เขม่าปืน (gunshot residue : gsr) · 3 (๓) เครื่องล...

41
บทที1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในกรณีของการยิงในระยะใกลและระยะกลาง สามารถที่จะพบการสะสมของคราบเขมา, ดินปน, โลหะ และอนุภาคอื่นๆ ไดบนเสื้อผาหรือผิวหนัง ความหนาแนนและการกระจายในการสะสมของ อนุภาคตางๆนี้จะเกี่ยวของกับระยะยิงโดยใชในการประมาณหาระยะยิงได นอกจากนี้ระยะยิงและปจจัย อื่นๆ ตัวอยางเชน ความยาวของลํากลองปน , ชนิดของเครื่องกระสุนปน , ขนาดของอาวุธปน , มุมที่ปาก กระบอกปนทํากับเปาหมาย , วัสดุที่ใชทําเปาหมาย , ชนิดของอาวุธปน , ลักษณะของรองเกลียวและสัน เกลียว , เหลานี้ลวนมีผลกับรูปแบบการสะสมของอนุภาคที่ตกคาง [1-3] วัตถุประสงคของงานวิจัยนีคือ เพื่อศึกษาถึงความแตกตางความเสียหาย ของรอยทางเขาของลูก กระสุนปน ที่เกิดจากปนพกออโตเมติก ยี่หอ Tokarev และ Makarov ( 4 รองเกลียว 4 สันเกลียว ) และ Glock 19 ( รองเกลียวสันเกลียวเปนแบบ Hexagonal : 6 รองเกลียว 6 สันเกลียว ) จากการยิงที่ระยะ 10 , 15 และ 25 เซนติเมตร ซึ่งอาวุธปนขางตนเปนอาวุธปนที่พบมากใน Estonia และในการยิงทดสอบก็ เลือกใชเครื่องกระสุนปนที่พบมากใน Estonia เชนกัน 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาความแตกตางของความเสียหาย ที่บริเวณทางเขาของลูกกระสุนปน ซึ่งเกิดจากการยิง ดวย อาวุธปนพกออโตเมติก ยี่หอ Tokarev, Makarov และ Glock 19 จากการยิงที่ระยะ 10, 15 และ 25 เซนติเมตร

Upload: nguyenque

Post on 16-Feb-2019

218 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในกรณีของการยิงในระยะใกลและระยะกลาง สามารถที่จะพบการสะสมของคราบเขมา, ดินปน, โลหะ และอนุภาคอื่นๆ ไดบนเสื้อผาหรือผิวหนัง ความหนาแนนและการกระจายในการสะสมของอนุภาคตางๆนี้จะเกี่ยวของกับระยะยิงโดยใชในการประมาณหาระยะยิงได นอกจากนี้ระยะยิงและปจจัยอ่ืนๆ ตัวอยางเชน ความยาวของลํากลองปน , ชนิดของเครื่องกระสุนปน , ขนาดของอาวุธปน , มุมที่ปากกระบอกปนทํากับเปาหมาย , วัสดุที่ใชทําเปาหมาย , ชนิดของอาวุธปน , ลักษณะของรองเกลียวและสันเกลียว , เหลานี้ลวนมีผลกับรูปแบบการสะสมของอนุภาคที่ตกคาง [1-3] วัตถุประสงคของงานวิจัยนี้ คือ เพื่อศึกษาถึงความแตกตางความเสียหาย ของรอยทางเขาของลูกกระสุนปน ที่เกิดจากปนพกออโตเมติก ยี่หอ Tokarev และ Makarov ( 4 รองเกลียว 4 สันเกลียว ) และ Glock 19 ( รองเกลียวสันเกลียวเปนแบบ Hexagonal : 6 รองเกลียว 6 สันเกลียว ) จากการยิงที่ระยะ 10 , 15 และ 25 เซนติเมตร ซ่ึงอาวุธปนขางตนเปนอาวุธปนที่พบมากใน Estonia และในการยิงทดสอบก็เลือกใชเครื่องกระสุนปนที่พบมากใน Estonia เชนกัน 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาความแตกตางของความเสียหาย ที่บริเวณทางเขาของลูกกระสุนปน ซ่ึงเกิดจากการยิงดวย อาวุธปนพกออโตเมติก ยี่หอ Tokarev, Makarov และ Glock 19 จากการยิงที่ระยะ 10, 15 และ 25 เซนติเมตร

2

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม

2.1 อาวุธปนและเครื่องกระสุนปน ( Firearms and Their Projectiles )

2.1.1 ความหมายของอาวุธปน ตามความในมาตรา ๔ (๑),(๒) แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และส่ิงเทียมอาวุธปน พ.ศ. ๒๔๙๐ แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปนฯ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑ ไดบัญญัติอาวุธปนไวดังนี้ “อาวุธปน” หมายความรวมตลอดถึงอาวุธทุกชนิดซึ่งใชเครื่องสงกระสุนโดยวิธีระเบิดหรือกําลังแรงดันของแกสหรืออัดลม หรือเครื่องกลไกอยางใดซึ่งตองอาศัยอํานาจของพลังงานและสวนหนึ่งสวนใดของอาวุธนั้นๆ ซ่ึงรัฐมนตรีเห็นวาสําคัญและไดระบุไวในกฎกระทรวง “เครื่องกระสุนปน” หมายความรวมตลอดถึงกระสุนโดด กระสุนปราย กระสุนแตก ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิด และจรวด ทั้งชนิดที่มีและไมมีกรดแกส เชื้อเพลิง เชื้อโรค ไอพิษ หมอกหรือควัน หรือกระสุน ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิด และจรวด ที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกัน หรือเครื่อง หรือส่ิงสําหรับอัดหรือทํา หรือใชประกอบเครื่องกระสุนปน

ตามกฎกระทรวงฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๔๙๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปนฯ พ.ศ.๒๔๙๐ ไดกําหนดในกฎขอ 1 ไววา สวนของอาวุธปนที่มีความสําคัญใหถือเปนอาวุธปน ตามความในมาตรา ๔ (๑) คือ

(๑) ลํากลอง

(๒) เครื่องลูกเลื่อน หรือสวนประกอบสําคัญของเครื่องลูกเลื่อน

3

(๓) เครื่องล่ันไก หรือสวนประกอบสําคัญของเครื่องล่ันไก (๔) เครื่องสงกระสุนปน ซองกระสุนปน หรือสวนประกอบสําคัญของสิ่งเหลานี้

ตามกฎกระทรวงฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๒๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปนฯ พ.ศ.

๒๔๙๐ ไดกําหนดไวในขอ ๒ ไววา อาวุธปนที่นายทะเบียนจะออกใบอนุญาตใหได ตองเปนอาวุธปน ชนิด และขนาด ดังตอไปนี้

(๑) อาวุธปนชนิดลํากลองมีเกลียวที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางปากลํากลองไมเกิน ๑๑.๔๔ ม.ม.

(๒) อาวุธปนชนิดลํากลองไมมีเกลียว ดังตอไปนี้

(ก) ขนาดเสนผานศูนยกลางปากลํากลองไมถึง ๒๐ ม.ม.

(ข) ปนประจุปาก ปนลูกซอง และปนพลุสัญญาณ

(๓) อาวุธปนที่เครื่องกลไกสําหรับบรรจุกระสุนเองใหสามารถยิงซํ้าได ดังตอไปนี้ (ก) ขนาดความยาวลํากลองไมถึง ๑๖๐ ม.ม.

(ข) ปนลูกซอง

(ค) ปนลูกกรดขนาดเสนผานศูนยกลางปากลํากลองไมเกิน ๕.๖ ม.ม.

(๔) อาวุธปนชนิดไมมีเครื่องบังคับเสียงใหเบาผิดปกติ (๕) อาวุธปนชนิดที่ไมใชกระสุนเปนที่บรรจุวัตถุเคมีที่ทําใหเกิดอันตรายหรือเปนพิษหรือไมใช

เครื่องกระสุนปนที่บรรจุเชื้อโรค เชื้อเพลิง หรือวัตถุกัมมันตภาพรังสี

4

2.1.2 ประเภทของอาวุธปน เมื่อแบงตามความยาวลํากลองปน แบงได 3 ประเภท คือ 1. ปนสั้น หรือ ปนพก (Pistol)

คือปนที่มีลํากลองสั้น มีดามซึ่งสามารถใชจับถือ และยิงไดดวยมือเพียงขางเดียวอยางสบาย มี

ความยาวลํากลองตั้งแต 2 นิ้ว, 3 นิ้ว, 4 นิ้ว, 5 นิ้ว, 6 นิ้ว ฯลฯ ตามความตองการ สามารถพกพาได

ไมเกะกะ และเปนอาวุธปนที่ใชประกอบอาชญากรรมมากที่สุดในเวลานี้

ปนที่ทําจากตางประเทศ

ปนพกรีวอลเวอร (แบบลูกโม)

ปนพกออโตเมติก

5

ปนพกแบบเดอริงเยอร ลํากลองมีมากกวา 1 ลํากลอง

ปนพกประจุปาก

ปนพกอัดลม

6

ปนที่ทําเองภายในประเทศ

ปนพกรูปรางคลายไฟแช็ค ชนิด 2 หรือ 3 ลํากลอง

ปนพกรีวอลเวอร

ปนพกออโตเมติก

ปนพกใชบรรจุยิงครั้งละ 1 คร้ัง

ปนพกประจุปาก

ปนพกลูกซอง

7

2. ปนยาว (Rifle)

คือ ปนที่มีลํากลองยาว มีพานทาย (ดาม) เวลายิงตองจับ 2 มือ มีทั้งที่ผลิตในประเทศและ

ตางประเทศ

ปนยาวที่ทําจากตางประเทศ

ปนยาวลูกซอง

ปนยาวลูกกรด

ปนยาวไรเฟลใชในการกีฬาและลาสัตว

ปนยาวอัดลม

8

ปนยาวที่ทําขึ้นเองภายในประเทศ

ปนยาวลูกซอง

ปนยาวประจุปาก

ปนยาวอัดลม

3. ปนที่ใชในกิจการทหารหรือสงคราม

คือ ปนที่นายทะเบียนออกใบอนุญาตใหประชาชนมีไวในครองครองไมได โดย

กฎกระทรวงฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปนฯ พ.ศ.๒๔๙๐

ดังนั้น อาวุธปนที่นายทะเบียนออกใบอนุญาตใหไมได

1. มีเกลียวในลํากลองขนาดเกินกวา11.44 มม.

