคัดแยกขยะ และ

การลดมลพิษสิ่งแวดลอมในชุมชนเปาหมายอยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดการขยายผลการปฏิบัติ

จรงิครอบคลุมทุกพื้นที่ในเขตเทศบาลตําบลนางแล

๖.๒ การจัดตั้งธนาคารขยะหมูบาน มกีจิกรรมที่ดําเนนิการ ดังนี้

๑. แผนงานมวลชน/สรางจิตสํานึก จัดกระบวนการเรียนรูโดยเทศบาลตําบล

นางแล รวมกับชุมชนตนแบบดานการจัดการขยะมูลฝอยแบบบูรณาการสามระบบ จํานวน ๓

Page 52: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

48

หมูบาน คือ บานนางแล หมู ๒ บานนางแลเหนือ หมู ๓ และบานแมปูคา หมู ๑๓ เปน

วิทยากรทองถิ่นในการจัดอบรม และถายทอดประสบการณการทํางานตามโครงการฯ เพื่อ

กระตุนจิตสํานึกและแรงจูงใจใหแกผูแทนครัวเรือนในหมูบานที่มีความประสงคจะจัดตั้ง

ธนาคารขยะหมูบาน จํานวนทัง้หมด ๖ หมูบาน และ ๑ โรงเรยีน

๒. แผนงานบริหารจัดการ ดําเนินการจัดตั้งธนาคารขยะหมูบานที่ผานการ

อบรมคัดแยกขยะในครัวเรือน ตามแผนงานมวลชน/สรางจิตสํานึกแลว โดยมีเทศบาลตําบล

นางแล เปนผูสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินการ และมีหนวยปฏิบัติจริง คือ หมูบาน (มี

ประชาชนทั่วไปในหมูบาน รวมเปนคณะกรรมการฯ ซึ่งเปนการใหความสําคัญกับการมี

สวนรวมของภาคประชาชนในการบริหารจัดการธนาคารขยะหมูบานโดยตนเอง ซึ่งแบงการ

บริหารจัดการออกเปนโครงสราง จํานวน ๓ ฝ าย คือ ฝ ายบัญชีและการเงิน ฝ ายขาย

และฝายบรหิารงานทั่วไป โดยมแีผนผังองคกร ดังแผนผังที่ ๑

แผนผังท่ี ๑ แสดงแผนผังของธนาคารขยะ

๑. ผู จัดการธนาคารขยะ ผู จัดการธนาคารขยะ มีบทบาทหน าที่ตรวจสอบ

การทํางานของฝายตางๆ และสรุปผลการดําเนนิงานของธนาคารขยะ ส งให เทศบาลตําบลนาง

ธนาคารขยะหมูบาน

ฝายบัญชีและการเงิน

๑. งานบริการนําฝาก-ถอน

๒. งานบัญชีซ้ือขายขยะ

ผูจัดการธนาคาร

ฝายบริหารงานท่ัวไป

๑. เก็บข อมูลสมาชิกพนักงาน

๒. งานประชาสัมพันธ

ฝายขาย

๑. งานตรวจสอบคุณลักษณะขยะ

๒. งานช่ังวัดนํ้าหนักขยะและจัดเก็บ

๓. งานกําหนดราคาซื้อขายขยะ

ผูชวยผู จัดการฝาย

บัญชีและการเงิน

ผูชวยผู จัดการฝายขาย

ผูชวยผู จัดการฝาย

บริหารงานท่ัวไป

ท่ีปรึกษาธนาคารขยะหมูบาน

- เจาหนาท่ีวิเคราะหฯ ทต.นางแล

- เจาหนาท่ีตรวจสอบภายใน ทต.นางแล

- นักวิชาการสงเสริมสขุภาพ ทต.นางแล

Page 53: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

49

แลทุกเดือน เพื่อใช เป นข อมูลในการออกนโยบายปรับปรุง แกไข พัฒนารวมกับหมูบาน

(ผูจัดการธนาคารขยะ หมายถึง ประชาชนในหมูบานคัดเลือกผานเวทีประชาคมหมูบาน

จํานวน ๑ คน โดยสามารถแตงตั้งผูชวยผูจัดการไดจํานวนไมเกิน ๓ คน เพื่อชวยในการ

ตรวจสอบ ควบคุมงานฝายตางๆ )

๒. ผูชวยผูจัดการฝาย ผูชวยผูจัดการฝาย มีบทบาทหนาที่ชวยเหลือการ

ตรวจสอบ การทํางานของฝ ายต างๆ และสรุปผลการดําเนินงานของธนาคารขยะของฝายที่ตน

รับผิดชอบ รายงานใหผูจัดการธนาคารขยะทุกเดือน (ผูชวยผูจัดการธนาคารขยะ หมายถึง

ประชาชนในหมูบานคัดเลือกผานเวทีประชาคมหมูบาน จํานวน ๓ คน เพื่อชวยในการ

ตรวจสอบ ควบคุมงานฝายตางๆ)

๓. ฝ ายบัญชีและการเงิน ฝ ายบัญชีและการเงิน มีบทบาทหน าที่ให บริการ

แก สมาชิกของธนาคารในการฝากขยะหรือถอนเงินจากบัญชี และมีหน าที่สรุปผลการ

ประกอบการของธนาคารประจําวัน และประจําเดือนส งให ผู จัดการธนาคารขยะพิจารณา

(ฝายบัญชแีละการเงิน หมายถงึ ผูที่ประชาชนในหมูบานคัดเลอืกผานเวทีประชาคมหมูบานให

เปนหัวหนาฝาย จํานวน ๑ คน และคัดเลอืกผูชวยงานฯ ในฝาย ซึ่งมจํีานวน ๒ งานๆ ละ ๑ คน

ทั้งนี้ ฝายบัญชีและการเงิน มีพนักงานเทศบาลตําบลนางแล ที่ไดรับมอบหมาย เปนที่

ปรกึษาฝาย จํานวน ๑ คน)

๔. ฝายขาย ฝายขาย มบีทบาทหนาที่ในการตัง้ราคาซื้อขายขยะประจําเดือน

โดยการตั้งราคาอ างอิงตามราคาตลาด นอกจากนี้ยังมีหน าที่ตรวจสอบคุณลักษณะของขยะ

และช่ังน้ําหนักขยะที่สมาชิกนํามาฝาก รวมถึงการติดต อร านรับซื้อของเก า เพื่อตกลงการซื้อ

ขายขยะในแต ละสัปดาห (ฝายขาย หมายถึง ผูที่ประชาชนในหมูบานคัดเลือกผานเวที

ประชาคมหมูบาน ใหเปนหัวหนาฝาย จํานวน ๑ คน และคัดเลือกผูชวยงานฯ ในฝาย ซึ่งมี

จํานวน ๓ งานๆ ละ ๒ คน ทัง้นี้ มพีนักงานเทศบาลตําบลนางแล ที่ไดรับมอบหมาย เปน

ที่ปรกึษาฝาย จํานวน ๑ คน)

๕. ฝ ายบริหารงานทั่วไป ฝ ายบริหารงานทั่วไป มีบทบาทหน าที่ในการรับ

สมัครสมาชิก และเก็บรวบรวมข อมูลของสมาชิก และเจ าหน าที่ของธนาคารตลอดจน

รวบรวมข อมูลดานการจัดการขยะจากหนวยงานตางๆ เพื่อใชเป นขอมูลในการพัฒนาธนาคาร

ขยะ รวมทั้งผลิตสื่อประชาสัมพันธ เพื่อสรางแรงจูงใจใหประชาชนในทองถิ่น ให ความสําคัญ

กับการจัดการขยะ และเข ามาใช บริการของธนาคาร (ฝายบริหารงานทั่วไป) หมายถึง ผูที่

ประชาชนในหมูบานคัดเลอืกผานเวทปีระชาคมหมูบาน ใหเปนหัวหนาฝาย จํานวน ๑ คน และ

Page 54: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

50

คัดเลอืกผูชวยงานฯ ในฝาย ซึ่งมีจํานวน ๒ งานๆ ละ ๒ คน ทั้งนี้ มีพนักงานเทศบาลตําบล

นางแล ที่ไดรับมอบหมาย เปนที่ปรกึษาฝาย จํานวน ๑ คน )

การรับสมัครสมาชิกธนาคารขยะ และการนําขยะฝากธนาคารขยะ มีระบบ

การจัดการที่ทํางานตอเนื่องกับระบบการจัดการคัดแยกขยะในครัวเรือน แตขณะเดียวกันทํา

การคัดแยกขยะรไีซเคลิที่กอใหเกิดมูลคา นําไปจําหนายใหเกิดเปนตัวเงิน โดยมีการดําเนินงาน

แบ งออกเป น ๔ ขัน้ตอน คอื

๑ ขัน้ตอนการสมัครเปนสมาชิกธนาคารขยะ ขัน้ตอนการสมัครสมาชิก

ธนาคารขยะโดยประชาชนที่ตองการสมัครเปนสมาชิกของธนาคารขยะ สามารถสมัครเปน

สมาชิกไดที่จุดรับสมัครสมาชิกใหม ของฝายบริหารงานทั่วไป ณ หมูบานที่จัดตั้งธนาคารขยะ

โดยขั้นตอนการสมัครเริ่มจากกรอกใบสมัครสมาชิกตามแบบฟอร มที่ธนาคารขยะหมูบาน

กําหนด และยื่นแบบฟอร มที่กรอกอย างสมบูรณ พร อมสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน และ

สําเนาทะเบยีนบ าน ตอเจาหน าที่ประจําจุดรับสมัครสมาชิกใหม จะออกรหัสสมาชิก และสมุดคู

ฝากใหแก ผูสมัครภายหลังจากผานการตรวจสอบความสมบูรณ ของเอกสารที่ยื่นแลว

๒ ขั้นตอนการนําฝาก สมาชิกสามารถนําฝากขยะกับธนาคารขยะได โดย

กรอกขอมูลตามแบบฟอรมที่ธนาคารขยะกําหนด จากนั้นนําแบบฟอร มไปยื่น ณ จุดตรวจสอบ

คุณลักษณะขยะและจุดช่ังน้ําหนักของฝ ายขายตามลําดับ เพื่อรับการตรวจสอบคุณลักษณะ

ของขยะก อนนําขยะไปช่ังน้ําหนัก จากนั้นนําสมุดคู ฝากและแบบฟอร มฯ ซึ่งมีรายเซ็นรับรอง

ของพนักงานตรวจสอบคุณลักษณะขยะและพนักงานช่ังน้ําหนักขยะมาฝากเข าบัญชีที่จุดฝาก-

ถอน ของฝายบัญชีและการเงิน ทัง้นี้ในการนําฝากขยะ สมาชิกจะต องนําฝากขยะอย างน อย ๑

ชนดิตอครัง้ ครัง้ละไมนอยกวา ๑ กโิลกรัม

๓ ขั้นตอนการถอนเงิน สมาชิกสามารถถอนเงินจากบัญชี โดยกรอกข อมูล

ตามแบบฟอรมมที่ธนาคารขยะกําหนด จากนั้นนําแบบฟอร มไปยื่น ณ จุดฝาก-ถอน ของฝ

ายบัญชีและการเงิน เพื่อรับเงินตามจํานวนที่ถอน ทั้งนี้ สมาชิกสามารถถอนเงินในบัญชีได ใน

ครั้งถัดไปนับจากการฝากครั้งแรก และในการถอนแต ละครั้งจะต องมียอดเงินฝากคงเหลือใน

บัญชีไมนอยกวา ๕๐ บาท

๔ ขั้นตอนการซื้อขายขยะกับร านรับซื้อของเก า เมื่อปริมาณขยะที่สมาชิก

นํามาฝากมีปริมาณมากพอสมควร รานรับซื้อของเก าที่เทศบาลตําบลนางแลไดประสานความ

Page 55: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

51

รวมมอืไวจะเขามารับซื้อสัปดาหละ ๑ ครัง้ หรอืเดอืนละ ๑ ครัง้ แลวแตธนาคารขยะกําหนดรับ

ซื้อขาย ทัง้นี้ การตัง้ราคาซื้อขายจะพจิารณาตามราคาตลาด โดยราคาที่ขายจะต องไม ต่ํากว

าราคาที่รับฝากจากสมาชิกของเดือนนั้นๆ ซึ่งราคาซื้อขายขยะของธนคารขยะกับสมาชิก อาจ

ต่ํากวาราคาซื้อขายกับรานรับซื้อไมมากนัก เนื่องจากรายไดจากการจําหนายขยะสวนหนึ่งจะ

นําเขาบัญชีกองกลางของหมูบาน เพื่อนําไปใชในสาธารณะประโยชนตางๆ ของหมูบาน เปน

การพึ่งพาตนเองในการพัฒนาหมูบานอีกทางหนึ่ง แตราคาซื้อขายจะมีการประกาศจาก

ธนาคารขยะหมูบาน ใหประชาชนที่เปนสมาชิกรับทราบเปนประจําทุกเดือน เพื่อสรางความ

โปรงใสในการบรหิารจัดการ สําหรับขั้นตอนการซื้อขายขยะกับร านรับซื้อของเก า จะเริ่มจาก

