3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ...

29
1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลคาสุกรของสหกรณผูเลี้ยง สุกรอุตรดิตถ จํากัด 2. เจาของโครงการ 1) สหกรณผูเลี้ยงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ที่ปรึกษาทางวิชาการและผูสนับสนุนโครงการ 1) สหกรณจังหวัดอุตรดิตถ 2) กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจเพื่อการคนควาและพัฒนาการผลิตปศุสัตวและผลิตภัณฑสัตว 4) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต กําแพงแสน นครปฐม 5) ปศุสัตวจังหวัดอุตรดิตถ กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. หลักการและเหตุผล สหกรณผูเลี้ยงสุกรอุตรดิตถ จํากัด มีสมาชิกผูเลี้ยงสุกรในจังหวัดอุตรดิตถ จํานวน 9 อําเภอ มีสมาชิกทั้งหมด 819 คน สังกัดกลุ9 อําเภอ ในอําเภอตาง คือ กลุชื่อกลุมสมาชิก จํานวนสมาชิก (คน) เปนผูเลี้ยงสุกร(คน) 1 อําเภอเมือง 276 220 2 อําเภอลับแล 90 73 3 อําเภอพิชัย 78 65 4 อําเภอฟากทา 86 68 5 อําเภอบานโคก 1 1 6 อําเภอน้ําปาด 40 33 7 อําเภอทาปลา 78 65 8 อําเภอตรอน 44 35 9 อําเภอทองแสนขัน 126 100 รวม 819 660 มีจํานวนแมพันธุทั้งสิ้นในระบบ 1,000 ตัว สามารถผลิตสุกรขุนออกสูตลาดตลอดป 20,000 ตัว โดยสมาชิกสหกรณผูเลี้ยงสุกรอุตรดิตถ จํากัด สวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย มีการเลี้ยงสุกรเฉลี่ยครอบครัวละ ไมเกิน 100 ตัว

Upload: others

Post on 04-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลคาสุกรของสหกรณผูเลีย้ง สุกรอุตรดิตถ จํากัด 2. เจาของโครงการ

1) สหกรณผูเลี้ยงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ท่ีปรึกษาทางวชิาการและผูสนับสนุนโครงการ

1) สหกรณจังหวดัอุตรดิตถ 2) กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจเพื่อการคนควาและพัฒนาการผลิตปศุสัตวและผลิตภัณฑสัตว 4) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต กําแพงแสน นครปฐม 5) ปศุสัตวจังหวดัอุตรดิตถ กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ

3. หลักการและเหตุผล สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด มีสมาชิกผูเล้ียงสุกรในจังหวดัอุตรดิตถ จํานวน 9 อําเภอ

มีสมาชิกทั้งหมด 819 คน สังกัดกลุม 9 อําเภอ ในอําเภอตาง ๆ คือ

กลุม ชื่อกลุมสมาชกิ จํานวนสมาชกิ (คน) เปนผูเล้ียงสุกร(คน)

1 อําเภอเมือง 276 220 2 อําเภอลับแล 90 73 3 อําเภอพิชัย 78 65 4 อําเภอฟากทา 86 68 5 อําเภอบานโคก 1 1

6 อําเภอน้ําปาด 40 33

7 อําเภอทาปลา 78 65

8 อําเภอตรอน 44 35

9 อําเภอทองแสนขัน 126 100

รวม 819 660

มีจํานวนแมพันธุทั้งส้ินในระบบ 1,000 ตัว สามารถผลิตสุกรขุนออกสูตลาดตลอดป 20,000 ตัว โดยสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด สวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย มีการเลี้ยงสุกรเฉลี่ยครอบครัวละไมเกิน 100 ตัว

Page 2: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

2

ขอมูลการเลี้ยงสุกรของเกษตรกรผูเล้ียงสุกรในจังหวัดอุตรดิตถ

เกษตรกรผูเล้ียงสุกรท่ัวไปของจ.อุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง

รายการ สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด

และสมาชิก 8 อําเภอ จ.อุตรดิตถ

อ.ศรีสัชชนาลัย จ.สุโขทัย

อ.สูงแมนจ.แพร

รวม

จํานวนผูเลี้ยงสุกร 660 320 130 90 1,200

จํานวนแมพันธุสุกร (ตัว/ป) 1,000 710 170 120 2,000

จํานวนสุกรขุนที่ผลิตได(ตัว/ป) 20,000 14,200 3,400 2,400

40,000

ที่มา : สํานักงานปศุสัตว จังหวัดอุตรดิตถ สํานักงานปศุสัตว อําเภอศรีสัชชนาลัย จังหวัดสุโขทัย สํานักงานปศุสัตว อําเภอสูงแมน จงัหวัดแพร

เนื่องจากเกษตรกรผูเล้ียงสุกรในจังหวัดอุตรดิตถ สวนใหญยังเปนเกษตรกรรายยอยจํานวนกวา 1,200 ราย เล้ียงสุกรไมเกิน 100 ตัว หากการเลี้ยงสุกรไมมีความมั่นคงโดยเฉพาะความไมมีเสถียรภาพของราคาสุกร เมื่อสุกรขาดตลาดสุกรมีชีวิตมีราคาสูง เกษตรกรก็จะเลี้ยงสุกรมากขึ้น แตในสภาวะการลนตลาดหรือในสภาวะที่มีการนําเขาเครื่องในสุกรราคาถูกจากตางประเทศ และทําใหราคาสุกรมีชีวิตตกต่ําลงเกษตรกรขาดทุน ก็จะเลิกเล้ียงสุกร ซ่ึงเปนวัฏจักรสุกร ที่ทําใหเกิดผลเสียตอระบบเศรษฐกิจโดยสวนรวม ประกอบกับตนทุนการเล้ียงสุกรสวนใหญกวา 65% เปนตนทุนจากอาหารสัตว เพราะสุกรเปนสัตวที่ใชอาหารขนผลิตเนื้อเพื่อให คนบริโภค เกษตรกรผูเล้ียงสุกรจึงตองมีคาใชจายในการซื้ออาหารสัตว จากบริษัทผลิตอาหาร สัตว ซ่ึงมีราคาแพง สงผลใหเกษตรกรขายสุกรขาดทุนไมคุมกับเงินลงทุน เกษตรกรผูเล้ียงสุกรจํานวนมากจึงตองเลิกเลี้ยงสุกร

เกษตรกรรายยอยที่มีเงินทุนนอย จะมีปญหาดานการผลิตตั้งแตการ จัดซื้อพันธุสัตว อาหารสัตววัตถุดิบ การผลิต ยาเวชภัณฑตางๆ ตลอดจนไมมีการดําเนินการดานการตลาดจําหนายสุกรมีชีวิตและผลิตภัณฑ จึงทําใหเกษตรกรผูเล้ียงสุกรรายยอย ไดรับผลกระทบจากการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิตมาก ในขณะที่การเลี้ยงสุกรของ ผูเล้ียงสุกรรายใหญ รวมทั้งการเลี้ยงสุกรของเครือบริษัทอาหารสัตวจะเปนระบบครบวงจร โดยบริษัท ที่มีเงินทุน ดําเนินการตั้งแตการผลิตพอแมพันธุสุกรผลิตลูกสุกร การดูแลจัดการฟารมสุกร ตลอดจนการตลาดสุกรทั้งระบบจึงไดรับผลกระทบจากการนําเขาเครื่องในสุกรนอยกวา และมีแนวโนมวาการเลี้ยงสุกรระบบนี้จะเขามาทดแทนการเลี้ยงสุกรของเกษตรกรรายยอยที่ตองเลิกกิจการไป ซ่ึงสุดทายจะกอใหเกิดการผูกขาดการลี้ยงสุกร ในประเทศในที่สุด