9

2. ไมมีเกลียวในลํากลอง มีขนาดเกินกวา 20 มม. (ยกเวนปนแกป ปนลูกซองและปนยิงพลุ

สัญญาณ)

3. ปนที่ยิงซํ้าไดและมีความยาวลํากลองเกิน 160 มม.

4. ปนที่มีเครื่องบังคับเสียงใหเบาผิดปกติ 5. ปนที่ใชกระสุนบรรจุวัตถุเคมี เชื้อโรค เชื้อเพลิง หรือวัตถุกัมมันตภาพรังสีทําใหเกิด

อันตราย หรือเปนพิษ

เม่ือแบงตามเกลียวภายในลํากลอง สามารถแบงได 2 ประเภท ดังนี้

1. ประเภทมีเกลียวภายในลํากลอง ใชกับกระสุนปนลูกโดด เมื่อยิงปนแรงอัดของแกสจะขับดัน

ใหลูกกระสุนปนครูดไปกับเกลียวภายในลํากลองแลวหมุนตัวออกไปจากปากลํากลองทําใหสามารถ

วิ่งผานอากาศออกไปตรงตามทิศทางที่เล็ง เชน ปนพกรีวอลเวอร ปนพกออโตเมติก ปนยาวไรเฟล

และปนกลตางๆ

ตัวอยางปนที่มีเกลียวภายในลํากลอง

• ปนพกรีวอลเวอร

• ปนพกออโตเมติก

10

• ปนยาวไรเฟล

• ปนกล

2. ประเภทไมมีเกลียวภายในลํากลอง ประเภทนี้ใชกับกระสุนปนลูกปราย ไดแก ปนลูกซองซึ่ง

ลํากลองภายในเรียบ ไมมีรองเกลียวภายในลํากลอง โดยมีขนาดเสนผานศูนยกลางหลายขนาด

นอกจากปนลูกซองแลว กระสุนปนลูกซองยังถูกนํามาใชยิงในปนไทยประดิษฐ ซ่ึงปนเหลานี้ไมได

ขึ้นทะเบียนตามกฎหมายและไมมีมาตรฐานเกี่ยวกับขนาดเสนผานศูนยกลางภายในลํากลองและ

ความยาวลํากลองแตอยางใด

11

ตัวอยางปนที่ไมมีเกลียวภายในลํากลอง

• ปนลูกซองผลิตจากตางประเทศ

• ปนลูกซองไทยประดิษฐ (ประกอบขึ้นเอง)

• ปนปากกาไทยประดิษฐ (ประกอบขึ้นเอง)

• ปนพกรูปรางคลายไฟแช็ค

• ปนยาวประจุปาก (ปนแกป)

12

2.2 กระสุนปน (Cartridge) ตามความในมาตรา ๔ (๒) แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และส่ิงเทียมอาวุธปน พ.ศ. ๒๔๙๐ แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปนฯ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑ ไดบัญญัติเครื่องกระสุนปนไวดังนี้ “เครื่องกระสุนปน” หมายความรวมตลอดถึงกระสุนโดด กระสุนปราย กระสุนแตก ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิด และจรวด ทั้งชนิดที่มีและไมมีกรดแกส เชื้อเพลิง เชื้อโรค ไอพิษ หมอกหรือควัน หรือกระสุน ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิด และจรวด ที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกัน หรือเครื่อง หรือส่ิงสําหรับอัดหรือทํา หรือใชประกอบเครื่องกระสุนปน

กระสุนปนลูกโดด กระสุนโดด หรือที่เรียกกันทั่วไปวากระสุนลูกโดดนั้น มีลักษณะที่ประกอบดวยสวนสําคัญ

4 สวนคือ แสดงภาพสวนประกอบกระสุนปนลูกโดด

ลูกกระสุน

ดินสงกระสนุ

ปลอกกระสุน

ชนวน(แกป)

กระสุนปนรีวอลเวอร กระสุนปนออโตเมติก

13

1. ลูกกระสุนปน (Bullet) คือสวนโลหะรูปทรงกระบอกที่อยูปลายสุดของกระสุนปนซึ่งเมื่อ

เวลายิงแลวเปนสวนที่วิ่งไปปะทะกับเปาหมาย สวนใหญของปลายหัวกระสุนจะมีลักษณะกลม (Ball) แต

ถาเปนกระสุนที่ใชในราชการทหารปลายลูกกระสุนจะมีลักษณะปลายแหลม ซ่ึงเปนไปตามขอตกลง

ระหวางประเทศ สําหรับกระสุนปนที่ใชยิงแขงขันในการกีฬา จะนิยมใชลูกกระสุนปลายตัด (Clean

cutting) เพื่อเวลากระสุนทะลุเปาจะเกิดรูชัดเจน เปนการสะดวกในการนับรูกระสุนที่ถูกเปาเวลาให

คะแนน

โลหะที่ใชทําหัวกระสุนนี้ อาจเปนตะกั่วลวนหรือตะกั่วฉาบโลหะอื่นเคลือบบางๆ หรืออาจ

เปนตะกั่วอยูภายในเปนแกน แลวมีเปลือกทําดวยโลหะผสม เชน ทองแดง หรือ นิกเกิลหุมไวอีกชั้นหนึ่งก็ได ลูกกระสุนที่มีเปลือกหุมนี้ (Jacket bullets) เรียกวา ลูกกระสุนเปลือกแข็งและถาเปลือกที่หุม หุมมิดถึงปลายลูกกระสุนเรียกวากระสุนหัวแข็ง (Metal cased bullets) ถาหุมไมมิด สวนปลายลูกกระสุนเปนแกนตะกั่วโผลออกมา เรียกวากระสุนหัวออน (Soft point bullets) ลูกกระสุนประเภทนี้ เมื่อไปกระทบกับเปาแลว ตะกั่วที่ออนจะเยินตัว แลวยนทําใหปลายหัวกระสุนบานออก เกิดบาดแผลขนาดใหญได

14

ชนิดหัวกระสุน 1. Lead Bullet ลูกกระสุนปนในปจจุบันที่มีความเร็วตนต่ํากวา 2,000 ฟุตตอวินาที มักจะทํา

ดวยตะกั่วเพราะราคาถูก และความรอนเนื่องจากแรงระเบิดของดินปนไมทําใหตะกั่วละลาย แตลูกกระสนุ

ปนนั้นไมไดทําดวยตะกั่วลวนๆ เพราะจะออนเกินไป เขาตองใชโลหะอื่นผสมดวยเพื่อทําใหแข็งขึ้น ซ่ึง

สวนใหญตัวที่ใชผสมจะเปนโลหะพลวง (Antimony) หรือ ดีบุก (Tin)

ลูกกระสุนปนขนาดเล็ก เชนปนพกทั่วๆไป ที่โรงงานผลิตออกขาย ใชตะกั่วผสมกับพลวง ลูกกระสุนปนที่อัดใชเอง จะใชตะกั่วผสมกับดีบุก เพราะงายในการหลอมและหลอลูกกระสุน สําหรับลูกกระสุนปนที่อัดใชเอง โดยใชดินปนแบบ Black Powder เปนตัวขับดัน ใชอัตราสวนของดีบุก : ตะกั่ว = 1: 15 ก็ใชไดแลว แตมาตรฐานใช ดีบุก : ตะกั่ว = 1 : 20 ถาใชดินปนแบบ Smokeless Powder เปนตัวขับดัน สําหรับกระสุนปนเล็กทั่วๆ ไปก็คงใชอัตราสวนมาตรฐานเชนเดียวกับ Black Powder คือ 1 : 20 แตถาเปนกระสุนความเร็วสูง (High Velocity) ใชอัตราสวนของ ดีบุก : ตะกั่ว = 1: 10 สําหรับลูกกระสุนปนไรเฟลท่ีใช Smokeless Powder เปนตัวขับดันในกระสุนปนธรรมดา ใชอัตราสวนของ ดีบุก : ตะกั่ว = 1 : 10 หรือ 1 : 12 แตถาเปนกระสุนปนแบบ Top velocity Load ใชอัตราสวนของ ดีบุก : พลวง : ตะกั่ว = 5 : 5 : 90 ลูกกระสุนปนที่มีสวนผสมดังกลาวนี้มีช่ือเฉพาะเรียกวา “Type Metal Bullet” ในปจจุบันนี้ ลูกกระสุนปนที่ทําดวยตะกั่วมีลักษณะตอนทายลูกกระสุนปนอยู 5 แบบ คือ

1. Plain Base แบบนี้กนลูกกระสุนปนจะเรียบเสมอกัน 2. Hollow Base แบบนี้กนกระสุนปนจะเวาเขาหรือกลวงลึก 3. Gas Check Base แบบนี้จะมีถวยทองแดงหรือทองเหลืองบางๆหุมกนลูกกระสุนปนไว เพื่อ

ปองกันตะกั่วสวนกนละลายเนื่องจากความรอน ในกระสุนปนแบบ High Temperature and Pressure

4. Zinc Washer Base แบบนี้สวนกนลูกกระสุนปนจะชุบดวยสังกะสี (Zinc) เพื่อเปนตัวปองกันไมใหตะกั่วบริเวณกนและขางลูกกระสุนปนละลายเนื่องจากความรอนและยังทําหนาที่เปนตัวลางเอาเศษตะกั่วที่ติดอยูภายในลํากลองปนเดิมออกไปอีกดวย

5. Short or Half Jacketed แบบนี้มี jacket หุมกนลูกกระสุนปนสูงขึ้นมาประมาณ 1/4 หรือ 3/4 ของความสูงของลูกกระสุนปน ทําหนาที่ปองกันไมใหตะกั่วที่กนและขางลูกกระสุนปนละลายติดลํากลองปนเชนเดียวกัน ลูกกระสุนปนในแบบที่ 4 และ 5 สวนที่เปนตะกั่วจะเปนตะกั่วลวน ไมมีพลวงหรือดีบุกผสมเลย