พนักงานฝ ายขายของธนาคารขยะ ทําการกรอกข อมูลขยะที่ต องการขายตามแบบฟอร มที่

ธนาคารขยะกําหนด และนําขยะไปที่จุดตรวจสอบคุณลักษณะขยะ เพื่อให ผู รับซื้อตรวจสอบ

คุณลักษณะขยะ และนําขยะไปช่ังน้ําหนักที่จุดช่ังน้ําหนัก ก อนตกลงราคาซื้อขายกับผู รับซื้อ

จากนั้นจึงบันทึกข อมูลขยะตามที่ตกลงกับผู ซื้อลงในแบบฟอร มที่ธนาคารขยะกําหนด และเซ็น

รับของและเงินโดยผูรับซื้อ และพนักงานฝายขายของธนาคารตามลําดับ

แผนงานคัดแยก และกําจัด

กระบวนการกําจัดขยะในพื้นที่ เนนการสรางกระบวนมีสวนรวมของประชาชน

ในการบริหารจัดการขยะ ซึ่งปริมาณขยะที่นําออกกําจัด ณ บอกําจัดขยะแบบเผาปลอด

มลพษินัน้ จะมปีรมิาณนอยลง เนื่องจากมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนและมีการจัดตั้งธนาคาร

ขยะ เพื่อนําขยะรไีซเคลิสรางมูลคาหารายไดแกชุมชน หลังจากจัดตัง้ธนาคารขยะแลว จะมีการ

จัดเก็บขยะที่เกิดขึ้นประจําทุกวันจากครัวเรือน รานคาประกอบการธุรกิจตางๆ เปนขยะจาก

กจิกรรมตางๆ ที่เกดิขึ้นประจําทุกวัน เชน ขยะจากการรับประทานอาหาร ขยะจากกิจกรรม

ภายในครัวเรือน ขยะจากกิจกรรมของรานคา เป นตน การจัดเก็บขยะที่เกิดขึ้นประจําทุกวัน

ภายในครัวเรือน จะจัดเก็บขยะลงในถุงดํามีตราสัญลักษณคัดแยกขยะ โดยใหจัดเก็บไว

ภายในบาน เพื่อรอการจัดเก็บนําไปกําจัด เพื่อขยายผลสู “ถนนนางแลปลอดถังขยะ”

ตอไป ทัง้นี้ กรณขียะที่ไมสามารถนํามาขาย ณ ธนาคารขยะหมูบานได จะมีการจัดเก็บและ

นํากําจัดโดยเอกชน ซึ่งหมูบานอาจดําเนินการเอง หรือเอกชนอาจขออนุญาตเขามาดําเนินการ

จัดเก็บโดยเสียคาธรรมเนียมใหแกเทศบาลตําบลนางแล สําหรับขยะที่ครัวเรือน หรือ

ประชาชนจะนําฝากธนาคารขยะ จะคัดแยกใสถุงดํามตีราสัญลักษณคัดแยกขยะ สําหรับนํามา

ฝากดวยตนเอง

การแบ งแยกประเภทถุงรองรับขยะ ดังตารางที่ ๑ และมีสัญลักษณสําหรับติด

ถังขยะแตละประเภท ดังรูปภาพที่ ๑

Page 56: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

52

ตารางท่ี ๑ แสดงเกณฑการคัดแยกขยะ

ประเภทของขยะ เกณฑการวัดแยก ตัวอยาง

• ขยะเศษอาหาร ขยะที่ มาจากธรรมชาติ หรือ

สิ่งมีชีวิตที่ยอยสลายและเนาเสียง

ายและสง กลิ่นเหม็น เชน เศษซาก

พชื เศษอาหาร ซากสัตว ผักผลไม

เศษซากพืช ขาวขนมเปลือกผลไม ผลไม

เนา ผักใบตองสดแหง ใบตองหอขนม นึ่ง

หรือปงเศษอาหาร แกงตมผัก ใบไม

ใบหญา กระดาษที่เปยกชุมเลอะเทอะ (ไม

รวมกิ่งไม) เศษซากสัตว นม เนย เนื้อสัตว

เปลือกไข เปลือกกุง กระดองปู กางปู ก

างปลา กระดูกสัตว

• ขยะนํากลับมาใชใหม ขยะที่ สามารถนํากลับมาใชประโย

ชนใหม รีไซเคิล หรือขายได เชน

กระดาษ แก ว พลาสติก โลหะ/

กระปอง กลอง นม

กระดาษ เอกสาร หนังสือพิมพ รูปภาพ

สมุด กลองกระดาษ แผนพับ แกว ขวด

แกว หรือภาชนะแกวสําหรับบรรจุอาหาร

และเครื่องดื่มทุกชนิด ทั้งที่มีสีใส น้ําตาล

เขยีว หรอือื่นๆ

ประเภทของขยะ เกณฑการวัดแยก ตัวอยาง

กลองนม กลองบรรจุน้ําผลไมพลาสติก

กลอง ลัง ถัง ขวด กระปอง กะละมัง

บรรจุภัณฑที่มีสัญลักษณรีไซเคิล โลหะ/

กระปอง เศษเหล็ก อลูมิเนียม สังกะส ี

สเตนแลส ทองแดงทองเหลือง ทอแป

ปน้ํา กระปองนมผง กระปองน้ําอัดลม

กระปองเบยีรกระปองน้ําผลไม

• ขยะนํากลับมาใชไม

ได

ขยะที่ย อยสลายไม ได หรือย อย

สลายยากไมเป นพิษและไมคุ มค

ากับการรีไซเคิล เชน โฟม ฟอยล

กระดาษ ที่ปนเปอน และไมคุมกับ

การนํามาใชใหม

โฟม ฟอยล ที่ใชแลวหรอืเปอนอาหาร

พลาสตกิ ใสอาหาร ถุงกอบแกบ ซอง

บะหมี่สําเร็จรูป พลาสติกหอลูกอม/หอข

องขบเคี้ยว พลาสติกหุมอาหารกระดาษ

กระดาษชําระ กระดาษเคลือบมัน

กระดาษที่เปอนสิ่งสกปรกโลหะกระปอง

เหล็ กเคลือบดีบุก เชน กระปองบรรจุ

Page 57: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

53

อาหารหรอืเครื่องดื่มบางประเภทแกว แก

วน้ํา กระจก หลอดไฟ เซรามิก แกวทุก

ประเภทที่ไมใชภาชนะบรรจุ

• ขยะพษิ

ขยะที่มสีารพษิหากทิ้งไมระมัดระวัง

จะมีอันตรายตอคน สัตว สิ่งแวดล

อม ชุมชน เชน หลอดไฟ กระป

องสเปรย แบตเตอรี่ ยาหมดอาย ุ

บรรจุภัณฑใส น้ํายาตางๆ น้ํามัน

หลอดไฟ หลอดไฟธรรมดา หลอดฟลูออ

เรสเซนส กระปองสเปรย สีสเปรย

สเปรยเซ็ทผม สเปรยยาฆาแมลง สเปรย

ทําความสะอาด แบตเตอรี่ ถานไฟฉาย

แบตเตอรี่หมดอายุ ที่ใชกับ ไฟฟา วิทยุ

โทรทัศน กลองถายรูป รถยนต ของเล

นหรือนาฬิกา เครื่องเสียง ยาหมดอาย ุ

ยากิน ยาทา ยาน้ํา ยาเม็ดเครื่องสําอาง

บรรจุภัณฑใส น้ํายา น้ํายา รักษาเนื้อไม

น้ํายาขัดเงาไม ขัดเงาโลหะ แล็กเกอร ทิน

เนอร ชะแล็ก กาว สทีาบาน

ประเภทของขยะ เกณฑการวัดแยก ตัวอยาง

น้ํายาทํา ความสะอาดเครื่องสุขภัณฑ

น้ํายาขัด สารฆาแมลง สารกําจัดวัชพืช

สารฆาหนู แมลงสาบ ยุง แมลงวัน ปุยเค

มี น้ํายา ลางเล็บ กัดสีผม ยอมผม น้ํามัน

น้ํามันเครื่อง น้ํามันเบรกน้ํามันหลอลื่น

• ขยะเศษวัสดุ

ขยะเศษวั สดุที่เปนไม หรือโลหะ

ช้ินใหญ ซึ่งใช ในงานเช่ือม/ตัด โรง

ประลองหรือโรงงานตนแบบ และ

งานสวนที่ตัดแตงกิ่งไม

เศษโลหะ เปนเศษวัสดุโลหะซึ่งเหลือจาก

การใชในงานเช่ือม ออกที่เปนโลหะช้ิน

ใหญรวมทั้งเศษวัสดุโลหะงานกอสราง

เศษไม เปนไมช้ินใหญ หรอืไม ที่เหลือจาก

การกอสรางจากการตัดแตงกิ่งไม

Page 58: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

54

ระบบการบริหารศูนยการจัดการดานพลังงาน สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย

และอาชีวอนามัย (EESH) ศูนยการเรียนรูการจัดการขยะและสงเสริมพัฒนาธนาคารขยะ

ระบบการจัดการนี้ เปนระบบที่เกี่ยวของกับนโยบายและการวางแผนพัฒนาบริหารโครงการ

โดยมีสวนสําคัญอยางยิ่งในการเปนศูนยกลางการจัดการขยะแบบบูรณาการสามระบบ ซึ่งมี

หนาที่เปนฝ ายการจัดการด านสิ่งแวดล อม กํากับดูแลด านนโยบายของธนาคารขยะ และจัดตั้ง

ศูนยการเรียนรู เผยแพรความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการขยะตามระบบแกประชาชน

จัดตัง้ ณ ขวงนางแล ตําบลนางแล อําเภอเมอืง จังหวัดเชียงราย มหีนาที่หลัก ดังนี้

สงเสริมให ความรู ความเข าใจ และให ข อเสนอแนะในการปฏิบัติการตามระบบ

การจัดการขยะ ตลอดจนดําเนินการด านการตรวจสอบการปฏิบัติงานตามระบบธนาคารขยะ

และแก ไขป ญหาที่อาจจะเกิดขึ้น และประชาสัมพันธ รณรงคใหความรูแกประชาชนในทองถิ่น

ผานทางหอกระจายขาวประจําหมูบาน วิทยุชุมชน นิทรรศการ การประชุมตางๆ ในทองถิ่น

อยางตอเนื่องเปนประจําทุกเดือน เพื่อกระตุนจิตสํานึก สรางแรงจูงใจแกประชาชนในทองถิ่น

ในการเขารวมโครงการอยางตอเนื่อง

รวบรวมและวเิคราะหขอมูลขยะ เพื่อนํามาใชในการปรับปรุงแกไขและพัฒนา

ระบบการบรหิารจัดการขยะภายในพื้นที่

วางแผนการเผยแพรความรูดานการจัดการขยะสามระบบ แกหนวยงานตางๆ

ทัง้ภายในเขตพื้นที่ เพื่อสงเสรมิการจัดการขยะที่ตนกําเนดิ

Page 59: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

55

กํากับดูแลดานนโยบายของธนาคารขยะ การดําเนนิงานสรางเตาเผาขยะชุมชน

ปลอดมลพษิ เพื่อใหสามารถดําเนนิการไดอยางมปีระสทิธภิาพ

ตดิตามและประเมนิผลการดําเนนิการโครงการจัดการขยะมูลฝอยแบบบูรณา

การสามระบบอยางตอเนื่อง และมีการรายงานผลตอผูบริหารทองถิ่น คณะกรรมการพัฒนา

เทศบาล สภาเทศบาล และประชาชนทั่วไป ใหรับทราบอยางนอยปละ ๑ ครัง้

การจัดสรางเตาเผาขยะชุมชนปลอดมลพษิ

การจัดสรางเตาเผาขยะชุมชนปลอดมลพิษ เปนการพัฒนาการกําจัดขยะที่

ผานกระบวนการคัดแยกขยะอยางถูกวิธี ซึ่งขยะมีความช่ืนไมเกิน ๓๐% ดําเนินการจัดสราง

ในชุมชนที่มกีารบรหิารจัดการขยะดวยตนเองและมีการคัดแยกขยะจากตนกําเนิดแลว เตาเผา

ขยะชุมชนระบบปลอดมลพิษไรควัน (INCINERATOR) มีการทํางานของเตาเผาขยะเปน

ระบบอัดอากาศ (Air Direct Injection) หากเตาเผาขยะนี้จึงไมจําเปนตองใชเช้ือเพลิง

(น้ํามัน-แกส) ในการเผาไหมตลอดเวลาการทํางาน ซึ่งจะประหยัดตันทุนการเผาขยะในแตละ

วัน เตาเผาขยะมรีะบบระบายความรอนดวยน้ํา จึงมนี้ํารอน (Hot Water) สามารถนําน้ํารอน

ไปใชประโยชนในกิจการไดหลายอยาง โดยจะดําเนินการจัดสรางเตาเผาขยะขนาด ๓๐ หรือ

๕๐ กิโลกรัมตอช่ัวโมง ซึ่งมีความเหมาะสมกับชุมชนขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง ทั้งนี้ มีระบบ

ปองกันมลพษิทางอากาศ

กิจกรรมการจัดสรางเตาเผาขยะชุมชนปลอดมลพิษ ไดจัดทําขึ้นเพื่อรองรับ

การกําจัดขยะ หลังจากมีการคัดแยกจากตนกําเนิดในหมูบานแลว โดยขยะที่ไมสามารถนํา

ฝากธนาคารขยะได ก็จะนํามากําจัดในระบบนี้ตอไป

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

จํานวนหมูบาน เกนิ ๕๐% มกีารกําจัดขยะมูลฝอยอยางถูกวธิแีละนําขยะมาร ี

ไซเคิล- จํานวนของกลุมเกษตร ๑๐๐ กลุม ที่ เขารวมประกวดผลผลิต ผลิตภัณฑ ทาง

การเกษตรไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก อปท.

