2551 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร - su · 2010. 2. 24. · magazine....

222
วิวัฒนาการภาพประกอบนิตยสารไทย โดย นายกรุญพนธ วิศรุตมมนตรี วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2551 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 01-Feb-2021

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • วิวัฒนาการภาพประกอบนติยสารไทย

    โดย นายกรุญพนธ วิศรุตมมนตรี

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป ภาควชิาการออกแบบนิเทศศิลป

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2551

    ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • วิวัฒนาการภาพประกอบนิตยสารไทย

    โดย นายกรุญพนธ วิศรุตมมนตรี

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป ภาควชิาการออกแบบนิเทศศิลป

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2551

    ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • THE DEVELOPMENT OF ILLUSTRATIONS IN THAI MAGAZINE

    By Karunpol Wisarutmontri

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF FINE ARTS

    Department of Visual Communication Design Graduate School

    SILPAKORN UNIVERSITY 2008

  • บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวทิยานิพนธเร่ือง “วิวฒันาการภาพประกอบนิตยสารไทย” เสนอโดย นายกรุญพนธ วิศรุตมมนตรี เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป

    ……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร)

    คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันที่..........เดอืน.................... พ.ศ...........

    อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. อาจารยธนาทร เจียรกุล 2. อาจารยยอดขวัญ สวัสด ี คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยวัฒนพนัธุ ครุฑะเสน) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารยชัยนันท ชะอุมงาม) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (อาจารยธนาทร เจียรกุล) (อาจารยยอดขวัญ สวัสด)ี ............/......................../.............. ............/......................../..............

  • 47151302 : สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป

    คําสําคัญ : ววิัฒนาการ/ภาพประกอบนิตยสารไทย

    กรุญพนธ วศิรุตมมนตรี : ววิัฒนาการภาพประกอบนติยสารไทย. อาจารยที่ปรึกษา

    วิทยานิพนธ : อ.ธนาทร เจยีรกุล และ อ.ยอดขวัญ สวสัดี. 201 หนา.

    การวิจยัในครัง้นี้ เปนการศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของภาพประกอบในนิตยสาร

    ไทยระหวางป พ.ศ. 2489-พ.ศ. 2550 จากกลุมตัวอยางจาํนวน 98 ภาพ โดยวิเคราะหจากปจจัย

    ตางๆ ที่เกีย่วของ ไดแก ปจจัยดานแนวคิดและองคประกอบโดยรวมการวาดภาพประกอบ ปจจัย

    ดานทีม่าของภาพประกอบและเนื้อหาของนิตยสารที่มสีวนสัมพนัธกบัภาพประกอบนั้นๆ ปจจัย

    ดานประวัติศลิปนผูวาดภาพประกอบ ปจจัยดานประวัตินิตยสารไทย ปจจัยดานลทัธิศิลปะไทย

    และศิลปะตะวันตก ตลอดจนปจจัยดานสภาวะสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองในแตละยุคสมัย ซึ่ง

    ผลของการศึกษา ไดแสดงใหเหน็ถงึการเชื่อมโยงปจจัยดังกลาวกับวิวฒันาการของภาพประกอบ

    ในแตละชวงเวลา

    ผลการวิจยัพบวา วิวัฒนาการของภาพประกอบนิตยสารไทยระหวางป พ.ศ. 2489-

    พ.ศ. 2550 สามารถแบงออกเปน 3 ยคุสมัย ไดแก 1) ภาพประกอบนิตยสารไทยในยุคหลงั

    สงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2489-พ.ศ. 2515) 2) ภาพประกอบนิตยสารไทยในยุคนิตยสารผูหญงิ

    (พ.ศ. 2516-พ.ศ. 2536) และ 3) ภาพประกอบนิตยสารไทยในยุคทนุนยิม (พ.ศ. 2537-พ.ศ. 2550)

    โดยปจจัยที่มผีลตอการแบงชวงเวลาของภาพประกอบนิตยสารไทยในแตละยุคสมยั ไดแก ยุคแรก

    คือ ปจจัยดานการเมืองการปกครองโดยรัฐบาลมีนโยบายเนนในเรื่องรัฐนิยม ซึง่สงผลตอแนวทาง

