เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน...

43
ปจจัยที่สัมพันธกับเด็กแรกเกิด น้ําหนักตัวนอย ในโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย ศิริกุล อิศรานุรักษ ลัดดา เหมาะสุวรรณ ชัยชนะ นิ่มนวล จันทรเพ็ญ ชูประภาวรรณ บรรณาธิกรณ ..2546 ISBN : 974-91635-7-5 เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที1 ฉบับที22

Upload: donga

Post on 28-Jul-2018

221 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

ปจจัยที่สัมพันธกับเด็กแรกเกิด

น้ําหนักตัวนอย

ในโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย

ศิริกุล อิศรานุรักษ ลัดดา เหมาะสุวรรณ

ชัยชนะ นิ่มนวล

จันทรเพญ็ ชูประภาวรรณ บรรณาธิกรณ

พ.ศ.2546 ISBN : 974-91635-7-5

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

Page 2: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

I

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

เปดปูมเรื่องนารู โครงการวิจยัระยะยาวในเด็กไทยระยะที ่1

ชุดผลงานวิชาการของโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ซึ่งติดตามเด็กและครอบครัวไทยต้ังแตมารดาตั้งครรภ คลอดและเด็กเติบโตจนถึงอายุ 1 ป ดําเนินการระหวางป พ.ศ.2543 และสิ้นสุดในเดือนธันวาคม ป พ.ศ.2545 ใน 5 พื้นที่ของประเทศไทย ภายใตการสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนบัสนนุการวจิยั สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข และ องคการอนามัยโลก เพื่อเผยแพรใหแกผูใชประโยชนกลุมตาง ๆ และผูสนใจทั่วไป ประกอบดวย 3 กลุมคือ

หมวดเรื่องนารู วาดวยที่มา แนวคิด และกรอบการวิเคราะหขอมูล กับประสบการณจากทั่วโลก 1. แนวคิด กรอบการวิจยั และ วิเคราะหขอมูล โครงการวิจยัระยะยาวในเด็กไทย 2. แลกเปลี่ยนเรยีนรูจากทัว่โลก – ประสบการณการวิจัยระยะยาวเรื่องเดก็และเยาวชน

หมวดเรื่องนารู วาดวยถายทอดประสบการณดานการจัดการในแงมุมตาง ๆ มี 5 เลมคือ 3. ถายทอดประสบการณ ความคิด ความรูสึก : บทเรียนสูอนุชนรุนหลงัที่อยากกาวมาจัดการงานวจิัย 4. การบริหารจัดการฐานขอมูลขนาดใหญ : ประสบการณคร้ังแรกที่พัฒนาโดยคนไทย 5. การประกนัและควบคุมคุณภาพขอมูลในโครงการวิจยัขนาดใหญ 6. ประสบการณการจัดการงานวิจยัในระดับพื้นที่ 7. บันทกึลับนกัวจิัยในภาคสนาม 8. ประชาคมผูใชประโยชนงานวิจัยในพืน้ที ่4 อําเภอโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย

หมวดเรื่องนารู ผลงานและองคความรูจากการวิจัย 3 ป แบงไดเปน 3 กลุมยอย ไดแก (ก) ทําความเขาใจชุมชนที่ลอมรอบตัวเด็ก ประกอบดวย 9. ประเพณีการเกิด : การดูแลทารกแรกเกิดตามบริบททางวัฒนธรรมในวิถีชุมชน 4 อําเภอ ของประเทศ –

การศึกษาเชิงคุณภาพในโครงการวิจยัระยะยาวในเด็กไทย 10. คานิยม ความเชื่อ เร่ืองการอบรมเลี้ยงดูเดก็ในขวบปแรก – การศึกษาเชิงคุณภาพในโครงการวิจยัระยะ

ยาวในเด็กไทย 11. ระบบความมัน่คงทางอาหารของชุมชน – การสํารวจชุมชน 4 ภาคในโครงการวิจยัระยะยาวในเดก็ไทย

Page 3: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

II

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

12. ประเพณี ความเชื่อ เกีย่วกับการตั้งครรภ การคลอด และการปฏิบัติตัวของมารดาหลงัคลอด ใน 4 พื้นที่ศึกษา 4 ภาค ของประเทศไทย โครงการวจิัยระยะยาวในเด็กไทย

13. ประเพณีในรอบปของชุมชนใน 4 พื้นที่ศึกษา 4 ภาค โครงการวิจยัระยะยาวในเด็กไทย

(ข) เปดปูมครอบครัวและสถานภาพของหญิงต้ังครรภใน 5 พื้นที่ ประกอบดวย 14. ทําความรูจักครอบครัว บริบทของเด็กไทยใน 5 พื้นที่ โครงการวิจยัระยะยาวในเด็กไทย 15. ครอบครัวเด็กไทย: ขอคนพบเบื้องตนจากกรณีศึกษาที่อําเภอกระนวน จังหวัดขอนแกน 16. ความพึงพอใจในการแตงงานและการกอรูปครอบครัวใน 5 พื้นที ่17. ภาวะโลหิตจางในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภในหญิงไทย 5 ภาค โครงการวิจยัระยะยาวในเด็กไทย 18. พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพชองปาก ในหญงิตั้งครรภ 4 พืน้ที ่โครงการวจิัยระยะยาวในเด็กไทย ระยะที่ 1 19. พฤติกรรมความผูกพนัระหวางมารดาและทารก พื้นฐานสําหรับการกอรูปความเปนคนเต็มคน : ครอบครัว

และเด็กโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย

(ค) เปดแฟมลูก ๆ ของเราในแงมุมตาง ๆ ประกอบดวย 20. ทําความรูจักเด็กไทยในโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย 21. ฤาอนาคตเด็กไทยจะแคะแกรน – การติดตามการเจริญเติบโตของเด็กขวบปแรกในโครงการวิจยัระยะยาว

ในเด็กไทย 22. ปจจัยที่สัมพนัธกับเด็กแรกเกิดน้ําหนกัตัวนอยในโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย 23. พัฒนาการในชวงขวบปแรกของเด็กในโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย 24. พัฒนาการและสภาวะทันตสุขภาพของเดก็ขวบปแรก ในพืน้ที ่อ.เทพา จ.สงขลา โครงการวิจยัระยะยาวใน

เด็กไทย 25. สาเหตุการตายและอัตราตายปริกําเนิดที่แทจริง จากการเฝาระวงัหญงิมีครรภและทารกแรกเกิด

โครงการวิจยัระยะยาวในเดก็ไทยระยะที ่1 26. ผลของการติดเชื้อหนอนพยาธิที่ติดตอผานดินตอการเกดิหอบแบบ wheeze ในเด็กอายุนอยกวา 3 ป 27. วงจรหลับต่ืนของทารกในครรภและความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของทารกในครรภกับพื้นอารมณของ

เด็กเมื่ออาย ุ1 ป

เปดโอกาสใหทานเลือกอานตามความสนใจของทาน ขอมูลที่ปรากฏในเอกสารทุกชุดอาจมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เนื่องจาก ณ ถึงปจจุบัน ยังคงมีการนําเด็กเขาโครงการฯ เพิ่มเติมในบางพื้นที่ อยางไรก็ตามทานสามารถนําไปใชอางอิงไดดวยความระมัดระวัง ตัวเลขที่เปลี่ยนแปลงไปเปนจํานวนนอย จึงไมกระทบตอคุณภาพและการแปลผลขอมูล และขอมูลเหลานี้มีพลวัตไปตามธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ตามชื่อโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย

Page 4: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

III

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

กิตติกรรมประกาศ รายงานวิจัยนี้ เปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย กระทรวงสาธารณสุข และองคการอนามัยโลก เพื่อใหการศึกษาติดตามเด็กไทยตั้งแตอยูในครรภมารดา ใน 5 พื้นที่ทุกภาคของประเทศ ดําเนินการไปไดดวยดี นอกจากนี้โครงการฯยังไดรับความเอื้อเฟอเสื้อยืดโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย จาก บริษัท ไทยประกันชีวิต จํากัด ซึ่งทางโครงการฯตองขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ นอกจากทุนวิจัยที่ไดรับการสนับสนุนจากหลายหนวยงาน โครงการฯยังไดรับคําปรึกษาอันเปนประโยชนยิ่งจากคณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการฯ ซึ่งมี ศาสตราจารยนายแพทยจรัส สุวรรณเวลา เปนประธาน โดยมีที่ปรึกษาตางประเทศ 2 ทาน คือ Prof.Phil A. Silva (New Zealand) และ Prof.Dr.David Barker (England) รวมถึงความเสียสละ ความมุมานะของคณาจารย นักวิจัยหลักรวม 70 คน และความอุตสาหะของคณะผูชวยนักวิจัยในพื้นที่ กวา 40 คน ที่ผนึกแรงกายแรงใจเพื่อใหไดขอมูลที่มีคุณภาพ และผลผลิตการวิจัยที่จะเปนประโยชนตอสังคมไทยในอนาคต สวนสําคัญที่สุดของโครงการฯ ที่จะตองขอขอบพระคุณเปนอยางสูงก็คือ เด็ก ๆ กลุมตัวอยาง และ พอ แม ผูเลี้ยงดูหลัก กวา 4,200 ครอบครัวทั่วประเทศ ซึ่งใหขอมูล และขอเท็จจริงตาง ๆ ในการดําเนินชีวิต ซึ่งนับเปนกลุมครอบครัวตนแบบ ในการศึกษาวิจัยเพื่อคนหาองคความรูที่จะนําไปสูการพัฒนาเด็กไทยอยางมีคุณภาพในรุนตอไป และที่จะลืมไมไดคือ ผูใหกําเนิดโครงการฯ ศ.น.พ.วิจารณ พานิช และ ผูสนับสนุนใหกําลังใจนักวิจัยอยางเมตตาเสมอมา ศ.น.พ.อารี วัลยะเสวี และ ศ.พ.ญ.สาคร ธนะมิตต

Page 5: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

IV

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

รายชื่อนกัวิจยั 1. พ.ญ.จันทรเพญ็ ชูประภาวรรณ ผูอํานวยการโครงการฯ 2. รศ.ดร.บัณฑิต ถิน่คํารพ รองผูอํานวยการฯ และ ผูจัดการศูนยบริหารจัดการขอมูล 3. นพ.ดร.ชัยชนะ นิ่มนวล ผูชวยผูอํานวยการฯ ฝายบริหาร 4. รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ หัวหนาทมีวิจยัเด็ก 5. น.พ.ชาญยทุธ ศุภคุณภิญโญ ทีมวิจยัเด็ก 6. พ.ญ.เบญจพร ปญญายง ทีมวิจยัเด็ก 7. พ.ญ.วราภรณ เตชะเสนา ทีมวิจยัเด็ก 8. รศ.พญ.ศิริกุล อิศรานุรักษ ทีมวิจยัเด็ก 9. ผศ.ดร.อุไรพร จิตตแจง ทีมวิจยัเด็ก 10. รศ.ดร.รุจา ภูไพบูลย หัวหนาทมีวิจยัครอบครัว 11. รศ.ดร.กอบกลุ พนัธเจริญวรกุล ทีมวิจยัครอบครัว 12. ผศ.ดร.จริยา วิทยะศุภร ทีมวิจยัครอบครัว 13. ผศ.พญ.จิตเกษม เกงพล ทีมวิจยัครอบครัว 14. รศ.ดร.จิตตินันท เตชะคุปต ทีมวิจยัครอบครัว 15. อาจารยถวัลย เนียมทรัพย ทีมวิจยัครอบครัว 16. ผศ.ดร.นิตยา สินสุกใส ทีมวิจยัครอบครัว 17. ดร.พัชรินทร เล็กสวัสด์ิ ทีมวิจยัครอบครัว 18. อ.ภัทรา สงา หัวหนาทมีวิจยัชุมชน 19. ผศ.ดร.ชัชวาลย วงษประเสริฐ ทีมวิจยัชุมชน 20. ดร.ชื่นจิตร โพธิศัพทสุข ทีมวิจยัชุมชน 21. ผศ.ดร.อําภาพร พัววิไล ทีมวิจยัชุมชน 22. ดร.น้ําออย ภักดีวงศ ทีมวิจยัชุมชน 23. รศ.ระวีวรรณ ชอุมพฤกษ ทีมวิจยัชุมชน 24. คุณเรืองศักดิ์ ปนประทีป ทีมวิจยัชุมชน 25. คุณลาวัลย สาโรวาท ทีมวิจยัชุมชน 26. ผศ.ดร.สุธรรม นันทมงคลชยั ทีมวิจยัชุมชน 27. ดร.อรสุดา เจริญรัถ ทีมวิจยัชุมชน 28. คุณอํานวย ภูภัทรพงษ ทีมวิจยัชุมชน 29. รศ.อรุณ จิรวฒันกุล ศูนยบริหารจดัการขอมูล 30. ผศ.ยุพา ถาวรพิทักษ ศูนยบริหารจดัการขอมูล

Page 6: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

V

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

31. ผศ.ดร.จิราพร เขียวอยู ศูนยบริหารจดัการขอมูล 32. ผศ.จารุวรรณ โชคคณาพทิกัษ ศูนยบริหารจดัการขอมูล 33. ผศ.นิคม ถนอมเสียง ศูนยบริหารจดัการขอมูล 34. รศ.มาลิน ี เหลาไพบูลย ศูนยบริหารจดัการขอมูล 35. ผศ.อนุสรณ สุนทรพงศ ศูนยบริหารจดัการขอมูล 36. อ.สุทนิ ชนะบญุ ศูนยบริหารจดัการขอมูล 37. รศ.นพ.สุมิตร สุตรา ที่ปรึกษาพืน้ที ่อ.กระนวน จ.ขอนแกน 38. น.พ.เกษม เวชสุทธานนท ผูจัดการภาคสนาม อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 39. น.พ.สุวัฒน วริิยพงษสุกิจ ผูจัดการภาคสนาม อ.เทพา จ.สงขลา 40. พ.ญ.อัมพร รัตนปริญญา ผูจัดการภาคสนาม อ.กระนวน จ.ขอนแกน 41. น.พ.คณิต ตันติศิริวิทย ผูจัดการภาคสนาม อ.เมือง จ.นาน 42. รศ.พญ.นิชรา เรืองดารกานนท ผูจัดการภาคสนาม พืน้ที่กรุงเทพฯ และทมีวิจัยเดก็ 43. ผศ.พญ.พรรณี วาสิกนานนท ทีมวิจยัเจาะลกึ 44. พ.ญ.ภาสุรี แสงศุภวานิช ทีมวิจยัเจาะลกึ 45. ผศ.นพ.สุรชัย เกื้อศิริกุล ทีมวิจยัเจาะลกึ 46. ผศ.พญ.วนพร อนนัตเสร ี ทีมวิจยัเจาะลกึ 47. ทพ.ทรงชัย ฐติโสมกุล ทีมวิจยัเจาะลกึ 48. รศ.ดร.ศิริพร จิรวัฒนกุล ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 49. ดร.วัลยา ธรรมพนชิวัฒน ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 50. ผศ.ดร.สมพร รุงเรืองกลกิจ ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 51. ผศ.ดร.ชวพรพรรณ จนัทรประสิทธิ ์ ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 52. รศ.ดร.อาภรณ เชื้อประไพศิลป ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 53. ดร.วันเพ็ญ พชิิตพรชัย ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 54. ดร.รุงนภา ผาณิตวัตน ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 55. ดร.วิไลพรรณ สมบุญตนนท ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 56. ดร.ดารุณี จงอุดมการณ ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 57. ผศ.พิมภา สุตรา ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 58. ผศ.นิลุบล รุจริประเสริฐ ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 59. ผศ.ดร.ภัทราภรณ ต้ังบุญคม ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 60. ผศ.ดร.วารุณี ฟองแกว ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 61. ผศ.ดร.รัตนาวดี ชอบตะวนั ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด

Page 7: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

VI

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

62. ดร.เพลินพิศ ฐานวิัฒนานนท ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 63. ดร.อุมาพร บุญญโสพรรณ ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด 64. ดร.อุไร หัตถกิจ ทีมลักษณะและวิถีชวีิตของครอบครัวไทยใน 5 จังหวัด รายชื่อทีมสนับสนุน 1. นางการะเกด สืบใหม ทีมสนบัสนนุ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 2. นายนิคม เสือดาว ทีมสนบัสนนุ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 3. น.ส.ศิริกาญจน กาญจนบุรานนท ทีมสนบัสนนุ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 4. นางอําภา กิตติอุดมเดช ทีมสนบัสนนุ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 5. นางเอมอร บุตรแสงดี ทีมสนบัสนนุ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 6. น.พ.สุรณัฐ แกวณิมีย ทีมสนบัสนนุ อ.เทพา จ.สงขลา 7. น.ส.เดือนฉาย โชคอนันต ทีมสนบัสนนุ อ.เทพา จ.สงขลา 8. น.ส.นิฉรา หสัมาน ทีมสนบัสนนุ อ.เทพา จ.สงขลา 9. คุณวันดี แสงเจริญ ทีมสนบัสนนุ อ.เทพา จ.สงขลา 10. นางจินตนา สุวรรณฑัต ทีมสนบัสนนุ อ.กระนวน จ.ขอนแกน 11. นายสพุจน ประชากูร ทีมสนบัสนนุ อ.กระนวน จ.ขอนแกน 12. น.พ.กอบเกียรติ คอนสกุล ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 13. นายชาตรี เจริญศิริ ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 14. น.พ.ปยะพงษ จงรักษ ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 15. น.ส.พัฒชุกร พัฒนาไพบูลย ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 16. น.พ.มนัส วงศทะเนตร ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 17. พ.ญ.รัชนี เจริญสวัสด์ิ ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 18. น.พ.วีระชัย เตชะเสนา ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 19. นางชลดา กนัศร ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 20. น.พ.พงษเทพ วงศวัชระไพบลูย ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 21. น.พ.พุทธรักษ ลูอริยะกุล ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 22. นางอุดมลักษณ กนัใจมา ทีมสนบัสนนุ อ.เมือง จ.นาน 23. นางขนิษฐา สันติกูล ทีมสนบัสนนุ พื้นที่กรุงเทพฯ 24. พ.ญ.ฐิติมาพร ต้ังทรงศักดิ์สกุล ทีมสนบัสนนุ พื้นที่กรุงเทพฯ 25. พ.ญ.สุธาทิพย ศิริจันทรเพญ็ ทีมสนบัสนนุ พื้นที่กรุงเทพฯ 26. นางอุดร จิตตเจริญ ทีมสนบัสนนุ พื้นที่กรุงเทพฯ

Page 8: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

VII

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

รายชื่อผูชวยนักวิจยั 1. น.ส.กชกร อยูเย็น หัวหนาทมีผูชวยนกัวิจยั อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 2. นายกอบกิจ กุมภคาม ผูชวยนักวจิัย อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 3. น.ส.คนธวรรณ ทองสนธ ิ ผูชวยนักวจิัย อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 4. นายพิพฒันพงศ เบิดศร ี ผูชวยนักวจิัย อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 5. น.ส.วาสนา ปาปะตัง ผูชวยนักวจิัย อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 6. น.ส.อรอนงค คีรีโชติ หัวหนาทมีผูชวยนกัวิจยั อ.เทพา จ.สงขลา 7. น.ส.กิตติยา รักษวงศ รองหัวหนาทมีผูชวยนักวิจยั อ.เทพา จ.สงขลา 8. น.ส.ลัดดาวัลย พรรณราย ผูชวยนักวจิัย อ.เทพา จ.สงขลา 9. นายสุรศักดิ ์ บุญเลิศวรกุล ผูชวยนักวจิัย อ.เทพา จ.สงขลา 10. นายเอก เพง็พอรู ผูชวยนักวจิัย อ.เทพา จ.สงขลา 11. น.ส.ศิริพร ศิริมุสิกะ ผูชวยนักวจิัย อ.เทพา จ.สงขลา 12. นายกนกศักดิ์ คงประดิษฐ ผูชวยนักวจิัย อ.เทพา จ.สงขลา 13. นายอทุัย สุขศิริ หัวหนาทมีผูชวยนกัวิจยั อ.กระนวน จ.ขอนแกน 14. น.ส.ระพีพรรณ พนัธุรัตน รองหัวหนาทมีผูชวยนักวิจยั อ.กระนวน จ.ขอนแกน 15. น.ส.นฤมล ศรีทน ผูชวยนักวจิัย อ.กระนวน จ.ขอนแกน 16. น.ส.นิจฐา วงศพรม ผูชวยนักวจิัย อ.กระนวน จ.ขอนแกน 17. น.ส.พิสมัย ฤทธิ์ศรีบุญ ผูชวยนักวจิัย อ.กระนวน จ.ขอนแกน 18. น.ส.ศศินี พลแกว ผูชวยนักวจิัย อ.กระนวน จ.ขอนแกน 19. น.ส.อระนุช โกศล ผูชวยนักวจิัย อ.กระนวน จ.ขอนแกน 20. น.ส.ศุภวรรณ นนัทวาส หัวหนาทมีผูชวยนกัวิจยั อ.เมือง จ.นาน 21. น.ส.ปรียาพร มหาเทพ รองหัวหนาทมีผูชวยนักวิจยั อ.เมือง จ.นาน 22. นายจิรัฐ มหายศนันท ผูชวยนักวจิัย อ.เมือง จ.นาน 23. น.ส.ละอองดาว แสงศรีจันทร ผูชวยนักวจิัย อ.เมือง จ.นาน 24. น.ส.วาสนา วนาอนุรักษ ผูชวยนักวจิัย อ.เมือง จ.นาน 25. น.ส.เบญจพรรณ พริบไหว ผูชวยนักวจิัย อ.เมือง จ.นาน 26. นายธีรชาติ ดวงคํา ผูชวยนักวจิัย อ.เมือง จ.นาน 27. น.ส.วารุณี ศรีกุตา (รักษาการ) หัวหนาทีมผูชวยนักวิจัย พืน้ที่กรุงเทพฯ 28. นายสมทรง บรรจงธิติทานต ผูชวยนักวจิัย พื้นที่กรุงเทพฯ 29. น.ส.ธีรนันท บัวบาน ผูชวยนักวจิัย พื้นที่กรุงเทพฯ 30. นายธีระ ศิริสมุด ผูชวยนักวจิัย พื้นที่กรุงเทพฯ

Page 9: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

VIII

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

31. นายปฐม แสงศรีจันทร ผูชวยนักวจิัย พื้นที่กรุงเทพฯ 32. น.ส.สุพัฒสร พึ่มกุล ผูชวยนักวจิัย พื้นที่กรุงเทพฯ 33. น.ส.จิตรานนท นนทเบญจวรรณ ผูชวยนักวจิัย พื้นที่กรุงเทพฯ 34. น.ส.ศิริเพ็ญ ออนเรือง ผูชวยนักวจิัย พื้นที่กรุงเทพฯ 35. น.ส.ทักษิณ ขีนทัพไทย เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล 36. น.ส.เมรีรัตน สุภาพ เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล 37. น.ส.ประมวญ อุทรักษ เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล 38. นายวรพจน คุณสิทธิ ์ เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล 39. นายสมบัติ ถิน่คํารพ เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล 40. นายเสกศักดิ์ ปราบพาลา เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล 41. นายประญวณ พมิพภักด ี เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล 42. น.ส.สรวงสุดา คงมั่น เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล 43. น.ส.อุรวดี ลิมปนะวัสส เจาหนาที่ศูนยบริหารจัดการขอมูล สํานกังานโครงการวิจยัระยะยาวในเดก็ไทย กระทรวงสาธารณสุข 1. นางสุจนา ผาพันธุ หัวหนาสํานักงานโครงการฯ 2. น.ส.อรุณศรี มงคลชาต ิ ฝายตรวจสอบคุณภาพขอมูล 3. น.ส.กษมา แกวกา ฝายวิชาการและประชาสัมพันธ 4. น.ส.สริฎา ลุนพุฒ ฝายการเงนิ 5. นายยุทธนา สมานมิตร ฝายบัญชี 6. น.ส.ธันยชนก สุวรรณรัตน ฝายธุรการ และประสานงาน 7. น.ส.กุลฤดี สงสมบูรณ ฝายประสานงานทีมวจิัยชุมชน

Page 10: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

1

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

บทสรุปสําหรับผูบริหาร ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ซึ่งหมายถึง น้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 2,500 กรัม ยังเปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญปญหาหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากน้ําหนักแรกเกิดนับเปนตนทุนที่สําคัญอยางหนึ่งตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย ผลการดําเนินงานของประเทศไทยไมสามารถลดอัตราการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยไดตามเปาหมายเสมอมา ในแผนพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 9 จึงไดกําหนดเปาหมายการลดอัตราการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยไมเกินรอยละ 7 เมื่อส้ินป พ.ศ.2549 โดยกรมอนามัยมีหนาที่ประสานความรวมมือดําเนินการของหนวยงานตาง ๆ ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย มีความเสี่ยงตอการตายในระยะปริกําเนิด และระยะขวบปแรกของชีวิต และยังมีความเสี่ยงตอการเจ็บปวย ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการลาชาในทุกดาน มากกวาเด็กที่มีน้ําหนักแรกเกิดตั้งแต 2,500 กรัมข้ึนไป ทารกที่มีน้ําหนักแรกเกิดนอยยอมมีตนทุนต่ํา จึงมีความเสี่ยงตอการเจ็บปวยในระยะตอมาในสัดสวนที่สูงกวาเด็กที่มีน้ําหนักปกติ และจะตองไดรับการดูแลเอาใจใสเปนพิเศษ เพื่อใหมีการเจริญเติบโต และพัฒนาการปกติ จึงยอมมีผลตอเนื่องระยะยาว ดังนั้นการปองกันการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกดินอยจึงเปนสิ่งจําเปน และการที่จะปองกันปญหานี้ไดจําเปนตองเขาใจถึงสาเหตุหรือปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ซึ่งมีผูศึกษาในเรื่องนี้ในประเทศตาง ๆ ตอเนื่องมาโดยลําดับ แตการศึกษาผลของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในระยะยาว ยังไมมีในประเทศไทย โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยจึงกําหนดวัตถุประสงคการวิจัยไวดังนี้ 1. เพื่อศึกษาอุบัติการณทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย และปจจัยเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย และ

เปรียบเทียบระหวางความแตกตางในแตละพื้นที่ศึกษา 2. ติดตามการเปลี่ยนแปลงของ น้ําหนัก สวนสูง ความยาวรอบศีรษะ ความยาวรอบอก เปนระยะ เพื่อดู

แนวโนมในการเขาสูเกณฑปกติ 3. ติดตามสุขภาพชองปาก สภาวะความเจ็บปวย การไดรับอุบัติเหตุ และสุขภาพโดยทั่วไปและพฤติกรรม

สุขภาพ 4. ติดตามพัฒนาการ สติปญญา จิตสังคมของเด็ก และพื้นฐานอารมณ ตลอดจนบคุลิกภาพ และสุขภาพจิต 5. ติดตาม ผลสัมฤทธิท์างดานการเรียน การศึกษาตอ การทํางาน ลักษณะงานทีท่ํา 6. ติดตามลักษณะการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวตอเด็กน้าํหนักแรกเกิดนอยในแตละชวงวัย วิธีการศึกษา ขอมูลในโครงการระยะยาวในเด็กไทย จัดเก็บตัวแปรน้ําหนักแรกเกิดของทารกใน 2 ลักษณะ คือ เด็กที่คลอดที่โรงพยาบาล จะไดรับการชั่งน้ําหนักแรกเกิดและบันทึกลงในแบบบันทึกของโครงการ สวนกรณีที่เด็กไมไดคลอดที่โรงพยาบาล ผูชวยนักวิจัยจะติดตามไปชั่งน้ําหนักเด็กภายใน 3 วันหลังคลอด ตัวแปรปจจัยที่มีอิทธิพลตอการทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในการศึกษานี้ แบงออกเปน ปจจัยอนามัยเจริญพันธุ โรคประจําตัว หรือภาวะเจ็บปวยขณะตั้งครรภ ภาวะโภชนาการของมารดาใชตัวชี้วัดความสูง และน้ําหนักที่เพิ่มข้ึนขณะ

Page 11: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

2

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

ต้ังครรภ ปจจัยดานประชากรและสังคม และ เพศของเด็ก วิเคราะหขอมูลเพื่อหาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย โดย Multiple Logistic Regression ที่ p value < 0.05. ผลการศึกษาในระยะที่ 1 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย อุบัติการณทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย จากพื้นที่ศึกษา 4 ภาค ซึ่งเก็บขอมูลเด็กทุกรายที่เกิดในระยะเวลา 1 ป คือ อําเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา อําเภอกระนวน จังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดนาน (ยกเวน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนกลุมตัวอยางที่เลือกจากโรงพยาบาล 3 แหง จึงไมนํามารวมศึกษา ณ ที่นี้) มีทารกเกิดมีชีพครรภเดี่ยวจํานวน 3,374 คน ที่มีขอมูลน้ําหนักแรกเกิด (ความครอบคลุมรอยละ 94.8 ของทารกที่คลอดในโครงการ) พบทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยจํานวน 296 ราย หรืออัตรารอยละ 8.8 เมื่อแยกวิเคราะหรายพื้นที่ พบวาพื้นที่ที่มีอุบัติการณของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย สูงที่สุดคือ อําเภอกระนวน รอยละ 10.6 รองลงมาคือ อําเภอเมืองนาน อําเภอเทพา และอําเภอพนมทวน รอยละ 8.8, 8.4 และ 7.2 ตามลําดับ และเมื่อแยกรายละเอียดน้ําหนักแรกเกิดในทารกกลุมนี้ คือ น้ําหนักระหวาง 2,000 ถึงต่ํากวา 2,500 กรัม, 1,500 ถึง 1,999 กรัม, 1,000 ถึง 1,499 กรัม และต่ํากวา 1,000 กรัม พบวาสวนใหญรอยละ 80.1 มีน้ําหนักอยูระหวาง 2,000 ถึงต่ํากวา 2,500 กรัม รอยละ 13.5 มีน้ําหนักแรกเกิดระหวาง 1,500 ถึง1,999 กรัม รอยละ 5.4 มีน้ําหนักแรกเกิดระหวาง 1,000 ถึง 1,499 กรัม และมีเพียงรอยละ 1 ที่มีน้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 1,000 กรัม และเมื่อแยกวิเคราะหในแตละพื้นที่จะเห็นวา ถึงแมพื้นที่อําเภอกระนวนจะมีอัตราทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยสูงกวาพื้นที่อ่ืนๆ แตรอยละ 84.1 มีน้ําหนักในระหวาง 2,000 ถึงต่ํากวา 2,500 กรัม ในขณะนี้พื้นที่เมืองนานมีเด็กน้ําหนักระหวาง 1,000 ถึง 1,499 กรัม ในสัดสวนที่สูงกวาพื้นที่อ่ืนคือรอยละ 10.2 และพื้นที่ เทพา และ พนมทวน มีเด็กน้ําหนักระหวาง 1,500 ถึง 1,999 กรัม ในสัดสวนที่สูงกวาพื้นที่อ่ืน คือรอยละ 14.3 และ 19.6 ตามลําดับ อุบัติการณของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในทารกเพศชายครรภเดี่ยวทั้งหมดคือ รอยละ 7.3 สวนอุบัติการณของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในทารกเพศหญิงครรภเดี่ยวทั้งหมดคือ รอยละ 10.3 ในกลุมทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยเปนเพศหญิงตอเพศชายในอัตราสวน 3 ตอ 2 โดยที่รอยละ 82.1 คลอดปกติ สวนคา APGAR ที่ 5 นาทีของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ซึ่งมีขอมูล 264 ราย พบวารอยละ 93.6 มีคา APGAR อยูในเกณฑดีคือ 8 คะแนนขึ้นไป รอยละ 7.1 มีปญหาสุขภาพเมื่อแรกเกิด ที่พบบอยคือ Respiratory distress syndrome และ Sepsis ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย เมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบกับทารกน้ําหนักแรกเกิดตั้งแต 2,500 กรัม ข้ึนไป โดยคัดเลือกเฉพาะครรภเดี่ยว ทั้งในภาพรวม และแยกพื้นที่ พบปจจัยที่เสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในภาพรวม ไดแก ครรภเปนพิษ เลือดออกขณะตั้งครรภ เปนบุตรครรภที่ 3 หรือมากกวา มารดามีความสูงนอยกวา 145 เซนติเมตร น้ําหนักระหวางตั้งครรภเพิ่มข้ึนนอยกวา 10 กิโลกรัม มารดาอายุนอยกวา 20 ป และมากกวา 35 ป ปจจัยที่ปกปองการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย คือ การศึกษาของมารดาที่ระดับประถมศึกษาหรือตํ่ากวา และเด็กเพศชาย สวนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดทารก

Page 12: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

3

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

น้ําหนักแรกเกิดนอยในแตละพื้นที่มีความแตกตางกัน กลาวคือ ปจจัยเสี่ยงในพื้นที่อําเภอพนมทวน ไดแก เด็กคลอดจากมารดาตั้งครรภแรก ปจจัยเสี่ยงในอําเภอเทพาไดแก ครรภเปนพิษ เลือดออกขณะตั้งครรภ ความสูงของมารดานอยกวา 145 เซนติเมตร และปจจัยปกปองการเกิดน้ําหนักแรกเกิดนอยไดแก เด็กเพศชาย ปจจัยเสี่ยงในพื้นที่อําเภอกระนวน ไดแก น้ําหนักเพิ่มข้ึนขณะตั้งครรภนอยกวา 10 กิโลกรัม และอายุมารดานอยกวา 20 ป หรือมากกวา 35 ป สวนปจจัยปกปอง คือ เด็กเพศชาย สวนอําเภอเมืองนาน ปจจัยเสี่ยงไดแก ความสูงของมารดานอยกวา 145 เซนติเมตร และน้ําหนักเพิ่มข้ึนขณะตั้งครรภนอยกวา 10 กิโลกรัม สวนปจจัยปกปองไดแก การศึกษาระดับประถมศึกษา หรือนอยกวา เนื่องจากขอมูลในพื้นที่กรุงเทพฯ ยังไมครบถวนจึงยังไมเสนอในรายงานฉบับนี้ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ระบบบริการภาครัฐและเอกชน ควรเนนการดูแลภาวะโภชนาการของผูหญิงตั้งแตระยะเริ่มแรกในชวง

ปฐมวัย ตามดัชนีที่สําคัญ คือ ความสูงตออายุ และดูแลภาวะโภชนาการในขณะตั้งครรภ ตามดัชนีน้ําหนักเพิ่มข้ึนขณะตั้งครรภ ใหเปนไปอยางเหมาะสม

2. จัดระบบการติดตามดูแลครรภอยางใกลชิดในหญิงตั้งครรภที่เปนครรภแรกหรือครรภที่ 3 ข้ึนไป รวมทั้งการเฝาระวังภาวะแทรกซอนขณะตั้งครรภ โดยเฉพาะภาวะครรภเปนพิษ และเลือดออกจากชองคลอดในขณะต้ังครรภ

3. การตั้งครรภในวัยรุนและการตั้งครรภเมื่ออายุมากข้ึนจัดเปนภาวะเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ตองไดรับดูแลเอาใจใสใกลชิด และควรรณรงคลดและปองกันการตั้งครรภในวัยรุน

Page 13: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

4

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

บทนํา ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ซึ่งหมายถึง น้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 2,500 กรัม ยังเปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญปญหาหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากน้ําหนักแรกเกิดนับเปนตนทุนที่สําคัญอยางหนึ่งตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย โดยนโยบายสาธารณสุขแหงชาติไดเล็งเห็นความสําคัญของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยมาตั้งแตแผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ 6 (2530–2534) ซึ่งกําหนดเปาหมายไววา ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยมีไมเกินรอยละ 9 เมื่อป 2534 (กระทรวงสาธารณสุข, 2530) แตผลการดําเนินงานไมสามารถลดอัตราการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยไดตามเปาหมาย โดยลดไดเหลือเพียงรอยละ 9.4 (กรมอนามัย, 2535) ในแผนพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 7 (2535–2359) ไดกําหนดเปาหมายทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยมีไมเกนิรอยละ 7 ผลการดําเนินการสามารถลดอัตราการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย อยูที่รอยละ 8.4 ในปพ.ศ. 2538 (กรมอนามัย, 2539) ในแผนพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 8 (2540–2544) ไดกําหนดเปาหมายทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ใหมีไมเกินรอยละ 7 ซึ่งผลการดําเนินการสามารถลดอัตราการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยเหลือรอยละ 8.8 (กรมอนามัย, 2545) ดังนั้น ในแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 9 (2545–2549) จึงไดกําหนดเปาหมายการลดอัตราการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยไมเกินรอยละ 7 เปนดัชนีวัดผลกระทบของงานสาธารณสุข (กระทรวงสาธารณสุข, 2545) โดยกรมอนามัยมีหนาที่ประสานความรวมมือดําเนินการระหวางหนวยงานตาง ๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย เมื่อส้ินป พ.ศ.2549 ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย มีความเสี่ยงตอการตายในระยะปริกําเนิด และระยะขวบปแรกของชีวิต และยังมีความเสี่ยงตอการเจ็บปวย ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการลาชาในทุกดาน มากกวาเด็กที่มีน้ําหนักแรกเกิดตั้งแต 2,500 กรัมข้ึนไป จากการศึกษาของ Shah D และคณะ (2000) พบวา ทารกที่มีน้ําหนักแรกเกิดต้ังแต 2,000 กรัมข้ึนไป จะมีการตายในระยะปริกําเนิดต่ํากวาทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 2,000 กรัม Aisien AO และ คณะ (2000) วิเคราะหสาเหตุการตายในระยะปริกําเนิดของทารกที่คลอดในระหวางวันที่ 1 มกราคม 1992 ถึง 31 ธันวาคม 1993 ในประเทศไนจีเรียพบวา ทารกที่มีน้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 2,500 กรัม ซึ่งมีถึงรอยละ 18 มีอัตราตายปริกําเนิด 294/การคลอด 1,000 ราย ในขณะที่ทารกที่มีน้ําหนัก 3,000 กรัมข้ึนไป มีอัตราตายปริกําเนิดเพียง 37/การคลอด 1,000 ราย และจากการติดตามการตายของทารกในประเทศสหรัฐอเมริกา ในชวงป คศ. 1975–1988 พบวา อัตราทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยลดลง จากรอยละ 7.39 ในป 1975 เปน 6.93 ใน ป 1998 และเปนสาเหตุการตายของทารกในอัตรา 83.6 ตอการเกิดแสนคน คิดเปนรอยละ 8.4 ของการตายทั้งหมดของทารก (Luke B และคณะ, 1993) การศึกษาของ Stanley FJ และ Alberman EV (1978) เกี่ยวกับอัตราตายของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 2,000 กรัม ในกรุงลอนดอน พบวา มีอัตราตายในชวง 28 วันแรก สูงถึง 303.5 ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน เชนเดียวกับการศึกษาของ YU VY และ Wood C (1978) พบวาอัตราตายปริกําเนิดจะสูงมากขึ้นหากน้ําหนักแรกเกิดนอยลง โดยทารกที่มีน้ําหนักแรกเกิด 501–1,000 กรัม จะมีอัตราตายรอยละ 52 ของเด็กกลุมนี้ และทารกที่มีน้ําหนักแรกเกิด 1,001–1,500 กรัม จะมี

Page 14: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

5

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

อัตราตายรอยละ 20 ของเด็กกลุมนี้ และในเด็กที่มีน้ําหนักแรกเกิดนอยหากคลอดกอนกําหนด (prematurity) จะยิ่งมีอัตราตายสูงขึ้น (Hack, M., and Fanaroff, A.A, 2000) การศึกษาผลกระทบของการมีน้ําหนักแรกเกิดนอยในประเทศไทย เชน ประภาพ ยุทธิวิสุทธิ และคณะ (2527) ศึกษาอุบัติการการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในโรงพยาบาลพระปกเกลา จ.จันทบุรี ระหวางเดือนกันยายน 2526 ถึงกุมภาพันธ 2527 พบทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย 198 ราย (รอยละ 9.1) โดยรอยละ 3.8 เปนทารกคลอดกอนกําหนด และรอยละ 5.3 เปนทารกคลอดครบกําหนดแตน้ําหนักนอย (Small for Gestational Age - SGA) และพบวาทารกคลอดกอนกําหนดจะมีอัตราตาย (144.6 ตอ 1000 เกิดมีชีพ) สูงกวากลุมคลอดครบกําหนด SGA (34.9 ตอ 1000 เกิดมีชีพ) สาเหตุการตายของทารกคลอดกอนกําหนดคือ Birth asphyxia และ Respiratory Distress Syndrome (RDS) สวนกลุม SGA มีสาเหตุการตายจาก Sepsis และ Birth asphyxia สอดคลองกับการศึกษาของ Koothavonrerk, M. (1994) ที่ศึกษาการปวยการตายของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในโรงพยาบาลสงขลานครินทร ในชวงป ค.ศ.1987–1990 พบทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยรอยละ 7.35 และอัตราปวยของเด็กที่มีอายุครรภสัมพันธกับน้ําหนักแรกเกิดและเด็กที่มีอายุครรภไมสัมพันธกับน้ําหนักแรกเกิด ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยภาวะเจ็บปวยที่พบบอยคือ Birth asphyxia, Sepsis และ Hyperbilirubinemia นอกจากนั้นพบวาอัตราตายของเด็กทั้ง 2 กลุมไมแตกตางเชนกัน โดยพบอัตราตายรอยละ 6.3 ซึ่งรอยละ 75 จะเสียชีวิตในชวง 7 วันแรก สาเหตุการตายที่สําคัญไดแก Asphyxia, Sepsis, Respiratory Distress Syndrome การที่ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยตายในสัดสวนที่สูงถือเปนการตั้งครรภที่สูญเปลา กอใหเกิดความเศราโศกตอครอบครัว มีผลกระทบตอภาวะการเจริญพันธุและเศรษฐกิจในภาพรวม นอกจากนี้ ทารกที่มีน้ําหนักแรกเกิดนอยยอมมีตนทุนต่ํา จึงมีความเสี่ยงตอการเจ็บปวยในระยะตอมาในสัดสวนที่สูงกวาเด็กที่มีน้ําหนักปกติ และจะตองไดรับการดูแลเอาใจใสเปนพิเศษ เพื่อใหมีการเจริญเติบโต และพัฒนาการปกติ จากการศึกษาของ Powls A และคณะ (1996) ซึ่งติดตามเด็กที่มีน้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 1,500 กรัมไปเปนระยะเวลา 12 ป พบวา เด็กมีความสูง น้ําหนัก และเสนรอบศีรษะ ตํ่ากวามาตรฐาน และเขาสูวัยรุนชากวา และเด็กที่มีศีรษะเลก็จะมีความสัมพันธกับระดับ IQ ความสามารถในเชิงคณิตศาสตรและการอาน การศึกษาของ Bavdekar A.R. และคณะ (1994) ซึ่งติดตามการเติบโตของเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยไปเปนระยะเวลา 4 ป พบวา มีเพียงรอยละ 30.8 ที่มีน้ําหนักตออายุในเกณฑปกติเมื่ออายุ 4 ป และปจจัยสําคัญที่ทําใหการเติบโตเปนไปไดดีเพียงใดข้ึนกับ น้ําหนักและสวนสูงของเด็กเมื่ออายุ 1 ป และความสูงของมารดา การศึกษาของ Jaruratanasirikul S และคณะ (1999) ซึ่งติดตามเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยถึงอายุ 2 ป เด็กทุกคนสามารถเติบโตเขาสูเกณฑปกติโดยมีน้ําหนัก เหนือคา – 2SD เมื่ออายุ 2 ป สวนการศึกษาของ van der Mei J และคณะ (2000) ติดตามเด็กน้ําหนักนอยไปจนอายุ 9 ป พบวาเด็กเหลานี้มีปญหาสุขภาพและโภชนาการบอย สวนดานพัฒนาการ จากการศึกษาของ Kelly, Y.J. และคณะ (2001) ซึ่งติดตามเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยไปจนอายุ 4-15 ป พบวา น้ําหนักทารกแรกเกิดเปนตัวทํานายที่สําคัญของพฤติกรรมเด็กในระยะตอมา นอกจากนั้นทารกน้ําหนักแรกเกิด

Page 15: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

6

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

นอยมีความเสี่ยงที่จะเกิดปญหาสุขภาพจิต ปญหาสุขภาพทั่วไป และปญหาในดานการเรียนมากกวา (Zubrick, S.R. และคณะ, 2000; Resnick, M.B. และคณะ, 1999; Tideman, E., 2000; Wang, S.T. และคณะ, 1998; O’Callaghan, M.J. และคณะ, 1996; Marlow, N. และคณะ, 1993; Weisglas–Kuperus, N. และคณะ, 1993; Ross, G. และคณะ, 1991) มีปญหาการรับรูและการใชกลามเนื้อ และการมีสมาธิ (Torrioli, M.G. และคณะ, 2000; Keller, H. และคณะ, 1998; Powls, A. และคณะ, 1995; Marlow, และคณะ, 1993) มีปญหาดานสติปญญา (Litt, R. และคณะ, 1995) และปญหาทักษะทางสังคม (Hoy, E.A. และคณะ, 1992) มากกวาเด็กน้ําหนักแรกคลอดปกติ ผลกระทบที่เกิดขึ้นดังกลาวมักมีผลตอเนื่องระยะยาว (McGauhey, P.J. และคณะ, 1991) ซึ่งมีผลตอความผาสุกของครอบครัว เนื่องจากครอบครัวตองคอยดูแลอยางใกลชิดตลอดเวลา ตองใชจายในการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะหากครอบครัวดังกลาวเปนครอบครัวที่มีเศรษฐานะต่ําอยูแลว (Bartley, M. และคณะ, 1994) ดังนั้นการปองกันการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยจึงเปนสิ่งจําเปน และการที่จะปองกนัปญหานี้ไดจําเปนตองเขาใจถึงสาเหตุหรือปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ซึ่งมีผูศึกษาในเรื่องนี้ในประเทศตาง ๆ ตอเนื่องมาโดยลําดับ ปจจัยเสี่ยงที่มีผลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยอาจแบงออกเปนกลุมหลัก ๆ ไดดังนี้ (Luke, B. และคณะ, 1993) 1. ปจจัยดานหญิงตั้งครรภ ซึ่งครอบคลุมทั้งปจจัยดานประชากร ดานพฤติกรรม และดานการแพทย ไดแก

อายุ (Jolly, M. และคณะ, 2000; Feleke, Y., และ Enquoselassie, F., 1999; Kumbi, S. และ Isehak, A., 1999; Forssas, E. และคณะ, 1999; LaoTT, และ Ho, L.F., 1997; Klufio, C.A., และคณะ, 1997; Karim, E., และ Mascie–Tayler, C.G., 1997; Jacobson, G., และคณะ, 1997; Jacobson, G., และคณะ, 1997; Du Plessis, H.M., และคณะ, 1997; Wessel, H., และคณะ, 1996) ความสูง (Zimmer-Gembick, M.J., และ Helfand, M., 1996) น้ําหนักกอนการตั้งครรภ (Ruijter, I., และ Miler, J.M., 1999; Ogunyemi, D., และคณะ, 1998; Ngare, D.K., และ Keumann, C., 1998; Kirchengast, S., และ Hartmann, B., 1998; Sayers, S., และ Powers, J., 1997; Karim, E., และ Mascie–Tayler, C.G., 1997) ภาวะโลหิตจาง (Ngare, D.K., และ Keumann, C., 1998) โรคประจําตัว เชนเบาหวาน (Forssas, E., และคณะ, 1999) ประวัติการตั้งครรภที่ผานมา เชนทารกตายคลอด (Forssas, E., และคณะ, 1999; Walraven, G.E., และคณะ, 1997; Klufio, C.A., และคณะ, 1997; Sharmar, R., และคณะ, 1994) เคยคลอดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย (Ogunyemi, D., และคณะ, 1998; Klufio, C.A., และคณะ, 1997; Wessel, H., และคณะ, 1996; Bratton, S.L., และคณะ, 1996) เคยแทง (Basso, O., และคณะ, 1998) เคยคลอดกอนกําหนด (Orr, S.T., และคณะ, 1996) ภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ เชนครรภเปนพิษ (Klufio, C.A., และคณะ, 1997; Wessel, H., และคณะ, 1996; Orr, S.T., และคณะ, 1996) น้ําหนักเพิ่มข้ึนในระยะตั้งครรภ (Rondo, P.H., และคณะ, 1997; Ceesay, S.M., และคณะ, 1997; Sharmar, R., และคณะ, 1994) การปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ (Wergeland, E., และคณะ, 1998) การศึกษาของมารดา

