3.2 ตัวแปรและคำสงวน

15

Upload: -

Post on 17-Jun-2015

763 views

Category:

Education


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน
Page 2: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

ตัวแปร (Variable) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าข้อมูล

ในการเขียนโปรแกรม ซึ่งข้อมูลนั้นจะเป็นตัวหนังสือ

หรือตัวเลขก็ได้ โดยที่เบื้องหลังการท างานของตัวแปร

จะเป็นการจองพื้นที่ของหน่วยความจ าส าหรับเก็บ

ข้อมูลตามรูปแบบชนิดของข้อมูล

Page 3: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

การเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์นั้นจะเก็บลงในหน่วยความจ าส่วน

ที่เป็น RAM โดยข้อมูลที่เก็บอยู่แต่ละค่าจะอ้างถึงโดยการอ้างไปที่

หมายเลขต าแหน่งของหน่วยความจ านั้น ส าหรับในการเขียนโปรแกรม

จะใช้วิธีการประกาศตัวแปรในการอ้างถึงหน่วยความจ าที่ต้องการติดต่อ

โดยชื่อของตัวแปรจะเป็นตัวแทนค่าหมายเลขต าแหน่งหน่วยความจ าที่ใช้

เก็บข้อมูลนั่นเอง เมื่อมีการน าข้อมูลไปเก็บในตัวแปร ข้อมูลนั้นจะถูก

เปลี่ยนเป็นรหัสเลขฐานสองที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวอย่างเช่น ถ้าหาก

ต้องการให้ตัวแปรนั้นเก็บเลขจ านวนเต็ม คอมพิวเตอร์จะเปลี่ยนเลข

จ านวนเต็มเป็นเลขฐานสองที่สอดคล้องกัน

Page 4: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

ถ้าหากต้องการให้ตัวแปรเก็บตัวอักขระ คอมพิวเตอร์จะเปลี่ยนตัว

อักขระนั้นเป็นรหัส ASCII หรือรหัส Unicode ตามการประมวลผลของ

คอมพิวเตอร์นั้น ดังนั้นถ้าหากต้องการให้โปรแกรมรับข้อมูลจากผู้ใช้มา

เก็บไว้ หรือมีการค านวณและเก็บผลลัพธ์จะต้องสร้างตัวแปรส าหรับเก็บ

ข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์น้ัน

Page 5: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

การประกาศตัวแปร

การประกาศตัวแปรเพื่อใช้งาน คือ การสร้าง

ตัวแปร โดยก าหนดชื่อและชนิดของข้อมูลให้กับตัวแปร

ในบางกรณีจะมีการก าหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปร

ดังกล่าวด้วย ซึ่งภาษา C มีรูปแบบการประกาศตัวแปร

และก าหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปรดังนี้

type varName [= Value];

โดยที่ type เป็นชนิดของข้อมูล

varName เป็นชื่อตัวแปร

Value เป็นค่าข้อมูลของตัวแปร

Page 6: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

กฎการตั้งชื่อ

1. ชื่อจะต้องข้ึนต้นด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย

underscore(_) เท่านั้น จะขึ้นต้นด้วยตัวเลขหรือ

เครื่ อ งหมายอื่ น ไม่ ไ ด้ แต่ ภายในชื่ อสามารถ

ประกอบด้วยตัวอักษร เครื่องหมาย underscore

หรือตัวเลขก็ได้ เช่น Test_Amount, Love2, g1_A2,

_FirstName เป็นต้น

2. ชื่อจะประกอบด้วยอักขระพิเศษไม่ได้ เช่น $, @, #, &

Page 7: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

กฎการตั้งชื่อ

3. ภายในชื่อมีช่องว่างหรือแท็บไม่ได้

4. ชื่อในภาษา C เป็นแบบ Case- Sensitive คือ

ตัวอักษรตัวใหญ่และตัวอักษรตัวเล็กจะถือเป็นคนละ

ตัวกัน เช่น Test, test, tEsT

5. ชื่อท่ีต้ังขึ้นต้องไม่ซ้ ากับค าสงวน (Reserved Word)