Page 3: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

3

และสืบเนื่องจากการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ และจากการที่รัฐบาลไทยไดทําขอตกลงเขตการคาเสรี FTA (Free Trade Area) กับหลายประเทศ เชน ประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด และประเทศจีน สินคาสุกรที่เดิมมีมาตรการทางภาษีศุลกากรเปนมาตรการปกปองผลประโยชนแกเกษตรกรภายในประเทศ ซ่ึงหากเปดตลาดการคาเสรีแลว สินคาสุกรสามารถนําเขาโดยไมมีการปกปองดานภาษีสงผลกระทบตอเกษตรกร ผูเล้ียงสุกรในประเทศเปนอยางมาก ทั้งนีเ้นื่องจากตนทนุการผลิตสุกรมีชีวิตของไทยมีราคาสูงกวาตนทุนการผลิตสุกรของประเทศอื่นๆ ตัวอยางเชน ในป 2549 ตนทุนการผลิตสุกรมีชีวิตของประเทศไทยเปนเงิน 44 บาทตอกิโลกรัม (ปจจบุัน 57 บาท/กโิลกรัม) ในขณะที่ตนทุนการผลิตสุกรมีชีวิตของประเทศออสเตรเลีย 35.70 บาทตอกิโลกรัม ประเทศนิวซีแลนด 42.50 บาทตอกิโลกรัม และประเทศจีน 39.00 บาท ตอกิโลกรัม เอกสารประกอบ 1. ซ่ึงตนทุนการผลิตสุกรของทั้งสามประเทศต่ํากวาตนทนุการผลิตสุกรของไทยมาก โดยเฉพาะประเทศออสเตรเลียตนทุนต่ํากวาถึงกิโลกรัมละ 6.50 บาท ประเทศจนีตนทนุต่ํากวากิโลกรัมละ 5.- บาท และประเทศนิวซีแลนดตนทุนต่ํากวากิโลกรัมละ 1.50 บาท และในบางประเทศตนทุนการผลิตสุกรมีชีวิตต่าํกวา หนึ่งดอลลาร หรือ 34 บาท/กก เชน ประเทศบราซิลสหรัฐอเมริกา ชิลี และแคนาดา เปนตน แมปจจุบนัการนําเขาเนื้อสุกรจากประเทศที่ทําขอตกลงทางการคาเสรีกับประเทศไทยยังมีนอย แตปรากฏวาการนําเขาเครื่องในสุกรจากประเทศเหลานีก้ลับมีปริมาณมากขึ้นมากขึน้อยางตอเนื่อง เอกสารประกอบ 2. โดยในป พ.ศ. 2551 มีปริมาณนําเขาถึง 11,462.17 ตัน อีกทั้งราคา ที่นําเขาก็ต่ํากวาราคาเครื่องในที่จําหนายในประเทศมาก โดยมีราคาเฉลี่ยเพียง กก. ละ 40 -50 บาท เทานัน้เมื่อเปรียบเทยีบกับราคาเครื่องในสุกร ในประเทศที่มรีาคาประมาณ กก. ละ 110-120 บาท ทั้งนี้เนื่องจากเครื่องในสัตวไมเปนที่นยิมบริโภคในประเทศเหลานี้ จึงขายทิ้งในราคาถูกมาก ซ่ึงการนําเขาเครื่องในสุกรดังกลาวสงผลกระทบตอราคาสุกรมีชีวิตในประเทศเปนอยางมากเนื่องจาก 1. โดยปกตกิารฆาสุกร 1 ตัวจะมีสวนเครื่องในประมาณ 12-15 กก ซ่ึงหากเครื่องในมีราคาสูง ก็จะมีผลทําใหพอคาสุกรสามารถซื้อสุกรมีชีวิตไดในราคาสูงดวย แตการนําเขาเครือ่งในจากตางประเทศ ที่มีราคาถูกเขามา ทําใหราคาเครื่องในสุกรในตลาดในประเทศลดต่ําลง เครื่องในจากตัวสุกรเมื่อฆาออกมาแลวจึงขายไดในราคาต่ําตามไปดวย ทําใหพอคาคนกลางตองกดราคารับซื้อสุกรมีชีวิตจากเกษตรกรใหต่ําลง เพื่อยังคงกําไรจากการฆาสุกร 1 ตัวเชนเดิม การทีม่ีเครื่องในสุกรนําเขาราคาถูกจากตางประเทศมาก ยังทําใหความตองการเครื่องในจากตัวสุกรที่เล้ียงในประเทศลดลง และทําใหพอคาคนกลางซื้อสุกรมีชีวิต ในประเทศลดลงดวย ปริมาณการนําเขาเครื่องในสุกรจํานวน10,000 ตัน เทากับเครื่องในจากสุกรประมาณ 850,000 ตัว ซ่ึงมีผลทําใหสุกรในประเทศจํานวนดังกลาวมีราคาต่ําลง และสงผลกระทบเปนวงกวางตอราคาสุกรในประเทศทั้งระบบ 2. การที่เครื่องในสุกรนําเขามีราคาถูก มีผลทําใหผูประกอบการอาหาร รวมทั้งผูบริโภคทั่วไป จะมีการใชเครื่องในในการปรุงอาหารทดแทนเนื้อสุกรมากขึ้น สงผลทําใหความตองการเนื้อสุกรลดลง ราคาสุกรมีชีวิตต่ําลงไมสมดุลกับตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นตลอดเวลา จนเกษตรกรผูเล้ียงสุกรไมสามารถอยูได

และจากการที่เกษตรกรผูเล้ียงสุกรในประเทศไทยสวนใหญยัง เปนเกษตรกรรายยอยซ่ึงมีจํานวนกวา 40,000 ราย เล้ียงสุกรไมเกิน 50 ตัว หากการเลี้ยงสุกรไมมีความมั่นคงโดยเฉพาะความไมมีเสถียรภาพของ

Page 4: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

4

ราคาสุกร เมื่อสุกรขาดตลาด สุกรมีชีวิตมีราคาสูง เกษตรกรก็จะเลี้ยงสุกรมากขึ้น แตในสภาวะการลนตลาด หรือในสภาวะที่มีการนําเขาเครื่องในสุกรราคาถูกจากตางประเทศและทําใหราคาสุกรมีชีวิตตกต่ําลง เกษตรกรขาดทุนก็จะเลิกเล้ียงสุกร ซ่ึงเปนวัฏจักรสุกรที่ทําใหเกิดผลเสียตอระบบเศรษฐกิจ โดยสวนรวม ประกอบกับตนทุนการเล้ียงสุกร สวนใหญกวา 65 % เปนตนทุนจากอาหารสัตว เพราะสุกรเปนสัตวที่ใชอาหารขนผลิตเนื้อเพื่อให คนบริโภค เกษตรกรผูเล้ียงสุกรจึงตองมีคาใชจายในการซื้ออาหารสัตว จากบริษัทผลิตอาหารสัตว ซ่ึงมีราคาแพง สงผลใหเกษตรกรขายสุกรขาดทุน ไมคุมกับเงินลงทุน เกษตรกรจํานวนมาก จึงตองเลิกเลี้ยงสุกรไปในที่สุด

ดังนั้น เพื่อเปนการสนับสนุนสงเสริมใหเกษตรกรผูเล้ียงสุกรรายยอย ซ่ึงสวนใหญเปนสมาชิกสหกรณ ไดมีโอกาสปรับปรุงพัฒนาระบบการเลี้ยงสุกรใหไดมาตรฐานรวมทั้งการจัดการ ดานการตลาดสุกรเพื่อใหสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรและเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป สามารถเลี้ยงสุกรเปนอาชีพไดอยางยั่งยืนตลอดจนเปนการสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจใหกับชุมชน สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด รวมกับสถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจเพื่อการคนควาและพัฒนาปศุสัตวและผลิตภัณฑสัตว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม จึงไดจัดทําโครงการปรับโครงสรางสินคาสุกรและการพัฒนาสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด สมาชิกสหกรณ และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป สรางความเขมแข็งในการประกอบอาชีพการเลี้ยงสุกรและรวมทั้งการพัฒนาอาชีพตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเลี้ยงสุกร เชน เกษตรกรผูผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว และ ผูประกอบอาหารที่ใชเนื้อสุกรเปนสวนประกอบ เปนตน และเพื่อผลักดันใหการดําเนินการตามนโยบายสงเสริมใหพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถเปนเขตปลอดโรค โดยการสนับสนุนโครงสรางพื้นฐาน คือโรงงานผลิตอาหารสุกรโดยซื้อวัตถุดิบอาหารสัตวจาก เกษตรกรผูผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว เชน มันสําปะหลัง รํา ปลายขาว ขาวโพด ผสมเปนอาหารสัตวจําหนาย เปนตน เพื่อชวยเหลือสมาชิกสหกรณ ไดซ้ืออาหารสุกรที่มีคุณภาพดีในราคายุติธรรมการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตสุกร ใหกับสมาชิกสหกรณ และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป การปรับปรุงพัฒนาการดูแลจัดการฟารมสุกร การสนับสนุนการดําเนินการตลาด ตลอดจนการพัฒนาและการเชื่อมโยงธุรกิจการจําหนายสุกรมีชีวิตกับพอคาจําหนายเนื้อสุกรชําแหละ(เขียง) ดังนั้นสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด มีความจําเปนตองดําเนินกิจกรรมตางๆ แบบครบวงจร ทั้งนี้ตั้งแตการฝกอบรมสมาชิกสหกรณ เกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป ปรับปรุง พัฒนาระบบการผลิตสุกรของเกษตรกรใหมีคุณภาพ เพื่อจําหนายสมาชิกสหกรณการผลิตอาหารสุกรโดยใชวัตถุดิบที่มีคุณภาพดี และการสงเสริมดานการตลาด เชน ศูนยจําหนายเนื้อสุกรในแหลงชุมชน เปนตน

4. วตัถุประสงคของโครงการ 4.1 เพื่อพัฒนาการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป ทั้งระบบใหมีประสิทธภิาพสูงขึ้น มตีนทุนการผลิตต่ําลงเพื่อใหสามารถอยูรอดได ภายใตขอตกลง

เปดเสรีทางการคา 4.2 เพื่อพัฒนาการตลาดสุกรมีชีวิตและเนือ้สุกรที่ผลิต โดยสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ทั้งระบบใหตรงถึงผูบริโภค เพื่อเปนลดผลกระทบจากการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิตที่จะ เกิดขึ้นกบัเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป 4.3 เพื่อใหการบริหารงานของสหกรณ เปนระบบการบริหาร การจัดการที่ดี ครบวงจร

Page 5: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

5

5. ขอบเขตการดําเนินโครงการ ทําการสงเสริมสนับสนุนสมาชิกสหกรณ กลุมเกษตรกรผูเล้ียงสุกร และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรในจังหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง ใหมีการปรับปรุงพัฒนาการผลิตสุกร ใหไดคุณภาพตามมาตรฐานของ กรมปศุสัตว ผลิตสุกรมีคุณภาพเทียบเทาฟารมสุกรของบริษัท มีการพัฒนาระบบการจัดการตลาดสุกรมีชีวิตและเนื้อสุกรเพื่อใหการผลิตสุกรเปนระบบครบวงจร เพื่อลดผลกระทบจากการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิต รวมทั้งผลกระทบราคาสุกรตกต่ํา ที่เกิดจากทําขอตกลงเปดเสรีทางการคา และสามารถแขงขันไดกับการเลี้ยงสุกร แบบครบวงจรของเครือบริษัทอาหารสัตว โดยแบงการดําเนินการของโครงการเปนกิจกรรมตางๆ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1: การฝกอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรแก สมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรและเกษตรกร ผูเล้ียงสุกรท่ัวไป งบประมาณ 1,947,600.00 บาท (หนึง่ลานเกาแสนสี่หมื่นเจ็ดพันหกรอยบาทถวน) ดําเนินการโดยสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด โดยดําเนินการรวมกับสถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯ กรมสงเสริมสหกรณ กรมปศุสัตวและสถาบันการศึกษาตาง ๆ เพื่อทําการฝกอบรมสมาชิกสหกรณ กลุมเกษตรกร และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรในจังหวัดอุตรดิตถ ใหเขาใจวิธีการเลี้ยงและการผลิตสุกรแผนใหม ที่มีประสิทธิภาพสูง ตนทุนการผลิตลดลง จํานวนปละ 300 คน ไดแก 1. สหกรณผูเลี้ยงสุกรอุตรดิตถ จํากัด จํานวน 200 คน 2. กลุมเกษตรกรผูเล้ียงสุกร เกษตรกรในจงัหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง จํานวน 100 คน เปนเวลา 4 ป รวมมีผูเขารับการฝกอบรมทั้งส้ิน 1,200 คน กิจกรรมที่ 2: ศูนยการผลิตอาหารสัตวครบวงจรสําหรับสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรและเกษตรกรทั่วไป ในจังหวัดอุตรดิตถ และจังหวัดใกลเคียง งบประมาณ 5,000,000.00 บาท (หาลานบาทถวน)

ดําเนินการโดยสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด เพื่อทําการผลิตอาหารสัตวคุณภาพดี ราคายุติธรรม กําลังการผลิตอาหาร 5 ตัน/วัน จําหนายใหกับสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกร ในจังหวัดอุตรดิตถทั้งระบบ กิจกรรมที่ 3: ฟนฟู พฒันา และเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด งบประมาณ 2,060,000.00 บาท (สองลานหกหมื่นบาทถวน) ดําเนินการ โดยสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด เพื่อเปนการชวยเหลือสมาชิกใหมีอาชีพที่มั่นคงและสามารถพัฒนาการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ใหมีมาตรฐานสูงขึ้นตามกฎเกณฑกําหนดโดยกรมปศุสัตว ตนทุนการผลิตต่ําลง และสามารถผลิตไดเพียงพอกับความตองการของตลาดมากขึ้น

Page 6: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

6

6. ระยะเวลาการดําเนินการ เปนระยะเวลา 8 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2553 – 2560

7. งบประมาณ 9,007,600.- บาท ( เกาลานเจ็ดพันหกรอยบาทถวน ) ดังนี ้ 7.1 ขอสนับสนุนเปนเงินจายขาด เปนเงิน 2,007,600.- บาท 7.2 ขอสนับสนุนเงินเปนเงนิกูปลอดดอกเบี้ย เปนเงิน 5,000,000. - บาท ระยะยาวและปลอดการชําระเงินตน 2 ป 7.3 ขอสนับสนุนเปนเงินหมนุเวยีน เปนเงิน 2, 000,000.- บาท มีรายละเอียดดังตอไปนี ้ ปท่ี1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5 ปท่ี 6 ปท่ี 7 ปท่ี 8 รวม 1. คาอุปกรณ 5,000,000 - - - - - - - 5,000,000 2. คาอบรม 454,500 454,500 454,500 454,500 - - - - 1,818,000 3.คาตอบแทน 32,400 32,400 32,400 32,400 - - - - 129,600 4.หมุนเวียน 1,000,000 500,000 500,000 - - - - - 2,000,000 (วัตถุดิบอาหารสัตว,อาหารสัตว,หมุนเวียนซื้อสุกร) 5. คาบริหารจัดการ 7,500 7,500 7,500 7,500 7,500 7,500 7,500 7,500 60,000 ของสหกรณ รวม 6,494,900 994,400 994,400 494,400 7,500 7,500 7,500 7,500 ,007,600

แผนการชําระเงินคนื หนวย : บาท เงินทุน ปท่ี

1 ปท่ี 2

ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5 ปท่ี 6 ปท่ี 7 ปท่ี 8 รวม

คากอสราง โรงผสมอาหาร โรงเรือนสุกรขุน

- - 834,000 834,000 834,000 834,000 834,000 830,000 5,000,000

เงินหมุนเวียน

- - 334,000 334,000 334,000 334,000 334,000 330,000 2,000,000

รวม - - 1,168,000 1,168,000 1,168,000 1,168,000 1,168,000 1,160,000 7,000,000

Page 7: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

7

8. การบริหารจัดการและกํากับดูแลโครงการ 8.1 สหกรณผูเลี้ยงสุกรอุตรดิตถ จํากัด เปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการโครงการทั้งหมด 8.2 สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯ เปนหนวยงานหลักในการสงเสริมแนะนําการดําเนินการ โครงการฯ ในเชิงวิชาการใหสําเร็จลุลวงตามเปาหมาย 8.3 กรมสงเสริมสหกรณ กรมปศุสัตว และสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเปนหนวยงาน สนับสนุนและใหเบกิคาใชจายการบริหารจัดการและกํากับดูแลโครงการ จากกองทุนฯ ไมเกิน 3 % ของวงเงินกูยืมที่ไดรับอนมุัติ

9. ตัวชี้วัดผลสําเร็จ

1. ป 2553 สมาชิกสหกรณและเกษตรกรผูเล้ียงสุกร ไมต่ํากวา 30 % เขารวมโครงการ สามารถ ปรับปรุงพัฒนาระบบการเลี้ยงสุกร และผลิตสุกรที่มีคุณภาพตามที่ตลาดตองการ 2. ป 2554- 2555 สมาชิกสหกรณและเกษตรกรผูเล้ียงสุกร ไมต่ํากวา 70 % เขารวมโครงการ สามารถปรับปรุงพัฒนาระบบการเลี้ยงสุกร และผลิตสุกรที่มีคุณภาพตามที่ตลาดตองการ 3. ป 2556 สมาชิกสหกรณและเกษตรกรผูเล้ียงสุกร ทั้งหมดเขารวมโครงการ สามารถปรับปรุง พัฒนาระบบการเลี้ยงสุกร และผลิตสุกรที่มีคุณภาพตามที่ตลาดตองการ 4 เมื่อส้ินสุดโครงการเกษตรกรผูเล้ียงสุกรและสมาชิกสหกรณ สามารถลดตนทุนการผลิตสุกรลงได โดยเฉลี่ยไมนอยกวา 5% กอนเขารวมโครงการ

5. เมื่อส้ินสุดโครงการเกษตรกรผูเล้ียงสุกรและสมาชิกสหกรณมีรายไดจากการจําหนายสุกรเพิ่มขึ้น ไมนอยกวา 5 % กอนเขารวมโครงการ

10. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. สมาชิกสหกรณ และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรไดรับการพัฒนาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตสุกร ใหสูงขึ้น ตนทุนการผลิตลดลง มีคุณภาพซากตามความตองการของตลาด สามารถดํารงธุรกิจอยูได แมในสภาวะ ที่มีการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิต

2. สมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรไดมีการเชื่อมโยงการดําเนินธุรกิจระหวางกัน 3. ผูบริโภคมีความเชื่อมั่นคุณภาพสุกรของสมาชิกสหกรณ และเกษตรกรผูเล้ียงสุกร

Page 8: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

8

1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมฝกอบรมการเพิม่ประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรแกสมาชิกผูเลี้ยงสุกรและเกษตรกรผูเลี้ยงสุกร 2. ผูดําเนนิการกิจกรรม 2.1 สหกรณผูเล้ียงกรอุตรดิตถ จํากัด

2.2 สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯ มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน นครปฐม 2.3 กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

3. หลักการเหตุผล เกษตรกรผูเล้ียงสุกรที่เปนสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด สวนใหญเปนเกษตรกร

รายยอย ปริมาณการเลี้ยงสุกรแตละรายอยูระหวาง 20-100 ตัว ซ่ึงเกษตรกรเหลานี้มักเล้ียงสุกรแบบเดิม ที่เคยเลี้ยงกันมาเปนเวลานาน ในขณะที่พันธุสุกรที่เกษตรกรเหลานี้เล้ียงอยูมักเปนสุกรสายพันธุยุโรป ที่มีอัตราการเติบโตเร็ว มีเนื้อแดงมาก และเปนที่ตองการของตลาด เกษตรกรเลี้ยงแลวจึงจะขายได แตสุกรเหลานี้ตองการจัดการเลี้ยงดู ที่ถูกตองและเหมาะสมเปนอยางยิ่ง ทั้งในเรื่องของอาหารสัตว ความหนาแนนในการเลี้ยง การทําวัคซีนปองกันโรคตาง ๆ ฯลฯ จึงจะทําใหการเลี้ยงสุกรเหลานี้ไดผลดี สุกรโตเร็ว คุณภาพซากดี ใชอาหารนอยในการเพิ่มน้ําหนักตัว 1 กก. อัตราการตายต่ํา และมีผลทําใหตนทุนการผลิตสุกรต่ําลงไปดวย แตเกษตรกรผูเล้ียงสุกรโดยทั่วไปมักจะยังไมเขาใจในเรื่องนี้อยางชัดเจน และยังมีวิธีการปฏิบัติเล้ียงดูสุกรเหลานี้อยาง ไมถูกตอง ซ่ึงก็เปนผลใหประสิทธิภาพในการเลี้ยงสุกรต่ํา ตนทุนการผลิตสูง และไมสามารถคงธุรกิจการเลี้ยงสุกรอยูไดในสภาวะราคาสุกรตกต่ํา วิธีการแกปญหานี้ดีที่สุดคือ การใหความรูและการฝกอบรมสมาชิกสหกรณใหเขาใจวิธีการเลี้ยงสุกรแผนใหมที่ถูกตองและสามารถนําไปใชปฏิบัติไดที่ฟารมของตนเองได ผลจากการอบรมจะทําใหมีเกษตรกร เร่ิมนําเอาความรูไปใชในการปรับปรุงฟารมของตนเองใหดีขึ้น เกษตรกรรายอื่น ๆ จะเริ่ม ทําตาม สุดทายการเลี้ยงสุกรทั้งระบบจะไดมีการพัฒนาใหมีมาตรฐานตามเปาหมายที่ตั้งไว 4. วัตถุประสงค 4.1 เพื่อเปนการเพิ่มพูนความรูดานการเลี้ยงสุกรแผนใหม ใหแกเกษตรกรผูเล้ียงสุกรและสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด 4.2 เพื่อเปนการปรับปรุงประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ใหมีระดับสูงขึ้น ตนทุนการผลิตลดลงจนสามารถแขงขันกับบริษัทตาง ๆ ได 4.3 เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาฟารมเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป ใหไดรับมาตรฐาน จากกรมปศุสัตวและเปนแนวทางในการพัฒนาการเลี้ยงสุกร ในจังหวัดอุตรดิตถใหปลอดภัย

