ข่าวคณะวิทยาศาสตร์...

8
ฉบับที่ 4/53 ประจ�ำเดือนกรกฎำคม – สิงหำคม 2553 www.sc.psu.ac.th “...ทันข่ำวทันเหตุกำรณ์ ข่ำวสำรคณะวิทย์ เผยแพร่ภำรกิจสู่ชุมชน...” ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : [email protected] โทรศัพท์ 0-7428-8008, 0-7428-8022 โทรสาร 0-7444-6657 12 สิงหา ฑีฆายุกา โหตุ มหาราชินี ขอจงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานค�าขวัญวันแม่แห่งชาติ ปี 2553 ความว่า “แผ่นดินน้แม่ของลูกใช้ปลูกข้าว กี่แสนก้าวที่เดินซ�้าย�่าหว่านไถ บ�ารุงดินจนอุดมสมดังใจ หวังนาไทยเป็นของไทยไปนิรันดร์” น.2 อำจำรย์คณะวิทยำศำสตร์ ได้รับรำงวัล “นักวิทยำศำสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2553” น.4 ผลงำนนวัตกรรม “สปริงกรรไกรตัดกระดูก แบบใหม่จำกคลิปด�ำ 2 ขำ” โดยบุคลำกรคณะวิทยำศำสตร์ ม.อ. น.7 ภำพบรรยำกำศ “งำนสัปดำห์วิทยำศำสตร์แห่งชำติ ประจ�ำปี 2553”

Upload: id-dekfilm

Post on 30-Mar-2016

222 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน

TRANSCRIPT

Page 1: ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ฉบับที่ 4/53 ประจ�ำเดือนกรกฎำคม – สิงหำคม 2553www.sc.psu.ac.th

“...ทันข่ำวทันเหตุกำรณ์ ข่ำวสำรคณะวิทย์ เผยแพร่ภำรกิจสู่ชุมชน...”

ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : [email protected] โทรศัพท์ 0-7428-8008, 0-7428-8022 โทรสาร 0-7444-6657

12 สิงหา ฑีฆายุกา โหตุ มหาราชินีขอจงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ

พระราชทานค�าขวัญวันแม่แห่งชาติ ปี 2553 ความว่า “แผ่นดินนี้แม่ของลูกใช้ปลูกข้าว

กี่แสนก้าวที่เดินซ�้าย�่าหว่านไถ บ�ารุงดินจนอุดมสมดังใจ หวังนาไทยเป็นของไทยไปนิรันดร์”

น.2 อำจำรย์คณะวิทยำศำสตร์ ได้รับรำงวัล“นักวิทยำศำสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2553”

น.4 ผลงำนนวัตกรรม “สปริงกรรไกรตัดกระดูก แบบใหม่จำกคลิปด�ำ 2 ขำ” โดยบุคลำกรคณะวิทยำศำสตร์ ม.อ.

น.7 ภำพบรรยำกำศ “งำนสัปดำห์วิทยำศำสตร์แห่งชำติ ประจ�ำปี 2553”

Page 2: ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นอาจารย์ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประจ�าปี2553จ�านวน2ท่านคือ

คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับคัดเลือกให้เป็นคณะที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศประจ�าปี2553ด้านการบริหารจัดการ

เรื่องจากปก

www.sc.psu.ac.th 2

 งานวิจัยของ ผศ.ดร.สอาด ริยะจันทร์ เกี่ยวข้องกับการดัดแปรน�้ายางพาราธรรมชาติร่วมกับพอลิเมอร์ละลายน�้า เพื่อพัฒนาให้ได้ยางชนิดใหม่ที่มีสมบัติทนน�้ามัน ทนโอโซนและมีสมบัติเชิงกลทีด่ ีซึง่อาจจะน�าไปแทนยางสงัเคราะห์ได้ ทีผ่่านมาได้น�ายางชนดิใหม่นีไ้ปเตรยีมเป็นแคปซลูห่อหุม้สารสะกัดสะเดา  (สารอะซาไดแรคติน)  และปุ๋ยยูเรีย พบว่า  สามารถลดปัญหาการสลายตัวและ ยืดอายุในการเก็บรักษาสารอะซาไดแรคติน  ซึ่งจะมีประโยชน์ในการก�าจัดหนอนกอในการเกษตร ได้  ส่วนแคปซูลของปุ๋ยยูเรียที่ห่อหุ้มด้วยยางชนิดนี้นั้นพบว่า  สามารถควบคุมการปลดปล่อยของ ปุ๋ยยูเรียได้ในเวลาที่เหมาะสม ลดปัญหาการสูญเสียของปุ๋ยจากการระเหยและการชะล้างจากน�้า  ซึ่งแคปซูลที่ได้นอกจากจะมีต้นทุนการผลิตต�่า ยังสามารถย่อยสลายตัวได้ในธรรมชาติ 