Page 8: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

auto break case char const continue

default do double else enum extern

float for goto if int long

register return short signed sizeof static

struct switch typedef union unsigned void

volatile while

ค าสงวน (Reserved Word)

ค าสงวน หมายถึง ค าที่สงวนไว้ส าหรับเรียกใช้ตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนด

ไว้เฉพาะ เช่น ค าส่ังที่ใช้ในค าส่ังควบคุม และชนิดของข้อมูล เป็นต้น

Page 9: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

ตัวอย่างที่ 1

#include<stdio.h>

#include<conio.h>

int main ()

{

int feet, inches;

feet = 6;

inches = feet * 12;

printf("Height in inches is %d",inches);

getch ();

return 0;

}

ประเภทของข้อมูล

ชื่อตวัแปร

Page 10: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

ผลลัพธ ์

Page 11: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

อธิบายการท างานของโปรแกรม

บรรทัดที่ 1 : เรียกใช้งานส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ ซึ่งสังเกตเครื่องหมาย #

โดยมีการเรียกใช้ไลบรารี stdio.h ซึ่งจัดการเกี่ยวกับอินพุตและเอาต์พตุ

บรรทัดที่ 5 : เป็นการประกาศตัวแปรขึ้นมาสองตัว โดยใช้ int น าหน้าใน

การประกาศตัวแปร โดยก าหนดให้ตัวแปรชื่อ feet และ inches เป็นตัว

แปรประเภท Integer (เลขจ านวนเต็ม)

สเตตเมนต์ต่อมาจะเป็นการก าหนดค่าให้ feet มีค่าเท่ากับ 6

โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับในการก าหนดค่า สเตตเมนต์ต่อมาจะน าค่า

feet คูณด้วย 12 และเก็บค่าที่ได้ในตัวแปร inches ส่วนสเตตเมนต์

printf จะใช้ส าหรับพิมพ์ค่าเอาต์พตุทางจอภาพ

Page 12: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

ในค าสั่ง printf จะเห็นว่ามีการแสดงผลสองส่วน คือส่วนที่เป็น

ข้อความและส่วนที่เป็นตัวแปร โดยใช้เครื่องหมายคอมมา (,) คั่น เมื่อ

โปรแกรมท างานจะน าข้อมูลที่เป็นตัวแปรไปแสดงผลในต าแหน่งที่เขียน

เป็น %d ซึ่งเป็นตัวบอกว่าให้แสดงผลตัวแปรเป็นเลขฐานสิบ

ในส่วนของการประกาศตัวแปรชื่อของตัวแปรจะต้องเป็นไปตาม

กฎการต้ังชื่อ ถ้าหากชื่อตัวแปรมีความยาวมากกว่า 63 ตัวอักษร

โปรแกรมจะรับรู้เพียง 63 ตัวแรกเท่านั้น และในการประกาศตัวแปรถ้า

หากมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัวจะใช้เครื่องหมาย , คั่น การก าหนดตัวแปร

จะต้องเริ่มต้นด้วยประเภทของข้อมูล ตามด้วยชื่อตัวแปร

เหนื่อย

นัก

ก็

พักก่อน

Page 13: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

ตัวอย่างที่ 2

1 #include<stdio.h>

2 #include<conio.h>

3 main ()

4 {

5 int x = 5, y = 7;

6 float z = 392.65;

7 char c = ‘A’;

8 printf(“x + y = %d\n",x + y);

9 printf(“z = %f\n",z);

10 printf(“c = %c\n",c);

11 getch ();

12 return 0;

13 }

Page 14: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

ผลลัพธ์

จะเห็นว่า บรรทัดที่ 8 ใช้ %d กบัตัวแปรประเภทเลขจ านวนเต็ม (integer)

บรรทัดที่ 9 ใช้ %f กบัตัวแปรประเภทเลขจ านวนจริง (floating number)

บรรทัดที่ 10 ใช้ %c กบัตัวแปรประเภทอกัขระ (character)

Page 15: 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย

คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา ส านักพิมพ์ IDC PREMIER