Page 16: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

7

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

(Cheung, Y.B., and Yip, S.F., 2001; Karim, E., และ Mascie–Tayler, C.G., 1997; Jacobson, G., และคณะ, 1997) สถานภาพทางสังคมของครอบครัว (Kelly, Y.J., และคณะ, 2001; Forssas, E., และคณะ, 1999; Ngare, D.K., และ Keumann, C., 1998; Koupilova, I., และคณะ, 1998; Orr, S.T., และคณะ, 1996) รายได (Rondo, P.H., และคณะ, 1997; Karim, E., และ Mascie–Tayler, C.G., 1997) ลักษณะอาชีพ (Savitz, D.A., และคณะ, 1996) การฝากครรภ (Ruijter, I., และ Miler, J.M., 1999; Malik, S., และคณะ, 1997; Klufio, C.A., และคณะ, 1997; Barros, H., และคณะ, 1996; Sharmar, R., และคณะ, 1994) การสูบบุหร่ี (Andres, R.L., และ Day, M.C., 2000; Forssas, E., และคณะ, 1999; Ogunyemi, D., และคณะ, 1998; Maruoka, K., และคณะ, 1998; Schramm, W.F., 1997; Rondo, P.H., และคณะ, 1997; Jacobson, G., และคณะ, 1997; Zimmer–Gembick, M.J., และ Helfand, M., 1996; Orr, S.T., และคณะ, 1996; Sharmar, R., และคณะ, 1994; Mainous, A.G., และ Hueston, W.J., 1994) การดื่มเหลา (Ruijter, I., และ Miler, J.M., 1999; Rondo, P.H., และคณะ, 1997) เปนตน

2. ปจจัยดานเด็ก ไดแก เด็กเพศหญิง (Feleke, Y., และ Enquoselassie, F., 1999) ครรภแรก (Feleke, Y., และ Enquoselassie, F., 1999; Forssas, E., และคณะ, 1999; Maruoka, K., และคณะ, 1998; Walraven, G.E., และคณะ, 1997; Malik, S., และคณะ, 1997; Wessel, H., และคณะ, 1996) ระยะหางระหวางตั้งครรภ (Adams, M.M., และคณะ, 1997) เปนตน

การศึกษาในประเทศไทยสวนใหญเกี่ยวกับปจจัยเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย สวนการติดตามผลกระทบในระยะยาวมีนอย ไดแก อนงค นนทสุต และคณะ (1986) ศึกษาความสัมพันธระหวางความสูงและน้ําหนักของมารดาตอน้ําหนักแรกเกิดของทารก โดยเก็บขอมูลยอนหลังของการคลอดระหวางเดือนมกราคม 1982 ถึงธันวาคม 1983 ที่โรงพยาบาลแมและเด็ก 7 แหง และโรงพยาบาลศูนย 2 แหง เฉพาะเด็กครรภเดี่ยวจํานวน 51,411 ราย แบงความสูงของมารดาออกเปน 7 กลุม คือ นอยกวา 140 ซ.ม., 140 ถึง 144.9 ซ.ม., 145 ถึง 149.9 ซ.ม., 150 ถึง 154.9 ซ.ม., 155 ถึง 159.9 ซ.ม., 160 ถึง 164.9 ซ.ม. และ 165 ซ.ม. ข้ึนไป และแบงน้ําหนักของมารดาออกเปน 8 กลุม คือ ตํ่ากวา 40 กิโลกรัม, 40 ถึง 44.9, 45 ถึง 49.9, 50 ถึง 54.9, 55 ถึง 59.9, 60 ถึง 64.9, 65 ถึง 69.9 และ 70 กิโลกรัม ข้ึนไป ผลการศึกษาพบวาความสูงและน้ําหนักของมารดามีความสัมพันธเชิงบวกกับน้ําหนักแรกเกิดของทารก ทัสสนี นุชประยูร และคณะ (2530) ศึกษาปจจัยมารดาที่มีผลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยที่คลอดครบกําหนดและเปนครรภเดี่ยวในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณและโรงพยาบาลพนัสนิคม ระหวางเดือนตุลาคม พ.ศ.2527 ถึง พ.ศ.2529 จํานวน 201 ราย เปรียบเทียบกับทารกที่คลอดครบกําหนดและมีน้ําหนัก 2500 ถึง 4000 กรัม พบวา ปจจัยที่มีผลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยโดยลําดับไดแก มารดาไมมีรายได ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ อาศัยอยูในโรงงาน มีประวัติตกใจกลัวในขณะตั้งครรภ การตั้งครรภแรก การไมฝากครรภ และน้ําหนักเพิ่มข้ึนขณะตั้งครรภนอยกวา 10 กิโลกรัม

Page 17: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

8

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

รุงโรจน พิมพใจพงษ และคณะ (2531) วิเคราะหน้ําหนักแรกเกิดของเด็ก 894 คน ซึ่งตรวจที่คลีนิคเด็กดี โรงพยาบาลอุดรธานี ระหวางเดือนมกราคม ถึง กุมภาพันธ 2530 พบมีเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 2500 กรัม รอยละ 6 และพบวาเด็กที่มารดาอายุนอยกวา 20 ป และฝากครรภนอยกวา 4 คร้ัง หรือไมฝากครรภ จะคลอดทารกน้ําหนักแรกคลอดเฉลี่ย นอยกวาเด็กที่มารดาอายุมากกวา 20 ป และฝากครรภ 4 คร้ังขึ้นไป อยางมีนัยสําคัญ สมศักดิ์ สุทัศนวรวุฒิ และกําแหง จาตุรจินดา (1988) ศึกษาปจจัยเสี่ยงตอการเกิดทารกน้าํหนกัแรกเกิดนอย ในโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยการศึกษายอนหลังระหวางเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอย 641 ราย เปรียบเทียบกับเด็กน้ําหนักแรกเกิดปกติ 8,659 ราย ที่คลอดระหวางเดือน กันยายน ค.ศ.1977 ถึง มีนาคม ค.ศ.1979 พบปจจัยเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยคือ มารดาอายุนอยกวา 20 ป ต้ังครรภแรก การศึกษาของมารดานอยกวา 4 ป ไมไดฝากครรภหรือฝากครรภนอยกวา 7 คร้ัง มีประวัติคลอดกอนกําหนดในครรภกอน และการตั้งครรภแฝด สมพล พงศไทย และคณะ (1988) ศึกษาความสัมพันธระหวางน้ําหนักของมารดา เมื่ออายุครรภนอยกวา 20 สัปดาห และสวนสูงของมารดา จากขอมูลยอนหลังจํานวน 8,322 ราย พบวา ทารกของมารดาที่อวนและสูง จะมีน้ําหนักแรกคลอดมากกวาทารกของมารดาที่ผอมเตี้ย พรพจน หอสุวรรณศักดิ์ (2533) ศึกษาจํานวนครั้งของการฝากครรภตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในโรงพยาบาลภูมิพล อดุลยเดช ชวงเดือนกรกฎาคม 2531 ถึงมิถุนายน 2532 โดยการศึกษาแบบ Case-control Study ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยจํานวน 65 ราย และกลุมควบคุมจํานวน 180 ราย ผลการศึกษาพบวา การฝากครรภนอยกวา 4 คร้ัง มีความเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย เปน 14.1 เทา ของแมที่มาฝากครรภ 4 คร้ัง ข้ึนไป สวนการศึกษาของสินาท พรหมมาศ (2533) เกี่ยวกับปจจัยเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ในระหวางเดือนมกราคม พ.ศ.2528 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ.2530 เปรียบเทียบระหวางทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยจํานวน 597 ราย และทารกน้ําหนักแรกเกิดปกติจํานวนเดียวกัน พบวาปจจัยเสี่ยงของการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยไดแก มารดาอายุนอยกวา 19 ป และมากกวา 35 ป ต้ังครรภแรกหรือครรภที่ 4 ข้ึนไป มีประวัติแทงบุตรหรือคลอดเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยมากอน ระยะชวงหางระหวางครรภนอยกวา 6 เดือน น้ําหนักเพิ่มข้ึนระหวางตั้งครรภนอยกวา 10 กิโลกรัม ระดับฮีมาโครคริตนอยกวา 30 Vol% มีเลือดออกจากชองคลอดขณะตั้งครรภ หรือครรภเปนพิษ สวนเพศเด็กไมพบเปนปจจัยเสี่ยงที่มีนัยสําคัญ สุบิน ศิริสังขไชย (2535) เปรียบเทียบปจจัยที่มีผลกระทบตอน้ําหนักแรกคลอดระหวางมารดาที่ฝากครรภและไมฝากครรภ โรงพยาบาลสกลนคร โดยศึกษาขอมูลยอนหลัง จากสมุดทะเบียนบันทึกการคลอดระหวาง 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ.2534 พบวาคาเฉลี่ยของน้ําหนักทารกแรกคลอด กลุมที่คลอดเมื่ออายุครรภนอยกวา 37 สัปดาห (คลอดกอนกําหนด) และที่คลอดอายุครรภต้ังแต 37 สัปดาหข้ึนไป (คลอดครบกําหนดแตน้ําหนักนอย) จําแนกตามการฝากครรภ และไมฝากครรภ มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง

Page 18: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

9

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

สถิติ และจํานวนครั้งของการฝากครรภมีผลตอน้ําหนักแรกคลอดของเด็กทั้ง 2 กลุม สวนอายุของมารดามีผลตอน้ําหนักแรกคลอดในกลุมที่คลอดครบกําหนดแตตัวเล็ก แตไมมีผลตอกลุมคลอดกอนกําหนด การศึกษาของชูชาติ นันทโนภาส (2535) เกี่ยวกับปจจัยเสี่ยงตอการเกิดทารกแรกเกิดน้ําหนักนอยที่โรงพยาบาลครบุรี จังหวัดนครราชสีมา ระหวางเดือนตุลาคม พ.ศ.2533 ถึงกันยายน พ.ศ.2534 พบวาปจจัยเสี่ยงคือ การฝากครรภนอยกวา 4 คร้ัง หรือไมฝากครรภ อายุครรภนอยกวา 37 หรือมากกวา 41 สัปดาห ครรภแรกหรือครรภที่ 4 ข้ึนไป มารดาอายุนอยกวา 17 ป หรือมากกวา 35 ป นฤทธิ์ อนพรอม (2539) ศึกษาปจจัยเสี่ยงของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ในครรภเดี่ยวที่มาคลอดในโรงพยาบาลพระนั่งเกลาในชวงวันที่ 1 มากราคม พ.ศ.2537 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ.2538 มีทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย 455 ราย เปรียบเทียบกับทารกน้ําหนักแรกเกิดปกติ จํานวน 910 ราย ที่เกิดในชวงเดียวกัน พบปจจัยเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยคือ อายุครรภนอยกวา 37 สัปดาห มารดาดื่มสุรา สูบบุหร่ี และติดสารเสพติดขณะตั้งครรภ มารดามีประวัติการคลอดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในครรภกอน ครรภเปนพิษ ประวัติเคยผาตัดคลอด คาฮีมาโตคริตในเลือดระหวางตั้งครรภนอยกวารอยละ 33 ฝากครรภนอยกวา 4 คร้ัง หรือไมมาฝากครรภ ความสูงของมารดานอยกวา 150 เซนติเมตร ชวงหางระหวางครรภนอยกวา 3 ป มารดาต้ังครรภแรก และมารดาอายุนอยกวา 20 ป สวนเพศเด็ก การศึกษาของมารดาและรายไดไมพบเปนปจจัยเสี่ยงที่มีนัยสําคัญ ธาดา ศรีสงคราม (2540) ศึกษาปจจัยดานสังคมเศรษฐกิจ ที่มีผลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย พบทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยรอยละ 10.5 หากมารดามีอายุนอยกวา 20 ปจะคลอดบุตรน้ําหนักแรกเกิดนอยรอยละ 13.8 ซึ่งสูงกวามารดาที่มีอายุมากกวา 20 ป มารดาที่ไมมีการศึกษา หรือการศึกษาต่ํากวาประถมศึกษา จะมีบุตรน้ําหนักแรกเกิดนอย รอยละ 28 และ 25.7 ตามลําดับ ซึ่งสูงกวามารดาที่จบการศึกษาสูงกวา อาชีพทํานาจะมีบุตรน้ําหนักแรกเกิดนอยสัดสวนที่สูงกวาอาชีพคาขายสวนตัวหรือรับราชการ (รอยละ 24.5 และ 1.9 ตามลําดับ) เชนเดียวกับ ครอบครัวที่มีรายไดนอยกวา 2,000 บาทตอเดือน จะเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยถึงรอยละ 30.6 สูงกวากลุมที่มีรายไดมาก สมรักษ วงศสังข (2541) ศึกษาทารกน้ําหนักตัวนอยในโรงพยาบาลสมุทรปราการ ที่คลอดระหวางเดือนตุลาคม พ.ศ.2536 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2539 พบทารกครรภเดี่ยวมีน้ําหนักแรกเกิดนอย รอยละ 9.4 ปจจัยที่มีผลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยคือ เด็กเพศชาย มารดาอายุนอยกวา 24 ป ครรภแรก ฝากครรภนอยกวา 4 คร้ัง และครรภเปนพิษ สวนสําเภา นภีวงศ (2541) ศึกษาปจจัยเสี่องตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในโรงพยาบาลหนองจอก กรุงเทพฯ ที่คลอดระหวางเดือนตุลาคม พ.ศ.2539 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2540 โดยการศึกษาแบบ Case – control Study พบปจจัยเสี่ยงคือ มารดาอายุนอยกวา 20 ป หรือมากกวา 35 ป และการฝากครรภนอยกวา 4 คร้ัง

Page 19: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

10

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

การศึกษาของ เรณู ศรีสมิต และคณะ (2541) เกี่ยวกับแนวโนมและปจจัยเสี่ยงของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในโรงพยาบาลเชียงราย ประชานุเคราะห ที่คลอดระหวางป พ.ศ.2533 ถึง มิถุนายน 2540 โดยวิเคราะหขอมูลยอนหลังจากสมุดระเบียนหองคลอด หากเปนครรภแฝดจะนับเฉพาะน้ําหนักของบุตรคนแรก จากขอมูลน้ําหนักแรกคลอดทั้งหมด 40,515 ราย มีทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยรวมรอยละ 9.8 โดยอัตราดังกลาวอยูระหวางรอยละ 9.1 ถึง 10.6 ในชวงป พ.ศ.2533 ถึง 2540 ปจจัยเสี่ยงของการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ไดแก มารดาอายุนอยกวา 20 ป หรือ 35 ปข้ึนไป อายุครรภนอยกวา 37 สัปดาห ต้ังครรภแรก คลอดครรภแฝด เด็กเพศหญิง ไมมีบันทึกการฝากครรภ และมารดามีผลเลือดบวกตอ VDRL และ HIV สวนผลลัพธของการคลอด พบวา APGAR score มี 5 นาที ตํ่ากวา 7 คะแนน สูงกวาทารกน้ําหนักแรกคลอดปกติ และเด็กเหลานี้จะมีประวัติการใชหัตถการนอยกวา ผลการศึกษาในประเทศไทยที่กลาวมาคลายคลึงกับการศึกษาในตางประเทศ อยางไรก็ตามในแตละประเทศหรือแตละสังคม ปจจัยเสี่ยงที่สําคัญตอการเกิดทารกแรกเกิดน้ําหนักนอยยอมแตกตางกันออกไป หรือแมแตในประเทศเดียวกันแตแตกตางพื้นที่ การศึกษาวิเคราะหรายละเอียดเกี่ยวกับปจจัยเสี่ยงในแตละพื้นที่จึงมีความจําเปนเพื่อจะไดกําหนดกลยุทธในการแกปญหาไดอยางถูกตองและตรงประเด็น พรอมทั้งติดตามชวยเหลือครอบครัว ใหมีความสามารถในการดูแลเด็กกลุมนี้ใหมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆ จึงเห็นความสําคัญของ การศึกษาระยะยาวใน 5 พื้นที่ของประเทศไทย เพื่อวิเคราะหเปรียบเทียบปจจัยเสี่ยงที่มีผลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย และติดตามผลกระทบของภาวะเสี่ยงนี้ไปอยางตอเนื่องระยะยาว ในรายงานนี้นําเสนอขอมูลใน 4 พื้นที่ในคําถามการวิจัยขอที่ 1 ยกเวนพื้นที่กรุงเทพมหานคร เนื่องจากการเก็บรวบรวมขอมูลยังไมครบถวน และวิธีการรวบรวมขอมูลแตกตางจากพื้นที่อ่ืน