Page 9: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

9

5. เปาหมายการดําเนินการ สมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไปในจังหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง จํานวนปละ 300 คน ผานการฝกอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสุกร ดังนี้ 1. สหกรณผูเลี้ยงสุกรอุตรดิตถ จํากัด จํานวน 200 คน 2. กลุมเกษตรกรผูเล้ียงสุกร เกษตรกรในจงัหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง จํานวน 100 คน รวมระยะเวลา 4 ป พ.ศ. 2553 - 2556 จะมีสมาชิกสหกรณที่ผานการฝกอบรมทั้งส้ิน 1,200 คน

6. วิธีการดําเนินการ 6.1 สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด จะประสานงานกับสมาชิกผูเล้ียงสุกรในจังหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง ที่มีความตองการเขารับการฝกอบรมการเลี้ยงสุกรแผนใหม และมีความตองการที่จะปรับปรุงและพัฒนาฟารมสุกรของตน ตามจํานวนเปาหมายที่จะอบรมในแตละป 6.2 สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจ ฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรกําแพงแสน โดยศูนยวิจัยและฝกอบรมการเล้ียงสุกรแหงชาติ ทําการจัดทําหลักสูตรระยะสั้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสุกรในระบบสหกรณผูเล้ียงสุกร 6.3 สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด และสถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯรวมกันฝกอบรมหลักสูตรการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสุกรในระบบ ใหแกสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรในโครงการ และแกเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป ตามเปาหมายในหัวขอที่ 5 ระหวางการฝกอบรม มีการประเมินผลการฝกอบรม ความพึงพอใจของผูอบรมเปนระยะ ๆ และมีการปรับปรุงหลักสูตรการฝกอบรมตามผลการประเมิน 7. งบประมาณ ขอเงินสนับสนุนแบบจายขาด จํานวน 1,947,600.00 บาท (หนึ่งลานเกาแสนสี่หมื่นเจด็พนั หกรอยบาทถวน) เพื่อเปนคาใชจายในการฝกอบรมสมาชิกสหกรณ มีรายละเอียดดังตอไปนี ้เงินจายขาด ปท่ี1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5 ปท่ี 6 รวม - คาใชสอย 454,500 454,500 454,500 454,500 - - 1,818,000 - คาตอบแทน 32,400 32,400 32,400 32,400 - - 129,600

Page 10: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

10

รายละเอียดคาใชจาย ดงันี ้ ปละ รวม 4 ป หมวดคาใชสอย

- คาอาหารผูเขาอบรมและเจาหนาที ่ 135,000.- 540,000.- 300 คน ๆ ละ 150 บาท/วนั 3 วัน - คาอาหารวางและเครื่องดื่ม 90,000.- 360,000.- 300 คน ๆ ละ 100 บาท/วนั 3 วัน - คาเชาหองประชุม 15,500.- 62,000.- - คาพาหนะวทิยากร 154,000.- 616,000.- - คาเอกสารและวัสดุในการอบรม 60,000.- 240,000.- รวม 454,500.- 1,818,000.- หมวดคาตอบแทน - คาสมนาคุณวิทยากร เปนเงิน 32,400.- 129,600.- 8. ระยะเวลาดําเนินการ

ระยะเวลาดําเนินการ 4 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2553 - 2556

รายละเอียดของหลักสูตรการฝกอบรม

- การผลิตสุกรใหมีคุณภาพดวยการผลิตอาหารสุกรคุณภาพ 3 ช่ัวโมง - การพัฒนาการจัดการฟารมเพื่อใหไดรับการรับรองจากกรมปศุสัตว 3 ช่ัวโมง - การผสมเทียมสุกร 3 ช่ัวโมง - โรคและการควบคุมโรคและพยาธิสุกร 3 ช่ัวโมง - การพัฒนาการตลาดสุกรและผลิตภัณฑ 3 ช่ัวโมง - การผลิตอาหารสุกรคุณภาพ 3 ช่ัวโมง - การดูงานนอกสถานที่ฟารมสุกรสมาชิกสหกรณทีไ่ดมาตรฐานและประสบผลสําเร็จ

Page 11: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

11

กําหนดการฝกอบรมสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกร และเกษตรกรผูเล้ียงสุกร “การพัฒนาการผลิตสุกรใหมีคุณภาพ” สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด

วันท่ีหนึ่ง 07.00 – 08.30 น. ลงทะเบียนเขารับการอบรม

08.30 – 09.00 น. พิธีเปดการอบรม 09.00 – 12.00 น. การพัฒนาและจัดการฟารมเพื่อใหไดการรบัรอง จากกรมปศุสัตว โดยวิทยากรจากสํานักงานปศุสัตวจังหวัด 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.00 น. การผลิตสุกรใหมีคุณภาพ วิทยากรจากสถาบันการศึกษา

วันท่ีสอง 09.00 – 12.00 น. การผสมเทียมสุกร วิทยากรจากสถาบันการศึกษา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.00 น. การพัฒนาการตลาดสุกรและผลิตภัณฑ วิทยากรจากภาคเอกชน

วันท่ีสาม 09.00 – 12.00 น. โรคสุกร การปองกันและการควบคุมโรคและ พยาธิ วิทยากรจากสถาบันการศึกษา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.00 น. การผลิตสุกรใหมีคุณภาพซากด ี รศ.อุทัย คันโธ 16.00 – 18.00 น. สรุปประเมินผล และปดการอบรม

Page 12: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

12

9. ตัวชี้วัดโครงการ 9.1 สมาชิกสหกรณและเกษตรกรผูเล้ียงสุกร จํานวน 1,200 คน ไดรับการฝกอบรม และมีความรูใน การพัฒนาการผลิตสุกรใหมีคุณภาพ 9.2 เกษตรกรผูเลี้ยงสุกร และสมาชิกสหกรณมีการปรับปรุงพัฒนาฟารมสุกรเพื่อไดมาตรฐานปละ ไมนอยกวา 5 % ของจํานวนฟารมทั้งหมด

10. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 10.1 การผลิตสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรทั้งระบบในจังหวดัอตุรดิตถ มีประสิทธิภาพสูงขึ้น คุณภาพซากสุกรดีขึ้น ทัดเทียมกับมาตรฐานการเลีย้งสุกรทั่วไป และมีคุณภาพดีพอที่จะ

เอื้ออํานวยใหสหกรณสามารถทําการตลาดซากสุกร และเนื้อสุกรได 10.2 สมาชิกสหกรณ มีความมั่นใจในอาชีพการเลี้ยงสกุร และใหความรวมมือทําธุรกิจกับ สหกรณมากขึ้น 10.3 สามารถดําเนินการใหพื้นที่เขตจังหวดัอุตรดิตถ และจังหวัดใกลเคียงเปนพืน้ทีป่ลอดโรคระบาด ไดตลอดไป 10.4 ผูบริโภคมีความเชื่อมั่นในการผลิตสุกรของเกษตรกร สมาชิกสหกรณ ซ่ึงเปนการสนับสนุน การดําเนนิงานตามนโยบายความปลอดภัยดานอาหารของรัฐบาล

Page 13: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

13

2. กิจกรรมที่ 2 ศูนยการผลิตอาหารสัตวครบวงจรสําหรับสมาชิกสหกรณผูเลีย้งสุกร และเกษตรกรทั่วไปในจังหวัดอุตรดิตถ และจังหวดัใกลเคียง 2. ผูรับผดิชอบและผูดําเนนิการกิจกรรม 1) สหกรณผูเลี้ยงสุกรอุตรดิตถ จํากัด

- หนวยงานใหความชวยเหลือทางวิชาการและที่ปรึกษากิจกรรม 1) สถาบันสุวรรณวาจกกสกิิจเพื่อการคนควาและพฒันาปศุสัตวและผลิตภัณฑสัตว 2) มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน โดยศูนยคนควาและพฒันาวิชาการอาหารสัตว - ผูใหการสนบัสนุนกิจกรรม

1) กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2) กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. หลักการและเหตุผล ในการเลี้ยงสัตวทุกชนิดรวมทั้งสุกร อาหารสัตวถือวาเปนปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการเลี้ยงสัตวชนิดนั้น ๆ เปนอยางมาก ทั้งนี้เพราะอาหารสุกรมีอิทธิพลตอการผลิตของสุกร ไดแก การเติบโต ประสิทธิภาพการใชอาหาร รวมทั้งมีผลตอคุณภาพของซาก และสุขภาพของสุกร ซ่ึงลักษณะทั้งหมดลวนมีผลตอคุณภาพของผลผลิต ตนทุนการผลิต และการอยูรอดของเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั้งสิ้น การใชอาหารสุกรคุณภาพดีเทานั้น ที่สามารถทําใหการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณมีประสิทธิภาพสูง ตนทุนการผลิตต่ําและสมาชิกเกษตรกรผูเล้ียงสุกรอยูรอดได สมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรโดยทั่วไปเปนเกษตรกรรายยอย มักจะไมมีความสามารถในการผสมอาหารคุณภาพดีใชเองที่ฟารม สวนใหญมักซื้ออาหารสําเร็จรูปของบริษัทอาหารสัตว ซ่ึงก็ประสบปญหาคือ อาหารดังกลาวมีคุณคาทางอาหาร ไมเพียงพอสําหรับความตองการของสุกรสายพันธุยุโรป ที่เกษตรกรเลี้ยงอยูในปจจุบัน ซ่ึงก็มีผลทําใหสุกรโตชา เนื้อแดงนอย ไขมันมาก สุกรมักสุขภาพไมดี ปวยงาย ตองใชยาในการเลี้ยงสุกรมาก ซ่ึงทั้งหมดมีผลทําใหตนทุนการผลิตสุกรสูง อีกทั้งไดซากสุกรที่มีคุณภาพไมดีดวย ดังนั้น สหกรณ ผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด จําเปนตองผลิตอาหารสุกรที่มีคุณภาพดี มีโภชนะตาง ๆ ครบตามความตองการของสุกรที่สมาชิกเล้ียงอยางแทจริง จึงจะชวยทําใหการเลี้ยงสุกรของสมาชิกมีประสิทธิภาพสูงขึ้น คุณภาพซากของสุกรดีขึ้น ตนทุนการผลิตต่ํา และสมาชิกสหกรณและเกษตรกรผูเล้ียงสุกรอยูได แตการที่สมาชิกผูเล้ียงสุกร จะผลิตอาหารเองอาจจะมีความยุงยาก เนื่องจากความสามารถในการหาวัตถุดิบสําหรับสุกรหาไดยาก ดั้งนั้นจึงเห็นควรใหสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด เปนศูนยกลางการผลิตอาหารสุกรคุณภาพดี ราคายุติธรรม เพื่อจําหนายใหกับสมาชิกผูเล้ียงสุกรและบุคคลทั่วไป และจําหนายใหกับสหกรณผูเล้ียงสุกรอื่นๆ ในจังหวัดใกลเคียง ซ่ึงจะชวยใหการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ทั้งระบบมีการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และลดตนทุนการผลิตใหต่ําลงตามเปาหมายที่ตั้งไว