ผศ.ดร.อาจารย์สอาด  ได้ร่วมงานกับนักวิจัยในหลายหน่วยงานในประเทศไทย นอกจากนี้ ยงัสนใจการเตรียมพอลิเมอร์ไฮโดรเจลจากน�้ายางธรรมชาติและแป้งมันส�าปะหลังที่เติมปุ๋ยชีวภาพชนิด EM และตัวยาเพื่อใช้งานเกษตรกรรม โดยได้รับการสนับสนุนงานประมาณแผ่นดิน และจนถึงขณะนี้ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ 19 เรื่อง บทความปริทัศน์ 5 เรื่องและได้รับเชิญให้เป็นผู้พิจารณาบทความของวารสารระดับนานาชาติ เช่น Journal of Hazardous Material, Journal  of  Applied  Polymer  Science และ Chemical  Engineering  Journal  เป็นต้น  และ ในปี  พ.ศ.  2553  อาจารย์สอาด  ได้รับรางวัลผู้มีผลงานวิจัย  20  อันดับแรกของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์อีกด้วย

ซึ่งทั้ง 2 ท่านจะเข้ารับพระราชทานโล่เกียรติยศและประกาศเกียรติคุณในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรในวันที่ 13 – 14 กันยายน 2553 นี้

รองศาสตราจารย์ชนิตาพงษ์ลิมานนท์ภาควิชาเคมีเป็นอาจารย์ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ด้านการเรียนการสอนประจ�าปี2553

รองศาตราจารย์ดร.เพริศพิชญ์คณาธารณา ภาควิชาเคมีเป็นอาจารย์ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ด้านการวิจัย(สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)ประจ�าปี2553

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.สอาดริยะจันทร์ อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุคณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ประจ�าปี2553จากผลงานเรื่อง

“การพัฒนายางชนิดใหม่ที่ทนน�้ามันทนต่อโอโซนและต้านเชื้อแบคทีเรีย”จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

จากการที่คณะ/หน่วยงานส่งแนวปฏิบัติที่ด ี (Good Practices)  ให้แก่ส�านกังานประกนัคณุภาพ มหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร์ เพือ่น�ามาคัดเลือกเป็นแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ  ปี  2553  ที่ประชุมคณะกรรมการพจิารณาแนวปฏบิตัทิีเ่ป็นเลศิ เมือ่วนัที ่24 ม.ิย. 2553 และทีป่ระชมุคณะกรรมการอ�านวยการขบัเคลือ่นยทุธศาสตร์ มหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร์ ครั้งที่  3/2553  วันที่  20  ก.ค.  2553 มีมติให้คณะวิทยาศาสตร์  ได้รับ คัดเลือกให้เป็นคณะที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประจ�าปี 2553 ด้านการบรหิารจดัการ จากผลงานเรือ่ง “การพฒันาคณุภาพงานหน่วยเครื่องมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์”

Page 3: ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะวิทยาศาสตร์  และสมาคมนักศึกษาเก่าคณะวิทยาศาสตร์  ได้เล็งเห็นถึงความส�าคัญของศิษย์เก่าที่ส�าเร็จการศึกษาจากคณะวิทยาศาสตร์  และเป็น ผู ้ประสบความส�าเร็จออกไปสร้างประโยชน์ให้กับ ภาคเอกชน และภาครัฐอย่างกว้างขวาง จึงได้ร่วมกันคัดเลือกดีเด่นขึ้นเป็นประจ�าทุกปี  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความผูกพันและความร่วมมือศิษย์เก่า  เพื่อยกย่องเกียรติคุณแก่ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์  และด�าเนนิการคดัเลอืกโดยคณะกรรมการศษิย์เก่าสมัพนัธ์พิจารณาคัดเลือกศิษย์เก่าดีเด่น  ทั้งสิ้น  5  ประเภท ส�าหรับปี  2553 นี้คณะวิทยาศาสตร์  ทางคณะฯ และสมาคมนกัศกึษาเก่าคณะวทิยาศาสตร์ได้คดัเลอืกศษิย์เก ่าดีเด ่นเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติให ้กับศิษย์เก ่า คณะวิทยาศาสตร์ ดังนี้ 1.1รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ด้านความส�าเร็จในอาชีพ/หน้าที่การงานได้แก่

พล.ต.ต. สุเมธ พงษ์ลิมานนท์  (และรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  ประจ�าปีพุทธศักราช 2553)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชนา ประเทพ1.2รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ด้านผลงานเด่นได้แก่

ศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล ดร.นพวรรณ ตันพิพัฒน์    (และรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น 