คําถามการวิจัย 1. อุบัติการณทารกน้ําหนกัแรกเกิดนอยในพืน้ที่ศึกษาเปนอยางไร และมีปจจัยอะไรบางทีเ่สี่ยงตอการเกิด

ทารกน้ําหนกัแรกเกิดนอย มีความแตกตางในแตละพื้นที่หรือไม 2. การเติบโตของทารกน้าํหนักแรกเกิดนอยเปนอยางไร ไดแก น้ําหนัก สวนสงู ความยาวรอบศีรษะ ความยาว

รอบอก พฒันาการของฟน แนวโนมในการเขาสูเกณฑปกติเปนอยางไร เมื่อเทียบกบัเด็กน้ําหนักแรกคลอดปกติ

3. สภาวะความเจ็บปวย การไดรับอุบัติเหตุ สุขภาพโดยทั่วไป และพฤติกรรมสุขภาพ ของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในแตละชวงอายุเปนอยางไร

4. พัฒนาการดานสติปญญา ของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในแตละชวงอายุเปนอยางไร

Page 20: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

11

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

5. พัฒนาการดานจิตสังคมของเด็ก พื้นฐานอารมณ ตลอดจนบุคลิกภาพ และสุขภาพจิต ของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในแตละชวงอายุเปนอยางไร

6. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การศึกษาตอ การทํางาน ลักษณะงานที่ทํา ของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยเปนอยางไร เมื่อเติบโตไปตามชวงวัย

7. ลักษณะการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวตอเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยในแตละชวงวัยเปนอยางไร 8. ปจจัยอะไรบางที่ทําใหเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยมีพัฒนาการรอบดาน

วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาอุบัติการณ และปจจัยเสี่ยงของทารกน้าํหนักแรกเกิดนอย ในภาพรวม และเปรียบเทยีบระหวาง

พื้นที่ความแตกตางในแตละพื้นที่ 2. ติดตามการเปลี่ยนแปลงของ น้ําหนกั สวนสงู ความยาวรอบศีรษะ ความยาวรอบอก เปนระยะ เพื่อดู

แนวโนมในการเขาสูเกณฑปกติ 3. ติดตามสุขภาพชองปาก สภาวะความเจ็บปวย การไดรับอุบัติเหตุ สุขภาพโดยทั่วไป และพฤติกรรมสุขภาพ

ของทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวนอย เทียบกับทารกน้ําหนักปกติ 4. ติดตามพัฒนาการดานสตปิญญา ดานจิตสังคมของเด็ก และพื้นฐานอารมณ ตลอดจนบุคลิกภาพ และ

สุขภาพจิตของทารกแรกเกดิน้ําหนักตวันอย 5. ติดตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การศึกษาตอ การทํางาน ลักษณะงานที่ทํา 6. ติดตามลักษณะการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวตอเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยในแตละชวงวัย 9. ศึกษาปจจัยที่ที่ทําใหเด็กน้ําหนักแรกเกิดนอยมีพัฒนาการรอบดาน

วิธีการศึกษา ดูรายละเอียดวิธีการศึกษาของโครงการในรายงานการวิจัยของจันทรเพ็ญ ชูประภาวรรณ และคณะ สําหรับตัวแปรน้ําหนักแรกเกิดของทารก จัดเก็บใน 2 ลักษณะ คือ เด็กที่คลอดที่โรงพยาบาล จะไดรับการชั่งน้ําหนักแรกเกิดและบันทึกลงใน แบบบันทึกของโครงการ สวนกรณีที่เด็กไมไดคลอดที่โรงพยาบาล ผูชวยนักวิจัยจะติดตามไปชั่งน้ําหนักเด็ก ภายใน 3 วันหลังคลอด ทารกที่ศึกษาครั้งนี้เฉพาะทารกครรภเดี่ยวเทานั้น ตัวแปรปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในการศึกษานี้ แบงออกเปน 1. ปจจัยอนามัยเจริญพันธุ ไดแก ภาวะแทรกซอนขณะมารดาตั้งครรภปจจุบัน คือ ครรภเปนพิษ และ

เลือดออกทางชองคลอด ลําดับครรภ ประวัติสูติกรรมในครรภที่ผานมา เชน การแทง การคลอดกอนกําหนด และเด็กตายคลอด

Page 21: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

12

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

2. โรคประจําตัว หรือภาวะเจ็บปวย ขณะมารดาตั้งครรภ ซึ่งประกอบดวย โรคเบาหวาน หัวใจ ทัยรอยด ตับอักเสบ ชิฟลิส ติดเชื้อเอชไอวี ภูมิแพ วัณโรค โรคเลือด และความพิการ ทั้งนี้ หากมารดามีโรคใดโรคหนึ่งที่กลาวมา ถือวามีโรคประจําตัว

3. ภาวะโภชนาการของมารดา ในที่นี้ใชตัวชี้วัดความสูงวัดกอนการตั้งครรภ โดยแบงเปน 2 กลุมคือ กลุมที่ ความสูงนอยกวา 145 เซนติเมตร และความสูง 145 เซนติเมตร ข้ึนไป และตัวชี้วัดน้ําหนักที่เพิ่มข้ึนขณะต้ังครรภ ซึ่งในที่นี้ใชน้ําหนักที่มารดาระบุกอนตั้งครรภเปรียบเทียบกับน้ําหนักเมื่อบันทึกไวกอนคลอด แบงออกเปน 2 กลุมคือ น้ําหนักเพิ่มข้ึนนอยกวา 10 กิโลกรัม และเพิ่มข้ึนตั้งแต 10 กิโลกรัม ข้ึนไป

4. ปจจัยดานประชากรและสังคม ไดแก อายุ และ การศึกษาของมารดา ความเพียงพอของรายไดครอบครัว การเปนเจาของที่อยูอาศัย และความตองการมีบุตรของมารดา

5. ปจจัยดานเด็ก คือ เพศของเด็ก ในการศึกษาครั้งนี้ ไมไดนําปจจัยดานพฤติกรรม เชน การสูบบุหร่ี หรือด่ืมเหลา ขณะตั้งครรภมาพิจารณา เนื่องจากหญิงตั้งครรภที่มีพฤติกรรมดังกลาวมีจํานวนนอย ไมเพียงพอตอการวิเคราะหแยกรายพื้นที่ สวนจํานวนครั้งของการฝากครรภ ยังอยูในชวงวิเคราะหรายละเอียด จึงยังไมมีขอมูลการฝากครรภที่สมบูรณ และเนื่องจากการตรวจระดับฮีมาโตคริตในเลือดของหญิงตั้งครรภในระบบการฝากครรภปกติ ในการศึกษานี้มีเพียง 1 ใน 3 จึงตัดปจจัยนี้จากการวิเคราะหในครั้งนี้ วิธีวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยใช Multiple Logistic Regression. ที่ p value < 0.05

ผลการศึกษาในระยะที่ 1 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย

1. อุบัติการณทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย การศึกษาใน 4 พื้นที่ของโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย คือ อําเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา อําเภอกระนวน จังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดนาน (ยกเวน กรุงเทพมหานคร) มีทารกเกิดมีชีพครรภเดี่ยวซึ่งมีขอมูลน้ําหนักเมื่อแรกเกิดจํานวน 3,374 คน ความครอบคลุมรอยละ 94.8 ของเด็กที่คลอดในโครงการฯ พบทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยจํานวน 296 ราย หรือรอยละ 8.8 เมื่อแยกวิเคราะหรายพื้นที่ พบวาพื้นที่ที่มีอุบัติการณของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย มากที่สุดคือ อําเภอกระนวน (รอยละ 10.6) รองลงมาคือ อําเภอเมืองนาน อําเภอเทพา และอําเภอพนมทวน คือรอยละ 8.8, 8.4 และ 7.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 1) และเมื่อแยกรายละเอียดน้ําหนักแรกเกิดในทารกแรกเกิดน้ําหนักนอย คือ น้ําหนักระหวาง 2,000 ถึงต่ํากวา 2,500 กรัม, 1,500 ถึง 1999 กรัม, 1,000 ถึง 1,499 กรัม และต่ํากวา 1,000 กรัม พบวาสวนใหญรอยละ 80.1 มีน้ําหนักอยูระหวาง 2,000 ถึงต่ํากวา 2,500 รอยละ 13.5 มีน้ําหนักแรกเกิดระหวาง 1,500 ถึง 1,999 กรัม รอยละ 5.4 มีน้ําหนักแรกเกิดระหวาง 1,000 ถึง 1,499 กรัม และมีเพียงรอยละ

Page 22: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

13

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

1 ที่มีน้ําหนักแรกเกิดนอยกวา 1,000 กรัม และเมื่อแยกวิเคราะหในแตละพื้นที่จะเห็นวา ถึงแมพื้นที่อําเภอกระนวนจะมีอัตราทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยสูงกวาพื้นที่อ่ืน ๆ แตรอยละ 84.1 มีน้ําหนักในระหวาง 2,000 ถึงตํ่ากวา 2,500 กรัม ในขณะที่พื้นที่เมืองนานมีเด็กน้ําหนักระหวาง 1,000 ถึง 1,499 กรัม ในสัดสวนที่สูงกวาพื้นที่อ่ืนคือรอยละ 11.8 และพื้นที่พนมทวนและเทพามีเด็กน้ําหนักระหวาง 1,500 ถึง 1,999 กรัม ในสัดสวนที่สูงกวาพื้นที่อ่ืน คือรอยละ 19.6 และ 14.3 ตามลําดับ (ตารางที่ 2) ในตารางที่ 3 แสดงสภาวะการคลอดและสุขภาพในระยะปริกําเนิดของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยแยกตามพื้นที่ พบวา รอยละ 17.9 ของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยคลอดวิธีผิดปกติ โดยพบสัดสวนสูงที่อําเภอเมืองนาน (รอยละ 29.9) สวนอําเภอเทพาพบสัดสวนต่ําที่สุด (รอยละ 8.5) ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยรอยละ 93.6 หลังคลอด 5 นาทีมีคะแนน APGAR 8-10 คะแนน เพียงรอยละ 2.3 ที่มีคะแนน APGAR ที่ 5 นาที 0-3 คะแนน ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยที่อําเภอเมืองนานมีคะแนน APGAR ที่ 5 นาที ตํ่ากวา 8 คะแนนในสัดสวนที่สูงกวาอําเภออื่น ทารกกลุมนี้ในทุกพื้นที่มีน้ําหนักแรกเกิดเฉลี่ยใกลเคียงกัน น้ําหนักแรกเกิดนอยที่สุด คือ 855 กรัม มีความยาวแรกเกิดเฉลี่ย 45.84 เซนติเมตร ความยาวรอบศีรษะแรกเกิดเฉลี่ย 31.26 เซนติเมตร สวนความยาวรอบอกแรกเกิดเฉลี่ย คือ 29.24 เซนติเมตร เมื่อเปรียบเทียบระหวางพื้นที่ จะพบวาทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยที่อําเภอเมืองนานมีความยาวแรกเกิดเฉลี่ยนอยที่สุด คือ 45.29 เซนติเมตร และความยาวรอบศีรษะแรกเกิดเฉลี่ยนอยที่สุดคือ 30.62 เซนติเมตร เมื่อแรกเกิด ทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยรอยละ 7.1 มีการเจ็บปวยในระยะแรกเกิด และที่อําเภอเมืองนาน (รอยละ 16.2) พบในสัดสวนที่สูงกวาอําเภออื่น การเจ็บปวยที่พบมากคือ Respiratory distress syndrome และ Sepsis (ตารางที่ 4) ทารกเพศชายมีอุบัติการณทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยรอยละ 7.3 สวนทารกเพศหญิงมีอุบัติการณทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยรอยละ 10.3 (ตารางที่ 5) ในกลุมทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยเปนเพศหญิงตอเพศชายในอัตราสวน 3:2 (ตารางที่ 6) สวนคา APGAR ที่ 5 นาทีของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ซึ่งมีขอมูล 264 ราย พบวารอยละ 93.6 มีคา APGAR อยูในเกณฑดี (8-10 คะแนน) แสดงในตารางที่ 7 เมื่อเปรียบเทียบวิธีคลอดของทารกที่มีน้ําหนักตาง ๆ กัน ซึ่งมีขอมูล 273 ราย พบวาสวนใหญคลอดปกติ (รอยละ 82.1) รองลงมาคือผาตัดคลอดรอยละ 11.7 (ตารางที่ 8) ตารางที ่1 จํานวนเกิดมีชพี จาํนวนและรอยละของทารกน้ําหนกัแรกเกิดนอย จําแนกตามพืน้ที ่ โครงการวิจยัระยะยาวในเดก็ไทยระยะที ่1

พื้นที ่ จํานวนเกิดมชีีพ จํานวนทารก น้ําหนักแรกเกิดนอย

รอยละทารก น้ําหนักแรกเกิดนอย

พนมทวน 776 56 7.2 เทพา 1,000 84 8.4

Page 23: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

14

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

กระนวน 829 88 10.6 เมืองนาน 769 68 8.8

รวม 3374 296 8.8 ตารางที ่2 รอยละของน้าํหนกัแรกเกิด เฉพาะกลุมทารกน้ําหนกัแรกเกิดนอย จําแนกตามพืน้ที ่ โครงการวิจยัระยะยาวในเดก็ไทยระยะที ่1

รอยละ (จํานวน ราย) น้ําหนัก (กรัม) พนมทวน เทพา กระนวน เมืองนาน รวม

2,000 - < 2,500 76.8 (43) 81.0 (68) 84.1 (74) 76.5 (52) 80.1 (237) 1,500 – 1,999 19.6 (11) 14.3 (12) 11.3 (10) 10.2 (7) 13.5 (40) 1,000 – 1,499 3.6 (2) 4.7 (4) 2.3 (2) 11.8 (8) 5.4 (16) ตํ่ากวา 1,000 0 0 2.3 (2) 1.5 (1) 1.0 (3)

รวม(คน) 56 84 88 68 296 ตารางที่ 3 ลักษณะของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย จําแนกตามวิธีการคลอด น้ําหนัก ความยาว ความยาว รอบศีรษะ ความยาวรอบอก ของทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยแยกตามพื้นที่ โครงการวิจัยระยะ ยาวในเด็กไทยระยะที่ 1

ลักษณะ พนมทวน เทพา กระนวน เมืองนาน รวม วิธีคลอด (รอยละ) ปกติ

ผิดปกติ 81.1 18.9

91.5 8.5

83.1 16.9

70.1 29.9

82.1 17.9

APGAR score (รอยละ) 8–10 4 – 7 0 – 3

94.0 2.0 4.0

95.7 2.9 1.4

98.8 1.2 -

84.4 10.9 4.7

93.6 4.2 2.3

2171.52 2194.00 2199.18 2124.31 2175.28 285.32 276.58 322.33 404.15 324.51

น้ําหนกั (กรัม) เฉลี่ย SD

Min – Max 1350-2485 1400-2495 855-2490 950-2496 855-2496 46.20 46.09 45.82 45.29 45.84 2.98 2.25 2.61 2.70 2.61

ความยาว (ซ.ม.) เฉลี่ย SD

Min – Max 36-50 40-51 35-51 37-51 35-51 31.46 31.80 31.14 30.62 31.26 ความยาวรอบศีรษะ(ซม.)เฉลี่ย

SD 2.40 2.24 1.48 1.92 2.04

Page 24: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

15

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

Min – Max 28-44 28-40 27-35 25-37 25-44 29.09 28.91 29.94 28.93 29.24 1.98 1.80 2.51 2.06 2.15

ความยาวรอบอก (ซม.) เฉลี่ย SD

Min – Max 23-33 28-40 24.4-46 22-34 22-46

ตารางที ่4 จํานวนและรอยละ ของการไดรับวัคซีน และการเจ็บปวยแรกเกิดของทารกน้ําหนกันอย จําแนก ตามพืน้ที ่โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที ่1