Page 14: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

14

4. วัตถุประสงค 4.1 เพื่อเปนศูนยกลางผลิตอาหารสุกรคุณภาพดี ราคายุติธรรม จําหนายใหกับสมาชิกผูเล้ียงสุกร และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไปของจังหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง 4.2 เพื่อเปนเครื่องมือที่สําคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพและลดตนทุนการเลี้ยงสุกรของสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด และของสมาชิกผูเล้ียงสุกร เกษตรกรทั่วไปของจังหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง ทําใหสามารถดํารงอาชีพอยูตอได 4.3 เพื่อเปนเครื่องมือที่สําคัญในการชวยใหการพัฒนาการเลี้ยงสุกร ของสมาชิกผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถและเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไป ใหกาวหนาและประสบผลสําเร็จ 5. เปาหมายการดําเนินการ 5.1 ผลิตอาหารสุกรระยะตาง ๆ ที่มีคุณภาพดี ในราคาที่ยุติธรรมจําหนายใหกับสมาชิกผูเล้ียงสุกร และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไปในจังหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง 5.2 ลดตนทุนการเลี้ยงสุกรของสหกรณเองและของสมาชิกผูเล้ียงสุกรและเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไปของจังหวัดอุตรดิตถและจังหวัดใกลเคียง 5.3 เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกร และคุณภาพซากสุกร ของสมาชิกผูเล้ียงสุกรและเกษตรกร ผูเล้ียงสุกรทั่วไปและจังหวัดใกลเคียงทั้งระบบใหเปนที่ตองการของตลาด 6. วิธีการดําเนินการ 6.1 สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ทําการสรางโรงผลิตอาหารสัตวขนาดกลางกําลังการผลิต 5 ตัน / วัน ที่การทํางาน 8 ช่ัวโมง 6.2 สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจ ฯ จะเปนผูความชวยเหลือทางดานวิชาการและเปนที่ปรึกษาการผลิตอาหารสัตวทั้งระบบ ไดแก การประกอบสูตรอาหารสุกรทุกระยะ การฝกอบรมเจาหนาที่เกี่ยวกับกระบวนการ การผลิตอาหารสัตว การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว การควบคุมเครื่องจักรการผลิตอาหารสัตว การตลาดอาหารสัตว ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อใหการดําเนินการผลิตอาหารสัตวของสหกรณเปนไปตามมาตรฐานและเปนไปดวยความราบรื่นมากที่สุด 6.3 สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ทําการแตงตั้งคณะกรรมการบริหาร โครงการผลิตอาหารสัตวครบวงจร โดยแตงตั้งจากคณะกรรมการและสมาชิกที่มีความรูความสามารถ คณะกรรมการดังกลาวมีหนาที่ในการนํานโยบายดําเนินการที่กําหนดไปปฏิบัติเพื่อใหเกิดผลตามเปาหมายใหมากที่สุด 6.4 สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด จัดสัมมนาสมาชิกและเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไปของจังหวัดอุตรดิตถ เพื่อเปนการเปดตลาดและแนะนําอาหารสุกรของสหกรณ และเชิญชวนใหสมาชิกใชบริการของสหกรณใหมากที่สุด 6.5 ติดตาม และประเมินผล การใชอาหารสุกรที่ผลิตออกไปตลอดเวลาและทําการปรับปรุงแกไข ขอผิดพลาดที่ปรากฏใหเห็น

Page 15: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

15

7. งบประมาณ 5,000,000.00.- บาท ( หาลานบาทถวน ) ดงันี ้ 7.1 ขอสนับสนุนเปนเงนิยืมปลอดดอกเบี้ย เปนเงิน 3,000,000.00 บาท ( สามลานบาทถวน) เพื่อกอสรางโรงงานอาหารสัตว กําลังผลิต 5 ตัน/วนั ปลอดดอกเบี้ยชําระคืนเงินตน 2 ป ระยะเวลา 8 ป ชําระคืนปละ 500,000.- บาท ตั้งแตปที่ 3 เปนตนไป 7.2 ขอสนับสนุนเปนเงนิทนุหมุนเวยีนปลอดดอกเบี้ย เปนเงิน 2,000,000.- บาท ซ้ือวัตถุดิบ ปลอดชําระตนเงิน 2 ป ระยะเวลา 8 ป ชําระคืนปละ 334,000.- บาท ตั้งแตปที่ 3 เปนตนไป สวนในปสุดทาย ชําระ 330,000.00- บาท มีรายละเอียดดังนี ้ ปที่1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 รวม 1. คาอุปกรณ 3,000,000 - - - - - - - 3,000,000 เงินหมุนเวยีน 2. วัตถุดิบ 1,000,000 500,000 500,000 - - - - - 2,000,000 (เชน มันบด กากถ่ัวเหลือง ปลาปน เกลือแร พรีมิกซตาง ๆ) แผนการชําระเงินคนืระยะเวลา 8 ป

หนวย : บาท

เงินทุน 2553 ปท่ี1

2554 ปท่ี2

2555 ปท่ี3

2556 ปท่ี4

2557 ปท่ี5

2558 ปท่ี6

2559 ปท่ี7

2560 ปท่ี8

รวม

เงินคากอสราง

ปลอดตน

ปลอดตน

500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 3,000,000

เงินหมุนเวียน

ปลอดตน

ปลอดตน

334,000 334,000 334,000 334,000 334,000 330,000 2,000,000

รวม ปลอดตน

ปลอดตน

834,000 834,000 834,000 834,000 834,000 830,000 5,000,000

รายละเอียดการลงทุนผลติอาหารสัตวขนาดกําลังผลิต 5 ตัน / วัน 1. ประมาณการลงทุนศูนยอาหารสัตวที่มกีําลังการผลิต 5 ตัน / วัน เปนเงิน 3,000,000.00 บาท ดังนี ้

1.1 กอสรางโรงเรือนขนาด 7 X 20 เมตร เปนเงิน 1,000,000.00 บาท 1.2 คาหมอแปลงไฟฟาขนาด 150 KUA 1 ลูก เปนเงิน 350,000.00 บาท 1.3 เครื่องจักรผลิตอาหารสัตว เปนเงิน 1,190,000.00 บาท ประกอบดวย เครื่องบดอาหารสัตว 1 เครื่อง พรอมถังพักวัตถุดิบกอนบดและถังวัตถุดิบหลังบดแลว

ขนาดบรรจุ 5 ตัน จํานวน 6 ถัง และเครื่องชั่งอาหารกึ่งอัตโนมัติแบบดิจิตอลและเครื่องผสมอาหารถังนอน

Page 16: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

16

พรอมถังพักอาหารกอนเขาเครื่องผสมและถังเก็บอาหารสําเร็จ 3 ถัง ขนาดบรรจุถังละ 5 ตัน และมีชุดฉีดพนของเหลวในถังผสม

1.4 จักรเย็บกระสอบ 1 เครื่อง เปนเงิน 30,000.00 บาท 1.5 รถเข็นกระสอบวัตถุดิบอาหารสัตว 2 คัน เปนเงิน 5,000.00 บาท 1.6 อุปกรณการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว เปนเงิน 25,000.00 บาท 1.7 อุปกรณสํานักงาน เปนเงิน 100,000.00 บาท 1.8 อุปกรณอ่ืน ๆ เชน เครื่องปรับอาการหองเก็บยาเวชภัณฑ เปนเงนิ 100,000.00 บาท 1.9 รถตักลอยางขนาดเล็ก เปนเงิน 200,000.00 บาท รวมเปนเงินท้ังสิ้น 3,000,000.00 บาท

2. คาใชจายคงที่สําหรับการผลิต 150 ตัน 2.1 คาจางผูจัดการ เปนเงิน 12,000.00 บาท 2.2 คาจางพนักงาน บัญชี เปนเงิน 6,000.00 บาท 2.3 คาจางคนงาน 2 คน เปนเงิน 10,000.00 บาท 2.4 คาพนักงานขบัรถ เปนเงิน 5,000.00 บาท

2.5 คาส่ิงสาธารณูปโภค เปนเงิน 3,000.00 บาท ( คาน้ํา ,คากระแสไฟฟา,คาโทรศัพท) 2.6 คาวัสดุสํานักงาน เปนเงิน 1,500.00 บาท 2.7 คาใชจายอ่ืน เปนเงิน 3,000.00 บาท

รวมเปนเงินท้ังสิ้น 40,500.00 บาท 3. ตนทุนคาใชจายในการผลิตอาหารสัตว จํานวน 1 ตนั 3.1 คาวัตถุดิบอาหารสัตว 1 ตัน เปนเงิน 12,000.00 บาท 3.2 คากระแสไฟฟา เปนเงิน 150.00 บาท 3.3 คาสูญเสียน้ําหนักอาหาร ประมาณ 0.5% เปนเงิน 60.00 บาท 3.4 คาซอมแซมบํารุงเครื่องจักร 20% / ตัน เปนเงิน 20.00 บาท 3.5 คาใชจายในการสงตรวจสอบคุณภาพ เปนเงิน 20.00 บาท 3.6 คาภาชนะบรรจุ เปนเงิน 240.00 บาท 3.7 คาใชจายน้ํามนัหลอล่ืน เปนเงิน 10.00 บาท รวมคาใชจาย 12,500.00 บาท