    ของภาพประกอบที่มกีารผสมผสานของศิลปะตะวันตกและศิลปะไทย, ยุคที่สอง คือ ปจจัยดาน

    รูปแบบของนติยสารสตรี ซึง่สงผลตอแนวทางการเขียนภาพประกอบที่เนนภาพลายเสนบคุคล

    นุมนวล และ ยุคที่สาม คือ ปจจัยดานพัฒนาการของธุรกิจนิตยสารในประเทศไทยทําใหเกิด

    ความกาวหนาของเทคโนโลยีการพมิพและการออกแบบ สงผลตอแนวทางภาพประกอบที่มีความ

    ทันสมยัและมหีลากหลายรปูแบบ อีกทั้งนักเขียนภาพประกอบแตละคนจะมีแนวทางการ

    สรางสรรคงานภาพประกอบที่มีเอกลกัษณเฉพาะตวัและแตกตางกนัไป

    ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป บัณฑติวิทยาลัย มหาวทิยาลยัศิลปากร ปการศึกษา 2551

    ลายมือช่ือนักศึกษา........................................

    ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ........................... 2. .............................

  • 47151302 : MAJOR : VISUAL COMMUNICATION DESIGN KEY WORD : DEVELOPMENT/ ILLUSTRATIONS/THAI MAGAZINE WISARUTMONTRI : THE DEVELOPMENT OF ILLUSTRATIONS IN THAI MAGAZINE. THESIS ADVISORS : THANATORN JIARAKUN AND YODKWAN SAWASDEE . 201 pp. The purpose of this research was to study the history and development of

    illustrations in Thai magazine during c.1946 – c.2007 with 98 representative samples of

    illustrations. To analysis the data and information for all periods, there are relevant issues were

    considered, including conceptual art and composition of illustrations, the relationship of illustrations

    and stories in magazine, the biography of illustrators, the history of Thai magazine, the history of Thai

    and western arts and, the history of Thai social, economic and political perspectives.

    The findings of this research are summarized that the development of illustrations in

    Thai magazine can be divided into three periods: 1) Aftermath World War II period (c.1946 –

    c.1972) 2) Women magazine period (c.1973 – c.1993) and, 3) Capitalism period (c.1994 –

    c.2007). For the first period, key issue leading to the development of illustrations was the

    government policy of state convention. Art directions in this period were integrated art

    combining Thai style and western style. For the second period, key issue leading to the

    development of illustrations was women magazine style. Art directions in this period were softer

    and lighter portrait sketch images. And, for the third period, key issues leading to the

    development of illustrations was capitalism business of Thai magazine and advanced

    technology of design and printing system. Art directions in this period were verity, modern and

    uniqueness based on the individual creation for each illustrators.

    Department of Visual Communication Design Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2008 Student's signature ........................................ Thesis Advisors' signature 1. ........................... 2. ...........................

  • กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เพราะความรวมมือรวมใจของบุคคลหลายๆทาน ที่ไดใหความกรุณาชวยเหลือ และใหคําปรึกษาปญหาตางๆ ขอกราบขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญ และทานคณาจารยตางๆ ที่ไดใหขอเสนอแนะในการทําวิทยานิพนธคร้ังนี้ ซ่ึง ไดแก อาจารยปยุต เงากระจาง อาจารยเกริกบุระ ยมนาค รศ.จารุพรรณ ทรัพยปรุง อาจารยอนุชา โสภาควิจิตร คุณรุงทิพย เตียวตระกูล คุณศิริสวัสดิ์ พันธุมสุต (นาแพ็ท ลลนา) คุณพัฒนพล จารุสมิต และเพื่อนรวมงานฝายส่ือสารการตลาดธนาคารกสิกรไทยทุกทานที่ไดใหกําลังใจในการคนควาขอมูลการทําวิทยานิพนธฉบับนี้ ขอกราบขอบพระคุณอาจารยวัฒนพันธุ ครุฑะเสน ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ อาจารยธนาทร เจียรกุล อาจารยยอดขวัญ สวัสดี อาจารยที่ปรึกษา ที่ไดใหคําแนะนํา และแกไขใหวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี รวมทั้งอาจารยทานอื่นๆ ที่ใหความชวยเหลือซ่ึงไมสามารถเอยนามมาไดทั้งหมด และขอขอบคุณครอบครัวของผูวิจัย และทุกๆ ทานที่คอยเปนกําลังใจอยางดีในการทําวิทยานิพนธคร้ังนี้ใหสําเร็จลุลวง

