ระบบยา

60
ระบบยา ภก.รชานนท หิรัญวงษ

Upload: rachanont-hiranwong

Post on 26-May-2015

2.195 views

Category:

Health & Medicine


1 download

DESCRIPTION

สไลด์ประกอบการนำเสนอให้ความรู้เกี่ยวกับระบบยา รพ.บางละมุง ปี 2556

TRANSCRIPT

Page 1: ระบบยา

ระบบยา

ภก.รชานนท หิรัญวงษ

Page 2: ระบบยา

คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด

1.นพ.ณรงคศักดิ ์ เอกวัฒนกุล ประธานกรรมการ2.นพ.ชาญชัย ลิ้มธงเจริญ กรรมการ3.นพ.อิสเรศ อัศวเมธาพันธ กรรมการ4.พญ.ศิริลักษณ พนมเชิง กรรมการ5.พญ.พัชรินทร สุเมธวทานิย กรรมการ6.นพ.ณัฐพล วงศวิวัฒน กรรมการ7.ทพ.บุญชัย วงษไทยวรรณ กรรมการ8.นางนันทวัน จิตตแยม กรรมการ9.ภญ.พรรณเพ็ญ วัจนเจริญ กรรมการ10.ภก.รชานนท หิรัญวงษ กรรมการ11.ภญ.สุกัญญา สวัสดิ์พานิช กรรมการและเลขานุการ12.ภก.ปรัชญา พัชรวรกุลชัย กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 3: ระบบยา

คณะกรรมการพัฒนาระบบยา

1.นพ.ชาญชัย ลิ้มธงเจริญ ประธานกรรมการ2.นพ.ณัฐพล วงศวิวัฒน รองประธานกรรมการ3.ภญ.พรรณเพ็ญ วัจนเจริญ กรรมการ4.ภก.ปรัชญา พัชรวรกุลชัย กรรมการ5.ภก.รชานนท หิรัญวงษ กรรมการ6.น.ส.กรชนก สหเจนสีดา กรรมการ7.นางเกษรา รุงโรจน กรรมการ8.นส.ขวัญฤทัย พึ่งผล กรรมการ9.นส.สธีกานติ์ ตันติราพันธ กรรมการ10.นางอังคนา โมแซง กรรมการ11.นส.อุมาพร นพตากุล กรรมการ12.น.ส.อรณภา เกตุมาลัย กรรมการ13.นางสุมาลี เชื้อพันธุ กรรมการ14.นส.ประยงค ทับทิม กรรมการ15.นางกชภัท วงศทองเกื้อ กรรมการ16.นางนาติยา พลละคร กรรมการ17.นางธัญพร ทําเนียบ กรรมการ18.ภญ.สุกัญญา สวัสดิ์พานิช กรรมการและเลขานุการ

Page 4: ระบบยา

ภาพรวมระบบยา

การคัดเลือกและจัดหายา

การสั่งใชยา การเตรียมยาและการจายยา

การบริหารยา การติดตามการใชยา

คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดทําหนาที่กาํหนดบัญชียา และสงเสริมให

มีการใชยาอยางสมเหตุสมผล

คณะกรรมการพัฒนาระบบยาทําหนาที่ดูแล และวางระบบยาใหเกิดความปลอดภัย

ปองกันความคลาดเคลื่อนทางยา และเหตุการณไมพึงประสงคจากยา

Page 5: ระบบยา

บทบาทและหนาที่

รวมกันวางแนวทางปฏิบัติงาน กําหนดขอตกลง และนําไปถายทอดสูผูปฏิบัติงาน

สงเสริมการรายงานอุบัติการณที่เกิดข้ึนในหนวยงาน

รวมกันทบทวนอุบัติการณ หรือเหตุการณไมพึงประสงคจากยาที่เกิดขึ้น เพื่อกําหนดแนวทางการปองกัน

รวมกันแกไขปญหาท่ีเกี่ยวของกับระบบยา

Page 6: ระบบยา

ระบบงานสําคัญของระบบยา

Adverse drug reactions (ADRs)High Alert Drugs (HAD)Drug use evaluation (DUE)Medication Error (ME)การควบคมุวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ

Page 7: ระบบยา

ระบบงานอื่นๆ ของระบบยา

การสํารองยาที่หอผูปวยการบันทึกใบ MARLook Alike Sound Alike (LASA) DrugsAC DrugsMedication Reconcile