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�าปีพุทธศักราช 2553)1.3รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ด้านสร้างคุณประโยชน์แก่สังคมและสถาบันได้แก่

นายชาติ ลีลาภรณ์ นายชูชัย ปิติเจริญกิจ 

1.4ศิษย์เก่าดีเด่นรุ่นใหม่คณะวิทยาศาสตร์คือผู้ช่วยศาสตราจารย์  รณสรรพ์  ชินรัมย์  (และรางวัล

ศิษย์เก ่าดีเด ่น  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  ประจ�าปีพุทธศักราช 2553)1.5รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมได้แก่

ผู ้ช ่วยศาสตราจารย์ประสาท  มีแต้ม  (และรางวัล ศิษย์เก ่าดีเด ่น  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  ประจ�าปีพุทธศักราช 2553)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัมพร ศรประสิทธิ์

โดยคณบดีคณะวิทยาศาสตร์  รองศาสตราจารย์  ดร.จุฑามาส ศตสุข  ให้เกียรติ มอบโล่ห์เกียรติคุณแก่ศิษย์เก่าดีเด่นปี  2553 และเป็นประธานเปิดงาน Science Night 2010 ที่จัดขึ้นเพื่อต้อนรับบัณฑิตใหม่ SCI 38 ซึ่งในปีนี้ศิษย์เก่า รุ่นที่ 28 ได้เป็นผู้จัดงาน ภายในงานมีศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์เข้าร่วมมากมายตั้งแต่รุ่น  แรกๆ  จนถึงปัจจุบัน บรรยากาศเตม็เป่ียมไปด้วยไออุน่จากพลงัความรกั ความคดิถงึและความผกูพนัของรุน่พี่รุ ่นน้องชาวบานบุรีที่มาร ่วมงานพบปะสังสรรค์กัน  ณ  แหล่งสมาคมนายทหาร  พล ม2  รอ  ในกองทหารม้าที่  2  รักษาพระองค์  (สนามเป้า)  กรุงเทพฯ  และผู้ที่ได้รับ การคัดเลือกเป็นศิษย์เก่าดีเด่นของมหาวิทยาลัยก�าหนดเข้ารับโล่เกียรติยศและ ใบประกาศเกียรติยศในวันสงขลานครินทร ์ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ ม.อ.ในวันที่  14 กันยายน 2553  นี้ค่ะ

ศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ประจ�าปี2553

1.พล.ต.ต.สุเมธพงษ์ลิมานนท์2.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.อัญชนาประเทพ3.ศาสตราจารย์ดร.วัชรินทร์รุกขไชยศิริกุล

4.ดร.นพวรรณตันพิพัฒน์5.นายชาติลีลาภรณ์6.นายชูชัยปิติเจริญกิจ7.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.รณสรรพ์ชินรัมย์

8.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประสาทมีแต้ม9.ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัมพรศรประสิทธิ์

1

6

2

7

3

8

4 5

9

www.sc.psu.ac.th3

Page 4: ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ต่อจากฉบับที่แล้ว  เราภูมิใจน�าเสนอ อกีหนึง่นวตักรรมของบคุลากรคณะวทิยาศาสตร์ ที่ได ้รับรางวัลรองชนะเลิศ  ในการประกวด โครงงานพัฒนางานประเภทนวัตกรรม  ระดับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  ประจ�าปี  2553  นั่นก็คือผลงาน  “สปริงกรรไกรตัดกระดูก แบบใหม่จากคลิปด�า2ขา”

เนื่องจากการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการทางชีววิทยา  คณะวิทยาศาสตร์จ�าเป็นต้องใช้เครื่องมือผ่าตัดประกอบการเรียนภาคปฏิบัติ  ดังนั้น  กรรไกรตัดกระดูก  เป็นเครื่องมือผ่าตัด ชิน้หนึง่ในชดุเครือ่งมอืผ่าตดัทีม่คีวามส�าคญัและราคาค่อนข้างสงู ซึง่ทกุๆ ปีกรรไกรตดักระดกูจะมีการช�ารุด คือสปริงหักท�าให้ใช้งานไม่ได้  เมื่อนับรวมกันแล้วมีจ�านวนมาก  เกิดปัญหาจ�านวนไม่พอใช้ ประกอบกบัมจี�านวนนกัศกึษามากขึน้ด้วย ท�าให้ต้องซื้อเพิ่มเป็นประจ�า 

ทีมงานนักวิทยาศาสตร์ประจ�าห้องปฏิบัติการชวีวทิยา น�าโดยคณุชนวรรฒน์ ชแูสง ต�าแหน่งนักวิทยาศาสตร์ ระดับ 6 มีแนวคิดร่วมกันในการที่ จะช ่ วยลดป ัญหาดั งกล ่ าวพร ้อมกับลด งบประมาณของภาควิชา  จึงได้รวมตัวกับเพื่อนร่วมงานอีก  3  ท่านได้แก่คุณรัตนา  หิรัญพันธ์ุ 