รอยละ (จํานวน) ประวัติเจ็บปวยแรกเกิด พนมทวน เทพา กระนวน เมืองนาน รวม

รวมทุกโรค 1.8 (1) 7.1 (6) 3.4 (3) 16.2 (11) 7.1 (21) เหลืองจนตองถายเลือด - 1.5 (1) - - 0.4 (1)

ชัก - 2.9 (2) - - 0.7 (2) ติดเชื้อในกระแสเลือด - 2.9 (2) 3.6 (3) 6.3 (4) 3.4 (9)

Respiratory distress syndrome 2.0 (1) 2.9 (2) 1.2 (1) 12.7 (8) 4.6 (12) Meconium aspiration syndrome - - - 1.6 (1) 0.4 (1)

Pneumonia - - - 1.6 (1) 0.4 (1) ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละ น้ําหนักแรกเกิดปกติ และน้ําหนักนอยแยกตามเพศ

น้ําหนักแรกเกิด ชาย (รอยละ) หญิง (รอยละ) รวม (รอยละ) น้ําหนกัปกติ (≥ 2,500g) 1,546 (92.7) 1,532 (89.7) 3,046 (90.3) น้ําหนกันอย(<2,500g) 121 (7.3) 175 (10.3) 296 (8.8) รวม 1,667 (100.0) 1,707 (100.0) 3,374 (100.0) ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย จําแนกตามน้ําหนักแรกเกิดและเพศ

BW เพศเด็ก

BW<1000 รอยละ (n)

1000-1499 รอยละ (n)

1500-1999 รอยละ (n)

2000-2499 รอยละ (n)

รวม รอยละ (n)

1 ชาย 0.8(1) 5.0(6) 18.2(22) 76.0(92) 100(121) 2 หญิง 1.1(2) 5.7(10) 10.3(18) 82.8(145) 100(175)

Page 25: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

16

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย จําแนกตามคา APGAR ที่ 5 นาทีและน้ําหนัก แรกเกิด โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1

APGAR score ที่ 5 นาท ี(รอยละ) น้ําหนักแรกเกิด (กรัม) จํานวน ราย 0-3 4-7 8-10

ตํ่ากวา 1,000 3 0 33.3 66.7 1,000-1,499 13 15.4 15.4 69.2 1,500-1,999 31 3.2 9.7 87.1 2,000-2,499 217 1.4 2.3 96.3

รวม 264 2.3 4.2 93.6 ตารางที่ 8 จํานวนและรอยละทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย จําแนกตามวิธีคลอดและน้ําหนักแรกเกิด โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1

วิธีคลอด* น้ําหนักแรกเกิด (กรัม)

จํานวน ราย ธรรมชาต ิ เครื่องดูด คีมคีบ ผาตัดหนา

ทอง ตํ่ากวา 1,000 3 66.7 - - 33.3 1,000-1,499 15 86.6 - - - 1,500-1,999 33 84.9 - - 12.1 2,000-2,499 222 81.5 1.4 1.4 12.1

รวม 273 82.1 1.1 1.1 11.7 * รอยละที่เหลือคือ อ่ืน ๆ เชนคลอดทากน 2. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย

เมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบทารกน้ําหนักแรกคลอดนอยกับทารกน้ําหนักแรกเกิดตั้งแต 2,500 กรัม ข้ึนไป โดยคัดเลือกเฉพาะครรภเดี่ยว ทั้งในภาพรวม และแยกพื้นที่ พบวา ปจจัยที่เสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในภาพรวม ไดแก ครรภเปนพิษ เลือดออกขณะตั้งครรภ ความสูงของมารดานอยกวา 145 เซนติเมตร น้ําหนักระหวางตั้งครรภเพิ่มข้ึนนอยกวา 10 กิโลกรัม มารดาอายุนอยกวา 20 ป หรือมากกวา 35 ป ปจจัยที่

Page 26: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

17

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

ปกปองการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย คือ มารดาตั้งครรภที่ 3 ข้ึนไป มารดาจบการศึกษาประถมศึกษาหรือตํ่ากวา และเด็กเพศชาย

สวนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในแตละพื้นที่ มีความแตกตางกันออกไป กลาวคือ ปจจัยเสี่ยงในพื้นที่อําเภอพนมทวน คือ มารดาตั้งครรภแรก ปจจัยเสี่ยงในพื้นที่อําเภอเทพา ไดแก ครรภเปนพิษ เลือดออกขณะตั้งครรภ ความสูงของมารดานอยกวา 145 ซ.ม. และปจจัยปกปองการเกิดน้ําหนักแรกเกิดนอยไดแก เด็กเพศชาย สวนอําเภอกระนวนพบปจจัยเสี่ยงไดแก น้ําหนักระหวางตั้งครรภเพิ่มข้ึนนอยกวา 10 กิโลกรัม และมารดาอายุนอยกวา 20 ป หรือมากกวา 35 ป สวนปจจัยปกปอง คือ เด็กเพศชาย และอําเภอเมืองนาน ปจจัยเสี่ยงไดแก ความสูงของมารดานอยกวา 145 ซ.ม. น้ําหนักระหวางตั้งครรภเพิ่มข้ึนนอยกวา 10 กิโลกรัม สวนปจจัยปกปองไดแก มารดาจบระดับประถมศึกษา หรือนอยกวา (ตารางที่ 9) ตารางที่ 9 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย โดยการวิเคราะห Multiple Logistic Regression จําแนกตามพื้นที่ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1

คา OR (95% CI) ปจจัยตาง ๆ พนมทวน เทพา กระนวน เมืองนาน รวม

1.ปจจัยอนามัยเจริญพันธุ 1.1 ภาวะแทรกซอนขณะตั้งครรภ - มีครรภเปนพิษ (1)

- มีเลือดออกขณะตั้งครรภ (2)

- มีไขขาวในปสสาวะ (3)

- มีน้ําตาลในปสสาวะ (4)

1.2 ลําดับครรภ (5) - ครรภที่ 1

- ครรภที่ 3 หรือมากกวา

1.3 ภาวะแทรกซอนเมื่อตั้งครรภกอน ประวัติแทง (6) มีประวัติคลอดกอนกําหนด (7) มีประวัติเด็กตายคลอด (8)

NA

NA

NA

NA

1.9* (1.1-3.6)

0.5 (0.2-1.4)

1.6 (0.6-4.7)

2.3 (0.8-6.7)

3.5 (0.4-34.8)

6.3* (1.1 -35.6)

3.2* (1.1-9.4)

NA

NA

1.3 (0.7-2.4)

0.7 (0.4-1.4)

1.3 (0.6-2.7)

1.7 (0.7-4.2)

NA

NA

NA

1.1 (0.5-2.6)

NA

0.6 (0.3-1.1)

0.8 (0.3-2.1)

0.7 (0.2-1.8)

3.2 (0.7-13.8)

NA

NA

1.0 (0.1-11.0)

NA

NA

1.3 (0.7-2.6)

0.5 (0.2-1.4)

1.5 (0.6-3.4)

0.8 (0.2-2.9)

NA

6.0* (1.7-21.1)

2.5* (1.1-6.2)

0.9 (0.4-1.9)

2.8 (0.5-15.8)

1.2 (0.9-1.6)

0.7* (0.5-0.9)

1.2 (0.8-1.8)

1.5 (0.9-2.4)

1.4 (0.4-5.3)

Page 27: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

18

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

คา OR (95% CI) ปจจัยตาง ๆ พนมทวน เทพา กระนวน เมืองนาน รวม

2. มีโรคประจําตัวหรือเจ็บปวยโรคใดโรคหนึ่ง (9)

3. ภาวะโภชนาการ 3.1 ความสูงนอยกวา 145 ซ.ม.(10) 3.2 น้ําหนักมีเพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ

นอยกวา 10 กิโลกรัม(11) 4. ปจจัยประชากรและสังคม

4.1 อายุมารดา (12) - นอยกวา 20 ป

- อายุมากกวา 35 ป

4.2 การศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ํากวา (13)

4.3 รายไดครอบครัวไมเพียงพอ (14)

0.3 (0.03-2.4)

4.7 (0.8-26.1)

1.5 (0.9-2.5)

1.1

(0.6-2.3) 1.2

(0.4-3.5) 0.8

(0.6-1.0) 1.0

(0.6-1.8)

1.2 (0.3-5.7)

2.8*

(1.1-6.9) 1.4

(0.9-2.3)

1.6 (0.8-3.2)

1.6 (0.8-3.5)

0.9 (0.7-1.2)

1.5 (0.9-2.4)

3.1 (0.9-10.5)

2.6 (0.8-8.1)

1.9* (1.2-3.1)

2.6*

(1.3-5.2) 2.8*

(1.1-7.0) 0.9

(0.6-1.3) 0.9

(0.5-1.5)

0.9 (0.3-2.8)

3.3*

(1.4-8.0) 1.9*

(1.1-3.3)

1.4 (0.7-3.1)

2.1 (0.9-5.0)

0.7* (0.5-0.9)

1.0 (0.6-1.8)

1.2 (0.6-2.2)

2.6*

(1.6-4.3) 1.6*

(1.2-2.1)

1.6* (1.2-3.1)

1.7* (1.1-2.6)

0.8* (0.7-0.9)

1.1 (0.9-1.4)

4.4 ไมไดเปนเจาของที่อยูอาศัย (15) 4.5 ไมตองการมีบุตร(16) 4.6 เด็กเพศชาย (17)

1.1 (0.6-2.2)

0.9 (0.5-1.9)

1.0 (0.6-1.7)

1.0 (0.6-1.7)

1.3 (0.6-3.0)

0.6* (0.4-0.9)

1.1 (0.6-2.1)

1.5 (0.5-4.8)

0.6* (0.3-0.9)

1.3 (0.6-2.8)

2.9 (0.8-10.0)

0.6 (0.4-1.1)

1.1 (0.8-1.3)

1.2 (0.8-1.9)

0.7* (0.5-0.9)

• มีนัยสําคัญทางสถิติที่ p-value < 0.05 หมายเหตุ (1) ไมมี = อางอิง (2) ไมมี = อางอิง (3) ไมมี = อางอิง (4) ไมมี = อางอิง (5) ครรภที่ 2 = อางอิง (6) ไมมี = อางอิง (7) ไมมี = อางอิง (8) ไมมี = อางอิง (9) ไมมีโรคใด ๆ เลย = อางอิง (10) ความสูง 145 ซ.ม. ขึ้นไป = อางอิง (11) 10 กิโลกรัมขึ้นไป = อางอิง (12) อายุระหวาง 20 – 35 ป = อางอิง (13) สูงกวาประถมศึกษา = อางอิง (14) รายไดเพียงพอ = อางอิง (15) เปนเจาของที่อยูอาศัย = อางอิง (16) ตองการ = อางอิง (17) เด็กเพศหญิง = อางอิง

Page 28: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

19

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

อภิปรายผล อัตราทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยในพื้นที่ศึกษา ยังคงสูงกวาเปาหมายของแผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 9

ซึ่งเปนสิ่งที่ตองเรงรัดดําเนินการ และจากการวิเคราะหรายละเอียดของน้ําหนักแรกเกิด จะเห็นวาสวนใหญอยูในชวงน้ําหนัก 2,000-2,499 กรัม การดูแลใหน้ําหนักแรกเกิดเพิ่มข้ึนนาจะเปนไปได โดยใหความสําคัญกับการแกไขปจจัยเสี่ยงที่จําเพาะในแตละพื้นที่เปนลําดับตน และควบคุมดูแลไมใหปจจัยเสี่ยงอื่นเกิดขึ้น

ภาวะโภชนาการของมารดา เปนปจจัยเสี่ยงที่สําคัญมาก ตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย โดยเปนปจจัยที่พบในหลายพื้นที่ ตามดัชนีที่สําคัญ คือ ความสูงของแม และน้ําหนักเพิ่มข้ึนขณะตั้งครรภ สอดคลองกับการศึกษาของ อนงค นนทสุต และคณะ (1986) ทัสสนี นุชประยูร และคณะ (2530) สมพล พงศไทย และคณะ (1988) สินาท พรหมมาศ (2533) ความสูงของแมเปนปจจัยที่มีอิทธิพลสูงกวาปจจัยอื่น สะทอนถึงความจําเปนที่ตองดูแลภาวะโภชนาการของหญิงวัยเจริญพันธุอยางจริงจัง โดยจะตองเริ่มต้ังแตวัยเด็กและดูแลตอเนื่องระยะยาวจนเขาสูวัยเจริญพันธุ ทั้งนี้มีรายงานจากชุดการศึกษาของ Barker และคณะ จาก Southampton ประเทศอังกฤษ แสดงใหเห็นวาภาวะผอมที่แรกเกิดและที่อายุ 1 ขวบ มีความสัมพันธกับโรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง ความผิดปกติของการเผาผลาญกลูโคส โรคปอดเรื้อรัง และโรคมะเร็งในวัยผูใหญ (Barker DJP และคณะ, 1989; Barker DJP และคณะ,1990; Barker DJP และคณะ, 1991; Fall CHD และคณะ,1992; Hales CN และคณะ,1991; Law Cm และคณะ,1993) จากขอสังเกตเหลานี้ Barker และคณะจึงเสนอสมมติฐานวา การขาดอาหารในวัยทารกสงผลตอการเกิดกลุมโรคเรื้อรัง (chronic degenerative diseases) ในวัยผูใหญ

ภาวะโภชนาการในขณะตั้งครรภตามดัชนีน้ําหนักเพิ่มข้ึนขณะตั้งครรภ สะทอนถึงการปฏิบัติตนขณะต้ังครรภที่เหมาะสม และคุณภาพของการดูแลครรภ ในการศึกษานี้ พบวากวารอยละ 90 มีการฝากครรภ และไดรับสมุดบันทึกสุขภาพแมและเด็ก ซึ่งมีกราฟเฝาระวังน้ําหนักเพิ่มข้ึนขณะตั้งครรภ แตก็พบวาสวนใหญไมพบการบันทึก ซึ่งนาจะสะทอนวาผูดูแลการฝากครรภไมใหความสนใจหรือใชดัชนีนี้อยางจริงจัง ดังนั้น หากผูใหบริการทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งในเมืองและชนบทจะนํามาใชอยางจริงจังและฝกใหหญิงตั้งครรภสามารถประเมินภาวะโภชนาการดวยตนเอง อาจชวยใหเกิดความตระหนักและหาทางแกไขไดต้ังแตระยะตนของการต้ังครรภ นอกจากนี้ ผลการศึกษาการใชสมุดบันทึกสุขภาพแมและเด็กในการดูแลตนเอง พบวามารดาสวนนอยที่ศึกษาและนําความรูจากสมุดบันทึกสุขภาพแมและเด็กมาปฏิบัติ (Isaranurug, S. and et. al., 2001)

ปจจัยอนามัยเจริญพันธุที่สําคัญตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ไดแก ภาวะครรภเปนพิษ เลือดออกจากชองคลอดในขณะตั้งครรภ และการตั้งครรภคร้ังแรก สอดคลองกับการศึกษาของ ทัสสนี นุชประยูร และคณะ (2530) นฤทธิ์ อนพรอม (2539) สมรักษ วงศสังข (2541) จะเห็นวาปจจัยเหลานี้สามารถปองกันไดโดยการติดตามดูแลครรภอยางใกลชิด โดยเฉพาะในการตั้งครรภแรก โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหบริการฝากครรภจะตองมีความสามารถในการเฝาระวังภาวะแทรกซอนขณะตั้งครรภ เพื่อใหการชวยเหลือแกไขอยางทันทวงที สวนปจจัยดานประชากรและสังคมที่สําคัญคือ อายุของมารดา ซึ่งเปนการยืนยันวา อายุที่เหมาะสม

