สงครามเย็น [ cold war ]

49
วิชา ส33102 เรื่อง สงครามเย็น เสนอ .ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล จัดทาโดย นางสาวพิชญา ชนะกิจเสรี .6.1 เลขที18 นางสาวอภิรดี อิทธิกมลเลิศ .6.1 เลขที38 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนสตรีวิทยา

Upload: imeveve

Post on 12-Jul-2015

297 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: สงครามเย็น [ Cold War ]

วิชา ส33102 เรื่อง สงครามเย็น

เสนออ.ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล

จัดท าโดยนางสาวพิชญา ชนะกิจเสรี ม.6.1 เลขที่ 18นางสาวอภิรดี อิทธกิมลเลิศ ม.6.1 เลขที่ 38

ปกีารศึกษา 2557 โรงเรียนสตรีวิทยา

Page 2: สงครามเย็น [ Cold War ]
Page 3: สงครามเย็น [ Cold War ]

ความหมายของสงครามเย็น

Page 4: สงครามเย็น [ Cold War ]

สงครามเย็น หมายถึง ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างสองอภิมหาอ านาจ คือ อุดมการณ์ทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของสหรัฐอเมริกากับอุดมการณ์ทางการเมืองแบบคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียต ซึ่งเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

สงครามเย็นเป็นการช่วงชิงกันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการโฆษณาชวนเชื่ อ โดยไม่ ได้ ใช้ ก าลั งทหารและอาวุ ธมาประหัตประหารกัน

Page 5: สงครามเย็น [ Cold War ]

สาเหตขุองสงครามเย็น

Page 6: สงครามเย็น [ Cold War ]

สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ท าลายสถานะทางอ านาจของมหาอ านาจเดิมคือ เยอรมนีและญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผู้แพ้สงคราม ส่วนอังกฤษกับฝรั่งเศสเป็นชาติพันธมิตรที่ชนะสงคราม แต่อังกฤษก็ได้รับความบอบช้ าทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจตกต่ า ส่วนฝรั่งเศสถูกเยอรมนียึดครองประเทศเป็นเวลานาน4ปี

1.การเปลี่ยนแปลงดุลทางอ านาจของโลก

Page 7: สงครามเย็น [ Cold War ]

ช่วงหลั งสงครามสหรัฐอเมริกาจึ งกลายเป็นชาติมหาอ านาจที่มั่งคั่งที่สุดในโลก ส่วนสหภาพโซเวียตถึงแม้จะได้รับความบอบช้ าแต่ก็ฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็ว สหภาพโซเวียตจึงก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอ านาจคู่กับสหรัฐอเมริกาแทนชาติยุโรปตะวันตกและญี่ปุ่น

Page 8: สงครามเย็น [ Cold War ]

สหรัฐอเมริกา ยึดหลักลัทธิเสรีประชาธิปไตย การเมืองแบบเสรีนิยม ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบระบบทุนนิยม ให้สิทธิเสรีภาพในการด าเนินชีวิตของประชาชน

2.อุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกัน

สหภาพโซเวียต ยึดถืออุดมการณ์สังคมนิยมมาร์กซิสต์ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ หลักการสังคมนิยม เน้นในวัฒนธรรมชนชั้นกรรมาชีพหรือผลประโยชน์ของผู้ใช้แรงงาน

Page 9: สงครามเย็น [ Cold War ]

ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 คือ แฮร์รี่ เอส. ทรูแมน นายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิลล์ของอังกฤษ ซึ่งเป็นชาติพันธมิตรชนะสงครามที่ส าคัญก็มีท่าทีต่อต้านสหภาพโซเวียตด้วยเช่นกัน

3.ความขัดแย้งของผู้น าของชาติอภิมหาอ านาจ

Page 10: สงครามเย็น [ Cold War ]

ผู้น าของสหภาพโซเวียต ได้แก่ จอมพล โจเซฟ สตาลินเป็นผู้น าเผด็จการ สตาลินมีความหวาดระแวงในท่าทีของฝ่ายพันธมิตรตะวันตกในด้านต่างๆ ท าให้สหภาพโซเวียตไม่ ไว้วางใจประเทศตะวันตก เห็นว่าประเทศตะวันตกจ้องจะท าลายลัทธิคอมมิวนิสต์

