พระนครศรีอยุธยา

35
พระนครศรีอยุธยา ราชธานีเกา อูขาวอูน้ํา เลิศล้ํากานทกวี คนดีศรีอยุธยา ๔๑๗ ปแหงการเปนราชธานีเกาแกของสยามประเทศ ประกอบดวย ราชวงศคือ ราชวงศอูทอง ราชวงศสุพรรณภูมิ ราชวงศสุโขทัย ราชวงศปราสาททองและราชวงศบานพลูหลวง มีกษัตริยปกครองทั้งสิ้น ๓๓ พระองค โดยมีปฐมกษัตริยคือ สมเด็จพระรามาธิบดีที(พระเจาอูทอง) พระนครศรีอยุธยาจึงนับเปนราชธานีที่มีอายุ ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตรของชาติไทย ตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปที่กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานีแหงราชอาณาจักร ไทย มิไดเปนเพียงชวงแหงความเจริญสูงสุดของชนชาติไทยเทานั้น แตยังเปนการสรางสรรคอารยธรรมของหมูมวล มนุษยชาติซึ่งเปนที่ประจักษแกนานาอารยประเทศอีกดวย แมวากรุงศรีอยุธยาจะถูกทําลายเสียหายจากสงครามกับ ประเทศเพื่อนบานหรือจากการบุกรุกขุดคนของพวกเรากันเอง แตสิ่งที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบันนี้ยังมีรองรอย หลักฐานซึ่งแสดงอัจฉริยภาพและความสามารถอันยิ่งใหญของบรรพบุรุษแหงราชอาณาจักรผูอุทิศตนสรางสรรคความ เจริญรุงเรืองทางศิลปวัฒนธรรม และความมั่งคั่งไวใหแกผืนแผนดินไทย หรือแมแตชาวโลกทั้งมวล จึงเปนที่นายินดี วาองคการ ยูเนสโก โดยคณะกรรมการมรดกโลกไดมีมติรับนครประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีอาณาเขต ครอบคลุมอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา และเปนพื้นที่ที่ไดรับการจัดตั้งเปนอุทยานประวัติศาสตรมาตั้งแต ปพ.. ๒๕๑๙ ไวในบัญชีมรดกโลก เมื่อวันที๑๓ ธันวาคม ๒๕๓๔ กรุงคารเทจ ประเทศตูนีเซีย พรอมกับอุทยาน ประวัติศาสตรสุโขทัย-อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย-อุทยานประวัติศาสตรกําแพงเพชรโดยจะมีผลใหไดรับความ คุมครองตามอนุสัญญาที่ประเทศตางๆไดทํารวมกัน จึงสมควรที่อนุชนรุนหลังจะไดไปศึกษาเยี่ยมชมเมืองหลวงเกา ของเราแหงนีสถานที่ทองเที่ยวของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญเปนโบราณสถาน ไดแก วัด และพระราชวัง ตางๆ พระราชวังในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีอยู แหง คือ พระราชวังหลวง วังจันทรเกษมหรือวังหนา และวัง หลัง นอกจากนี้ยังมีวังและตําหนักนอกอําเภอพระนครศรีอยุธยาซึ่งเปนที่สําหรับเสด็จประพาส ไดแก พระราชวังบาง ปะอิน ในเขตอําเภอบางปะอิน และตําหนักนครหลวง ในเขตอําเภอนครหลวง ภูมิประเทศของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนที่ราบลุมีแมน้ําสายใหญไหลผาน สาย คือ แมน้ํา เจาพระยาไหลผานทางดานทิศตะวันตกและทิศใต แมน้ําปาสักไหลผานทางทิศตะวันออก และแมน้ําลพบุรี (ปจจุบัน เปนคลองเมือง)ไหลผานทางดานทิศเหนือ แมน้ําสามสายนี้ไหลมาบรรจบกันโอบลอมรอบพื้นที่ของตัวเมือง พระนครศรีอยุธยา ตัวเมืองจึงมีลักษณะเปนเกาะ เราจะเห็นบานเรือนปลูกเรียงรายหนาแนนตามสองขางฝงแมน้ํา แสดงถึงวิถีชีวิตของผูคนที่ผูกพันอยูกับสายน้ํามายาวนาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยูหางจากกรุงเทพฯประมาณ ๗๖ กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ ,๕๕๖ ตารางกิโลเมตร แบงเขตการปกครองออกเปน ๑๖ อําเภอ ไดแก อําเภอพระนครศรีอยุธยา อําเภอนครหลวง อําเภอภาชี อําเภอบานแพรก อําเภอบางซาย อําเภอบางไทร อําเภอลาดบัวหลวง อําเภอบางบาล อําเภอมหาราช อําเภอบางปะหัน อําเภอเสนา อําเภออุทัย อําเภอบางปะอิน อําเภอผักไห อําเภอทาเรือ และอําเภอวังนอย อาณาเขต ทิศเหนือ ติดตอกับจังหวัดลพบุรี อางทอง และสระบุรี ทิศใต ติดตอกับจังหวัดปทุมธานี และนนทบุรี ทิศตะวันออก ติดตอกับจังหวัดสระบุรี ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดสุพรรณบุรี

Upload: jirawan

Post on 26-Jul-2015

691 views

Category:

Documents


7 download

TRANSCRIPT

Page 1: พระนครศรีอยุธยา

พระนครศรีอยุธยา ราชธานีเกา อูขาวอูน้ํา เลิศล้ํากานทกวี คนดีศรีอยุธยา

๔๑๗ ปแหงการเปนราชธานีเกาแกของสยามประเทศ ประกอบดวย ๕ ราชวงศคือ ราชวงศอูทอง ราชวงศสุพรรณภูมิ ราชวงศสุโขทัย ราชวงศปราสาททองและราชวงศบานพลูหลวง มีกษัตริยปกครองทั้งสิ้น ๓๓ พระองค โดยมีปฐมกษัตริยคือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง) พระนครศรีอยุธยาจึงนับเปนราชธานีที่มีอายุยาวนานที่สุดในประวัติศาสตรของชาติไทย ตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปที่กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานีแหงราชอาณาจักรไทย มิไดเปนเพียงชวงแหงความเจริญสูงสุดของชนชาติไทยเทานั้น แตยังเปนการสรางสรรคอารยธรรมของหมูมวลมนุษยชาติซึ่งเปนที่ประจักษแกนานาอารยประเทศอีกดวย แมวากรุงศรีอยุธยาจะถูกทําลายเสียหายจากสงครามกับประเทศเพื่อนบานหรือจากการบุกรุกขุดคนของพวกเรากันเอง แตสิ่งที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบันนี้ยังมีรองรอยหลักฐานซึ่งแสดงอัจฉริยภาพและความสามารถอันยิ่งใหญของบรรพบุรุษแหงราชอาณาจักรผูอุทิศตนสรางสรรคความเจริญรุงเรืองทางศิลปวัฒนธรรม และความมั่งคั่งไวใหแกผืนแผนดินไทย หรือแมแตชาวโลกทั้งมวล จึงเปนที่นายินดีวาองคการ ยูเนสโก โดยคณะกรรมการมรดกโลกไดมีมติรับนครประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา และเปนพื้นที่ที่ไดรับการจัดตั้งเปนอุทยานประวัติศาสตรมาตั้งแตปพ.ศ. ๒๕๑๙ ไวในบัญชีมรดกโลก เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๓๔ ณ กรุงคารเทจ ประเทศตูนีเซีย พรอมกับอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย-อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย-อุทยานประวัติศาสตรกําแพงเพชรโดยจะมีผลใหไดรับความคุมครองตามอนุสัญญาที่ประเทศตางๆไดทํารวมกัน จึงสมควรที่อนุชนรุนหลังจะไดไปศึกษาเยี่ยมชมเมืองหลวงเกาของเราแหงนี้ สถานที่ทองเที่ยวของจงัหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญเปนโบราณสถาน ไดแก วัด และพระราชวังตางๆ พระราชวังในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีอยู ๓ แหง คือ พระราชวังหลวง วังจันทรเกษมหรือวังหนา และวังหลัง นอกจากนี้ยังมีวังและตําหนักนอกอําเภอพระนครศรีอยุธยาซึ่งเปนที่สําหรับเสด็จประพาส ไดแก พระราชวังบางปะอิน ในเขตอําเภอบางปะอิน และตําหนักนครหลวง ในเขตอําเภอนครหลวง ภูมิประเทศของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนที่ราบลุม มีแมน้ําสายใหญไหลผาน ๓ สาย คือ แมน้ําเจาพระยาไหลผานทางดานทิศตะวันตกและทิศใต แมน้ําปาสักไหลผานทางทิศตะวันออก และแมน้ําลพบุรี(ปจจุบันเปนคลองเมือง)ไหลผานทางดานทิศเหนือ แมน้ําสามสายนี้ไหลมาบรรจบกันโอบลอมรอบพื้นที่ของตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา ตัวเมืองจึงมีลักษณะเปนเกาะ เราจะเห็นบานเรือนปลูกเรียงรายหนาแนนตามสองขางฝงแมน้ําแสดงถึงวิถีชีวิตของผูคนที่ผูกพันอยูกับสายน้ํามายาวนาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยูหางจากกรุงเทพฯประมาณ ๗๖ กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ ๒,๕๕๖ ตารางกิโลเมตร แบงเขตการปกครองออกเปน ๑๖ อําเภอ ไดแก อําเภอพระนครศรีอยุธยา อําเภอนครหลวง อําเภอภาชี อําเภอบานแพรก อําเภอบางซาย อําเภอบางไทร อําเภอลาดบัวหลวง อําเภอบางบาล อําเภอมหาราช อําเภอบางปะหัน อําเภอเสนา อําเภออุทัย อําเภอบางปะอิน อําเภอผักไห อําเภอทาเรือ และอําเภอวังนอย อาณาเขต ทิศเหนือ ติดตอกับจังหวัดลพบุรี อางทอง และสระบุรี ทิศใต ติดตอกับจังหวัดปทุมธานี และนนทบุรี ทิศตะวันออก ติดตอกับจังหวัดสระบุรี ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดสุพรรณบุรี

Page 2: พระนครศรีอยุธยา

2

การเดินทาง รถยนต จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดหลายเสนทางดังนี้ ๑. ใชทางหลวงหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) ผานประตูน้ําพระอินทร แลวแยกเขาทางหลวงหมายเลข ๓๒ เลี้ยวซายไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๐๙ เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๒. ใชทางหลวงหมายเลข ๓๐๔ (ถนนแจงวัฒนะ) หรือทางหลวงหมายเลข ๓๐๒ (ถนนงามวงศวาน) เลี้ยวขวาเขาทางหลวงหมายเลข ๓๐๖ (ถนนติวานนท) แลวขามสะพานนนทบุรีหรือสะพานนวลฉวี ไปยังจังหวัดปทุมธานีตอดวยเสนทาง ปทุมธานี-สามโคก-เสนา (ทางหลวงหมายเลข ๓๑๑๑) เลี้ยวแยกขวาที่อําเภอเสนา เขาสูทางหลวงหมายเลข ๓๒๖๓ เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๓. ใชเสนทางกรุงเทพฯ-นนทบุรี-ปทุมธานี ทางหลวงหมายเลข ๓๐๖ ถึงทางแยกสะพานปทุมธานี เลี้ยวเขาสูทางหลวงหมายเลข ๓๔๗ แลวไปแยกเขาทางหลวงหมายเลข ๓๓๐๙ ผานศูนยศิลปาชีพบางไทร อําเภอบางปะอิน เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๔. ใชเสนทางดวนหมายเลข ๙ (ทางดวนศรีรัช) ผานนนทบุรี-ปทุมธานี ลงทางดวนเขาทางหลวงหมายเลข ๑ ผานศูนยศิลปาชีพบางไทร เลี้ยวซายเขาทางหลวงหมายเลข ๓๔๖๙ ตามปายไปบางปะหัน ถึงสี่แยกไฟแดง (แยกวรเชษฐ) เลี้ยวขวาเขาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รถโดยสารประจําทาง บริษัท ขนสง จํากัด มีบริการรถโดยสารปรับอากาศชั้น ๑ และชั้น ๒ ไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาทุกวัน ต้ังแตเวลา ๐๔.๓๐ น.-๑๙.๓๐ น. รถออกทุก ๆ ๑๕ นาที วันละหลายเที่ยว ออกจากสถานีขนสงหมอชิต ถนนกําแพงเพชร ๒ ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๒๘๕๒-๖๖ สถานีขนสงอยุธยา โทร.๐ ๓๕๓๓ ๕๓๐๔ หรือ www.transport.co.th รถไฟ การเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสามารถใชบริการรถไฟโดยสารที่มีปลายทางสูภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีบริการทุกวัน ขบวนรถไฟจะผานจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในเขตอําเภอบางปะอิน อําเภอพระนครศรีอยุธยาและอําเภอภาชี แลวรถไฟจะแยกไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีชุมทางบานภาชี นอกจากนี้การรถไฟฯยังจัดขบวนรถจักรไอน้ําเดินทางระหวางกรุงเทพฯ-พระนครศรีอยุธยาในโอกาสพิเศษ ปละ ๓ ขบวน คือ วันที่ ๒๖ มีนาคม (วันสถาปนาการรถไฟฯและเปนวันที่ระลึกถึงการเปดทางรถไฟสายแรกวิ่งระหวางกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ในป พ.ศ. ๒๔๓๓) วันที่ ๒๓ ตุลาคม (วันปยมหาราช เพื่อรําลึกถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ผูทรงใหกําเนิดกิจการรถไฟไทย) และวันที่ ๕ ธันวาคม (วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช) ติดตอสอบรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่การรถไฟแหงประเทศไทยโทร. ๐ ๒๒๒๓ ๗๐๑๐, ๐ ๒๒๒๓ ๗๐๒๐, ๐ ๒๒๐ ๔๓๓๔, ๐ ๒๒๒๐ ๔๔๔๔, ๑๖๙๐ สถานีรถไฟอยุธยา โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๑๕๒๐ หรือ www.railway.co.th เรือ การเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยทางน้ําเปนที่นิยมของชาวตางประเทศเพราะนอกจากจะไดชมทัศนียภาพและชีวิตความเปนอยูของประชาชนริมสองฝงแมน้ําเจาพระยาแลว ยังเปนการยอนใหเห็นถึงประวัติศาสตรสมัยที่กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานีและมีการติดตอคาขายกับชาวตางชาติทางเรือบนสายน้ําเจาพระยาแหงนี้ บริการเรือนําเที่ยวไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีดังนี้ บริษัท เรือดวนเจาพระยา จํากัด จัดรายการนําเที่ยวสูพระราชวังบางปะอิน วัดนิเวศธรรมประวัติ ผานวัดไผลอมและแวะเที่ยวชมศูนยศิลปาชีพบางไทร ทุกวันอาทิตย เรือออกจากทามหาราชเวลา ๐๘.๐๐ น. และกลับถึงกรุงเทพฯเวลา ๑๘.๐๐ น. อัตราคาโดยสารคนละ ๓๙๐ บาททั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๕๓๓๐, ๐ ๒๖๒๓ ๖๐๐๑–๓

Page 3: พระนครศรีอยุธยา

3

เรือมโนราห ๒ ออกจากทาโรงแรมแมริออท รีสอรทแอนดสปา ใชเวลา ๓ วัน ๒ คืน แวะเที่ยวชมต้ังแตกรุงเทพฯ วัดอรุณฯ พิพิธภัณฑเรือ ผานเกาะเกร็ด นนทบุรี วัดปทุมคงคา แวะวัดตางๆ ในพระนครศรีอยุธยา บางปะอิน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. ๐ ๒๔๗๖ ๐๐๒๑-๒ เรือมิตรเจาพระยา เรือออกจากทาชางเวลา ๐๘.๐๐ น. ทุกวันอาทิตย แวะศูนยศิลปาชีพบางไทร บางปะอิน ขากลับแวะวัดเฉลิมพระเกียรติ และกลับถึงกรุงเทพฯเวลา ๑๘.๐๐ น. อัตราคาโดยสารผูใหญ ๓๙๐ บาท เด็ก ๓๐๐ บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร ๐ ๒๖๒๓ ๖๑๖๙, ๐ ๒๒๒๕ ๖๑๗๙ เรือเมฆขลา มีบริการนําเที่ยวสูพระราชวังบางปะอินและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แบบ ๒ วัน ๑ คืน พรอมอาหารและเครื่องดื่ม โดยเรือจะออกจากทาโรงแรมแมน้ํา เวลา ๑๔.๓๐ น. และเดินทางกลับโดยรถยนต (หรือจะเลือกเดินทางไปโดยรถยนตออกเวลา ๐๗.๐๐ น.และเดินทางกลับโดยทางเรือ) อัตราคาโดยสาร ๔,๕๐๐-๗,๖๐๐ บาท สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๕๖ ๖๖๖๖ เรือริเวอรซันครุยส บริการเรือนําเที่ยวไปเชา-เย็นกลับ พรอมอาหาร สูพระราชวังบางปะอินและนําเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเชน วัดมหาธาตุ วัดโลกยสุธาราม รถออกจากศูนยการคาริเวอรซิต้ีเวลา ๐๘.๐๐ น.และเดินทางกลับโดยทางเรือเวลา ๑๖.๓๐ น. อัตราคาโดยสารคนละ ๑,๘๐๐ บาททั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๖๖ ๙๑๒๕-๖, ๐ ๒๒๖๖ ๙๓๑๖ เรือฮอไรซันครุยส มีบริการเรือนําเที่ยวทุกวัน สูพระราชวังบางปะอิน นําเที่ยวพระนครศรีอยุธยา เชน วัดใหญชัยมงคล วัดมหาธาตุ วัดพระศรีสรรเพชญ พรอมอาหาร รถออกจากลานจอดรถใกลโรงแรมแชงกรีลาเวลา ๐๘.๐๐ น. เดินทางกลับโดยทางเรือ อัตราคาโดยสารคนละ ๑,๖๐๐ บาททั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๓๖ ๗๗๗๗ ตอ ๖๒๐๔-๕, ๐ ๒๒๓๖ ๙๙๕๒ เวิลดทราเวิล เซอรวิส จัดรายการนําเที่ยวสูพระราชวังบางปะอินและจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนประจําทุกวัน พรอมอาหารบุฟเฟต รถออกจากทาริเวอรซิต้ีเวลาประมาณ ๐๗.๓๐ น.กลับถึงเวลา ๑๖.๓๐ น. เดินทางกลับทางเรือ อัตราคาบริการคนละ ๑,๖๐๐ บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๓๔ ๔๘๗๕ ระยะทางจากอําเภอเมืองพระนครศรีอยุธยาไปยังอําเภอตางๆ บางบาล ๑๐ กิโลเมตร บางปะหัน ๑๓ กิโลเมตร อุทัย ๑๕ กิโลเมตร บางปะอิน ๑๗ กิโลเมตร นครหลวง ๒๐ กิโลเมตร วังนอย ๒๐ กิโลเมตร เสนา ๒๐ กิโลเมตร มหาราช ๒๕ กิโลเมตร ผักไห ๒๙ กิโลเมตร บางซาย ๓๔ กิโลเมตร ภาชี ๒๕ กิโลเมตร บางไทร ๔๕ กิโลเมตร บานแพรก ๕๓ กิโลเมตร ทาเรือ ๖๐ กิโลเมตร ลาดบัวหลวง ๖๕ กิโลเมตร ระยะทางจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไปยังจังหวัดใกลเคียง อางทอง ๓๑ กิโลเมตร สุพรรณบุรี ๕๓ กิโลเมตร สระบุรี ๖๓ กิโลเมตร สิงหบุรี ๗๑ กิโลเมตร

Page 4: พระนครศรีอยุธยา

4

สถานที่นาสนใจ อําเภอพระนครศรีอยุธยา

ศูนยทองเท่ียวอยุธยา (ATC) อยูบริเวณอาคารศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยาหลังเกา จัดตั้งขึ้นตามแผนแมบทการอนุรักษพัฒนาและฟนฟูนครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา (กรมศิลปากร) และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ไดปรับปรุงศาลากลางเกาของจังหวัดนครศรีอยุธยา เพื่อใชเปนศูนยบริการขอมูลวิชาการดานการทองเที่ยว โดยภายนอกยังคงรูปแบบเดิมไว ซึ่งหนาอาคารยังเปนรูปปนวีรกษัตริยและวีรกษัตรี สําคัญสมัยอยุธยา ๖ พระองค คือ สมเด็จพระเจาอูทอง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระสุริโยทัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณมหาราช และสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช

ช้ันที่ ๑ ดานหนาปกขวา เปนศูนยบริการนักทองเที่ยวของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ใหบริการขอมูลขาวสารดานการทองเที่ยว ในสวนของศูนยบริการนักทองเที่ยว เปดใหบริการทุกวันไมเวนวันหยุด ต้ังแตเวลา ๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. สอบถามขอมูลเพิ่มเติมโทร ๐ ๓๕๓๒ ๒๗๓๐-๑

ช้ันที่ ๒ เปนหองนิทรรศการดานการทองเที่ยวของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยนําเสนอผานระบบเทคโนโลยีอันทันสมัย อาทิ เชน Computer Touch Screen / Ghost Box โดยแบงเปน ๕ สวนคือ สวนที่ ๑ เปนการนําเสนอเรื่องราวซึ่งแสดงถึงความเจริญรุงเรืองของอารยธรรม สวนที่ ๒ เปนการนําเสนอสถานที่ทองเที่ยวภายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สวนที่๓ เปนสถาปตยกรรมที่สรางขึ้นตามความเชื่อทางศาสนาเรื่องไตรภูมิและจักรวาลวิทยา สวนที่ ๔ เปนการแนะนําวิถีชีวิตความเปนอยูของคนอยุธยา สวนที่ ๕ สรุปการชมนิทรรศการดวยการชมวิดีทัศน ชุดชีวิตชีวานครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา ฉายวิดีทัศน เปดทุกวันเวนวันพุธ เวลา ๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น.