Page 17: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

17

ราคาจําหนายอาหารสัตว ราคาจําหนายอาหารสัตวใหสมาชิกและเกษตรกรผูเล้ียงสุกรรายยอย เทากับ ตนทุนการผลิตอาหารสัตวทั้งหมด + กาํไร 1,000 บาท/ตัน = 13,500 บาท/ตัน 8. ระยะเวลาการดําเนินการ ระยะเวลาดําเนินการ 8 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2553 – 2560 9. แผนการผลิตอาหารของสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด - ป พ.ศ. 2553-2560 ยอดการผลิตวันละ 5 ตัน หรือเดือนละประมาณ 150 ตัน 10. ประมาณการรายรับ-รายจาย และกําไรเบื้องตนในการผลิตอาหารสัตวเพื่อจําหนายใหกับสมาชกิและเกษตรกรรายยอย ในระยะเวลา 1 เดือน

รายละเอียดรายรับ - รายจาย กําลังการผลติวันละ 5 ตัน เดือนละ 150 ตัน

รายรับจากการขาย หัก คาใชจายในการผลิต คาใชจายคงที่(ในขอ 2) กําไรเบื้องตน

2,025,000.00 1,875,000.00

40,500.00 109,500.00

หมายเหตุ : สหกรณสนับสนุนคาใชจายในการจัดการ เดือนละ 6,500 บาท 11. การเปรียบเทียบราคาขายและคุณคาทางอาหารระหวางอาหารของสหกรณกับอาหารของบริษทั จากตารางการเปรียบเทียบตามตารางที่แนบมา จะเห็นไดวาแมอาหารของสหกรณ จะมรีะดบัโปรตีน กรดอมิโนจําเปนในอาหาร พลังงาน และวิตามิน – แรธาตุ ที่สูงจนเพียงพอกับความตองการของสุกร มีระดับโภชนะตาง ๆ สูงกวาอาหารสําเร็จรูปบริษัท แตราคาจําหนายอาหารของสหกรณ ก็ไมไดสูงกวาอาหารของบริษัท อาหารสุกรบางสูตรจะมีราคาจําหนายต่ํากวาดวยซํ้า อีกทั้งสูตรอาหารดังกลาวยังสงผลใหอัตราการเจริญเติบโต ปริมาณเนื้อแดง อัตราการแลกเนื้อ และสุขภาพสุกรที่ไดดีกวาจึงนาที่จะเปนที่ตองการของสมาชิก สหกรณผูเล้ียงสุกรและเกษตรกรรายยอยมากขึ้น ทั้งความมาตรฐานในผลิตภัณฑ ราคาถูก คุณคาทางอาหารสูงเพียงพอกับความตองการของสุกรและที่สําคัญ เมื่อตนทุนการผลิตต่ํา การจัดการการผลิตงาย ขายไดราคาดีเปนที่ตองการของตลาด เกษตรกรผูเล้ียงสุกรไดกําไรมากขึ้น ก็สามารถที่จะดํารงอยูเปนอาชีพหลัก หรือ เปนอาชีพรองใหกับเกษตรกรไดอยางยั่งยืนตอไป

Page 18: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

18

หนวย : ก.ก. ตารางแสดงสตูรอาหารสุกรท่ีผลิตโดยสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ครบวงจร

รายการ ราคา

บาท/กก. สุกร

อนุบาล สุกร เล็ก

สุกร รุง

สุกร ขุน

สุกร อุมทอง

สุกร เล้ียงลูก

รําละเอียด 10.00 - 60 60 60 120 120

รําสกัด 6.50 - - - - 120 -

มันบด 6.00 450 500 500 550 450 500

กากถั่ว(44%) 17.90 180 400 400 350 235 370

ถั่วเหลืองเอ็กทรูด 22.00 280 50 - - - -

ปลาปน(58%) 30.00 50 - - - - -

น้ํามันรํา 40.00 25 20 25 20 10 20

โมโนแคลเซี่ยมฯ 18.00 23 29 28 23 20 27

เกลือ 3.00 3.5 3.5 3.5 3.5 3 3

แอล-ไลซีน 65.00 0.3 0.7 0.2 0.5 - 0.6

ดีแอล-เมทไธโอนีน 110.00 2 2 2 1.8 1 2

แอล-ทรีโอนีน 114.00 0.5 0.3 0.5 0.4 - 0.5

หินฝุน 1.00 - 6 6 6 8 8

พรีมิกซ 60.00 5 5 5 5 5 5

รวม โปรตีน(%) พลังงาน(Kcal/Kg) แคลเซี่ยม(%) ฟอสฟอรัส(%) ไลซีน(%) เมท-ซิส(%) ทริปโตเฟน(%) ทรีโอนีน(%) ไขมัน(%) เยื่อใย(%)

1019.3 22.16 3365 0.90 0.71 1.40 0.83 0.28 0.95 8.18 4.42

1076.5 19.95 3263 0.86 0.70 1.25 0.76 0.26 0.80 3.90 5.36

1030.2 18.96 32.81 0.87 0.70 1.15 0.74 0.24 0.77 3.68 5.36

1020.2 17.09 3277 0.78 0.60 1.06 0.67 0.22 0.69 3.24 5.26

972 15.12 3154 0.82 0.62 0.85 0.56 0.18 0.56 3.10 6.26

1056.1 17.96 3250 0.90 0.68 1.11 0.72 0.23 0.73 3.79 5.71

ตนทุนวตัถุดิบ (บาท/กก.) 15.3 13.00 12.50 11.75 10.61 12.06

Page 19: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

19

การเปรียบเทียบราคาจําหนายอาหารสําเร็จรูปผลิตโดยศนูยอาหารสัตว ฯ กับอาหารบริษัท

รายการ สุกรอนุบาล สุกรเล็ก สุกรรุน สุกรขุน สุกรอุมทอง สุกรเลี้ยงลูก

อาหารสหกรณ (บาท/กก.) ราคาวัตถดุิบอาหาร ตนทุนการผลติ กําไร ราคาหนาโรงงาน ราคาที่ฟารม โปรตีน ( % ) ไลซีน ( % )

15.3 0.448 1 16.75 17.25 22 1.4

13.00 0.448 0.20 13.65 14.15 20 1.2

12.50 0.448 0.20 13.15 13.65 19 1.1

11.75 0.448 0.20 12.40 12.90 17 1

10.61 0.448 0.20 11.25 11.75 15 0.85

12.06 0.448 0.20 12.70 13.20 18 1.1

รายการ สุกรอนุบาล สุกรเล็ก สุกรรุน สุกรขุน สุกรอุมทอง สุกรเลี้ยงลูก

อาหารบริษัท

(บาท/กก.)

ราคาที่ฟารม โปรตีน( % ) ไลซีน( % )

19.8 20/18 NA

17.43 16 NA

12.83 15 NA

12 15 NA

12 15

NA

12 15 NA

12. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ 12.1 สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด สามารถกอสรางโรงผลิตอาหารสัตวและสามารถดําเนินการผลิตอาหารสัตวไดประสบผลสําเร็จภายในป 2553 12.2 สมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรและเกษตรกรรายยอยทั่วไป สามารถใชอาหารสุกรที่ผลิตโดย สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด

Page 20: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

20

12.3 ตนทุนการเลี้ยงสุกรมีชีวิตตอตัวของสมาชิกลดลงไมนอยกวา 5% จากตนทุนเดินที่ไมใชอาหารผสมที่สหกรณผลิต 12.4 สุกรขุนสงตลาดมีคุณภาพซากดีขึ้นโดยรวมไมนอยกวา 50% 13. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 13.1 การผลิตสุกรในระบบสหกรณผูเล้ียงสุกรในจังหวัดอุตรดิตถทั้งหมดจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้น คุณภาพซากของสุกรดีขึ้นทําใหการทําตลาดเนื้อสุกรและผลิตภัณฑเนือ้สุกรของสมาชิกผูเล้ียงสุกรและเกษตรกรทั่วไปสัมฤทธิ์ผลตามเปาหมายดวย 13.2 การที่สุกรไดรับอาหารคุณภาพครบตามความตองการของสุกร จะทําใหสุกรมีความสมบูรณ แข็งแรง มีภูมิตานทานโรคดี ไมปวยงาย ซ่ึงจะเปนปจจัยหนึ่งทําใหลดการเกิดโรคระบาดของสัตวลงได และเปนปจจัยหนึ่งที่ชวยใหจังหวัดอุตรดิตถเปนเขตปลอดโรคได 13.3 โครงการผลิตอาหารสัตวพัฒนาไปเปนโครงการศูนยอาหารสัตวครบวงจร เปนตัวอยางที่ดีใน การทําธุรกิจเครือขายระหวางสหกรณผูเล้ียงสุกรดวยกันเอง หากโครงการนี้สําเร็จจะเปนแนวทางพัฒนาการเชื่อมโยงธุรกิจระหวางสหกรณผูเล้ียงสุกรภายในจังหวัดและเชื่อมโยงไปในจังหวัดใกลเคียง 13.4 โครงการผลิตอาหารสัตวครบวงจร จะเนนนโยบายการซื้อขายวัตถุดิบอาหารภายในทองถ่ิน เชน มันสําปะหลัง ขาวโพด เปนตน โดยการเชื่อมโยงกับเครือขายสหกรณตางๆ ทําใหมีเงินหมุนเวียนในพื้นที่ เศรษฐกิจในพื้นที่ดีขึ้น 14. ประมาณการรายรับ – รายจาย การผลิตอาหารสตัวครบวงจร

รายการ ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5 ปท่ี 6 ปท่ี 7 ปท่ี 8

รายรับ

1. รายรับจากเงินสนับสนุน การสรางโรงเรือนผลิตอาหารสัตว

2. รายรับจากเงินสนับสนุน เงินทุนหมุนเวียน 3. รายรับจาการจําหนาย อาหารสัตว

3,000,000

1,000,000

24,300,000

500,000

24,300,000

500,000

24,300,000

24,300,000

24,300,000

24,300,000

24,300,000

24,300,000

รวมรายรับ 28,300,000 24,800,000 24,800,000 24,300,000 24,300,000 24,300,000 24,300,000 24,300,000