๘. งบประมาณ งบประมาณดําเนินการตามโครงการจัดการขยะมูลฝอยแบบบูรณา

การสามระบบนี้ แบงการบรหิารจัดการงบประมาณ ดังนี้

๘.๑ งบประมาณในการจัดอบรมและจัดประชุมจัดตั้งธนาคารขยะหมูบาน

และรับสมัครสมาชิก ใชงบประมาณของเทศบาลตําบลนางแล ตามเทศบัญญัติงบประมาณ

รายจายประจําป ๒๕๕๔ หนา ๗๑ รวมเปนเงินจํานวนท้ังสิ้น ๑๐๖,๙๐๐ บาท (หน่ึงแสน

หกพันเการอยบาทถวน)

Page 60: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

56

๘.๒ งบประมาณที่ใชในการจัดสรางเตาเผาขยะชุมชนปลอดมลพษิ ขอรับการ

สนับสนุนงบประมาณจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกรมสงเสริมการ

ปกครองทองถิ่น ในปงบประมาณ ๒๕๕๔ – ปงบประมาณ ๒๕๕๕

๘.๓ งบประมาณในการจัดตัง้ระบบการบรหิารศูนยการจัดการดานพลังงาน

สิ่งแวดลอม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (EESH) ศูนยการเรียนรูการจัดการขยะและ

สงเสรมิพัฒนาธนาคารขยะ ใชตามเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป ๒๕๕๔ หนา ๗๑

จํานวนเงินท้ังสิ้น ๑๒,๐๐๐ บาท (หน่ึงหมื่นสองพันบาทถวน)

๙. ผลการดําเนินงาน

๑. ชุมชนมคีวามสามัคคแีละความรวมมอืในการจัดการสิ่งแวดลอม

๒. สิ่งแวดลอมนาอยูทําใหมสีุขภาพจิตและสุขภาพกายที่ด ี

๓. คนในชุมชนมรีายไดเพิ่มขึ้น

๔. จากการดําเนนิงานตอนแรกมเีปาหมายในชุมชนไดขยายผลไปสูโรงเรยีน

และชุมชนใกลเคยีง

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑. ประชาชนในพื้นที่มคีวามตองการรักษาสภาพแวดลอมในตําบล

๒. จิตสํานกึในการรักษาสิ่งแวดลอม

๓. ความรวมมอืของแกนนํา และคนในชุมชน

๔. การประสานงาน

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑. การสรางความเขาใจการดําเนนิงาน

๒. ขัน้ตอนในการดําเนนิงานมคีวามซับซอน

๓. การบรหิารจัดการในการควบคุมการแพรกระจายของเช้ือโรค

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

๑. ชุมชนมจุีดมุงหมายที่จะดําเนนิการใหครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายทุก

หมูบานในตําบล

๒. มโีอกาสพัฒนาที่จะจัดทําเตาเผาขยะ และนําขยะเปยกมาทําปุยชีวภาพ

Page 61: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

57

ดานท่ี ๕ สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวิีต

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม หองสมุดเขง

๓. ความสําคัญของโครงการ

ปจจุบันคนไทยมีอัตราการอานหนังสือคอนขางนอย สาเหตุสวนหนึ่งเนื่องจาก

การเขาถงึการใชบริการหองสมุด ซึ่งมีขอจํากัดหลายประการดวยกัน เชน การเดินทางเพื่อเขา

ใชบริการ ระเบียบ กฎเกณฑตาง ๆ ของหองสมุด รวมทั้งระยะเวลาอันจํากัดของผูใชบริการ

ขอจํากัดตาง ๆ ขั้นตนทําใหผูใชบริการมองวาเปนการยุงยาก ถึงแมวาการอานหนังสือจะให

ความรูมากมายก็ตาม แนวทางหนึ่งในการพัฒนาคนนั้นจําเปนอยางยิ่งที่ตองใหคนมีความรู จึง

ไดมีการจัดทําโครงการหองสมุดเขงขึ้น เพื่อสงเสริมใหประชาชนมีความรู มีทักษะมากขึ้น การ

จัดทําหองสมุดเขงนั้นมีรูปแบบที่ไมเปนทางการ เปนหองสมุดเคลื่อนที่ที่ทุกเพศทุกวัยสามารถ

เขาถงึการบรกิารได นอกจากจะอยูในรูปแบบของหนังสอืแลว ยังเปนลานสรางสรรคของคนทุก

กลุมวัย เปนการถายทอดคามรูจากรุนสู รุน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทักษะตาง ๆ

นอกจากนี้ยังเปนการสรางความสัมพันธอันดรีะหวางคนในชุมชนดวย

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก (๑) สภาเด็กและเยาวชน (๒) เทศบาล

บทบาทหนาที ่(๑)ดําเนนิกจิกรรมตามโครงการ (๒)ใหการสนับสนุน

งบประมาณ

หนวยงานสนับสนุน (๑) กศน.(๒) หนวยงาน พม. จังหวัดเชียงราย

บทบาทหนาที ่(๑) ใหการสนับสนุนงบประมาณ (๒) รวมดําเนนิกจิกรรม

(๓)รวมการตดิตามประเมนิผล

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เปดการเรยีนรูตามอัธยาศัยของประชาชน (๒) สงเสรมิการรักการอานให

ประชาชน (๓) ถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น (๔)การสรางการเรียนรู ใหกับคนทุกวัย

(๕) เยาวชนรูจักใชเวลาวางใหเกดิประโยชน

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๑. ประชุมจัดตัง้คณะทํางาน (สภาเด็กและเยาวชน)(๒)จัดทําโครงการเสนอ

Page 62: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

58

เทศบาล (๓) รับบริจาคหนังสือ (๔) เทศบาลอนุมัติโครงการจัดซื้อจัดจาง(๕) ทํากิจกรรม

(๖) ผสานหองสมุดกับภูมปิญญา กจิกรรมตาง ๆ (๗) สรุป / ประเมนิผล / รายงาน

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ ผูเขารวมกจิกรรมรอยละ ๘๐ มคีวามพงึพอใจ

๘. งบประมาณ ๑๕,๐๐๐ บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

(๑) มีคณะกรรมการในการดําเนินงาน (๒) กลุมเปาหมายใหความสนใจและ

เขารวมกจิกรรม

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑)การทํากจิกรรมโดยสภาเด็กและเยาวชน (๒) ผูนําหมูบานใหความรวมมอื

เชนประชาสัมพันธ เลี้ยงขนม(๓) การกาวสูระยะที่ ๒ คอื หนอน (หนังสอื) นอยรักการอาน

ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

เยาวชนมกีารเปลี่ยนแปลง ผองถายจากรุนสูรุน มคีวามออนไหวสูง

ตลอดจนมภีาระหนาที่หลักคอืเรยีนหนังสอื เทศบาลยังตองเปนคนประคับประคอง

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑)สามารถพัฒนาโครงการเขาสูกลุมเปาหมายไดทุกเพศทุกวัย

(๒) หลายหนวยงานใหความสําคัญในการดําเนินโครงการ ทําใหเกิดความรวมมือการทํางาน

ที่มากขึ้น

๒.๖ เมนูแนวทางเบญจวิถี จังหวัดพะเยา

ดานท่ี ๑ เล้ียงลูกดวยนมแมและสุขอนามัยในครัวเรอืน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการปองกันลดและชวยเหลอืผูตดิเช้ือเอดส

๓. ความสําคัญของโครงการ

การทํางานดานเอดสตองอาศัยการทํางานเพื่อปองกันและแกไขปญหาในหลาย

มิติ ทั้งระบบขอมูล การสรางเครือขาย การสรางการยอมรับและการจัดกิจกรรมชวยเหลือทํา

ใหปญหาเอดสลดลง

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก โรงพยาบาลสงเสรมิสุขภาพตําบลแมสุก

หนวยงานสนับสนุน องคการปกครองสวนทองถิ่น,ภาคเีครอืขาย,หนวยงาน

Page 63: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

59

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จังหวัดพะเยา

บทบาทหนาที ่ สนับสนุนกจิกรรมตามโครงการที่กําหนด

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) เพื่อลดการตดิเช้ือรายใหมในชุมชน

(๒) เพื่อสรางการยอมรับผูตดิเช้ือใหอยูรวมกับชุมชนได

(๓) เพื่อใหผูตดิเช้ือและผูปวยไดรับการดูแลทัง้รางกายและจิตใจ

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)กจิกรรมปองกันการตดิเช้ือรายใหม (๒)กจิกรรมการดูแลผูตดิเช้ือและผู

ไดรับผลกระทบในชุมชน (๓)กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ (๔)กิจกรรมสงเสริม

ประสานการมสีวนรวมและระดมทุนชวยเหลือ

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑)ผูตดิเช้ือในชุมชนลดลง (๒)ชุมชนยอมรับผูตดิเช้ือและอยูรวมกันในชุมชนได

(๓)มีการสนับสนุนแกผูติดเช้ือ (๔)มีการดูแลผูติดเช้ือและผูปวยเชน เยี่ยมบาน การชวยเหลือ

เบี้ยยังชีพ การจัดสวัสดกิารใหผูตดิเช้ือ (๕)มกีารพัฒนาศักยภาพผูตดิเช้ือโดยภาคเีครอืขาย

๘. งบประมาณงบประมาณดําเนนิการสนับสนุนจากหลายหนวยงานไมสามารถระบุได

๙. ผลการดําเนินงาน

เกิดแกนนําชุมชนในการทํางานหมูบานละ ๗ – ๑๐ คน มีแผนงานและ

กิจกรรมเกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหาเอดสในแผนงานของอบต. ผูติดเชื้อและผูปวย

ไดรับการดูแลชวยเหลือ และอยูรวมกับชุมชนไดรับการยอมรับจากชุมชน ตลอดจนมีกองทุน

ชวยเหลอืผูปวยตดิเช้ือเอดส

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑)ความตระหนักและปญหาเอดส ที่ชุมชนลุกขึ้นมาแกไขปญหาเอง (๒)ม ี

หลายภาคสวนเขามาสนับสนุนการดําเนนิงาน (๓)มคีณะทํางานที่มจิีตอาสา

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

ผูปวยเอดสมองตนเองวาดอยคาในสังคม โดยที่ไมเห็นหรอืไมไดรับกําลังใจจาก

ชุมชน

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ เกดิแนวคดิขยายโครงการไปยังตําบล

Page 64: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

60

ดานท่ี ๒ พัฒนาอาชพีตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการกลุมทําปุยอนิทรยี

๓. ความสําคัญของโครงการ

สภาพทางการเกษตร อาศัยสารเคมี และสารกําจัดศัตรูพืช จํานวนมาก

ผลผลิตตองมีตลาดรองรับตนทุนการผลิตสูง สุขภาพอนามัยเกษตรกรทรุดโทรมเสี่ยงตอการ

เกดิโรค จึงควรหันมาดําเนนิชีวติตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีงพึ่งพาอาศัยตนเองอยางยั่งยนื

๔. หนวยงานรับผดิชอบ กลุมเกษตรกรผลติปุยอนิทรยี

หนวยงานรับผิดชอบหลัก กลุมเกษตรกรผลติปุยอนิทรยี

บทบาทหนาที ่ ดําเนนิกจิกรรมตามโครงการและขยายผลแกสมาชิก

หนวยงานสนับสนุน องคการปกครองสวนทองถิ่น ,ภาคเีครอืขาย,หนวยงาน

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จังหวัดพะเยา

บทบาทหนาที ่หนุนเสรมิการดําเนนิกจิกรรมตามโครงการอยางตอเนื่อง

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) ลดการใชสารเคมใีนชุมชนเพื่อลดตนทุนการผลติ