คณุจวงจนัทน์ วฬิาประไพ และคณุสง่า อนิทมาโน โดยมี ดร.ศันสรียา วังกุลางกูร เป็นที่ปรึกษากลุ่ม จุดเริ่มต้นเป็นความต้องการช่วยกันคิดหาวัสดุทดแทน โดยมีแนวคิดที่จะน�าวัสดุเหลือใช้ หรือที่ไม่ได้ใช้น�ากลบัมาใช้แทนสปรงิกรรไกรตดักระดกูให้ได้  หรือถ้าจะต้องซื้อวัสดุทดแทนได้ก็ต้องมีราคาถูก  ทีมงานจึงได้พยายามช่วยกันทดลอง จนพบว่า ขาของ คลิปด�า 2 ขา ที่ใช้หนีบเอกสาร เบอร์  110ใช้แทนได้และราคาถูกกว่า  40  เท่า ถ ้าซื้อสปริงของกรรไกรตัดกระดูกโดยตรง  “ผมสังเกตว่าต�าแหน่งที่หักจะเป็นส่วนข้องอของ สปรงิกรรไกรจงึทดลองน�าวสัดหุลายชนดิมาดดัแปลงใช้ก็ไม่สามารถใช้ได้ จึงทดลองใช้ขาของคลิปด�า ถึงแม้ว ่าจะทราบแล้วว่าขาของคลิปด�าสามารถ ใช้แทนสปรงิได้แต่กย็งัต้องคดิค้นต่อว่าคลปิด�ายีห้่อใดขนาดไหนจึงจะเหมาะพอดีกับรูขากรรไกร แล้วจึงดัดแปลงดัดให้ขาคลิปด�าไขว้เพื่อเพิ่มแรงของสปริง ได้ดีขึ้น เมื่อน�ามาทดลองใช้งานดูก็ใช้งานได้ใกล้เคียงสปริงเดิมมาก” คุณชนวรรฒน์กล่าว

จากการพัฒนางานกลายมาเป็นผลงานนวัตกรรมแบบง่ายๆ  ท�าให้ภาควิชาชีววิทยาสามารถประหยัดงบประมาณ ที่ต้องซื้อกรรไกร ตัดกระดูกราคาอันละ 600 – 700 บาท หรือสปริง 

ราคาอันละ  50  บาท  (ขาคลิปราคาอันละ  1.25 บาท)  เป็นการน�า  กรรไกรตัดกระดูกที่ไม่สามารถใช้งานได้กลบัมาใช้ได้อย่างสมบรูณ์ และเป็นการช่วยในการน�าวสัด-ุอปุกรณ์ หรอืเครือ่งมอืมาใช้งานอย่างคุ้มค่า ตัวคลิปด�ายังใช้งานได้อีกไม่ต้องทิ้ง  กล่องกระดาษน�าไปท�ากล่องเก็บ แผ่นสไลด์ตัวอย่างได้อีก คุณชนวรรฒน์ ได้กล่าวเพิ่มเติมอีกว่า  “สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการท�าโครงการนี้เราภมูใิจลกึๆว่าเรากส็ามารถท�าได้เพราะฉะนัน้ทกุคน ก็ท�าได้ แค่คิดแก้ปัญหาและปรับปรุงกับสิ่งที่เราท�าอยู่ ทุกวันให้ดีขึ้นซึ่งก็เป็นการช่วยให้ตัวเราเองท�างานได้ราบรื่น แล้วมีความสุข ไม่ต ้องคิดมาก”  ทั้งนี้ คุณชนวรรฒน์ก�าลังจัดท�าคู่มือในการสาธิตวิธีการท�าสปริงกรรไกรตัดกระดูกแบบใหม่จาก คลิปด�า  2  ขา พร้อมค�าบรรยายเพื่อจัดส่งไปยังโรงเรียนที่สนใจต่อไป 

หากผูใ้ดสนใจคณุชนวรรฒน์ยนิดทีีจ่ะแลกเปลี่ยนและให้ค�าปรึกษาโดยสามารถติดต่อได้ที่ ภาควชิาชวีวทิยา คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลยัสงขลานครินทร์ โทรศัพท์ 0-7428-8481

ผลงานนวัตกรรมของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์

คุณชนวรรฒน์ชูแสง

www.sc.psu.ac.th 4

Page 5: ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ปริญญาโท)