Page 21: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

21

รายจาย 1. คาใชจายกอสรางโรงเรือนผลิตอาหารสัตว 2. คาใชจายในการผลิตอาหารสัตว

3. คาใชจายคงที ่

4. ชําระคืนเงินตนสวนการสรางโรงเรือนผลิตอาหารสัตว

5. ชําระคืนเงินตนเงินทุนหมุนเวียน

3,000,000

22,500,000

486,000

- -

22,500,000

486,000 - -

22,500,000

486,000

500,000

334,000

22,500,000

486,000

500,000

334,000

22,500,000

486,000

500,000

334,000

22,500,000

486,000

500,000

334,000

22,500,000

486,000

500,000

334,000

22,500,000

486,000

500,000

330,000

รวมรายจาย 25,986,000 22,986,000 23,820,000 23,820,000 23,820,000 23,820,000 23,820,000 23,816,000

กําไรคงเหลือ 2,314,000 1,814,000 980,000 480,000 480,000 480,000 480,000 484,000

กําไรคงเหลือสะสม 2,314,000 4,128,000 5,108,000 5,588,000 6,068,000 6,548,000 7,028,000 7,512,000

Page 22: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

22

3. กิจกรรมที่ 3 โครงการฟนฟ ู พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสกุรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด 1. หนวยงานรับผิดชอบ และดําเนินการโครงการ

สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด หนวยงานที่ปรึกษาโครงการ

- สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจเพื่อการคนควาและพฒันาปศุสัตวและผลิตภัณฑสัตว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน

2. หลักการและเหตุผล ดวยปจจุบันสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไปตองประสบปญหาความผันผวนของราคาสุกร อาหาร และยารักษาโรค ทําใหเกษตรกรจําหนายสุกร ไดราคาต่ํากวาตนทุนการผลิต ในขณะเดียวกันผูบริโภคสุกรชําแหละ กลับตองบริโภคเนื้อสุกรในราคาสูง เนื่องจากพอคา คนกลาง ทําใหประสบปญหาขาดทุน สมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด และเกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วไปบางรายตองเลิกกิจการ ประกอบกับไมมีเงินทุนที่จะดําเนินกิจการตอได ทางสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด จึงได จัดโครงการฟนฟูอาชีพข้ึน เพื่อใหสมาชิกผูเล้ียงสุกรในจังหวัดอุตรดิตถ ไดมีเงินทุนในการประกอบอาชีพและมีการจัดการกับระบบอยางครบวงจรจากโครงการตาง ๆ โดยเริ่มจากการจัดกิจกรรมอบรมใหสมาชิกผูเล้ียงสุกรและเกษตรกร ผูเล้ียงสุกรทั่วไป ไดมีความรูและสามารถจัดการกับระบบของฟารมใหมีมาตรฐานพรอมกับการเปดศูนยการผลิตอาหารสัตวครบวงจรสําหรับสมาชิกและเกษตรกรทั่วไป ใหสามารถลดตนทุนในการผลิตโดยการที่ใชอาหารจากการผลิตของสหกรณโดยตรง และสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ก็จะดําเนินการรับซ้ือ รวบรวมผลผลิตสุกรจากสมาชิก เพื่อนํามาแปรรูปเปนผลิตภัณฑตางๆ และชําแหละขายซีกสงไปในแตละอําเภอของจังหวัดอุตรดิตถ และจังหวัดใกลเคียง ซ่ึงเปนการจัดการตามระบบใหครบวงจร ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุน เกษตรกรผูเล้ียงสุกรและสหกรณจึงจําเปนจะตองพัฒนา ปรับปรุงระบบการเลี้ยงสุกรใหเขาสูมาตรฐานของทางราชการ และจะตองมีความรูความเขาใจในดานการเลี้ยง การจําหนายสุกรสูผูบริโภค เพื่อเพิ่มชองทางการตลาดหาทางรวมมือทางธุรกิจ สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และกรมสงเสริมสหกรณ เพื่อชวยเหลือสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด และผูบริโภค โดยขอรับการสนับสนุน เงินงบประมาณจาก กองทุนปรับโครงสรางการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแขงขัน ของประเทศ ซ่ึงเงินงบประมาณเพื่อการดังกลาว จะเปนประโยชนตอสมาชิกสหกรณ และตลาดผูบริโภคสุกรชําแหละ ใหไดบริโภคเนื้อสุกรที่ปลอดภัย ปลอดโรค และไรสารเรงเนื้อแดง สหกรณจึงจัดทําโครงการนี้เพื่อขอรับการสนับสนุน ดังนั้นสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด จึงขอเสนอโครงการ ฟนฟู พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ทั้งระบบทั้งนี้เพื่อการลดตนทุนการผลิตสุกร ใหต่ําลง เกษตรกรผูเล้ียงสุกรสามารถ อยูรอดไดในสภาวะที่สุกรราคาตกต่ํา รวมทั้งเพื่อการขยายการเลี้ยงสุกร ในอนาคตเพื่อการสงออกไปยังประเทศเพื่อนบานดวย

Page 23: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

23

3. วัตถุประสงคของโครงการ 3.1 เพื่อพัฒนาการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ตนทุนการผลิตสุกรลดลง โดยใชอาหารที่ผลิตจากโครงการผลิตอาหารสัตวครบวงจร ของสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด 3.2 เพื่อพัฒนาฟารมสุกรของสมาชิกสหกรณใหไดมาตรฐานตามระเบียบกรมปศุสัตว 3.3 เพื่อใหสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ดํารงอาชีพอยูไดอยางมั่นคงตอไป 4. เปาหมายในการดําเนินการ 4.1 เพื่อพัฒนาการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณจํานวนไมนอยวา 75% ใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น คุณภาพซากสุกรดีขึ้น ตนทุนการผลิตสุกรลดลง 4.2 เพื่อพัฒนาการผลิตลูกสุกรขุนของสหกรณฯ ใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถผลิตลูกสุกรขุนคุณภาพดีไดเพียงพอกับความตองการของสมาชิกไดไมนอยกวา 30% ของความตองการลูกสุกรทั้งหมด 4.3 ทําการพัฒนาฟารมเล้ียงสุกรของสมาชิก ใหไดมาตรฐานตามระเบียบกรมปศุสัตว จํานวนไมนอยกวา 50% ของฟารมทั้งหมด 5. วิธีการดําเนินการ 5.1 ขอรับการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนจากโครงการเพื่อการฟนฟูอาชีพ จํานวนเงิน 2,000,000.00 บาท และดําเนินการใหสมาชิกกูยืมฟนฟูอาชีพ ปลอดดอกเบี้ย เพื่อซอมแซมโรงเรือนเลี้ยงสุกรใหแกสมาชิก และเปนเงินทุนในการซื้อสุกรอนุบาลจากฟารมของสหกรณ ฯ เอง พรอมกับซื้อ อาหารตลอดจนขายใหกับสหกรณฯ โดยไมตองขายใหกับพอคาคนกลางอีกตอไป จํานวนสมาชิกที่คาดวาจะทําการกูเงินฟนฟูของสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ประมาณ 40 ราย โดยเฉลี่ยรายละ 50,000.00 บาท รวมเปนเงิน 2,000,000.00 บาท ในป 2553

5.2 สหกรณฯ จะทําการจัดหาอาหารสุกรคุณภาพดีราคายุติธรรม จําหนายใหกับสมาชิก ในการนี้ สหกรณฯ จะซื้ออาหารสุกรจากโครงการศูนยอาหารสัตวครบวงจร ที่ดําเนินการโดยสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด 5.3 สหกรณฯ จะทําการประเมินประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิกเปนระยะๆ โดยการตรวจสอบระยะเวลาที่ใชในการเลี้ยงสุกร ประสิทธิภาพการใชอาหาร และคุณภาพซากของสุกรที่ออกสูตลาด 6. งบประมาณ 2,060 ,000.- บาท (สองลานหกหมื่นบาทถวน) ขอรับการสนบัสนุนจากกองทุนฯ ดังนี ้ 6.1 เงินทุนหมนุเวยีนเพื่อการฟนฟูอาชีพของสมาชิก เปนเงิน 2,000,000.00 บาท 6.2 ปลอดชําระคืนเงินตน 2 ป ระยะเวลา 8 ป ชําระคืนปละ จาํนวน 334,000 บาท ตั้งแตปที่ 3 เปนตนไป สวนในปสุดทายชําระคืน จาํนวน 330,000 บาท 6.3 เงินสนับสนุนจายขาดเพือ่เปนคาบริหารจัดการของสหกรณ 60,000 บาท

Page 24: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

24

ตารางการกูยมืเงิน เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการฟนฟูอาชพี ปท่ี1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5 ปท่ี 6 ปท่ี 7 ปท่ี 8 รวม - เงินทุนฟนฟอูาชีพ 2,000,000 - - - - - - - 2,000,000

แผนการชําระเงินคนื หนวย : บาท

เงินทุน ปท่ี 1

ปท่ี 2

ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5 ปท่ี 6 ปท่ี 7 ปท่ี 8 รวม

เงินทุนฟนฟูอาชีพ

- - 334,000 334,000 334,000 334,000 334,000 330,000 2,000,000

รวม - - 334,000 334,000 334,000 334,000 334,000 330,000 2,000,000

7. ระยะเวลาดําเนินการ ระยะโครงการ 8 ป นับตั้งแตไดรับอนุมัติโครงการ 2553 - 2560 8. ดัชนชีี้วัดความสําเร็จ 8.1 ตนทุนการผลิตสุกรของสมาชิกสหกรณลดลงไมนอยกวา 15% 8.2 สุกรผลิตโดยสมาชิกสหกรณฯ มีคณุภาพซากโดยรวมดีขึ้นไมนอยกวา 75% 8.3 สหกรณสามารถผลิตลูกสุกรไดเพยีงพอกับความตองการของสมาชิกไดไมนอยกวา 30 % 8.4 ฟารมเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณฯ ไดรับมาตรฐานฟารมไมนอยกวา 50% 9. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

9.1 การเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรและเกษตรกรทั่วไป มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ตนทุนการผลิตลดลง และเกษตรกรสามารถอยูรอดไดในสภาวะราคาสุกรตกต่ํา 9.2 คุณภาพซากของสุกรดีขึ้น ทําใหสุกรจากระบบสหกรณฯ สามารถแขงขันกับสุกรที่ผลิตโดยฟารม เอกชน หรือฟารมของบริษัทอาหารสัตวได 9.3 ฟารมสุกรของสมาชิกสหกรณฯ ไดรับมาตรฐานฟารมจากกรมปศสัุตว และเปนปจจัยที่สําคัญที่ชวย ทําใหเปนเขตปลอดโรค 9.4 ฟารมสุกรของสหกรณเปนตัวอยางการใชประโยชนมูลสุกรเพื่อการรักษาสภาพสิ่งแวดลอม และ เพื่อการลดตนทุนการเลี้ยงสุกร