และทั้ง 2 แบบไมตองมีตัวหลอล่ืน แต 3 แบบแรกตองมีตัวหลอล่ืน มีลูกกระสุนปนที่ทําดวยตะกั่วแบบหนึ่ง ซ่ึงถาดูเพียงผิวเผินแลวดูเหมือนวาเปนลูกกระสุนปนแบบที่มี Jacket ทองแดงหุม แตแทที่จริงแลวไมใช Jacket เปนเพียงตะกั่วชุบดวยโลหะทองแดงเพียง

15

บางๆ เทานั้น สามารถใชเล็บหรือของแข็งขูดเอาอกได ในปจจุบันจะพบไดในกระสุนปนบางยี่หอบางขนาด เชน ขนาด .22 Short, .22 Long Rifle, .38 Special, .357 Magnum และ .44 Magnum เปนตน วัตถุประสงคก็เพื่อปองกันไมใหตะกั่วละลายติดลํากลองปน และยังทําใหแลดูสวยงามนาใชกวาลูกกระสุนปนที่ทําดวยตะกั่วธรรมดาอีกดวย เรียก Lubaloid

2. Jacketed Bullet เปนลูกกระสุนปนที่มีโลหะหุมแกนตะกั่วหรือแกนเหล็กไวอีกชั้นหนึ่ง ทําใหดูเหมือนวาลูกกระสุนปนนั้นทําดวยโลหะที่เห็นลวนๆ โลหะที่หุมอยูภายนอกเรียกวา Jacket สวนแกนตะกั่วหรือแกนเหล็กภายในเรียกวา Core ในสมัยเร่ิมแรกที่มี Jacket Bullet นั้นตัว Jacket ทําดวยทองแดงผสมนิกเกิลในอัตราสวนตางๆ กัน แตในปจจุบัน Jacket สวนใหญทําดวย ทองแดง 90% , ดีบุก 5% , และสังกะสี 5% บางชนิดทําดวยเหล็กชุบนิกเกิล หรือชุบทองแดง, แบบใหมลาสุดทําดวยอลูมิเนียม สําหรับ Core นั้นทําดวยตะกั่วลวน หรือบางทีอาจทําดวยเหล็กก็ได

ลูกกระสุนปนมีช่ือเรียกแตกตางกันมากมาย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับรูปรางลักษณะของลูกกระสุนปนนั้นๆ ตัวอยางเชน Lead Bullet ลูกกระสุนปนแบบนี้มีเพียงไมกี่แบบเชน 1. Round Nose (RN) เปนลูกกระสุนธรรมดาทั่วๆไปปลายมน 2. Semi-Wad Cutter (SWC) เปนลูกกระสุนปนที่มีสวนปลายที่พนปลอกกระสุนออกมามีขนาดเล็ก

กวาสวนใหญที่อยูในปลอกกระสุน และสวนปลายตัดตรงไมมน 3. Wad Cutter (WC) เปนลูกกระสุนปนที่สวนปลายสั้นเสมอปากปลอกกระสุนปนและปลายตัดตรง 4. Hollow Point (HP) เปนลูกกระสุนปนมีลักษณะคลายกับแบบ Round Nose แตที่สวนปลายสุดจะ

มีรูเจาะลึกลงไป พบไดงายในกระสุนปนลูกกรด ขนาด .22 Short, .22 Long Rifle Jacketed Bullet ลูกกระสุนปนแบบนี้มีลักษณะการหุมของ Jacket บน Core หลายแบบแตละ

แบบถูกผลิตขึ้นเพื่อความมุงหมายในการทําลายเปาหมายใหไดผลดีที่สุด ในที่นี้จะขอยกตัวอยางเปนบางแบบ

1. Full Metal Jacket (FMJ) เปนลูกกระสุนปนที่มี Jacket หุมทั้งหมดปลายมนบางทีเรียกวา Metal Case Bullet

2. Jacketed Hollow Point (JHP) เปนลูกกระสุนปนที่มี Jacket หุม แตสวนปลายมีรูเจาะเขาไปในเนื้อของ Core ลึกพอควร

3. Jacketed Solf Point (JSP) เปนลูกกระสุนปนที่มี Jacket หุมเกือบหมดทั้งลูกเวนตอนปลายสดุเปนตะกั่วไมมีรู

4. Pointed เปนลูกกระสุนปนที่มี Jacket หุมหมด และปลายแหลม 5. Metal Piercing (MP) หรือ Armour Piercing (AP) เปนลูกกระสุนปนที่ใชยิงเจาะเกราะ แบบ

MP เปนกระสุนปนเล็กเชนปนพกทั่วๆไป สวนปลายของลูกกระสุนปนจะแหลม Jacket ที่

16

หุมสวนปลายนี้จะมีความหนากวาสวนอื่นๆประโยชนใชยิงทะลุเกราะออนหรือท่ีเรียกวาเสื้อเกราะและแผนวัตถุหรือโลหะที่มีความหนาไมมากนัก

สําหรับแบบ AP เปนกระสุนปนที่ใชกับปนทางการทหาร สวนปลายของลูกกระสุนปนจะแหลม Jacket เปนทองแดงหรือเหล็กชุบทองแดง สวน Core จะทําดวย Tungsten Carbine ซ่ึงมคีวามแข็งมากสามารถเจาะทะลุเกราะเหล็กไดวัตถุประสงคเพื่อใชยิงทะลุยานยนตหุมเกราะของทหาร หรือยิงทะลุแผนวัตถุหรือโลหะที่มีความหนามากๆได

สวนกนของลุกกระสุนปนแบบ Jacketed Bullet มี 2 แบบ คือ 1. Flat Base แบบนี้กนกระสุนปนจะเรียบเสมอกัน และดานขางลูกกระสุนปนก็ตรง

ตลอดเสมอกัน 2. Boat Tail แบบนี้กนลูกกระสุนปนจะเรียบเสมอกันเชนกัน แตดานขางลูกกระสุนปน

ตอนใกลกนจะสอบเขาหากันเล็กนอย คือสวนกนลูกกระสุนปนจะเล็กกวาตอนกลางของลูกกระสุนปน

สวนกนที่เล็กลงของลุกกระสุนปนแบบ Boat Tail มีประโยชนในการลด Air drag คือลดการเสียดสีของอากาศกับลูกกระสุนปนเมื่อใชยิงออกไป ทําใหลูกกระสุนปนแบบ Boat tail สามารถยิงไปไดไกลกวา และมีวิถีกระสุนแบนราบดีกวาลูกกระสุนปนแบบ Flat Base ในเมื่อมีความเร็วตนเทากัน

ลูกกระสุนปนที่มีความเร็วตนตั้งแต 2,000 ฟุตตอวินาที ขึ้นไป จะตองเปนแบบ Jacked Bullet เพราะถาเปนแบบ Lead Bullet จะทําใหสวนกน และผิวดานขางของลูกกระสุนปนละลายไดทําใหมีตะกั่วติดคางอยูภายในลํากลองปน อันทําใหเกิดผลเสียตอความแมนยําของปนนั้น

ที่ลูกกระสุนปนดานขางสวนใหญจะมีรองอยูโดยรอบ ในลูกกระสุนปนแบบ Lead Bullet บางแบบอาจมีหลายรองในลูกเดียว แตใน Jacketed Bullet แลวถามีก็มีเพียงรองเดียวเทานั้น รองดังกลาวนี้ใน Lead Bullet ใชสําหรับใสสารหลอล่ืนลูกกระสุนปน ซ่ึงเปนพวกขี้ผ้ึงหรือไขมัน ทําหนาที่หลอล่ืนลุกกระสุนปนใหวิ่งผานลํากลองปนไปไดสะดวกขึ้น แตสําหรับ Jacketed Bullet แลวรองดังกลาวทําหนาที่สําหรับยึดปากปลอกกระสุนปนใหติดกับลูกกระสุนปน โดยการบีบปากปลอกกระสุนปนเขาไปในรองโดยรอบ รองดังกลาวมีช่ือเรียกวา Cannalure นอกจากนี้ยังทําหนาที่ปองกันความชื้นไมใหเขาไปในกระสุนปนอีกดวย

2. ปลอกกระสุนปน (Cartridge Case) เปนสวนที่หุมหัวกระสุน ภายในบรรจุดินปนและแกปกับ

ชนวนไว ปลอกกระสุนโดด โลหะที่ใชทําปลอกกระสุนมีหลายชนิด คือ ทองเหลือง อลูมิเนียม เหล็ก

ทองแดง แตที่นิยมมากที่สุดคือทองเหลือง กลาวกันวา ปลอกกระสุนปนที่ทําดวยทองเหลืองคุณภาพดี

สามารถนํากลับไปอัดกระสุนปนยิงใหมไดอีกประมาณ 3-4 ครั้ง

17

3. ดินสงกระสุนปน (Gun Powders) เปนของแข็งซ่ึงเมื่อเกิดการลุกไหมจะใหแกสปริมาณมาก

ในเวลาอันสั้น ความเร็วในการเผาไหมของดินปนเปนสิ่งสําคัญ ดินปนในปจจุบันมี 3 แบบคือ

3.1 ดินดํา (Black Powder) เปนตัวขับลูกกระสุนปนชนิดแรก ประกอบดวย ดินประสิว 75%

ถานไม 15% กํามะถัน 10%

3.2 ดินดําแบบใหม (Pyrodex) มีสวนผสมอื่นเพิ่มเติมเขามาอีกคือ Potassium Perchlorate,

Sodium Benzoate, Dicyandiamide (1-Cyanoguanidine) และยังมี Dextrine, Wax และ

Graphine จํานวนเล็กนอยผสมอยูดวย

18

3.3 ดินควันนอย (Smokeless Powder) เปนตัวที่มีคุณภาพสูงกวาดินดํามาก ที่ทําจาก

สารประกอบ Nitrocellulose เพียงอยางเดียว เรียกวา แบบ Single Base แตถาตองการแบบ

ที่มีแรงระเบิดสูงขึ้นก็ใช Nitroglycerine ผสมเขากับ Nitrocellulose ในอัตราสวนตางๆ

กัน แลวแตความตองการความเร็วในการเผาไหมมากนอยเพียงใด แบบนี้เรียกวา Double

Base

ดินควันนอยมีรูปรางตางๆ ดังนี้

• Flake

• Disc

• Tabular

• Ball

4. แกป (Primers) อยูตรงจานทายของปลอกกระสุน เมื่อเวลายิงปนหรือล่ันไกปน เข็มแทงชนวน

