ใบความรู้ที่ 8

2

Click here to load reader

Upload: chunkidtid

Post on 12-Jul-2015

757 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ใบความรู้ที่  8

ใบความร ู ้ท ี ่ 8

การเก ็บร ักษาเมล ็ด การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อให้เมล็ดมีชีวิต (seed

viability) คงอยู่ได้นาน พืชแต่ละชนิดมีวิธีการเก็บรักษาและระยะ เวลาการเก็บรักษาต่างกัน เช่น เมล็ดพันธุ์ พืชไร่ พืชสวน ได้แก่

ข้าว ข้าวโพด และพืชผักทุกชนิดได้มีศัพท์เรียกรวมๆ ว่า orthodox seed ซึ่งจัดเป็นเมล็ดพันธุ์ที่ชอบอยู่ในที่แห้ง และ

อุณหภูมิตำ่า ถ้าจะเก็บได้ระยะยาวนานเกิน 10 ปี ตอ้งลดความช้ืน ในเมล็ดให้ตำ่ากว่า 0.05 กรัม ของนำ้าต่อนำ้าหนักสดเมล็ด ในทาง

ตรงกันข้ามเมล็ดพันธุ์พืชพวก recalcitrant seeds เป็นคำาเรียกตามลักษณะนิสัยของขึ้นบนสรีรวิทยาว่าเป็นเมล็ดที่ไม่สามารถมี

ชีวิตอยู่ได้ ถ้าลดความช้ืนลงตำ่ากว่าความช้ืนวิกฤต (ประมาณ 0.30 กรัมของนำ้าต่อนำ้าหนักเมล็ด) การเก็บรักษาเมล็ดจะต้อง

รักษาความช้ืนภายในเมล็ดคงอยู่ให้นานที่สุด และควรเก็บไว้ที่ที่มี อุณหภูมิตำ่าประมาณ 32-50 ๐ฟ. ส่วนการที่จะรักษาความช้ืน

ภายในเมล็ดน้ัน อาจทำาได้โดยเก็บเมล็ดเป็นช้ันๆ กับวัสดุที่ช้ืน เช่น ทรายที่ช้ืน แล้วเก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด เพื่อป้องกันนำ้าจากวัสดุ

น้ันระเหยออกไปนอกภาชนะ มีการศึกษาเปรียบเทียบอายุการเก็บ รักษาเมล็ดพันธุ์ไม้ผล ซึ่งจัดเป็นพวก recalcitrant seed 7 ชนิด

ได้แก่ ทุเรียน ขนุน น้อยหน่า มะม่วง ลำาไย ลิ้นจี่ และเงาะ สามารถ จัดแบ่งความเป็น recalicitrant ได้ 3 พวก คือ

1.) highly recalcitrant seed คือ เมล็ดจะมีชีวิตได้ ประมาณ 2-4 วัน หลังจากแกะออก

จากผล ได้แก่ ลำาไย และมะม่วง (มะม่วงที่แกะเปลือกหุ้มเมล็ดแล้ว) 2.) moderately recalcitrant seed คือ เมล็ดจะมีชีวิต

ได้ประมาณ 8-10 วัน หลังจากแกะ เมล็ดออกจากผลแล้ว ได้แก่ ทุเรียน เงาะ ลิ้นจี่

3.) minimally recalcitrant seed คือ เมล็ดจะมีชีวิตได้ ประมาณ 16-18 วัน หลังจากแกะออกจากผล ได้แก่ น้อยหน่า

และขนุน

การทดสอบความมีช ีว ิตของเมล ็ด (Viability test)

1

Page 2: ใบความรู้ที่  8

เป็นการทดสอบว่าเมล็ดยังมีชีวิตอยู่ และพร้อมจะงอกได้ มี วิ ธี ก า ร ดั ง นี้ 1.) การทดสอบความงอก (germination test) โดย

หาเปอร์เซ็นต์ความงอกของต้นกล้าที่ปกติ ผดิปกติ และที่ไม่งอก ซึ่งเมล็ดพืชแต่ละชนิดมีเปอร์เซ็นต์การงอก และระยะเวลาที่ใช้ใน

การงอกแตกต่างกัน 2.) การแกะคัพภะมาเพาะ (excised embryo test)

วิธีน้ีนิยมใช้ทดสอบความงอกของไม้ยืนต้น การแกะเอาคัพภะ แล้วนำาไปเพาะ คัพภะที่มีชีวิตจะบอกได้หรือมีท่าทีว่าจะงอกใน

ขณะที่คัพภะที่ตายแล้ว อาจจะเน่าสลายไป วิธีการน้ีอาจใช้กับไม้ ผล เช่น ทอ้ บ๊วยและพุทรา

3.) Tetrazolium test เป็นวิธีการทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดทางชีวเคมีโดยใช้หลักการที่ว่าการหายใจของเซลล์ที่มี

ชีวิตจะให้ก๊าซไฮโดรเจน ซึ่งทำาปฎิกิริยากับสารละลาย 2, 3, 5 triphenyl tetrazodium chloride (TTC) ซึ่งไม่มีสีให้สีแดงของ triphenyl formazan คือ กลุ่มเซลล์หรอืเน้ือเยื่อของเมล็ดที่มีชีวิต

จะติดสีแดง แต่เน้ือเยื่อของเมล็ดที่ไม่มีชีวิตจะไม่ติดสี เพราะไม่มีการหายใจที่ให้ก๊าซไฮโดรเจนออกมาทำาปฎิกิริยากับสารละลาย วิธีการน้ีควรใช้กับเมล็ดพืชที่งอกช้า

2