  • สารบัญ หนา

    บทคัดยอภาษาไทย ...................................................................................................... ง

    บทคัดยอภาษาอังกฤษ.................................................................................................. จ

    กิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................ ฉ

    สารบัญตาราง .............................................................................................................. ฌ

    สารบัญภาพ................................................................................................................. ต

    บทที ่

    1 บทนํา .............................................................................................................. 1

    ที่มาและความสําคัญของปญหา ................................................................ 1

    ความมุงหมายและวัตถุประสงคการศึกษา .................................................. 2

    สมมติฐานของการศึกษา ........................................................................... 2

    ขอบเขตของการศึกษา .............................................................................. 2

    นิยามคําศัพท ........................................................................................... 2

    2 เอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วของ .......................................................................... 3

    แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่วกบัการวาดภาพประกอบ ....................................... 3

    ความหมายของภาพประกอบ ............................................................ 3

    ความสําคญัของภาพประกอบ............................................................. 4

    จุดมุงหมายในการเขียนภาพประกอบ .................................................. 5

    ประวัตกิารเขียนภาพประกอบของไทย ................................................. 5

    ชนิดของภาพประกอบ ........................................................................ 6

    องคประกอบสําคัญในการเขียนภาพประกอบ....................................... 8

    ความรูพืน้ฐานสาํหรับนกัออกแบบ ...................................................... 13

    ความรูเกีย่วกับลักษณะของภาพประกอบ ............................................ 14

    การเขียนภาพประกอบเรื่องราวประเภทตางๆ ....................................... 16

    หลกัการเขียนภาพประกอบ ................................................................ 18

  • บทที ่ หนา

    แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับประวัตินิตยสารไทย............................................ 19

    ความหมายของนิตยสาร ................................................................... 19

    ประเภทของนิตยสาร......................................................................... 20

    ประวัตินติยสารไทย .......................................................................... 24

    แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่วกบัประวัติศิลปะไทยและศิลปะตะวนัตก ................. 36

    ประวัติศิลปะไทย ............................................................................... 36

    ประวัติศิลปะตะวนัตก ........................................................................ 42

    3 ระเบยีบวิธีการวิจยั ........................................................................................... 67

    ข้ันตอนการวิจยั ........................................................................................ 68

    วิธีการดําเนนิการวิจยั................................................................................ 68

    4 ผลการวิเคราะหขอมูล ....................................................................................... 74

    ผลสรุปการวิเคราะหววิัฒนาการภาพประกอบนิตยสารไทย .......................... 75

    5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ..................................................................... 173

    สรุปผลการวิจยั ........................................................................................ 173

    อภิปรายผลการวิจัย .................................................................................. 182

    ขอเสนอแนะในการศึกษา .......................................................................... 186

    บรรณานุกรม ............................................................................................................... 187

    ภาคผนวก.................................................................................................................... 189

    ประวัติผูวิจัย ................................................................................................................ 201

  • สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา

    1 โบวแดง ................................................................................................. 75

    2 ภาพแทรกโบวแดง .................................................................................. 76

    3 ปกหนังสือ.............................................................................................. 77 4 หลวิชัย-คาวี ........................................................................................... 78

    5 เมยีรักอยูรวมหองอยาไววางใจ ................................................................ 79

    6 เจด็วันเวนดีด ซอมดนตรี ......................................................................... 80

    7 ชุมนุมนกัประพนัธ .................................................................................. 81