จะกระแทกตรงจานทายของปลอกกระสุน ทําใหแกปเกิดระเบิด และจุดระเบิดไปยังดินปนที่อยูภายใน

ปลอกกระสุน เมื่อดินปนระเบิด ก็จะขับดันหัวกระสุนใหวิ่งออกจากลํากลอง

กระสุนปนลูกซอง (Shotshell)

กระสุนปนลูกซองหรือเรียกวากระสุนปราย จะมีสวนสําคัญดังตอไปนี้

19

ลูกกระสุนปราย

หมอน

ดินสงกระสุน ชนวนหรือแกป

กระสุนปนลูกซอง

กระสุนปนลูกซองมีสวนประกอบภายในผิดไปจากกระสุนปนทั่วไป ตรงที่ปลอกกระสุน

ปนมีขนาดใหญ แตลูกกระสุนปนที่บรรจุมีขนาดเล็กและมีจํานวนมาก จึงจําเปนตองมีสวนที่มากั้นมิให

ดินปนกับลูกกระสุนปนที่บรรจุปนกัน และตองมีตัวปดปากปลอกกระสุน จึงจะทําใหเกิดแรงอัดของแกส

เพื่อขับดันลูกกระสุนไปสูเปาหมายได

ในสมัยเร่ิมแรกปลอกกระสุนปนลูกซองทําดวยโลหะทองเหลือง แตเนื่องจากปลอกกระสุน

ปนขนาดใหญ และทองเหลืองราคาแพง ตอมาจึงไดนํากระดาษมาใชแทน โดยการนําแผนกระดาษหลายๆ

แผนทากาวติดกัน อัดใหแนน นําไปอาบดวยไขหรือพาราฟนปองกันความชื้น และนําไปตัดตามความยาว

ที่ตองการ ปลอกกระสุนปนลูกซองมีดวยกัน 2 แบบ คือ Low-Base ใชกับดินปนที่มีความแรงต่ํา ทําให

ตองการมีที่วางสําหรับใสดินปนมาก, High-Base ใชกับดินปนที่มีความแรงสูงกวา ทําใหตองการที่ใสดิน

ปนนอยลง

20

ปากปลอกกระสุนปนทําอยูดวยกัน 2 แบบคือ Rolled Crimp จะมีแผนกระดาษหรือแผน

พลาสติกปดปากปลอกกระสุนไว, Folded crimp or Star crimp ไมตองมีอะไรมาปดปากปลอกกระสุนอีก

เพราะตัวปลอกกระสุนเองถูกมวนพับลงมายาวพอที่จะปดปากปลอกกระสุนทั้งหมด

จากบริเวณลูกปรายเขามา ภายในกระสุนปนจะมีแผนสักหลาด หรือกระดาษแข็ง เปนแผน

กลมเรียงซอนกันเปนตัวกั้นระหวางลูกปรายกับดินปน เรียกวา หมอนสงกระสุน (Wad) หมอนสงกระสุน

นี้จะทําหนาที่เมื่อดินปนระเบิด เพื่อขับดันลูกปรายทั้งหมดใหวิ่งออกไปสูอากาศ ถัดจากหมอนสงกระสุน

เขามาก็เปนดินปน ระหวางดินปนกับฝาทองเหลืองมีแผนสักหลาดหรือกระดาษกั้นอีกชั้นหนึ่งเรียกวา

หมอนรองดิน ตรงฝาทองเหลืองทายกระสุนมีแกปและฝาครอบแกปติดอยูโดยตอชนวนไปถึงดินปน เพื่อ

จุดระเบิด เวลาเข็มแทงชนวนกระแทกที่แกป

2.3 การเกิดเขมาปน

21

โดยทั่วไปเมื่อเกิดการยิงปน จะทําใหแกประเบิด อุณหภูมิจากสิ่งแวดลอมจะกลายเปน 1500 –

2000 0C และความดันจะเปลี่ยนจาก 14 psi เปน 1400 psi และเมื่อดินสงกระสุนระเบิด อุณหภูมิจะสูงขึ้นเปน 3600 0C และมีความดันถึง 40,000 psi จากอุณหภูมินี้จะทําใหโลหะที่เปนสวนประกอบของแกปปนหลอมละลายเปนไอดังแสดงในตารางดานลางสําหรับโลหะสําคัญที่มีในแกปปน

ธาตุโลหะ จุดหลอมเหลว (Mp) 0C จุดเดือด (Bp) 0C ตะกัว่ (Pb) 327 1620 แบเรียม (Ba) 725 1130 แอนติโมนี (Sb) 630 1380

เมื่ออุณหภูมิลดลง ไอของแตละธาตุจะแข็งตัวเปนอนุภาค จากการที่มีความดันสูงขึ้นนั้นในกรณี

ปนพกรีวอลเวอร จะมีชองวาง (Physical gap) ระหวางผิวหนาของรังเพลิงและสวนทายของลํากลอง (ไมเชนนั้นลูกโมปนจะหมุนไมสะดวก) ดังนั้นก็จะมีการรั่วของ Propellant gas ที่จุดนี้เมื่อมีการยิง ชองวางนี้จะแคบที่สุดถึง 0.0015 นิ้ว และกวางที่สุดถึง 0.006 นิ้ว สวนกรณีปนพกออโตเมติก เขมาปนจะออกมาทาง Ejection port และเมื่อ Slide ถอยหลังก็จะนําเขมาปนมาดวย ทําใหติดบริเวณระหวางนิ้วหัวแมมือกับนิ้วช้ีมาก สวนเขมาปนที่พนออกมาทางปากกระบอกปนนั้น ก็มีผลที่จะปลิวไปติดที่มือไดอยูแลว

สวนสารประกอบไนไตรทนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อสวนประกอบสําคัญของดินปนไมวาจะเปนดินดํา , ดินควันนอย หรือดินระเบิดบางตัว เกิดการลุกไหม (Decomposition) แลวส่ิงที่ เหลือบางสวนคือสารประกอบ Nitrate และ Nitrite (Nitrite – base compound) ซ่ึงจะยังคงอยูที่ลํากลองปนและติดที่เส้ือผาของผูเสียหายและผูตองสงสัย 2.4 ผิวหนัง ผิวหนังของคนเปนเนื้อเยื่อที่อยูช้ันนอกสุด ที่หอหุมรางกายเอาไว ผิวหนังของผูใหญคนหนึ่ง มีเนื้อที่ประมาณ 3,000 ตารางนิ้ว ผิวหนังตามสวนตางๆของรางกาย จะหนาประมาณ 1-4 มิลลิเมตร แตกตางกันไปตามอวัยวะ และบริเวณที่ถูกเสียดสี เชน ผิวหนังที่ศอก และ เขา จะหนากวาผิวหนังที่แขนและขา 2.4.1 โครงสรางของผิวหนงั ผิวหนังของคนเราแบงออกไดเปน 2 ช้ัน คือ หนังกําพราและหนังแท 1. หนังกาํพรา (Epidermis) เปนผิวหนังที่อยู ช้ันบนสุด มีลักษณะบางมาก ประกอบไปดวยเชลล เรียงซอนกันเปนชั้นๆ โดยเริ่มตนจากเซลลช้ันในสุด ติดกับหนังแท ขึ่งจะแบงตวัเติบโตขึ้นแลวคอยๆ เล่ือนมาทดแทนเขลลที่อยูช้ันบนจนถึงชั้นบนสุด แลวกก็ลายเปนขี้ไคลหลุดออกไป

22

นอกจากนี้ในชั้นหนังกําพรายังมีเซลล เรียกวา เมลานิน ปะปนอยูดวย เมลานินมีมากหรือนอยขึ้น อยูกับบุคคลและเชื้อชาติ จึงทําใหสีผิวของคนแตกตาง กนัไป ในชั้นของหนังกําพราไมมีหลอดเลือด เสน ประสาท และตอมตางๆ นอกจากเปนทางผานของรูเหงื่อ เสนขน และไขมันเทานั้น 2. หนังแท (Dermis) เปนผิวหนังทีอ่ยูช้ันลาง ถัดจากหนังกําพรา และหนากวาหนังกําพรามาก ผิว หนังชั้นนี้ประกอบไปดวยเนี้อเยื่อคอลลาเจน (Collagen) และอีลาสติน (Elastin) หลอดเลือดฝอย เสนประสาท กลามเนื้อเกาะเสนขน ตอมไขมัน ตอมเหงือ่ และขุม ขนกระจายอยูทัว่ไป

2.4.2 หนาท่ีของผิวหนงั 1. ปองกันและปกปดอวยัวะภายในไมใหไดรับ อันตราย 2. ปองกันเชื้อโรคไมใหเขาสูรางกายโดยงาย 3. ขับของเสียออกจากรางกาย โดยตอมเหงื่อ ขับเหงื่อออกมา 4. ชวยรักษาอณุหภูมิของรางกายใหคงที่ โดยระบบหลอดเลือดฝอยและการระเหยของเหงื่อ 5. รับความรูสึกสัมผัส เชน รอนหนาว เจ็บ ฯลฯ 6. ชวยสรางวติามินดีใหแกรางกาย โดยแสง แดดจะเปลีย่นไขมันชนิดหนึ่งที่ผิวหนังใหเปน