Page 11: สงครามเย็น [ Cold War ]

การเกิดสงครามเย็นเริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1945

- สหภาพโซเวียตได้จัดต้ังรัฐบาลคอมมิวนิสต์

- ฝ่ายสหรัฐอเมริกากับอังกฤษก็ได้จัดต้ังรัฐบาลประชาธิปไตยขึ้นในประเทศที่อยู่ในอารักขาของตนที่มีพรมแดนติดต่อกับเขตยึดครองของสหภาพโซเวียต

- ช่วงเวลานั้น สหรัฐอเมริกาได้เข้าไปช่วยเหลอืรัฐบาลกรีซและรัฐบาลตุรกีต่อต้านอ านาจลัทธิคอมมิวนิสต์

Page 12: สงครามเย็น [ Cold War ]

ประธานาธิบดีทรูแมนได้ประกาศหลักทรูแมน (Truman Doctrine)

มีสาระส าคัญว่า “สหรัฐอเมริกาจะให้ความช่วยเหลือรัฐบาลในระบอบเสรีประชาธิปไตยและต่อต้านการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์”

Page 13: สงครามเย็น [ Cold War ]

ความจริงแล้วสหภาพโซเวียตต้องการที่จะเป็นผู้น าของยุโรปตะวันออก และยังต้องการเผยแพร่อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ไปทั่วโลกด้วย สหรัฐอเมริกาก็ได้ประกาศใช้แผนมาร์แชลล์(Marshall Plan) เพื่อช่วยเหลือและฟื้นฟูประเทศต่างๆที่ประสบภัยจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ท าให้ประเทศเหล่านั้นต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาไปโดยปริยาย

Page 14: สงครามเย็น [ Cold War ]

ปัญหาความขัดแย้งในสงครามเย็น

Page 15: สงครามเย็น [ Cold War ]

ในช่วงที่เกิดสงครามเย็นระหว่าง ค.ศ. 1945-1991 ประเทศต่างๆแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย

- ฝ่ายเสรีประชาธิปไตยภายใต้การน าของสหรัฐอเมริกา

- ฝ่ายสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ภายใต้การน าของสหภาพโซเวียต

ซึ่งทั้งสองฝ่ายตั้งตนเป็นศัตรูแข่งขันกันทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ ทหาร และอุดมการณ์ สงครามในระยะนี้ไม่ใช่การต่อสู้ระหว่างชาติมหาอ านาจ แต่เป็นสงครามตัวแทน(proxy war)

Page 16: สงครามเย็น [ Cold War ]

กรณีความขัดแย้งของชาติมหาอ านาจ

Page 17: สงครามเย็น [ Cold War ]

1.1)กรณีปัญหาในยุโรปตะวันออก

เมื่อตอนปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 สหภาพโซเวียตเข้ามาปลดปล่อยประเทศต่างๆในยุโรปตะวันออกจากการยึดครองของกองทัพเยอรมัน เมื่อสิ้นสุดสงครามกองทัพสหภาพโซเวียตยังคงประจ าการและสนับสนุนกลุ่มนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ ท าการยึดอ านาจการปกครองประเทศ และเปลี่ยนแปลงกลายเป็นประเทศที่ปกครองในระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ท าให้บางประเทศเกิดข้อขัดแย้งระหว่างชาติตะวันตกกับสหภาพโซเวียต

1.กรณีความขัดแย้งในยุโรป

Page 18: สงครามเย็น [ Cold War ]

1.2)กรณีปัญหาเรื่องเยอรมนี

หลังสิ้นสดุสงครามโลกครั้งที ่2 วันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ประเทศเยอรมนีได้ถูกยึดครองแบ่งออกเปน็ 4 ส่วนภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียตส่วนกรุงเบอร์ลินก็ถูกแบ่งแยกด้วยเช่นกัน

สหภาพโซเวียตพยายามเรียกร้องค่าปฏิกรรมสงครามจากเยอรมนีเป็นจ านวนมาก แต่สหรัฐอเมริกาพยายามบ่ายเบี่ยงท าให้สหภาพโซเวียตไม่พอใจ

Page 19: สงครามเย็น [ Cold War ]