Page 29: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

20

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

ตอการตั้งครรภ คือ ระหวาง 20-35 ป สอดคลองกับการศึกษาของ รุงโรจน พิมพใจพงษ และคณะ (2531) สมศักดิ์ สุทัศนวรวุฒิ และคณะ (1988) สินาท พรหมมาศ (2533) สุบิน ศิริสังขชัย (2535) ชูชาติ นันทโนภาส (2535) นฤทธิ์ อนพรอม (2539) ธาดา ศรีสงคราม (2540) สมรักษ วงศสังข (2541) สําเภา นภีวงศ (2541) เรณู ศรีสมิต และคณะ (2541) การตั้งครรภในวัยรุน ตองไดรับดูแลเอาใจใสใกลชิด และควรรณรงคปองกันการต้ังครรภในวัยรุน โดยปองกันไมใหมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร หรือใชวิธีคุมกําเนิดเมื่อมีเพศสัมพันธ ในขณะเดียวกันการตั้งครรภเมื่อมารดาอายุมากขึ้นจัดเปนภาวะเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยเชนเดียวกับภาวะแทรกซอนอื่น ๆ จึงจําเปนตองใหการดูแลอยางใกลชิดเชนกัน จึงควรรณรงคไมใหมีการต้ังครรภเมื่ออายุมากเกินไป ทั้งนี้ในป พ.ศ. 2530-2539 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขจัดการรณรงค “แมตัวอยาง” โดยกําหนดคุณสมบัติประการหนึ่งคือ มีบุตรเมื่ออายุ 20-30 ป นาจะนํากลับมารณรงคอีก เพื่อแกไขปญหาเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอย ในการศึกษานี้พบวาการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือตํ่ากวาไมเปนปจจัยเสี่ยง อาจเปนเพราะมารดากลุมนี้สวนใหญจะทํางานในครอบครัวและมีเวลาดูแลตนเอง กลุมที่มีการศึกษาสูงมักทํางานนอกบาน จึงอาจเอาใจใสสุขภาพตนเองนอยลง ซึ่งตรงขามกับการศึกษาของ สมศักดิ์ สุทัศนวรวุฒิ และคณะ (1988) ธาดา ศรีสงคราม (2540) ที่พบวากลุมที่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือตํ่ากวา มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิดนอยสูงกวากลุมที่มีการศึกษาสูง สวนการศึกษาของนฤทธิ์ อนพรอม (2539) พบวาการศึกษาของแมไมเปนปจจัยเสี่ยงที่มีนัยสําคัญ

สวนปจจัยเพศเด็ก การศึกษานี้พบวาเด็กเพศหญิงเปนปจจัยเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกดินอย สอดคลองกับการศึกษาของ เรณู ศรีสมิต และคณะ (2541) แตตรงขามกับการศึกษาของ สมรักษ วงศสังข (2541) ที่พบวาเพศชายเปนปจจัยเสี่ยง สวนการศึกษาของสินาท พรหมมาศ (2533) และ นฤทธิ์ อนพรอม (2539) พบวาเพศไมเปนปจจัยเสี่ยง ปจจัยเสี่ยงนี้จึงยังไมแนนอนและในการแกไขปญหาจากปจจัยเสี่ยงนี้ไมใชการกําหนดเพศเด็ก แตหมายถึงการใหการดูแลครรภที่มีคุณภาพทุกครรภ

ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ดูแลภาวะโภชนาการของผูหญิงตั้งแตระยะเริ่มแรกในชวงปฐมวัย ตามดัชนีที่สําคัญ คือ ความสูงตออายุ

และดูแลภาวะโภชนาการในขณะตั้งครรภ ตามดัชนีน้ําหนักเพิ่มข้ึนขณะตั้งครรภ ใหเปนไปอยางเหมาะสม 2. ติดตามดูแลครรภอยางใกลชิดในหญิงตั้งครรภที่เปนครรภแรกหรือครรภที่ 3 ข้ึนไป รวมทั้งการเฝาระวัง

ภาวะแทรกซอนขณะตั้งครรภ โดยเฉพาะภาวะครรภเปนพิษ และเลือดออกจากชองคลอดในขณะตั้งครรภ 3. การตั้งครรภในวัยรุนและการตั้งครรภเมื่ออายุมากขึ้นจัดเปนภาวะเสี่ยงตอการเกิดทารกน้ําหนักแรกเกิด

นอย ตองไดรับดูแลเอาใจใสใกลชิด และควรรณรงคไมใหมีการตั้งครรภในวัยรุน

Page 30: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

21

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

เอกสารอางอิง 1. กระทรวงสาธารณสุข. (2530) แผนพัฒนาสาธารณสุขแหงชาติฉบับที ่6 (2530 – 2534).

กรุงเทพมหานคร. 2. กระทรวงสาธารณสุข. (2535) แผนพัฒนาสาธารณสุขแหงชาติฉบับที ่7 (2535 – 2539).

กรุงเทพมหานคร. 3. กระทรวงสาธารณสุข. (2539) แผนพัฒนาสาธารณสุขแหงชาติฉบับที่ 8 (2540 – 2544). นนทบุรี. 4. กระทรวงสาธารณสุข. (2544) แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติฉบับที่ 9 (2545 – 2549). นนทบุรี. 5. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2535) รายงานประจําป 2535. กรุงเทพมหานคร. 6. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2545) รายงานประจําป 2545. นนทบุรี. 7. กองวางแผนครอบครัวและประชากร กรมอนามัย. (2539) โครงการประเมินผลงานอนามัยครอบครัว ใน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7. นนทบุรี :1-83. 8. ชูชาติ นันทโนภาส. (2535) Risk factors of low birth weight infant in Khonbui hospital. เวชสาร

โรงพยาบาลนครราชสีมา. 16(2) ซ:199–207. 9. ทัสสนี นุชประยูร, เติมศรี ชํานิจารกิจ, สัมรัตน ชาญฤทธิ์, ปญญา กีรติทัตถยาง, สาหรี จิตตินันท.

(2530). Maternal risk factors for low birth weight at term. จุฬาลงกรณเวชสาร; 31(10):775–83. 10. ธาดา ศรีสงคราม. (2540). Socio-economic risk factors for low birth weight. วารสารแพทยเขต 7.

16 (1):9–15. 11. นฤทธิ์ อนพรอม. (2539). Risk factors of low birth weight infants. วารสารกรมการแพทย.

21(4):136–45. 12. ประภาพ ยุทธิวิสุทธิ, สมบูรณ เกียรตินันท, สุภรณ สมหลอ, สมบัติ นวรัตนธารา, เรือนแกว กนกพงษ

ศักดิ์. (2527). Low birth weight at Prapokklao Hospital. วารสารศูนยการศึกษาแพทยศาสตรคลีนิค โรงพยาบาลพระปกเกลา. 1(1-2):22–8.

13. พรพจน หอสุวรรณศักดิ์. (2533). การศึกษาการฝากครรภนอยกวา 4 คร้ัง และปจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ตอการเกิดทารกน้ําหนักนอย ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุยเดช. แพทยสารทหารอากาศ. 36 (3):177–29.

14. เรณู ศรีสมิต, สมบูรณศักดิ์ ญาณไพศาล, จินดา วังวิญู, ศุภพร โกรัตนะ, Kilmarx, P.H., ครรชิต ลิมปกาญจนารัตน. (2541). แนวโนมและปจจัยเสี่ยงของน้ําหนักเด็กแรกคลอดต่ําในโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พ.ศ. 2533 – เดือนมิถุนายน 2540. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 7(1):32–8.

15. รุงโรจน พิมพใจพงษ, จินนาภา ทีปสวาง, จุฑารัตน ไกรศรีวรรธนะ. (2531). Birth weight of newborn infant : relation to maternal age, occupation, education and antenatal care. วารสารกรมการแพทย. 13(8):489–95.

Page 31: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

22

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

16. สมรักษ วงศสงข. (2541). การศึกษาทารกน้ําหนกัตัวนอยในโรงพยาบาลสมทุรปราการ. พุทธชนิราชเวชสาร. 15(1):7-13.

17. สินาท พรหมมาศ. (2533). การศึกษาปจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธกับทารกแรกเกิดน้ําหนกันอย ในโรงพยาบาลภมูิพลอดุยเดช. แพทยสารทหารอากาศ. 36(4):145-56.

18. สําเภา นภีรงค. (2541). Maternal risk factors for low birth weight baby in Nongjok Hospital Medical Department of BMA. วารสารโรงพยาบาลกลาง ; 35(1) : 67-75.

19. สุบิน ศิริสงขไชย. (2535). การศึกษาเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลกระทบของน้ําหนักแรกคลอดระหวางมารดาที่ฝากครรภและไมฝากครรภ มีคลีนิคฝากครรภ กลุมงานสูติ-นรีเวชกรรมและวารสารแผนครอบครัว โรงพยาบาลสกลนคร. วารสารการแพทยเครือขาย 4/2; 4(2) : 38-47.

20. Aisien AO, Lawson JO, Okolo A. (2000). Two years prospective study of periratal mortality in Jos, Nigeria. International Journal of Gynecology & obstetrics, 71 (2):171 – 3.

21. Andres RL, Day MC. (2000). Prenatal complication associated with maternal tobacco use. Semin Neonatol ; 5(3) : 231 – 41.

22. Barker DJP, Bull AR, Osmond C, Simmonds SJ. (1990). Fetal and placental size and risk of hypertension in adult life. BMJ; 301:259-262.

23. Barker DJP, Godfrey KM, Fall C, Osmond C, Winter PD, Shaheen SO. (1991). Relation of birth weight and childhood respiratory infection and death from chronic obstructive airways disease. BMJ; 303:671-5.

24. Barker DJP, Winter PD, Osmond C, Margetts B, Simmonds SJ. (1989). Weight in infancy and death from ischemic heart disease. Lancet; 2:577-80.

25. Barros H, Tavares M, Rodrigue T. (1996). Role of pretatal care in preterm birth and low birthweight in Portugal. J Public Health Med ; 18(3) : 321 – 8.

26. Bartley M, Power C, Blane D, Smith GD, Shipley M. (1994). Birth weight and later socioeconomic disadvantage : evidence from the 1958 British cohort study. BMJ; 309: 1475 – 78.

27. Basso O, Olsen J, Christensen K. (1998). Risk of preterm delivery, low birthweight and growth retardation following spontaneous abortion : a registry – based study in Denmark. Int J Epidemiol ; 27(4) : 642 – 6.

28. Bavdekar AR, Vaidya UV, Bhave SA, Pandit AN. (1994). Catch up growth and its determinants in low birth weight babies : a study using Z scores. Indian Pediatr ; 31(22) : 1483 – 90.

Page 32: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

23

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

29. Bratton SL, Shoultz DA, William MA. (1996). Recurrent risk of low birthweight deliveries among women with a prior very low birthweight delivery. Am J Perinatol ; 13(3) : 147–50.

30. Ceesay SM, Prentice AM, Cole TJ, Foord F Weaver LT et al. (1997). Effects on birthweight and perinatal mortality of maternal dicetay supplements. BMJ; 315(7111) : 786 – 90.

31. Cheung YB, Yip SF. (2001). Social patterns of birth weight in Hong Kong 1984–1997. Soc Sci Med ; 52: 1135 – 41.

32. Chumnijarakij T. (1988). Maternal risk factors for low birth weight newborns in Thailand. Bangkok. Faculty of Medicine, Chulalongkorn University:1– 9

33. Du Plessis HM. Bell R. Richards T. (1997). Adolescent pregnancy : understandirg the impact of age and race on outcome. J Adloesc C Health ; 20(3) : 187 – 97.

34. Fall CHD, Barker DJP, Osmosnd C, Winter PD, Clark PMS, Hales CN. (1992). Relation of infant feeding to adult serum cholesterol concentration and death from ischemic heart disease. BMJ; 304:801-5.

35. Feleke Y, Enguosel assic F. (1999). Maternal age, parity, and gestational age on the size of the newborn in Addis Ababa. East Afr Med J, 76(8):468 – 71.

36. Forssas E, Gissler M, Shvomen M, Hemminki E. (1999). Maternal predictors of perinatal mortality : the role of birthweight. Int J Epidemiol ; 28(3) : 475 – 8.

37. Hack M, Fanaroff AA. (2000). Outcomes of children of extremely low birthweight and gestational age in the 1990. Semin Neonatal ; 5(2) : 89 – 106.

38. Hales CN, Barker DJP, Clark PMS, Cox LJ, Fall C, Osmond C, Winter PD. (1991). Fetal and infant growth and impaired glucose tolerance at age 64. BMJ; 303:1019-22.

39. Hoy EA, Sykes DH, Bill JM, Halliday HL, McClure BG, Reid MM. (1992). The social competence of very low birthweight children : teacher, peer, and self – perceptions. J Abnorm Child Psychol ; 20 (2) : 123 – 50.

40. Isaranurug S, Mekmok S. (2001). The satisfaction and systematic use of maternal and child health handbook: experience from one province in Thailand. Bangkok: Faculty of Public Health, Mahidol University:1-18.

41. Jacobsen G, Schei B, Hoffman HJ, (1997). Psychosocial factors and small – for-gestational age infants among parous Scandinavian women. Acta Obstet Gynecol Scand Suppl ; 165 : 14–18.

Page 33: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

24

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

42. Jaruratanasirikul S, Chanvitan P, Janjindamai W, Ritsmitchai S. (1999). Growth patterns of low birth weight infant : 2 – year longitudinal study. J Med Assoc Thai ; 82(4) : 325 – 31.

43. Jolly M, Sebire N, Harris J, Bobinson S, Regan L. (2000). The risk associated with pregnancy in women aged 35 years or older. Hum Reprod ; 15(11) 2433 – 7.

44. Karim E, Mascie – Taylor CG (1997). The association between birthweight, sociodemographic variables and maternal anthropometry in an urban sample from Dhaka, Bangladesh. Ann Hum Biol ; 24(5) : 387 – 401.

45. Keller H, Ayub BV, Saigal S, Bar-Or O. (1998). Neuromotor ability in 5 – to 7 – year –old children with very low or extremely low birthweight. Dev Med Child Neurol ; 40(10) : 661–6.

46. Kelly YJ, Nazoo JY, McMunn A, Boreham R, Marmot M. (2001). Birthweight and behavioral problem in children : a modifiable effect? Int J Epidemiol ; 30(1) : 88 – 94.

47. Klufio CA, Amoa AB, Augerea L, Wurr F. (1997). A case – control study of singhton low birthweight at the Port Moresby General Hospital. PNG Med J ; 40(3-4) : 136 – 45.

48. Kirchengast S, Hartmann B. (1998). Maternal prepregnancy weight status and pregnancy weight gain as a major determinants for newborn weight and size. Ann Hun Biol ; 25(1) : 17–28.

49. Koothavornrerk M. (1994). Morbidity and mortality of low birth weight infant in Songkhlanagarind Hospital between 1987 – 1990. Songkhanagarind Medical Journal ; 12(4) : 167-8.

50. Koupilova I, Vagero D, Leon DA, et al. (1998). Social variation in size at birth and preterm delivery in the Czeck Republic and Sweden 1989 – 91. Pediatr Perinat Epidemiol ; 12(1) : 7-24.

51. Kumbi S, Isehak A. (1999). Obstetric outcomes of teenage pregnancy in north western Ethiopia. East Afr Med J ; 76 (3) : 138 – 40.

52. Lao TT, Ho LF (1997). The obstetric implications of teenage pregnancy. Hum Reprod; 12(10) : 2303 – 5.

53. Law Cm, de Swiet M, Osmond C, Fuyer PM, Barker DJP, Cruddas AM, Fall CHD. (1993). Initiation of hypertension in utero and its amplification throughout life. BMJ; 306:24-7.

54. Litt R, Joseph A, Gale R. (1995). Six year neurodevelopmental follow – up of very low birthweight children. Isr J Med Sci ; 31(5) : 303 – 8.

Page 34: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

25

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

55. Luke B, Williams C, Minogue J, Keith L. (1993). The changing pattern of infant mortality in the US : the role of prenatal factors and their obstetrical implications. Internal Journal of Gynecology & Obstetrics; 40:199 – 212.

56. Mainous AG, Hueston WJ, (1994). The effect of smoking cessation during pregrancy on preterm delivery and low birthweight. J. Fam Pract ; 38(3) : 262 – 6.

57. Malik S,Ghidiyal RG, Udani R, Waingankar P. (1997). Maternal biosocial factors affecting low birthweight. Indian J Pediatr; 64(3) : 373 – 7.

58. Marlow N, Roberts L, Cooke R. (1993). Outcome at 8 years for children with birth weight of 1250 grams or less. Arch Dis Child; 68 (3 Spec No.) : 286 – 90.

59. Maruoka K, Yaki M, Akazawa K, Kinukawa N, Ueda K, Nose Y, (1998). Risk factors of low birthweight in Japanese infants. Acta Pediatr; 87 (3) : 304 – 9.

60. McGauhey PJ, Starfield B, Alexander C, Ensminger ME. (1991). Social environment and vulnerability of low birth weight children : a social – epidemiological perspective. Pediatrics; 88(5) : 943 – 53.