วิตามนิดีได 7. ขับไขมันออกมาหลอเล้ียงเสนผม และขน ใหเปนเงางามอยูเสมอและไมแหง 2.4.3 การดูแลรักษาผิวหนงั ทุกครยอมมีความตองการมผิีวหนังที่สวยงาม สะอาด ไมเปนโรคและไมเหี่ยวยนเกนิกวาวยั ฉะนั้นจึงควรดูแลรักษาผิวหนังตวัเอง ดังนี้ 1. อาบน้ําชําระรางกายใหสะอาดอยูเสมอ โดย 1.1 อาบน้ําอยางนอยวันละ 2 คร้ัง ในเวลาเชาและเยน็ เพื่อชวยชําระลางคราบเหงื่อไคล และความสกปรกออกไป 1.2 ฟอกตัวดวยสบูที่มีฤทธิ์เปนดางออนๆ 1.3 ทําความสะอาดใหทัว่ โดยเฉพาะบริเวณใตรักแร ขาหนีบ ขอพบั อวัยวะเพศ งามนิ้วมือ นิ้วเทา ใตคาง และหลังใบหู เพราะเปนที่อับและเก็บความชื้น อยูไดนาน 1.4 ในขณะอาบน้ํา ควรใชนิ้วมือ หรือฝามือ ถูตัวแรงๆ เพราะนอกจากชวยใหรางกายสะอาดแลว ยังชวยใหการหมนุเวยีนของเลอืดดีขึ้น 1.5 เมื่ออาบนาเสร็จ ควรใชผาเช็ดตัวที่ สะอาด เช็ดตวัใหแหง แลวจงึคอยสวมเสื้อผา 2. หลังอาบน้ําแลว ควรใสเสือ้ผาที่สะอาด และเหมาะสมกับอากาศและงานที่ปฏิบัติ เชน ถาอากาศ รอนกค็วรใสเสื้อผาบาง เพื่อไมใหเหงื่อออกมาก เปนตน 3. กินอาหารใหถูกตองและครบถวนตามหลัก โภชนาการ โดยเฉพาะอาหารที่มีวิตามินเอ เชน พวก น้ํามนัตับปลา ตับสัตว เนย นม ไขแดง เครื่องในสัตว มะเขอืเทศ มะละกอ รวมทั้งพืชใบเขียว

23

และใบเหลือง วิตามินเอ จะชวยใหผิวหนังชุมชื้น ไมเปนสะเก็ด แหง ทาํใหเล็บไมเปราะ และยังทําใหเสนผมไมรวงงายอีกดวย 4. ดื่มน้ํามากๆ เพื่อทําใหผิวหนังเปลงปล่ัง 5. ออกกําลังกายสม่ําเสมอ เพื่อชวยใหการ หมุนเวียนของเลือดดีขึ้u 6. ควรใหผิวหนังไดรับแสงแดดสม่ําเสมอ โดย เฉพาะเวลาเชาซ่ึงแดดไมจัดเกนิไป และพยายามหลีก เล่ียงการถูกแสงแดดจา เพราะจะทาํใหผิวหนังเกรียม และกรานดํา 7. ระมัดระวังโนการใชเครื่องสําอาง เพราะ อาจเกิดอาการแพ หรือทําใหผิวหนังอักเสบ เปน อันตรายตอผิวหนังได หากเกิดอาการแพตองเลิกใช เครื่องสําอางชนิดนั้นทนัท ี 8. เมื่อมีส่ิงผิดปกติใดๆ เกิดขึ้นกับผิวหนัง ควรปรึกษาแพทย

24

บทที่ 3 วิธีการทดลอง

3.1 เคร่ืองมือและอุปกรณ

1. อาวุธปนพกออโตเมติกยี่หอ Tokarev (TT) ขนาด 7.62 มิลลิเมตร , Makarov (PM) ขนาด 9 มิลลิเมตร และ Glock 19 ขนาด 9 x 19 มิลลิเมตร

อาวุธปนพกออโตเมติก ยี่หอ Tokarev ขนาด 7.62 มิลลิเมตร

อาวุธปนพกออโตเมติก ยี่หอ Makarov ขนาด 9 มิลลิเมตร

อาวุธปนพกออโตเมติก ยี่หอ Glock 19 ขนาด 9 มิลลิเมตร

25

2. กระสุนปน ( Full Metal Jacketed ) TT – 7.62 x 25 มิลลิเมตร ; น้ําหนกั 5.5 กรัม ( ผลิตในประเทศ Poland ) , PM – 9 x 18 มิลลิเมตร ; น้ําหนกั 6.1 กรัม ( ผลิตในประเทศ Russia ) และ Glock 19 ขนาด 9 x 19 มิลลิเมตร ; น้ําหนัก 7.5 กรัม ( ผลิตใน Fiocchi ประเทศ Italy )

TT – 7.62 x 25 มิลลิเมตร PM – 9 x 18 มิลลิเมตร Glock 19 ขนาด 9 x 19 มิลลิเมตร

กระสุนปน ( Full Metal Jacketed )

3. เครื่องวัดอัตราเร็วของลูกกระสุนปน Oehler Ballistic Chronograph P35

26

4. ผาฝายสีขาว, ผาใยสังเคราะห และ ผิวหนังมนุษยจากบริเวณตนขาของศพ( ช้ันหนงักําพราหนา 10 - 40 μm ) 5. กลองถายรูปดิจิตอล ยี่หอ กลองถายรูปดิจิตอล ยี่หอ OOllyymmppuuss CC22000000 66. . โปรแกรมวเิคราะหรูปภาพ โปรแกรมวเิคราะหรูปภาพ AAnnaallyySSIISS PPrroo 33..00 77. . กลอง กลอง NNiikkoonn SSMMZZ880000 SStteerreeoo MMiiccrroossccooppee 88. . กลองจุลทรรศน กลองจุลทรรศน OOllyymmppuuss BBXX6600

27

99. . สารละลาย สารละลาย 1010%% FFoorrmmaallddeehhyyddee 1010. . PPaarraaffffiinn 3.2 วิธีการทดลอง ในงานวิจัยนี้ใชอาวุธปนพกออโตเมติก Tokarev (TT) ขนาด 7.62 มิลลิเมตร , Makarov (PM) ขนาด 9 มิลลิเมตร และ Glock 19 ขนาด 9 x 19 มิลลิเมตร และใชเครื่องกระสุนปน ดังนี้ TT – 7.62 x 25 มิลลิเมตร ; น้ําหนัก 5.5 กรัม ( ผลิตในประเทศ Poland ) , PM – 9 x 18 มิลลิเมตร ; น้ําหนัก 6.1 กรัม ( ผลิตในประเทศ Russia ) และ Glock 19 ขนาด 9 x 19 มิลลิเมตร ; น้ําหนัก 7.5 กรัม ( ผลิตใน Fiocchi ประเทศ Italy ) หัวกระสุนปนทั้งหมดเปนแบบทองแดงหุมตะกั่ว ( Full Metal Jacketed ) ตลอดทั้งในการยิงทดสอบของปนแตละยี่หอนั้นก็จะใชเครื่องกระสุนปนชนิด ขนาด และ ชุดเดียวกัน กอนที่จะมีการยิงทดสอบไปยังเปาหมายก็จะมีการวัดอัตราเร็วของปนแตละยี่หอ ซ่ึงยิงกระบอกละ 10 นัด โดยใช Oehler Ballistic Chronograph รุน 35P ในการวัดอัตราเร็ว ผลการวัดอัตราเร็วเฉลี่ยของปนแตละยี่หอมีคาเทากับ TT – 430 m/s; PM – 301 m/s ; Glock – 328 m/s ที่ระยะยิง 10 , 15 และ 25 เซนติเมตร โดยยิงจํานวน 5 นัด จากปนแตละยี่หอไปยังเปาหมายตางๆ คือ ผาฝายสีขาว และ ผาใยสังเคราะห ( Polyester ) ขนาด ( ประมาณ 20 cm. x 30 cm. ) และ 1 – 4 นัด ไปยังเปาหมายที่เปนผิวหนังมนุษย ( จากการผาชันสูตรพลิกศพ ขนาด 6 cm. x 10 cm. , 5 cm. x 15 cm. หรือ 6 cm. x 15 cm. ) ช้ินสวนของผิวหนังนํามาจากบริเวณตนขาและมีความหนาของชั้นหนังกําพรา ( Stratum

Corneum ) 10 – 40 μm. การยิงทดสอบจะยิงไปยังมุมขวาของเปาหมาย ระหวางการยิงทดสอบเปาหมายที่เปนเสื้อผาและผิวหนังจะถูกยึดติดอยูกับที่ โดยจะมีการถายรูป ( กลองดิจิตอล Olypus C – 2000 ) บาดแผลบนเปาหมายทั้งหมดและวิเคราะหรูปภาพดวย โปรแกรม AnalySIS Pro 3.0 อีกทั้งทําการทดสอบหาคราบเขมา , ดินปน , อนุภาคอื่นๆ และบาดแผลบนเสื้อผา ภายใตกลอง Stereomicroscope Nikon SMZ800 ผิวหนังที่นํามาทดสอบ จะถูกแชในสารละลาย 10 % Formaldehyde และปดดวย Paraffin

หนาประมาณ 3 - 4 μm. จากนั้นนําสไลดของ Haematoxylin และ Eosin ไปทดสอบภายใตกลองจุลทรรศน Olympus BX60 นอกจากนี้ทดสอบทั้งในเสื้อผาและผิวหนัง ขนาด 1 cm. x 1 cm. จากดานขวามือและซายมือของรูทางเขาของลูกกระสุนปน ( เริ่มที่ 1 cm. จากบริเวณกึ่งกลางของรูทางเขาของลูกกระสุนปน )