รูปแสดงพื้นที่ในเยอรมนีที่ถูกครอบครองเมื่อ ค.ศ. 1945 เยอรมนีตะวันตก ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส แล ะ เ ย อ ร มนี ต ะ วั น อ อ กที่ปกครองโดยสหภาพโซเวียต

Page 20: สงครามเย็น [ Cold War ]

ความขัดแย้งในเยอรมนีมาถึงจุดสูงสุดในกลาง ค.ศ.1948 สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศสปฏิรูปเงินตราในเขตยึดครองของตนเพื่อฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจให้มั่นคง ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายให้สหภาพโซเวียตมาก สหภาพโซเวียตจึงปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน บีบคั้นมหาอ านาจตะวันตกให้ละทิ้งเบอร์ลินตะวันตก

ชาติตะวันตกได้เสนอปัญหานี้ต่อประชาชาติและแก้ปัญหาด้วยการส่งเสบียงอาหารทางอากาศให้กับชาวเบอร์ลินตะวันตก ท าให้การปิดล้อมไม่ได้ผล สหภาพโซเวียตได้ยกเลิกการปิดล้อม แต่ความขัดแย้งระหว่างสองฝ่ายก็ไม่ได้ยุติ

Page 21: สงครามเย็น [ Cold War ]

ปัญหาเยอรมนีน ามาซึ่ งการแบ่งแยกเยอรมนีในค.ศ.1949

ชาติตะวันตกอันมีสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ได้รวมเขตยึดครองข อ ง ต น จั ด ตั้ ง ป ร ะ เ ท ศ ส ห พั น ธ์สาธารณรัฐ เยอรมันหรื อ เยอรมนีตะวันตก

ฝ่ายสหภาพโซเวียต จึงจัดตั้งเขตยึ ดครองของตน เป็ นสาธารณรั ฐประชาธิปไตยเยอรมันหรือเยอรมนีตะวันออก

Page 22: สงครามเย็น [ Cold War ]

เยอรมนีตะวันตกได้พัฒนาเศรษฐกิจจนกลายเป็นประเทศที่มั่งคั่ง ท าให้ประชาชนเยอรมนีตะวันออกพยายามหลบหนีมาเยอรมนีตะวันตกเป็นจ านวนมาก รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกได้สร้างก าแพงเบอร์ลนิใน ค.ศ. 1961 เพื่อสกัดกั้นชาวเยอรมันตะวันออกหลบหนีมายังเยอรมนีตะวันตก

Page 23: สงครามเย็น [ Cold War ]

ก าแพงเบอร์ลินจึงเป็นสัญลักษณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในช่วงสงครามเย็น ในช่วงค.ศ. 1989 รัฐบาลใหม่มีแนวนโยบายเป็นเสรีนิยมเปิดเส้นพรมแดนกับเยอรมนีตะวันตก ประชาชนและรัฐบาลของเยอรมนีตะวันออกและตะวันตกจึงท าลายก าแพงเบอร์ลินลงเมื่อ ค.ศ. 1990 รวมประเทศเป็นผลส าเร็จเมื่อ ค.ศ. 1991

Page 24: สงครามเย็น [ Cold War ]

ความขัดแย้งทางการเมืองท าให้ประเทศยุโรปตะวันตกและสหรัฐอเมริกาจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือองค์การนาโตขึ้นเพื่อต่อต้านสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1949

ต่อมาใน ค.ศ. 1955 สหภาพโซเวียตกับประเทศคอมมิวนิสต์ยุโรปตะวันตกได้รวมกลุ่มจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอขึ้นเผชิญหน้ากับองค์การนาโต ทั้งสองฝ่ายได้เผชิญหน้ากันตลอดมาในยุคสงครามเย็น

Page 25: สงครามเย็น [ Cold War ]

ปัญหาเรื่องการยึดครองญี่ปุ่น มี 2 กรณี

กรณีแรก คือ ค่าปฏิกรรมสงครามซึ่งสหภาพโซเวียตพยายามเรียกร้องค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจ านวนมากจากญี่ปุ่น แต่สหรัฐอเมริกาพยายามบ่ายเบี่ยง