    8 ราชาธิราช .............................................................................................. 82 9 นาครสนทนา.......................................................................................... 83 10 ศรีไพร ................................................................................................... 84 11 ฉลองวันเกดิ ........................................................................................... 85 12 องคุลีมาล .............................................................................................. 86 13 กัน้หยั่นอสรพิษ....................................................................................... 87 14 ภาพถายตนฉบับ .................................................................................... 88 15 จนิตนา-ธานินทร ควาแผนเสียงทองคํา ..................................................... 89 16 คนแกยอยวรรณกรรม ............................................................................. 90 17 ส.ค.ส. S.P. 2511 ................................................................................... 91 18 เบอรที่ไดโบว .......................................................................................... 92 19 นโยบายประชากรของจนีคอมมิวนิสต....................................................... 93 20 รถไฟไปกระบี่ ......................................................................................... 94 21 ศิลปวฒันธรรม ....................................................................................... 95 22 แลไปขางหลัง ......................................................................................... 96 23 เปลวสุริยา ............................................................................................. 97 24 Go Go Go............................................................................................. 98 25 อุตสาหกรรมปโตรเลียมในปจจุบนั............................................................ 99 26 เบื้องหลงัชวีิต ......................................................................................... 100 27 นาครสนทนา.......................................................................................... 101

  • ภาพที ่ หนา

    28 ฉลองวันเกดิ ........................................................................................... 102 29 จนิตนา ธานินทร เฆีย่น สุเทพ-สวลี ชนะที ่1 .............................................. 103 30 วงเวียนดาว ............................................................................................ 104 31 ตํารวจแคน............................................................................................. 105 32 จัด......................................................................................................... 106 33 คุณนายชัน้เอก ....................................................................................... 107 34 ทัศนะแมเรือน ........................................................................................ 108 35 กฎแหงกรรม .......................................................................................... 109 36 ยุคแหงความรุนแรง................................................................................. 110 37 ทางหลวง ............................................................................................... 111 38 วรรณโรค ............................................................................................... 112 39 ชมรมนนิทาหลงัแกวค็อกเทล ................................................................... 113 40 อีแมวขโมย............................................................................................. 114 41 เขาเอาหวัใจของหลอนไป แลวก็เอามาคืน ................................................. 115 42 หลมิผูมีคณุธรรม .................................................................................... 116 43 พลอยพราวแสง ...................................................................................... 117 44 ชีวิตรักนักศกึษาญี่ปุน ............................................................................. 118 45 อยูรวมฟา .............................................................................................. 119 46 ซุมมาลี .................................................................................................. 120 47 บานแหงอนาคต ..................................................................................... 121 48 หนีรัก .................................................................................................... 122 49 พระยาพิชยั ............................................................................................ 123 50 พชิิตสนามกอลฟบางพระ ........................................................................ 124 51 ริมหาดรัก............................................................................................... 125 52 ยิง่กรนยิ่งตายไว ..................................................................................... 126 53 เพราะอมเหรียญ..................................................................................... 127 54 ฤดหูนาวนวิเคลียร .................................................................................. 128 55 ยอนรอยเลอืด......................................................................................... 129

  • ภาพที ่ หนา

    56 ไมดัด..................................................................................................... 130 57 ตุมเมง ................................................................................................... 131 58 นางมาร ................................................................................................. 132 59 เทพีสําปะหลัง ........................................................................................ 133 60 มิใชความรกัจากสรวงสวรรค.................................................................... 134 61 สวรรคหาย ............................................................................................. 135 62 เรือนมยุรา.............................................................................................. 136 63 อุทยานเครือ่งเทศ.................................................................................... 137 64 อาแปะ .................................................................................................. 138 65 ทพิยดุริยางค .......................................................................................... 139 66 ลอดลายหงส .......................................................................................... 140 67 ความรูสึกทีห่ลงเหลือ .............................................................................. 141 68 ความรื่นรมย .......................................................................................... 142 69 หงึและหวง ............................................................................................. 143 70 ดอกแกวกระบุหนิง.................................................................................. 144 71 ไมปรากฏชือ่ .......................................................................................... 145 72 ทาํอยางไรใหเด็กในชนบทมีหนงัสืออานอยางทั่วถงึ .................................... 146 73 แทง พ.ศ. 2520 กับกอน ค.ศ. 2000 ......................................................... 147 74 เด็กไทยในอดีต ....................................................................................... 148 75 แกวหนามา ............................................................................................ 149 76 วาไรตี้ไพยบิซี ......................................................................................... 150 77 Innovative Marketing หนาปกนิตยสาร BrandAge.................................. 151 78 Beauty and The Brand หนาปกนิตยสาร BrandAge ............................... 152 79 จะแตงงานทั้งที ก็ควรเขาใจหลักเศรษฐศาสตร .......................................... 153 80 ภาษาทานผูทรงเกยีรติ ............................................................................ 154 81 เร่ืองของโมรี ........................................................................................... 155 82 เพื่อน (ไม) รัก หักเหลีย่มโหด ................................................................... 156 83 สมหลนที่เมืองแขก.................................................................................. 157