28

บทท่ี 4 ผลการทดลอง

4.1 รูปแบบการสะสมของคราบเขมาบนเปาหมายที่เปนเสื้อผา ในการพิจารณารูปแบบการสะสมของคราบเขมา เราจะทําพิจารณา 3 บริเวณ คือ บริเวณกึ่งกลาง ( มีความหนาแนนของคราบเขมามาก ; มีสีเทาหรือสีดํา ) , บริเวณสวนกลาง ( มีคราบเขมาเล็กนอยหรือไมมีเลย ) , บริเวณรอบนอก ( มีสีเทาหรือน้ําตาลจางๆ ) TT : ที่ระยะยิง 10 cm. บริเวณรอบๆ รูทางเขาของลูกกระสุนปนพบรอยเช็ดของลูกกระสุนปนและพบคราบเขมาสีดํารูปรางคลายดาวและลอมรอบดวยคราบเขมาสีคอนขางเทา – น้ําตาล รูปรางคลายคล่ืนหรือแฉก ในบางเปาหมายพบสีเทาจางๆบริเวณสวนกลางซึ่งสามารถมองเห็นได บริเวณรอบนอกพบการสะสมของคราบเขมารูปรางคลายดอกไมบานมี 4 กลีบดอก สําหรับที่ระยะยิง 15 และ 25 cm. สามารถพบการสะสมของคราบเขมาในทั้ง 3 บริเวณ มีรูปรางคลายวงแหวนแตความหนาแนนของคราบเขมานอยอยูลอมรอบบริเวณกึ่งกลางที่มีสีดํา โดยทั่วไปรูปแบบการสะสมของคราบเขมาจะมีรูปรางคลายดอกไมบาน PM : เกิดรอยเช็ดของลูกกระสุนปนที่ทําใหเกิดรอยแคบ 4 รอย รอยกวาง 4 รอย รอบๆ รูทางเขาของลูกกระสุนปน พบการสะสมของคราบเขมาสีดํารูปรางคลายดอกไมบาน บริเวณกึ่งกลางโดยทั่วไปจะมีรูปรางกลมบนผาฝายหรือรูปรางคลายสี่เหล่ียมจัตุรัสบางๆ บนผาใยสังเคราะหโดยมีเสนโครงรางภายนอกที่ชัดเจน ที่ระยะยิง 10 cm. การสะสมของคราบเขมาบริเวณรอบนอกจะมีรูปรางเปนแฉกหรือรูปรางคลายพัดลม 4 ใบพัด ในบางเปาหมายรูปแบบการสะสมของคราบเขมาที่มีรูปรางคลายใบพัดจะปรากฏที่บริเวณสวนกลาง ที่ระยะยิง 15 cm. บริเวณสวนกลางพบการสะสมของคราบเขมารูปรางคลายวงแหวนบนผาฝายหรือรูปรางคลายส่ีเหล่ียมขนมเปยกปูนบนผาใยสังเคราะห บริเวณรอบนอกการสะสมของคราบเขมารูปรางคลายวงแหวน ( ที่ระยะยิง 10 และ 15 cm. ) โดยดานขางจะมีความหนาแนนของคราบเขมานอยและเริ่มจางหายไป ที่ระยะยิง 25 cm. แตละบริเวณจะมีการสะสมของคราบเขมาแตกตางกัน รอยเช็ดของลูกกระสุนปนจะปรากฎเดนชัดที่บริเวณกึ่งกลาง Glock 19 : การสะสมของคราบเขมาจะมีความหนาแนนนอยและมีสีเทาจางๆ - น้ําตาล สําหรับที่ระยะยิง 10 และ 15 cm. พบการสะสมของคราบเขมาในทั้ง 3 บริเวณและพบรอยเช็ดของลูกกระสุนปนลอมรอบรูทางเขาของลูกกระสุนปน บริเวณกึ่งกลางการสะสมของคราบเขมาจะมีรูปรางกลมโดยมีเสนโครงรางภายนอกเปนวงๆคลายคลื่น โดยทั่วไป ที่บริเวณกึ่งกลางจะพบรอยเช็ดของลูกกระสุนปนและมีการสะสมของคราบเขมารูปรางคลายกับดอกไมบานแตมีหลายกลีบดอก ที่ระยะยิง 10 cm. บริเวณสวนกลางพบการสะสมของคราบเขมามีรูปรางหลายเหลี่ยมและบริเวณรอบนอกมีรูปรางคลายวงแหวนซ่ึงความหนาแนนของคราบเขมาจะแตกตางกัน ที่ระยะยิง 15 cm. บนเปาหมายที่เปนผาฝาย บริเวณสวนกลางการสะสมของคราบเขมาจะมีรูปรางหกเหลี่ยมและบริเวณรอบนอกมีรูปรางหลายเหลี่ยมหรือ

29

หกเหลี่ยม สวนบนผาใยสังเคราะหจะมีรูปรางคลายสวนโคงวงกลม ที่ระยะยิง 25 cm. การสะสมของคราบเขมาจะเริ่มจางหายไป ที่บริเวณสวนกลางการสะสมของคราบเขมาจะมีรูปรางหลายเหลี่ยมและบริเวณรอบนอกจะมีรูปรางคลายสวนโคงของวงกลม (คลายดอกกุหลาบ) หรือจะมองไมเห็นคราบเขมา (รูปที่ 1 และ 2) ที่รูทางเขาของลูกกระสุนปนจะมีรูปรางกลมและไมมีรอยฉีกขาดของเสื้อผา บนผาฝายพบความเสียหายของเสนใยขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.1 cm. ในกรณีของ TT (บางนัด พบที่ระยะยิง 25 cm.) และ PM (ที่ระยะยิง 10 และ 15 cm. และบางนัดที่ระยะยิง 25 cm.) บนเปาหมายอื่นพบความสียหายเล็กนอยที่ของปลายเสนใยที่บริเวณขอบของรูทางเขา บนผาใยสังเคราะห ในสวนของ TT พบเสนใยบริเวณขอบของรูทางเขามีความแข็ง บางสวนพับพลิกขึ้นมา (ที่ระยะยิง 10 cm. และบางนัดที่ 15 cm.) และมีการหลอมของเสนใยจนเปนปุมๆ เสนผาศูนยกลางของเสนใยที่ไดรับความเสียหายประมาณ 0.1 – 0.3 cm. (ที่ระยะยิง 10 และ 15 cm.) และ 0.1 – 0.2 cm. (ที่ระยะยิง 25 cm.) ในสวนของ PM และ Glock จะเกิดการหลอมเฉพาะที่บริเวณปลายของเสนใย

1100 c

cmm..

1155 c

cmm.. 2255

c

cmm..

รูปท่ี 1 แสดงรูปแบบของคราบเขมา และอนุภาคของดนิปนที่เผาไหมไมหมด ซ่ึงเกิดขึ้นบนผาฝายสีขาว

30

1100 c

cmm.. 1155

c

cmm..

2255 c

cmm..

รูปท่ี 2 แสดงรปูแบบของคราบเขมา และอนุภาคของดนิปนที่เผาไหมไมหมด ซ่ึงเกิดขึ้นบนผาใยสังเคราะห

4.2 การสะสมของอนุภาคของดินปนท่ีเผาไหมไมหมดบนเปาหมายที่เปนเสื้อผา โดยจะดูจากการกระจายและความหนาแนนของอนุภาคของดินปนที่เผาไหมไมหมด ซ่ึงจะนับจํานวนขนาดของอนุภาคอยางนอยครึ่งหนึ่งของความกวางของเสนใยผาฝาย และที่นอยที่สุด 1 ใน 3 ของความกวางของผาใยสังเคราะห โดยจะทําการนับจากอนุภาคที่ทําเครื่องหมายไวดานซายหลังจากที่มีการปะทะหรือผานทะลุเขาไปยังเสนใย และที่รอยขาดของเสนใย (ขาดเปนบางสวนของเสนใย) สาเหตุของอนุภาค รูปที่ 3 – 5 แสดงผลการทดลองบน 5 เปาหมาย ที่ใชวัสดุเดียวกันที่ดานซายมือและขวามือของรูทางเขา และยังพบคราบเขมาและบางอนุภาคอื่นที่ตกคางในกรณีของ TT และ PM

31

TT : จะเหลืออนุภาคของดินปนปกคลุมคราบเขมาอยูและสาเหตุของการขาดของเสนใยของวัสดุ ที่ระยะยิง 10 cm. เสนผาศูนยกลางที่มากที่สุดของบริเวณที่มีการสะสมของอนุภาคดินปนเทากับ 9.5 cm. แตรอยขาดของเสนใยสามารถพบไดเฉพาะบริเวณรอบรูทางเขา ที่ระยะยิง 15 และ 25 cm. อนุภาคจะกระจายไปทั่วทั้งเปาหมายที่เปนเสื้อผา (เสนผาศูนยกลางของบริเวณนี้เทากับ 17.0 และ 18.0 cm.) เปรียบเทียบวัสดุที่ใชทําเปาหมายโดยจะพบอนุภาคไดบอยที่บริเวณรูทางเขาและเสนใยของเปาหมายที่เปนผาฝาย สวนบนผาใยสังเคราะหอนุภาคจะมีขนาดที่แตกตางกันซ่ึงจะเกาะติดอยูบริเวณที่มีการปะทะกับลูกกระสุนปน (รูปที่ 3)

รูปท่ี 3 แสดงจาํนวนอนุภาคดินปน / จุด / รอยฉีกขาดของเสนใย จากการยิงดวย Tokarev ( 7.62 mm )

32

PM : จํานวนของอนุภาคดินปนจะนอยที่สุดโดยจะพบเฉพาะที่บริเวณรอบรูทางเขาแตบางอนุภาคสามารถพบไดทั่วทั้งเปาหมาย(ขนาดเสนผาศูนยกลางของบริเวณลดลงเหลือ 15.5 – 14.0 cm.) (รูปที่ 4)

รูปท่ี 4 แสดงจาํนวนอนุภาคดินปน / จุด / รอยฉีกขาดของเสนใย จากการยิงดวย Makarov ( 9 mm )

33

Glock 19 : จํานวนของอนุภาคดินปนที่มีสีเขียวออนๆ – เหลือง จะพบมากที่สุดที่บริเวณรอบรูทางเขา (โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ระยะยิง 10 และ 15 cm.) ไมพบรอยขาดของเสนใย และขนาดเสนผาศูนยกลางที่มากที่สุดของบริเวณที่มีการสะสมของอนุภาคจะลดลงจาก 15 .0 – 13 .0 cm. (รูปที่ 5)

รูปท่ี 5 แสดงจํานวนอนภุาคดินปน / จดุ / รอยฉีกขาดของเสนใย จากการยิงดวย Glock 19 ( 9 x 19 mm )

4.3 การพบอนุภาคท่ีมีขนาดใหญบนผิวหนัง TT : พบคราบเขมาจํานวนมาก (โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ระยะยิง 10 และ 15 cm.) , อนุภาคของดนิปน และเม็ดของดินปนที่มีสีเหลืองดานซาย รูปแบบการสะสมของคราบเขมาที่บริเวณกึ่งกลางและสวนกลางจะมองเห็นไดชัดที่สุด คราบเขมาและอนุภาคของดินปนจะปกคลุมเปาหมายทั้งหมด (ขนาดของผิวหนังเทากับ 6 cm. x 10 cm.)