กรณีที่ 2 คือ การท าสนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น ทั้งสองฝ่ายต่างมีความคิดเห็นไม่ตรงกัน สหภาพโซเวียตยังโจมตีสหรัฐอเมริกาเรื่องการปกครองญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกาก็โจมตีสหภาพโซเวียตในกรณีที่สหภาพโซเวียตกักตัวเชลยศึกชาวญี่ปุ่นไม่ให้กลับประเทศ

2)กรณีปัญหาในทวีปเอเชีย

Page 26: สงครามเย็น [ Cold War ]

ภาวะสงครามเย็น

จุดเริ่มต้นของสงครามเย็นคือกรณีความขัดแย้งระหว่างชาติมหาอ านาจในช่วง ค.ศ.1945-1948 หลังจาก ค.ศ. 1948 โลกเข้าสู่ภาวะสงครามเย็นอย่างแท้จริงทุกภูมิภาคถูกครอบง าโดยการแข่งขันทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา ทั้งสองสนับสนุนให้กลุ่มการเมทองภายในประเทศจงรักภักดีต่อตนและสูกับรัฐบาลตนเอง จนถึงให้ประเทศบริวารสู้รบกันเองเพ่ือขยายอิทธิพลของตน

Page 27: สงครามเย็น [ Cold War ]

ภูมิภาคยุโรปยุโรปถูกแบ่งออกเป็น2ฝ่ายอย่างชัดเจนโดยยุโรปตะวันออก

กลายเป็นปีะเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์โดยการควบคุมของสหภาพโซเวียต ยกเว้นประเทศยูโกสลาเวียที่เป็นคอมมิวนิสต์ที่ต่อต้านสหภาพโซเวียต

ต่อมายุโรปตะวันตกพยายามแทรกซึมเข้าไปในยุโรปตะวันออกโดยการให้ข่าวสารเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรืองและสิทธิเสรีภาพของประชาชน ก่อให้เกิดการต่อสู้เพื่อเสรีภาพในยุโรปตะวันออกต่อมา

Page 28: สงครามเย็น [ Cold War ]

ภูมิภาคเอเชีย

• สงครามเกาหลี (ค.ศ.1950-1953) ญี่ปุ่นครอบครองคาบสมุทรเกาหลีแต่ต่อมาญี่ปุ่นกลายเป็นผู้แพ้สงครามโลกครั้งที่2 ท าให้มหาอ านาจครอบครองคาบสมุทรเกาหลีไว้ โดยองค์การสหประชาชาติก าหนดให้เส้นขนานที่38องศาเหนือเป็นแนวแบ่ง ดินแดนส่วนเหนือเส้นเป็นเขตปลอดอาวุธทหารญี่ปุ่น อยู่ในความดูแลของสหภาพโซเวียต มีรัฐบาลปกครองด้วยแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และดินแดนส่วนล่างอยู่ในความดูแลของสหรัฐอเมริกา ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย

Page 29: สงครามเย็น [ Cold War ]

ในปี ค.ศ.1948มีการจัดการเลือกตั้งที่ไม่ได้รับการยินยอมจากสหภาพโซเวียตในการรวมเกาหลี และพรรคการเมืองที่นิยมสหรัฐอเมริกาชนะจึงถือเป็นการปิดหนทางรวมเกาหลีแบบถาวร

ในวันที2่5 มิถุนายน ค.ศ.1950, กองทัพเกาหลีเหนือที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียตได้บุกผ่านเส้นขนานที่38มาในดินแดนของเกาหลีใต้ ท าให้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเรียกประชุมฉุกเฉินแต่สหภาพโซเวียตไม่เข้าประชุมและจีนคัดค้าน ประธานาธิบดีทรูแมนแห่งสหรัฐอเมริกาจึงเคลื่อนพลของตนเข้าช่วยเกาหลีใต้และขอความช่วยเหลือจากชาติพันธมิตร

Page 30: สงครามเย็น [ Cold War ]

สหรัฐอเมริกาไล่เกาหลเีหนือออกไปและยึดดินแดนบริเวณแม่น้ ายาลูของเกาหลีเหนือไว้แต่จีนให้ถอนก าลัง นายพลดักลาส แมกอาร์เทอร์ไม่ปฏิบัติตาม จีนจึงส่งก าลังมาแต่ไม่สามารถสู้กองทัพสหรัฐอเมริกาและพัยธมิตรไหวจึงถอยกลับไป

