บทที่ 9

8
บทที9 ภาษามือหมวด สัตว์ สัตว์เป็นเพื่อนที่ซื่อสัตย์ที่สุดของมนุษย์สัตว์มีหลายประเภท ได้แก่ สัตว์เลี้ยง สัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน ซึ่งในภาษามือหมวดสัตว์นี้จะท้าให้ผู้ฝึกสามารถท้าภาษามือสื่อสารเรื่องกับ เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินได้ 1. ภาษามือสัตว์เลี้ยง ภาษามือสัตว์เลี้ยงมีทั้งท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ ซึ ่งท้าท่ามือตามลักษณะของ สัตว์ตัวนั้นๆ เช่น ค้าว่ากระต่าย จะมีหูที่ยาวภาษามือจึงท้าท่ามือ เลขสอง หันหลังมือออก และขยับ ขึ้นลงเหมือนหูกระต่าย เป็นต้น สัตว์ นำนิ้วกลำง นิ้วนำงแตะกับนิ้วหัวแม่มือ ตำมภำพ หมา ตีที่ขำและดีดนิ้ว แมว จีบมือทั้งสองข้ำงและวำงข้ำงจมูก กระต่าย ทำท่ำมือ เลขสอง หันหลังมือออก และขยับขึ้นลง

Upload: pop-jaturong

Post on 09-Aug-2015

36 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 9

บทท่ี 9 ภาษามือหมวด สัตว ์

สัตว์เป็นเพ่ือนที่ซื่อสัตย์ที่สุดของมนุษย์สัตว์มีหลายประเภท ได้แก่ สัตว์เลี้ยง สัตว์บก สัตว์น้้า สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน ซึ่งในภาษามือหมวดสัตว์นี้จะท้าให้ผู้ฝึกสามารถท้าภาษามือสื่อสารเรื่องกับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินได้

1. ภาษามือสัตว์เลี้ยง ภาษามือสัตว์เลี้ยงมีทั้งท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ ซ่ึงท้าท่ามือตามลักษณะของ

สัตว์ตัวนั้นๆ เช่น ค้าว่ากระต่าย จะมีหูที่ยาวภาษามือจึงท้าท่ามือ เลขสอง หันหลังมือออก และขยับขึ้นลงเหมือนหูกระต่าย เป็นต้น

สัตว์ น ำนิ้วกลำง นิ้วนำงแตะกับน้ิวหัวแม่มือ ตำมภำพ

หมา ตีที่ขำและดีดนิ้ว

แมว จีบมือท้ังสองข้ำงและวำงข้ำงจมูก

กระต่าย ท ำท่ำมือ เลขสอง หันหลังมือออก และขยับขึ้นลง

Page 2: บทที่ 9

74

2. ภาษามือสัตว์บก การท้าภาษามือค้าศัพทส์ัตว์บกสามารถท้าได้โดยดูลักษณะเด่นของสัตว์ชนิดนั้นๆ เช่น

ค้าว่าช้าง ช้างมีจุดเด่นที่งวงของช้างเวลาท้าภาษามือจะใช้หลังมือแตะที่จมูกและท้ามือตามภาพดังนี้

ช้าง

หลังมือแตะที่จมูกและท ำมือตำมภำพ

ม้า ท ำท่ำมือเลขสำมแตะที่ข้ำงขมับและพับนิ้วลง ตำมภำพ

วัว

ท ำท่ำมือเลขหนึ่งทัง้สองข้ำงและชูขึ้นแตะที่ขมับ ตำมภำพ

ควาย ท ำท่ำมือ ย และแตะที่ขมับ ตำมภำพ

เสือ

แบมือและน ำนิ้วโป้งแตะที่ข้ำงจมกู สิงโต

คว่ ำมือแตะที่หน้ำผำกและลำกมือลง ตำมภำพ

Page 3: บทที่ 9

75

3. ภาษามือสัตว์น้้า ภาษามือสัตว์น้้าสามารถท้าได้โดยการคิดภาพของสัตว์ชนิดนั้นๆ เช่น ค้าว่า ปู นึกถึงขาปู

