การเขียนบทหนังสั้น

21
การ เข ยน บท หนังสั้น การเขยนบทอาจเป็นเร่องท่นามาจากเร่องจรเร่องดัดแปลง ข่าว เร่องท่อยู่รอบ ๆ ตัว นวนยาย เร ่องสั้น หร อได้แรงบันดาลใจจากความประทับใจในเร ่องราว หร อบางส่งท่คนเขยนบทได้สัมผัส เช่น ดนตร บทเพลง บทกว ภาพเขยน และอ่น ๆ

Upload: -2

Post on 24-Dec-2014

12.271 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

Narinukul 2 School Ubon Ratchathani

TRANSCRIPT

Page 1: การเขียนบทหนังสั้น

การ เขียน บท

หนังส้ัน

การเขียนบทอาจเป็นเรื่องท่ีน ามาจากเร่ืองจริง

เร่ืองดัดแปลง ข่าว เร่ืองท่ีอยู่รอบ ๆ ตัว นวนิยาย เร่ืองสั้น

หรือได้แรงบันดาลใจจากความประทับใจในเร่ืองราว

หรือบางส่ิงท่ีคนเขียนบทได้สัมผัส เช่น ดนตรี บทเพลง บทกวี ภาพเขียน

และอ่ืน ๆ

Page 2: การเขียนบทหนังสั้น

1. Research 2. Theme 3. Plot 4. Synopsis 5. Treatment 6. Scenario 7. Paradigm 8. Screenplay 9. Shooting script 10. Storyboard

Page 3: การเขียนบทหนังสั้น

Research

ต้องยอมรับว่า คนท าหนังสั้น ส่วนใหญ่จะละเลยในขั้นตอนน้ี ซึ่งท่ีจริงแล้วเป็นส่ิงส าคัญ หนังเกี่ยวข้องกับมนุษย์ เราก็เป็นมนุษย์ เราเกี่ยวข้อง

กับอะไรบ้าง? นั่นแหละคือส่ิงท่ีตัวละครเกี่ยวข้อง

การ research เป็นการหารายละเอียดของตัวละครมาหาใส่ ท่ีจริงการresearch ไม่มี format จุดประสงค์คือเก็บเกี่ยวข้อมลูของตัวละครให้

ได้มากท่ีสุด สร้างเป็นประวัติของตัวละคร

Page 4: การเขียนบทหนังสั้น

research

1.ช่ือ

2.อายุ

3.ภูมิล าเนาวิถีชีวิตของคน

4.ระดับการศึกษาจะมีผลต่อวุฒิภาวะของตัวละคร

5.อาชีพเป็นปัจจัยท่ีสร้างตัวตนของตัวละครท่ีชัดเจน

6.ฐานะการเงินเป็นพ้ืนฐานชีวิตของตัวละคร

7.กลุ่มทางสังคม

8.ตัวละครพิเศษ

9.ความต้องการในชีวิต

Page 5: การเขียนบทหนังสั้น

Theme แก่น ใจความส าคัญ แนวคิดหลัก สาร ประเด็น ฯ

หนังสั้นท่ีได้ผลดี ควรจะมี theme เพียงหน่ึงเดียว คือมีประเด็นหลัก ท่ีต้องการจะส่ือสารเพียงหน่ึงส่ิง

การเขียน theme ไม่ได้ต้องใช้ค าสวยหรู ไม่ได้เป็นส่ิงท่ีต้องเข้าใจยาก ไม่ต้องเป็นปรัชญา ไม่จ าเป็นต้องเป็นแนวคิดสากล เป็นแนวคิดส่วนตัวก็ได้ เพียงแต่เราต้องมีความเชื่อในแนวคิดนั้นๆ และมีมุมมองท่ีจะน าเสนอ

Page 6: การเขียนบทหนังสั้น

Theme รูปแบบ หรือ format ของ theme มักจะเป็น

ประโยคสั้นๆท่ีมีความชัดเจน theme เป็นประเด็นหรือแนวคิดส าคัญ

ท่ีคนเขียนบทต้องการจะบอก โดยหาสถานการณ์ต่างๆมารองthemeนั้นๆ บางคนก็เอามาจากส านวน สุภาษิต ค าพังเพย เช่น กล้านักมักบิ่น ฆ่าควายอย่าเสียดายพริก ปล่อยเสือเข้าป่า

จากค าคม เช่น “Praise the bridge that carried you over.” – George Colman “Well done is better than well said.” - Ben Franklin -

Page 7: การเขียนบทหนังสั้น

Plot การเขียนพล็อตเปรียบเสมือนการท าแผนท่ี แผนผัง

การท าพล็อตหนังสั้น มี 3 จุด (Acts) คือ 1.จุดเริ่มต้น อย่างน้อยควรรู้ว่าตัวละครคือใคร