ช้ันที่ ๓ สถานที่จัดแสดง “หอศิลปรวมสมัยอโยธยา” กอต้ังขึ้นโดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนสื่อกลางสําหรับการแสดงออก การแลกเปลี่ยนทางความคิด วิถีชีวิตระหวางศิลปน นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ นักทองเที่ยวประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจตอการแสดงออกทางดานความคิดสรางสรรคทั้งในดานศิลปวัฒนธรรม ศิลปะรวมสมัย และภูมิปญญาแหงทองถิ่น รวมถึงเพื่อเปนการสงเสริมการทองเที่ยวในเชิงศิลปะวัฒนธรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และทองถิ่นเพื่อใหพัฒนาสูระดับสากลพื้นที่ภายใน “หอศิลปรวมสมัยอโยธยา” แบงออกเปนหองนิทรรศการรวมสมัย หองนิทรรศการศิลปะหมุนเวียน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่นกิจกรรมศิลปะเพื่อการพัฒนาศักยภาพดานการเรียนรูของเยาวชน การเปดอบรมศิลปะเด็กทั้งระยะสั้นและระยะยาว เปนตน “หอศิลปรวมสมัยอโยธยา” เปดใหเขาชม วันพฤหัสบดี-วันอังคาร (หยุดทําการวันพุธ) ต้ังแตเวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น.สามารถเขาชมไดโดยไมตองเสียคาใชจาย สอบถามรายละเอียดไดที่ ๐ ๓๕๒๑ ๐๒๒๕ ศูนยศึกษาประวัติศาสตรอยุธยา จัดตั้งขึ้นตามโครงการที่นักวิชาการไทยและนักวิชาการญี่ปุนปรับขยายมาจากขอเสนอเดิมของสมาคมไทย-ญี่ปุนและจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งเคยเสนอปรับปรุงบริเวณที่เคยเปนหมูบานญี่ปุนใหจัดสรางเปนพิพิธภัณฑหมูบานญี่ปุน มาเปนการเสนอใหจัดตั้งเปนศูนยศึกษาประวัติศาสตรอยุธยาซึ่งจะทําหนาที่เปนสถาบันวิจัยและพิพิธภัณฑสถานเกี่ยวกับราชอาณาจักรอยุธยาโดยรวม และไดรับงบประมาณชวยเหลือแบบใหเปลาจากรัฐบาลญี่ปุนเปนเงิน ๙๙๙ ลานเยน (๑๗๐ ลานบาท) เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติในพระบรมราชวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๖๐ พรรษา และเพื่อเปนที่ระลึกในโอกาสที่มิตรภาพระหวางประเทศญี่ปุนกับราชอาณาจักรไทยไดสถาพรยืนนานมาครบ ๑๐๐ ป ศูนยศึกษาประวัติศาสตรอยุธยาแหงนี้แบงออกเปน ๒ สวนคือ สวนอาคารหลัก ต้ังอยูที่ถนนโรจนะ ใกลกับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เปนอาคาร ๒ ช้ัน มีหองจัดแสดงพิพิธภัณฑอยูช้ันบน และ อีกสวนคือสวนอาคารผนวก ต้ังอยูที่ตําบลเกาะเรียนในบริเวณหมูบานญี่ปุน พิพิธภัณฑของศูนยแหงนี้มีลักษณะพิเศษแตกตางจากพิพิธภัณฑอื่นคือ การพยายามสรางภาพชีวิต สังคม วัฒนธรรมในอดีตใหกลับมามีชีวิตขึ้นใหมดวยขอมูลการวิจัย (Researched based Reconstruction) โดยการนําเทคโนโลยีของการจัดพิพิธภัณฑสมัยใหมมาใชจัดแสดงนิทรรศการซึ่งจะทําใหผูชมสามารถเขาใจชีวิตในอดีตไดงาย การจัดแสดงมีทั้งสิ้น ๕ หัวขอ คือ อยุธยาในฐานะราชธานี อยุธยาใน

Page 5: พระนครศรีอยุธยา

5

ฐานะเมืองทา อยุธยาในฐานะของศูนยกลางอํานาจทางการเมืองและการปกครอง ความสัมพันธของอยุธยากับนานาชาติและชีวิตชาวบานไทยสมัยกอน ทั้งนี้นิทรรศการทุกอยางที่นํามาแสดงในศูนยไดรับการตรวจสอบขอมูลทางประวัติศาสตรอยางละเอียดจากคณะอนุกรรมการดานวิชาการของคณะกรรมการอํานวยการมาแลว ศูนยแหงนี้เปดทําการทุกวัน วันจันทร-ศุกรและวันหยุดนักขัตฤกษ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๓๐ น. วันเสาร-อาทิตย เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. อัตราคาเขาชมสําหรับเด็ก นักเรียนและนักศึกษา ในเครื่องแบบ ๕ บาท ประชาชนทั่วไป ๒๐ บาท นักเรียนตางชาติ ๕๐ บาท ชาวตางชาติ ๑๐๐ บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๕๑๒๓ นอกจากนี้ดานหลังศูนยประดิษฐานพระราชานุสรณพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว มีอาคารทองฟาจําลอง เปดใหเขาชมวันอังคาร-อาทิตย เวลา ๐๘.๐๐-๑๖.๓๐ น. มีบรรยายวันละ ๒ รอบ ๑๑.๐๐ น.และ ๑๔.๐๐ น. คาเขาชม ผูใหญ ๒๐ บาท เด็ก ๑๐ บาท สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมโทร ๐ ๓๕๓๒ ๒๐๗๖-๙ ตอ ๕๐๑๑ หมูบานญี่ปุน ต้ังอยูที่ตําบลเกาะเรียน เมื่อปลายคริสตศตวรรษที่ ๑๖ ชาวตางประเทศเขามาคาขายใน กรุงศรีอยุธยามีจํานวนมากขึ้น ทางการญี่ปุนไดอนุญาตใหชาวญี่ปุนเดินเรือออกไปคาขายกับชาวตางชาติในบรรดาพวกที่ไปคาขายมีพวกหนึ่งเดินทางมายังกรุงศรีอยุธยา พระเจาแผนดินไทยมีพระบรมราชานุญาตใหชาวญี่ปุน มาตั้งหลักแหลงในกรุงศรีอยุธยารอบนอกเกาะเมืองเหมือนชาติอื่น ๆ นับตั้งแตนั้นมาก็มีชาวญี่ปุนเขามาอาศัยอยูในอยุธยามากขึ้น โดยมีหัวหนาปกครองในกลุมตน หัวหนาชาวญี่ปุนในขณะนั้นคือ นากามาซา ยามาดา เปนผูมีอํานาจและเปนที่โปรดปรานของสมเด็จพระเจาทรงธรรม จนไดรับแตงตั้งเปนออกญาเสนาภิมุขรับราชการตอมาไดรับแตงตั้งเปนเจาเมืองนครศรีธรรมราชจนสิ้นชีวิต ปจจุบันสมาคมไทย-ญี่ปุนไดสรางหุนจําลอง นากามาซา ยามาดา และจารึกประวัติศาสตรความเปนมาของหมูบานญี่ปุนในสมัยกรุงศรีอยุธยามาตั้งไวภายในหมูบาน มีอาคารจัดแสดงเรื่องความสัมพันธระหวางอยุธยากับตางประเทศ เปดเวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. คาเขาชมคนไทย ๒๐ บาท การเดินทาง จากเจดียวัดสามปลื้มเลี้ยวซายทางไปอําเภอบางปะอินผานวัดใหญชัยมงคล ระยะทางประมาณ ๒.๕ ก.ม. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๕๓๓๖ วัดบรมพุทธาราม อยูภายในบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา สรางในสมัยสมเด็จพระเพทราชา ประมาณพ.ศ.๒๒๓๑-๒๒๔๖ ณ บริเวณยานปาตองอันเปนนิวาสสถานเดิมของพระองค ใกลประตูชัย ประตูใหญบนแนวกําแพงเมืองดานใต ที่ต้ังของวัดถูกจํากัดโดยเสนทางคมนาคมสมัยโบราณ คือดานตะวันออกเปนแนวคลองฉะไกรนอย ดานตะวันตกเปนแนวถนนหลวงชื่อถนนมหารัฐยาหรือถนนปาตอง แนวถนนและคลองดังกลาวบังคับแผนผังของวัดใหวางตัวตามแนวเหนือใต โดยหันหนาวัดไปทางทิศเหนือ วัดนี้แตกตางจากวดัอื่นตรงที่ทรงโปรดฯใหทํากระเบื้องเคลือบสีเหลืองขึ้นมุงหลังคาพระอุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ และใชประดับเจดียและซุมประตู จึงมีช่ือเรียกอีกช่ือหนึ่งวา “วัดกระเบื้องเคลือบ” ซึ่งใชเวลากอสราง ๒ ปจึงแลวเสร็จ ในสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศทรงโปรดฯใหปฏิสังขรณวัดนี้ครั้งใหญและใหทําบานประตูมุกฝมืองดงาม ๓ คู บานประตูมุกนี้ปจจุบัน คูหนึ่งอยูที่หอพระมณเฑียรธรรมในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม คูหนึ่งอยูที่วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม และอีกคูหนึ่งมีผูตัดไปทําตูหนังสือซี่งขณะนี้ต้ังแสดงอยูที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา ต้ังอยูที่ตําบลประตูชัย ถนนโรจนะ ตรงขามกับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา พิพิธภัณฑแหงนี้สรางขึ้นดวยเงินที่ประชาชนเชาพระพิมพที่ขุดไดจากกรุวัดราชบูรณะซึ่งเปนวัดที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจาสามพระยา) ทรงสราง จึงใหช่ือวา “พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา” พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดพิพิธภัณฑแหงนี้เมื่อปพ.ศ. ๒๕๐๔ สิ่งสําคัญที่นาชมภายในพิพิธภัณฑไดแก บริเวณพิพิธภัณฑแบงเปนอาคารจัดแสดง ๓ อาคาร คือ อาคาร ๑ ช้ันลาง จัดแสดงโบราณศิลปะวัตถุที่คนพบจากการขุดแตงและบูรณะโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหวางพ.ศ.๒๔๙๙–๒๕๐๐ ไดแก พระพุทธรูปศิลปะสมัยทวาราวดี ลพบุรี อยุธยา พระพุทธรูปสําคัญที่จัดแสดงไดแก พระพุทธรูปประทับนั่งหอยพระบาท เปนพระพุทธรูปศิลาขาวสมัยทวาราวดี ในทา

Page 6: พระนครศรีอยุธยา

6

ประทับนั่งหอยพระบาทซึ่งเคยประดิษฐานในซุมพระสถูปโบราณวัดพระเมรุ จังหวัดนครปฐม กรมศิลปากรไดพยายามติดตามชิ้นสวนตางๆ ขององคพระที่กระจัดกระจายไปอยูในที่ตางๆ มาประกอบขึ้นเปนองคพระไดอยางสมบูรณ นับเปนพระพุทธรูปที่มีคามากองคหนึ่งซึ่งในโลกพบเพียง ๖ องคเทานั้น คือในประเทศไทย ๕ องคและในประเทศอินโดนีเซีย ๑ องค ในประเทศไทยประดิษฐานอยูที่วัดพระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม ๒ องค พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร ๑ องค พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา ๑ องคและวัดหนาพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑ องค เศียรพระพุทธรูปสมัยอูทอง ทําดวยสัมฤทธิ์มีขนาดใหญมากไดมาจากวัดธรรมมิกราช แสดงใหเห็นถึงความเกาแกของวัดและฝมือการหลอวัตถุขนาดใหญในสมัยโบราณ นอกจากนี้ยังมีเครื่องไมจําหลักฝมือชางสมัยอยุธยา ช้ันบน จัดแสดงเครื่องทอง ๒ หอง หองแรก จัดแสดงเครี่องทองที่พบในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ เมื่อพ.ศ ๒๕๐๐ โบราณวัตถุที่สําคัญไดแก พระแสงขรรคชัยศรีทองคํา องคพระแสงขรรคทําดวยเหล็กมีคมทั้ง ๒ ดาน ฝกทําดวยทองคําจําหลักลายประจํายาม ลายกนกประดับอัญมณี ดามทําดวยหินเขี้ยวหนุมาน หองที่สอง จัดแสดงเครื่องทองที่พบในกรุพระปรางควัดมหาธาตุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งบรรจุอยูในผอบทองคํา สวนที่รอบเฉลียง จัดแสดงพระพิมพที่ทําดวยชิน(โลหะเจือชนิดหนึ่งประกอบดวยตะกั่วและดีบุก; บุทองแดง)และดินเผา สมัยสุโขทัย ลพบุรี และสมัยอยุธยาที่คนพบในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ วัดมหาธาตุและวัดพระราม อาคาร ๒ จัดแสดงโบราณศิลปะวัตถุที่พบในประเทศไทยตามลําดับอายุสมัยต้ังแตพุทธศตวรรษที่ ๑๑–๒๔ คือ ต้ังแตสมัยทวาราวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยาและรัตนโกสินทร เพื่อเปนการศึกษาเปรียบเทียบโบราณวัตถุสําคัญที่จัดแสดง เชน พระพุทธรูปปางตางๆ พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร พระคเณศ อาคาร ๓ เปนเรือนไทยที่สรางเปนหมูเรือนไทยภาคกลางปลูกอยูกลางคูน้ํา ภายในเรือนไทยจัดแสดงศิลปะพื้นบาน เครื่องมือเครื่องใชในชีวิตประจําวันของคนไทยสมัยกอน เชน หมอดินเผา กระตายขูดมะพราวและเครื่องจักสานตางๆ โบราณวัตถุเหลานี้แสดงใหเห็นความรุงเรืองของกรุงศรีอยุธยาในอดีตไวอยางนาชมนาศึกษาพิพิธภัณฑแหงนี้เปดใหเขาชมวันพุธ-วันอาทิตย วันหยุดนักขัตฤกษ ต้ังแตเวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๐๐ น. ปดวันจันทรและวันอังคาร อตัราคาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาต ิเจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร.๐ ๓๕๒๔ ๑๕๘๗ การเดินทาง จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยา จากนั้นขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แลวตรงไปประมาณ ๒ ไฟแดง ไปอีกไมไกลนักจะเห็นพิพิธภัณฑอยูทางขวามือ คุมขุนแผน ต้ังอยูที่ถนนปาโทน เปนตัวอยางของหมูเรือนไทยภาคกลาง ในรูปแบบเรือนคหบดีไทยสมัยโบราณ เดิมเปนจวนสมุหเทศาภิบาล มณฑลกรุงเกา พลตรีพระเจาบรมวงศเธอกรมขุนมรุพงศสิริพัฒนทรงสรางขึ้นปพ.ศ.๒๔๓๗ ที่เกาะลอยบริเวณสะพานเกลือซึ่งอยูตรงขามกับที่วาการมณฑล ตอมาในราวปพ.ศ. ๒๔๘๓ ปรีดี พนมยงค รัฐบุรุษอาวุโสไดยายจวนหลังนี้มาสรางในบริเวณคุกนครบาลเกาของพระนครศรีอยุธยา พรอมทั้งสรางเรือนไทยเพิ่มขึ้นอีกในปพ.ศ.๒๔๙๙ และใหช่ือเรือนไทยนี้วาคุมขุนแผน ซึ่งเชื่อกันวาขุนแผนเคยตองโทษอยูในคุกแหงนี้ การเดินทาง จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยาแลวใหขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรงไปจนถึงศาลากลางจังหวัดหลังเดิม จะเห็นสามแยกแลวเลี้ยวขวาตรงไปไมไกลนักจะเห็นคุมขุนแผนอยูทางซายมือเปดใหชมทุกวันเวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. วิหารพระมงคลบพิตร ต้ังอยูทางดานทิศใตของวัดพระศรีสรรเพชญ ใชเสนทางเดียวกับทางไปคุมขุนแผน วิหารพระมงคลบพิตรจะอยูถัดไปไมไกลนัก พระมงคลบพิตรเปนพระพุทธรูปบุสัมฤทธิป์างมารวิชัย มีขนาดหนาตักกวาง ๙.๕๕ เมตรและสูง ๑๒.๔๕ เมตร นับเปนพระพุทธรูปขนาดใหญองคหนึ่งในประเทศไทย ไมมีหลักฐานแนชัดวาสรางในสมัยใด สันนิษฐานวาสรางในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตนระหวางปพ.ศ.๑๙๙๑–๒๑๔๕ สมเด็จพระเจา

Page 7: พระนครศรีอยุธยา

7

ทรงธรรมโปรดเกลาฯใหยายจากทิศตะวันออกนอกพระราชวังมาไวทางดานทิศตะวันตกที่ประดิษฐานอยูในปจจุบันและโปรดเกลาฯใหกอมณฑปสวมไว ในสมัยสมเด็จพระเจาเสือ เมื่อปพ.ศ.๒๒๔๙ อสนีบาตตกลงมาตองยอดมณฑปพระมงคลบพิตรเกิดไฟไหมทําใหสวนบนขององคพระมงคลบพิตรเสียหายจึงโปรดเกลาฯใหซอมแซมใหม แปลงหลังคายอดมณฑปเปนมหาวิหารและตอพระเศียรพระมงคลบพิตรในสมัยสมเด็จพระเจาบรมโกศ (พ.ศ.๒๒๘๕–๒๒๘๖) ในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๓๑๐ วิหารพระมงคลบพิตรถูกขาศึกเผาเครื่องบนโทรมลงมาตองพระเมาฬีและพระกรขวาของพระมงคลบพิตรหัก รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯใหการปฏิสังขรณใหม สําหรับบริเวณขางวิหารพระมงคลบพิตรทางดานทิศตะวันออกแตเดิมเปนสนามหลวง ใชเปนที่สําหรับสรางพระเมรุพระบรมศพของพระมหากษัตริยและเจานายเชนเดียวกับทองสนามหลวงของกรุงเทพฯ วัดพระศรีสรรเพชญ ต้ังอยูทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตร เปนวัดสําคัญที่สรางอยูในพระราชวังหลวงเทียบไดกับวัดพระศรีรัตนศาสดารามแหงกรุงเทพมหานครหรือวัดมหาธาตุแหงกรุงสุโขทัย ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง)ทรงสรางพระราชมณเฑียรเปนที่ประทับที่บริเวณนี้ ตอมาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยายพระราชวังขึ้นไปทางเหนือและอุทิศที่ดินเดิมใหสรางวัดขึ้นภายในเขตพระราชวังและโปรดเกลาฯใหสรางเขตพุทธาวาสขึ้น เพื่อเปนที่สําหรับประกอบพิธีสําคัญตางๆ จึงเปนวัดที่ไมมีพระสงฆจําพรรษา ตอมาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ โปรดเกลาฯใหสรางพระสถูปเจดียใหญสององคเมื่อพ.ศ.๒๐๓๕ องคแรกทางทิศตะวันออกเพ่ือบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถพระราชบิดาและองคที่สองคือองคกลางเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ พระบรมเชษฐา ตอมาในปพ.ศ. ๒๐๔๒ ทรงสรางพระวิหารขนาดใหญและในปพ.ศ.๒๐๔๓ ทรงหลอพระพุทธรูปยืนสูง ๘ วา(๑๖ เมตร) หุมดวยทองคําหนัก ๒๘๖ ช่ัง (ประมาณ ๑๗๑ กิโลกรัม) ประดิษฐานไวในวิหาร พระนามวา “พระศรีสรรเพชญดาญาณ” ซึ่งภายหลังเมื่อคราวเสียกรุงพ.ศ. ๒๓๑๐ พมาไดเผาลอกทองคําไปหมด ในสมัยรัตนโกสินทรพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดเกลาฯใหอัญเชิญช้ินสวนชํารุดของพระประธานองคนี้ลงมากรุงเทพฯและบรรจุช้ินสวนซึ่งบูรณะไมไดเหลานั้นไวในเจดียองคใหญที่สรางขึ้นแลวพระราชทานชื่อเจดียวา “เจดียสรรเพชญดาญาณ” สําหรับเจดียองคที่สามถัดมาทางทิศตะวันตก สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ (พระหนอพุทธางกูร) พระราชโอรสไดโปรดเกลาฯใหสรางขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ เจดียสามองคนี้เปนเจดียแบบลังกา ระหวางเจดียแตละองคมีมณฑปกอคั่นไวซึ่งคงจะมีการสรางในราวรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททอง และมีรองรอยการบูรณะปฏิสังขรณหนึ่งครั้งในราวรัชสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามไดมีการบูรณะเจดียแหงนี้จนมีสภาพที่เห็นอยูในปจจุบัน วัดนี้เปดใหเขาชมทุกวันตั้งแตเวลา ๐๗.๓๐–๑๘.๐๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่สํานักงานศิลปากรที่ ๓ โทร ๐ ๓๕๒๔ ๒๕๐๑, ๐ ๓๕๒๔ ๒๔๔๘ หรือ อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยาโทร ๐ ๓๕๒๔ ๒๒๘๔, ๐ ๓๕๒๔ ๒๒๘๖ หมายเหตุ ต้ังแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐-๒๑.๐๐ น. จะมีการสองไฟชมโบราณสถาน พระราชวังหลวงหรือพระราชวังโบราณ ต้ังอยูติดกับวัดพระศรีสรรเพชญทางดานทิศเหนือ สันนิษฐานวา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง)ทรงสรางพระราชวังตั้งแตเมื่อครั้งประทับอยูที่เวียงเล็ก เมื่อพ.ศ.๑๘๙๐ และเมื่อสรางพระราชวังเสร็จในปพ.ศ.๑๘๙๓ จึงยายมาประทับที่พระราชวังใหมริมหนองโสน ปราสาทในครั้งแรกนี้สรางดวยไมอยูในบริเวณวัดพระศรีสรรเพชญ ตอมาเมื่อพ.ศ. ๑๙๙๑ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงถวายที่บริเวณ

Page 8: พระนครศรีอยุธยา

8

ปราสาทใหเปนวัดพระศรีสรรเพชญวัดในเขตพระราชวัง แลวทรงสรางปราสาทใหมเลื่อนไปทางเหนือชิดกับแมน้ําลพบุรี บริเวณพระราชวังหลวงมีพระที่นั่งสําคัญดังนี้ พระที่นั่งวิหารสมเด็จ ต้ังอยูทางตอนใตสุด เปนปราสาทยอดปรางคมีมุขหนาหลังยาวแตมุขขางสั้น มีกําแพงแกวลอม ๒ ดาน ตามพงศาวดารกลาววาสมเด็จพระเจาปราสาททอง โปรดใหสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๑๘๖ เพื่อแทนพระที่นั่งมังคลาภิเษกที่ถูกฟาผาไฟไหม ชาวบานเรียกวา “ปราสาททอง” เนื่องจากเปนปราสาทปดทององคแรกที่สรางขึ้นสําหรับประกอบพระราชพิธีตาง ๆ พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เปนปราสาทยอดปรางคต้ังอยูตรงกลางสรางแบบเดียวกันกับพระที่นั่งวิหารสมเด็จ มีหลังคาซอนลดหลั่นกันถึงหาช้ัน มีมุขเด็จยื่นออกมาเปนที่สําหรับพระมหากษัตริยเสด็จออกรับแขกเมือง มีโรงชางเผือกขนาบอยูทั้งสองขาง พระที่นั่งสุริยาสนอมรินทร เดิมช่ือ พระที่นั่งสุริยามรินทร ตอมาเปลี่ยนเปนช่ือนี้เพื่อใหคลองกับช่ือ พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เปนปราสาทจตุรมุขกอดวยศิลาแลงมีพ้ืนสูงกวาพระที่นั่งองคอื่น ๆ ต้ังอยูติดกําแพงริมแมน้ํา ใชเปนที่สําหรับประทับทอดพระเนตรขบวนแหทางน้ํา ตามพงศาวดารกลาววาเมื่อสมเด็จพระนารายณสวรรคต สมเด็จพระเพทราชาไดอัญเชิญพระบรมศพจากเมืองลพบุรีมาประดิษฐานไวที่พระที่นั่งองคนี้ พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต สมเด็จพระเจาปราสาททองทรงสรางเมื่อพ.ศ.๒๑๗๕ พระราชทานนามวา“พระที่นั่งสิริยโสธรมหาพิมานบรรยงก’’คลายปราสาทที่นครธม ตอมาจึงเปลี่ยนเปน “พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต” ลักษณะเปนปราสาทตรีมุข ต้ังอยูบนกําแพงชั้นในดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีสรรเพชญ เปนที่สําหรับทอดพระเนตรกระบวนแหและฝกหัดทหาร พระที่นั่งตรีมุข เปนพระที่นั่งศาลาไม หลังคามุงกระเบื้องดินเผา ต้ังอยูทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งสรรเพชญปราสาท ไมปรากฏปที่สราง เขาใจวาเดิมเปนพระที่นั่งฝายใน และเปนที่ประทับในอุทยาน เปนพระที่นั่งองคเดียวที่อยูในสภาพสมบูรณที่สุด พระที่นั่งบรรยงกรัตนาสน หรือ พระที่นั่งทายสระ เปนปราสาทจตุรมุข ต้ังอยูบนเกาะกลางสระน้ํา สมเด็จพระเพทราชาโปรดเกลาฯใหสรางขึ้นเปนที่ประทับอยูขางในและเปนที่สําราญพระราชอิริยาบถเมื่อพ.ศ. ๒๒๓๑ และไดเสด็จประทับตลอดรัชกาล มีพระแทนสําหรับทอดพระเนตรปลาที่ทรงเลี้ยงไวในสระนั้นดวย พระที่นั่งทรงปน เปนพระที่นั่งรูปยาวรี อยูริมสระดานตะวันตก ใกลพระที่นั่งบรรยงคกรัตนาสน เขาใจวาเปนที่สําหรับฝกซอมอาวุธและในสมัยสมเด็จพระเพทราชาทรงใชเปนทองพระโรงที่เสด็จออกขุนนาง พระที่นั่งตางๆที่ปรากฎใหเห็นซากหลงเหลือในปจจุบันเปนอาคารที่สรางในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เปนที่ประทับของพระมหากษัตริยทุกรัชกาล เปดใหเขาชมทุกวัน ต้ังแตเวลา ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ น. อัตราคาเขาชม ชาวไทยคนละ ๑๐ บาท ชาวตางประเทศคนละ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม รายละเอียดเพ่ิมเติมติดตอ โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๒๕๐๑, ๐ ๓๕๒๔ ๔๕๗๐ วัดพระราม อยูนอกเขตพระราชวังไปทางดานทิศตะวันออก ตรงขามกับวิหารพระมงคลบพิตร สมเด็จพระราเมศวรทรงสรางขึ้นตรงบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระรามาธิบดีที่๑(พระเจาอูทอง)พระราชบิดา วัดนี้มีบึงขนาดใหญอยูหนาวัด เมื่อมีการสรางกรุงศรีอยุธยา คงจะมีการขุดเอาดินในหนองมาถมพื้นที่วังและวัด พ้ืนที่ที่ขุดเอาดินมาไดกลายเปนบึงใหญ บึงมีช่ือปรากฎในกฎมณเฑียรบาลวา “บึงชีขัน” ตอมาเปลี่ยนช่ือเปน “บึงพระราม” ปจจุบันคือ “สวนสาธารณะบึงพระราม” ซึ่งใชเปนที่สําหรับพักผอนหยอนใจของชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และสําหรับนักทองเที่ยวที่มาเยือน เปดใหเขาชมทุกวันตั้งแตเวลา ๐๗.๓๐–๑๘.๓๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาว

Page 9: พระนครศรีอยุธยา

9

ตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม หมายเหตุ ต้ังแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐ - ๒๑.๐๐ น. จะมีการสองไฟชมโบราณสถาน พระบรมราชานุสาวรียพระเจาอูทอง ประดิษฐานอยูระหวางบึงพระรามกับวัดพระศรีสรรเพชญ พระบรมรูปของพระเจาอูทองมีขนาดเทาครึ่งของคนธรรมดา หลอดวยทองสัมฤทธิ์และรมดวยน้ํายาสีเขียว ในพระอิริยาบถประทับยืน พระหัตถขวาทรงพระขรรค พระเกลาเกศา ฉลองพระองคแบบพระมหากษัตริยสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯเสด็จพระราชดําเนินทรงเปดพระบรมราชานุสาวรียเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๑๓ วัดมหาธาตุ ต้ังอยูเชิงสะพานปาถาน ทางทิศตะวันออกของวัดพระศรีสรรเพชญ พงศาวดารบางฉบับกลาววาวัดนี้สรางในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ตอมาสมเด็จพระราเมศวรโปรดเกลาฯใหอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาบรรจุไวใตฐานพระปรางคประธานของวัดเมื่อพ.ศ.๑๙๒๗ พระปรางควัดมหาธาตุถือเปนปรางคที่สรางในระยะแรกของสมัยอยุธยาซึ่งไดรับอิทธิพลของปรางคขอมปนอยู ช้ันลางกอสรางดวยศิลาแลงแตที่เสริมใหมตอนบนเปนอิฐถือปูน สมเด็จพระเจาปราสาททองไดทรงปฏิสังขรณพระปรางคใหมโดยเสริมใหสูงกวาเดิม แตขณะนี้ยอดพังลงมาเหลือเพียงช้ันมุขเทานั้น จึงเปนที่นาเสียดายเพราะมีหลักฐานวาเปนปรางคที่มีขนาดใหญมากและกอสรางอยางวิจิตรสวยงามมาก เมื่อพ.ศ. ๒๔๙๙ กรมศิลปากรไดขุดแตงพระปรางคแหงนี้ พบของโบราณหลายชิ้น ที่สําคัญคือ ผอบศิลา ภายในมีสถูปซอนกัน ๗ ช้ัน แบงออกเปน ชิน เงิน นาก ไมดํา ไมจันทรแดง แกวโกเมน และทองคํา ช้ันในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและเครื่องประดับอันมีคา ปจจุบันพระบรมสารีริกธาตุนําไปประดิษฐานไวที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา สิ่งที่นาสนใจในวัดอีกอยางคือ เศียรพระพุทธรูปหินทราย ซึ่งมีรากไมปกคลุมเขาใจวาเศียรพระพุทธรูปนี้จะหลนลงมาอยูที่โคนตนไมในสมัยเสียกรุงจนรากไมขึ้นปกคลุมมีความงดงามแปลกตาไปอีกแบบ การเดินทาง จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยาแลวขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรงไปจนถึงสี่แยกไฟแดงที่ ๒ เลี้ยวขวาตรงไปไมไกลนัก ผานบึงพระราม จะเห็นวัดมหาธาตุอยูทางซายมือ เปดใหเขาชมทุกวันตั้งแตเวลา ๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม หมายเหตุ ต้ังแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐-๒๑.๐๐น. จะมีการสองไฟชมโบราณสถาน วัดราชบูรณะ อยูเชิงสะพานปาถาน ตรงขามวัดมหาธาตุ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจาสามพระยา) โปรดเกลาฯใหสรางขึ้นเมื่อพ.ศ. ๑๙๖๗ ณ บริเวณที่ถวายพระเพลิงเจาอายพระยากับเจายี่พระยาซึ่งชนชางกันจนถึงแกพิราลัยและโปรดเกลาฯใหกอเจดีย ๒ องคบริเวณนั้น เมื่อคราวเสียกรุงวัดนี้และวัดมหาธาตุถูกไฟไหมเสียหายมาก ซากที่เหลืออยูแสดงวาวิหารและสวนตางๆ ของวัดนี้ใหญโตมาก วิหารหลวงมีขนาดยาว ๖๓ เมตร กวาง ๒๐ เมตร ดานหนามีบันไดขึ้น ๓ ทาง ที่ผนังวิหารเจาะเปนบานหนาตาง ปจจุบันยังปรากฏซากของเสาพระวิหารและฐานชุกชีพระประธานเหลืออยู พระปรางคประธาน เปนศิลปะอยุธยาสมัยแรกซึ่งนิยมสรางตามแบบสถาปตยกรรมขอมที่ใหพระปรางคเปนประธานของวัด ชองคูหาของพระปรางคมีพระพุทธรูปยืนปูนปนประดิษฐานชองละ ๑ องค องคปรางคประดับดวยปูนปนรูปครุฑ ยักษ เทวดา นาค พระปรางคองคนี้มีลวดลายสวยงามมาก ภายในกรุปรางคมีหองกรุ ๒ ช้ัน สามารถลงไปชมได ช้ันบนมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเลือนลาง ช้ันลางซึ่งเคยเปนที่เก็บเครื่องทอง มีภาพจิตรกรรมเขียนดวยสีแดงชาดปดทองเปนรูปพระพุทธรูปปางลีลาและปางสมาธิ รวมทั้งรูปเทวดาและรูปดอกไม เมื่อพ.ศ.๒๕๐๐ คนรายไดลักลอบขุดโบราณวัตถุที่ฝงไวในกรุปรางคประธานวัดราชบูรณะ โดยขุดเจาะจากพื้นคูหาเรือน

Page 10: พระนครศรีอยุธยา

10

ธาตุลงไปพบหองที่ฝงโบราณวัตถุไว ๒ หอง ตอมาทางราชการติดตามจับคนรายและยึดโบราณวัตถุไดเพียงบางสวน โบราณวัตถุในกรุพระปรางควัดราชบูรณะทําดวยทองคํา สําริด หิน ดินเผาและอัญมณี เมื่อกรมศิลปากรขุดแตงพระปรางควัดราชบูรณะตอ ไดนําโบราณวัตถุที่มีคาไปเก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา ซึ่งสรางโดยเงนิบริจาคจากการนําพระพิมพขนาดเล็กที่ไดจากกรุนี้มาจําหนายเปนของชํารวย วัดนี้เปดใหเขาชมทุกวันตั้งแตเวลา ๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม หมายเหตุ ต้ังแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐- ๒๑.๐๐น. จะมีการสองไฟชมโบราณสถาน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม เรียกอีกช่ือหนึ่งวา วังจันทรเกษมหรือวังหนา ต้ังอยูถนนอูทอง ริมแมน้ําปาสักมุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเมืองใกลตลาดหัวรอ วังจันทรเกษมปรากฎหลักฐานพงศาวดารวาสรางในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชประมาณพ.ศ. ๒๑๒๐ โดยมีพระราชประสงคเพื่อใหเปนที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และเคยใชเปนที่ประทับของสมเด็จพระยุพราชและพระมหากษัตริยหลายพระองคเชน สมเด็จพระเอกาทศรถ เจาฟาสุทัศน สมเด็จพระนารายณมหาราช สมเด็จพระเจาบรมโกศ ฯลฯ เมื่อคราวเสียกรุงในปพ.ศ.๒๓๑๐ วังนี้ไดถูกขาศึกเผาทําลายเสียหายมากและถูกทิ้งราง จนถึงสมัยรัชกาลที่ ๔ แหงกรุงรัตนโกสินทรโปรดเกลาฯใหซอมพระที่นั่งพิมานรัตยาและพลับพลาจตุรมุขไวเปนที่ประทับเมื่อเสด็จประพาสพระนครศรีอยุธยาและโปรดพระราชทานนามวา พระราชวังจันทรเกษม เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๔๓๖ ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไดพระราชทานพระที่นั่งพิมานรัตยาเปนที่ทําการของมณฑลกรุงเกาเมื่อพ.ศ. ๒๔๔๒ และจนกระทั่งเมื่อพระยาโบราณราชธานินทรไดเขามาดํารงตําแหนงสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกาจึงไดจัดสรางอาคารที่ทําการภาคบริเวณกําแพงทางดานทิศตะวันตกตอกับทิศใต แลวยายที่วาการมณฑลจากพระที่นั่งพิมานรัตยามาตั้งที่อาคารที่ทําการภาคในขณะนั้น กรมศิลปากรจึงไดเขามาดูแลและจัดทําเปนพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษมจนกระทั่งปจจุบัน โบราณสถานโบราณวัตถุที่นาสนใจในพระราชวังจันทรเกษม มีดังนี้ กําแพงและประตูวัง ปจจุบันกอเปนกําแพงอิฐมีใบเสมา มีประตูดานละ ๑ ประตู รวม ๔ ดานเปนสิ่งที่สรางใหมในรัชกาลที่ ๔ กําแพงของเดิมมีอาณาเขตกวางขวางกวาที่เห็นในปจจุบัน เพราะขุดพบรากฐานของพระที่นั่งนอกกําแพงวัดดานใน และพบซากอิฐในบริเวณเรือนจําหลายแหง แตเดิมนั้นคําใหการชาวกรุงเกากลาววา วังจันทรเกษมมีกําแพง ๒ ช้ัน เชนเดียวกับวังหลวง พลับพลาจตุรมุข ต้ังอยูใกลประตูวังดานทิศตะวันออก เปนพลับพลาเครื่องไม มีมุขดานหนา ๓ มุข ดานหลัง ๓ มุข เดิมใชเปนทองพระโรงสําหรับออกงานวาราชการและเปนที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๔ เวลาเสด็จประพาส ตอมาในปพ.ศ. ๒๔๔๗ พระองคทรงโปรดใหใชพลับพลาจตุรมุข เปนที่จัดแสดงโบราณวัตถุ เรียกวาอยุธยาพิพิธภัณฑสถาน ในสมัยรัชกาลที่ ๗ พระยาโบราณราชธานินทรไดทําการซอมแซมครั้งใหญและเปล่ียนหนาบันจากรูปปูนปนมาเปนไมแกะสลัก ปจจุบันจัดแสดงเครื่องใชสวนพระองคที่มีอยูเดิมภายในพระราชวังนี้เชน พระแทนบรรทม พระราชอาสน พรอมเศวตฉัตร พระบรมฉายาลักษณและเครื่องราชูปโภคของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระที่นั่งพิมานรัตยา เปนตึกหมูอยูกลางพระราชวังประกอบดวยอาคาร ๔ หลังคือ อาคารปรัศวซาย อาคารปรัศวขวา พระที่นั่งพิมานรัตยาและศาลาเชิญเครื่อง เคยเปนที่ต้ังศาลากลางมณฑลและจังหวัดมาหลายป ปจจุบันจัดแสดง ประติมากรรมที่สลักจากศิลา เปนเทวรูปและพระพุทธรูปนาคปรก ศิลปสมัยลพบุรี พระพุทธรูปสําริดสมัยอยุธยา พระพิมพสมัยตางๆ และเครื่องไมแกะสลักฝมือชางสมัยอยุธยาตอนปลายและรัตนโกสินทร

Page 11: พระนครศรีอยุธยา

11

พระที่นั่งพิสัยศัลลักษณ หรือ หอสองกลอง เปนหอสูงสี่ช้ัน สรางครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช แตหักพังลงมาเมื่อคราวเสียกรุงครั้งที่ ๒ หอที่เห็นอยูในปจจุบันสรางในสมัยรัชกาลที่ ๔ ตามรากฐานอาคารเดิมและทรงใชเปนที่ประทับทอดพระเนตรดวงดาว อาคารสโมสรเสอืปา สรางขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ต้ังอยูริมกําแพงหลังพระที่นั่งพิมานรัตยา ตึกโรงมาพระที่นั่ง เปนอาคารกออิฐถือปูน ๒ ช้ัน ต้ังอยูริมกําแพงดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตึกที่ทําการภาค สรางขึ้นในสมัยพระยาโบราณราชธานินทร เมื่อครั้งดํารงตําแหนงสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา มีลักษณะเปนอาคารชั้นเดียวสรางขนานไปกับแนวกําแพงดานทิศตะวันตกตอกับทิศใต จัดนิทรรศการถาวร ๕ เรื่อง คือ เรื่องศิลปะสถาปตยกรรมอยุธยา เครื่องปนดินเผาสินคานําเขาและสงออกที่สําคัญของอยุธยา อาวุธยุทธภัณฑ ศิลปะวัตถุพุทธบูชาและวิถีชีวิตริมน้ําชาวกรุงเกา ระเบียงจัดตั้งศิลาจารึก แตเดิมสรางเปนระเบียงหลังคามุงสังกะสียาวไปตามแนวกําแพงดานทิศเหนือและทิศตะวันออกใชสําหรับเปนที่เก็บรักษาบรรดาโบราณวัตถุและศิลปะวัตถุซึ่งพระยาโบราณราชธานินทรไดรวบรวมไว การเดินทาง จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยา เมื่อขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแลวใหเลี้ยวซายตรงไปจนถึงสามแยกเลี้ยวซายอีกครั้งและตรงไปอีกประมาณ ๒ กิโลเมตร จะผานตลาดเจาพรหม จากนั้นจะเห็นพิพิธภัณฑอยูทางซายมือ เปดใหเขาชมทุกวัน เวนวันจันทร วันอังคารและวันหยุดนักขัตฤกษ ต้ังแตเวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. คาเขาชม ชาวไทยคนละ ๑๐ บาท ชาวตางประเทศคนละ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๑๕๘๖, ๐ ๓๕๒๕ ๒๗๙๕ โทรสาร ๐ ๓๕๒๕ ๑๕๘๖ วัดเสนาสนาราม อยูทางดานหลังพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม เปนวัดโบราณเดิมช่ือ "วัดเสื่อ" พระอุโบสถเปนสถาปตยกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา ลักษณะพระอุโบสถมีมุขทั้งดานหนาและดานหลัง ดานหนาพระอุโบสถหันหนาสูทิศตะวันออก มีพระยืนประดิษฐานอยูบนหนาบันทั้งดานหนาและดานหลังเปนภาพปนลงรักปดทอง เปนรูปชางเอราวัณขนาบดวยแตร เหนือเศียรชางเอราวัณเปนพระอลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๔ เปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสําคัญ ๒ องคคือ "พระสัมพุทธมุนี" เปนพระพุทธรูปหลอปางมารวิชัย สมัยอยุธยาลงรักปดทอง ขนาดหนาตักกวาง ๒ ศอก ๒ นิ้ว สูง ๓ ศอก ๑ นิ้วประดิษฐานเหนือบุษบกปูนปนลงรักปดทอง ฝาผนังพระอุโบสถเปนภาพจิตรกรรม ดานบนเปนภาพของเทพและอัปสรที่มาบูชาพระประธาน ระหวางชองหนาตางเปนภาพพระราชพิธีสิบสองเดือนซึ่งหาชมไดยาก ผนังดานหนาภายในพระอุโบสถมีพระบรมฉายาลักษณทรงเครื่องตนเฉลิมพระมหาพิชัยมงกุฎประทับเหนือพระราชบัลลังกในกรอบไมสัก วิหารพระพุทธไสยาสน อยูติดกับพระเจดียองคใหญ ซึ่งพระวิหารนี้สรางขวางกับแนวพระอุโบสถ พระพุทธไสยาสนเปนศิลปะแบบอยุธยา ประกอบดวยศิลาเปนทอนๆ นํามาเรียงตอกันแลวสลักเปนองคพระมีขนาดยาว ๑๔.๑๒ เมตร แตเดิมประดิษฐานอยูที่วัดพระมหาธาตุ รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางวิหารพระนอนขึ้นในวัด แลวอัญเชิญพระพุทธไสยาสนจากวัดมหาธาตุมาประดิษฐานไวที่วัดนี้ พระอินทรแปลงเปนพระพุทธรูปหลอปางมารวิชัยที่อัญเชิญมาจากนครเวียงจันทนเมื่อปพ.ศ.๒๔๐๑ หนาตักกวาง ๒ ศอกเศษ สูง ๓ ศอกเศษ ประดิษฐานอยูในวิหารซึ่งติดกับวิหารพระพุทธไสยาสน มีตํานานเลากันวา พระอินทรแปลงทรงแปลงรางมาสรางพระพุทธรูปองคนี้ ดานหลังพระอินทรแปลงเปนซุมศรีมหาโพธิ์ ภายในพระวิหารปูดวยกระเบื้องหินออน ทั้งสองขางองคพระอินทรแปลงยกพื้นเปนอัฒสงฆ พรอมทั้งมีธรรมาสนหินปดทอง ๒ แทน ฝาผนังภายในพระวิหารดานบน เปนภาพวาดรูปทวยเทพบูชาองคพระอินทรแปลงและระหวางชองหนาตางเปน

Page 12: พระนครศรีอยุธยา

12

ภาพวาดเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตของประชาชนอันเกี่ยวเน่ืองดวยวัดและพระศาสนา บานหนาตางเปนภาพลายรดน้ําเปนรูปสัตว ๑๐ อยางที่ภิกษุไมควรบริโภค พระเจดีย ต้ังอยูดานหลังพระอุโบสถ เปนพระเจดียทรงระฆังควํ่ากออิฐฉาบปูนศิลปะสมัยอยุธยา สูงประมาณ ๑๓ วาเศษ มีฐานทักษิณสี่เหลี่ยม วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร อยูในเขตพระนครดานทิศตะวันออกเฉียงใตของเกาะเมือง เหนือบริเวณปอมเพชร สามารถใชเสนทางเดียวกับพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม แตพอถึงสามแยกใหเลี้ยวขวาแลวตรงไปประมาณ ๑ กิโลเมตร จะเห็นปายทางเขาวัดอยูทางดานขวามือ วัดนี้เดิมช่ือวา“วัดทอง”เปนวัดที่พระบรมมหาชนกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงสรางไวต้ังแตครั้งกรุงศรีอยุธยา ตอมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย จึงโปรดเกลาฯใหสถาปนาวัดทองขึ้นใหมและพระราชนามวา“วัดสุวรรณดาราราม” เพื่อเปนอนุสรณแดพระบรมชนกนาถและพระบรมราชชนนี ตามพระนามเดิมของทั้งสองพระองคคือ“ทองดี”และ“ดาวเรือง” วัดแหงนี้มีสิ่งตางๆที่นาชมไมวาจะเปนพระอุโบสถซึ่งยังคงรูปแบบสถาปตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย คือทําสวนฐานโคงออนลงตรงกลางคลายปากเรือสําเภา หนาบันอุโบสถสลักลายเปนรูปนารายณทรงครุฑ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเทพชุมนุมที่ผนังอุโบสถตอนบน ตอนลางเขียนเรื่องเวสสันดรชาดก เตมียชาดกและสุวรรณสามชาดก ผนังดานหนาพระประธานเขียนภาพมารวิชัย มีแมพระธรณีบีบมวยผมอยูตรงกลาง สวนพระประธานในพระอุโบสถรัชกาลที่ ๑ โปรดเกลาฯใหจําลองขยายสวนจากพระแกวมรกต นอกจากนั้นภายในพระวิหารมีลักษณะรูปแบบฐานเปนเสนตรง ไมใชฐานออนโคงตามรูปแบบสถาปตยกรรมสมัยอยุธยา บัวหัวเสามีลักษณะเปนบัวกลีบยาวหรือบัวแวง พระวิหารสรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๒ ภายในพระวิหารมีภาพเขียนสีในสมัยรัชกาลที่ ๗ แสดงพระราชประวัติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทํายุทธหัตถี นับเปนจิตรกรรมฝาผนังที่มีฝมือยอดเยี่ยมงดงามมาก กรมศิลปากรไดถายแบบภาพเขียนนี้ไปไวที่อนุสรณดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี บริเวณหนาพระอุโบสถจะเห็น แทนพระศรีมหาโพธิ์ ลักษณะเปนแทนฐานบัวควํ่าและบัวหงาย ประดิษฐานตนพระศรีมหาโพธิ์ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดนําหนอโพธิ์มาจากประเทศอินเดีย ไมไกลกันนั้นมี หอระฆัง ลักษณะแบบสถาปตยกรรมตะวันตก กออิฐถือปูน มีผังเปนรูปสี่เหลี่ยมสองชั้น ช้ันลางเจาะประตูเปนรูปโคงแหลม ช้ันบนเปนสวนของหอระฆัง สันนิษฐานวาสรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ พรอมกับการปฏิสังขรณวัดครั้งใหญ ปอมปราการรอบกรุง กําแพงเมืองที่พระเจาอูทองทรงสรางครั้งแรกนั้นเปนเพียงเชิงเทินดิน และมีเสาไมระเนียดปกขางบน ตอมาในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึงไดกออิฐถือปูนขึ้น ตามพระราชพงศาวดารมีการสรางปอมตางๆอาทิ ปอมมหาไชย ปอมซัดกบ ปอมเพชร ปอมหอราชคฤหและปอมจําปาพลเปนตน ปอมขนาดใหญๆมักต้ังอยูบริเวณทางแยกระหวางแมน้ําเชน ปอมเพชรตั้งอยูตรงที่บรรจบของแมน้ําเจาพระยากับแมน้ําปาสัก จัดเปนสวนสาธารณะริมน้ําสําหรับนั่งเลน ปอมมหาไชยตั้งอยูมุมวังจันทรเกษมบริเวณซึ่งเปนตลาดหัวรอในปจจุบัน ตัวปอมไดถูกรื้อเพื่อนําอิฐไปสรางพระนครใหมที่กรุงเทพมหานครตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร ต้ังอยูถนนอูทอง ในเขตอุทยานประวัติศาสตร ทางดานทิศตะวันตกเฉียงใตของเกาะเมือง เปนสวนสาธารณะขนาดใหญกวางขวาง ในพื้นที่ปลูกตนไมตางๆในวรรณคดี ศาลาไทยและมีซากโบราณสถาน นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาพื้นที่เปนสวนปาสมุนไพรอีกดวย สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารีเสด็จแทนพระองคมาเปดพระราชานุสาวรียสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเมื่อพ.ศ.๒๕๔๓ การเดินทาง หากมาจากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยาแลวใหขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรงไปจนสุดถนน พอถึงมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาแลว จะเห็นสามแยกขางหนาใหเลี้ยวซายตรงไปจนถึงสามแยกไฟแดงแลวเลี้ยวขวาตรงไป ผานโรงพยาบาลจังหวัดไปไมไกลนักจะเห็นสวนสมเด็จพระศรีนครินทรอยูทางขวามือ

Page 13: พระนครศรีอยุธยา

13

วังหลัง ต้ังอยูริมกําแพงพระนครศรีอยุธยาดานทิศตะวันตก ตรงขามกับวัดกษัตราธิราช เดิมเปนอุทยานสําหรับเสด็จประพาสเปนครั้งคราวเรียกวา สวนหลวง และมีเพียงตําหนักที่พัก ตอมาในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาไดโปรดเกลาฯใหสรางเพิ่มเติมเปนพระราชวังเพื่อใหเปนที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ หลังจากนั้นไดกลายเปนที่ประทับของเจานายในพระราชวงศ ปจจุบันเปนที่ต้ังของเจดียพระศรีสุริโยทัย เจดียพระศรีสุริโยทัย อยูในเกาะเมืองดานทิศตะวันตก ติดกับสํานักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติที่ ๓ ถนนอูทอง พระเจดียแหงนี้เปนโบราณสถานที่สําคัญยิ่งแหงหนึ่งในเขตอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา เปนอนุสรณสถานของวีรสตรีไทยพระองคแรก สมเด็จพระสุริโยทัยซึ่งสิน้พระชนมในการทําสงครามยุทธหัตถีระหวางสมเด็จพระมหาจักรพรรดิกับพระเจาแปรและเปนการยืนยันเกียรติแหงสตรีไทยที่ไดรับการยกยองจากสังคมไทยมาแตครั้งบรรพกาล ปพ.ศ.๒๐๙๑ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิขึ้นครองราชสมบัติมีสมเด็จพระสุริโยทัยเปนพระมเหสี หลังจากครองราชยได ๗ เดือน พระเจาตะเบ็งชะเวตี้และบุเรงนองยกทัพเขามาลอมกรุงศรีอยุธยาโดยผานมาทางดานดานพระเจดียสามองคจังหวัดกาญจนบุรีและตั้งคายลอมพระนคร สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงชางออกไปพรอมกับพระราชโอรส สมเด็จพระสุริโยทัยทรงเปนหวงพระราชสวามีจึงไดทรงเครื่องแบบอยางนักรบชายประทับชางตามเสด็จออกไป กองทัพกรุงศรีอยุธยาปะทะกับทัพหนาของกรุงหงสาวดีซึ่งมีพระเจาแปรเปนแมทัพ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงไสชางเขาชนกับชางของพระเจาแปรและบังเอิญชางทรงเกิดเพลี่ยงพลํ้า สมเด็จพระสุริโยทัยจึงไสชางพระที่นั่งเขาขวางพระเจาแปรดวยเกรงวาสมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระราชสวามีจะเปนอันตราย จนถูกพระแสงของาวฟนพระอังสาขาดสะพายแลงสิ้นพระชนมอยูบนคอชาง เมื่อสงครามยุติลงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงปลงพระศพของพระนางและสถาปนาวัดที่ปลงพระศพขึ้นเปนวัดสวนหลวงสบสวรรค (เดิมช่ือ วัดสบสวรรค) ตอมาในรัชสมยัพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดมีการสอบสวนหาตําแหนงสถานที่ตางๆ ที่กลาวถึงในพระราชพงศาวดารเพื่อเรียบเรียงเปนหนังสือประชุมพงศาวดารขึ้นทูลเกลาฯถวาย จึงเปนเหตุใหทราบตําแหนงของวัดสบสวรรค ซึ่งยังคงพบเจดียแบบยอไมสิบสองสูงใหญปรากฏตามที่ต้ังในปจจุบันนี้ ตอมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัวไดทรงขนานนามเรียกช่ือเจดียวา "เจดียพระศรีสุริโยทัย" ในป พ.ศ. ๒๕๓๓ รัฐบาลไดมอบใหกรมศิลปากรและกรป.กลาง ดําเนินการบูรณะซอมแซมเสริมรูปทรงพระเจดียที่ชํารุดใหอยูในสภาพเดิมและจากการบูรณะ ศิลปากรไดพบวัตถุโบราณ เชน พระพุทธรูปผลึกแกวสีขาวปางมารวิชัย พระเจดียจําลอง ผอบทองคําบรรจุพระธาตุ เปนตน ปจจุบันเก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา สวนศรีสุริโยทัย สามารถใชเสนทางเดียวกับทางไปเจดียพระศรีสุริโยทัย ต้ังอยูในเขตทหาร กองสรรพาวุธซอมยาง สวนศรีสุริโยทัยจะอยูดานหลัง องคการสุราเปนผูสรางสวนนี้เพื่ออุทิศสวนกุศลถวายอดีตพระมหากษัตริยทุกพระองคในที่ดินซึ่งเคยเปนเขตพระราชฐานชั้นใน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯไดพระราชทานช่ือ “สวนศรีสุริโยทัย” เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๓๒ และองคการสุราไดทูลเกลาฯ ถวายสวนนี้แดสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๔ สวนนี้มีพ้ืนที่ประมาณ ๕ ไร ประกอบดวยศาลาอเนกประสงค พลับพลาสมเด็จพระสุริโยทัย อนุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัยแสดงเหตุการณตอนสูรบบนหลังชาง ในสวนดานหลังมีเนินเสมาหินออนโบราณอายุกวา ๔๐๐ ปบรรจุช้ินสวนพระพุทธรูปที่ชํารุดอัญเชิญมาจากวัดพุทไธศวรรย (พระตําหนกัเวียงเหล็กของพระเจาอูทอง) ฯลฯ สวนนี้เปดใหเขาชมทุกวัน ต้ังแตเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. วัดโลกยสุธา อยูใกลกับเจดียพระศรีสุริโยทัย ใชเสนทางถนนหลังพลับพลาตรีมุขในบริเวณพระราชวังโบราณผานวัดวรโพธิ์และวัดวรเชษฐารามเขาไปจนถึงพระพุทธไสยาสนองคใหญซึ่งตั้งอยูกลางแจง พระพุทธไสยาสนองคนี้กอดวยอิฐถือปูน ยาวประมาณ ๒๙ เมตร มีซากเสา ๖ เหลี่ยมตั้งอยูชิดกับองคพระ หลงเหลือใหเห็นอยูหลายตน เขาใจวาอาจเคยเปนซากพระอุโบสถ