Page 31: สงครามเย็น [ Cold War ]

แตน่ายพลแมกอาร์เทอร์ต้องการก าจัดจีนออกจากสงครามจึงปิดล้อมชายฝั่งจีนและถล่มฐานทัพรัสเซียในแมนยจูเรีย แต่ประธานาธบดรทรูแมนไม่เห็นด้วย เพราะเกรงว่าสหภาพโซเวียตจะเข้าสู่สงครามจึงแต่งตั้งแมทธิว ริดจ์เวย์มาเป็นแทน จนกระทั่งนายพลดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ ได้เป็นประธานาธบดีคนต่อมาจึงได้ด าเนินนโยบายประนีประนอมมากขึ้น สหประชาชาติไกล่เกลี่ยคู่สงคราม จนในปี ค.ศ.1953สงครามจึงยุติลง

Page 32: สงครามเย็น [ Cold War ]

• กรณีขัดแย้งเรื่องเกาะไต้หวัน (ค.ศ.1950-ปัจจุบัน)

ใน ค.ศ.1949 เหมาเจ๋อตุง กองทัพคอมมิวนิสต์จีนได้จัดต้ังสาธารณรัฐประชาชนจีน และจอมพลเจียง ไคเชกและพรรคชาตินิยมกับปรพชาชนบางส่วนอพยพไปต้ังสาธารณรัฐจีนบนเกาไต้หวัน

Page 33: สงครามเย็น [ Cold War ]

ค.ศ.1954 รัฐบาลจีนคอมมิวนิสต์มีนโยบายรวมเกาะไต้หวันกับจีน สหรัฐอเมริกาจึงส่งกองทัพเรือที7่มาลาดตระเวนที่ช่องแคบไต้หวัน จีนจึงระดมยิงเกาะคีมอยและเกาะมัทสุนอกชายฝั่งจีน ส่งผลให้สหรัฐอเมริกาลงนามสนธิสัญญาพันธะมิตรทางทหารกับไต้หวัน และออกกฎหมายคุ้มครองเกาะคีมอยและเกาะมัทสุ จีนจึงยอมยุติการโจมตี

Page 34: สงครามเย็น [ Cold War ]

• สงครามเวียดนาม (ค.ศ.1965-1975)เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที2่ ฝรั่งเศสพยายามที่จะยึดอ านาจ

การปกครองในเวียตนาม จึงเกิดขบวนการคอมมิวนิสต์เวียดมินห์ ภายใต้การน าของ โฮ จิ มินห์ ต่อต้านฝรั่งเศส โดยการสนับสนุนจากกลุ่มชาตินิยมทางเหนือของประเทศ ท าให้เกิดสงครามตั้งแต่ ค.ศ.1946 จนกระทั่ง ค.ศ. 1954 ฝรั่งเศสพ่ายแพ้ที่เดียนเบียนฟู โดยชาติมหาอ านาจอื่นๆรวมถึงชาติต่างๆในเอเชียและยุโรปจักให้มีการเจรจาสงบศึกที่นครเจนีวา ฝรั่งเศสจึงต้องให้เอกราชแก่เวียดนาม

Page 35: สงครามเย็น [ Cold War ]

เวียดนามแบ่งเป็น2ส่วนตามเส้นขนานที1่7องศาเหนือ โดยเวียดนามเหนืออยู่ภายใต้การปกครองของโฮ จิ มินห์ และเวียดนามใต้อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิ บ๋าว ได่ การแบ่งอาณาเขตครั้งนี้เป็นการแบ่งช่ัวคราว ก าหนดให้รวมหลังการเลือกตั้งปี ค.ศ.1956 แต่ก็ไม่ได้จัดการเลือกตั้ง

Page 36: สงครามเย็น [ Cold War ]