ที่มีจ้านวนมาก เมื่อท้าภาษามือให้แบมือน้านิ้วหัวแม่มือมาชิดกันและนิ้วทั้งหมดที่เหลือจะกระดิกไปมาเหมือนปูเดิน ดังภาพต่อไปนี้

ปลา

พนมมือระดับหน้ำอก

ปู แบมือสองข้ำงและท ำท่ำมือตำมภำพ

กุ้ง

แบมือท้ังสองข้ำง ท ำท่ำมือตำมภำพ

หอย แบมือข้ำงหนึ่งในระดับหน้ำอกใหป้ลำยนิ้วออกนอก

ล ำตัว แล้วประกบมืออีกข้ำงหนึง่ทบัลงไป เปิดมือโดยที่น้ิวก้อยยังติดกันอยู่

Page 4: บทที่ 9

76

ปลาหมึก ท ำท่ำมือ เลขหนึ่ง งอน้ิวและวนมอืตำมภำพ

เต่า ก ำมือและยื่นนิ้วโป้งออกมำ มือข้ำงหนึ่งจับที่น้ิวโป้ง

ตำมภำพ

4. ภาษามือสัตว์ปีก

สัตว์ปีกมีหลายชนิดที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ นก ไก่ เป็ด ผีเสื้อ การท้าท่ามือ ก็ท้าตามลักษณะเด่นของสัตว์ชนิดนั้นๆ ตามภาพ

นก

ท ำท่ำมือ ไก่ และกำงมือ ตำมภำพ

ไก่ ท ำท่ำมือยี่สิบท่ีปำก ตำมภำพ

เป็ด

ท ำท่ำมือสำมสิบท่ีปำก ตำมภำพ ผีเสื้อ

ไขว้แขนและโบกมือขึ้นลง ตำมภำพ

Page 5: บทที่ 9

77

แมลงปอ

ท ำท่ำมือ เลขสำม และท ำท่ำมือ ตำมภำพ

ผึ้ง ท ำท่ำมือ f แตะที่แก้ม และปล่อยนิ้วท่ีจีบไว้

อยู่ในท่ำแบมือ

5. การสนทนาในหมวดสัตว์ ในการใช้ภาษามือในหมวดนี้สามารถน้าค้าศัพท์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการสนทนา

เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและสนทนากันได้อย่างราบรื่น ดังจะยกตัวอย่างต่อไปนี้

ก : นั่นสุนัขของใคร ข : ของฉันเองหละ

Page 6: บทที่ 9

78

ข : ฉันชอบ ก : ฉันไม่ชอบสุนัข

สรุป ภาษามือหมวดสัตว์ แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่ สัตว์เลี้ยง สัตว์บก สัตว์น้้า โดยในแต่ละค้าจะใช้ท่ามือที่ยากง่ายแตกต่างกันไป ตัวอย่างเช่น สุนัข ท่ามือคือ ตีที่ขาและดีดนิ้ว ส่วนค้าว่ายุง ท้าท่ามือสองจังหวะท้าท่ามือ แมงมุม และท้าท่าตบยุง ซึ่งค้าศัพท์ต่างๆ สามารถน้าไปใช้ในการสื่อสารได้เป็นอย่างด ี

แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบค้าถาม

ก. หมา ข. แมว ค. หมู ง. เป็ด จ. ช้าง

ฉ. ปลา ช. หอย ซ. ปู ฌ. นก ญ. แมงปอ

………1. ………2.

………3. ………4.

Page 7: บทที่ 9

79

………5. ………6.

………7. ………8.

………9. ………10.

2. ให้นักศึกษาจัดกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน และคิดบทสนทนา เพ่ือน้าเสนอหน้าชั้นเรียน

เอกสารอ้างอิง

กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ส้านักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ส้านักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ส้านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ส้านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ :

Page 8: บทที่ 9

80

ส้านักพิมพ์บพิธการพิมพ์.