Page 14: พระนครศรีอยุธยา

14

วัดกษัตราธิราชวรวิหาร อยูนอกเกาะเมืองตรงขามกับเจดียพระศรีสุริโยทัย ริมแมน้ําเจาพระยา สามารถใชเสนทางเดียวกับสวนสมเด็จพระศรีนครินทรไปจนถึงสี่แยกแลวเลี้ยวซายขามสะพานวัดกษัตราธิราชฯ จากนั้นเลี้ยวขวาตรงไปไมไกลนักก็จะถึงวัดนี้ วัดนี้เดิมช่ือ “วัดกษัตรา” หรือ “วัดกษัตราราม” เปนวัดโบราณในสมัยกรุงศรีอยุธยามีพระปรางคใหญเปนประธานหลักของวัด และยังมีพระอุโบสถสมัยอยุธยาซึ่งมีลายดาวเพดานจําหลักไมงดงามมาก ภายในวัดมีภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทร เปนวัดที่มีความสวยงามมากวัดหนึ่ง วัดไชยวัฒนาราม ต้ังอยูริมแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตกนอกเกาะเมือง เปนวัดที่พระเจาปราสาททอง กษัตริยกรุงศรีอยุธยาองคที่ ๒๔ (พ.ศ. ๒๑๗๓-๒๑๙๘) โปรดใหสรางขึ้นเมื่อพ.ศ.๒๑๗๓ ไดช่ือวาเปนวัดที่มีความงดงามมากแหงหนึ่งในกรุงศรีอยุธยา ความสําคัญอีกประการหนึ่งคือ วัดนี้เปนที่ฝงพระศพของเจาฟาธรรมธิเบศร(เจาฟากุง) กวีเอกสมัยอยุธยาตอนปลายกับเจาฟาสังวาลยซึ่งตองพระราชอาญาโบยจนสิ้นพระชนมในรัชสมัยของพระเจาอยูหัวบรมโกศ สิ่งที่นาชมภายในวัดไดแก พระปรางคศรีรัตนมหาธาตุ เปนปรางคประธานของวัดตั้งอยูบนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสและที่มุมฐานมีปรางคทิศประจําอยูทั้งสี่มุม การที่สมเด็จพระเจาปราสาททองซึ่งเปนกษัตริยสมัยอยุธยาตอนปลายทรงสรางปรางคขนาดใหญเปนประธานของวัดเทากับเปนการรื้อฟนศิลปะสมัยอยุธยาตอนตนที่นิยมสรางปรางคเปนประธานของวัดเชนการสรางปรางคที่วัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะ เนื่องมาจากพระองคทรงไดเขมรมาอยูใตอํานาจจึงมีการนํารูปแบบสถาปตยกรรมเขมรเขามาใชในการกอสรางปรางคอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีพระระเบียงรอบปรางคประธาน ภายในพระระเบียงมีพระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ผนังระเบียงกอดวยอิฐถือปูน มีลูกกรงหลอกเปนรูปลายกุดั่น พระอุโบสถ อยูดานหนาของวัดภายในมีซากพระประธานเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัยสรางดวยหินทราย ใบเสมาของพระอุโบสถทําดวยหินสีคอนขางเขียว จําหลักเปนลายประจํายามและลายกานขด และเจดียยอมุมไมสิบสอง ทางดานหนาพระอุโบสถมีเจดีย ๒ องค ฐานกวาง ๑๒ เมตร สูง ๑๒ เมตร ซึ่งถือเปนศิลปะที่เริ่มมีแพรหลายต้ังแตสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง วัดไชยวัฒนารามไดรับการประกาศขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานของชาติ เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๔๗๘ และกรมศิลปากรไดดําเนินการบูรณะตลอดมาจนปจจุบันไมมีสภาพรกรางอยูในปาอีกแลว และยังคงมองเห็นเคาแหงความสวยงามยิ่งใหญตระการตา ซึ่งผูไปเยือนไมควรพลาดชมอยางยิ่ง เปดใหเขาชมทุกวันต้ังแตเวลา ๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม หมายเหตุ ต้ังแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐- ๒๑.๐๐ น. จะมีการสองไฟชมโบราณสถาน การเดินทาง สามารถใชเสนทางไดหลายเสนทาง ไดแก เรือ ทานอาจเชาเหมาเรือหางยาวจากบริเวณหลังลานจอดรถฝงตรงขามพระราชวังจันทรเกษมดานตะวันออกของเกาะเมือง ลองไปตามลําน้ําปาสักลงไปทางใตผานวิทยาลัยการตอเรือพระนครศรีอยุธยา วัดพนัญเชิงวรวิหาร วัดพุทไธศวรรย โบสถโปรตุเกส วัดไชยวัฒนาราม วัดกษัตราธิราชวรวิหาร และเจดียพระศรีสุริโยทัยอนัสงางามอีกดวย ซึ่งจะทําใหการเดินทางมีรสชาติไปอีกแบบหนึ่งโดยเฉพาะเวลาพลบค่ําจะเห็นภาพบริเวณวัดไชยวัฒนารามงดงามมาก รถยนต สามารถใชเสนทางเดียวกับวัดกษัตราธิราช แตพอขามสะพานวัดกษัตราธิราชไปแลวใหเลี้ยวขวาแลวตรงไปเรื่อยๆ ก็จะเห็นวัดไชยวัฒนารามตั้งเดนเปนสงาอยูทางดานหนา วัดพุทไธศวรรย ต้ังอยูริมแมน้ําทางดานใตฝงตรงขามของเกาะเมือง หากเดินทางโดยรถยนต และใชเสนทางสายอยุธยา-เสนา ขามสะพานวัดกษัตราธิราชวรวิหาร แลวเลี้ยวซาย จะผานวัดไชยวัฒนาราม มีปายบอกทางเปนระยะไปจนถึงทางแยกซายเขาวัดพุทไธศวรรย วัดนี้สรางขึ้นบริเวณตําหนักที่ประทับเดิมของสมเด็จพระเจาอูทองซึ่งเรียกวา “ตําหนักเวียงเหล็กหรือเวียงเล็ก” หลังจากนั้นพระองคไปสรางพระราชวังใหมที่ตําบลหนองโสน(บึง

Page 15: พระนครศรีอยุธยา

15

พระราม)จึงสถาปนาสถานที่นี้เปนวัดพุทไธศวรรย ภายในวัดมีสิ่งที่นาสนใจ คือ ปรางคประธาน องคใหญศิลปะแบบขอม ต้ังอยูก่ึงกลางอาณาเขตพุทธาวาสบนฐานไพที ซึ่งมีลักษณะยอเหล่ียมมีบันไดขึ้น ๒ ทางคือทางทิศตะวันออกและทางทิศตะวันตก สวนทิศเหนือทิศใตมีมณฑปสองหลังภายในพระมณฑปมีพระประธาน พระตําหนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารยเปนพระเถระชั้นผูใหญประจําอยูในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตําหนักนี้อยูในสภาพคอนขางทรุดโทรมแตภายในผนังของตําหนัก มีภาพสีเกี่ยวกับเรื่องหมูเทวดา นักพรต นมัสการพระพุทธบาท และเรือสําเภาตอนพระพุทธโฆษาจารยไปลังกา ภาพเหลานี้อยูในสภาพไมชัดเจนนัก นอกจากนี้ยังมีพระอุโบสถอยูทางดานทิศตะวันตกของปรางค หมูพระเจดียสิบสององค และวิหารพระนอน วัดภูเขาทอง ต้ังอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ หางจากพระราชวังหลวงไปประมาณ ๒ กิโลเมตร สามารถใชเสนทางเดียวกับทางไปจังหวัดอางทอง ทางหลวงหมายเลข ๓๐๙ กิโลเมตรที่ ๒๖ จะมีปายบอกทางแยกซายไปวัดนี้ วัดภูเขาทองนี้หนังสือคําใหการชาวกรุงเกากลาววา พระเจาหงสาวดีบุเรงนองเปนผูสรางเมื่อพ.ศ. ๒๑๑๒ คราวยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ในเวลาที่ประทับอยูพระนครศรีอยุธยาไดสรางพระเจดียภูเขาทองใหญแบบมอญขึ้นไวเปนที่ระลึกเมื่อคราวรบชนะไทย โดยรูปแบบของฐานเจดียมีลักษณะคลายกับแบบมอญพมา สันนิษฐานวาสรางเจดียองคนี้ขึ้นเพื่อชัยชนะแตทําไดเพียงรากฐาน แลวยกทัพกลับ ครั้งสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกอบกูเอกราชกลับคืนมาเมื่อพ.ศ. ๒๑๒๗ จึงโปรดเกลาใหสรางเจดียแบบไทยไวเหนือฐานแบบมอญและพมาที่สรางเพียงรากฐานไว ณ สมรภูมิทุงมะขามหยอง ฝมือชางมอญเดิมจึงปรากฏเหลือเพียงฐานทักษิณสวนลางเทานั้น เจดียภูเขาทองจึงมีลักษณะสถาปตยกรรมสองแบบผสมกัน ปจจุบันกรมศิลปากรไดสรางพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงมาบริเวณดานหนาวัดภูเขาทอง พระราชานุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัย (ทุงมะขามหยอง) ต้ังอยูที่ตําบลบานใหม ทุงมะขามหยองต้ังอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ หางจากเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาออกไปประมาณ ๓-๔ กิโลเมตร มีสภาพเปนที่ราบลุมริมฝงแมน้ําเจาพระยาทิศตะวันออก ภายในมีพระรูปสมเด็จพระสุริโยทัยหลอดวยสําริด มีขนาดหนึ่งเทาครึ่งขององคจริงประทบับนหลังพระคชาธารพรอมดวยกลุมอนุสาวรียประติมากรรมประกอบกันทั้งสิ้น ๔๙ ช้ิน มีประติมากรรมจําลองประวัติศาสตร อางเก็บน้ําขนาดใหญและสวนสาธารณะพักผอนหยอนใจสําหรับประชาชน ทุงมะขามหยองแหงนี้เคยเปนสมรภูมิการสูรบระหวางไทย-พมาหลายครั้ง จนเกิดเปนมหาวีรกรรมคือ เมื่อครั้งที่สมเด็จพระสุริโยทัยพระอัครมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงทํายุทธหัตถีกับพระเจาแปรจนตองพระแสงของาวสิ้นพระชนมบนคอชาง และในรัชกาลสมเด็จพระมหาธรรมราชาเปนกษัตริยของกรุงศรีอยุธยาซึ่งหลังจากที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพได ๒ ป พระเจาหงสาวดีนันทบุเรงไดใหมังมอดราชบุตรยกทัพมาต้ังที่ทุงมะขามหยอง และทัพพระเจาหงสาวดีต้ังคายหลวงบริเวณขนอนปากคูซึ่งอยูถัดจากทุงมะขามหยองลงมาทางใต สมเด็จพระนเรศวรมหาราชนําพลออกมาปลนคายพมาหลายครั้งโดยจะใชปากคาบพระแสงดาบ ปนเสาระเนียดเขาไปในคายพระเจาหงสาวดีและไดชัยชนะทุกครั้ง พระแสงดาบนั้นจึงปรากฏนามวา “พระแสงดาบคาบคาย” ดวยเหตุที่ทุงมะขามหยองเคยเปนสมรภูมิที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร ทางรัฐบาลจึงไดจัดทําโครงการสรางพระราชานุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัย เปนโครงการจัดสรางขึ้นตามพระราชดําริ รัฐบาลและพสกนิกรชาวไทยไดรวมกันสรางนอมเกลาฯถวายเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ ในวาระมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ เมื่อปพ.ศ. ๒๕๓๕ พระท่ีนั่งเพนียด ต้ังอยูในตําบลสวนพริก หางจากตัวเมืองประมาณ ๔ กิโลเมตร ไปตามเสนทางหมายเลข ๓๔๗ กิโลเมตรที่ ๔๒–๔๓ (เสนทางเดียวกับทางไปวัดภูเขาทอง) แตใหเลี้ยวขวาแลวตรงไปตามถนนจะมีปายบอกเสนทางไปพระที่นั่งเพนียด เพนียดแหงนี้มีขนาดใหญมากสรางขึ้นเปนที่สําหรับพระมหากษัตริยประทับทอดพระเนตรการคลองชางหรือจับชางเถื่อนในเพนียดซึ่งเปนประเพณีที่ทํากันมาแตโบราณเพื่อนําชางมาใชประโยชนในราชการทั้งในยามปกติและยามสงคราม หรือในเวลาที่มีแขกบานแขกเมืองมาพระมหากษัตริยก็จะโปรดใหทําพิธีคลองชางใหชมทุกครั้งไป การคลองชางนี้ทํากันเรื่อยมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ จึงได

Page 16: พระนครศรีอยุธยา

16

เลิกไป พระที่นั่งเพนียดและตัวเพนียดที่เห็นในปจจุบันนั้นลักษณะเปนคอกลอมดวยซุงทั้งตน มีปกกาแยกเปนรั้วไปสองขาง รอบเพนียดเปนกําแพงดินประกอบอิฐเสมอยอดเสา ดานหลังคอกตรงขามแนวปกกาเปนพลับพลาที่ประทับซึ่งไดรับการบูรณะเมื่อพ.ศ.๒๕๐๐ และการทองเที่ยวแหงประเทศไทยยังไดสนับสนุนงบประมาณแกกรมศิลปากรในปพ.ศ. ๒๕๓๑ เพื่อบูรณะเพนียดใหอยูในสภาพเดิมอีกดวย วัดหนาพระเมรุ ต้ังอยูริมคลองสระบัวดานทิศเหนือของคูเมือง (เดิมเปนแมน้ําลพบุรี) ตรงขามกับพระราชวังหลวง สรางในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตน พุทธศักราช ๒๐๔๖ มีช่ือเดิมวา “วัดพระเมรุราชิการาม” ที่ต้ังของวัดนี้เดิมคงเปนสถานที่สําหรับสรางพระเมรุถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระมหากษัตริยพระองคใดพระองคหนึ่งสมัยอยุธยาตอนตนตอมาจึงไดสรางวัดขึ้น มีตํานานเลาวาพระองคอินทรในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ทรงสรางวัดนี้เมื่อพ.ศ.๒๐๔๖ วัดนี้มีความสําคัญทางประวัติศาสตร สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเมื่อครั้งทําศึกกับพระเจาบุเรงนองไดมีการทําสัญญาสงบศึกเมื่อพ.ศ.๒๑๐๖ไดสรางพลับพลาที่ประทับขึ้นระหวางวัดหนาพระเมรุกับวัดหัสดาวาส วัดนี้เปนวัดเดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ไมไดถูกพมาทําลายและยังคงปรากฏสถาปตยกรรมแบบอยุธยาอยูในสภาพสมบูรณมากที่สุดในจงัหวัดพระนครศรีอยุธยา พระอุโบสถมีขนาดยาว ๕๐ เมตร กวาง ๑๖ เมตรเปนแบบอยุธยาตอนตนซึ่งมีเสาอยูภายใน ตอมาสรางขยายออกโดยเพิ่มเสารับชายคาภายนอกในรัชสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ หนาบันเปนไมสักแกะสลักเปนรูปพระนารายณทรงครุฑเหยียบเศียรนาคและมีรูปราหูสองขางติดกับเศียรนาค หนาตางเจาะเปนชองยาวตามแนวตั้ง เสาเหลี่ยมสองแถวๆละแปดตน มีบัวหัวเสาเปนบัวโถแบบอยุธยา ดานบนประดับดวยดาวเพดานเปนงานจําหลักไมลงรักปดทอง สวนลายแกะสลักบานประตูพระวิหารนอย เปนลายแกะสลักดวยไมสักหนา แกะสลักจากพื้นไมไมมีการนําช้ินสวนที่อื่นมาติดตอเปนลายซอนกันหลายชั้น พระประธานในอุโบสถสรางปลายสมัยอยุธยาเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัยหลอดวยทองสัมฤทธิ์ทรงเครื่องแบบกษัตราธิราช มีนามวา“พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ” จัดเปนพระพุทธรูปทรงเครื่องสมัยอยุธยาที่มีขนาดใหญที่สุดเทาที่มีปรากฏอยูในปจจุบันและมีความสมบูรณงดงามมากสูงประมาณ ๖ เมตรหนาตักกวางประมาณ ๔.๔๐ เมตร ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แหงกรุงรัตนโกสินทรไดมีการปฏิสังขรณวัดนี้โดยรักษาแบบอยางเดิมไวและไดเชิญพระพุทธรูปศิลาสีเขียวหรือพระคันธารราฐประทับนั่งหอยพระบาทสมัยทวาราวดีจากวัดมหาธาตุมาไวในวิหารสรรเพชญ(หรือเรียกวา วิหารนอยเพราะขนาดวิหารเล็ก มีความยาว ๑๖ เมตร กวางประมาณ ๖ เมตร) ซึ่งอยูขางพระอุโบสถ พระพุทธรูปศิลาแบบนั่งหอยพระบาทสมัยทวาราวดีนี้ นับเปน ๑ ใน ๕ องคที่มีอยูในประเทศไทย จึงนับเปนสิ่งที่มีคาควรแกการเก็บรักษาไว พระอุโบสถเปดเวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. วัดกุฎีดาว อยูหนาสถานีรถไฟ ฝงตะวันออก เปนวัดเกาแก ฝมือการสรางงดงามยิ่ง เห็นไดจากซากอาคาร เสาบัวและยอดพระเจดียที่หักโคนลงมา แมจะปรักหักพังไปหมดแลว แตยังคงสะทอนใหเห็นถึงความงดงามในอดีต ปจจุบันเปนวัดรางไมปรากฏแนชัดวาใครเปนผูสราง วัดสมณโกฏฐาราม สันนิษฐานวาสรางในสมัยอยุธยาตอนตน และปฏิสังขรณขึ้นใหมในสมัยอยุธยาตอนปลายโดยเจาพระยาโกษา(เหล็ก) และเจาพระยาโกษา(ปาน) อาจเปนในชวงสมัยของสมเด็จพระนารายณมหาราช “ในจดหมายเหตุของแกมเฟอร แพทยชาวเยอรมันที่ทํางานในบริษทัอีสตอินเดียของฮอลันดาเดินทางเขามากรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา ไดบันทึกไววา หางจากตัวเมืองไปทางตะวันออกมีวัดที่มีช่ือเสียงแหงหนึ่งเรียกวา วัดพระยาคลัง แผนผังที่นายแกมเฟอรเขียนประกอบไวปรากฏวาเปนวัดสมณโกฏฐารามและวัดกุฎีดาว และยังระบุวาสมเด็จพระเพทราชาไดเสด็จไปที่วัดนี้เพื่อราชทานเพลิงศพเจาแมดุสิตซึ่งเปนมารดาของเจาพระยาโกษา(เหล็ก) และเจาพระยาโกษา(ปาน) และยังเปนพระแมนมของสมเด็จพระนารายณมหาราชเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ” สิ่งที่นาสนใจภายในวัดไดแก พระอุโบสถ เปนพระอุโบสถสมัยอยุธยากออิฐถือปูน มีประตูเขาออกทางดานขาง ๔ ดาน ภายในพระอุโบสถมีหลังคาตอเปนโครงไมแบบหนาจั่ว ประดิษฐานพระประธาน กวางประมาณ ๓.๕ เมตร ทางดานทิศตะวันออกมีวิหารขนาดใหญ วัดนี้มี พระปรางค องคใหญรูปทรงสัณฐานแปลกตากวาแหงอื่น

Page 17: พระนครศรีอยุธยา

17

เขาใจวาเลียนแบบเจดียเจ็ดยอดของเชียงใหม เปนพระปรางคที่สรางบนเจดียองคเดิม มีมุขยื่นออกไปทางทิศตะวันออก มีบันไดทางขึ้นสูลานประทักษิณ ๒ ทาง สันนิษฐานวา พระปรางคองคนี้สรางขึ้นในราวสมัยอยุธยาตอนกลาง นอกจากนี้ยังมี เจดียระฆัง ขนาดใหญต้ังอยูระหวางพระปรางคและพระอุโบสถ สันนิษฐานวานาจะมีมาแตแรกเริ่มการสรางวัดตามลักษณะของเจดียและลวดลายที่ประดับอยูบนบัลลังก ซึ่งโบราณสถานเหลานี้ไดสรางทับรากฐานอาคารเดิมอันเปนงานที่สรางขึ้นในสมัยอยุธยาตอนตน วัดใหญชัยมงคล เดิมช่ือวัดปาแกวหรือวัดเจาพระยาไท ต้ังอยูทางฝงตะวันออกของแมน้ําปาสัก จากกรุงเทพฯเขาตัวเมืองอยุธยาแลวจะเห็นเจดียวัดสามปลื้ม(เจดียกลางถนน) ใหเลี้ยวซายตรงไปประมาณ ๑ กิโลเมตร จะเห็นวัดใหญชัยมงคลอยูทางซายมือ วัดนี้ตามขอมูลประวัติศาสตรสันนิษฐานวาพระเจาอูทองทรงสรางขึ้นเมื่อพ.ศ.๑๙๐๐ สําหรับเปนสํานักของพระสงฆซึ่งไปบวชเรียนมาแตสํานักพระวันรัตนมหาเถรในประเทศลังกา คณะสงฆที่ไปศึกษาพระธรรมวินัยเรียกนามนิกายในภาษาไทยวา “คณะปาแกว” วัดนี้จึงไดช่ือวา วัดคณะปาแกว ตอมาเรียกใหสั้นลงวา “วัดปาแกว” ตอมาคนเลื่อมใสบวชเรียนพระสงฆนิกายนี้ พระราชาธิบดีจึงตั้งอธิบดีสงฆนิกายนี้เปนสมเด็จพระวันรัตนมีตําแหนงเปนสังฆราชฝายขวาคูกับพระพุทธโฆษาจารยเปนอธิบดีสงฆฝายคันถธุระมีตําแหนงเปนสังฆราชฝายซาย หลังจากนั้นไดเปลี่ยนช่ือเปน“วัดเจาพระยาไท”สันนิษฐานวามาจากที่สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสรางวัดปาแกวขึ้น ณ บริเวณที่ซึ่งไดถวายพระเพลิงพระศพของเจาแกวเจาไทหรืออาจมาจากการที่วัดนี้เปนที่ประทับของพระสงัฆราชฝายขวา ซึ่งในสมัยโบราณเรียกพระสงฆวา “เจาไท” ฉะนั้นเจาพระยาไทยจึงหมายถึงตําแหนงพระสังฆราช ในปพ.ศ. ๒๑๓๕ เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทําศึกยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชแหงพมาที่ตําบลหนองสาหราย เมืองสุพรรณบุรี ทรงสรางพระเจดียใหญขึ้นที่วัดนี้เปนอนุสรณแหงชัยชนะ การสรางพระเจดียอาจสรางเสริมพระเจดียเดิมที่มีอยูหรืออาจสรางใหมทั้งองคก็ได ไมมีหลักฐานแนนอน ขนานนามวา “พระเจดียชัยมงคล”แตราษฎรเรียกวา “พระเจดียใหญ” ฉะนั้นนานวันเขาวัดนี้จึงเรียกช่ือเปน“วัดใหญชัยมงคล” วัดนี้รางไปเมื่อคราวเสียกรุงครั้งสุดทาย และเพิ่งจะตั้งขึ้นเปนวัดที่มีพระสงฆอยูจําพรรษาเมื่อไมนานมานี้ นอกจากนี้ยังมี วิหารพระพุทธไสยาสน สรางในสมัยสมเด็จพระนเรศวร เพื่อเปนที่ถวายสักการะบูชาและปฏิบัติพระกรรมฐาน ปจจุบันมีการสรางพระตําหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีผูนิยมไปนมัสการอยางสม่ําเสมอเปนจํานวนมาก วัดพนัญเชิงวรวิหาร ต้ังอยูในทองที่ตําบลคลองสวนพลู ริมแมน้ําปาสักทางทิศใตฝงตรงขามของเกาะเมือง หางจากตัวเมืองราว ๕ กิโลเมตร หรือเมื่อออกจากวัดใหญชัยมงคล ใหเลี้ยวซายตรงไปตามถนนประมาณ ๑ กิโลเมตร ก็จะเห็นวัดพนัญเชิงอยูทางขวามือ วัดพนัญเชิงเปนพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรวิหาร แบบมหานิกาย เปนวัดที่มีมากอนการสรางกรุงศรีอยุธยา ไมปรากฏหลักฐานวาใครเปนผูสราง ตามพงศาวดารเหนือกลาววา พระเจาสายน้ําผึ้งซึ่งครองเมืองอโยธยาเปนผูสรางขึ้นตรงที่พระราชทานเพลิงศพพระนางสรอยดอกหมาก และพระราชทานนามวัดวา “วัดพระเจาพระนางเชิง”(หรือวัดพระนางเชิง) พระวิหารเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดใหญ ตามพงศาวดารกลาววาสรางเมื่อพ.ศ.๑๘๖๗ กอนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ๒๖ ปเดิมช่ือ “พระพุทธเจาพนัญเชิง”(พระเจาพะแนงเชิง) แตในรัชกาลที่ ๔ เมื่อมีการบูรณะปฏิสังขรณพระพุทธรูปองคนี้ไดพระราชทานนามใหมวา “พระพุทธไตรรัตนนายก” (ชาวบานนิยมเรียกหลวงพอโต ชาวจีนนิยมเรียกวาซําปอกง ผูคุมครองการเดินทางทางทะเล)เปนพระพุทธรูปปูนปนศิลปะแบบอูทองปางมารวิชัยลงรักปดทอง มีขนาดหนาตักกวาง ๑๔ เมตรและสูง ๑๙.๑๓ เมตร ฝมือปนงดงามมาก เบื้องหนามีตาลปตรหรือพัดยศและพระอัครสาวกที่ทําดวยปูนปนลงรักปดทองประดิษฐานอยูเบื้องซายและขวา อาจนับไดวาเปนพระพุทธรูปนั่งสมัยอยุธยาตอนตนที่มีขนาดใหญมากที่สุดที่เหลืออยูในปจจุบัน เปนที่เคารพสักการะของชาวจังหวัดอยุธยาและจังหวัดใกลเคียง เขาใจวาเมื่อสรางพระองคใหมเสร็จแลวจึงสรางพระวิหารหลวงขึ้นคลุมอีกทีหนึ่ง ตามตํานานกลาววา เมื่อคราวพระนครศรีอยุธยาจะเสียกรุงแกขาศึกนั้น พระพุทธรูปองคนี้มีน้ําพระเนตรไหลออกมาทั้งสองขาง สวนในพระวิหาร เสาพระวิหารเขียนสีเปนลายพุมขาวบิณฑกานแยงสีแดงที่หัวเสามีปูนปนเปนบัวกลุมที่มีกลีบซอนกันหลาย