(๒) รักษาสุขภาพอนามัยของเกษตรกรใหแข็งแรง

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)รวมกลุมผลติปุยอนิทรียใชเอง

(๒)องคการปกครองสวนทองถิ่นสนับสนุนใหความรู และศกึษาดูงาน

(๓)เกดิกลุมใหมในการดําเนนิกจิกรรมอื่น ๆ

กลุมปุยน้ําหมักชีวภาพ,กลุมผลติขาวอนิทรยี,กลุมขาวกลอง

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ ลดการใชสารเคมใีนชุมชนอยางตอเนื่อง

๘. งบประมาณ งบประมาณดําเนนิการจากหลายแหลงไมสามารถระบุได

๙. ผลการดําเนินงาน

จาก ๓๕ ครอบครัวขยายผลเปน ๖๐ ครอบครัวในระยะตอมาจนถงึปจจุบันมี

สมาชิก ๑๓๒ ครอบครัว(ลดรายจายการใชสารเคมอียางยั่งยนื )

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

ลดรายจายตนทุนการผลติไดจรงิ,แกนนําทําเปนตัวอยาง,ทองถิ่นสนับสนุน,

Page 65: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

61

กจิกรรมโครงการโดยการตอยอดการดําเนนิการ,เยาวชนเกดิการเรยีนรู,กลุมเกษตรกรเกิดการ

ขยายผลสมาชิกอยางตอเนื่อง

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑)การเปลี่ยนแปลงอยางเปนรูปธรรมลาชา (๒)ผลการผลติทางการเกษตร

ลดลง (๓)เกษตรกรยังตดิคานยิมสะดวกสบาย (๔)งบประมาณการจัดการมจํีากัด

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑)เกดิโรงสขีาวชุมชน (๒)เกดิศูนยการเรยีนรู (โรงเรยีนชาวบาน ) ขยายผลสู

ตําบลอื่น ๆ

ดานท่ี ๓ เสรมิสรางครอบครัวอบอุน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการบวชภาคฤดูรอน คนืคนดสีูสังคม

๓. ความสําคัญของโครงการ

เนื่องจากปจจุบันพบวาเด็กและเยาวชนมีความกาวราวตอบิดามารดา ดวย

กรยิามารยาทดวยวาจา มีการดื่มเหลา ติดยาเสพติด และติดเกมส สาเหตุจากเยาวชนหางวัด

จึงควรที่จะนําเด็กและเยาวชนพัฒนาจิตใจโดยใชธรรมะ นําแนวทางการพัฒนา

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก วัดสรอยศร ีวัดในเครอืขายตําบลจุน จํานวน ๑๐ วัด

บทบาทหนาที ่ ดําเนนิกจิกรรมตามโครงการที่กําหนด ( อบรบบวชเณรเด็ก

และเยาวชน รุน ละ ๖๐ คน จํานวน ๑๐ วัด ๑๐ ครัง้)

หนวยงานสนับสนุน องคการปกครองสวนทองถิ่น ,ภาคเีครอืขาย,หนวยงาน

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จังหวัดพะเยา

บทบาทหนาที ่หนุนเสรมิการดําเนนิกจิกรรมตามโครงการอยางตอเนื่อง

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อใหเด็กและเยาวชนลด ละ เลกิ สิ่งเสพตดิ และตูเกมส

(๒)เด็กและเยาวชนมสีัมมาคารวะตอบดิา มารดา และผูใหญในชุมชน

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

จัดกจิกรรมการบวชเรยีนภาคฤดูรอน จํานวน ๖๐ คน ๑๐ วัดดําเนนิกจิกรรม

๑๐ ครัง้)

Page 66: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

62

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑) เด็กและเยาวชนลด ละ เลกิ อบายมุข

(๒) เด็กและเยาวชนมสีัมมาคารวะตอบดิา มารดา และผูใหญในชุมชน

(๓) เด็กและเยาวชนชวยบดิามารดาประกอบอาชีพ

๘. งบประมาณ งบประมาณดําเนนิการจากหลายแหลงไมสามารถระบุได

๙. ผลการดําเนินงาน

(๑) เด็กและเยาวชนรวมกจิกรรมบําเพ็ญประโยชน

(๒) เกดิกลุมเด็กและเยาวชนจิตอาสาพัฒนาชุมชน

(๓) เด็กและเยาวชนเขาวัดมากขึ้นโดยรวมกจิกรรมกับวัด

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

เกดิความรวมมอืขององคกรภาคเีครอืขายอยางตอเนื่อง และครอบครัวมสีวน

รวมในการดําเนนิการ

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ เกดิกลุมเด็กและเยาวชนรักษาธรรมะ

ดานท่ี ๔ สรรสรางการจัดการส่ิงแวดลอมท่ีด ี

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการธนาคารขยะ

๓. ความสําคัญของโครงการ

ชุมชนบานดอนไชย ตําบลหยวน อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ไดประสบ

ปญหาเรื่องปริมาณขยะและการกําจัด ขาดพื้นที่ทิ้งขยะ ทําใหปริมาณของขยะที่ไมสามารถ

กําจัดไดทําใหเกิดปญหาขยะสงกลิ่นเหม็นรบกวน ปริมาณขยะที่ไมสามารถกําจัดไดลนไม

สามารถหาแหลงกําจัดขยะได จากปญหาดังกลาวทําใหชุมชนตระหนักถึงสภาพปญหาและเขา

รวมโครงการชุมชนปลอดขยะ กับกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยมีเทศบาลตําบลเชียง

คํา ใหการสนับสนุนสงเสริมและใหความรูในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร โดย

เริ่มจากการจัดการขยะจากตนทาง (แหลงกําเนิดขยะ) การลดปริมาณขยะหรือการนําขยะ

กลับมาใชใหม โดยทางชุมชนไดจัดตั้งธนาคารขยะขึ้น โดยเริ่มจากการทอดผาปาขยะขึ้นที่วัด

ดอนไชย

Page 67: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

63

จากการดําเนินกิจกรรมในโครงการดังกลาวมีหลายกิจกรรม เชน การทําปุยหมักจาก

เศษอาหาร การทําปุยหมักวงรอบซเีมนต การทําน้ําหมักชีวภาพ การทําผาปาขยะ การจําแนก

ขยะ ในครัวเรอืน และมกีารจัดตัง้ธนาคารขยะในชุมชน

ชุมชนบานดอนไชย ไดตระหนักและเล็งเห็นความสําคัญในเรื่อง การสรรสรางการ

จัดการสิ่งแวดลอมที่ด ี จึงไดดําเนนิการตามโครงการนี้

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

(๑) สํานักงานเทศบาลตําบลเชียงคํา

(๒) กรมสงเสรมิคุณภาพสิ่งแวดลอมและสถาบันการจัดการบรรจุภัณฑเพือ่

สิ่งแวดลอมสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

(๓)สถานการศกึษามหาวทิยาลัยแมโจ เชียงใหม

(๔)บรษิัทวงศพานชิ สาขาเชียงคํา

(๕)หนวยงานสังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด

พะเยา

หนวยงานรับผิดชอบหลัก สํานักงานเทศบาลตําบลเชียงคํา

บทบาทหนาที ่ หนุนเสรมิงบประมาณ,สงเสรมิองคความรู,สนับสนุนอุปกรณ

เครื่องมอื,จัดหาสถานทีด่ําเนนิการ

หนวยงานสนับสนุน วัดดอนไชย ,กรมสงเสรมิคุณภาพสิ่งแวดลอมและสถาบัน

การจัดการบรรจุภัณฑ,สถานการศึกษามหาวิทยาลัยแมโจ เชียงใหม,บริษัทวงศพานิช สาขา

เชียงคํา,หนวยงานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จังหวัดพะเยา

บทบาทหนาที ่(๑)สงเสรมิความรูใหกับประชาชนในชุมชนมคีวามรูความเขาใจ

เกี่ยวกับการ (๒)จัดการขยะอยางเปนระบบและ ครบวงจร (๓)การเสริมสรางและพัฒนาความ

ยั่งยืนใหกับโครงการ (๔)สงเสริมองคความรูดานการบริหารจัดการที่ดีพัฒนาศักยภาพของ

บุคลากรในชุมชน

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อใหเยาวชนและประชาชนมจิีตสํานกึในการเก็บและคัดแยกขยะ และ

รักษาสิ่งแวดลอมภายในชุมชน

(๒)เพื่อชวยลดปรมิาณขยะและสงเสรมิความรูใหแกเยาวชนและประชาชนใน

เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกตองและเหมาะสม

(๓)เพื่อเปนการเสรมิสรางรูปแบบการจัดการขยะ โดยเยาวชนและประชาชน

Page 68: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

64

เขามามสีวนรวม ในการดําเนนิงาน

(๔)สงเสรมิใหเยาวชนใชเวลาวางใหเปนประโยชน

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) ประชุมคณะกรรมการหมูบาน

(๒) สรางความเขาใจใหกับคนในชุมชนใหเกดิความตระหนัก จูงใจ ยนิดทีี่จะ

เขารวมโครงการ

(๓) คัดเลอืกตั่งตัง้คณะทํางาน ที่ปรกึษา รวมกับกลุมเยาวชนในหมูบาน

(๔) จัดเวทใีหความรูโดยเชิญวทิยากรบรรยายเรื่องการจัดการขยะ

(๕) ประชาสัมพันธใหกับคนในชุมชนทุกครัวเรอืน รวมกจิกรรม คัดแยกขยะ

(๖) คณะกรรมการเปดโครงการ จัดตัง้ธนาคารขยะ และการทอดผาปาขยะ

(๗) คณะทํางานรวบรวมขยะเปดรับฝากขยะ ไดจํานวนเพยีงพอ ตดิตอรานรับ

ซื้อขยะทําการซื้อขายขยะ

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑) สัดสวนของการนําขยะมาใชใหเกดิประโยชนและปริมาณขยะที่ลดลง

(๒) ความรูความเขาใจของคนในชุมชนมคีวามรูความเขาใจในวธิกีารจัดการ

ขยะอยางเปนระบบครบวงจร

(๓) คณะทํางานมคีวามคดิสรางสรรคในการพัฒนา และสรางความยั่งยนื

ใหกับโครงการ

๘. งบประมาณ ไมมงีบประมาณดําเนนิการ

๙. ผลการดําเนินงาน

๙ .๑ ผลผลติ : ปจจุบันมสีมาชิก ๔๐๐ หลังคาเรอืน ชุมชนสามารถลดขยะได

จรงิ จากวันละประมาณ ๑ ตัน เหลอืวันละ ๕๐๐ กิโล ตอวัน : เกิดกองทุนธนาคารขยะที่มีเงิน

ฝากอยู ๒๔,๕๐๐ บาท : เกดิกลไกเยาวชนเพื่อเขารวมดําเนนิงานอยางตอเนื่อง

๙.๒ ผลลัพธ : เกดิแนวคดิที่จะขยายผลไปสูหมูบาน และตําบลอื่น ๆ

: เกิดการขยายผลประเด็นการทํางานเพื่อเช่ือมรอยกับการทําเกษตร

ปลอดสารจากการใชประโยชนขยะเปยก

: เกิดการสงเสริมสุขภาพ การจัดตั้งกองทุน และการสงเสริมการ

เรยีนรูการพึ่งพาตนเองของชุมชน

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) มกีารวางแผนงานที่ดี

Page 69: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

65

(๒) มรีะบบการบรหิารจัดการที่ดี

(๓) เกดิกองทุนการศกึษาใหกับเยาชนในชุมชน

(๔) ไดรับการสนับสนุนและโอกาสที่ดจีากหนวยงานภาครัฐและเอกชน

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑) คนในชุมชนบางกลุม ยังขาดความเขาใจตอโครงการ

(๒) โครงการขาดการไดรับการสนับสนุนงบประมาณ

(๓) เยาวชนที่ไมสามารถทํางานอยางตอเนื่อง เกดิจากการยายสถานศึกษา

และตดิตามผูปกครองไปตางจังหวัด

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑)เกดิแนวคดิขยายโครงการไปยังหมูบานอื่น ๆใหครบทุกหมู ในตําบลหยวน

(๒)มกีารเพิ่มประสทิธภิาพในการจัดการขยะโดยการเลี้ยงไสเดอืนในบอพัก

ขยะเปยก เพื่อกําจัดขยะและสรางรายไดเสรมิใหกับคนในครอบครัว

(๓)เกดิชุมชนปลอดถังขยะ

ดานท่ี ๕ สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวิีต

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการกองบุญสวัสดกิารชุมชนตําบลแมสุก

๓. ความสําคัญของโครงการ

กองทุนสวัสดิการชุมชนตั้งขึ้นเพื่อเปนการชวยเหลือเกื้อกูลกันระหวางสมาชิก

กองทุน เปนการออมเงินมาเปนกองบุญรวมกัน ที่เหมือนเปนเงินหนาหมู ในการจัดสรรเปน

สวัสดิการใหกับสมาชิก โดยมีวาระแหงชีวิต เกิด แก เจ็บ ตาย โดยมีการพัฒนา และแกไขให

สอดคลองกับการดําเนินชีวิต ของการจัดสวัสดิการชุมชนใหเหมาะสมกับความตองการของ

สมาชิก และสนองประโยชนแกชุมชนใหเกิดความม่ันคงดานการชวยเหลือเกื้อกูลกัน อยาง

ยั่งยนื

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก คณะทํางานกองบุญสวัสดกิารชุมชน