Page 8: ระบบยา

Adverse drug reactions (ADRs)

1. พบผูปวยที่เกิดอาการนาสงสัยวาแพยา

2. สงพบเภสัชกรเพื่อซักประวัติ หรือ Notify ใหเภสัชกรมาซักประวัติ (ในกรณีที่ผูปวยเดินไมได)

พยาบาล ณ แผนกฉุกเฉนิ หรือผูปวยนอก

Page 9: ระบบยา

Adverse drug reactions (ADRs)

1. พบผูปวยที่เกิดอาการนาสงสัยวาแพยา 2. แจงแพทย > แพทยพิจารณาวานาจะเกิดการแพยา 3. Notify ใหเภสัชกรมาซักประวัติ > รับ Sticker แพยา

จากเภสัชกร จํานวน 4 ใบ (หากผูปวยแพยา)4. พยาบาลนํา Sticker ดังกลาวไปติดที่ Doctor Order

Sheet, หนา Chart, ใบ MAR (ยากิน และยาฉีด)

พยาบาล ณ หอผูปวย

Page 10: ระบบยา

Adverse drug reactions (ADRs)

1. ซักประวัติ 2. ออกบัตรแพยา 3. ลงขอมูลในระบบคอมพิวเตอร 4. เขียนผลสรุปลงใน Progress Note หรือ ใบนําสง 5. สงเคส และแจก Sticker แพยาใหกับพยาบาล 4 ใบ

(สําหรับผูปวยใน)

เภสัชกร

Page 11: ระบบยา

Adverse drug reactions (ADRs)

ตัวอยางการติดสติ๊กเกอรแพยาที่ Doctor order sheet

Page 12: ระบบยา

High Alert Drugs (HAD)

ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) คือ กลุมยาท่ีมีโอกาสที่จะเกิดอันตรายแกผูปวยเพราะมีดัชนีการรักษาที่แคบ หรือมีผลขางเคียงรายแรง ตออวัยวะสําคัญ เชน สมอง หัวใจ ไต ฯลฯ

Page 13: ระบบยา

High Alert Drugs (HAD)

รายการยา High Alert

Page 14: ระบบยา

High Alert Drugs (HAD)

การเก็บรักษายา High Alert

ตองแยกเก็บจากยาชนิดอื่น มีสติ๊กเกอรสีแดงสะทอนแสง ติดที่ผลิตภัณฑ โดยไมติดทับวันหมดอายุของยา (ติดที่คอขวด)

มีใบ Monitor สีชมพ ู(ใบ Monitor จะมี 2 จุด คือ ที่หองยาโดยถูกจายไปพรอมกับยา และที่หอผูปวยสํารองไว)

Page 15: ระบบยา

High Alert Drugs (HAD)

การสั่งจายยา High Alert ไมมีการสั่งยาทางโทรศัพท การสั่งจายตองเขียนโดยลายมือแพทย ไมใชตัวยอในการสั่งจายยา ตองเขียนดวยตัวเต็มเสมอ

Page 16: ระบบยา

High Alert Drugs (HAD)

การจายยา High Alert

มีการตรวจสอบซ้ํากอนจายยาใหกับหอผูปวย (Independent check)

ฝายเภสัชกรรมจะจายยาพรอมใบ Monitor แกหอผูปวย

ใบ Monitor จะมีรายละเอียดของชื่อยา, Dose ยา, ขอหามใช, การติดตามขณะใหยาและหลังใหยา

Page 17: ระบบยา

High Alert Drugs (HAD)

การเก็บใบ Monitor (ใบสีชมพู)

ใบ Monitor ที่ใช Monitor อยู : ใหเก็บไวที่หนาชารตหรือ ไวที่เตียงผูปวย หรือบริเวณที่สะดวกในการทํางานของพยาบาล

ใบ Monitor ที่ Monitor เสร็จแลว : ใหเก็บไวในชารตหลังใบ MAR

จะมีการสุมตรวจการ Monitor ทุก 1 เดือน

Page 18: ระบบยา

Drug use evaluation (DUE)

การประเมินการใชยา (Drug Use Evaluation: DUE) เปนระบบติดตาม เฝาระวัง และประเมินการใชยา เพื่อประกันคุณภาพ การรักษาผูปวย ใหมีความถูกตอง เหมาะสม ตามเกณฑมาตรฐาน