34

PM : พบปริมาณของเขมาจํานวนมาก (โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ระยะยิง 10 cm.) และยังพบอนุภาคดินปนจํานวนเล็กนอยและรอยฝุนดวย ในการเพิ่มขึ้นของระยะยิงความหนาแนนของอนุภาคของดินปนจะลดลง และที่ระยะยิง 25 cm. จะเห็นเปนรอยเดนชัด บริเวณกึ่งกลางการสะสมของอนุภาคจะมีรูปรางกลม (ที่ระยะยิง 10 และ 15 cm.) และมองเห็นรอยเช็ดของลูกกระสุนปนไดชัดเจน Glock 19 : พบคราบเขมาจํานวนนอยและพบอนุภาคของดินปนจํานวนมากและเกิดรองรอยในทุกระยะยิง ที่ระยะยิง 10 และ 15 cm. พบความหนาแนนของอนุภาคของดินปนและรองรอยสวนใหญที่บริเวณรอบรูทางเขา แตที่ระยะยิง 25 cm. จะพบอนุภาคและรองรอยจํานวนนอยที่บริเวณผิวหนาของผิวหนัง 4.4 การเปล่ียนแปลงของอนุภาคขนาดเล็กบนผิวหนัง TT : พบคราบเขมาจํานวนมากและมีสีเทาออนๆ อีกทั้งยังสามารถพบอนุภาคของดินปนที่เผาไหมไมหมดในทุกระยะยิง โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ระยะยิง 10 cm. ซ่ึงจะพบไดในตัวอยางผิวหนัง คือเร่ิมที่ระยะ 1 – 4 cm. จากกึ่งกลางของรูทางเขาและจากรูที่ทะลุผานไปยังชั้นหนังกําพรา (Epidermis) และลึกลงไปยังชั้นของ Stratum papillare และ Stratum reticulare ของชั้นหนังแท (Dermis) ในชั้นหนังแทจะพบการรวมตัวกันของคราบเขมากับอนุภาคของดินปนซึ่งสามารถพบไดที่บริเวณรอยฉีกขาดของเนื้อเยื่อ , ช้ันของหนังกําพราและโพรงของผิวหนัง ในการเพิ่มขึ้นของระยะยิงนั้นพบอนุภาคของดินปนที่เผาไหมไมหมดในปริมาณนอย และที่ระยะยิง 25 cm. จะพบที่บริเวณผิวดานนอกและกระจายไปบนผิวหนัง (รูปที่ 6)

รูปท่ี 6 แสดงคราบเขมาและอนภุาคของดินปนที่เผาไหมไมหมดบนผิวหนา และในชัน้ของผิวหนัง ที่ยิงจาก Tokarev ( 7.62 mm ) ในระยะ 10 cm

35

PM : สามารถพบอนุภาคของเขมาไดที่ระยะ 1 – 4 cm. แตจะพบหนาแนนมากที่ระยะ 1 -2 cm. จากจุดกึ่งกลางของรูทางเขาและมีการสะสมบนและในชั้นหนังกําพรา (Stratum corneum) จํานวนของอนุภาคดินปนจะมีนอยมาก และพบเฉพาะที่บริเวณใกลๆกับรูทางเขา ที่ระยะยิง 10 และ 15 cm. อาจจะพบที่บริเวณรอบนอก ที่ระยะยิง 10 cm. ก็อาจจะพบอนุภาคของดินปนที่เผาไหมไมหมดผานทะลุลงไปยังชั้นหนังแทและพบมากที่ชั้นบนของชั้นหนังแท ที่ระยะยิง 15 และ 25 cm. พบบนหรือในชั้นหนังกําพรา (Stratum corneum) (รูปที่ 7)

รูปท่ี 7 แสดงคราบเขมาและอนุภาคของดนิปนที่เผาไหมไมหมดบนผิวหนา และในชัน้ของผิวหนัง ทีย่ิงจาก Makarov ( 9 mm ) ในระยะ 10 cm

Glock 19 : พบการสะสมของคราบเขมาปริมาณที่บริเวณดานซายบนและในชั้นหนังกําพรา (Stratum corneum) และยังสามารถพบอนุภาคของดินปนขนาดแตกตางกันในทุกชั้นของชั้นหนังกําพรา , ช้ันของStratum papillare และ Stratum reticulare ของชั้นหนังแท อีกทั้งยังพบรอยฉีกขาดและโพรงในชั้นหนังกําพรา ที่ระยะยิง 10 cm. พบคราบเขมาและอนุภาคดินปนที่ระยะ 1 -5 cm. และที่ระยะ 15 cm. พบคราบเขมาและอนุภาคดินปนที่ระยะ 1 - 3 cm. จากกึ่งกลางของรูทางเขา ที่ระยะยิง 25 cm. คราบเขมาจะเร่ิมจางหายไป และพบอนุภาคของดินปนในบริเวณใกลๆกับรูทางเขา (รูปที่ 8)

36

รูปท่ี 8 แสดงคราบเขมาและอนุภาคของดนิปนที่เผาไหมไมหมดบนผิวหนา และในชัน้ของผิวหนัง ทีย่ิงจาก Glock 19 ( 9 mm ) ในระยะ 10 cm

37

บทท่ี 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง

5.1 อภิปรายผล ถัดไปจากระยะ 1 – 2 cm. การสะสมของคราบเขมาจะเริ่มมีรูปรางคลายดอกไมบานหรือกลีบดอกไม ในการเพิ่มขึ้นของระยะจากปากกระบอกปนไปยังเปาหมาย ขนาดของบริเวณที่พบคราบเขมาสีดําจะใหญขึ้น แตทวากลับมีความหนาแนนลดลง และรูปของการสะสมจะมีขนาดใหญ ซ่ึงจะคอยๆเกิดขึ้นและเริ่มนอยลงจนจางหายไปในระยะ 15 – 25 cm. โดยระยะที่ไกลที่สุดที่สามารถพบการสะสมของคราบเขมาของการยิงปนพกอยูที่ระยะ 20 – 30 cm. [2] ในกรณีของ TT : จะปรากฎคราบเขมาที่ระยะ 15 – 30 cm. ซ่ึงบางขอมูลอยูที่ 40 – 50 cm. ในกรณีของ PM : สามารถพบคราบเขมาที่ระยะ 25 – 30 cm. บางขอมูลอยูที่ 40 cm. และยังพบอนุภาคของดินปนที่ระยะ 30 – 40 cm. บนผาฝายสีขาว การสะสมของคราบเขมาจะมีสีเทาเขมหรือบางทีจะมีสีดําหรือน้ําตาลออนบนผาฝายสีขาว ความหนาแนนของการสะสมของคราบเขมาจะไมเปนเนื้อเดียวกัน โดยการสะสมของคราบเขมาจะมีความหนาแนนมากบริเวณกึ่งกลาง และมีความหนาแนนนอยที่บริเวณรอบนอก และมีรูปแบบของการสะสมของคราบเขมาที่เดนชัด ที่ระยะยิง 5 – 10 cm. บริเวณสวนกลางรูปแบบการสะสมของคราบเขมาจะเปนแฉกๆ ซ่ึงสามารถพบไดระหวางบริเวณนี้ [4] ซ่ึงรูปแบบการสะสมของคราบเขมาจะพบเดนชัดในทั้ง 3 บริเวณอีกดวย ที่ระยะยิง 25 cm. ยังพอมีอนุภาคหลงเหลืออยูใหสามารถมองเห็นไดในกรณีของ TT สีของการสะสมของคราบเขมาจะมีสีดําหรือสีน้ําเทาออน – น้ําตาล (TT และ PM) และมีความหนาแนนนอย สีของคราบเขมาจะมีสีเทาออน – น้ําตาล (Glock) ที่ระยะใกล รอยของรองเกลียวและสันเกลียวที่เกิดจากการตกคางของอนุภาค จะมีรูปแบบคลายกับรูปดาวหรือดอกไมบาน ซ่ึงสามารถที่จะอนุมานถึงจํานวนของรองเกลียว , สันเกลียว และทิศทางของการบิดเกลียว [5] แตในบางกรณีการทดลองเกี่ยวกับการหาจํานวนแฉกของรูปแบบการสะสมของคราบเขมา ที่จะอนุมานถึงจํานวนของรองเกลียว , สันเกลียว ก็ไมประสบผลสําเร็จ ตัวอยางเชน กรณีที่ยิงจากปน PM : พบการสะสมของคราบเขมามีรูปรางเปนแฉกจํานวน 16 – 20 แฉก [4] นอกจากลักษณะของรูปแบบการสะสมของคราบเขมาที่ปรากฎขึ้นจากรอยเช็ดของลูกกระสุนปนแลวยังมีอีกหนึ่งหนึ่งอยางที่ปรากฎคือลักษณะของรองเกลียวและสันเกลียว ในการยิงทดสอบบนเปาหมายที่เปนผาฝาย บอยครั้งที่ลูกกระสุนปนขนาด 7.62 และ 9 mm. มีการทิ้งรอยเช็ดของลูกกระสุนปนซึ่งบงบอกไดวาลํากลองของปนมี 4 รองเกลียว 4 สันเกลียว แตในความเปนจริงแลวไมบอยนักที่จะมองเห็นรอยเช็ดของกระสุนปน [6] พบการสะสมของคราบเขมามีลักษณะคลายรูปดาวหรือดอกไมบานที่มี 4 กลีบดอก (TT) และมีลักษณะคลายรูปดอกไมบานหรือเปนแฉกๆ หรือเปนรูปใบพัด 4 ใบพัด (PM) และเกิดรอยแคบ 4 รอย รอยกวาง 4 รอยท่ีมาจากการเช็ดของลูกกระสุนปน (PM) ในกรณีของ Glock 19 : จะพบในลักษณะที่แตกตางออกไป คือ รอยเช็ดของลูกกระสุนปนและการสะสมของคราบเขมาที่บริเวณกึ่งกลางจะมีลักษณะ