Page 25: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

25

10. ประมาณการรายรับ – รายจายในการดําเนินการปลอยเงินกู โครงการฟนฟู พฒันาและเพิ่มประสิทธิภาพการเล้ียงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากดั อัตราดอกเบี้ย 5% ตอป สมาชิกกูเงิน จํานวน 40 ราย รายละ 50,000. บาท รวมสุทธิ 2,000,000 บาท

ตารางแสดงประมาณการรายรับ – รายจาย การดําเนินการปลอยเงินกูตามโครงการฟนฟู พฒันาและเพิ่ม

ประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากดั

รายการ ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5 ปท่ี 6 ปท่ี 7 ปท่ี 8 รายรับ เงินสนับสนุนฟนฟูอาชีพ

2,000,000 - - - - - - -

เงินสนับสนุนคาบริหารจัดการสหกรณ

60,000 - - - - - - -

รวมรับ 2,060,000 - - - - - - - รายจาย จายเงินกูระยะสั้น 2,000,000 - - - - - - - คาใชจายในการตดิตาม/เอกสาร 7,500 7,500 7,500 7,500 7,500 7,500 7,500 7,500 จายชําระคืนเงินตน

- - 334,000 334,000 334,000 334,000 334,000 330,000

รวมจาย 2,005,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 กําไรคงเหลือ 95,000 95,000 95,000 78,300 61,600 44,900 28,200 11,500 กําไรสะสม 95,000 190,000 285,000 363,300 424,900 469,800 498,000

509,500

เงื่อนไข การคัดเลือก หลักเกณฑ คุณสมบัติ 10.1 โดยมีเงือ่นไข สมาชิกตองทําสัญญากูเงินระยะสัน้ กําหนดชําระคืน 1 ป พรอมดอกเบี้ย 5 % 10.2 การคัดเลือก สหกรณจะดําเนนิการคัดเลือกจากสมาชิกที่ยื่นคาํขอกู โดยมวีตัถุประสงคเพื่อการ

เล้ียงสุกรและมีแผนการชําระเงินคืน 10.3 หลักเกณฑการพจิารณา สหกรณพจิารณาจากการเปนสมาชิกของสหกรณ และสมาชิกตองทํา

กิจกรรมรวมกบัสหกรณ และการถือหุนในสหกรณมูลคาไมนอยกวา 500 บาท 10.4 คุณสมบัติ สมาชิกตองมีทุนดําเนนิการ 20 % ของเงินกูกับ

---------------------------------------------------------------------------------

Page 26: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

26

ประวัติและขอมูลพื้นฐาน สหกรณผูเลีย้งสุกรอุตรดิตถ จํากัด

-------------------------------------------------------- สํานักงาน เลขที่ 65 หมูที่ 9 ตําบลหาดกรวด อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ 53000 โทร. 0-5540-2066 / 08-6679-9813 ประวัติการจัดตั้งสหกรณ สหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากัด ไดมีการจัดตั้งขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2521 เปนสหกรณประเภท การเกษตร จดทะเบียนเลขที่ กสก. 128/25/21 วันที่ 18 ตุลาคม 2521 ปจจุบัน มีสมาชิกจํานวน 840 คน เปนสมาชิกผูเล้ียงสุกรจํานวน 660 คน มีคณะกรรมการดําเนนิงานชุดที่ 32/2552 จํานวน 9 คน มพีนักงานสหกรณจํานวน 5 คน ภารกิจหลัก 1. สงเสริมและพัฒนาระบบขอมูลขาวสารดานงานสหกรณ 2. สงเสริมและพัฒนาอาชีพของสมาชิกใหมีประสิทธิภาพครบวงจร 3. สงเสริมและสนับสนุนเงนิทุนการประกอบอาชีพ พันธกิจ 1. ยึดหลักธรรมาภิบาล 2. สงเสริมการประกอบอาชีพของสมาชิก 3. การรวมกลุมทํางานรวมกนั 4. ฟนฟูพัฒนาเพิ่มประสิทธภิาพการเลี้ยงสุกร ฐานะทางการเงินของสหกรณผูเล้ียงสุกรอุตรดิตถ จํากดั ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 จํานวนสมาชิก 840 คน ทุนเรือนหุน 524,060.00 บาท ทุนอื่นๆ 155,319.20 บาท ทุนดําเนนิงาน 4,924,364.62 บาท เงินกูระยะยาว 500,000.00 บาท เงินกูระยะส้ัน 1,000,000.00 บาท รายไดกอนหกัคาใชจาย 7,026,445.85 บาท หัก คาใชจายทั้งส้ิน 4,442,304.96 บาท กําไรจากการดาํเนินงาน 2,584,140.89 บาท หัก ขาดทุนสะสม (2,434,834.35) บาท คงเหลือกําไรสุทธิ 149,306.54 บาท

Page 27: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

27

สภาพปญหากอนเสนอโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลคาสุกร 1. ปญหาจากการเปดการคาเสรี 2. ปญหาจากบรษิัทเอกชนภายในประเทศ 3. ปญหาราคาสุกรที่ผันผวนไมแนนอน 4. ปญหาวัตถุดิบราคาสูง (อาหารสุกร) , โรคระบาด 5. ปญหาเงินลงทนุในการประกอบอาชีพ 6. ปญหาการขาดความรูดานการพัฒนาการเลีย้งสุกรใหทนัตอเหตุการณ สภาพปญหาหลังเสนอโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลคาสุกร 1. สหกรณเปนศนูยกลางรวบรวมผลผลิต และสามารถกําหนดราคาได โดยไมตองผานพอคาคนกลางอีก สหกรณและสมาชิกมีการเชื่อมโยงธุรกิจระหวางกัน 2. สมาชิกไดรับการพัฒนาปรบัปรุงประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรใหสูงขึ้น คุณภาพซากดแีละเปนที่ตองการของตลาด และสามารถประกอบอาชีพไดอยางมัน่คงและยัง่ยืน 3. ในป 2553 สมาชิกที่เขารวมโครงการไมต่ํากวา 30 % สามารถปรับปรุงและพัฒนาการเลี้ยงสุกรไดอยางเปนระบบ 4. เมื่อส้ินสุดโครงการ สมาชิกไมต่ํากวา 70 % ที่เขารวมโครงการสามารถพัฒนาประสิทธิภาพระบบการเลี้ยงสุกรที่มีคุณภาพ ลดปญหาการเกิดโรคระบาดได และใชวัตถุดิบที่มคีุณภาพสูง จึงทําใหสมาชกิสามารถผลิตสุกรที่มีคุณภาพตามที่ตลาดตองการ 5. สมาชิกสามารถลดตนทุนในการผลิต โดยเฉลี่ยไมนอยกวา 5 % กอนเขารวมโครงการและมีรายไดเพิ่มขึน้ไมนอยกวา 5 % กอนเขารวมโครงการ จากการซื้อวัตถุดิบของสหกรณโดยตรง ผลประโยชนท่ีไดรับตอสังคม ผลของการดําเนินการตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมลูคาสุกรมีผลที่ไดรับดานตางๆ ดังนี ้ ดานครอบครัวสมาชิกมีอาชีพที่มั่นคง พึ่งพาตนเองได ดานชุมชน สามารถขายผลิตผลทางการเกษตร เชน ขาวโพด มันสําปะหลัง ใหกับโครงการเพื่อนํามาผลิตเปนอาหารสัตวครบวงจร ดานสังคม สนับสนุนโครงการเลี้ยงสุกรอยางมีประสิทธิภาพใหกับเด็กและเยาวชนในโรงเรียน ใหเด็กนักเรียนมีความรูและสามารถพัฒนาเปนอาชีพไดในอนาคต

Page 28: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

28

เอกสารประกอบ 1.

ตนทุนสุกรมีชวีิตในประเทศตาง ๆ ตอ 1 กิโลกรัม (ป 2549)

ที่ ประเทศ บาท ดอลลาร ยูโร 1. เยอรมันน ี 63.0 - 1.312 2. เดนมารค 60.1 - 1.267 3. สเปน 60.0 - 1.246 4. ฝร่ังเศส 55.15 - 1.149 5. นิวซีแลนด 42.5 1.7 - 6. จีน 39.0 1.15 - 7. ออสเตรเลีย 37.5 1.05 - 8. ไทย 44.0 - -

ที่มา: เอกสารเผยแพรของประเทศตาง ๆ

Page 29: 3. หลักการและเหตุ ผล · 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิิทธภาพการผลิตและเพิ่

29

เอกสารประกอบ 2. การนําเขา

ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท

2551 2551 (มค.-กย.) 2552 (มค.-กย.) %∆ ป 52/51 (มค.-กย.) ประเภทผลิตภณัฑ

ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา สุกรมีชีวิต (ตัว) 386 15.47 278 9.19 39 2.63 -85.97 -71.38

เนื้อสุกร (ตัน)

เนื้อสุกรแชเย็นแชแข็ง - - - - 1.02 0.13 - -

เนื้อสุกรแชเกลอื 22.20 13.60 19.21 10.67 60.97 7.09 217.39 -33.55

เนิ้อสุกรแปรรปู 98.91 19.57 45.88 8.93 49.10 10.95 7.02 22.62

รวมเนือ้สุกร 121.11 33.17 65.09 19.60 111.09 18.17 70.67 -7.30

เคร่ืองในสุกร (ตัน)

เครื่องในสดแชเย็น 413.05 2.09 337.53 1.72 351.29 1.76 4.08 2.39

ตับแชแข็ง 5,529.01 161.28 4,295.65 125.93 3,301.90 90.53 -23.13 -28.11

เครื่องใน(ไมรวมตับ)แชแข็ง 5,520.11 44.35 4,154.95 34.57 4,446.46 33.77 7.02 -2.31

รวมเครือ่งในสุกร 11,462.17 207.73 8,788.13 162.21 8,099.64 126.05 -7.83 -22.29

ที่มา: กรมศุลกากร