กลุมยาบัญช ีง. ยาบัญช ีจ.(2) และยาที่ปริมาณการใชยาสูงหรือยาราคาแพง

Page 19: ระบบยา

Drug use evaluation (DUE)

การติดตามใบ DUE

ฝายเภสัชกรรม สงใบ DUE ขึ้นไปพรอมยาในการสั่งยาที่ตองประเมินความเหมาะสมในการสั่งจายยาในวันแรกของการสั่งจายยา วันตอมาดึงขอมูลจากคอมพิวเตอรและเปรียบเทียบกับใบ DUE ที่ไดตอบรับกลับมา และติดตามใหม

ถาพบวาหากนานกวา 48 ชั่วโมงยังไมไดผลตอบรับ ใหแจงคุณออ (เลขาองคกรแพทย) ดําเนินการตามแพทยผูสั่งใชยาเพื่อใหเขียนใบ DUE ตอไป

Page 20: ระบบยา

Drug use evaluation (DUE)

รายการยาที่ตองทํา DUE

เพิ่มใหมในป 2556 อีก 2 รายการคือ 1. Ertapenem sodium 1 g inj 2. Levofloxacin 500 mg tab

Page 21: ระบบยา

Drug use evaluation (DUE)

ใบ DUE

Page 22: ระบบยา

Medication Error (ME)

เมื่อพบเหตุการณความคลาดเคลื่อนทางยาทั้งจากหนวยงานอื่น และจากบุคลากรในหนวยงานเอง ใหบันทึกในแบบฟอรมที่กําหนดไว

รวบรวมรายงานทุกสิ้นเดือนสงที่หองจายยาผูปวยใน ภายในวันที่ 5

เมื่อพบความคลาดเคลื่อนทางยาระดับ E ขึ้นไป ใหเขียนแบบรายงานอุบัติการณความเสี่ยงสงคุณปนัดดาภายในวันรุงขึ้นหลังจากพบเหตุการณ

Page 23: ระบบยา

Medication Error (ME)

แบบฟอรมบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยา

Page 24: ระบบยา

Medication Error (ME)

แบบรายงานอุบัติการณความเสี่ยง

Page 25: ระบบยา

Medication Error (ME)

โครงการสงเสริมการรายงานความคลาดเคลื่อนทางยาในหนวยงาน

ดําเนินการไปแลว 2 ครั้ง ครั้งที ่1 กรกฎาคม 2555 ถึง กันยายน 2555 ครั้งที ่2 ตุลาคม 2555 ถึง มกราคม 2556

Page 26: ระบบยา

Medication Error (ME)

ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2555 ถึง กันยายน 2555 หนวยงานที่มีการรายงานสูงสุด 3 อันดับแรก อันดับ 1 อายุรกรรมหญงิ (Ward 3) จํานวน 50 รายงาน อันดับ 2 Ward เด็ก/เด็กแรกเกิด จํานวน 20 รายงาน อันดับ 3 ศัลยกรรมหญิง (Ward 1) จํานวน 19 รายงาน

Page 27: ระบบยา

Medication Error (ME)

ครั้งที่ 2 ตุลาคม 2555 ถึง มกราคม 2556 หนวยงานที่มีการรายงานสูงสุด 3 อันดับแรก อันดับ 1 ศัลยกรรมหญิง (Ward 1) จํานวน 56 รายงาน

(อัตราสวนเทียบกับวันนอน 21.51) อันดับ 2 ศัลยกรรมชาย (Ward 2) จํานวน 54 รายงาน

(อัตราสวนเทียบกับวันนอน 14.83) อันดับ 3 อายุรกรรมหญิง (Ward 3) จํานวน 51 รายงาน

(อัตราสวนเทียบกับวันนอน 14.18)

Page 28: ระบบยา

การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ

ยาเสพติดจะมีการสํารองไว 3 จุด ที่หองยาผูปวยใน, หองฉุกเฉิน และหอผูปวย

ยาเสพติดทกุชนิดจะตองอยูในลิ้นชักที่มีแมกญุแจล็อก ในลิ้นชักยาเสพติด ตองไมมีวัสดุ สิ่งของอื่นอยูดวย