38

คลายกับดอกไมบานแตมีหลายกลีบดอก สวนบริเวณอื่นๆ การสะสมของคราบเขมาจะมีลักษณะคลายรูปหกเหลี่ยมหรือหลายเหล่ียมหรือเปนรูปสวนโคงของวงกลม จากการทดลองในวัสดุหลายๆชนิดที่แสดงใหเห็นวาเมื่อมีการเพิ่มความหนาของวัสดุและความเรียบของผิวหนา พบวา ความหนาแนนและเสนผาศูนยกลางของคราบเขมาที่เกิดขึ้นนั้นลดลง (ที่บริเวณภายนอกและบริเวณกึ่งกลาง) ซ่ึงวัสดุที่ใชทดสอบจะมีความสัมพันธกับการลดลงของความหนาแนนของคราบเขมา [7] และยังพบวาบนผาใยสังเคราะห ขนาดของเสนผาศูนยกลางของบริเวณกึ่งกลางและบริเวณสวนกลางจะมีขนาดเล็กกวาบนผาฝายในทุกระยะที่ยิงจากปน TT และที่ระยะยิง 10 และ 15 cm. จากการยิงจากปน PM และเสนผาศูนยกลางรวมของการสะสมของคราบเขมาที่มาจากการยิงปน TT และ PM จะมีขนาดเล็กบนผาใยสังเคราะหที่ระยะยิง 25 cm. สวนในกรณีของ Glock ขนาดเสนผาศูนยกลางในบริเวณกึ่งกลางจะเทากับ 5.0 – 5.1 cm. แตที่บริเวณสวนกลางขนาดเสนผาศูนยกลางรวมของการสะสมของคราบเขมาจะมีขนาดเล็กบนผาใยสังเคราะห การไหมของใยสังเคราะหและการหลอมรวมกันของเสนใยสิ่งทอจะปรากฎขึ้นในกระบวนการ Carbonisation ของเสนใยหรือจากการหลอมที่สวนปลายของเสนใยจนเปนปุมๆ , การพับพลิกขึ้นมาของเสนใย และการยึดติดกันของเสนใย สามารถพบไดในระยะ 2 - 3 cm. ในขนสัตวหรือส่ิงทอที่เปนผาฝายเสนใยจะทนตอความรอน [8] การหลอมที่สวนปลายของเสนใยจะไมปรากฎที่เฉพาะในระยะใกล แตสามารถพบไดในระยะ 2 – 3 m. บนขอบของรูทางเขา [9] ในการทดลองนี้ การยิงจากปน TT ในสวนของการหลอมของเสนใยสังเคราะหที่บริเวณขอบของรูทางเขาจะมีความหมายอยางมีนัยสําคัญ โดยมีขนาดเสนผาศูนยกลางเทากับ 0.1 – 0.3 cm. ในกรณีของ PM และ Glock 19 จะพบการหลอมเฉพาะที่บริเวณสวนปลายของเสนใย จากการนับปริมาณของอนุภาคดินปนที่รูบนเสื้อผา จะพบความเสียหายของเสนใยรอบๆบริเวณรูทางเขาในกรณีของ TT และสามารถมองเห็นดวยตาเปลาบนผาฝาย อยางไรก็ตาม บนผาใยสังเคราะหอนุภาคจะตกคางอยูบริเวณที่ลูกกระสุนปนมาปะทะ โดยในระยะเดียวกันจะมีคราบดินปนที่ตกคางอยูที่ผิวหนังหลังการตาย ที่ปรากฎเปนสีเทาหรือสีเหลืองจะมีปริมาณนอยกวาคราบเขมาที่มาจากการยิงในระยะประชิด (Powder tattooing) ที่เกิดขึ้นขณะที่ยังมีชีวิตอยู โดยทั่วไปการตกคางของอนุภาคของดินปนที่บาดแผลจะอยูที่บริเวณผิวหนาของชั้นหนังกําพรา ขึ้นอยูกับลักษณะทางกายภาพของดินปนและตัวแปรอื่นๆ อนุภาคของดินปนอาจจะผานทะลุลงไปยังชั้นบนของชั้นหนังแท [10 , 11] หรือลึกลงไปยังชั้น Stratum reticulare ของชั้นหนังแท [4] อนุภาคของเขมาจะไมสะสมที่เฉพาะบริเวณผิวดานหนาของผิวหนัง แตสามารถพบไดในชั้นหนังกําพรา และบางครั้งพบในชั้นของ Stratum papillare ของชั้นหนังแท [4] การเปลี่ยนแปลงของโครงสรางของผิวหนัง จะปรากฎในทุกชั้นของผิวหนังรอบๆ บริเวณบาดแผลทางเขาในความเปนจริงและในการยิงทดสอบ ซ่ึง

39

ขอบเขตและความถี่ของการปรากฎการเปลี่ยนแปลงนี้จะขึ้นอยูกับระยะในการยิงทดสอบ โดยจะปรากฎที่บริเวณขอบของรูทางเขาของลูกกระสุนปน [12] จากการทดลองยังพบคราบเขมาที่บริเวณผิวดานหนาของผิวหนัง (PM และ Glock) และมีการรวมตัวกันกับอนุภาคของดินปน , ลึกลงไปในทั้งสองชั้นของชั้นหนังแท (TT) นอกจากนี้ยังพบอนุภาคของดินปนในชั้นหนังกําพราและในทั้งสองชั้นของชั้นหนังแทที่ทุกระยะยิงในกรณีของ TT และ Glock และในกรณีของ PM จะมีบางอนุภาคของอนุภาคดินปนที่ผานทะลุเขาไปยังชั้นหนังแท (10 cm.) หรือเฉพาะที่ช้ัน Stratum corneum (15 และ 25 cm.) การพบอนุภาคของดินปนที่เผาไหมไมหมดบนเสื้อผาและบนผิวหนังจะคลายกันบางสวน ยกเวน ที่ระยะยิง 25 cm. ในกรณีของ Glock , จะพบอนุภาคของดินปนเฉพาะที่ระยะ 1 – 2 cm. จากกึ่งกลางของรูทางเขาของลูกกระสุนปนที่ผิวหนัง ซ่ึงนาจะเปนไปไดวามีการสะสมในปริมาณเล็กนอยเฉพาะที่บริเวณผิวดานหนาของผิวหนัง และนี่ก็เปนสาเหตุของการสูญหายของอนุภาคของดินปนในระหวางการเตรียมตัวอยางเนื้อเยื่อ 5.2 สรุปผลการทดลอง ในการยิงทดสอบจากปนพกแตละยี่หอ คือ Tokarev , Makarov และ Glock 19 ดวยกระสุนปนของปนแตละยี่หอ ที่ระยะยิง 10 , 15 และ 25 cm. การเปรียบเทียบบาดแผลทางเขาของลูกกระสุนปน พบวา มีความแตกตางกันในสวนของรูปแบบการสะสมของคราบเขมา , ความรุนแรงของการไหมของเสนใยสังเคราะหที่บริเวณขอบของรูทางเขา และเหมือนกันในสวนของการพบคราบเขมาและอนุภาคของดินปน ซ่ึงผลการทดลองบนเสื้อผาและผิวหนังจะคลายกัน

40

คําถามและขอเสนอแนะ คําถาม อ.รวิทัตฯ : ใหวิจารณถึงขอเสียของงานวิจยัเร่ืองนี ้ตอบ : ในงานวิจยัเร่ืองนี้ ไดใชเปาหมายที่เปน ผาฝาย และ ผาใยสังเคราะห ทําการยิง ทดสอบ เพื่อสังเกตรูปแบบของคราบเขมาที่เกิดขึ้น โดยรอบรอยทางเขาของ ลูกกระสุนปน ซ่ึงจากผลการทดลองที่ระยะยิงประมาณ 10 และ 15 เซนติเมตร

พบวารูปแบบของคราบเขมาที่เกิดขึ้น สามารถใชในการอนุมานจํานวนรอง เกลียวสันเกลียว และทิศทางของการบิดเกลียว ของอาวธุปนแตละชนดิไดแลว นํามาเปนขอสันนิษฐานเทยีบเคียงกับผิวหนังมนษุย ซ่ึงในงานวจิัยนี้ไมไดทํา การยิงทดสอบเพื่อดูรูปแบบของคราบเขมา กับเปาหมายที่เปนผิวหนังมนษุย จริงๆ ดังนั้นถาไดมีการทดสอบจริงกับเปาหมายที่เปนผิวหนังมนุษย กน็าจะ นํามาใชเพื่อเปนประโยชนในทางนิตวิิทยาศาสตรไดดียิง่ขึ้น

คําถาม อ.พลูศักดิ์ฯ : คุณสมบัติใดของ ผาฝาย กับ ผาใยสังเคราะห ที่แตกตางกัน ซ่ึงมีผลกับ

งานวิจยัเร่ืองนี้คืออะไร ตอบ : คุณสมบัติของ ผาขนสัตวหรือส่ิงทอที่เปนผาฝาย เสนใยจะทนตอความรอน ไดดีกวาส่ิงทอที่เปนผาใยสังเคราะห ทําใหการหลอมที่สวนปลายของเสนใย ของสิ่งทอแตละชนิดแตกตางกัน คําถาม อ.รวิทัตฯ : ที่ระยะการยงิเทาไหร ที่ไมสามารถเปรียบเทียบความแตกตาง ในงานวิจัยนี้ได ตอบ : ที่ระยะไกล ซ่ึงเปนระยะทีผู่ชํานาญ หมายถึง ระยะที่เขมาดินปนทั้งที่เผาไหม หมดและเผาไหมไมหมด ไมสามารถปลิวไปถึงเปาหมายได หรือ ที่ระยะ ประมาณ 18 นิ้ว ขึ้นไป

41

อางอิง Brian J. Heard. Gunshot Residue Examination. Handbook of Firearms and Ballistics

: Examining and Interpreting Forensic Evidence 1997. Brian J. Heard. Priming Compounds and Primers. Handbook of Firearms and Ballistics

: Examining and Interpreting Forensic Evidence 1997. Delia Lepik, Vitaly Vasiliev. Comparison of injuries caused by the pistols Tokarev, Makarov and Glock 19 at firing distances of 10, 15 and 25 cm : Forensic Science International 151 (2005)

1-10.