ในเวียดนามใต้มีการเคลื่อนไหวของแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติหรือเวียงกง เมื่อ โง ดินห์ เสี่ยม ด ารงต าแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้ปราบเวียดกงโดยอาศัยการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ต่อมา โง ดินห์ เสี่ยม โดนโค่นการเมืองในเวียดนามใต้ไร้เสถียรภาพ มีรัฐบาลทหารผลัดเปลี่ยนมาปกครอง โดยได้สหรัฐอเมริกาสนับสนุนการสู้รบกับเสียดนามเหนือและเวียดกง

Page 37: สงครามเย็น [ Cold War ]

สงครามครั้งนี้ท าให้สหรัฐอเมรกิาต้องกลายเป็นผู้แพ้สงคราม มีทหารเสียชีวิตถึง2ล้านกว่าคน ราษฎรเสียชีวิตกว่าล้านคน และยังเป็นสาเหตุให้เวียดนามใต้ต้องอพยพหนีออกนอกประเทศเป็นจ านวนมาก

Page 38: สงครามเย็น [ Cold War ]

กลุ่มประเทศละตินอเมริกาวิกฤตการณ์คิวบา ถือเป็นการเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตที่รุนแรงที่สุดครั้งหนึ่ง เพราะเกือบน าไปสู่สงครามนิวเคลียร์ระหว่าง2ชาติมหาอ านาจคิวบาได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์รัฐบาลเผด็จการของนายพลฟูลเกนเซียว บาติสตา โดยการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ต่อมาในปี ค.ศ.1959 ได้ถูกฟิเดล คัสโตรทีม่ีสหภาพโซเวียตเป็นผู้สนับสนุนโค่นล้ม โดยได้ด าเนินนโยบายการปกครองแบบสังคมนิยม

Page 39: สงครามเย็น [ Cold War ]

สหรัฐอเมริกาพยายามจะโค่นล้มรัฐบาลฟิเดล คัสโตร โดยการส่งกองก าลังคิวบาที่ลี้ภัยในสหรัฐอเมริกาเข้าโจมตีโดยการยกพลขึ้นบกที่อ่าวพิกซ์ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1961 แต่ก็ถูกปราบปรามได้

ต่อมาในเดือนตุลาคม ค.ศ.1962 สหภาพโซเวียตได้สร้างฐานขีปนาวุธในคิวบาซึ่งถือเป็นการคุกคามสหรัฐอเมริกาอย่างยิ่ง ประธานาธิบดี จอห์น เอฟ เคนเนดี แห่งสหรัฐอเมริกา ได้ท าการปิดล้อมคิวบาและแจ้งเตือนสหภาพโซเวียตว่าพร้อมที่จะตอบโต้ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ นีกีตา ครุชชอฟ ผู้น าสหภาพโซเวียคุตยอมประนีประนอมโดยการถอนก าลังขีปนาวุธออกจากคิวบาแลกกับการที่สหรัฐอเมริกาไม่บุกคิวบา วิกฤตการณ์คิวบาจึงสิ้นสุดลง แต่การแข่งขันสะสมอาวุธทางยุธศาสตร์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตยังด าเนินต่อไป

Page 40: สงครามเย็น [ Cold War ]

การเปลี่ยนแปลงของสภาวะสงครามเย็นเกิดจากความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของประเทศมหาอ านาจ เมื่อนีกีตา ครุชชอฟ ผู้น าของสหภาพโซเวียตประกาศนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันติใน ค.ศ.1956 โดยมีหลักการให้ทั้งสิงฝ่ายอยู่ร่วมกันโดยไม่แข่งขันด้านสงครามแต่อข่งขันกันในด้านอื่นแทน

การผ่อนคลายความตึงเครียด

Page 41: สงครามเย็น [ Cold War ]

นโยบายนี้ท าให้สหภาพโซเวียตได้ขยายความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆมากขึ้นโดยเฉพาะประเทศก าลังพัฒนาและผ่อนความเข้มงวดกับกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกมากขึ้น ถือเป็นการขยายอิทธิพลแทนการขยายอ านาจ

ส่วนสหรัฐอเมริกาเปลี่ยนนโยบายทางการทหารมาเป็นการทูตแทนเพราะหวั่นเกรงต่อภัยสงครามนิวเคลียร์ นโยบายปิดล้อมประเทศคอมมิวนิสต์ใช้ไม่ได้ผลและชาวอเมริกันรู้เกี่ยวกับประเทศสังคมนิยมมากขึ้น เช่นการให้การสนับสนุนทางการทหารและเศรษฐกิจต่อประเทศก าลังพัฒนา