2.จุดหักเห คือสถานการณ์ที่ตัวละครนั้นเจอ ในหนังสั้นมักจะเป็น

สถานการณ์ที่ไม่ซับซ้อนนัก เป็นปัญหาท่ีชัดเจนท่ีสุดของตัวละคร

3.จุดจบ คือสถานการณ์ที่เป็นจุดเข้มข้นสุดของเร่ือง ก่อนท่ีจะคล่ีคลาย

หรือจบลง

Page 8: การเขียนบทหนังสั้น

Synopsis Synopsis ว่า เร่ืองย่อ รูปแบบการเขียน synopsis ของหนังสั้น มักจะเป็นความเรียง เล่าเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบอย่างย่อ มีความยาวประมาณ 5-6 บรรทัด เล่าตัวละครและเหตุการณ์เพ่ือสรุปว่า ใคร ท าอะไร ที่ไหน เม่ือไหร่ อย่างไร ฯ ด้วยมุม Objective ของคนเขียนบทเอง คล้ายๆกับการเขียนเร่ืองย่อบนปกหลังกล่อง vcd แต่อย่างที่บอก ไม่ต้องกั๊กตอนจบ ในขั้นน้ีแนะน าให้เขียนเร่ืองให้ได้ 3 ย่อหน้า (เหมือนเขียนเรียงความ มีค าน า เน้ือเรื่อง สรุป) โดยยึดจากหลักการเขียนplot อาจจะเป็น ย่อหน้าของจุดเร่ิมต้น 2 บรรทัด

ย่อหน้าของจุดหักเห 3 บรรทัดและ

ย่อหน้าของจุดจบ 1 บรรทัด

Page 9: การเขียนบทหนังสั้น

Treatment ในการเขียนบท หมายถึงโครงเรื่องขยาย คือมีการเขียนค าอธิบายขยายเน้ือเรื่องชัดเจนมากข้ึน เหมือนรูปแบบของนวนิยายหรือเรื่องสั้น มีการบรรยายรายละเอียดต่างๆท่ีจ าเป็นต่อการเล่าเรื่อง เช่น ช่ือตัวละคร ลักษณะตัวละคร สถานการณ์ต่างๆ สถานท่ี วัน เวลา เหตุผลของตัวละคร ฯ แต่ยังไม่มีบทสนทนา (นอกจากว่า จะเป็นประโยคส าคัญ) treatment หนังสั้น มักมีความยาวประมาณ 1 หน้ากระดาษ A4 เป็นบทท่ีนิยมมอบให้คนอ่ืนอ่าน เพราะจะมีรายละเอียดท่ีมากพอจะเล่าเรื่องได้สมบูรณ์แล้ว ด้วยเหตุน้ี จึงมักตั้งช่ือตัวละครไปด้วย อย่างท่ีเคยกล่าวมาว่า ช่ือตัวละครของหนังสั้นท่ีดี ควรจะส่ือถึง character ด้วย

Page 10: การเขียนบทหนังสั้น

Scenario Scenario เป็นขั้นตอนต่อมาจาก treatment มีวัตถุประสงคเ์พื่อแบ่งฉากของ treatment ให้เห็นเป็น scene ชัดเจน และนิยมเขียนเป็นข้อๆว่า ใน scene เกิดอะไรข้ึนบ้าง เพ่ือค านวณความยาวของแต่ละฉาก และคะเนได้ว่าทั้งเร่ืองจะยาวเท่าไหร่

ส านวนการเขียนจะรวบรัด และใช้ภาษาอธิบายเหตุการณ์ การแสดง มากกว่าอธิบายความคิด หรืออารมณ์ตัวละคร ในขั้นการเขียน scenario จะมีการเขียนหัวฉาก ซึ่งมีรายละเอียดดังน้ี

Page 11: การเขียนบทหนังสั้น

Scenario

1.Scene Number เขียนว่า ฉาก1 หรือ Scene1 หรือ run เป็นตัวอักษร ตามแต่ถนัด

Page 12: การเขียนบทหนังสั้น

Scenario

2. ระบุว่าเป็นฉากภายนอกหรือภายใน

ฉากภายนอก หมายถึง ฉากท่ีอยู่กลางแจ้ง ภายนอกจากอาคารหรือสิ่งปกคลุม นิยมเขียนว่า ภายนอกหรือ Exterior หรือ Ext. ฉากภายใน หมายถึง ฉากที่มีฝาผนังอย่างน้อย 1 ด้าน ภายในอาคาร อุโมงค์ใต้ดิน ในรถ ในบ้าน นิยมเขียนว่า ภายในหรือ Interior หรือ Int.