บทบาทหนาที ่ดําเนนิกจิกรรมตามระเบยีบที่กําหนด

หนวยงานสนับสนุน องคการปกครองสวนทองถิ่น ,ภาคเีครอืขาย ,หนวยงาน

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จังหวัดพะเยา

Page 70: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

66

บทบาทหนาที่ หนุนเสรมิการดําเนนิกจิกรรมตามโครงการอยางตอเนื่อง

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

สมาชิกโครงการไดรับการจัดสวัสดกิารอยางทัดเทยีมกัน

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)ประชุมระดมความคดิเห็น กลุมองคกร และภาคเีครอืขาย (๒)ประชาคม

ความเห็นชอบชุมชน (๓)พิจารณาการจัดสวัสดิการตั้งแตเกิด จนตาย (การชวยเหลือ) (๔)

เปดรับสมัครสมาชิก (๕)ประชาสัมพันธและการใหการชวยเหลือสมาชิกตามระเบียบที่กําหนด

(๖)ตดิตามประเมนิผลการดําเนนิงาน

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

รอยละ ๕๐ ของประชาชนในตําบลมสีวนรวมในการจัดสวัสดกิารใหแกชุมชน

๘. งบประมาณ

งบประมาณดําเนนิการจากหลายแหลงไมสามารถระบุได

๙. ผลการดําเนินงาน

กองทุนมคีวามยั่งยนื ในการบรหิารจัดการตนเอง สมาชิกไดรับการจัด

สวัสดิการอยางทั่วถึงเกิดการเรียนรูระหวางชุมชนเพื่อช้ีใหเห็นคุณคาของกองบุญสวัสดิการ

ชุมชนในการชวยเหลอืซึ่งกันและกัน

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

การรวมกันคดิในการแกไขปญหาชุมชนทําใหเกดิความยั่งยนื

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑) สมาชิกสวนใหญเปนผูปวยและผูสูงอาย ุ

(๒) ผูนําชุมชนบางสวน ยังไมเขาใจ เกี่ยวกับกองทุนสวัสดกิารชุมชน

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑) อนาคตใหมกีารออมในโรงเรยีน

(๒) เกดิสวัสดกิารถวนหนาในตําบลอยางทัดเทยีมกัน

Page 71: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

67

๒.๗ เมนูแนวทางเบญจวิถี จังหวัดแพร

ดานท่ี ๑ เล้ียงลูกดวยนมแมและสุขอนามัยในครัวเรอืน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการธรรมนูญสุขภาพ ตําบลเหมอืงหมอ

๓. ความสําคัญของโครงการ

ธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพแหงชาติ หรือเรียกสั้นๆวาธรรมนูญสุขภาพ เปน

เหมือนกฎหมายแมบทเกี่ยวกับสุขภาพของคนไทยทั้งหมด ซึ่งความสําคัญของสุขภาพอัน

หมายถึง ภาวะของมนุษยที่สมบูรณทางกาย ทางจิต ทางปญญา และทางสังคม และยังมอง

คามเช่ือมโยงกันเปนองครวมอยางสมดุลดวย การที่เราจะพัฒนาประเทศชาติบานเมืองให

กาวหนา เจรญิยิ่งขึ้นไป สิ่งสําคัญที่สุดอันดับแรกคือการพัฒนาทางดานสุขภาพพลานามัยของ

ประชาชน เมื่อมีสุขภาพที่ดีแลวบุคคลากรก็จะสามารถพัฒนาดานอื่นๆใหเปนไปอยางมี

ประสทิธภิาพ

ตําบลเหมอืงหมอไดมองเห็นความสําคัญของเรื่องสุขภาพพลานามัยที่ดขีอง

ประชาชน จึงจัดทําโครงการธรรมนูญสุขภาพขึ้น เพื่อใหประชาชนทุกเพศทุกวัยในตําบลเหมือง

หมอ มสีุขภาพที่ด ี

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก , ประชาชนใน ตําบลเหมอืงหมอ,สํานักธรรมนูญ

สุขภาพตําบลเหมืองหมอ,กํานัน/ผูใหญบาน ตําบลเหมืองหมอ,สมาชิกองคการบริหารสวน

ตําบลเหมอืงหมอ

บทบาทหนาที ่ ทุกคนทุกสวนมรีวมมอืกันในการจัดทํากจิกรรมทุกขัน้ตอน

ตัง้แตแรกเริ่มจนจบกระบวนการ

หนวยงานสนับสนุน ศูนย สช.นครสวรรค, สํานักงานสารธารสุขจังหวัดแพร,

สสอ.เมอืงแพร

บทบาทหนาที ่เปนที่ปรกึษาและใหคําแนะนําในการจัดทําธรรมนูญสุขภาพ

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) เพื่อใหประชาชนในตําบลเหมอืงหมอทุกคนมสีุขภาวะที่ด ีมอีายุที่ยั่งยนื

(๒) เพื่อใหประชาชนในตําบลเหมอืงหมอไดทํากจิกรรมรวมกัน กอใหเกดิความ

สามัคคกีันในชุมชน

Page 72: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

68

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)จัดตัง้คณะทํางาน (๒)จัดอบรมใหความรูกลุมผูนําชุมชน / แกนนําชุมชน

(๓)จัดทําสมัชชาสุขภาพ (๔)จัดทํา / ยกราง ธรรมนูญสุขภาพ (๕)การลงประชามติรับราง

ธรรมนูญสุขภาพ (๖)การนําธรรมนูญสุขภาพมาปฏบิัตใิช (๗)ประเมนิผล/ตดิตามผล

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑) ประชาชนในตําบลเหมอืงหมอมสีุขภาพที่ดขีึ้น

(๒) สถติกิารเกดิโรคตางๆ ลดนอยลง

(๓) เกดิความสามัคคขีึ้นภายในชุมชนตําบลเหมอืงหมอ

๘. งบประมาณ

๙. ผลการดําเนินงาน

จากการจัดทําโครงการธรรมนูญสุขภาพ ตําบลเหมืองหมอ เพื่อสงเสริมใหทุก

คนในชุมชนมีสุขภาพที่ดีนั้น ประชาชนในชุมชน ผูนําในชุมชน และหนวยงานที่เกี่ยวของมีสวน

รวมในการทํากิจกรรม โดยประชาชนในชุมชนใหความสนใจสุขภาพของตนเองมากขึ้น และได

มองเห็นประโยชนที่ตนเองจะไดรับจากการเขารวมโครงการฯ และยังชวยทําใหทุกคนในชุมชน

ตําบลเหมอืงหมอ เกดิความรักความสามัคคกีันอกีดวย

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) การใหความรวมมอืของคนในชุมชน และผูที่มสีวนเกี่ยวของ

(๒) ความตอเนื่องของกจิกรรม

(๓) การสนับสนุนของหนวยงานที่เกี่ยวของ

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

ขาดการประชาสัมพันธ

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑)มกีารทําวจัิยเกี่ยวกับเรื่องธรรมนูญสุขภาพตําบลเหมอืงหมอ (๒)เกดิ

นวัตกรรมดานสุขภาพ เชน โครงการปลอดเหลาในงานศพ, ศูนยเพื่อนใจวัยรุน, โครงการลด

หวาน มัน เค็มในงานบุญ (๓)เกดิขอปฏบิัตริวมกันในชุมชน

ดานท่ี ๒ พัฒนาอาชพีตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม โครงการสงเสริมและพัฒนาสังคมตามแนวเศรษฐกิจ

พอเพยีง กจิกรรม กลุมแปรรูปอาหารจากกลวย

Page 73: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

69

๓. ความสําคัญของโครงการ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชการที่ ๙ ทรงช้ีนํา “ปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง” ใหเปนแนวทางการดําเนินชีวิตและปฏิบัติแกประชาชนชาวไทย เพื่อใหสามารถ

ดํารงชีวิตดวยความพอประมาณ มีเหตุพล และสรางภูมิคุมกัน ซึ่งจะตองอยูบานเงื่อนไขของ

ความรูคุณธรรม โดยนโยบายรัฐบาลไดใหความสําคัญการดําเนนิการแกไขปญหาความยากจน

และปญหาสังคมเปนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ โดยเนนคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา

และไดนําแนวพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” มา

เปนแนวทางในการดําเนนิงาน ปฏบิัตใินทุกภาคของประเทศไทย

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง

ของมนุษย มีนโยบายใหหนวยงานในสังกัด ไดนํ า “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว” มาเปนแนวทางในการสรางความอยูรอดของสังคม และให

สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาต ิฉบับที่ ๑๐

ศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๓๙ จังหวัดแพร จึงนอมนําเอาหลัก “ปรัชญา

เศรษฐกจิพอเพยีง”มาเปนแนวทางในการดําเนนิงานโครงการสงเสรมิและพัฒนาสังคมตามแนว

เศรษฐกิจพอเพียง โดยการสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการดําเนิน

โครงการ ซึ่งองคการบริหารสวนตําบลเหมืองหมอ เปนหนวยงานที่สมัครจะเขารวมกิจกรรม

ตามโครงการดังกลาว

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๓๙ จังหวัดแพร

บทบาทหนาที ่ สนับสนุนงบประมาณ สนับสนุนวทิยากร

หนวยงานสนับสนุน องคการบรหิารสวนตําบลเหมอืงหมอ

บทบาทหนาที ่บรรจุกจิกรรมในแผนการสงเสรมิและสนับสนุนงบประมาณของ

กลุมแปรรูปอาหารจากกลวย

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) เพื่อสงเสรมิและพัฒนาสังคมตามแนวเศรษฐกจิพอเพยีง

(๒)เพื่อสรางอาชีพ สรางงาน สรางรายได ใหกับคนในชุมชน

(๓) เปนศูนยรวมของการจัดกจิกรรม/ที่พะปะพูดคุยของคนในชุมชน

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)ประสานองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูนําชุมชน และเครอืขายอาสาสมัคร

Page 74: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

70

พัฒนาสังคมฯ ในพื้นที่เพื่อจัดการประชุม ช้ีแจง โครงการ และคัดเลือกผูเขารวมโครงการฯ (๒)

จัดเวทีประชาคมหมูบานเพื่อศึกษา และทําความเขาใจอยางถองแทกับปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง และรูปแบบการดําเนินโครงการในการเลือกกิจกรรมที่ตองการของชุมชนฯลฯ(๓)

จัดทําแผนชุมชน/ทบทวนแผนชุมชนภายหลังการตกผลึกความเขาใจแกนของปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง โดยความตองการของชุมชน(๔) ประสานองคกรภาครัฐและเอกชน (เบญจภาคี) ที่

ทํางานในพื้นที่และเกี่ยวของ เพื่อใหเกิดการ บูรณาการโดยการจัดประชุม การแตงตั้ง

คณะทํางาน การกําหนดแนวทางการบูรณาการ (๕) แตงตั้งคณะทํางานโครงการสงเสริมและ

พัฒนาสังคมตามแนวทางเศรษฐกจิพอเพยีง(๖) ดําเนนิการตามโครงการในกระบวนการเรียนรู

ตางๆ ที่หมูบานมีประชามติไดแก การฝกอบรม เรียนรูจากแบบอยางที่มี ศึกษาดูงาน การ

สนทนา/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ทบทวน/ศึกษาวิถีชุมชน การประชาสัมพันธ (๗) สงเสริม

สนับสนุนปจจัย หรือกิจกรรมตามขอเสนอชองชุมชนที่ เปนการพัฒนาศักยภาพของ

กลุมเปาหมาย ครอบครัว และชุมชนตามแนวทางเศรษฐกจิพอเพยีง(๘) จัดเวทีทบทวนบทเรียน

การดําเนินงานในรอบ ๖ เดือน เพื่อทบทวนการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของกลุมเปาหมาย

ครอบครัว และชุมชน (๙) สรุปผลการดําเนินงานโครงการ และรายงานใหกรมพัฒนาสังคม

และสวัสดกิาร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

ประชาชนในตําบลเหมอืงหมอมอีาชีพและมีรายไดเพิ่มมากขึ้น

๘. งบประมาณ งบประมาณหนุนเสริมกิจกรรม เปนเงิน ๓๑,๕๐๐.-บาท (สามหมื่น

หนึ่งพันหารอยบาทถวน)

๙. ผลการดําเนินงาน

ชุมชนบานสะบู หมูที่ ๕ ตําบลเหมืองหมอ อําเภอเมืองแพร จังหวัดแพร เปน

ชุมชนกึ่งบานกึ่งเมอืง อาชีพหลักของคนในชุมชนคอื ทํานา ทําสวนผัก และเลี้ยงสัตว ซึ่งเมื่อ