สาขาวชิาคณติศาสตร์และสถติ ิเป็นหลกัสตูรทีม่กีารเชือ่มโยงระหว่างคณิตศาสตร์และสถิติ  และน�าคอมพิวเตอร์มาเป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าจึงเหมาะส�าหรับอาจารย์ผู ้สอนคณิตศาสตร์  ผู ้ที่จบการศึกษาสาขาคณติศาสตร์ สาขาสถติิ และสาขาอืน่ ๆ  ทีส่นใจเรยีนคณติศาสตร์และสถติเิพิม่เตมิ เน้นงานวิจัยและวิชาการในด้าน กึ่งกรุป, ทฤษฎีจ�านวน, การวิเคราะห์ฟังก์ชันนัล, แบบจ�าลองเชิงสถิติ และ สถิติประยุกต์

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้ส�าเร็จการศึกษาหรือคาดว่าจะส�าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีและ

ต้องมีพื้นฐานความรู้วิชาคณิตศาสตร์และสถิติในระดับปริญญาตรีไม่น้อยกว่า  30  หน่วยกิต  หรืออาจจะพิจารณาตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรฯ  วิชาพื้นฐานในการเตรียมตัวเข้าสอบคัดเลือกคือ  แคลคูลัส พีชคณิต เชิงเส้นและสถิติ

สอบถามข้อมูลได้ที่ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.รณสรรพ์ชินรัมย์:[email protected]โทรศัพท์:0-7428-8660โทรสาร:0-7455-8842http://www.math.psu.ac.th

สาขาวชิาวทิยาการคอมพวิเตอร์ เน้นงานวจิยัและวชิาการในด้านต่อไปนี้ 

•  การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ •  ความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย •  วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการประยุกต์ •  ปัญญาประดิษฐ์ / การจัดการความรู้ / เครือข่ายประสาทเทียม •  เทคโนโลยีฐานข้อมูล / เหมืองข้อมูล / คลังข้อมูล •  เทคโนโลยีระบบสารสนเทศและการวิจัยประยุกต์ •  e-Business / e-Learning อื่น ๆ 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา1. เป็นผูส้�าเรจ็การศกึษาขัน้ปรญิญาตร ีหรอืก�าลงัศกึษาอยูใ่นภาคการศกึษา

สดุท้ายของการศกึษาขัน้ปรญิญาตร ีโดยมคีะแนนเฉลีย่สะสมไม่ต�า่กว่า 2.50 หรอื เป็นผู้ส�าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตร ีสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคอมพิวเตอร์  โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมต�่ากว่า  2.50  หรือเป็นผู้ส�าเร็จ การศกึษาขัน้ปรญิญาตร ีโดยมคีะแนนเฉลีย่สะสมต�า่กว่า 2.50 และมปีระสบการณ์การท�างานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาแล้วอย่างน้อยไม่ต�่ากว่า  1 ปี  โดยมีผู้บังคับบัญชาให้การรับรอง และ

2. เป็นผูผ่้านการเรยีนวชิาคณติศาสตร์พืน้ฐานมาแล้วอย่างน้อย 6 หน่วยกติ โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการคัดเลือกประจ�าหลักสูตร

หมายเหต ุวชิาทีน่บัว่าเป็นวชิาคณติศาสตร์พืน้ฐาน มดีงันี ้คอื Fundamental Mathematics, Calculus, Linear Algebra, Logic and Set Theory ฯลฯ โดยรวมรายวิชาทางสถิติ เช่น Statistics และ Probability

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต(ปริญญาตรี)สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์BachelorofSciencePrograminComputerScienceชื่อปริญญา:วิทยาศาสตรบัณฑิต,วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร์):BachelorofScience,B.Sc.(ComputerScience)

โครงสร้างหลักสูตรจ�านวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร   146  หน่วยกิตก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  31  หน่วยกิต

1) กลุ่มวิชาภาษา  12  หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์  10  หน่วยกิต3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์  9  หน่วยกิต

ข. หมวดวิชาเฉพาะ  109  หน่วยกิต1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน  15  หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาบังคับ  73  หน่วยกิต3) กลุ่มวิชาเลือก  21  หน่วยกิต

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี  6  หน่วยกิต

โอกาสการท�างาน•   โปรแกรมเมอร์ / วิศวกรซอฟต์แวร์ / นักวิเคราะห์ระบบ•  ผู้ออกแบบและดูแลระบบฐานข้อมูล•  ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์•  ผู้ออกแบบและดูแลเว็บ•   อาจารย์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ประกอบธุรกิจส่วนตัว และอื่นๆ

โอกาสทางการศึกษาต่อทางด้าน•  วิทยาการคอมพิวเตอร์•  วิศวกรรมซอฟต์แวร์•  วิศวกรรมคอมพิวเตอร์•  เทคโนโลยีสารสนเทศ