  • ภาพที ่ หนา

    84 ประวัติศาสตรส้ันๆ ของเวลาในเมืองไทย ................................................... 158 85 Trend Center เด็กแนว ........................................................................... 159 86 เก็บความรกัฉันไวในใจเธอ....................................................................... 160 87 พาแมไปตรวจสุขภาพ ............................................................................. 161 88 ความสุขแทจริงในชีวิต ............................................................................ 162 89 การตูนประกอบนิตยสาร a day ............................................................... 163 90 ขยับปาก................................................................................................ 164 91 นองหมาไมคาดเข็มขัด ............................................................................ 165 92 กอการรายดวยคุกกี้ ................................................................................ 166 93 RS เดินเกมรุก เชื่อมัน่ New Opportunity ................................................. 167 94 บริษทับําบดัการติดบุหร่ี .......................................................................... 168 95 ครับคลับ................................................................................................ 169 96 ปาฏหิาริยมีจริงมั๊ย .................................................................................. 170 97 เหตุเกิดในคืนสมรส ................................................................................. 171 98 หลอสวยงายๆ ดวยปลายเข็ม................................................................... 172

  • สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่1 และ ภาพที ่2 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515…….75

    2 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่3 และ ภาพที ่4 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515..….77

    3 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบและองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่5 และ ภาพที ่6 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515…… 79

    4 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการ เขยีนภาพประกอบและองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่7 และ ภาพที ่8 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515…….81

    5 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสมัพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่9 และภาพที ่10 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515…...83

    6 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนิตยสารไทย ความสมัพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการ เขยีนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที่ 11 และภาพที ่12 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515…..85

  • ตารางที่ หนา 7 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่13 และภาพที่ 14 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515….87

    8 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่15 และภาพที ่16 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515….89

    9 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที1่7 และภาพที ่18 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515…..91

    10 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการ เขยีนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่19 และภาพที่ 20 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515….93

    11 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่21 และภาพที ่22 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515.…95

    12 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกบัภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่23 และภาพที่ 24 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515….97

    13 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการ เขยีนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่25 และภาพที่ 26 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515….99

  • ตารางที่ หนา 14 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่27 และภาพที่ 28 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ.2515….101

    15 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่29 และภาพที ่30 ระหวางปพ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515….103

    16 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที3่1 และภาพที ่32 ระหวางป พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2515….105

    17 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่33 และภาพที่ 34 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ.2536….107

    18 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที่ 35 และภาพที ่36 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….109

    19 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที่ 37 และภาพที ่38 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536.…111

    20 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที่ 39 และภาพที ่40 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….113

  • ตารางที่ หนา 21 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่41 และภาพที่ 42 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….115

    22 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่43 และภาพที่ 44 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….117

    23 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่45 และภาพที่ 46 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….119

    24 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่47 และภาพที่ 48 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….121

    25 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่49 และภาพที ่50 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….123

    26 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่51 และภาพที ่52 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….125

    27 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่53 และภาพที ่54 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….127

  • ตารางที่ หนา 28 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่55 และภาพที่ 56 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….129

    29 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสมัพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศลิปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่57 และภาพที่ 58 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….131

    30 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่59 และภาพที่ 60 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….133

    31 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศลิปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่61 และภาพที่ 62 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….135

    32 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่63 และภาพที ่64 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….137

    33 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสมัพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่65 และภาพที ่66 ระหวางป พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2536….139

    34 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบใน นติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่67 และภาพที ่68 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….141

  • ตารางที่ หนา 35 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่69 และภาพที่ 70 ระหวางป พ.ศ. 2537- พ.ศ. 2550….143

    36 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่71 และภาพที่ 72 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….145

    37 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่73 และภาพที่ 74 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….147

    38 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่75 และภาพที่ 76 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….149

    39 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่77 และภาพที ่78 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….151

    40 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศลิปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่79 และภาพที ่80 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….153

    41 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่81 และภาพที ่82 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….155