นอกจาก สมุดควบคุม/ตรวจสอบปริมาณยา (สมุด OK) ใบ ยส.5 และใบ Monitor

การสั่งยาเสพติดในหอผูปวยจะตองเปน order for one day เทานั้น

Page 29: ระบบยา

การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ

ลิ้นชักเก็บยาเสพยติด

Page 30: ระบบยา

การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ

กุญแจตูยาเสพติดจะตองเก็บรักษาโดย In Charge (หอผูปวย, หองฉุกเฉิน) หรือ เภสัชกร (หองยา) เทานั้น

การเบิกยาเสพติดจากหองยา ตองใช Amp ที่ใชแลวรวมกับใบ ยส.5 เทานั้น

ใบ ยส.5 จะตองมีการเซ็นชื่อ 3 จุด คือ แพทยผูสั่ง, พยาบาลผูบริหารยา/ทิ้งยา และพยาน โดยผูใหยาจะตองเขียนวา ใชยาไป.....mg ทิ้ง....mg พรอมเซ็นชื่อกํากับทั้งผูใหยาและพยาน ผูเห็นเหตุการณ

Page 31: ระบบยา

การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ

ใบ ยส.5 จะใช 1 ใบตอจํานวนการสั่งใช ฉีดกี่ครั้ง ก็ตองมีใบ ยส.5 เทากับจํานวนครั้งที่ฉีด โดยในแตละใบจะตองระบุชื่อ สกุล, HN และขอมูลอื่นๆ ใหครบถวน

Page 32: ระบบยา

การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ

แนวทางการดําเนินการกรณียาเสพติดหายหรือแตกแลวเก็บซากไมได เขียนรายงาน RM (มีการสอบสวนเหตุการณ) บันทึกลงในใบ OK ทางหองยาจะตองรอคําตัดสินจากคณะกรรมการพัฒนา

ระบบยาหรือ PTC ในการดําเนินการตอไป

Page 33: ระบบยา

การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ

แนวทางการดําเนินการกรณียาเสพติดแตกแลวเก็บซากได เก็บซาก Amp ที่แตก แจงแพทยผูสั่ง > แพทยเขียนใบ

ยส.5 ใหมให นําใบ ยส.5 ใหม + ซาก Amp ยา

ที่แตก ไปขอยาที่หองยา

Page 34: ระบบยา

การสํารองยาที่หอผูปวย

มีการกําหนดรายการยาสํารองของหนวยงานตางๆ ใหมีเฉพาะรายการยาที่จําเปน

หอผูปวยศัลยกรรมหญิง ศัลยกรรมชาย

หอผูปวยอายุรกรรมหญิง อายุรกรรมชาย

หอผูปวยพิเศษ 5, 6 และ 7

หองคลอด หองหลังคลอด

หอผูปวยเด็ก เด็กแรกเกิด

หองผาตัด

หองฉุกเฉิน

หอง treatment OPD

Page 35: ระบบยา

การสํารองยาที่หอผูปวย

เมื่อใชแลวใหนํายาที่ไดจากหองยามาใสคืน

มีการตรวจสอบจํานวนคงเหลอืทุกเวร

หองยาทําการเยี่ยมสํารวจการสํารองยาทุก 2 เดือน เพื่อเปลี่ยนยาที่ใกลหมดอายุ หรือพบวาเสื่อมสภาพ และตรวจสอบสถานที่เก็บรักษายาใหเปนไปตามมาตรฐาน

Page 36: ระบบยา

การสํารองยาที่หอผูปวยกลองยาฉุกเฉินสําหรับใชภายในโรงพยาบาล

Page 37: ระบบยา

การสํารองยาที่หอผูปวยกลองยาฉุกเฉินสําหรับใชที่รถ EMS/refer

Page 38: ระบบยา

การสํารองยาที่หอผูปวย

บันทึกการบรรจุและเบิกกลองยาฉุกเฉิน

Page 39: ระบบยา

การสํารองยาที่หอผูปวย

เมื่อเปดใชแลวใหนํามาแลกกลองใหมที่หองจายยาผูปวยในทันที หรือภายในเวรนั้น

สําหรับหอผูปวยใหระบุใน order วาเปนการใชยาจากกลองฉุกเฉินเพื่อที่หองยาจะไดไมจัดยาไปใหอีก