Page 13: การเขียนบทหนังสั้น

Scenario

3. ช่ือฉาก หมายถึง ช่ือสถานท่ีนั้นๆ

เช่น ห้องฉุกเฉิน สถานีต ารวจ ออฟฟิศฯ

(ให้เขียนช่ือสถานท่ีตามเน้ือเรื่อง ไม่ใช่ชื่อ Location จริง)

Page 14: การเขียนบทหนังสั้น

Scenario

4. เวลา ให้เขียนเวลาตามเน้ือเรื่อง นิยมเขียน กลางวัน, กลางคืน

หรือ Day, Night แต่ถ้าจะระบุช่วงเวลาละเอียดกว่านั้นก็ได้ เช่น เช้าตรู่, เท่ียง, โพล้เพล้

Page 15: การเขียนบทหนังสั้น

Paradigm เป็นขั้นตอนท่ีส าคัญขั้นตอนหน่ึงท่ีช่วยสรุปจังหวะของการเขียนบทท่ีผ่านมาว่าเป็นอย่างไร ถอยออกมา แล้วมองเร่ืองทั้งเร่ือง

เป็นจังหวะหรือ step ของการด าเนินเรื่อง ขั้นตอนน้ี จะเน้นไปท่ีการวิเคราะห์และตีความ คุณสมบัติหรือหน้าท่ีของแต่ละฉาก ว่าอะไรขาด อะไรเกิน การเล่าเร่ือง เล่าอารมณ์ มันเป็ยังไง

เราต้องสรุปได้ว่า ฉากนั้นๆ มีประโยชน์อย่างไร

จะได้แก้ไขก่อนจะเข้าสู่ Screenplay

Page 16: การเขียนบทหนังสั้น

Screenplay

คือบทภาพยนตรท่ี์ เป็นการเล่าเรื่องท่ีได้พัฒนามาแล้วอย่างมีขั้นตอน ประกอบด้วย ตัวละครหลัก บทพูด ฉาก แอ็คชั่น

ซีเควนส์ มีรูปแบบการเขียนท่ีถูกต้อง เช่น

บทสนทนาอยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ

ฉาก เวลา สถานที่ อยู่ชิดขอบหน้าซ้ายกระดาษ

ไม่มีตัวเลขก ากับช็อต และโดยหลักทั่วไป

บทภาพยนตร์หน่ึงหน้ามีความยาวหน่ึงนาที

Page 17: การเขียนบทหนังสั้น

Shooting script

เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการเขียน

บทถ่ายท าจะบอกรายละเอียดเพ่ิมเติมจากบทภาพยนตร์ (screenplay) ได้แก่

ต าแหน่งกล้อง การเชื่อมช็อต เช่น คัท (cut) การเลือนภาพ (fade) การจางซ้อนภาพ (dissolve) การกวาดภาพ (wipe)

ตลอดจนการใช้ภาพพิเศษ (effect) อ่ืน ๆ นอกจากนี้ยังมีเลขล าดับช็อตก ากับไว ้

โดยเรียงตามล าดับต้ังแต่ช็อตแรกจนกระทั่งจบเรื่อง

Page 18: การเขียนบทหนังสั้น

Storyboard

คือ บทภาพยนตร์ประเภทหน่ึงท่ีอธิบายด้วยภาพ คล้ายหนังสือการ์ตูน ให้เห็นความต่อเน่ืองของช็อตตลอดทั้งซีเควนส ์

มีค าอธิบายภาพ ระบุเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงประกอบฉาก และเสียงพูด เป็นต้น ใช้เป็นแนวทางส าหรับการถ่ายท า หรือใช้เป็นวิธีการคาดคะเนภาพล่วงหน้า (pre-visualizing) ก่อนการถ่ายท าว่า เม่ือถ่ายท าส าเร็จแล้ว หนังจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร

Page 19: การเขียนบทหนังสั้น

Walt Disney น ามาใช้กับการผลิตภาพยนตร์การ์ตูนของบริษัทเป็นครั้งแรก โดยเขียนภาพ เหตุการณ์ของแอ็คชั่นเรียงติดต่อกันบนบอร์ด เพ่ือให้คนดูเข้าใจและมองเห็นเร่ืองราวล่วงหน้า

ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่วนใหญ่บทภาพจะมีเลขที่ล าดับช็อตก ากับไว้ มีค าบรรยายเหตุการณ์ มุมกล้อง และอาจมีเสียงประกอบด้วย

Storyboard

Page 20: การเขียนบทหนังสั้น

Referent

http://www.slideshare.net/duangsuwunlasadang/1storyboard?from_search=10

http://www.moralmedias.net/index.php?option=com_content&task=view&id=33&Itemid=39

http://www.slideshare.net/ciellauren/storyboarding-1412888

http://samforkner.org/source/dirshortfilm.html

http://www.youtube.com/watch?v=mYnsKATCrdw

http://chas-m.blogspot.com/

Page 21: การเขียนบทหนังสั้น

The End