  • ตารางที่ หนา 42 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่83 และภาพที่ 84 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ.2550....157

    43 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนิตยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่85 และภาพที่ 86 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….159

    44 แสดงประเภทนติยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่87 และภาพที่ 88 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….161

    45 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพนัธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศลิปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่89 และภาพที่ 90 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….163

    46 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการ เขยีนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่91 และภาพที ่92 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….165

    47 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสมัพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่93 และภาพที ่94 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….167

    48 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่95 และภาพที ่96 ระหวางป พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2550….169

  • ตารางที่ หนา 49 แสดงประเภทนิตยสารไทยของภาพประกอบ, ลักษณะการใชงานของภาพ

    ประกอบในนติยสารไทย ความสัมพันธของลัทธิศิลปะกับภาพประกอบ,

    แนวทางการเขียนภาพประกอบ และองคประกอบศิลปะและการใชสีของ

    ภาพประกอบภาพที ่97 และภาพที่ 98 ระหวางป พ.ศ. 2537- พ.ศ. 2550.…171

  • 1

    บทที่ 1

    บทนํา

    ที่มาและความสําคัญของปญหา นติยสารไทยปจจุบัน ไดผลิตออกสูสายตาประชาชนมานานกวาครึ่งศตวรรษ นิตยสาร

    ไทยแตละประเภทแตละแนวไดใหเนื้อหาสาระประโยชน แงคิดและความบันเทงิแกผูอาน

    แตกตางกนัออกไป ข้ึนอยูกับความตองการของผูอาน อาทิเชนนิตยสารแนวสารคดี บันเทิง กฬีา

    ทองเที่ยว ออกแบบตกแตง ไลฟสไตล (LIFESTYLE) ทัว่ไป ธุรกิจการตลาด และอ่ืนๆ

    แตละประเภทของนิตยสารที่ไดกลาวถึงนั้น สวนสาํคัญสวนหนึง่ทีจ่ะขาดเสียมิไดคือ

    สวนที่เปนภาพประกอบเรื่องที่แทรกอยูในคอลัมน (COLUMN) ตางๆ เพื่อสงเสริมเนื้อหาประกอบ

    เร่ืองใหมีอรรถรสชวนติดตาม หากกลาวถึงคําวา “ภาพประกอบเรื่อง” หลายคนอาจนกึถึงภาพที่

    วาดดวยหมกึสีตางๆ ที่ออกมาในรูปแบบภาพประกอบนวนิยาย หรือเร่ืองสัน้ ที่สอดแทรกใน

    คอลัมน ของนติยสารนัน้ๆ

    หากมองถึงหลักความจริงแลว คาํวาภาพประกอบเรื่องมิใชแคภาพประกอบเรื่องราว

    เทานัน้ แตไดรวมไปถึงภาพถายหรือภาพเทคนิคสื่อผสมตางๆ สวนเปาหมายกม็ิใชแคประกอบ

    นวนิยายหรือเร่ืองสั้นเทานั้น แตอาจรวมไปถึงคอลัมนสวนปลกียอยเลก็ๆ เชนคอลมันเกร็ดความรู

    ตางๆ บทสัมภาษณแขกรับเชิญ หรือคอลัมนปกิณกะทั่วไป คอลัมนเหลานี้ลวนแลวแตมี

    ภาพประกอบทั้งสิน้

    เนื้อหาของภาพประกอบนั้นจะเปนลักษณะไหน ก็ข้ึนอยูกับเร่ืองราวที่ผูเขียนกลาวถึง

    การใชเทคนิคและกรรมวิธีในการสรางสรรคภาพประกอบ หากมองยอนไปในอดีตจนถึงปจจุบันมี

    วิวัฒนาการของรูปแบบที่แปลกใหมนาติดตามเกิดขึ้นเรื่อยๆ ข้ึนอยูกับยุคสมัย กาลเวลาหรือ

    ความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่พัฒนาไปอยางไมหยุดยั้ง ดวยเหตุนี้ทําใหวิวัฒนาการของรูปแบบ

    นิตยสารไทยปจจุบัน มีความแตกตางจากอดีตอยางเห็นไดชัดทั้งเทคนิค วิธีการและฝมือของนัก

    วาดภาพประกอบ (ILLUSTRATOR)