61. Ngare DK, Keumann C. (1998). Prediction of low birth weight at the community level. East Afr Med J; 75(5) : 296 – 9.

62. Nondasuta A, Chaturachinda K, Watthana S. (1986). Birth weight in relation to maternal height and weight. Journal of Medical Association of Thailand; 69(5) : 243-7.

63. O’ Callaghan MJ, Burns YR, Gray PH, et al. (1996). School performance of ELBW children : a controlled study. Dev Med Child Neurol; 38(10) : 917 – 26.

64. Ogunyemi D, Hullett S, Leeper J, Risk A. (1998). Pregnancy body mass index, weight gain during pregnancy and perinatal outcome in a rural black population. J Matern Fetal Med; 7(4) : 190 – 3.

65. Orr ST, James SA, Miller CA, et al. (1996). Psychosocial stressors and low birthweight in an urban population. Am J Prev Med; 12(6) : 459 – 66.

66. Pongthai S, Piyapinyo P, Suthutvoravut S, Chaturachinda K, Hiranrak A. (1988). Relationship of maternal weight at first prenatal visit and maternal height with infant birth weight. Journal of Medical Association of Thailand; 71(Suppl 1) 63-7.

67. Powel A, Botting H, Cooke RN, Marlow N. (1995). Motor impairment in children 12 to 13 years old with a birth weight of less than 1250 grams. Arch Dis Child Fetal Neonatal Ed Supp; 72 (2): 62–6.

Page 35: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

26

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

68. Powles A, Botting N, Cooke RN, Pilling D, Marlow N. (1996). Growth impairment in very low birthweight children at 12 years : correlation with periratal and outcome variables. Arch Dis Child Fetal Neonatal Ed.; 73(3) : F 152 – 7.

69. Resnick MB, Gueorguieva RV, Carter RL, et al. (1999). The impact of low birthweight, perinatal conditions, and sociodemographic factors on educational outcome in kindergarten. Pediatrics; 104 (6) : pe 74.

70. Ross G, Lipper EG, Auld PAM. (1991). Educational status and school – related abilities of very low birth weight premature children. Pediatrics; 88(6) : 1125 – 1134.

71. Rondo PH, Abboff R, Rodrigues LC, Tomkins AM. (1997). The influence of maternal nutritional factors on intrauterine growth retardation in Brazil. Pediatr Perinat Epidemiol; 11(2) : 152 – 66.

72. Ruijter I, Miler JM. (1999). Evaluation of low birthweight in African Americans. J Natl Med Assoc; 91(12): 663 –7.

73. Sayers S, Powers J. (1997). Risk factors for aboriginal low birthweight, intrauterine growth retardation, and preterm birth in the Darwin. Aust NZ J Public Health; 21 (5) : 524 – 30.

74. Savitz DA, Olshan AF, Gallagher K. (1996). Maternal occupation and pregnancy outcome. Epidemiology;7(3) : 269 – 74.

75. Schramm WF. (1997). Smoking during pregnancy : Missouri. Longitudinal study. Pediatr Perinat Epidemiol; 11 Suppl 1 : 73 – 83.

76. Shah D, Shroff S, Ganla K. (2000). Factors affecting perinatal mortality in India. International Journal of gynecology & Obstetrics; 71 (3): 209 –10.

77. Sharma R, Synkewecz C, Raggio T, Mattison DR. (1994). Intermediate variables as determinants of adverse pregnancy outcome in high-risk inner – city population. J Natl Med Assoc; 86(11) : 857 – 60.

78. Stanly FJ. Alberman EV. (1978). Infants of very low birthweight I : perinatal factors affecting survival. Dev Med Child Neurol; 20 (3). 300 12.

79. Suthutvoravut S, Chaturachinda K. (1988). Risk of low birth weight at Ramathibedi Hospital. Journal of Medical Assciation of Thailand; 71(Suppl 1) : 6-11.

80. Tideman E. (2000). Langitudinal follow-up of children born preterm : cognitive development at age 19. Early Hum Dev; 58(2): 81 –90.

Page 36: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

27

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

81. Torrioli MG, Frisone MF, Bonvini L et al. (2000). Perceptual – motor, visual and cognitive ability in very low birth weight preschool children without neonatal ultrasound abnormalities. Brain Dev; 22(3) : 163 – 8.

82. Van der Mei J, Volman M, Boersma ER. (2000). Growth and survival of low birthweight infants from 0 to 9 years in a rural area of Ghana : comparison of moderately low (1501 – 2000 grams) and very low birthweight (1000 – 15000 grams) infants and a local reference population. Trop Med Int Health; 5(8):571 – 7.

83. Walraven GE, Mkanje RJ, van Asten HA, van Roosmalen J, van Dongen PW, Dolmans WM. (1997). The aetiology of low birthweight in a rural area of Tanzania. Hospital – based study. Trop Med Int Health; 2(6):558 – 67.

84. Wang ST, Wang CJ, Huang CC, Lin CH. (1998). Neurodevelopment of surviving infants at age two years, with birthweight less than 2000 grams and cared for in neonatal intensive care unit (NICU) – results from a population based longitudinal study in Taiwan. Public Health; 112(5) : 331 – 6.

85. Weiglas – Kuperus N, Koot HM, Baert W, Fetter WP, Sauer PJ. (1993). Behavioral problems of very low birth weight children. Dev Med Child Neurol; 35 (5):406 – 16.

86. Wergeland E, Strand K, Bordahl P. (1998). Strenous work ing conditions and birthweight, Norway 1989. Acta Obstet gynecol Scand; 73(3) : 263 – 71.

87. Wessel H, Cnattingius S, Bergstrom S, Dupret A, Reitmaier P. (1996). Maternal risk factors for preterm birth and low birthweight in Cape Verde. Acta Obstet Gynecol Scand; 75 (4) : 360 – 6.

88. Yu VY, Wood C. (1978). Perinatal asphyxia and outcome of very low birthweight infants. Med J Aust ; 2(13) : 578 – 81.

89. Zimraer – Gembick MJ, Helfand M. (1996). Low birthweight in a public prenatal Care program : behavioral and psychosocial risk factors and psychosocial intervention. Soc Sci Med; 43(2):187– 97.

90. Zubrick SR, Kurinezuk JJ, Mc Dermott BM, Mckelvey RS, Silburn SR Davies LC. (2000). Fetal growth and subsequent mental health problems in children aged 4 to 13 years. Dev Med Child Neurol; 42(1):14 – 20.

Page 37: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

28

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

ภาคผนวก

อายุครรภ…………………..สัปดาห. น้ําหนกั. …….………กิโลกรัม สวนสงู …….…...…..เซนตเิมตร ความดันโลหิต……………………… มม.ปรอท 1. ต้ังแตต้ังครรภ ทานเคยสบูบุหรี่หรือไม

เคย (ถามขอ 2 ตอ) ไมเคย (ขามไปถามขอ 3)

2. ปจจุบัน ทานสูบบุหรีห่รือไม 0 ไมสูบ หยุดสูบเมื่ออายุครรภ …….. เดือน สูบ ทานสูบวนัละกี่มวน ………….มวน / วนั

3. ต้ังแตต้ังครรภทานเคยดืม่สุราบางหรอืไม เคย (ถามขอ 4 ตอ) ไมเคย (ขามไปถามขอ 5) 4. ในปจจุบัน ทานด่ืมสุรา (หรือเครื่องด่ืมมีแอลกอฮอล) หรือไม

0 ไมด่ืม หยุดเมื่อต้ังครรภ ……. เดือน ด่ืม ระบุ ความถี่ของการดื่มสุรา 1 ด่ืมเดือนละครั้งหรือนอยกวา

2 ด่ืมอาทติยละครั้งหรือนอยกวา 3 ด่ืม 2-3 คร้ัง / อาทิตย

4 ด่ืมมากกวา 3 คร้ัง / อาทติย

5. ต้ังแตต้ังครรภ ทานเคยเสพยาเสพตดิหรือไม เคย (ถามขอ 6 ตอ) ไมเคย (ขามไปถามขอ 7) 6. ปจจุบันทานเสพยาเสพตดิหรือไม

0 ไมเสพ หยดุเสพเมื่ออายคุรรภ ………………….. เดือน เคยเสพ ระบุชนิด…………………………………………………………………………

หญิงตั้งครรภ บ 02 แบบบันทึกการตรวจสุขภาพทั่วไปของหญิงตั้งครรภ

ช่ือหญิงตั้งครรภ ที่อยู

Page 38: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

29

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

7. ในรอบเดือนที่ผานมาทานออกกําลังกายบอยแคไหน ไมไดออกกําลังกาย นาน ๆ คร้ัง 1 – 2 คร้ัง / อาทติย มากกวา 3 คร้ัง / อาทิตย 8. ทานเคยปวยเปนโรคตอไปนี้หรือไม 0 ไมเคย 1 ปวย วัณโรคปอด ระหวางป …………………………………… ตับอักเสบ ชนิด ….. ระหวางป …………………………………… ภูมิแพ ระหวางป …………………………………… โรคเลือด………….. ระหวางป …………………………………… 9. ทานเคยผาตัดหรือไม 0 ไมเคย เคย ผาตัดอะไร (ระบุ) ………………เมื่อใด………..……….. 10. ทานแพยาหรือไม 0 ไมแพ แพ แพยาอะไร (ระบุ) ……………….………..……….. 11. การตรวจวนิจิฉัยและรกัษาโรคในปจจุบัน 1. เบาหวาน การรักษา……………………………………………… 2. ความดันโลหิตสูง/ครรภเปนพิษ การรักษา……………………………………………… 3. โรคหัวใจ (ระบ)ุ…………. การรักษา………………………………………………. 4. ไทรอยด (ระบุ)…………. การรักษา…………….……………..……….………… 5. ตับอักเสบ ชนิด ……….. การรักษา………………………………………………. 6. ซิฟลิส การรักษา…………………………………….………… 7. เอดส การรักษา………………………….…………………… 8. ภูมิแพ การรักษา……………………….……………………… 9. เลือดออกในระยะตั้งครรภ การรักษา…………………….………………………… 10. โรคเลือด ระบุ………………. การรักษา…………………….………………………… 11. วณัโรค การรักษา……………………………………………… 12. ความพกิาร ระบ ุ……………. การรักษา……………………………………………… 13. อ่ืน ๆ (ระบุ)…………….. การรักษา……………………………….………………

Page 39: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

30

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

12. บันทึกสิ่งตรวจพบจากการตรวจรางกาย ดังนี ้

12.1 ศีรษะและคอ ปกติ ผิดปกติคือ …………………………………………………… 12.2 ตา ปกติ ผิดปกติคือ ……………………………………………………………… 12.3 หู ปกติ ผิดปกติคือ ……………………………………………………………….. 12.4 ชองปาก ปกติ ผิดปกติคือ ………………………………………………………... 12.5 ทรวงอกและปอด ปกติ ผิดปกติคือ ………………………………………………. 12.6 หัวใจและชีพจร ปกติ ผิดปกติคือ ………………………………………………… ระดับชีพจร ………….. คร้ังตอนาท ี12.7 ชองทอง ปกติ ผิดปกติคือ ………………………………………………………… 12.8 แขนขา ปกติ ผิดปกติคือ …………………………………………………………. 12.9 อ่ืน ๆ ระบุ ……………………………………………………………………………….

13. บันทึกขอสังเกตอื่น ๆ ที่ตรวจพบ …………………………………………………………. …………………………………………………………..……………………………………… …………………………………………………………..……………………………………… …………………………………………………………..……………………………………… …………………………………………………………..……………………………………… …………………………………………………………..……………………………………… …………………………………………………………..……………………………………… …………………………………………………………..……………………………………… …………………………………………………………..………………………………………

14. ผลการตรวจครรภดวยอลัตราซาวด (แนบภาพถายมาตรฐานไวดวย)

∀ ไมไดตรวจ ∀ ตรวจ วนัที…่……/……………...…/……..….

อายุครรภ (เมื่อตรวจ) …………………………..สัปดาห ทาเด็ก …………………….……คะเนน้ําหนกัเด็ก……………….กรัม ตําแหนงของรก ∀ 0 ไมมี ∀ 1 มี (ระบุ)………………….. จํานวนน้ําคร่ํา ∀ 0 ไมมี ∀ 1 ปกติ ∀ 2 นอย ∀ 3 มาก

จํานวนทารกในครรภ ∀ 1 ครรภเดี่ยว ∀ 2 ครรภแฝด จํานวนทารก ……..คน

Page 40: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

31

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

∀ ความผิดปกติอ่ืน ๆ ระบ ุ………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..

แพทยผูตรวจ (นพ./พญ.)………………………………………วันเดือนปที่ตรวจ ………………… ที่ติดภาพถายการตรวจอัลตราซาวด

Page 41: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

32

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

15. ผลการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ

ฮีมาโตคริต …………………………. % ฮีโมโกลบิน …………………………. มก% ไมไดตรวจ FBS …………………………. มก% VDRL ……………………… 0 negative 1 positive 8 ไมไดตรวจ Anti HIV …………………… 0 negative 1 positive 8 ไมไดตรวจ HBs Ag …………………… 0 negative 1 positive 8 ไมไดตรวจ OF ………………………… 0 ไมพบ 1 พบ 8 ไมไดตรวจ DCIP ……………………… 0 ไมพบ 1 พบ 8 ไมไดตรวจ

16. ผลการตรวจปสสาวะ ไขขาว ……………………… 0 ไมพบ 1 พบ 8 ไมไดตรวจ น้ําตาล ……………………… 0 ไมพบ 1 พบ 8 ไมไดตรวจ

ลงชื่อผูบันทกึ …………………………………………………………… วันเดือนป ………………………………………………………………..

หนานี้บันทึกโดยเจาหนาที่หองปฏิบัติการ

ช่ือหญิงตั้งครรภ ที่อยู

Page 42: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

33

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

1 เดี่ยว 2 แฝด คนที่ ………………..

1. ชื่อ – สกลุเด็ก (ด.ญ. / ด.ช)………………………………………………………………………. 2. วัน เดือน ป เกิด …………………………………………………………………………………. 3. ขอมูลเด็กแรกเกิด บันทกึขอมูลจากจากใบบันทึกยอคลอด ของ

สถานพยาบาล / โรงพยาบาล …………………………………………………………………….. ขอมูลแรกเกิด น้ําหนกัแรกเกดิ………...……….. กรัม ความยาว……………………….. ซม. ความยาวรอบศีรษะ……………. ซม. ความยาวรอบอก……………….. ซม. น้ําหนกัรก………………………. กรัม Apgar Score (5 นาท)ี…………… 4. ประวัติการไดรับวัคซีนแรกเกิด (จากบันทกึของ ร.พ. / สมุดประจําตัวเด็ก) BCG 1 ไมได 2 ได HBV 1 ไมได 2 ได 5. ประวัติเจ็บปวยแรกเกิด เหลืองจนตองถายเลือด 1 ไมม ี 2 มี ชัก 1 ไมม ี 2 มี ติดเช้ือในกระแสเลือด (Sepsis) 1 ไมม ี 2 มี

Respiratory distress syndrome 1 ไมม ี 2 มี Meconium aspiration syndrome 1 ไมม ี 2 มี Pneumonia 1 ไมม ี 2 มี อื่นๆ 1 ไมม ี 2 มี ระบุ……………………………………………………………………………………

แบบคัดลอกผลการคลอด (เด็กแรกเกดิ)

ช่ือแม ที่อยู

บ 05

Page 43: เด็กแรกเก ิด น้ําหนักตัวน อยpctc.damus.in.th/damus/files/104_20120829202808_22_%E0%B...หมวดเร องน าร ผลงานและองค

34

เอกสารรายงานวิชาการ โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่ 1 ฉบับที่ 22

ผูเก็บขอมูล……..……………………………………………. วันที ่………./………./………… ผูตรวจทาน..…………………………………………………. วันที่ ………./………./…………

กรณีคลอดที่บาน ใหตามวัดเด็กแรกเกิดที่บานภายใน 3 วันหลังคลอด ช่ือ / สกุลผูวัด ……………………………………….. วัดวันที่ …… เดือน ………….. ป …. น้ําหนกัแรกเกดิ………...……….. กรัม ความยาว……………………….. ซม. ความยาวรอบศีรษะ……………. ซม. ความยาวรอบอก……………….. ซม.

ช่ือแม ที่อยู