ตรวจสอบวันหมดอายุที่หนากลองยาฉุกเฉินทุกเดือน เมื่อใกลหมดอายุใหนํามาแลกกลองใหมไดที่หองจายยาผูปวยใน

Page 40: ระบบยา

การบันทึกใบ MAR

ใบ MAR สําหรับยารับประทานและยาใชภายนอก ใชหมึกสีน้ําเงิน ใบ MAR สําหรับยาฉีด ยาพน และน้ําเกลือ ใชหมึกสีแดง (ยกเวนหองคลอดไมตองแยกใบ MAR)

การลงเวลาใหยาใหลงในชองลงชื่อผูบริหารยา โดยเขียนหลักชั่วโมงไว เมื่อบริหารยาแลว จึงเขียนหลักนาทีเปนเวลาที่บริหารจริง

ยาที่ตองใหทางหลอดเลือดควรใหภายใน 30 นาที ยารูปแบบรับประทานควรใหภายใน 1 ชั่วโมง ยาที่จําเปนตองใหตรงตามเวลา (real time) คือ กลุมยา

ตานไวรัส (Antiretroviral drugs)

Page 41: ระบบยา

การบันทึกใบ MAR

ใบ Medication administration record (MAR)

Page 42: ระบบยา

Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs

ยาที่มีลักษณะคลายกัน ยาที่มีชื่อเรียกใกลเคียงกัน ยาที่มีหลายความแรง

Page 43: ระบบยา

Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs

ยาที่มีลักษณะคลายกัน (Look Alike)

Ranitidine กบั Simeticone

Page 44: ระบบยา

Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs

ยาที่มีลักษณะคลายกัน (Look Alike)

Tolperisone กับ Naproxen

Page 45: ระบบยา

Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs

ยาที่มีชื่อเรียกใกลเคียงกัน (Sound Alike)

Lorazepam กับ Loratadine

Page 46: ระบบยา

Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs

ยาที่มีชื่อเรียกใกลเคียงกัน (Sound Alike)

Dopamine กบั Dobutamine

Page 47: ระบบยา

Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs

ยาที่มีหลายความแรง (Sound Alike)

ASA 300 mg VS ASA 81 mg

Ampicillin 250 mg VS Ampicillin 1 g

Propranolol 10 mg VS Propranolol 40 mg

Page 48: ระบบยา

Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs

แนวทางการปองกันโดยหองยา

Page 49: ระบบยา

Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs

แนวทางการปองกันโดยหองยา

Page 50: ระบบยา

รายการยารับประทานกอนอาหาร (AC Drugs)

รายการยาที่กําหนดใหรับประทานกอนอาหาร 30 –60 นาที

หากแพทยสั่งใน Doctor Order Sheet เปนหลังอาหาร ใหฝายเภสัชกรรมแกไขในระบบคอมพิวเตอรเปนรับประทานกอนอาหาร

สวนหอผูปวยใหบันทึกในใบ MAR และบริหารยา 14 ชนิดนี้ เปนกอนอาหาร

Page 51: ระบบยา

AC Drugs

Page 52: ระบบยา

Medication Reconcile

แนวทางการจัดการยาเดิมผูปวย

Page 53: ระบบยา

Medication Reconcile

แนวทางการจัดการยาเดิมผูปวย

Page 54: ระบบยา

Medication Reconcile

แนวทางการจัดการยาเดิมผูปวย

Page 55: ระบบยา

Medication Reconcile

Medication Reconciliation form

Page 56: ระบบยา

Medication Reconcile

ใบบันทึกและสงตอการทํา Medication reconcile

Page 57: ระบบยา

Medication Reconcile

ใบบันทึกและสงตอการทํา Medication reconcile

Page 58: ระบบยา

Medication Reconcile

รายการยาเดิมใน MITNET

Page 59: ระบบยา

Q&A

Page 60: ระบบยา

Medication Error (ME)

ครั้งที่ 3 กุมภาพันธ 2556 ถึง พฤษภาคม 2556 หนวยงานที่มีอัตราการเพิ่มการรายงานสูงสุด 3 อันดับแรก อันดับ 1 อายุรกรรมชาย (Ward 4) รายงานเพิ่มขึ้น

104.75% อันดับ 2 เด็ก/เด็กแรกเกิด รายงานเพิ่มขึ้น 36.42% อันดับ 3 ศัลยกรรมชาย (Ward 2) รายงานเพิ่มขึ้น 20.30%