หมดฤดูกาลเก็บเกี่ยว ทําใหคนในชุมชนวางจากงาน ไมมอีาชีพ ไมมีรายได จึงเกิดแนวคิดที่จะ

หาอาชีพเสริม โดยการนําของผูใหญบาน จึงไดมีการประชุมประชาคมและวิเคราะหปญหา

ชุมชน พรอมทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาอาชีพเสริม และมองบริบทของชุมชนที่มีวัตถุดิบ คือ

กลวย จึงไดมีมติตั้งกลุมแปรรูปอาหารจากกลวยขึ้น และมีกิจกรรมที่กลุมทําคือ กลวยฉาบ

กลวยกวน กลวยอบน้ําผ้ึง ทําใหปจจุบันวัตถุดิบกลวยขาดแคลนในพื้นที่ ประกอบกับพื้นที่

ตําบลเหมืองหมอเปนตําบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม ที่ดําเนินกิจกรรม

เกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาสังคมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จึงขอรับการสนับสนุน

งบประมาณจากศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๓๙ จังหวัดแพร เพื่อใหการสนับสนุนเรื่อง

Page 75: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

71

งบประมาณในการซื้อพันธุกลวยและบุคลากรในการใหความรูเทคนิคเกี่ยวกับการแปรรูป

อาหารจากกลวย ซึ่งกิจกรรมดังกลาวกอใหเกิดการสงเสริมใหเกิดอาชีพ มีรายไดและดําเนิน

ชีวติตามแนวทางเศรษฐกจิพอเพยีง

จากการกอเกิดกลุมแปรรูปอาหาร (กลวย) ทําใหคนในชุมชนไดมีสวนรวมคิด

วิเคราะหสภาพปญหาของชุมชน และรวมหาแนวทางแกไขรวมกัน รวมทั้งจะจัดใหมีกิจกรรม

สงเสรมิการออมทรัพย/การออมสัจจะวันละหนึ่งบาท เพื่อนําไปสูการจัดสวัสดิการแกกลุมแปร

รูปอาหารจากกลวย

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ความรวมมอืของคนในชุมชน

(๒) กจิกรรมสอดคลองกับความตองการของคนในชุมชน

(๓) ความเขมแข็งของผูนํา /แกนนํา/เครอืขาย

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

การเขารวมประชุมของกลุมสมาชิกไมตอเนื่อง แกไขโดยการ จัดประชุมใน

ชวงเวลากลางคนื

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

องคการบริหารสวนตําบลเหมืองหมอ บรรจุกิจกรรมดังกลาวไวในแผนของ

อปท./เทศบัญญัต ิ

จัดใหมกีจิกรรมสงเสรมิการออมทรัพย/การออมสัจจะวันละ ๑ บาท เพื่อ

นําไปสูการจัดสวัสดกิารแกสมาชิกกลุมแปรรูปอาหารจากกลวย

ดานท่ี ๓ เสรมิสรางครอบครัวอบอุน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการธรรมะสุดสัปดาห

๓. ความสําคัญของโครงการ

สืบเนื่องมาจากศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๓๙ จังหวัดแพร ไดดําเนินงาน

โครงการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมในระดับพื้นที่ รวมกับองคการบริหารสวนตําบลตาผาม

อก ไดตระหนักถงึเด็ก/เยาวชนที่กอปญหาใหแกสังคม ไมวาเยาวชนที่ยกพวกตีกัน เยาวชนที่ติด

ยาเสพติด และอื่นๆ ที่ทําใหสังคมไทยเราประสบปญหาวุนวายในปจจุบันนี้ และจะมีปญหา

สืบเนื่องถึงเด็ก/เยาวชนที่จะเปนผูใหญในอนาคต ศีลธรรม คุณธรรมเปนสิ่งเดียวเทานั้นที่จะ

ฟนฟูจิตใจ และรักษาชีวิตของเด็ก/เยาวชนของเราเอาไวได ใหมีความรูและแนวทางหลักธรรม

Page 76: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

72

ในการดําเนินชีวิตประจําวัน และสามารถนําความรู ความเห็นความเขาใจที่ถูกตองมาเปน

วิทยาทานเปนการรวมมือสนับสนุนปลูกฝงศีลธรรมคุณธรรมใหเด็ก/เยาวชน ครอบครัว เปน

แบบอยางที่ดี เพื่อสงเสริมใหเยาวชนใฝใจในธรรมหางไกลยาเสพติด ยึดม่ันในวัฒนธรรม

ขนบธรรมเนียมและประเพณีไทยที่เปนมรดกอันล้ําคาของบรรพบุรุษไทยและใหไดเกิดความ

สํานึกในคุณคาคุณประโยชนและหนาที่ของตนที่ ได เกิดมาในถิ่นฐานของความเปน

พุทธศาสนกิชน

ทางชุมชนไดตระหนักถึงความสําคัญของกิจกรรมที่เกิดขึ้น ที่สงผลใหเด็ก

เยาวชน และครอบครัวในชุมชนไดมีหลักของคุณธรรม จริยธรรม เพื่อใหเกิดการดําเนินการที่

ตอเนื่องทางผูนําชุมชน วัด โรงเรียน อบต.จึงไดจัดใหมีการเขาวัดทุกวันศุกรโดยใชช่ือกิจกรรม

วา “ธรรมะสุดสัปดาห” เพื่อใหเกิดความตอเนื่องจากโครงการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมใน

ระดับพื้นที่

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก โรงเรยีนบานปง

บทบาทหนาที ่ สนับสนุนงบประมาณ ,กําหนดกลุมเปาหมาย

หนวยงานสนับสนุน องคการบรหิารสวนตําบลตาผามอก

บทบาทหนาที ่สนับสนุนในการเขารวมกจิกรรม

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑)เพื่อปลูกฝงจิตสํานกึในการเปนชาวพุทธ

(๒)เพื่อสรางความอุบอุน/สามัคคใีนครอบครัว

(๓)เพื่อสงเสรมิคุณธรรม จรยิธรรมในการดําเนนิชีวติ

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)ประชุมช้ีแจงวัตถุประสงคของกจิกรรมให ผูนําชุมชน ,วัด ,บาน ,โรงเรยีน

(๒)ดําเนนิกจิกรรม (สวดมนต ,สอนศาสนพธิ ี,ฟงเทศน ,นั่งสมาธ)ิ ทุกวันศุกร

ณ วัดบานปง ต.ตาผามอก

๘. งบประมาณ

๙. ผลการดําเนินงาน

เด็ก เยาวชน และครอบครัว ไดเขารวมกจิกรรมในชุมชน ซึ่งปจจุบันเด็ก

เยาวชน และครอบครัวสามารถสวดมนตไดทุกบทอยางคลองแคลว โดยมีโรงเรียนบานปง และ

เจาอาวาสวัดบานปง ต.ตาผามอก เปนผูนํากิจกรรม การสวดมนต การนั่งสมาธิ การเดิน

จงกรม สอนในเรื่องศาสนพิธีตางๆ เทศนาธรรม ใหมีความรูและแนวทางหลักธรรมในการ

Page 77: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

73

ดําเนินชีวิตประจําวัน และสามารถนําความรู ความเห็นความเขาใจที่ถูกตองมาเปนวิทยาทาน

เปนการรวมมอืสนับสนุนปลูกฝงศลีธรรมคุณธรรมใหเด็ก/เยาวชน ครอบครัว เปนแบบอยางที่ด ี

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ผูนําชุมชนใหความสําคัญ สนับสนุนกจิกรรม

(๒) หนวยงานตางๆใหการสนับสนุน

๑๑. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑) ขยายพื้นที่ในการจัดกจิกรรมเพิ่มขึ้น

(๒) ขยายกลุมเปาหมายจากเด็ก/เยาวชนระดับประถมใหเปนระดับมัธยม

ดานท่ี ๔ สรรสรางการจัดการส่ิงแวดลอมท่ีด ี

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการคาราวานเสรมิสรางเด็ก

๓. ความสําคัญของโครงการ

ในอดีตวิถีชีวิตความเปนอยูของคนไทยเปนระบบเครือญาติ มีสวนรวมในการ

อบรมเลี้ยงดูลูกหลาน ตอมารูปแบบของครอบครัวเปลี่ยนแปลงจากครอบครัวขยายมาเปน

ครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นกอใหเกิดปญหาดานครอบครัวที่สงผลกระทบตอเด็ก อันเปนสาเหตุทํา

ใหครอบครัวขาดความอบอุน และชุมชนที่มีสวนสําคัญในการสรางสภาพแวดลอมที่จะเอื้อให

เกิดการเรียนรูของเด็ก เพื่อใหเด็กมีพัฒนาการสมวัยและมีความสามารถในการปรับตัวใหทัน

ตอการเปลีย่นแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคมนั้นขาดความรู ความเขาใจในเรื่องการพัฒนาเด็ก

ไมเห็นความสําคัญและตระหนักถงึความจําเปนที่จะตองพัฒนาเด็ก รวมทัง้ขาดพื้นที่สรางสรรค

ในชุมชน เพื่อใหเด็กไดทํากิจกรรมรวมกันและเปนแหลงเรียนรู นอกจากนี้การทํางานของ

ภาครัฐเปนการทํางานตามภารกิจของหนวยงาน ลักษณะการทํางานเปนแบบแยกสวน ขาด

การบูรณาการงานดานเด็กอยางเปนองครวมเกิดการทํางานซ้ําซอน จากสภาพปญหาและ

สถานการณของครอบครัว ชุมชนที่แวดลอมตัวเด็กและการดําเนินงานภาครัฐที่ไมเอื้ออํานวย

ตอพัฒนาการของเด็ก กอใหเกดิปญหาตอเด็ก

ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๓๙ จังหวัดแพร ไดตระหนักถงึปญหาและผลกระทบ

ที่เกดิขึ้นกับเด็ก จึงจัดคาราวานเสรมิสรางเด็กขึ้น โดยสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น

มีบทบาทสําคัญในการดําเนินกิจกรรมจัดแหลงเรียนรูและสันทนาการที่เหมาะสมแกเด็กและ

เยาวชน ในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อสรางความสุข สนุกสนาน ความบันเทิง และความผอน

Page 78: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

74

คลาย อีกทั้งสามารถชวยสรางพัฒนาการทั้งทางดานรางกาย จิตใจ สติปญญา สังคม และ

อารมณอยางรอบดานตามวัย กอใหเกิดพลังความคิดริเริ่ม และเรียนรูรวมกัน พรอมทั้งสราง

ความสัมพันธอันดีระหวางเด็ก ครอบครัว ชุมชน โดยคํานึงถึงความตองการและความสนใจ

ของเด็กผานกระบวนการรวมคิด รวมจัดทําและรวมประเมินผล สอดคลองกับสวัสดิการสังคม

ในมติดิานนันทนาการ

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศพส.๓๙ จังหวัดแพรสภาเด็กและเยาวชน ตําบล

เหมอืงหมอ สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัดแพร

บทบาทหนาที่ (๑)สนับสนุนทรัพยากร อาทิ งบประมาณ องคความรู

บุคลากร (๒)บูรณาการงานกจิกรรมและบุคลากรหนวยงานในสังกัดกระทรวง พม.(๓)ประสาน

ความรวมมอืกับหนวยงานอื่นๆ เพื่อใหการสนับสนุนการดําเนนิงานตามโครงการ

หนวยงานสนับสนุน : บานพักเด็กและครอบครัวจังหวัดแพร, อบต.เหมอืงหมอ

บทบาทหนาที ่ สนับสนุนทรัพยากร อาท ิองคความรู งบประมาณ บุคลากรให

ความรวมมอืในการขับเคลื่อนกจิกรรม

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

เพื่อเสริมสรางรูปแบบและกลไกการบริหารจัดการในการพัฒนาเด็กและ

เยาวชนในระดับพื้นที่/ชุมชนใหมปีระสทิธภิาพยิ่งขึ้น

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) ประสานพื้นที่ และบูรณาการความรวมมือ(๒) วิเคราะหปญหาในชุมชน

และกําหนดกิจกรรม(๓)สภาเด็กฯจัดทําโครงการเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก

ศพส.๓๙ (๔) ศพส.อนุมัติโครงการ และใหการสนับสนุนงบประมาณ (๕) สภาเด็กฯ ดําเนิน

กจิกรรมตามแผน (๖) ประเมนิผล/ตดิตาม

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

จํานวนเด็กที่รวมกจิกรรมการเสรมิสรางกระบวนการเรยีนรู

๘. งบประมาณ ๘๕,๐๐๐.-บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

สภาเด็กและเยาวชนตําบลเหมอืงหมอ จัดทําโครงการคาราวานเสริมสรางเด็ก

ซึ่งประกอบดวย กจิกรรมยอย ๓ กจิกรรม คอื

(๑)กจิกรรมจิตอาสาพัฒนาศูนยเด็กเล็ก(แตงแตมเติมสีเพื่อนอง) โดยเด็กและ

เยาวชนรวมกันทาสขีองเลนประจําศูนยเด็กเล็กภายในพื้นที่ตําบลเหมอืงหมอ จํานวน ๔ แหง

Page 79: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

75

(๒)เรยีนรูภูมปิญญาทองถิ่น (หลักสูตรการจีบผาและการจักรสาน เชน กระติ๊บ

ขาวพัด ฯลฯ) เมื่อวันที่ ๑๐ ก.ค.๕๔

(๓)จักรยานแรลลี่ โดยจัดใหเด็กและเยาวชนปนจักรยานไปปลูกปา ปลอย

ปลา เก็บขยะ เมื่อวันที่ ๑๖ ก.ค.๕๔

จากการดําเนินกิจกรรมดังกลาว สงผลใหสภาเด็กและเยาวชน ไดเรียนรูการ

ทํางานเปนทีม รูจักคิดเปน แกปญหาเปน และไดเรียนรูจากประสบการณจริง ทําใหเด็กและ

เยาวชนไดรับการพัฒนาศักยภาพ นอกจากนี้ ยังทําใหเด็กและเยาวชนในตําบลเหมืองหมอ ได

รูจักใชเวลาวางใหเกิดประโยชน มีจิตอาสา และไดรวมกิจกรรมสรางสรรค ชุมชนมีพื้นที่/

กจิกรรมสรางสรรคที่เกดิจากความตองการของเด็กและเยาวชนเอง

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ความเขมแข็งของสภาเด็กและเยาวชน

(๒) ความตอเนื่องในการทํากจิกรรม

(๓) อบต.เหมอืงหมอสนับสนุนงบประมาณ

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

ปญหา/อุปสรรค คือ ผูปกครองไมเขาใจหรือไมสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ

เด็กและเยาวชน

แนวทางแกไข อบต.เหมอืงหมอ ช้ีแจงทําความเขาใจแกผูปกครอง และเชิญเขา

รวมกจิกรรม

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

(๑) การจัดตัง้ศูนยการเรียนรู (ตามแนวทางของโฮงเฮียนสืบสานภูมิปญญา จ.

เชียงใหม)

(๒) มนีักวจัิยเขามาศึกษาการดําเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนตําบลเหมือง

หมอ

(๓) นําเขาบรรจุไวในแผนพัฒนาองคการบรหิารสวนตําบลเหมอืงหมอ ๓ ป

(๔) นําสมาชิกเด็กและเยาวชนเขารวมการออมสัจจะวันละหนึ่ง

(๕) จัดตั้งสมาคมผูปกครองเด็กและเยาวชนตําบลเหมืองหมอ เพื่อสรางความ

เขาใจระหวางเด็กและผูปกครองในการดําเนนิงานสภาเด็กและเยาวชน

(๖) การจัดตัง้สหกรณรานคาของเด็กและเยาวชน

Page 80: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

76

ดานท่ี ๕ สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวิีต

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กิจกรรม โครงการศูนย ๓ วัย สานสายใยรักแหงครอบครัว

กจิกรรม Tutor Class คณติคดิสนุก

๓. ความสําคัญของโครงการ

สมเด็จพระบรมโอรสาธริาชฯสยามมกุฎราชกุมาร มีพระราชบัณฑูรเหนือเกลา

เหนือกระหมอมสั่งวาเพื่อใหการดําเนินงานโครงการสายใยรักแหงครอบครัวสามารถสราง

ครอบครัวอบอุนชุมชนเขมแข็งได“ควรมศูีนยกลางในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เนนความตอเนื่อง

เช่ือมโยงเปนวงจรของทุกชวงวัยภายใตการดําเนนิงานของหลักเหตุผล ตั้งแตการสรางความคิด

รวบยอด(Concept) การกําหนดคําจํากัดความที่ชัดเจน (Definition) และการถายทอดลงสูระดับ

ตาง ๆ เพื่อนําไปสูการปฏบิัต ิอยางเปนรูปธรรม(Implementation)โดยคํานึงถึงปจจัยที่จะนําไปสู

ความสําเร็จตลอดจนขอดขีอเสยีตางๆ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จึงไดนอมนําพระราช

บัณฑูรสมเด็จพระบรมโอรสาธริาชฯสยามมกุฎราชกุมาร มาดําเนนิงานโครงการ จัดตั้ง ศูนย ๓

วัย สานสายใยรักแหงครอบครัว และทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทาน

พระราชาอนุญาตใชช่ือวา "ศูนย ๓ วัย สานสายใยรักแหงครอบครัว" ในพระอุปถัมภพระเจา

วรวงศเธอ พระองคเจาศรีรัศมิ์พระวรชายาฯ เพื่อเปนศูนยกลางในการพัฒนา คุณภาพชีวิต

เนนความตอเนื่องเช่ือมโยงเปนวงจรทุกชวงวัย โดยบูรณาการการดําเนินงานของ ทุกภาคสวน

ในการใหบรกิารประชาชนแบบองครวม

มุงเนนการดูแลและรักษาสภาพรางกายและจิตใจ กระตุนและดึงศักยภาพ

ประสบการณผูสูงอายุ ใชหลักจิตวิทยาใหคนสูงอายุรูสึกวาตนมีคา ปรับทัศนคติ คานิยม ของ

การเตรียมคนสูงอายุไมใชคนแก (old people) แตเปนผูสูงวัยที่ทรงคุณคา (senior citizen) ใช

หลักการแพทย จิตวิทยา วิทยาศาสตร การกีฬา และนันทนาการ สังคมวิทยา และระดับ

วรรณะทางครอบครัว เพื่อสงเสรมิสนับสนุนใหผูสูงอายุมสีถานภาพบทบาท และคุณภาพชีวิตที่

ดี สามารถอยูกับครอบครัวและชุมชนไดอยางมีความสุข มีคุณคา และศักดิ์ศรีและสามารถ

เขาถงึบรกิารสวัสดกิารสังคม

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนย ๓ วัยสานสายใยรักปาแมต,ศูนยพัฒนาสังคม

หนวยที่ ๓๙ แพร,พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยแพร,บานพักเด็กและครอบครัว

จังหวัดแพร

Page 81: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

77

บทบาทหนาที ่ วางแผนกระบวนการและจัดทําโครงการตัง้แตเริ่มตนจนสิ้นสุด

โครงการ

หนวยงานสนับสนุนโรงเรยีนในพื้นที่,ผูนําชุมชน,ผูปกครอง,สถาบันกวดวชิา

คณติศาสตร

บทบาทหนาที ่สงรายช่ือผูเขารวมโครงการและประสานงานระหวางหนวยงาน

หลัก

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) เปนแนวทางการพัฒนาสถาบันครอบครัวในการใช ๕ วิถี การพัฒนาลงสู

สถาบันครอบครัวโดยเนนการเรียนรูที่บงช้ีวาเด็กในพื้นที่ยังขาดโอกาสและทักษะซึ่งกิจกรรมนี้

จะเปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตเนนพัฒนาการเด็กใหสมวัย (๒) เพื่อใชเวลาวางใหเกิด

ประโยชนในชวงเวลาปดเทอม (๓) สรางพื้นฐานสูการสอบ o-net/nt (๔) สรางเสริมเทคนิค

กระบวนการในการทําขอสอบ (๕) เพื่อเพิ่มความรูทักษะในดานวิชาคณิตศาสตร/วิทย/Eng/

สังคม/ไทย

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) ประชุมช้ีแจงวัตถุประสงคของกจิกรรมใหผูนําชุมชน/ผูปกครอง/โรงเรยีน

(๒) ประชาสัมพันธโครงการแกกลุมเปาหมายเด็กและผูปกครองใหเขารวม

โครงการ

(๓) ประสานวทิยากร/อาจารยแตละรายวชิา

(๔) ดําเนนิการ/กจิกรรม ตามรายวชิา

(๕) สรุป/รายงาน/ตดิตามผล

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

เด็กนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปที่ ๖ และมัธยมศึกษาตอนตนและ

ครอบครัวในพื้นที่เขารวมกจิกรรมรอยละ ๙๐

๘. งบประมาณ ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

เนื่องจากปจจุบันมีการแขงขันสูง เด็กตองการพัฒนาทักษะใหดีขึ้นและการ

สอบ O-netในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตนเปนการวัดผลการจัดการศึกษาขั้น

พื้นฐานระดับชาติ รวมทั้งเปนการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ เพื่อใหเด็กไดรับการ

สงเสรมิและการเรยีนรูที่เหมาะสม และพัฒนาทักษะทางดานคณติศาสตร

Page 82: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

78

(๑) เด็กที่เขารวมโครงการสามารถสอบผานรอยละ ๗๕

(๒) ผูปกครองใหการสนับสนุนและสงเสรมิอยางตอเนื่อง

(๓) เด็กททีักษะและพัฒนาการที่ดขีึ้น

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) รุนพี่ที่ประสบความสําเร็จสามารถกลับมาถายทอดความรูได

(๒) ทําตอเนื่องและเด็กในชุมชนมพีื้นฐานในการสอบ o-net/nt

(๓) นักเรยีนที่สอบผาน รอยละ ๗๕

(๔) เด็กเกดิทักษะและมพีัฒนาการที่สมวัย

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

ขาดความรวมมอืจากวทิยากรมนีอย

แนวทางการแกไข จัดหาวทิยากรใหมจํีานวนที่เหมาะสมกับโครงการ

เด็กในพื้นที่ยังขาดความกระตอืรอืรนเนื่องจากผูปกครองขาดการสนับสนุน

แนวทางการแกไข ประชาสัมพันธใหผูปกครองเห็นความสําคัญของการศึกษาเด็กใน

การสอบ o-net/

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

๑.จัดการอบรมอยางตอเนื่องและเตรยีมความพรอมกอนจะมกีารสอบ ๑

เดอืน โดยกําหนดจัดในวันเสารและอาทติย

๒.๘ เมนูแนวทางเบญจวิถี จังหวัดนาน

ดานท่ี ๑ เล้ียงลูกดวยนมแมและสุขอนามัยในครัวเรอืน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม พอ-แม มอืใหมใสใจลูกรัก

๓. ความสําคัญของโครงการ

(๑) ใหความรูกับพอ-แม มอืใหม ใหมทีักษะในการเลี้ยงลูกดวยตนเอง

(๒) แนวทางการดูแลลูกอยางไรใหปลอดภัย สุขภาพแข็งแรง

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก : โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บทบาทหนาที่ :

ใหความรูในเรื่องการ การเลี้ยงดูบุตร และมอบหมายให อสม. ออกตดิตามผลการดําเนนิงาน

Page 83: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

79

หนวยงานสนับสนุน องคการบริหารสวนตําบล/หนวยงาน พม. บทบาทหนาที ่

อบต. : สนับสนุนงบประมาณ หนวยงาน พม. : สนับสนุนงบประมาณและลงพื้นที่ติดตามให

การชวยเหลอืในกรณทีี่ประสบปญหาทางสังคม

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) มทีักษะการเลี้ยงลูกดวยตัวเอง

(๒) รูจักสังเกตอากัปกริยิาของลูกเวลาที่หิวนม

(๓) มคีวาม สัมพันธในครอบครัว

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) สํารวจขอมูลคูสมรส

(๒) จัดเก็บขอมูล

(๓) อบรมใหความรู

(๔) ตดิตามใหคําแนะนําหลังคลอด

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

พอ-แม มอืใหมเลี้ยงลูกไดอยางปลอดภัยและสุขภาพแข็งแรง รอยละ ๖๐

๘. งบประมาณ

๙. ผลการดําเนินงาน

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

ดานท่ี ๒ พัฒนาอาชพีตามหลักเศรษฐกจิพอเพยีง

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการสงเสรมิครอบครัวปออยูปอกิ๋น

๓. ความสําคัญของโครงการ เพื่อคนในครัวเรือนตําบลมีอาหารที่ปลอดสารพิษไว

บรโิภคตลอดป ลดรายจาย-มรีายไดเพิ่ม

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๒๕ จังหวัดนาน

บทบาทหนาที ่ ศพส. : สนับสนุนงบประมาณและหนุนเสรมิกจิกรรมตามแนว

เศรษฐกจิพอเพยีง

Page 84: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

80

หนวยงานสนับสนุน เกษตรตําบล/กศน./รพ.สต./อบต./ปตท.

บทบาทหนาที ่เกษตรตําบล : สนับสนุนใหความรูในเรื่องการปลูกพชืตามหลัก

เศรษฐกจิพอเพยีง

กศน. : ใหความรูเรื่อง การดําชีวติตามแนวเศรษฐกจิพอเพยีงไดอยางยั่งยนื

รพ.สต. : สนับสนุนการตรวจสุขภาพ

อบต. : สนับสนุนบุคลากรเขารวมกจิกรรมและประสานพื้นที่ดําเนนิการให

ปตท. : สนับสนุนงบประมาณและสงเสรมิการดําเนนิวถิชีีวิตตามแนวเศรษฐกจิ

พอเพยีง

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

เพื่อสงเสรมิใหครอบครัวในตําบลหันมาดําเนนิชีวิตตามแนวเศรษฐกจิพอเพยีง

ปลูกผักสวนครัว/เลี้ยงสัตวเปนอาหาร มกีนิตลอดป เหลอืกนิไวแบงปน เหลอืแบงปนไวขาย

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) จัดประชุมช้ีแจงทําความเขาใจกจิกรรม

(๒) วางแผนพัฒนา

(๓) วเิคราะหแผนและขอมูล

(๔) ดําเนนิการตามแผน

(๕) ประเมนิรวมตดิตามผลอยางตอเนื่อง

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ จํานวนครอบครัวที่ไดรับการสงเสรมิรอยละ ๖๐

๘. งบประมาณ

ศพส. : ๑๐๖,๐๐๐ บาท อบต. : ๒๐,๐๐๐ บาท เกษตรตําบล : ๑๐,๐๐๐ บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ความรูความเขาใจสามารถดําเนนิการได

(๒) มจิีตสํานกึตระหนักในความพอเพยีง

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

สามารถพัฒนาเปนศูนยเรยีนรูดานเศรษฐกจิพอเพยีงได

Page 85: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

81

ดานท่ี ๓ เสรมิสรางครอบครัวอบอุน

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม โครงการสายวัดสัมพันธสูครอบครัวอบอุน

๓. ความสําคัญของโครงการ

เนื่องจากปจจุบันครอบครัวมคีวามคดิเห็นไมตรงกัน ทําใหเกดิการทะเลาะ

เบาะแวงเกดิความสัมพันธที่ไมเหมาะสมตามมา

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก ศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๒๕ จังหวัดนาน/องคการ

บรหิารสวนตําบล

บทบาทหนาที ่ศพส. : ประสานงานรวมกับภาคเีครอืขาย หนุนเสรมิกจิกรรม

เสรมิสรางครอบครับอบอุน อบต. : สนับสนุนงบประมาณ และประสานงานกับคนในชุมชน

หนวยงานสนับสนุน : รพ.สต./ พมจ.นาน /กศน. /โรงเรยีน

บทบาทหนาที ่ รพ.สต. : ใหความรูในการสรางความสัมพันธในครอบครัว

พมจ.นาน : สนับสนุนงบประมาณ ดําเนินงานศพค. ,กศน. : ใหความรูเรื่อง “ การศึกษาของ

คนตางวัย” โรงเรยีน : สนับสนุนกลุมเปาหมายเขารวมกจิกรรม

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) เพื่อพัฒนาความสัมพันธของครอบครัวใหมคีวามรักความผูกพันกันอยาง

ลกึซึ้ง

(๒) เพื่อใหครอบครัวเกดิความเขาใจซึ่งกันและกันเห็นอกเห็นใจกันมคีวามรูสกึ

ที่ดตีอกัน

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑)ประชุมช้ีแจงทําความเขาใจกับชุมชน (๒) ประสานงานกับภาคเีครอืขาย

และผูนําชุมชน (๓) ดําเนนิการฝกอบรม (๔) ตดิตามประเมนิผล

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

จํานวนครอบครัวที่มคีวามรักความอบอุนมากขึ้น รอยละ ๗๐

๘. งบประมาณ ศพส. : ๕,๐๐๐ ศพค. : ๑๐,๐๐๐

๙. ผลการดําเนินงาน

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ ภาคเีครอืขายมสีวนรวม ชุมชนใหความรวมมอื

Page 86: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

82

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ สนับสนุนใหขยายครอบคลุมทุกครัวเรอืน

ดานท่ี ๔ สรรสรางการจัดการส่ิงแวดลอมท่ีด ี

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม

โครงการรักษปา สรางคน วถิพีอเพยีง

๓. ความสําคัญของโครงการ

(๑) อนุรักษปาไม สัตวปาและทรัพยากรที่สําคัญไว

(๒) รวมกันพัฒนาทรัพยากรที่มใีหเกดิความยั่งยนื

(๓) มกีารจัดการที่ชัดเจนเกี่ยวกับการรักษปา

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก : การปโตเลยีมแหงประเทศไทย

บทบาทหนาที ่ : สนับสนุนงบประมาณและรวมดําเนนิกจิกรรมหนุนเสริม

หนวยงานสนับสนุน : อบต./เกษตรตําบล/ศพส./ปาไม

บทบาทหนาที ่ อบต. : สนับสนุนบุคลากรเขารวมโครงการ ,เกษตรตําบล : ให

ความรูเรื่อง การรักษาปาชุมชน ตามวิถีพอเพียง ,ศพส. : สนับสนุนงบประมาณและหนุนเสริม

กจิกรรมตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยีง ,ปาไม : สนับสนุนกลาพันธุไมและใหความรูเรื่องการดูแล

รักษาปาตนน้ํา และ การดํารงชีวติที่เกื้อตอปา

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

เพื่อพัฒนาประชากรในตําบลใหทุกคนมจิีตสํานกึรักษปาและพัฒนาพื้นที่โดย

การแยกพื้นที่ทํากนิและเขตอนุรักษปาใหชัดเจนและรวมมอืกันรักษาใหยั่งยนื

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

๑. ประชุมช้ีแจงทําความเขาใจกจิกรรม

๒. วางแผนพัฒนา

๓. วเิคราะหแผนและขอมูล

๔. ดําเนนิการตามแผน

๕. ตดิตามประเมนิผลอยางตอเนื่อง

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

Page 87: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

83

จํานวนพื้นที่ไดกําหนดไดดําเนนิการ รอยละ ๖๐

๘. งบประมาณ

ปตท. : ๑๐๐,๐๐๐ บาท

๙. ผลการดําเนินงาน

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ

(๑) ความรูความเขาใจสามารถดําเนนิการได

(๒) องคกรภาคเีครอืขายมสีวนรวมสนับสนุน

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

ชุมชนปลุกจิตสํานึก หวงแหนปาตนน้ําในชุมชนของตนเอง มีรางวัลตอบแทน

แกนนํากลุมที่ปฏบิัตตินในการดูแลรักษาปาตนน้ํา โดยจะวัดจากการประชาคมของชุมชนในการ

คัดเลอืก

ดานท่ี ๕ สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวิีต

๑. ความสอดคลองกับเบญจวถีิ โครงการสายใยรักแหงครอบครัว

๒. ชื่อโครงการ/ กจิกรรม ปลูกพชืพื้นบาน สบืสานภูมปิญญาทองถิ่น

๓. ความสําคัญของโครงการ

ปจจุบันภูมปิญญาทองถิ่นในตําบลไดขาดหายไป ดังนัน้จึงมกีารดําเนนิการสบื

ทอดภูมปิญญาทองถิ่นที่มแีตละตําบลใหลูกหลานไดสบืทอดตอไป

๔. หนวยงานรับผดิชอบ

หนวยงานรับผิดชอบหลัก : ศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๒๕ จังหวัดนาน

บทบาทหนาที ่: ประสานรวมกับ อบต. และภาคเีครอืขายตําบลสนับสนุนการ

ทํากจิกรรม

หนวยงานสนับสนุน : กศน./รพ.สต./อบต./เกษตรตําบล

บทบาทหนาที่ : กศน. : ใหความในเรื่อง สื่อ การประชาสัมพันธ ,รพ.สต. : ให

ความรูเรื่อง ประโยชนขอพชืสมุนไพรและวธิกีารนําไปใช

๕. วัตถุประสงคของโครงการ/ กจิกรรม

(๑) เพื่อนําเอาทรัพยากรที่มอียูในทองถิ่นมาใชใหประโยชน

(๒) ถายทอดภูมปิญญาทองถิ่นใหกับคนในชุมชน

Page 88: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

84

๖. ข้ันตอนการดําเนินโครงการ/ กจิกรรม

(๑) สํารวจสอบถามความตองการของประชาชนในเรื่องการอบสมุนไพร/แปร

รูปสมุนไพร (๒)ประสานงานกับวิทยากรมาใหความรูในเรื่องของการอบสมุนไพร/แปรรูป

สมุนไพร จากปราชญชาวบาน, รพ.สต. (๓)ดําเนนิกจิกรรม (๔)ประสานงานกับกลุมผูสูงอายุใน

ชุมชน/ผูนําชุมชนเขามารวมกิจกรรม (๕)ฝกปฏิบัติการอบสมุนไพรทํายาสมุนไพร/แปรรูป

สมุนไพร

๗. ตัวชี้วัด/เปาหมายความสําเร็จ

(๑) คนในชุมชนหันมาใชสมุนไพรอยางนอย รอยละ ๖๐

(๒) กลุมผูสูงอายุมรีายไดและมสีุขภาพดขีึ้น รอยละ ๖๐

๘. งบประมาณ

(๑) ศูนยพัฒนาสังคม หนวยที่ ๒๕ จังหวัดนาน : ๑๐,๐๐๐ บาท

(๒) องคการบรหิารสวนตําบลและ : ๑๐,๐๐๐ บาท

(๓) การศกึษานอกระบบและการศกึษาตามอัธยาศัย : ๕,๐๐๐ บาท

(๔) โรงพยาบาลสงเสรมิสุขภาพชุมชน : ๑๐,๐๐๐ บาท

(๕) เกษตรตําบล : ใหความรูเรื่องการ ปลูกพชืสมุนไพร

๙. ผลการดําเนินงาน

เจาหนาที่ศพส.ประสานงานบูรณการกับหนวยงานในพื้นที่ จัดประชุมให

ความรูความเขาใจในกจิกรรมใหชาวบานไดรับทราบถึงวิธีการดําเนินงานและผลประโยชนที่จะ

ไดรับจากการดําเนนิงานกจิกรรม โดยไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆในพื้นที่เขารวมทั้ง

ดานงบประมาณ ดานบุคลากร ดานวัสดุ อุปกรณ รวมดําเนินการ ซึ่งชาวบานไดให

ความรวมมอืดแีละรวมปฏบิัตอิยางจรงิจัง

๑๐. ปจจัยแหงความสําเร็จ กระตุนใหชาวบานเห็นความสําคัญของการนําสมุนไพร

ไปใชตามปราชญชาวบาน

๑๑. ปญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไข

(๑) คนในชุมชนยังไมรูจักชื่อภาษาทางการและชื่อทางวิทยาศาสตรของพืช

สมุนไพร รูจักแตภาษาทองถิ่น

(๒) ในพื้นที่แตละหมูบานอยูหางไกลกัน สงผลใหกลุมเปาหมายไดรับการ

สนับสนุนไมทั่วถงึ

Page 89: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

85

แนวทางแกไข : (๑) จัดทําคูมือรายช่ือพืชสมุนไพรทองถิ่นทุกชนิดใหเปนภาษา

ทางการและสามารถเผยแพรใหผูที่สนใจนําศึกษาและนําไปปรับใชได (๒) จัดทีมปราชญ

ชาวบานเขาไปใหความรูแตละพื้นที่ในตําบลใกลเคยีงใหครบคลุมทัง้ตําบล

๑๒. โอกาสการพัฒนาตอยอดโครงการ

ปจจุบันโครงการที่ทําจะเนนเฉพาะกลุมผูสูงอายุ จะมีการพัฒนาตอยอด

โครงการโดยนําเด็กเขามารวมเรียนรูและปฏิบัติจริงในการปลูกพืชสมุนไพรพื้นบาน พัฒนา

รูปแบบบรรจุภัณฑและสนับสนุนดานการตลาด มีการขยายพื้นที่เพาะปลูกพืชสมุนไพร โดยให

ชุมชนรวมกันปลูกพืชสมุนไพรทุกครัวเรือนและยังมีการพัฒนาใหเปนศูนยการเรียนรูขยาย

โอกาสใหชุมชนอื่นเขามาเรียนรูได นอกจากนั้นไดจัดทําคูมือสรรพคุณและวิธีการนําไปใชของ

พชืแตละชนดิ

Page 90: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

86

ภาคผนวก

ภาพกจิกรรมการประชุม

Page 91: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

87

ภาพกจิกรรมการประชุมเชงิปฏบิัติการ

โครงการจัดทําเมนูตามแนวทางเบญจวิถ ีโครงการสายใยรกัแหงครอบครัวฯ

สํานักงานสงเสรมิและสนับสนุนวิชาการ 10

Page 92: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

88

ภาพกจิกรรมการประชุม (ตอ)

Page 93: รายงานการประชุมโครงการเบญจวิถี 2554

จัดทําโดย

นายศตวรรษ สถติยเพยีรศิริ ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมและ

สนับสนุนวชิาการ 10 ที่ปรกึษา

นายวโิรจน เรอืงสอาด นักพัฒนาสังคมชํานาญการ

นายพงศกร โสระสงิห พนักงานปฏบัิตกิารคอมพวิเตอร