Page 18: พระนครศรีอยุธยา

18

ช้ัน ผนังทั้งสี่ดานเจาะเปนซุมเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดเล็กโดยรอบจํานวน ๘๔,๐๐๐ องคเทากับจํานวนพระธรรมขันธตามความเชื่อทางพุทธศาสนา สวนประตูทางเขาดานหนาซึ่งอยูทางทิศตะวันออก เปนบานประตูไมแกะสลักลอยตัวเปนลายกานขดยกดอกนูนออกมา เปนลักษณะของศิลปะอยุธยาที่งดงามมากแหงหนึ่ง พระอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธรูป ๕ องค ศิลปะสุโขทัย วิหารเซียน อยูดานหนาของพระวิหารหลวงเปนอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งแตเดิมมีภาพจิตรกรรมเขียนไวบนผนังทั้งสี่ดาน แตถูกโบกปูนทับไปแลวเมื่อคราวบูรณะปฏิสังขรณ ขางในพระวิหารหลังนี้ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปนศิลปะแบบอยุธยา ศาลาการเปรียญ หลังเกายายจากริมแมน้ํามาอยูดานหลังของวัด เปนศาลาทรงไทยสรางดวยไม หนาบันประดับชอฟาใบระกา หางหงส บริเวณคอสอง(ขื่อ) ดานในศาลามีภาพเขียนสีบนผาเปนภาพพุทธประวัติอยูโดยรอบ มีตัวอักษรเขียนไววาภาพเขียนสีนี้เขียนขึ้นเมื่อปพ.ศ. ๒๔๗๒ ภายในศาลามีธรรมาสนอยู ๑ หลังสลักลวดลายสวยงามเปนศิลปะแบบรัตนโกสินทร ภายในวัดพนัญเชิงยังจะพบ ตึกเจาแมสรอยดอกหมาก ต้ังอยูริมแมน้ําปาสัก กอสรางเปนตึกแบบจีนเปนที่ประดิษฐานรูปปนเจาแมสรอยดอกหมากในเครื่องแตงกายแบบจีน ชาวจีนเรียกวา “จูแซเนี๊ย” เปนที่เคารพนับถือของชาวจีนทั่วไป สําหรับชาวตางประเทศเสียคาเขาชมคนละ ๒๐ บาท หมูบานโปรตุเกส ต้ังอยูที่ตําบลสําเภาลม บริเวณริมฝงแมน้ําเจาพระยาทางทิศตะวันตก อยูทางใตของตัวเมือง ชาวโปรตุเกสเปนชาวยุโรปชาติแรกที่เขามาติดตอคาขายกับกรุงศรีอยุธยาเมื่อปพ.ศ. ๒๐๕๔ โดยอัลฟองโซ เดอ อัลบูเคอรก ผูสําเรจ็ราชการของโปรตุเกส ประจําเอเซีย ไดสงนายดูอารเต เฟอรนันเดส เปนทูตเขามาเจริญสัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แหงกรุงศรีอยุธยา ชาวโปรตุเกสเขามาตั้งหลักแหลงคาขายและเปนทหารอาสาในกองทัพกรุงศรีอยุธยา สรางโบสถขึ้นเพื่อเผยแพรศาสนาและเปนศูนยกลางของชุมชน ปจจุบันบริเวณนี้ยังมีรองรอยซากสิ่งกอสรางปรากฏใหเห็นคือ โบราณสถานซานเปโตรหรือเรียกในสมัยอยุธยาวาโบสถเซนตโดมินิค เปนโบสถในคณะโดมินิกัน นับเปนโบสถแหงแรกที่สรางขึ้นในแผนดินไทยเมื่อปพ.ศ. ๒๐๘๓ ต้ังอยูในบริเวณเกือบก่ึงกลางหมูบานโปรตุเกส มีเนื้อที่ประมาณ ๒,๔๐๐ ตารางเมตร ยาวตามแนวทิศตะวันออกไปตะวันตกหันหนาสูแมน้ําเจาพระยา ตัวอาคารแบงออกเปนสามสวน คือ สวนหนาเปนสุสาน ของชาวคาทอลิคคณะโดมินิกัน สวนกลางใชประกอบพิธีทางศาสนาและฝงศพบาทหลวง สวนในดานหลงัเและดานขางเปนที่พักอาศัยและมีการขุดคนพบโบราณวัตถุที่สําคัญไดแก โครงกระดูกมนุษย กลองยาสูบ เหรียญกษาปณ เครื่องปนดินเผา เครื่องประดับกําไลแกวและเครื่องประกอบพิธีทางศาสนาเชน ไมกางเขน เหรียญรูปเคารพในศาสนา ลูกประคํา ในสวนของสุสาน พบโครงกระดูกจํานวนมากมายถึง ๒๕๔ โครง ฝงเรียงรายอยางเปนระเบียบและทับซอนกันหนาแนนทั้งภายในและภายนอกอาคาร จากแนวโครงกระดูกที่พบแบงขอบเขตสุสานออกเปน ๓ สวน สวนในสุดกลางตัวอาคารที่เปนฐานโบสถ อาจเปนโครงกระดูกของบาทหลวงหรือนักบวช ถัดมาสวนที่สองสวนนี้อาจเปนผูมีฐานะทางสังคมในคายโปรตุเกสสูงกวาคนธรรมดาทั่วไป สวนที่สามนอกแนวฐานโบสถมีการฝงซอนกันมากถึง ๓-๔ โครง โครงกระดูกเหลานี้มีทั้งที่อยูในสภาพสมบูรณและบางสวนชํารุด จากหลักฐานเอกสารประวัติศาสตร กลาวถึงการเกิดโรคระบาดรายแรงในปลายแผนดินพระเพทราชาเมื่อปพ.ศ. ๒๒๓๙ มีผูคนลมตายมาก และในปพ.ศ. ๒๒๕๕ ในสมัยพระเจาอยูหัวทายสระก็เกิดโรคระบาดอีกครั้งมีผูคนลมตายมาก อาจเปนเหตุใหมีการขยายสุสานออกมาจากเดิม วัดตูม ต้ังอยูบริเวณริมคลองวัดตูม ถนนอยุธยา-อางทอง หางจากตัวเมืองอยุธยา ประมาณ ๖-๗ กิโลเมตร ในทองที่ตําบลวัดตูม มีเนื้อที่ประมาณ ๑๕ ไรเศษ วัดนี้ไมปรากฏหลักฐานวาสรางตั้งแตเมื่อไร ใครเปนผูสราง ทราบกันแตเพียงวาเปนวัดโบราณตั้งแตสมัยเมืองอโยธยา กอนที่จะตั้งกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี วัดนี้คงเปนวัดรางมาครั้งหนึ่งเมื่อคราวเสียกรุงในป พ.ศ. ๒๓๑๐ ครั้นถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทรในรัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ไดมีผูปฏิสังขรณขึ้นอีกและเปนวัดที่พระสงฆอยูจําพรรษามาจนทุกวันนี้ วัดตูมนี้เปนที่สําหรับลงเครื่องพิชัยสงครามแตดั้งเดิมมาคงเปนแตแรกตั้งกรุงอโยธยาตลอดจนถึงทุกวันนี้ไมตํ่ากวา ๑,๐๐๐ ป สิ่งที่นาสนใจภายในวัดไดแก พระพุทธรูปซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ พระเศียรตอนเหนือพระนลาฎ (หนาผาก) เปดออกไดและพระเกศมาลาถอด

Page 19: พระนครศรีอยุธยา

19

ได ภายในพระเศียรเปนบอกวางลึกลงไปเกือบถึงพระศอ มีน้ําไหลซึมออกมาตลอดเวลาเหมือนหยาดเหงื่อ เปนน้ําใสเย็นบริสุทธิ์ปราศจากมลทิน สามารถรับประทานไดโดยปราศจากอันตรายใดๆ และไมแหงขาดหาย พระพุทธรูปองคนี้เปนพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ทรงเครื่อง ปางมารวิชัย นามเดิมของทานคือ “หลวงพอทองสุขสัมฤทธิ์” เรียกกันเปนสามัญวา “หลวงพอสุข” หนาตักกวาง ๘๗ เซนติเมตร สูง ๑.๕๐ เมตร สรางสมัยใดไมปรากฎตํานาน เปนพระทรงเครื่องแบบมหาจักรพรรดิ์ราชาอธิวาสสวมมงกุฎ มีกุณฑลทับทรวง สังวาลพาหุรัดประดับดวยเนาวรัตน ประทับนั่งขัดสมาธิ พระพุทธรูปองคนี้จะเปดเศียรพระทุกวันที่ ๑ ของเดือน วัดธรรมิกราช เปนวัดสงฆมหานิกาย เดิมช่ือวัดมุขราช เมื่อพระเจาสายน้ําผึ้งสรางวัดพนัญเชิงนั้น พระราชโอรส คือ พระเจาธรรมิกราชโปรดใหสรางวัดนี้ขึ้นที่บริเวณเมืองเกาช่ือเมืองสังขบุรี กอนสรางกรุงศรีอยุธยา พระมหากษัตริยองคตอมาไดทรงบูรณะมาโดยตลอด ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงธรรม (พ.ศ.๒๑๕๓) ทรงบูรณะวัดและสรางวิหารหลวงเพื่อฟงธรรมในวันธรรมสวนะและที่วิหารหลวงแหงนี้เคยเปนที่ประดิษฐานของเศียรพระพุทธรูปหลอสัมฤทธิ์ศิลปะสมัยอูทองปจจุบันกรมศิลปากรนําไปไวที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา สําหรับวิหารพระพุทธไสยาสนนั้น พระราชมเหสีของพระองคทรงสรางพระวิหารถวายตามคําอธิษฐานที่ขอใหพระราชธิดาทรงหายประชวร ไวทางหนาประตูดานทิศเหนือของพระเจดียสิงหลอม ๕๒ ตัวที่แตกตางไปจากเจดียชางลอม พระพุทธไสยาสนมีความยาว ๑๒ เมตร หันพระพักตรไปทางทิศเหนือ ที่ฝาพระบาทปดทองประดับกระจก พิพิธภัณฑเรือไทย เปนพิพิธภัณฑเรือของเอกชนตั้งอยูบริเวณฝงตรงขามกับวัดมหาธาตุ ถนนบางเอียน ภายในบริเวณบานพักของอาจารยไพฑูรย ขาวมาลาผูมีความรักและผูกพันกับเรือและน้ํามาตั้งแตเด็ก ทานมีความคิดที่จะอนุรักษเพื่อใหเยาวชนไดเห็นถึงภูมิปญญาชาวบาน พิพิธภัณฑแหงนี้เปนบานทรงไทยขนาดใหญไมสักฝาเฝยม ช้ันลาง จัดแสดงเรือจําลองตางๆ เรือพระราชพิธี โดยตอขึ้นตามแบบเรือจริงทุกประการ ปจจุบันมีผลงานนับรอยลําตั้งแตเรือเดินสมุทรไปจนถึงเรือแจวลําเล็กๆและมีสวนที่จัดแสดงเรือไทยพื้นบานนานาชนิดหลายรูปแบบที่ปจจุบันหาดูไดยากตามแมน้ําลําคลอง เปดใหผูสนใจเขาชมทุกวันในบรรยากาศที่อบอุนเปนกันเอง ต้ังแตเวลา ๐๘.๐๐–๑๗.๐๐ น. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. ๐ ๓๕๒๔ ๑๑๙๕ อําเภอบางไทร ศูนยศิลปาชีพบางไทร ประวัติความเปนมา พระราชกรณียกิจที่สําคัญอยางหนึ่งของสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ คือการเสด็จพระราชดําเนินตามพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไปทรงเยี่ยมราษฎรในทุกแหงหน ทั่วทุกภาคของประเทศไทยพระราชกรณียกิจนี้ ไดทรงปฏิบัติติดตอกันมานานนับเปนระยะเวลาหลายสิบปแลว จึงทําใหทรงเห็นสภาพความเปนอยูที่แทจริงของราษฎรวามีความทุกขสุขอยางไร ที่ทรงเปนหวงมากก็คือ ความยากจนของราษฎรจึงทรงมีพระราชประสงคจะจัดหาอาชีพใหราษฎรทํา เพื่อเพิ่มพูนรายไดใหเพียงพอแกการยังชีพ ในภาวะปจจุบัน สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถทรงสนพระทัยในงานฝมือพ้ืนบานหรือศิลปกรรมพื้นบานที่จัดทําขึ้นโดยใชวัสดุในทองถิ่นมาก พระองคจึงสงเสริมในเรื่องนี้โดยการจัดใหมีครูออกไปฝกสอนราษฎรเปนการชวยปรับปรุงคุณภาพ ของงานใหดียิ่งขึ้น เมื่อราษฎรมีความชํานาญแลวผลงานที่ผลิตออกมา ก็จะทรงรับซื้อไวดวยพระราชทรัพยสวนพระองค ซึ่งงานนี้ตอมาไดขยายออกเปน มูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฏาคม ๒๕๑๙ และไดทรงจัดตั้งโรงฝกอบรมศิลปาชีพขึ้นแหงแรกที่พระตําหนักสวนจิตรลดา ในวันฉัตรมงคลป ๒๕๒๓ สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯใหนายธานินทร กรัยวิเชียร รองประธานกรรมการมูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพฯ สรรหาที่ดินที่ใกลเคียงกับพระราชวังบางปะอินเพื่อจัดตั้งศูนยศิลปาชีพอีกแหงหนึ่ง นายธานินทร กรัยวิเชียร จัดหาที่ดินได ๒ แปลง เปนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงกรุณา โปรดเกลาฯ พระราชทานใหรัฐบาลจัดการปฏิรูปที่ดินเพื่อใหราษฎรผูยากไรไดมีที่อยูและทํามาหากินตามอัตภาพ แปลงหนึ่งอยูที่อําเภอบานนา จังหวัดนครนายก อีกแปลง

Page 20: พระนครศรีอยุธยา

20

หนึ่งอยูที่ อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลนเกลาฯ ทั้งสองพระองคไดเสด็จพระราชดําเนินไปทอดพระเนตรที่ดินแปลงที่อยูที่อําเภอบางไทรดวยพระองคเอง ซึ่งที่ดินแปลงนี้มีพ้ืนที่ทั้งหมดประมาณ ๗๕๐ไรเศษ และทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยวาสมควรจะสรางศูนยศิลปาชีพ ณ ที่นี้ วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๒๓ รัฐบาลไดนอมเกลาฯ ถวายที่ดินแปลงนี้แดสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๔ รอบ และรัฐบาลยังไดมีมติใหหนวยราชการตาง ๆ สนับสนุนโครงการของศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ ซึ่งสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงจัดตั้งขึ้นโดยมอบหมายใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมเปนผูรับผิดชอบในดานการดูแลสถานที่และการฝกอบรม และมีหนวยทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค มาชวยดูแลในดานการรักษาความสงบเรียบรอย และประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ ในการจัดฝกอบรมศิลปาชีพเรื่อยมา และมีการซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก ๒๐๐ ไรเศษ รวมเปนเนื้อที่ของศูนยฯ ทั้งหมดเกือบ ๑,๐๐๐ ไรในปจจุบัน สมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จพระราชดําเนินเปดศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ อยางเปนทางการ เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๒๗ สิ่งที่นาสนใจ

ศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ ต้ังอยูริมแมน้ําเจาพระยาในเขตอําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเนื้อที่ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร ภายในศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ ประกอบดวยสถานที่และสิ่งที่นาสนใจหลายแหงอาทิ

ศาลาพระมิ่งขวัญ เปนอาคารทรงไทยประยุกต จตุรมุขสูง ๔ ช้ัน ต้ังตระหงานอยูกลางศูนยศิลปาชีพบางไทร ช้ันลาง เปนศูนยสาธิตและจําหนายผลิตภัณฑศิลปาชีพ ของศนูยศิลปาชีพบางไทรฯ และศูนยศิลปาชีพอื่น ๆ ทั่วประเทศ ช้ันที่ ๒ และ ช้ันที่ ๓ เปนนิทรรศการผลิตภัณฑศิลปาชีพช้ินยอดเยี่ยมของศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ ช้ันที่ ๔ เปนหองประชุมสัมนา เปดใหชมทุกวัน วันธรรมดา ๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. วันหยุดราชการ ๐๙.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. ไมเสียคาเขาชม

หมูบานศิลปาชีพ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ไดใหการสนับสนุนหมูบานแหงนี้ใหแกศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ เพื่อเปนสถานที่แสดงถึงสถาปตยกรรม ในการสรางบานเรือนของคนไทยภาคตาง ๆ การจําลองชีวิตความเปนอยู ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมไทยจากทั่วประเทศ ภายในหมูบานมีการสาธิตวิถีชีวิตความเปนอยูอยางไทย ๆ ในแตละภาค และการสาธิตงานศิลปาชีพ เปดใหชมทุกวัน ต้ังแตเวลา ๐๘.๓๐ - ๑๗.๐๐ น. ในวันเสาร-อาทิตย เวลา ๐๙.๐๐ -๑๙.๐๐ น. นอกจากนี้ยังมีการแสดงนาฏศิลป และการละเลนพื้นบานทั้ง ๔ ภาคใหชมดวยในวันเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษวันละ ๑ รอบ ระหวางเวลา ๑๖.๓๐ -๑๗.๓๐ น.

นอกจากนี้หมูบานศิลปาชีพบางไทรยังมีความยินดีที่จะนําเสนอพิธีมงคลสมรสแบบประเพณีไทยโบราณภาคกลางโดยกัดกิจกรรมตามประเพณีไทยสมบูรณแบบ เชน พิธสีงฆ ขบวนแหขันหมาก พิธีหล่ังน้ําสังข ตกแตงสถานที่ เสียงดนตรี - เพลงบรรเลงตลอดงาน อาหารและน้ําดื่มแขกญาติ ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หมูบานศิลปาชีพ ๐ ๓๕๓๖ ๖๖๖๖-๗, ๐ ๙๑๓๒ ๐๓๐๓ (คุณอัจฉรา)

อาคารฝกอบรมศิลปาชีพ ต้ังอยูบริเวณใจกลางของศูนยฯประกอบดวยอาคารฝกอบรมศิลปาชีพของแผนกตาง ๆ ปจจุบันทางศูนยไดเปดอบรมศิลปาชีพดานหัตถกรรมพื้นบานและอาชีพเสริมใหกับเกษตรกรจากทุกภูมิภาคของประเทศรวมทั้งสิ้น ๒๙ แผนกซึ่งนักทองเที่ยวสามารถเขาไปชมวิธีการฝกอบรมศิลปาชีพของศูนยฯไดทุกขั้นตอนและการผลิตงาน ศิลปาชีพ ที่มีความประณีตวิจิตรซึ่งตองใชเวลาอันยาวนานเพื่อใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ เปดใหชมทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ยกเวนชวงที่ปดรุนการฝกอบรม

พระโพธิสัตวกวนอิมพันพระหัตถ นายถู เจี๋ย ในนามของประชาชนชาวจีน ไดนอมเกลาฯ ถวายพระรูปพระโพธิสัตวกวนอิม พันพระหัตถซึ่งแกะสลักจากไม จันทนเหลือง สูง ๖ เมตร จํานวน ๑ องค แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ และทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ ใหนํามาประดิษฐานไว

Page 21: พระนครศรีอยุธยา

21

ณ พระตําหนักช่ัวคราว ศาลาโรงชาง ศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ เพื่อใหประชาชนที่มีจิตเลื่อมใสศรัทธาในพระโพธิสัตวกวนอิม ไดมานมัสการ และสักการะบูชา ไดทุกวัน ต้ังแตเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.