  • 2

    จากหลักฐานที่ปรากฏในชวงกวาทศวรรษ ขอมูลที่คิดคนยังไมมีผูรวบรวมและ

    วิเคราะหในเชิงคนควาวิจัยในลักษณะนี้มากอน นอกจากนี้ผูคนควาไดใหความสนใจ และได

    ติดตามผลงานของนักวาดภาพประกอบที่ชื่นชอบอยู เสมอ ตลอดจนผลงานของนักวาด

    ภาพประกอบคนอื่นๆที่มีเทคนิคการสรางสรรคงานนาสนใจ ตามหนานิตยสารไทยทั่วไป ดวยเหตุ

    นี้เอง ทําใหเกิดแรงบันดาลใจอยางยิ่งที่จะศึกษาคนควาวิเคราะหผลงานของนักวาดภาพประกอบ

    ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพื่อวิเคราะหในสิ่งที่ขาพเจาสนใจอยางละเอียดลึกซึ้งและเพื่อเปน

    ประโยชนแกผูอาน ผูสนใจที่จะศึกษาคนควาตอไป

    ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา 1. ศึกษาววิัฒนาการของภาพประกอบนิตยสารไทยระหวางป พ.ศ. 2489 – พ.ศ 2550

    2. วิเคราะหแนวความคิดสรางสรรคในงานภาพประกอบของนิตยสารไทย และสรปุเพือ่

    เปนแนวทางในการเขียนภาพประกอบนิตยสารไทย

    สมมติฐานของการศึกษา ววิัฒนาการของการเขียนภาพประกอบนิตยสารไทยระหวางป พ.ศ.2489 – พ.ศ. 2550

    มีความแตกตางตามยุคสมยั

    ขอบเขตของการศึกษา งานวิจยัชิ้นนีมุ้งวิเคราะหแนวความคิดในการสรางสรรคภาพประกอบนิตยสารไทยใน

    ระหวางป พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2550

    นิยามคําศัพท

    ภาพประกอบ (Illustration) หมายถึง ผลงานที่ถูกสรางขึ้นใหเกิดเปนรูปภาพประกอบ

    โดยใชเทคนิคตางๆ เพื่อขยายความตัวอักษรใหเกิดจินตนาการตามเนื้อหา

    นติยสาร (Magazine) หมายถงึ ส่ิงพิมพหรือหนังสือที่ออกเผยแพรตอเนื่องตาม

    กําหนดเวลา มีลักษณะรูปเลมที่อยูในรูปแบบเดียวกนั

  • 3

    บทที่ 2

    เอกสารและงานวจิัยที่เกี่ยวของ

    การวิจยัเรื่อง “วิวัฒนาการภาพประกอบนิตยสารไทย” เปนการศึกษาถงึความ

    แตกตางและววิัฒนาการของภาพประกอบในประเทศไทย โดยมีการวิเคราะหรูปแบบ แนวคดิ

    เทคนิคและวิธกีารวาดภาพประกอบ ไปจนถงึทฤษฎขีองแนวทางศลิปะไทยและศิลปะตะวันตกที่

    แสดงความสมัพันธตอการวาดภาพประกอบในแตละยุคสมัย อันประกอบดวยเอกสารและงานวจิัย

    ที่เกีย่วของดงัตอไปนี้

    ตอนที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการวาดภาพประกอบ

    ตอนที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับประวัตินิตยสารไทย

    ตอนที่ 3 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับประวัติศิลปะไทยและศิลปะตะวันตก

    ตอนที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกบัการวาดภาพประกอบ 1.1 ความหมายของภาพประกอบ คําวา “ภาพประกอบ” ตรงกับภาษาอังกฤษวา “Illustration” ซึ่งมีผูใหคาํนยิาม

    ของคําวา “ภาพประกอบ” หรือ “Illustration” ไวหลายความหมายดงันี ้

    1.1.1 ภาพประกอบ หมายถึง รูปที่ลงคูกบัเร่ืองราวเพื่อใหเหน็ภาพที่ชดัเจนขึ้น

    (มานิต มานติเจริญ 2520:994)

    1.1.2 ภาพประกอบ หมายถึง ภาพทีว่าดขึ้นหรือนาํมาแสดงเพื่อประกอบเรื่อง

    (ราชบัณฑิตยสถาน 2538:619 )