Page 42: สงครามเย็น [ Cold War ]

แตอ่ย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างชาติมหาอ านาจทั้งสองเสื่อมลงเมื่อสหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลไปในแองโกลา เอธิโอเปียและแทรงแซงทางการเมืองในอัฟกานิสถานใน ค.ศ.1979 ซึ่งท าให้สหนัฐอเมริการท าการคว่ าบาตรทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ๆ เทคโนโลยีระดับสูง และไม่เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิคที่สหภาพโซเวียตเป็นเจ้าภาพในปี ค.ศ.1980 จึงท าให้ความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศกลับมาตรึงเครียดอีกครั้ง

Page 43: สงครามเย็น [ Cold War ]

การสิ้นสุดสงครามเย็น

Page 44: สงครามเย็น [ Cold War ]

สภาวะสงครามเย็นเริม่คลี่คลายลง เมื่อมีมฮิาอิล กอร์บาชอฟ เลขานุการพรรคคอมมิวนิสต์และผู้น าสหภาพโซเวียต ใน ค.ศ. 1985 กอร์บาชอฟได้ประกาศนโยบายเปิด-ปรับ หรือกลาสนอสต์-เปเรสตรอยกา (Glasnost-Perestroika) ปฏิรูปการเมือง เศรษฐกิจ ให้เป็นเสรีนยิมประชาธิปไตยมากขึ้น สร้างความสัมพนัธ์กับชาติต่างๆ ถอนก าลังทหารออกจากอัฟกานิสถาน เจรจากับสหรัฐอเมริกาและจีนเพื่อแก้ไขปัญหาชายแดนร่วมกัน

Page 45: สงครามเย็น [ Cold War ]

นโยบายกลาสนอสต์-เปเรสตรอยกาท าให้สภาวะสงครามเย็นยุติเร็วขึ้น รัฐบาลสหภาพโซเวียตประกาศว่าจะไม่เข้ายุ่งเก่ียวกับกิจการภายในของกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก

Page 46: สงครามเย็น [ Cold War ]

จุดเริ่มต้นของการสิ้นสดุสภาวะสงครามเย็น เริ่มต้นจากประชาชนชาวเยอรมนีตะวันออกเรียกร้องเสรภีาพทางการเมือง ก าแพงเบอร์ลินซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการแบ่งแยกฝ่ายเสรีประชาธิปไตยกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้ถูกประชาชนท าลายลงใน ค.ศ. 1990

เหตุการณ์ท าลายก าแพงเบอร์ลินนับว่าเป็นเหตุการณ์ส าคัญอันมีความหมายว่า สภาวะสงครามเย็นใกล้ถึงกาลอวสานแล้ว

Page 47: สงครามเย็น [ Cold War ]

ความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นในยุโรปตะวันออกท าให้ประเทศในค่ายยุโรปตะวันออกต่างถอนตัวจากสมาชิกกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ และการถอนทหารออกจากภูมิภาคนี้ท าให้องค์การกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอต้องล่มสลายลง

สหภาพโซเวียตต้องเผชิญกลับปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากชาติตะวันตก อีกทั้งยังประสบกับปัญหาการเมืองภายใน พวกอนุรักษนิยมได้ท าการรัฐประหารโค่นล้มกอร์บาชอฟ แต่ประชาชนต่อต้าน จึงท าให้ล้มเหลวลง

Page 48: สงครามเย็น [ Cold War ]

ผลจากการรัฐประหารคือ พรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตล่มสลายลง และสาธารณรัฐต่างๆในสหภาพโซเวียตร่วมกันจัดตั้งเครือรัฐเอกราช ประเทศสหภาพโซเวียตจึงล่มสลายลง สงครามเย็นที่ด าเนินมานานถึง 45ปี ยุติลงในที่สุด

Page 49: สงครามเย็น [ Cold War ]

นางสาวพิชญา ชนะกิจเสรี ม.6.1 เลขที1่8

นางสาวอภิรดี อิทธิกมลเลิศ ม.6.1 เลขที่ 38

สมาชิก