พระตําหนัก เปนเรือนไทยภาคกลางใตถุนสูงสรางโดยวัสดุที่หาไดงายในทองถิ่นมีความสวยงามตามแบบฉบับเรือนไทยดั้งเดิม พระตําหนักนี้สรางขึ้นเพื่อเปนที่ประทับพักผอนของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระ บรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจาลูกเธอทุกพระองค พระตําหนักนี้แวดลอม ไปดวยไมดอกไมประดับและน้ําตกจําลองที่สวยงาม

วังปลา จัดสรางและดําเนินงานโดยกรมประมง เปนสถานแสดงพันธุสัตวน้ําจืด ตัวอาคารหลักมีตูกระจกขนาดใหญ จํานวน ๒ ตู ตูใหญรูปเมล็ดถั่วมีขนาดความจุ ๑,๔๐๐ ตัน อีกตูหนึ่งทรงกลมขนาดความจุ ๖๐๐ ตัน ภายในตูจะแสดงใหเห็นถึงการอยูอาศัยรวมกันของปลาน้ําจืดชนิดตาง ๆ ที่เปนปลาพื้นเมืองของไทย เปดใหชม เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ปดทุกวันจันทรและวันอังคาร

สวนนก ดําเนินงานโดยมูลนิธิคุมครองสัตวปา และพรรณพืชแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ สวนนกเปนกรงนกขนาดใหญ ๒ กรง ภายในมีนกพันธุที่หาชมไดยากมากกวา ๓๐ ชนิด มีการจัดสภาพแวดลอมภายในใหเหมือนธรรมชาติ อาทิ น้ําตกและธารน้ําจําลอง มีปาจําลองที่รมรื่นใกลเคียงกับธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีสะพานแขวนใหนักทองเที่ยวเดินขึ้น ไปชม และถายภาพนกจากดานบนของกรงไดอยางชัดเจน และบริเวณรอบ ๆกรงนกยังมีสัตวปาอื่น ๆ ใหชมอีกดวย เปดใหชมทุกวัน ต้ังแตเวลา ๐๙.๐๐ -๑๙.๐๐ น. คาเขาชม ผูใหญ ๒๐ บาท เด็ก ๑๐ บาท

ศูนยศิลปาชีพบางไทร เปดใหเขาชมวันจันทร-ศุกร เวลา ๐๘.๓๐–๑๗.๐๐ น. วันเสาร อาทิตย วันหยุดนักขัตฤกษ เวลา ๐๘.๓๐–๑๘.๐๐ น. อัตราคาเขาชม ชาวไทย ผูใหญ ๕๐ บาท เด็ก ๒๐ บาท ชาวตางประเทศ ผูใหญ ๑๐๐ บาท เด็ก ๕๐ บาท เที่ยวชมภายในหมูบานศิลปาชีพฯ "วังปลา" พิพิธภัณฑปลาน้ําจืดที่ใหญที่สุดในประเทศไทย อาคารฝก อบรมงานศิลปาชีพ "ศาลาพระมิ่งขวัญ" ซึ่งเปนอาคารจําหนายผลิตภัณฑศิลปาชีพของนักเรียนศิลปาชีพ สักการะบูชาพระโพธิสัตวกวนอิมฯ ณ ศาลาโรงชาง และนั่งรถไฟเล็ก ไดโดยไมเสียคาบริการสอบถามรายละเอียดที่ประชาสัมพันธศูนยศิลปาชีพบางไทร โทร. ๐ ๓๕๓๖ ๖๒๕๒-๔, ๐ ๓๕๒๘ ๓๒๔๖-๙ หรือ www.bangsaiarts.com

การเดินทาง

๑. เสนทางที่ ๑ ทางหลวงหมายเลข ๙ (ถ.วงแหวนตะวันตก) จากแยกทางหลวง ๓๔๕ (อ.บางบัวทอง) ซึ่งมาไดจาก จ.สุพรรณบุรี -ตลิ่งชัน หรือปทุมธานี ผานแยกตางระดับสามโคก-ขามสะพานขามแมน้ําเจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถ ตรงจนถึงศูนยฯ

๒. เสนทางที่ ๒ ทางหลวงหมายเลข ๓๐๖ (ถ.ติวานนท) จากหาแยกปากเกร็ด-ผานแยกสวนสมเด็จ-ผานแยกปากคลองรังสิต-ผาน แยกบางพูน-เลี้ยวขวาที่แยกเทคโนฯปทุมธานีเขาทางหลวงหมายเลข ๓๔๗ (ปทุมธานี-บางปะหัน) ผานแยก เชียงรากนอย-เลี้ยวซายทางตางระดับเชียงรากนอยเดินรถทางตรงผานแยกบอสา-กลับรถใตสะพานแมน้ํา เจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถตรงมาจนถึงศูนย

๓. เสนทางที่ ๓ ทางดวนสายปากเกร็ดบางปะอิน-ลงทางดวนบางปะอินตรงผานแยกบอสา-กลับรถใตสะพานแมน้ําเจาพระยา- เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถตรงมาจนถึงศูนยฯ

๔. เสนทางที่ ๔ ทางหลวงหมายเลข ๑ (ถ.พหลโยธิน) จากรังสิตหรือภาคเหนือหรือภาคอีสาน-ผานแยกตางระดับบางปะอิน เขาทางหลวงหมายเลข ๙ (ถ.วงแหวนตะวันตก) -ตรงผานแยกตางระดับเชียงรากนอย- เดินรถทางตรงผานแยกบอสา- กลับรถใตสะพานแมน้ําเจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถตรงมาจนถึงศูนย

Page 22: พระนครศรีอยุธยา

22

๕. เสนทางที่ ๕ ทางหลวงเอเชีย จาก อ.บางปะหัน-อยุธยา มาตามทางหลวงหมายเลข ๓๔๗ (ปทุมธานี-บางปะหัน) -ขามสะพานขามแมน้ําเจาพระยา-แยกตางระดับเชียงรากนอยเลี้ยวขวา-เดินรถทางตรงผานแยกบอสากลับรถใตสะพานแมน้ําเจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถตรงมาจนถึงศูนยฯ

๖. เสนทางที่ ๖ ทางหลวงหมายเลข ๓๓๐๙ (บางปะอินเชียงรากนอย) จากทางหลวงสายเอเชีย หรืออยุธยา ผานหนาโรงงานกระดาษบางปะอิน-ลอดใตสะพานขามแมน้ําเจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกทาน้ําบางไทร- เดินรถตรงมาจนถึงศูนยฯ

อําเภอบางปะอิน พระราชวังบางปะอิน อยูหางจากเกาะเมืองมาทางทิศใตประมาณ ๑๘ กิโลเมตร ประวัติความเปนมาตามพระราชพงศาวดารกลาววา พระเจาปราสาททองเปนผูสรางพระราชวังแหงนี้ เนื่องจากบริเวณเกาะบางปะอินเปนที่ประสูติของพระองคและเปนเคหสถานเดิมของพระมารดาซึ่งเปนหญิงชาวบานที่สมเด็จพระเอกาทศรถทรงพบเมื่อครั้งเสด็จพระราชดําเนินโดยเรือพระที่นั่งแลวเรอืเกิดลมตรงเกาะบางปะอิน พระเจาปราสาททองทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางวัดขึ้นบนเกาะบางปะอินตรงบริเวณเคหสถานเดิมของพระมารดาในปพ.ศ.๒๑๗๕ พระราชทานชื่อวา “วัดชุมพลนิกายาราม” และใหขุดสระน้ําสรางพระราชนิเวศนขึ้นกลางเกาะเปนที่สําหรับเสด็จประพาส แลวสรางพระที่นั่งองคหนึ่งที่ริมสระน้ํานั้นพระราชทานนามวา พระที่นั่งไอศวรรยทิพยอาสน พระราชวังบางปะอินไดรับการบูรณะฟนฟูอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางพระที่นั่งองคหนึ่งสําหรับเปนที่ประทับ มีเรือนแถวสําหรับฝายในและมีพลับพลาริมน้ํา ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ พระองคทรงโปรดเกลาฯใหสรางพระที่นั่งและสิ่งกอสรางตางๆขึ้น ดังที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบันนี้ ซึ่งยังคงใชเปนที่ประทับและตอนรับพระราชอาคันตุกะและพระราชทานเลี้ยงรับรองในโอกาสตางๆเปนครั้งคราว พระราชวังบางปะอินแบงออกเปน ๒ สวนคือ เขตพระราชฐานชั้นนอกและเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นนอกใชเปนที่สําหรับการออกมหาสมาคมและพระราชพิธีตางๆ สวนเขตพระราชฐานชั้นในใชเปนที่ประทับสวนพระองค สิ่งที่นาสนใจในเขตพระราชวังช้ันนอกของพระราชวังบางปะอินมีดังนี้ หอเหมมณเฑียรเทวราช เปนปรางคศิลาจําลองแบบจากปรางคขอม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดใหสรางเมื่อ พ.ศ.๒๔๒๓ เพื่อทรงอุทิศถวายแดพระเจาปราสาททองกษัตริยกรุงศรีอยุธยา ภายในเปนที่ประดิษฐานพระรูปฉลองพระองคสมเด็จพระเจาปราสาททอง พระที่นั่งไอศวรรยทิพยอาสน เปนพระที่นั่งปราสาทโถงทรงจตุรมุขอยูกลางสระน้ํา รูปแบบสถาปตยกรรมแบบไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดใหสรางเมื่อพ.ศ.๒๔๑๙ โดยจําลองแบบมาจากพระที่นั่งอาภรณพิโมกขปราสาทในพระบรมมหาราชวังที่กรุงเทพฯและพระราชทานนาม “ไอศวรรยทิพยอาสน” ตามพระที่นั่งองคแรกซึ่งพระเจาปราสาททองโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้น เดิมพระที่นั่งสรางดวยไมทั้งองค ตอมารัชกาลที่ ๖ ทรงโปรดเกลาฯใหเปลี่ยนเสาและพื้นเปนคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหมด ปจจุบันเปนที่ประดิษฐานพระบรมรูปหลอสัมฤทธิข์องพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวในฉลองพระองคเต็มยศจอมพลทหารบก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางขึ้น พระที่นั่งวโรภาษพิมาน อยูทางตอนเหนือของ “สะพานเสด็จ” รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางขึ้นเมื่อปพ.ศ.๒๔๑๙ เดิมเปนเรือนไมสองชั้นใชเปนที่ต้ังประทับและทองพระโรงรวมกันตอมาโปรดเกลาฯใหรื้อสรางใหมตามแบบสถาปตยกรรมตะวันตก กอดวยอิฐ ทรงวิหารกรีกแบบคอรินเธียรออรเดอร มีมุขตอนหนา ใชเปนทองพระโรงสําหรับเสด็จออกขุนนางในงานพระราชพิธี และเคยเปนที่รับรองแขกเมืองหลายคร้ัง สิ่งที่นาชมภายในพระที่นั่งวโรภาษพิมานไดแก อาวุธโบราณ ตุกตาหินสลักดวยฝมือประณีตและภาพเขียนสีน้ํามันเปนเรื่องราวภาพชุดพระราชพงศาวดาร อีกทั้งภาพวรรณคดีไทยเรื่องอิเหนา พระอภัยมณี สังขทอง และจันทรโครพ ตลอดจนเปนที่เก็บเครื่องราชบรรณาการตางๆ

Page 23: พระนครศรีอยุธยา

23

สภาคารราชประยูร เปนตึกสองชั้นริมน้ํา ตรงขามพระที่นั่งวโรภาษพิมาน สรางเมื่อพ.ศ.๒๔๒๒ ในรัชกาลที่ ๕ สําหรับใชเปนที่ประทับของเจานายฝายหนา และขาราชบริพาร สวนเขตพระราชฐานชั้นในเชื่อมตอกับเขตพระราชฐานชั้นนอกดวยสะพานที่เช่ือมจากพระที่นั่งวโรภาษพิมานกับประตูเทวราชครรไลซึ่งเปนประตูทางเขาพระราชฐาน สะพานนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีแนวฉากคลายบานเกล็ดก้ันกลางตลอดแนวสะพานเพื่อแบงเปนทางเดินของฝายหนาดานหนึ่งและฝายในอีกดานหนึ่งซึ่งฝายในสามารถมองลอดออกมาโดยตัวเองไมถูกแลเห็น บริเวณพระราชฐานชั้นในประกอบดวยที่ประทับ พลับพลาและศาลาตางๆสิ่งที่นาสนใจไดแก พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร อยูทางทิศตะวันออกตรงขามกับสระน้ํา เปนพระที่นั่งเรือนไม สองชั้นตามแบบชาเลตของสวิส คือมีเฉลียงช้ันบนและชั้นลาง ทาสีเขียวออนและสีเขียวแกสลับกัน ภายในประดับตกแตงดวยเครื่องเรือนไมมะฮอกกานีจัดสลับลายทองทับที่สั่งจากยุโรปทั้งสิ้น นอกนั้นเปนสิ่งของหายากในประเทศอันเปนเครื่องราชบรรณาการจากหัวเมืองตางๆ ทั่วราชอาณาเขตรอบๆ มีสวนดอกไมสวยงาม เปนที่นาเสียดายอยางยิ่งที่พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรไดเกิดเพลิงไหมขณะที่มีการซอมแซมเมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ทําใหพระที่นั่งเสียหายไปกับกองเพลิงหมดสิ้นทั้งองคคงเหลือแตหอน้ําลักษณะคลายหอรบของยุโรปเทานั้น ตอมาในปพ.ศ.๒๕๓๑ สํานักพระราชวังไดกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสรางขึ้นใหมตามแบบเดิมทุกประการแตเปลี่ยนวัสดุจากไมเปนอาคารคอนกรีตแทน พระที่นั่งเวหาศนจํารูญ พระที่นั่งองคนี้มีนามเปนภาษาจีนวา “เทียน เมง เตย” (เทียน=เวหา, เมง=จํารูญ,เตย=พระที่นั่ง) พระยาโชดึกราชเศรษฐี(ฟก)เปนนายงานสรางถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวในปพ.ศ.๒๔๓๒ เพื่อเปนพระที่นั่งสําหรับประทับในฤดูหนาว พระที่นั่งนี้เคยใชเปนที่รับรองเจานายตางประเทศในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีลักษณะเปนสถาปตยกรรมแบบจีนมีลวดลายแกะสลักงดงามวิจิตรยิ่ง โถงดานหนาปูดวยกระเบื้องแบบกังไสเขียนดวยมือทุกช้ิน เกงบุปผาประพาส เปนตําหนักเกงเล็กอยูกลางสวนริมสระน้ําในเขตพระราชวังช้ันใน สรางในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อป พ.ศ. ๒๔๒๔ หอวิฑูรทัศนา เปนพระที่นั่งหอสูงยอดมน ต้ังอยูกลางเกาะนอยในสวนเขตพระราชวังช้ันใน ระหวางพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรกับพระที่นั่งเวหาศนจํารูญ เปนพระที่นั่ง ๓ ช้ัน มีบันไดเวียน เปนหอสองกลองชมภูมิประเทศบานเมืองโดยรอบ สรางในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อป พ.ศ. ๒๔๒๔ อนุสาวรียสมเด็จพระนางเจาสุนันทากุมารีรัตน หรือเรียกเปนสามญัวา อนุสาวรียพระนางเรือลม ต้ังอยูทางดานทิศตะวันออกของพระราชวัง กอสรางดวยหินออนกอเปนแทง ๖ เหลี่ยม สูง ๓ เมตร บรรจุพระสริรังคารของสมเด็จพระนางเจาสุนันทากุมารีรัตน พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พรอมทั้งจารึกคําไวอาลัยที่ทรงพระราชนิพนธดวยพระองคเองไวทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อนุสาวรียพระอัครชายาเธอพระองคเจาเสาวภาคยนารีรัตนและเจาฟาสามพระองคหรืออนุสาวรียราชานุสรณ ในปพ.ศ. ๒๔๓๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเศราโศกเสียพระทัยเปนอยางยิ่งอีกครั้งหนึ่ง ดวยทรงสูญเสียพระอัครชายาเธอฯ พระราชโอรส และพระราชธิดาถึง ๓ พระองค ในปเดียวกัน คือ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาสิริราชกกุธภัณฑ เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ พระอรรคชายาเธอพระองคเจาเสาวภาคยนารีรัตน เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาพาหุรัดมณีมัย เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาตรีเพ็ชรุตมธํารง เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๐ ดังนั้นในป พ.ศ. ๒๔๓๑ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางอนุสาวรียที่ระลึกทําดวยหินออนแกะสลักพระรูปเหมือนไวใกลกับอนุสาวรียสมเด็จพระนางเจาสุนันทากุมารีรัตน พระบรมราชเทวี การเดินทาง

Page 24: พระนครศรีอยุธยา

24

รถยนต จากกรุงเทพฯ ใชเสนถนนพหลโยธิน เมื่อถึงประตูน้ําพระอินทรแลวใหขามสะพานวงแหวนรอบนอกจะมีทางแยกโดยใหเลี้ยวซายประมาณบริเวณกิโลเมตรที่ ๓๕ ไปพระราชวังบางปะอินเปนระยะทางประมาณ ๗ กิโลเมตร หรือจะผานเขามายังตัวเมืองอยุธยาพอมาถึงเจดียวัดสามปลื้ม (เจดียกลางถนน) ใหเลี้ยวซายโดยผานวัดใหญชัยมงคล วัดพนัญเชิง ตัวอําเภอบางปะอินพอมาถึงสถานีรถไฟบางปะอินแลวใหเลี้ยวขวาไปตามเสนทางจนถึงพระราชวังบางปะอิน รถโดยสารประจําทาง มีรถโดยสารปรับอากาศกรุงเทพฯ-บางปะอิน ออกจากสถานีขนสงหมอชิต ถนนกําแพงเพชร ๒ ทุกวัน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๒๘๕๒-๖๖ สถานีขนสงอยุธยา โทร.๐ ๓๕๓๓ ๕๓๐๔ หรือ www.transport.co.th รถไฟ สามารถขึ้นรถไฟจากสถานีรถไฟหัวลําโพงมาสถานีรถไฟอําเภอบางปะอิน จากนั้นตอรถสองแถว รถสามลอเครื่อง หรือรถจักรยานยนตไปยังพระราชวังบางปะอิน สอบถามรายละเอยีดเพ่ิมเติมโทร. ๐ ๒๒๒๓ ๗๐๑๐,๐ ๒๒๒๓ ๗๐๒๐, ๐ ๒๒๐ ๔๓๓๔, ๐ ๒๒๒๐ ๔๔๔๔, ๑๖๙๐ สถานีรถไฟอยุธยา โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๑๕๒๐ หรือ www.railway.co.th พระราชวังบางปะอินเปดใหเขาชมทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐–๑๗.๐๐ น. (เปดจําหนายบัตร ๐๘.๐๐–๑๖.๐๐ น.) อัตราคาเขาชม ผูใหญ ๓๐ บาท เด็ก นักเรียน นิสิตนักศึกษา (ในเครื่องแบบ ตองมีบัตรประจําตัวนักศึกษา) ๒๐ บาท พระภิกษุ สามเณร ไมเสียคาเขาชม ชาวตางประเทศ ๑๐๐ บาท นอกจากนี้ยังมีบริการเรือ River Jet ออกจากทาเรือพระราชวังบางปะอิน ลองรอบเกาะวัดนิเวศธรรมประวัติ ใชเวลาประมาณ ๒๕ นาที ระหวางเวลา ๐๙.๐๐-๑๕.๐๐ น. (วันเสาร-อาทิตย ถึง ๑๖.๐๐น. เรือออกทุกช่ัวโมง หยุดวันพุธ-วันพฤหัสบดี) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมติดตอไดที่ สํานักพระราชวังบางปะอิน โทร. ๐ ๓๕๒๖ ๑๐๔๔, ๐ ๓๕๒๖ ๑๕๔๙, ๐ ๓๕๒๖ ๑๖๗๓ วัดนิเวศธรรมประวัติ ต้ังอยูบนเกาะกลางแมน้ําเจาพระยาฝงตรงขามกับพระราชวังบางปะอิน หลังจากเที่ยวชมพระราชวังบางปะอิน นักทองเที่ยวสามารถนั่งกระเชาขามแมน้ําไปเยี่ยมชมวัดนี้ได พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดใหสรางวัดนี้เมื่อพ.ศ.๒๔๑๙ เพื่อใชเปนที่ทรงบําเพ็ญพระราชกุศลตางๆ ขณะเสด็จประทับที่พระราชวังบางปะอิน วัดนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีการตกแตงเปนแบบตะวันตกพระอุโบสถคลายกับโบสถฝรั่งในศาสนาคริสต มีหลังคายอดแหลมและชองหนาตางเจาะโคงแบบโกธิค ผนังอุโบสถเหนือหนาตางดานหนาพระประธานประดับกระจกสีเปนพระบรมฉายาลักษณของรัชกาลที่ ๕ ฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธาน “พระพุทธนฤมลธรรโมภาส”ทําเหมือนที่ต้ังไมกางเขนในโบสถคริสตศาสนา ดานขวามือของพระอุโบสถนั้นมีหอประดิษฐานพระคันธารราฐซึ่งเปนพระพุทธรูปยืนปางขอฝน ตรงขามกับหอพระคันธารราฐเปนหอประดิษฐานพระพุทธรูปศิลาเกาแกปางนาคปรกอันเปนพระพุทธรูปสมัยลพบุรีฝมือชางขอมอายุเกานับพันป พระนาคปรกนี้อยูติดกับตนพระศรีมหาโพธิ์ใหญที่แผก่ิงไปทั่วบริเวณหนาพระอุโบสถ ถัดไปไมไกลนักมีสวนหิน“ดิศกุลอนุสรณ”ซึ่งรวบรวมหินชนิดตางๆ เชน หินปูน หินทราย หินกรวด หินชนวน และยังเปนสถานที่บรรจุอัฐิของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และอัฐิของเจาจอมมารดาชุม พระสนมเอกในรัชกาลที่ ๔ ซึ่งเปนพระมารดาของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และมีอัฐิของเจานายราชสกุลดิศกุลอีกหลายองค วัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร อยูบริเวณหัวเกาะตรงสะพานขามไปยังสถานีรถไฟบางปะอิน ตําบลบางเลน ดานเหนือติดกับพระราชวังบางปะอิน ดานตะวันตกติดกับแมน้ําเจาพระยา สมเด็จพระเจาปราสาททองโปรดเกลาฯใหสรางวัดนี้ขึ้นเมื่อพ.ศ. ๒๑๗๕ บริเวณเคหสถานเดิมของพระราชชนนีของพระองค ตอมาขุนหลวงทายสระซึ่งผนวชอยูที่วัดโคกแสงไดเสด็จมาปฏิสังขรณในครั้งกระนั้น และตอมาในสมัยรัตนโกสินทรไดรับการปฏิสังขรณอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๔ เมื่อพ.ศ.๒๔๐๖ ดังมีพระกระแสพระราชปรารภอยูในศิลาจารึกซึ่งติดอยูที่พระเจดียทั้งสององคหลังพระอุโบสถ (แตปจจุบันอานไมออกเพราะลบเลือน) ในสมัยรัชกาลที่ ๕ พ.ศ.๒๔๕๑ ไดทรงปฏิสังขรณ ทรงซอมพระอุโบสถและพระวิหาร พระประธานปูนปนหินทรายในพระอุโบสถทั้ง ๗ พระองคและมีพระประวัติจารึก

Page 25: พระนครศรีอยุธยา

25

แผนศิลาติดอยูตามผนังพระอุโบสถดวยทุกพระองค ในพระอุโบสถมีภาพเขียนพระพุทธประวัติ หอระฆังดานใตพระอุโบสถมีระฆังขนาดใหญและเสียงดังมาก อําเภอบางปะหัน วัดไก ต้ังอยูที่ตําบลหันสัง จากตัวเมืองพระนครศรีอยุธยาไปประมาณ ๒๕ กิโลเมตร ไปตามทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒ จะเห็นทางเขาวัดอยูทางขวามือ เขาไป ๖๐๐ เมตร (ปากทางเขาจะมีปายสัญลักษณเปนรูปลิง) วัดนี้เปนวัดเกาแกต้ังแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอมากลายเปนวัดรางภายหลังจากการเสียกรุงแกพมา ประมาณปพ.ศ. ๒๕๓๕ มีพระสงฆมาบูรณะและตั้งเปนสํานักสงฆขึ้น และในปพ.ศ. ๒๕๔๐ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาเปนวัด และใหช่ือวา “วัดไก” เนื่องจากมีไกโดนโรคระบาดตายไปจํานวนมาก สวนฝูงลิงปาที่อาศัยอยูที่วัดนี้ไมมีใครบอกวาอยูมาตั้งแตเมื่อใดเปน ลิงแสม หรือลิงกัง มีอยูเปนจํานวนมากแตเปนลิงที่มีนิสัยนารัก เช่ืองไมดุราย วัดตาลเอน เปนวัดที่มีฝูงคางคาวแมไกและนกน้ํานานาชนิดอาศัยอยูเปนจํานวนมากเชน นกกาน้ํา นกเปดน้ํา นกกระยาง เปนตน แวดลอมดวยบรรยากาศรมรื่นและธรรมชาติอันเงียบสงบ ดานหลังของวัดติดกับคลองชลประทานมีฝูงปลาน้ําจืดอาศัยอยูนานาชนิด การเดินทาง สามารถใชเสนทางหลวงหมายเลข ๓๒ ถนนสายเอเชีย ไปจนถึงแยกอําเภอบางปะหันแลวเลี้ยวขวา จากนั้นใชทางหลวงหมายเลข ๓๔๗ ปากทางเขาวัดจะอยูทางขวามือและเขาไปอีก ๒ กิโลเมตร รวมระยะทางประมาณ ๒๐ กิโลเมตร อําเภอนครหลวง ปราสาทนครหลวง ต้ังอยูริมแมน้ําปาสักฝงทิศตะวันออก ในเขตตําบลนครหลวง เดิมเปนตําหนักที่ประทับของกษัตริยในระหวางเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีและเปนที่ประทับแรมในระหวางเสด็จไปลพบุรี สันนิษฐานวาสรางในสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม แตมาสรางเปนที่ประทับกออิฐถือปูนในรัชสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททองเมื่อพ.ศ.๒๑๗๔ พระองคโปรดใหชางถายแบบมาจากปราสาทศิลาที่เรียกวา“พระนครหลวง”ในประเทศกัมพูชา นํามาสรางใกลกับวัดเทพจันทรเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติที่ไดกรุงกัมพูชากลับมาเปนประเทศราชอีก แตสรางไมเสร็จสมบูรณดวยประการใดไมปรากฏ องคปราสาทสีเหลืองงดงาม ตอมาจึงมีผูสรางมณฑปและพระพุทธบาทสี่รอยขึ้นบนปราสาทนี้ สวนตําหนักที่สรางอยูขางปราสาทนี้ไดปรักหักพังไปหมดแลว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ไดทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดําเนินมาทรงประกอบพิธีฯเปดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ หมูบานหัตถกรรมมีดอรัญญิก ประวัติความเปนมา บานตนโพธิ์ บานไผหนอง เปนหมูบานที่มีประชาชนอาศัยอยูอยางหนาเเนน ต้ังอยูหมูที่ ๖ และ ๗ ตําบลทาชาง อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทั้งสองหมูบานมีช่ือเสียงโดงดังเปนที่รูจักกันไปทั่ว เพราะเปนเเหลงผลิตมีดที่ใหญแหงหนึ่งของประเทศที่ทํากันเปนล่ําเปนสันมาเกือบสองรอยป กลุมชาติพันธุ ชาวบานตนโพธิ์และชาวบานไผหนอง รกรากถิ่นฐานเปนชาวเวียงจันทน ประเทศลาว ไดเขามาอยูในประเทศไทยประมาณชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ซึ่งชาวเวียงจันทนกลุมนี้สวนใหญมีอาชีพทางชาง มีชางทําทองกับชางตีเหล็ก คือคนไหนเเข็งเเรงก็ไดตีเหล็ก คนไหนออนแอมีความละเอียดใหตีทองคํา เครื่องอาภรณประดับกาย การทํามาหากิน ในสมัยนั้นอาชีพทั้งสองทํากันเปนล่ําเปนสันตลอดมา ครั้นตอมาในราวพ.ศ. ๒๓๖๕ อาชีพชางทองก็ไดเลิกลาสลายตัวไป คงเหลือเเตอาชีพตีมีดประเภทเดียว ชาวบานจึงยึดอาชีพตีมีดเปนอาชีพหลัก ไมไดประกอบอาชีพอื่นปะปนเลย ขอสังเกตุที่เปนหลักฐานวาชาวเวียงจันทนกลุมนี้มีอาชีพชางทองคือ ถาเรานําดินที่ชุมชนเเหงนี้ลงรอนในน้ําก็จะพบเศษทองและขี้ตะไบทองอยูทั่วไป ความเปนมาการตั้งถิ่นฐาน เหตุที่ชาวเวียงจันทนกลุมนี้เขามาอยูในประเทศไทยจะโดยถูกกวาดตอนมาในสมัยเจาพระยามหากษัตริยศึกคราวยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทนหรือจะเปนการอพยพมาเองนั้น ไมมีหลักฐานปรากฏ