เน้นให้ความรูแ้ละทกัษะในเชงิลกึเกีย่วกบัการโปรแกรมและเทคนคิการสั่งงานคอมพิวเตอร์รูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ยังให้ความรู้ในแนวกว้างเกีย่วกบัการท�างานของระบบคอมพวิเตอร์ การพฒันาซอฟต์แวร์ การจดัการข้อมูลสารสนเทศ และระบบงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์

สถานที่ติดต่อภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ตู้ปณ.3ปณ.ฝ.คอหงส์90112โทรศัพท์:0-7428-8578โทรสาร:0-7444-6917www.cs.psu.ac.thE-mail:[email protected]

สอบถามข้อมูลได้ที่ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วิภาดาเวทย์ประสิทธิ์:[email protected]ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.นิษฐิดาเอลซ์:[email protected]โทรศัพท์:0-7428-8580,0-7444-8574โทรสาร0-7444-6917หรือhttp://www.cs.psu.ac.th/

แนะน�ำห

ลักสูตร

www.sc.psu.ac.th5

Page 6: ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คุยกับคนเก่ง

ต่างประเทศ

ความพยายามอยูท่ีไ่หน ความส�าเรจ็อยูท่ีน่ัน่!!ฉบับนี้เราจะน�ามาพูดคุยกับคนเก่งผู้ได้รับรางวัลการศึกษายอดเยี่ยมขั้นวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตจากมูลนิธิศาสตราจารย์ดร.แถบนีละนิธิโดยสอบได้คะแนนยอดเยี่ยมเป็นอันดับ1ของแต่ละหลักสูตรและมีแต้มระดับเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า3.70คือนายอับดุลมุตตาธาตรีบุต

คุณอับดุล  มุตตา  ได้เล่าประสบการณ์ความส�าเร็จจากการเรียนให้ฟังว่า  “ตอนม.ต้นผมเรียนที่โรงเรียนรามันห์ศิริวิทย์ อ�าเภอรามันจังหวัดยะลาโดยส่วนตัวแล้วเป็นคนไม่อ่านหนังสือแต่จะตั้งใจเรียนให้ห้องเป็นอย่างมาก และตอนนั้นก็เรียนได้เป็นอันดับ1ของห้องมาโดยตลอดแต่พอเข้าม.ปลายเข้ามาเรียนในตัวเมืองการตั้งใจเรียนในห้องเรยีนเพยีงอย่างเดยีวไม่เพยีงพอเพราะการสอนของอาจารย์ในห้องเรียนเป็นการสอนทั่วๆ ไป และเราไม่ได้เรียนพิเศษเหมือนเพื่อนๆคนอื่น เนื่องจากต้องเดินทางไป-กลับบ้านและโรงเรียนเป็นระยะทาง 30กโิลเมตรทกุวนัท�าให้เรยีนตามเพือ่นไม่ทนัผลการเรียนต�่ามาโดยตลอดจะได้ประมาณ2.3-2.4ตลอดจนจบม.ปลาย”

ด้วยส่วนตัวมีความใฝ่ฝันอยากจะเป็นอาจารย์  เมื่อจบการศึกษาระดับมัธยมปลาย คุณอับดุล มุตตา จึงได้เข้าศึกษาต่อในภาควิชาเคมี  คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี “ตอนเข้าปี1ผมยัง

ใช ้ เทคนิคการเรียนแบบเดิม นั่นคือ ตั้งใจเรียน ในห้องเรียน แต่ผลการเรียนออกมาก็ยังอยู่ประมาณ2.3-2.4 ท�าให้ลองย้อนมองเพื่อนๆ ที่เรียนเก่งๆ ว่าเขาอ่านหนังสือกันดึกดื่นทุกวัน บางคนอ่าน ถึงตี3ตี4ขณะที่เรานอนหลับและไม่ได้อ่านหนังสือเลยเมื่อเข้าปีที่2ผมเปลี่ยนสาขาจากเคมีมาเรียนฟิสิกส์ จึงเริ่มต้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่ โดยนอกจากการตั้งใจเรียนในห้องเรียนแล้ว ยังอ่านหนังสือทบทวนการเรียนทุกวัน แรกๆก็อ่านไม่เข้าใจแต่ก็พยายามอ่านซ�้าๆ ท�าโจทย์ซ�้าๆ วิชาใดๆหรือ โจทย์ใดๆ ผมจะอ่านและท�าโจทย์ซ�้าๆ ประมาณ 3-4ครั้งจนสามารถจ�าได้อย่างแม่นย�า”

การเปลี่ยนเทคนิคการเรียน  เป็นพยายามอ่านทบทวนและหมั่นท�าโจทย์ส ่งผลให้ผล การเรียนเฉลี่ยของคุณอับดุลมุตตาในเทอมนั้น เพิม่ขึน้จากเมือ่ตอนปี 1 เป็น 3.6 ท�าให้คณุอบัดลุมุตตาทุ่มเทเวลาให้กับการอ่านหนังสือทุกวันมาโดยตลอด จนส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้วยเกียรตินิยมอันดับ  2  และเข้าศึกษาต่อใน