    1.1.3 Illustration หมายถึง การแสดงใหเห็นการอธิบายประกอบดวยตัวอยาง

    หรือภาพ การเขียนภาพประกอบ ภาพประกอบ(สอ เสถบุตร ม.ป.ป.:360)

    1.1.4 Illustration หมายถงึ รูปภาพในหนงัสือ ฯลฯ การแสดงใหเหน็บางสิ่ง

    อยางดวยรูปภาพ การยกตวัอยางดวยภาพ (Hawkins 1990:191)

    1.1.5 Illustration หมายถงึ ภาพที่ใชเพิ่มเติมในหนังสือเพื่อใหเร่ืองราวชัดเจน

    และตกแตงใหสวยงามมทีัง้ภาพขาวดาํ-ภาพสี (Landau(ed)1966:213)

  • 4

    คําวา ภาพประกอบหรือ Illustration จึงมคีวามหมายกวางมาก อาจเปนภาพลายเสน

    ภาพเขียน ภาพถาย ภาพเทคนิคตางๆ ที่นาํมาประกอบนวนิยาย เร่ืองสั้น สารคดี บทความ

    นิตยสาร โปสเตอร แผนพบั ปกแผนเสียง แถบบันทึกเสียง แถบบนัทึกภาพ และอื่นๆ ที่เกีย่วของ

    กับงานประพนัธและงานโฆษณาตางๆ เพื่อขยายความตวัอักษรใหเกิดจนิตนาการตามคอลัมน

    (Column) ของเนื้อเร่ือง กลาวไดวาภาพประกอบเปนผลงานทีถู่กสรางขึ้น เพื่อการคาหรือเงื่อนไข

    ทางสังคมหรือเศรษฐกิจ ใหเกิดเปนภาพประกอบของเนือ้หาวิจิตรศิลป (Fine Art) เมื่อถูกเจาะจง

    ใชเปนสื่อตามขอมูลที่กําหนด จะเรียกวาภาพประกอบ 1.2 ความสําคัญของภาพประกอบ

    ภาพมีความสําคัญกับมนุษยมาตั้งแตสมัยโบราณ เพราะตัวหนังสือที่มนุษยใช

    ทุกวนันี้ มวีิวฒันาการมาจากภาพเขียน ซึ่งมนุษยเขียนไวตามฝาผนงัถ้ําเพื่อบูชาพระเจา หรือเพือ่

    บันทกึเรื่องราวเหตุการณสําคัญ ภาพเขียนโดยคนโบราณนี้เขียนดวยถานและสธีรรมชาติตางๆ

    และใชกระดูกเปนเครื่องมือขูดขีดบนหิน

    ภาพเขยีนยุคตนๆ เปนภาพสวนตางๆของสัตว เชน ภาพหัวสตัว ขาสัตว ตอมา

    รูจักเขียนทั้งตวัและเขียนใหอยูในลักษณะมีกิริยาอาการ ยุคถัดมามนษุยรูจักเขยีนคนทัง้ตัวใน

    ลักษณะที่อยูเฉยๆ กอน แลวจึงเขียนภาพคนในลกัษณะที่มีกิริยาอาการตางๆ และตอมาไดมีการ

    เขียนภาพคนและสัตวปนกนั เปนเรื่องราวการเขียนภาพเหลานัน้เปนการเลาเหตุการณตางๆ และ

    เปนการขยายความนึกคิดของบุคคลแสดงออกมาเปนภาพ หลงัจากนัน้จงึไดมีตัวหนังสือตางๆ

    เกิดขึ้น โดยดดัแปลงมาจากการเขียนภาพนัน่เอง

    เมื่อมนุษยมตีัวหนังสือใชส่ือความหมายแลว ก็เขียนหนังสือบันทกึความคิดและ

    เหตุการณตางๆ ถายถอดใหคนอื่นๆ หรือเก็บไวใหคนรุนหลังไดอาน วสัดุที่ใชเขียนหนังสือมหีลาย

    ชนิดเชน แผนดิน อิฐ ดนิเหนยีว แผนไมไผ ผาไหมกระดาษ ตอมามนษุยรูจักทาํหนังสือเปนเลม

    ลักษ