Page 26: พระนครศรีอยุธยา

26

ชัดเจนเเตมีหลักฐานบันทึกไววาเขามาโดยมีนายเทาเปนผูนํา ( ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไดพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน “ขุนนราบริรักษ” ) ไดเดินทางมาพบภูมิประเทศเเหงนี้ เปนที่เหมาะสมเเกการประกอบอาชีพคือ เดิมเปนดงไมไผที่ขึ้นอยูหนาเเนน มีหนองน้ําและแมน้ําปาสักไหลผานสมัยนั้นไมมีถนนหนทางเหมือนปจจุบันนี้ ตองอาศัยทางน้ําเปนปจจัยสําคัญในการคมนาคมโดยเฉพาะ ไมไผเปนวัสดุที่สําคัญมากสําหรับชางตีมีด เพราะไมไผมีประโยชนอยูในตัวของมันนานับประการ เชน นํามาเผาถานใชเผาเหล็ก เพราะถานไมไผใหความรอนสูงกวาไมชนิดอื่น ตน ลํา ใชทําบานเรือน ที่อยูอาศัย ทําดามพะเนิน ดามคอนเเละดามมีด ซึ่งชางตีเหล็กตองใชอยูเปนประจํา จึงเห็นวาภูมิประเทศเเหงนี้เปนอูขาวอูน้ําเเหลงทรัพยากรที่อุดมสมบูรณจึงพรอมใจกันลงหลักปกฐานเเละไดประชุมหารือกันตั้งช่ือบานของตนวา “ บานไผหนอง” ใหเปนการเหมาะสมกับภูมิประเทศเเตกอนนั้น สําหรับบานตนโพธิ์ คนเกาคนเเกเลาวา เมื่อมาถึงทําเลนี้มีตนโพธิ์ใหญอยูกลางหมูบานจึงตั้งช่ือวา “บานตนโพธิ์” ครั้นกาลเวลาลวงมาบานเมืองเจริญขึ้นสภาพของหมูบานก็ไดเปลี่ยนเเปลงไป ดงไมไผที่ขึ้นอยูอยางหนาแนนก็โลงเตียนกลายเปนทองไรทองนา หนองน้ําก็ต้ืนเขินไปหมดเเลว เกียรติประวัติของชุมชน สมัยรัชกาลที่ ๓ เเผนดินสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เมื่อราวพ.ศ.๒๓๖๙ เจาอนุวงศเวียงจันทนเสด็จมาถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ไดมาขอใหชาวเวียงจันทนกลับประเทศ เเตชาวเวียงจันทนกลุมนี้ไมยอมกลับขออยูใตรมโพธิสมภาร เพราะพระองคใหความผาสุขรมเย็น พสกนิกรของพระองคตลอดมาก็มีความเจริญรุงเรืองมาเปนลําดับ ช่ือเสียงการตีมีดก็เลื่องลือไปทั่วสารทิศ ชาวบานจึงมีฐานะที่มั่นคง มีการอยูดีกินดี ดวยพระมหากรุณาธิคุณของลนเกลาลนกระหมอม สมัยรัชกาลที่ ๕ แผนดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงทราบวาบานตนโพธิ์ บานไผหนองเปนหมูบานตีมีด พระองคพรอมดวยพระบรมวงศศานุวงศไดเสด็จทอดพระเนตรการตีมีดของชาวเวียงจันทนกลุมนี้ จึงไดปลูกพลับพลาที่ประทับอยางสมพระเกียรติ เเละไดเกณฑชาวบานมาทําการตีมีดใหพระองคทรงทอดพระเนตร พระองคทานสนพระทัยเเละทรงพอพระราชหฤทัยเปนอันมาก ในสมัยรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ ทรงเสด็จพระราชดําเนินเปนการสวนพระองค ทรงทอดพระเนตรการทํามีดอรัญญิก เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ .๒๕๑๙ เเละปพ.ศ.๒๕๓๑ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จนํานักเรียนโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลาฯ มาทอดพระเนตรการตีมีดเเละเมื่อป พ.ศ ๒๕๓๗ ทูลกระหมอมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาฯ ทรงนําครอบครัวมาทัศนศึกษาการตีมีดที่ชุมชนเเหงนี้เชนกัน ที่มาของคําวามีดอรัญญิก ในสมัยกอนมตีลาดรานคา มีโรงบอน อยูที่บานอรัญญิก ตําบลปากทา อําเภอทาเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งอยูไมไกลจากหมูบานตนโพธิ์เเละหมูบานไผหนองมากนัก ระยะทางประมาณ ๓ กิโลเมตร มีผูคนนําสินคามาซื้อขายเเลกเปลี่ยนกันมากในยุคนั้นชาวบานก็นําเอามีดไปขาย เมื่อคนที่ซื้อไปใชเห็นวาคุณภาพดีจึงบอกตอๆกันไปวามีดคุณภาพตองมีดอรัญญิก เลยเรียกติดปากไปหาซื้อมีดตองไปที่อรัญญิก ที่จริงเเลวทําที่หมูบานตนโพธิ์ หมูบานไผหนองเเละหมูบานอื่นๆ ซึ่งเปนที่มาของคําวา “มีดอรัญญิก” ลักษณะทั่วไปของผลิตภัณฑอรัญญิก ผลิตภัณฑมีดอรัญญิกในปจจุบัน มีอยูดวยกัน ๔ ตระกูล ไดแกมีดตระกูลเกษตรกรรม มีดตระกูลคหกรรม มีดตระกูลอาวุธ และมีดตระกูลอื่นๆแตละตระกูลสามารถจําแนกตามการใชงานไดอีก ๑๒ ประเภท ซึ่งในแตละประเภทประกอบไปดวยชนิดของมีดตางๆอีกมากมายซึ่งหลากหลายไปตามขนาดและความแตกตางของวัสดุที่ใชในการผลิต ของชิ้นสวนองคประกอบตางๆซึ่งจากการศึกษาปรากฏมีถึง ๒๗๔ ชนิด ประเพณีเเละวัฒนธรรม มีประเพณีเเละวัฒนธรรมที่ไดถือปฏิบัติสืบทอดตอๆกันมาตั้งเเตสมัยบรรพบุรุษ คือ งานมาฆบูชา บุญวิสาขบูชา บุญเขาพรรษา บุญกฐิน บุญตักบาตรดอกไม บุญสง กรานต บุญเขาสลาก บุญออกพรรษา บุญมหาชาติ เปนตน ซึ่งถือไดวาเปนประเพณีเเละวัฒนธรรมของชนชาติไทยทั่วไปที่ปฏิบัติกันมาเปนประจํา เเตยังมีประเพณีหนึ่งที่ขาดไมไดเปนประเพณีที่นาประทับใจของชุมชนฯ เเละถือวา

Page 27: พระนครศรีอยุธยา

27

เปนประเพณีที่สําคัญมากคือ การไหวครู หรือไหวครูบูชาเตา ซึ่งปกติเเลวจะทํากันทุกหมูบาน ไมมีใครเวนเลย เมื่อทําบุญ บําเพ็ญกุศล ตรุษเเละสงกรานตเเละผูใหญจะประชุมหารือกําหนดวันไหวครูกัน สวนมากกําหนดวันขางขึ้นเดือนหกตรงกับวันพฤหัสบดีเมื่อหารือกันดีเเลวทุกบานจะลงมือซอมเเซมเครื่องมือเครื่องใชตางๆใหเรียบรอยกอนกําหนดหนึ่งหรือสองวันเเละทําความสะอาดเครื่องมือเเลวนํามาวางไวในที่อันสมควร เเละเตาเผาเหล็กจะตองปนกันใหม เเละจัดเตรียมเครื่องสังเวยไหวครูอยางครบครัน มีเครื่องบูชาพระพุทธเเตงเปนขันหา พอรุงอรุณของวันพฤหัสบดี เขาจะนําเครื่องบูชาเเละอาหารคาวหวานเปนเครื่องบูชา บูชาพระภูมิ เเมธรณี สวนเครื่องสังเวยตางๆที่ไดตระเตรียมไวจะตองนํามาวางไวที่เครื่องมือ เเลวจัดทําพิธีสวดโองการเชิญเทพเจามาเปนศิริมงคล เเลวผูใหญในเรือนนั้นจะเรียกลูกหลานมาบูชากราบไหว ขอพรอันศักดิ์สิทธิ์อันเปนศิริมงคลเเกทุกคน สําหรับในวันนั้นทุกบานจะตอนรับทุกคนที่มาเยือน ชุมชนเเหงนี้ยังรักษาประเพณีนี้ไวเสมอ นับเปนประเพณีอันดีงามโดยเฉพาะในวันนั้นของเดือนเขาถือวาเปนมงคล เรื่องอัปมงคลจะไมเกิดขึ้นเลย การเดินทาง ปจจุบันการเดินทางสะดวกมาก มีรถยนตว่ิงถึงหมูบานเลยโดยจะตองเดินทางเขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะมีรถประจําทางจอดอยูที่ตลาดเจาพรหม จะเห็นปายติดหนารถวา “ อยุธยาถึงทาเรือ” รถจะออกจากตัวเมืองไปทางถนนสายเอเชีย (ทางหลวงเเผนดินหมายเลข ๓๒) เลี้ยวซายเขาถนนสายเอเชียไปทางจังหวัดนครสวรรค เลยโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชฯไปประมาณ๑๐๐เมตร เลี้ยวซายลอดใตสะพานที่จะขามเเมน้ําปาสัก เขาถนนสายอําเภอนครหลวงตลอดทางมีปายบอกที่ต้ังชุมชนฯ ทั้งสองเปนระยะ หรือถาอยากจะเดินทางไปโดยทางน้ําก็ได โดยจะตองลงเรือในตัวจังหวัดที่หนาวังจันทรเกษม ยอนขึ้นไปตามเเมน้ําปาสัก ผานโรงงานวัตถุระเบิดชางเเสง (ของกรมสรรพวุธทหารบก) เเละอําเภอนครหลวงตามลําดับ การเดินทางใชเวลาประมาณ ๒ ช่ัวโมง ก็จะถึงชุมชนฯ เมื่อไดเเวะไปชมก็จะไดรับการตอนรับดวยอัธยาศัยไมตรีจากชาวบานทั้งสองหมูบานเปนอยางดี กิจกรรมที่นาสนใจ

โฮมสเตย กินอยูอยางไทยสัมผัสวิถีชีวิตไทย พักแรมที่บานชาวบานไดที่ คลองรางจระเข อยูริมคลองรางจระเข ในพื้นที่อําเภอเสนา นมัสการหลวงพอโตวัดรางจระเขอายุ ๔๐๐ ป

สรางในสมัยอยุธยา ชมอุทยานปลาหนาวัดรางจระเข แมวตาเพชรที่สํานักปฏิบัติธรรมปญญาโสภิต ลองเรือชมธรรมชาติและบานทรงไทยริมฝงคลอง บรรยากาศเงียบสงบ คาบริการชาวไทย ๕๐๐ บาท ชาวตางชาติ ๗๐๐ บาท รวมอาหาร ๒ มื้อ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ จ.ส.ต.เริงไชย ฤกษบุปผา โทร.๐ ๙๘๘๑ ๑๐๔๒ และ ๐ ๑๒๕๑ ๘๐๕๘

บางไทร อยูริมแมน้ํานอยในพื้นที่อําเภอบางไทร มีบานพัก ๕ หลัง รับนักทองเที่ยวพักคางคืนได ๒๕ คน มีกิจกรรมลองเรือชมวิถีชีวิตชาวบานริมแมน้ํานอย ชมการตกกุง ตกปลา ลอยขาย และการผลิตสินคาหัตถกรรมการเปาแกวและถักแกว รวมกิจกรรมการทํานาขาวตามฤดูกาล สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณอุไร ศรีแกวอินทร ๐ ๑๖๘๔ ๓๑๘๖, E-mail: WATCHIRAPHAN_๓๒๘@hotmail.com กิจกรรมขี่จักรยาน ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีเสนทางที่สามารถขี่จักรยานไปตามสถานที่ทองเที่ยวตางๆไดหลายเสนทาง ไดแก

เสนทางชวงที่ ๑ เร่ิมตนที่ สํานักงาน ททท. พระนครศรีอยุธยา-ศูนยศึกษาประวัติศาสตรฯ ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร เดินทางจากฝงตรงขาม ททท. ออกรถตรงไปแลวเลี้ยวซายเขาถนนโรจนะ ผานพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยาและศูนยศึกษาประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยาซึ่งอยูฝงตรงขามพิพิธภัณฑ ควรใชเวลาอยูที่นี่ประมาณชั่วโมงครึ่ง

Page 28: พระนครศรีอยุธยา

28

เสนทางชวงที่ ๒ ศูนยศึกษาประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา-วัดพระศรีสรรเพชญ ระยะทางประมาณ ๒ กิโลเมตร จากศูนยศึกษาประวัติศาสตรฯ ใหเลี้ยวซายออกสูถนนโรจนะ ผานศาลากลางจังหวัดหลังเกา แลวเลี้ยวขวาเขาสูถนนศรีสรรเพชญ ผาน ททท. และวัดเกษ ตรงไปเรื่อย ๆ จะเห็นวิหารพระมงคลบพิตรและวัดพระศรีสรรเพชญอยูดานซายมือ ควรมีเวลาอยูที่นี่ประมาณ ๑ ช่ัวโมง

เสนทางชวงที่ ๓ วัดพระศรีสรรเพชญ-วัดมหาธาตุ-วัดราชบูรณะ ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร จากวัดพระศรีสรรเพชญใหตรงไปตามถนนนเรศวร ผานกลางระหวางวัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะ และสามารถแวะชมพิพิธภัณฑเรือไทยใกลๆนั้นได ควรใชเวลาที่วัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะประมาณ ๑ ช่ัวโมง

เสนทางชวงที่ ๔ พิพิธภัณฑเรือไทย-วัดหนาพระเมรุ ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร จากพิพิธภัณฑเรือไทยใชเสนทางถนนชีกุนสายเดิมเลยไปจนถึงถนนนเรศวรใหเลี้ยวซายตรงไปถึงเจอทางแยกใหเลี้ยวขวาแลวตรงไป และเลี้ยวซายอีกครั้งเขาสูถนนสายรอบเกาะเมือง ขับเลียบผานแมน้ําลพบุรีไปจนถึงวัดหนาพระเมรุ ควรมีเวลาชมความงามของพระอุโบสถ และองคพระประธานทรงเครื่องสมัยอยุธยาประมาณ ๑ ช่ัวโมง

เสนทางชวงที่ ๕ วัดหนาพระเมรุ-วัดโลกยสุธา ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร จากวัดหนาพระเมรุใหเลี้ยวขวาไปตามถนนเลียบแมน้ําลพบุรี ระหวางทางดานซายมือจะเปนเขตพระบรมมหาราชวังของกรุงศรีอยุธยา ตรงไปเรื่อยๆ พอขามสะพานแลวใหเลี้ยวซายไปตามเสนทางเลียบคลอง ตรงไปเรื่อย ๆ จนมาถึงทางแยกเขาวัดโลกยสุธาจึงเลี้ยวขวาเขาไป ควรใชเวลาประมาณ ๑๕ นาที หรือครึ่งช่ัวโมง

เสนทางชวงที่ ๖ วัดโลกยสุธา-วัดไชยวัฒนาราม ระยะทางประมาณ ๒ กิโลเมตร จากวัดโลกยสุธาใหยอนกลับดวยเสนทางเดิมที่เขามา จนออกปากทางถนนเลียบคลองทอจนถึงทางแยกขวามือ ผานสวนสมเด็จฯ ตรงไปจนถึงสามแยกแลวใหเลี้ยวซายขามสะพานวัดกษัตราธิราชวรวิหารแลวเลี้ยวซายตรงไปตามเสนทางจะมองเห็นวัดไชยวัฒนาราม ควรมีเวลาเดินชมความงามของวัดนี้ประมาณสักครึ่งช่ัวโมง หรืออาจจะมีเวลามากกวานี้ก็ได

เสนทางชวงที่ ๗ วัดไชยวัฒนาราม-บานโปรตุเกส ระยะทางประมาณ ๔ กิโลเมตร จากวัดไชยวัฒนารามปนไปตามทางถนนลาดยางเรื่อยๆจะผานบานเรือนไทยโบราณ จากนั้นใหเลี้ยวซายที่สามแยก เสนทางนี้จะผานวัดพุทไธศวรรย สุดทางสายนี้คือหมูบานโปรตุเกส

เสนทางชวงที่ ๘ บานโปรตุเกส-วัดพุทไธศวรรย ระยะทางประมาณ ๒ กิโลเมตร จากบานโปรตุเกสยอนกลับเสนทางเดิมจนถึงวัดพุทไธศวรรย ควรใชเวลาที่นี่ประมาณครึ่งช่ัวโมง

เสนทางชวงที่ ๙ วัดพุทไธศวรรย-สํานักงาน ททท. พระนครศรีอยุธยา ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร จากวัดพุทไธศวรรยปนจักรยานผานโรงเรียนวัดพุทไธศวรรย แลวเลี้ยวซายไปทาเรือขามฟาก นําจักรยานขามฟากไปอีกฝงหนึ่ง จากนั้นจึงเลี้ยวซายกลับไปทาง ททท.

นอกจากนั้นยังมีเสนทางที่สามารถขี่จักรยานไดอีกหลายเสนทาง เชน เสนทางไปหมูบานญี่ปุน วัดใหญชัยมงคลและวัดพนัญเชิง เปนตน ติดตอสอบถามรายละเอียดเสนทางเพิ่มเติมไดที่สํานักงาน ททท. พระนครศรีอยุธยา โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๖๐๗๖-๗ และสามารถหาเชาจักรยานไดที่ สํานักงานตํารวจทองเที่ยวพระนครศรีอยุธยา บริเวณดานหนาสถานีรถไฟ บริเวณตลาดเจาพรหมและตามเกสตเฮาสตางๆ ไดในอัตราคันละประมาณ ๓๐-๗๐ บาทตอวัน กิจกรรมนั่งชาง ปางชางอยุธยา แล เพนียด อยูตรงขามกับคุมขุนแผนในอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา มีบริการขี่ชาง การแสดงชาง ใหอาหารชาง ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. ราคาประมาณ ๑๐๐-๕๐๐ บาท ขึ้นอยูกับระยะเวลา ๑๕ หรือ ๓๐ นาที สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๐๐๑, ๐ ๓๕๓๒ ๑๙๘๒, ๐ ๑๘๒๑ ๗๐๖๕, ๐ ๑๘๕๒ ๔๕๒๗ หรือ www.ayutthayaelephantcamp.com หรือ www.saveelephant.com

Page 29: พระนครศรีอยุธยา

29

บานชางอโยธยาและโชวงู ต้ังอยูที่ ๖๕/๑๒ ม.๗ ต.ไผลิง อ.พระนครศรีอยุธยา มีบริการนั่งชางลุยน้ํา เขาปา ชมนกปาหลากหลายชนิดชมโบราณสถาน ไหวพระวัดมเหยงคณ บริการนั่งเกวียนเทียมวัวชมโบราณสถาน และการแสดงโชวงูทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๓๐ น. ติดตอสอบถามขอมูลไดที่ ๐ ๓๕๒๔ ๕๓๓๖ , ๐ ๓๕๓๒ ๓๗๗๗ โทรสาร ๐ ๓๕๒๔ ๕๒๔๕ หรือ www.cozun.com ทองเท่ียวทางน้ํา มีบริการทองเที่ยวทางน้ําลองเรือชมทัศนียภาพและวิถีชีวิตความเปนไทยริมฝงแมน้ําเจาพระยา แมน้ําปาสัก และรอบเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา โดยการเชาเหมาเรือหางยาวไดที่ ทาน้ําหนาพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม ทาเรือปอมเพชร และทาเรือวัดพนัญเชิง อัตราคาบริการจะขึ้นอยูกับระยะเวลาและเสนทาง ดังมีรายช่ือเรือทองเที่ยวดังนี้ รานอาหารเรือนรับรอง มีบริการนําเที่ยวชมเมืองพระนครศรีอยุธยาทางน้ํา เรือออกจากรานอาหารเรือนรับรอง มีเสนทางตางๆ ใหเลือกดังนี้ ๑. เลียบชมเมืองพระนครศรีอยุธยา ๒. ชมพระราชวังบางปะอิน ๓. ชมศูนยศิลปาชีพบางไทร เรือบริการตั้งแตเวลา ๐๙.๐๐-๒๒.๐๐ น. ทุกวัน อัตราคาบริการเรอืลองชมเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา รวมอาหารและเครื่องดื่ม จํานวนตั้งแต ๑๐-๓๐ ทาน ราคาทานละ ๓๐๐ บาท เกิน ๓๐ ทาน ราคาทานละ ๒๘๐ บาทหากเชาเปนลํา ราคาลําละ ๑,๐๐๐ บาท (นั่งได ๘ ทาน ไมรวมอาหารและเครื่องดื่ม) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๐๓๖ , ๐ ๑๙๙๔ ๑๕๖๕ เรือนาวานคร เปนเรือแบบโบราณ นํามาประยุกตใหเขากับบรรยากาศของเมืองหลวงเกา จัดนําเที่ยวชมรอบเกาะอยุธยา ผานวัดตางๆ เชน วัดไชยวัฒนาราม วังสิริยาลัย และวัดตางๆอีกหลายวัด ใชเวลาประมาณ ๑ ช่ัวโมง ลําเล็กนั่ง ๘ คน ลําใหญนั่งได ๑๐ คน ราคาลําละ ๘๐๐ บาท เริ่มตั้งแตเวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมติดตอ คุณชินธร โทร ๐ ๑๙๒๘ ๒๘๘๗ คุณวิไล โทร. ๐ ๑๖๕๘ ๙๑๔๘ Ayutthaya Boat Travel บริการเรือทองเที่ยวและจักรยานทองเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่โทร. ๐ ๒๙๕๐ ๒๘๒๒, ๐ ๑๔๕๖ ๙๘๖๒ ประดิษฐทองเที่ยวทางน้ํา บริการเรือยนตทองเที่ยวทางน้ํารอบเกาะอยุธยา ลงเรือที่ทาน้ําวัดพนัญเชิง โทร. ๐ ๖๑๒๓ ๑๖๖๙ นอกจากนี้แลวยังมีเรือจากรานอาหารตาง ๆ บริการลองเรือพรอมนั่งรับประทานอาหารบนเรือ

ขอแนะนําในการเที่ยวชมวัด/พิพิธภัณฑ/โบราณสถาน

- ศึกษาขอมูลรายละเอียดสถานที่ตางๆกอนไป - แตงกายใหสุภาพ สํารวมกิริยาวาจา - ถอดรองเทาและเก็บใหเรียบรอยกอนเขาโบสถ เขตศาสนสถาน - ติดตอวิทยากรผูใหความรู เชน พระชาวบานในทองถิ่น เจาหนาที่ผูดูแล - ระมัดระวังไมใหไปถูกโบราณวัตถุโบราณสถาน แตกหักเสียหาย

- ไมควรเดินย่ําเขาไปในเขตหวงหาม หรือบนโบราณสถาน ไมควรจับ สัมผัส อาคารโบราณสถานโดย เฉพาะสวนที่เปนลวดลายแกะสลักหรือภาพเขียนสี หรือนําสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เปนช้ินสวนของโบราณวัตถุ โบราณสถานกลับไปเปนของที่ระลึก

- ขออนุญาตผูดูแลสถานที่กอนถายภาพ - การถายภาพไมควรใชแสงแฟลชเพราะอาจทําใหโบราณวัตถุ โบราณสถานเสียหายได

Page 30: พระนครศรีอยุธยา

30

เทศกาลงานประเพณี งานประจําปศูนยศิลปาชีพบางไทร จัดเปนประจําทุกป ชวงปลายเดือนมกราคม ภายในบริเวณศูนยศิลปาชีพบางไทร อําเภอบางไทร มีการแสดงและประกวดผลงานดานศิลปาชีพ มีการจําหนายสินคาพื้นเมืองทั่วไป การแสดงศิลปวัฒนธรรมอันงดงาม งานเทศกาลสงกรานต จัดขึ้นในวันที่ ๑๓ เมษายนของทุกป หนาวิหารพระมงคลบพิตร อําเภอพระนครศรีอยุธยา มีขบวนแหตามประเพณีของชาวอยุธยาและขบวนแหเถิดเทงิ มีการสรงน้ําพระมงคลบพิตรจําลอง การประกวดนางสงกรานต พิธีไหวครูบูชาเตา เปน “พิธีไหวครู” ชางตีมีดตีดาบ ของชาวบานตนโพธิ์ บานไผหนอง และบานสาไล ตําบลทาชาง อําเภอนครหลวง ซึ่งมีอาชีพในการตีมีดเปนที่รูจักกันทั่วไปวา“มีดอรัญญิก” บรรพชนของชาวบานไผหนองและบานตนโพธิ์ ตําบลทาชาง อําเภอนครหลวงนั้นเปนชาวเวียงจันทน เขามาตั้งรกรากอยูต้ังแตสมัยกรุงรัตนโกสินทร มีอาชีพในการตีทองและตีเหล็ก แตตอมาเลิกการตีทองจึงเหลือแตการตีเหล็กเพียงอยางเดียว เหล็กที่ตีนี้สวนใหญทําเปนมีด ดาบ และอาวุธ ตลอดจนเครื่องใชอื่นๆ ซึ่งมีคุณภาพดีมากเมื่อทําเสร็จแลวก็นํามาขายที่หมูบานอรัญญิก ตําบลปากทา อําเภอทาเรือ จึงเรียกวา “มีดอรัญญิก” สิ่งที่ชาวตําบลทาชางทุกคนยังคงถือสืบตอกันมาตามขนบประเพณีเดิมคือการ “ไหวครูบูชาเตา” ซึ่งทุกบานจะจัดบูชาในวันพฤหัสบดีชวงเชาตรูของวันขึ้น ๗ ค่ํา ๙ ค่ํา ฯลฯ เดือน ๕ (ประมาณเมษายน-พฤษภาคม) ตามแตความสะดวก เพื่อระลึกถึงพระคุณครูบาอาจารย และเพื่อความเปนสิริมงคลของตน ทั้งยังเปนการปดเปาอุปทวเหตุตาง ๆ ในการตีเหล็กอีกดวย พอไดเวลาผูทําพิธีไหวครูก็จะกลาวบทชุมนุมเทวดาไหวพระรัตนตรัย จากนั้นก็จะกลาวบทอัญเชิญครูบาอาจารยทั้งหลาย อันไดแก พระอิศวร พระนารายณ พระพรหม พระวิษณุกรรม พระมาตุลี พระพาย พระคงคา พระฤาษี ๘ องค ฯลฯ ตลอดจนบูรพาจารยทั้งครูไทย ครูลาว ครูมอญ ครูจีน ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาตีเหล็กใหแกตน มารับเครื่องบูชาสังเวย และประสาทพร แกผูเขารวมพิธีใหประสบแตความสุขความเจริญ แลวปดทองเครื่องมือทุกช้ิน ทําน้ํามนตธรณีสารประพรมเครื่องมือและผูเขารวมพิธี งานลอยกระทงตามประทีปและแขงเรือยาวประเพณีศูนยศิลปาชีพบางไทร จัดเปนประจําทุกป ประมาณปลายเดือนพฤศจิกายน ภายในบริเวณศูนยศิลปาชีพบางไทร อําเภอบางไทร มกีารประกวดนางนพมาศ ประกวดขบวนแห ประกวดกระทง ประกวดโคมแขวน การแสดงการละเลนพื้นบาน การแขงเรือยาวประเพณี เรือยาวนานาชาติ การจัดจําหนายผลิตภัณฑศิลปาชีพ งานแสดงแสงเสียงอยุธยามรดกโลก เนื่องจากนครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา ไดรับการประกาศโดยองคการยูเนสโกใหเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ทางจังหวัดจึงไดจัดใหมีการเฉลิมฉลองทุกป ในชวงเวลาดังกลาว เปนระยะเวลา ๗ วัน ในงานจะมีการแสดงชีวิตความเปนอยู ศิลปหัตถกรรม วัฒนธรรม และประเพณีของไทย รวมทั้งการแสดงแสงเสียงเกี่ยวกับประวัติศาสตรของกรุงศรีอยุธยา อยุธยามหามงคล (ไหวพระเกาวัด) จังหวัดพระนครศรีอยุธยารวมกับสมาคมธุรกิจทองเที่ยวและการทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงานภาคกลาง เขต ๖ ไดจัดงานอยุธยามหามงคล (ไหวพระเกาวัด) เปนประจําทุกปในชวงเทศกาลเขาพรรษาหรือตามที่กําหนดในแตละป โดยนักทองเที่ยวสามารถเจารวมโครงการไดโดยขอรับหนังสืออยุธยามหามงคลที่ผานพิธีพุทธาภิเษกแลวไดที่ ศูนยทองเที่ยวอยุธยา(ศาลากลางหลังเกา)หรือที่เคานเตอรประชาสัมพันธ ศูนยการคาอยุธยาพารค โรงแรม/ รานอาหารในจังหวัดที่มีปายโครงการ จากนั้นเดินทางนมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์และประทับตราอยุธยามหามงคลในแตละสถานที่ตามเอกสารแผนที่ที่ไดจัดทําไวโดยมีรายช่ือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์พรอมแผนที่ในการเดินทาง เมื่อไหวพระครบ ๙ วัด หรือครบตามกําหนด จะไดรับเหรียญอยุธยามหามงคลและลุนรับของรางวัล สอบถามขอมุลเพิ่มเติมไดที่ สมาคมธุรกิจทองเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร.๐ ๓๕๒๑ ๓๘๒๘-๙ ตอ ๑๐๑

Page 31: พระนครศรีอยุธยา

31

สินคาพื้นเมืองและของที่ระลึก ปลาตะเพียนสาน เคร่ืองแขวน ประวัติปลาตะเพียนใบลานผูผลิตปลาตะเพียนใบลานที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญเปนชาวมุสลิมที่ประกอบอาชีพสานปลาตะเพียนใบลานและหัตถกรรมใบลานอื่น ๆ เปนอาชีพเกาแกทําสืบตอกันมาแตบรรพบุรุษนานกวา ๑๐๐ ป โดยสันนิษฐานวาชาวไทยมุสลิมรุนเกาแก ซึ่งเปนพวกที่ลองเรือคาขายเครื่องเทศ อยูตามแมน้ําเจาพระยาและอาศัยอยูในเรือและเรือนแพ เปนผูประดิษฐปลาตะเพียนสานดวยใบลานขึ้นเปนครั้งแรก แรงบันดาลใจอาจจะมาจากความรูสึกผูกพันอยูกับทองน้ําและสิ่งแวสดลอมรอบ ๆ ตัว ความคุนเคยกับรูปรางหนาตาของปลาตะเพียนเปนอยางดี โดยใชวัสดุจากทองถิ่น เชน มะพราว ใบลาน ใบตาล ปลาตะเพียนที่สานดวยใบลานในสมัยกอนนั้นไมสวยงามและมีขนาดใหญโตเชนปจจุบันนี้ ปลาตะเพียนรุนแรกที่สรางขึ้นเรียกวา “ ปลาโบราณ” โดยจะทําเปนตวัปลาขนาดเล็ก ๆ ขนาด ๒-๓ ตัวเทานั้น ปลาตะเพียนใบลานมักทาดวยสีเหลืองซีด ๆ หลุดออกงาย นอกจากนั้นยังมีเพียง ๒-๓ ตัวเทานั้น ปลตะเพียนใบลานในระยะเริ่มแรกเปนปลาตะเพียนใบลานที่สานไดหนึ่งตัวเทานั้น แลวนํามาทาสี สีที่ทําดวยวัตถุดิบตามธรรมชาติเรียกวา “รงค” ผสมกับน้ํามันวานิช แลวนาํไปเสียบไมสําหรับหอยแขวนเลยและปลาตะเพียนใบลานยังไมมีจํานวนมากเชนในปจจุบัน ปลาตะเพียนที่แขวนเหนือเปลเด็กนั้นสวนมากนิยมใชสีแดงเพราะเปนสีเขมสะดุดตา เด็ก ๆ เห็นก็จะเบนความสนใจมาอยูกับสิ่งสะดุดตา อยากจะไขวควาตามประสาเด็ก เด็กไทยก็จะมีความใกลชิดกับปลาตะเพียนสานตั้งแตยังเปนทารก คนไทยสมัยกอนมีความเช่ือวา ปลาตะเพียนเปนสิ่งดีมีศิริมงคล ทําใหเงินทองไหลมาเทมา จึงนิยมนําปลาตะเพียนใบลานมาแขวนไวตามทางเดินหนาบาน นอกจากนั้นยังเชื่อวาการแขวนปลาตะเพียนตองแขวนใหพอดีกับระดับสายตาที่เด็กสามารถมองเห็นไดตรง ๆ ไมคอนไปทางหัวนอนหรือทางปลายเทา ซึ่งจะทําใหเด็ก มีนัยนตาไมปกติ เพราะถาเด็กมองปลาตะเพียนนาน ๆ เด็กจะมีในตาชอนขึ้นเพราะถูกแมซื้อมารบกวน แตบางคนถือเคล็ดวาเพื่อใหลูกหลานโตเร็ว ๆ มีลูกหลานมากมายเหมือนปลาตะเพียนที่แขวนไวก็ไดจะไดมีแรงงานใช

พัดสานไมไผ การจักสานพัดไมไผ อ.บานแพรก จ.พระนครศรีอยุธยา สวนใหญเปนการเรียนการสานพัดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งในการเรียนสานพัดครั้งแรกนั้นจะเรียนการสานพัดแบบงาย ๆ มีลายคอนขางหยาบที่เรียกกันวา “พัดตาลปตร” โดยใชมือเย็บขอบพัด ขอบพัดในระยะแรกนั้นจะใชผาขาวเนื้อหยาบในการเย็บ ตอมาเริ่มใชผาริมทองเย็บขอบและริเริ่มทําพัดในรูปแบบใบโพธิ์ ลวดลายที่สานไดแก ลายเครือวัลย ลายดอกสีขาว ลายตะกรอ ลายสิบหกขั้นบันได ลายบั้งทหาร เปนตน สวนวัสดุอุปกรณที่ใช เปนวัสดุที่หาไดงายไดแก ตอกไมไผสีสุก มีดจักตอก ผาเย็บริมทอง ผาขาว สีที่ใชยอมตอกไมไผ แบบตัดไม ไมไผสําหรับทําดามเปนตน

งอบใบลาน ประวัติความเปนมา งานจักสาน งอบใบลาน ถือเปนงานศิลปหัตถกรรม ที่มีการสืบทอดการทํามาตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบันของชาวอําเภอบางปะหัน งอบใบลานเปนงานที่ตองอาศัยความปราณีตละเอียดออนไมแพงานจักสานประเภทอื่น ๆ ผูทําตองมีความชํานาญและความอดทน เนื่องจากการทํางอบมีหลายขั้นตอน ในปจจุบันถือเปนสินคาชุมชนหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ของตําบลบางนางรา อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งไดรับความนิยมจากชาวไทย ชาวตางประเทศ และมีการผลิตออกจําหนายยังตางจังหวัดทั่วประเทศไทย

โรตีสายไหม โรตีสายไหมเปนอาหารวางมีสวนประกอบที่สําคัญคือ แผนโรตี และสายไหม ชาวอิสลามเปนผูทําโรตีสายไหมขายถายทอดวิชากันสืบตอกันมา แหลงจําหนายบริเวณดานขางโรงพยาบาลประจําจังหวัดอยุธยาริมถนนอูทอง และตามรานคาทั่วๆ ไป

Page 32: พระนครศรีอยุธยา

32

รานจําหนายสินคาพื้นเมืองและของที่ระลึก อําเภอพระนครศรีอยุธยา บริเวณวิหารวัดพระมงคลบพิตรและบริเวณวัดพนัญเชิงวรวิหาร มีรานคามากมายหลายราน จําหนายผลิตภัณฑพ้ืนเมืองแทบทุกชนิด เชน ปลาตะเพียน เครื่องจักสาน เครื่องหวาย มีดอรัญญิก ผลไมกวน และขนมชนิดตางๆ ตลาดกลางเพื่อเกษตรกร ต้ังอยูริมถนนสายเอเซีย ที่ตําบลหันตรา หลังจากเที่ยวชมในจังหวัดอยุธยาแลวจะเดินทางกลับใหขับรถขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรงไปทางฝงตะวันออกของเกาะเมืองแลวใหเลี้ยวซายตรงไปจนถึงถนนสายเอเซีย เสนทางหลวงหมายเลข ๓๒ ไปไมไกลนักจะมีทางใหเลี้ยวขวาเขาไปจะเห็นตลาดกลางอยูทางซายมือก็จะพบกับสถานที่จําหนายผลิตภัณฑพ้ืนเมืองแทบทุกชนิดของจังหวัดเชน มีดอรัญญิกแทจากอําเภอนครหลวง พัดสานจากอําเภอบานแพรก ไมแกะสลักของอําเภอพระนครศรีอยุธยา เสื้อผาสําเร็จรูปจากอําเภอบางปะอิน ปลารา ปลาแหงและผลไมกวนทุกชนิด ตลอดจนของขวัญของฝากหลากหลายจากทุกอําเภอ นอกจากนี้ยังมีรานอาหารซึ่งมีกุงและปลาสดๆ รสชาติอรอยอยูหลายราน ศูนยการคาอยุธยาพารค หางสรรพสินคาขนาดใหญ ต้ังอยูริมถนนสายเอเชีย ตําบลคลองสวนพลู สัมผัสวิถีชีวิต การคาขายและบรรยากาศตลาดน้ําที่จําลองไวในรม หลากหลายดวยรานคาช้ันนํา สินคาตางๆมากมาย ศูนยรวมอาหารอรอยแมชอยนางรํา และยังสามารถชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทยทุกวันหยุดเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. ๐ ๓๕๒๒ ๙๒๓๔-๔๑ หรือ www.ayutthayapark.com การทําหัวโขน ม.ล.พงษสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ ด ๕ ถ.อูทอง ต.ทาวาสุกรี โทร.๐ ๓๕๒๔ ๕๗๕๙ การเขียนภาพจิตรกรรมไทย (ลงรักปดทอง) ศุภชัย นัยผองศร ีม.๓ ต.คลองสระบัว โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๑๗๑๐, ๐ ๓๕๒๔ ๑๒๑๑ ปลาตะเพียน เกตุสุณี รุงสาตรา (หนาตลาดหัวแหลม) ด. ๑๖/๓ ถ.อูทอง ต.ทาวาสุกรี โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๓๔๘๑, ๐ ๓๕๒๔ ๓๗๗๐ ปลาตะเพียน วันทนี มีพลกิจ (หนาโรงเรียนประตูชัย) ต.ทาวาสุกรี โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๑๗๒, ๐ ๙๖๗๓ ๘๘๐๑ โรตีสายไหม นิวัตน แสงอรุณ (บังบี) ๕๒ ม.๓ ต.ประตูชัย โทร. ๐ ๑๙๙๖ ๒๕๖๔ ผลิตภัณฑจากใบลาน (พัดสาน) พัชรี ศรีสนิท ๙๖/๕๔ ม.๒ ต.ประตูชัย โทร.๐ ๓๕๒๘ ๖๔๗๙ , ๐ ๓๕๒๔ ๔๖๔๕ รานสังคีตประดิษฐ เครื่องดนตรีไทยทุกชนิด ๙๗ ม.๔ หมูบานสหกรณครู (หมูบานวรเชษฐ) ถ.อยุธยา–เสนา ต.บานปอม โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๔๖๓๑, ๐ ๓๕๒๔ ๕๗๒๙ รานจําหนายหินแกะสลัก-เซรามิค สมบัติ อรุณเกษม ๘๓/๗-๘ ถ.ศรีสรรเพชญ โทร.๐ ๓๕๒๔ ๕๙๕๓

ดอกไมประดิษฐจากตนโสน สมหมาย มีศรีเรือง ๓๔/๔ ม.๓ ต.คลองสวนพลู โทร.๐ ๓๕๒๔ ๔๗๒๗

ขิมสีทอง สักดิ์เดชา สุวรรณภิงคาร ๖๓/๓ ม.๒ ต.บานเกาะ โทร.๐ ๙๘๐๘ ๑๑๔๒ ๐ ๑๙๔๗ ๘๗๑๐

ปลาตะเพียน ประพาส เรืองกิจ ๑๓ ม.๑ ต.ภูเขาทอง โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๖๐๘ ๐ ๑๕๐๖ ๓๑๖๐

งานปนจิ๊ว เฉลิมเกียรติ รุงพานิชย ๑๔๗/๖ ม.๘ ต.ประตูชัย โทร. ๐ ๑๘๘๑ ๒๗๔๗ ๐ ๙๕๓๘ ๑๙๖๕

ธูป สมบัติ พ่ึงนาย ๗ ม.๔ ต.หันตรา โทร. ๐ ๑๘๑๔ ๑๒๒๕

อําเภอนครหลวง มีดอรัญญิก วินัย รวยเจริญ ๑๖๒/๓ ม.๗ ต.ทาชาง โทร. ๐ ๓๕๓๕ ๙๙๕๖, ๐ ๓๕๗๑ ๕๓๔๖

เคร่ืองใชบนโตะอาหาร บริษัท น.ว. อรัญญิก จํากัด ๔๘/๓ ม.๕ ต.แมลา โทร. ๐ ๓๕๓๕ ๙๖๕๗-๘

Page 33: พระนครศรีอยุธยา

33

ศิลปประดับมุก ศตพร จันยะนัย ๑๐๐ ม.๕ ต.หนองปลิง โทร.๐ ๖๓๙๒ ๖๖๔๓ ๐ ๓๕๒๕ ๕๑๙๑

อําเภอบางปะหัน งอบ - ชิต จันทรงาม ม.๑ ต.บางเพลิง โทร. ๐ ๑๘๕๑ ๕๙๒๕

- ธาราวุฒิ จุลวงศ ม.๕ ต.บางนางรา โทร. ๐ ๓๕๓๐ ๑๑๗๐ - ประทุม รูแผน ๘๖ ม.๖ ต.บางปะหัน โทร. ๐ ๓๕๓๘ ๑๕๐๗ - เกษียร ผิวหอม ๓๑ ม.๑ ต.บางเดื่อ โทร. ๐ ๓๕๗๑ ๐๑๗๕

กระดง พะยอม แสงบุศย ม.๔ ต.บานมา โทร. ๐ ๓๕๗๑ ๐๓๗๙ กระจาด ถนอมศรี คุมจั่น ม.๒ ต.ตานิ่ม โทร. ๐ ๓๕๗๑ ๐๑๖๓ ผลิตภัณฑผักตบชวา สุนีย ทรูศิลป ๖๔ ม.๔ ต.หันสัง โทร. ๐ ๙๘๒๒ ๙๘๑๗ ผลิตภัณฑเรซินและกรอบรูปไมสัก นเรศ สุวรรณวงศ ๖๗ ม.๑ ต.บางเพลิง โทร. ๐ ๖๖๐๓ ๔๗๐๙ เคร่ืองดนตรีไทย เปา ทับสาคร ๒/๑ ม.๓ ต.ทับน้ํา โทร. ๐ ๑๘๓๖ ๗๔๗๔ เคร่ืองสําอางคสมุนไพร สดใส สนธีระ ๔๔/๘๘ ม.๕ ต.ขวัญเมือง โทร. ๐ ๓๕๓๐ ๑๔๘๘ ผลิตภัณฑธูปหอม ศศิภา สุขสมาน ๒๐ ม.๑ ต.เสาธง โทร. ๐ ๓๕๓๘ ๑๕๐๗ บานเรือนไทยยอสวนจากดิน รําพึง ศิลาสะอาด ๖ ม.๑ ต.ทางกลาง โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๕๑๙๓

เรือนไทยยอสวนจากดิน ศิลปหัตถกรรมบานเรือนไทยยอสวนผลิตจากดิน ๔ ม.๑ ต.ทางกลาง โทร. ๐ ๑๗๗๖ ๓๐๗๓

แกะสลักโตะหมูบูชา อํานวย นอยโสภณ ม.๔ ต.พุทเลา โทร. ๐ ๓๕๗๑ ๓๔๒๗ ดอกไมประดิษฐ นฤมล กันตามระ ๕๖ ม.๒ ต.ขวัญเมือง โทร. ๐ ๓๕๓๘ ๑๐๒๙

อําเภอภาชี

หัวโขนจําลอง กลุมทําหัวโขนจําลอง ๔๔/๕ ม.๕ ต.ดอนหญานาง โทร. ๐ ๖๑๓๐ ๐๙๒๐

อําเภอบางซาย

เบญจรงคเคลือบมุก สมชาย เล็กสถิน ๖๑/๓ ม.๓ ต.เทพมงคล โทร. ๐ ๓๕๒๙ ๒๔๔๙ ๐ ๑๙๙๑ ๕๑๔๖

อําเภอบางไทร

แกวประดิษฐ ร.ต.ชัยพร ชํานาญ ๑๐๐/๓๘ ม.๑๐ ต.บางไทร โทร. ๐ ๓๕๓๗ ๑๒๐๘ ๐ ๑๘๐๗ ๔๖๒๘

อําเภอุทัย

ครกหินกลึง ผูผลิตกลุมผลิตภัณฑ ม.๑๒ ต.บานหีบ โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๕๕๓๘

กลุมจักสาน “บานหัวเวียง” ๕๑ ม.๒ ต.หัวเวียง โทร. ๐ ๑๙๐๔ ๖๗๖๖ ๐ ๒๕๗๓ ๕๒๙๖

อําเภอบางปะหัน

การสรางบานเรือนไทย สมจิต สุขมะโน อ.บางปะหัน โทร.๐ ๑๖๑๗ ๗๘๒๕

กระเปาผักตบ สุนีย ทูรศิลป ๖๔ ม.๔ ต.หันสัง อ.บางปะหัน โทร. ๐ ๙๘๒๒ ๙๘๑๗

Page 34: พระนครศรีอยุธยา

34

กรอบรูป นเรศ สุวรรณวงศ ๗๐/๑ ม.๑ ต.บางเพลิง อ.บางปะหัน โทร.๐ ๖๖๐๓ ๔๗๐๙

อําเภอเสนา

กระเปาหนังตอ กลุมอาชีพผลิตกระเปาหนังตอ ๖๑/๒ ม.๗ ต.รางจรเข อ.เสนา โทร. ๐ ๓๕๒๗ ๕๘๘๕ ๐ ๙๖๐๙ ๐๐๘๑ ๐ ๙๖๖๘ ๘๗๐๓

กลุมจักสาน “บานหัวเวียง” ๕๑ ม.๒ ต.หัวเวียง อ.เสนา โทร. ๐ ๑๙๐๔ ๖๗๖๖ ๐ ๒๕๗๓ ๕๒๙๖

อําเภอวังนอย

ผาไหม คเณษ พาลีขํา ๔๑/๓ ม.๑ ต.พะยอม อ.วังนอย โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๓๔๔ ๐ ๓๕๓๕ ๓๗๖๔ ๐ ๑๙๔๖ ๐๙๔๘

--------------------------------------------

ขอมูลรายละเอียดในเอกสารนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได สงวนลิขสิทธ์ิ หากนําไปจัดพิมพเพื่อการจําหนาย

--------------------------------------------

จัดทําโดย

งานพัฒนาขอมูลทองเที่ยว กองขาวสารการทองเท่ียว

การทองเท่ียวแหงประเทศไทย

หากมีขอมูลเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม โปรดแจง งานพัฒนาขอมูลทองเที่ยว

โทร. ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ ตอ ๒๑๔๑-๒๑๔๕ โทรสาร ๐ ๒๒๕๓ ๗๔๔๐

ใชบริการบริษัทนําเที่ยวท่ีมีใบอนุญาต ทานจะไดรับการคุมครองตามกฎหมาย

ชวยใสใจสิ่งแวดลอมและเคารพวิถีไทย

ปรับปรุงขอมูล

เมษายน ๒๕๔๘ ขอขอบคุณแหลงที่มาของขอมูล ไพฑูรย พงศะบุตร, ศาสตราจารยและวิลาสวงศ พงศะบุตร, ศาสตราจารย. คูมือการอบรมมัคคุเทศก,

Page 35: พระนครศรีอยุธยา

35

พิมพครั้งที่ ๔, ศูนยการศึกษาตอเนื่องแหงจุฬาลงกรณ, ๒๕๔๐. พระราชวังบางปะอิน,งานประชาสัมพันธและเผยแพรสํานักพระราชวัง,กรุงเทพฯ,๒๕๓๔. เว็บไซต : www.ayutthaya.go.th