ระดบัปรญิญาโท ทีภ่าควชิาฟิสกิส์ คณะวทิยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตหาดใหญ่  ด้วยเหตุผลที่ว่า  “คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. หาดใหญ่ อยู่ใกล้บ้าน และเปิดสอนในสาขาวิชาที่สนใจคือฟิสิกส์ผนวกกับค่าใช้จ่ายการเรียนการเป็นอยู่ก็ไม่สูงมากนักเมือ่เข้ามาเรยีนท�าให้ทราบว่าระบบการเรยีนการสอนกเ็ป็นมาตรฐานเดียวกันกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่วโลกทั้งในด้านของต�าราและการสอนของอาจารย์ ซึ่งตอนที่ผมเรียนปริญญาโท ผมได ้รับรางวัลการศึกษายอดเยี่ยม ขั้นวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตและทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ์จากมูลนิธิ ศาตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ ประจ�าปี การศกึษา2551” ขณะนีค้ณุอบัดลุมตุตา ก�าลงัศกึษาต ่อในระดับปริญญาเอกสาขาฟ ิสิกส ์ที่คณะวทิยาศาสตร์ ม.อ. และยงัคงการอ่านหนงัสอืทบทวนบทเรียนทุกวัน  ทั้ งยังได ้รับทุนบัณฑิตศึกษา สงขลานครนิทร์ และอยูร่ะหว่างการท�าสญัญารบัทนุโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์  เพื่อผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา  ระดับปริญญาเอก จากส�านกังานคณะกรรมการการอดุมศกึษาอกีด้วย

ภาควิชาฟิสิกส์  คณะวิทยาศาสตร์  ได ้จัดการฝ ึกอบรมโครงการ  Seismic  prospecting ให้แก่อาจารย์จากมหาวทิยาลยัแห่งชาติลาว  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว  จ�านวน  2  ท่าน  เมื่อวันที่  15 ม.ิย.–15 ก.ค. 2553 ตามข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว Memorandum  o f   Unders tand ing  (MoU  ระหว ่าง   Pr ince  of   Songkla  University และ National University of Laos) 

คณบดี   แ ล ะ ร อ ง คณบดี ฝ ่ า ย วิ เ ท ศ สั มพั น ธ ์ และประชาสัมพันธ์  คณะวิทยาศาสตร์  ให้การต้อนรับ Dr.Susanto Rahardja  ผู้อ�านวยการและ ดร.เลขา  ไชยสร หัวหน้ากลุ ่มวิจัยสถาบันวิจัย  Institute  for  Infocomm  Research ประเทศสิงคโปร์  ซึ่งทั้งสองท่านให้เกียรติมาเป็นวทิยากรในโครงการสมัมนาวชิาการทางวทิยาการคอมพวิเตอร์ ของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์  คณะวิทยาศาสตร์  ในระหว่างวันที่ 5 – 7 ก.ค. 2553

เมื่อวันที่  8  กรกฎาคม 2553 Prof. Yo-Sung Ho จาก Gwangju I ns t i t u te   o f   Sc ience   and  Technology  (GIST)  สาธารณรัฐเกาหลี  มาเยือนคณะวิทยาศาสตร์ โดยสนใจเจรจาความร่วมมือกับ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 

อับดุลมุตตา

www.sc.psu.ac.th 6

Page 7: ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

» คณะวิทยาศาสตร์เข้าร่วมจัดนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษาครั้งที่14ระหว่างวันที่  17-18  สิงหาคม  2553 ณ ศูนย์ประชุมนาชาติเฉลิมพระเกียรติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 

โดยได้ท�าการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพือ่สื่อสารข้อมูลของคณะฯ สูก่ลุ่มเปา้หมายโดยตรง ไดแ้ก่คณาจารย์ และนกัเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษารู้จักคณะฯ มากขึ้น ทั้งนี้คณะฯ  ได้น�าเสนอการแสดง Science show ของนักศึกษาโครงการ พสวท. ซึ่งสร้างความสนใจแก่ผู้เข้าชมงานเป็นอย่างมาก

» คณะวิทยาศาสตร์ม.อ.จัดคอนเสิร์ตFun&Fundคณะวิทยาศาสตร์ครั้งที่1ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมเงิน

เข้ากองทุนคณะวิทยาศาสตร์  ส�าหรับใช้ดูแลนักศึกษาและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ในด้านต่างๆ ได้แก่  ทุนนักศึกษา  การพัฒนาการเรียนการสอนและวิจัย  โดยมีศิลปินวงดา  เอนโดรฟิน  และ แคลลอรี่  บลาบลา มาจัดการแสดงให้ได้ รับชมกัน

» ภาพบรรยากาศกิจกรรมงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�าปี2553และโครงการรางวลันวตักรรมแห่งประเทศไทยครัง้ที่10

ระหว่างวันที่ 17 - 20 ส.ค. 2553 ณ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. มีกิจกรรมสนุกๆ  ที่เปี่ยมไปด้วยสาระความรู้มากมาย  ในปีนี้ได้รับเกียรติจาก ศ.ดร.  อาจอง  ชุมสาย  ณ อยธุยา เป็นวิทยากรบรรยายพเิศษเรื่อง “วกิฤตวันสิ้นโลก” ซึ่งได้รับความสนใจจากน้องๆ และประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก

www.sc.psu.ac.th7

Page 8: ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ช�ำระค่ำฝำกส่งเป็นรำยเดอืนใบอนญุำตเลขที่ 9/2524

ปท.ฝ. คอหงส์

(นายไพบูลย์ เตียวจ�าเริญ)

หวัหน้ำหน่วยสำรบรรณ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หำดใหญ่ จ.สงขลำ 90112โทรศพัท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008

Desig

n by blue

image 0-74

46-440

1

กิจกรรมร่วมฉลองเนื่องในโอกาส

“ปีสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ2010”

เปิดรับสมัครเข้าศึกษาต่อโท,เอกประจ�าปีการศึกษา2554

รับสมัครทางอินเตอร์เน็ต15ตุลาคม–30พฤศจิกายน2553รับสมัครด้วยตนเอง17-25พฤศจิกายน2553สอบถามข้อมูล:งานบริการการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์โทร0-7428-8094 E-mail [email protected], http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/

:::::เปิดรับสมัคร:สิงหาคม–ตุลาคม2553:::::

คุณวรรษมนมีเสน/คุณเยาวลักษณ์ตะเภาน้อยโทร.0-7428-8028 โทรสาร0-7444-6926E-mail:[email protected]/[email protected]

Website:www.sc.psu.ac.th/quotaหรือwww.sc.psu.ac.th

ส�าหรับนักเรียนที่ก�าลังศึกษาอยู่ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่6สายสามัญ

ของโรงเรียนที่ตั้งอยู่ใน 14 จังหวัดภาคใต้ สามารถสมัครเข้ารับทุนโครงการ

พิเศษของคณะวิทยาศาสตร์ซึ่งมีทั้งหมด5โครงการดังนี้• โครงการพฒันาและส่งเสรมิผูม้คีวามสามารถพเิศษทางวทิยาศาสตร์

และเทคโนโลยี(โครงการพสวท.)• โครงการพฒันาก�าลังคนทางวทิยาศาสตร์(ทนุเรยีนดีวทิยาศาสตร์

แห่งประเทศไทย)• โครงการรับนักศึกษาที่มีความสามารถสูงเข ้าศึกษาในคณะ

วิทยาศาสตร์• โครงการส่งเสริมผู้มีทักษะพิเศษทางวิทยาศาสตร์• โครงการรับนักศึกษาจากผู้เข้าค่ายฝึกอบรมโครงการส่งเสริม

โอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์

ก�าลังเปิดรับสมัคร!!

ด้วยในปี  2553 องค์การสหประชาชาติได้ก�าหนดให้เป็นปีสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ  (International  Year  of  Biodiversity)  ส�านักความ หลากหลายทางชีวภาพ ส�านักนโยบายและแผน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  จึงได้จัดกิจกรรมร่วมฉลองเนื่องในโอกาส  “ป ีสากลแห ่งความ หลากหลายทางชีวภาพ 2010”  เมื่อวันที่ 9-10 ก.ค. 2553 ณ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จงัหวดัชลบรุ ีโดยมวีตัถปุระสงค์เพือ่เผยแพร่ประชาสมัพนัธ์ปีสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ และผลการด�าเนินงานของประเทศไทยตามอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ  ในด้านการลดอัตราการสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างมีนัยส�าคัญตามเป้าหมายปี 2010 

ในการนี ้รองศาสตราจารย์ ดร.พรศลิป์ ผลพนัธนิ ผูอ้�านวยการสถานวจิยัความเป็นเลิศความหลายหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร์ เป็นตวัแทนคณบดคีณะวทิยาศาสตร์รบัธงสญัลกัษณ์ความหลากหลายทางชวีภาพ จากรฐัมนตรว่ีาการกระทรวงทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดล้อม นายสวุทิย์ คณุกติต ิเนือ่งด้วยสถานวจิยัความเป็นเลศิความหลายหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทยเป็นหน่วยงานที่สนับสนุนการด�าเนินงานด้านการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน