การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง...

18
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยา ในผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลง ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์ 28 ธันวาคม 2555

Upload: rachanont-hiranwong

Post on 07-Jul-2015

339 views

Category:

Health & Medicine


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมลูขนาดยา ในผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลง

ภก.รชานนท์ หริัญวงษ์

28 ธนัวาคม 2555

Page 2: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ

มีการสั่งใช้ยาในขนาดสําหรับผู้ป่วยที่มีการทํางานของ

ไตปกติในผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลง ซึ่งเป็น

ขนาดที่สูงเกินไป

เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการ

ใช้ยา ทําให้การทํางานของไตแย่ลง ทําให้สิ้นเปลืองยา และบุคลากรที่ใช้ในการเตรยีมยาบริหารยา

Page 3: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ (ต่อ)

จากการสาํรวจการใช้ยาในผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วย อายุรกรรมหญิงในเดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2554

พบว่าผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตลดลงได้รับขนาดยาท

ี่เหมาะสมกับการทํางานของไตเพียงร้อยละ 57

สาเหตุของปัญหานี้อาจเกิดจากการที่แพทย์ประจําหอผู้ป่วย ไมไ่ด้รับข้อมูลคา่การทํางานของไตของผู้ป่วย และขนาดยาท

ี่เหมาะสม ขณะตรวจรักษาผู้ป่วย

Page 4: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

เป้าหมาย

1. เพื่อให้ผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลงได้รับขนาดยา

ที่เหมาะสมกับการทํางานของไตไม่น้อยกวา่ร้อยละ 80

2. เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าการทํางาน

ของไตในกลุ่มผู้ที่ได้รบัและผู้ที่ไม่ได้รับการปรับขนาดยา

ให้เหมาะสมกับการทํางานของไตที่ลดลง

Page 5: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

กิจกรรมการพัฒนา

รวบรวมข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของ

ไตของยาทุกตัวในโรงพยาบาลและจัดทําเป็นคู่มือ

สําหรับให้ข้อมูลกับแพทย์

Page 6: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

กิจกรรมการพัฒนา (ตอ่)

Page 7: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

กิจกรรมการพัฒนา (ตอ่)

สืบค้นสูตรสําหรับคํานวณค่าการทํางานของไตที่ม

ีความเหมาะสม และมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ

นํามาใช้กับข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางาน

ของไตที่ลดลงที่รวบรวมมา พร้อมกับสร้างเครื่องมือ

ช่วยคํานวณ

Page 8: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

กิจกรรมการพัฒนา (ตอ่)

Page 9: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

กิจกรรมการพัฒนา (ตอ่)

สร้างแบบบันทึกสาํหรับใช้ในการติดตามการสั่งใช้ยา ติดตามคา่การทํางานของไตของผู้ป่วย และบันทึกผล

หลังจากการให้ข้อมูลกับแพทย์

Page 10: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

กิจกรรมการพัฒนา (ตอ่)

กําหนดแนวทางการติดตาม การให้ข้อมูล และอบรม

เภสัชกรประจํางานบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยใน

ติดตามการสั่งใช้ยาในผู้ปว่ยในทุกรายที่เข้าเงื่อนไข

เมื่อพบการสั่งใช้ยาที่ต้องมีการปรับขนาดยา จึง

ดําเนินการให้ข้อมูลและปรกึษาแพทย์เพื่อปรับขนาด

ยาให้เหมาะสมและดําเนินการติดตามต่อเนื่องจน

ผู้ป่วยถูกจําหน่ายออกจากโรงพยาบาล

Page 11: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

กิจกรรมการพัฒนา (ตอ่)

Page 12: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง

85

246

279291 297

255 249 258

295316

283 280262

23

59 58

8462 66

55 56 5263

41 44 45

0

50

100

150

200

250

300

350

กค 54* สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55

ผูปวยที่ไดรับการติดตาม ผูปวยที่จําเปนตองไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม

ผู้ป่วยที่จําเป็นต้องได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับ การทํางานของไตที่ลดลงเฉลี่ยเดือนละ 57 ราย (ร้อยละ 21)

Page 13: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)

57

42

36

60

39 3833 34

44

38

29 2731

86

81 8277

74 75

8085 83

85

7376

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

กค 54* สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55

กอนใหขอมูล

หลังใหขอมูล

สัดส่วนของการได้รับขนาดยาที่เหมาะสมก่อนและหลังให้ข้อมูลขนาด ยา และปรึกษาแพทย์ เทา่กับร้อยละ 38 และ ร้อยละ 80 ตามลําดับ

Page 14: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)

ผูป้่วยในกลุ่มที่ได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสมมีระดับซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นจากค่า พื้นฐานมากกว่าเท่ากับ 0.5 และค่าการทํางานของไต (CrCl) ลดลงจากค่าพื้นฐาน

มากกว่าร้อยละ 25 นอ้ยกว่าผูป้่วยในกลุ่มที่ใช้ยาต่อในขนาดเดิม

3 42 434

167

0

50

100

150

200

ได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสม ใช้ยาต่อในขนาดเดิม

จํานว

นผู้ปว่

ย (ราย

) ผู้ป่วยที่ติดตาม

Scr > 0.5

CrCl < 25%

Page 15: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)

ผูป้่วยในช่วงก่อนสร้างระบบมีระดับซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นจากค่าพื้นฐานมากกว่าเท่ากับ 0.5 และค่าการทํางานของไต (CrCl) ลดลงจากค่าพื้นฐานมากกว่าร้อยละ 25 มากกว่า

ผูป้่วยในช่วงหลังสร้างระบบ

4 74 6

201

23

0

50

100

150

200

250

ก่อนสร้างระบบ หลังสร้างระบบ

จํานว

นผู้ปว่

ย (ราย

)

ผู้ป่วยที่ติดตาม

Scr > 0.5

CrCl < 25%

Page 16: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

บทเรียนที่ได้รับ

การให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์โดยการพูดคุยโดยตรงจะม

ีอัตราการยอมรับคําปรึกษามากกว่าการให้ข้อมูลและปรึกษา

โดยการเขียนบันทึกทางเภสัชกรรม (pharmacist note)

การปรับขนาดยาไมค่วรดูคา่การทํางานของไตในปัจจุบัน เพียงอย่างเดียว เพราะถ้าเนน้การปรับขนาดยาเพียงอย่าง

เดียวอาจทําให้ผู้ป่วยได้รับยาไมเ่พียงพอ จนส่งผลต่อการ รักษาได้

Page 17: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

บทเรียนที่ได้รับ (ตอ่)

แนวทาง แบบบันทึกและข้อมูลขนาดยาควรมีการทบทวน เปน็ระยะเพื่อให้เหมาะสมกับการทํางานและปัญหาที่พบ

หลังจากดาํเนนิการไปแล้ว

นอกจากผู้ป่วยผู้ใหญ่ ผู้ป่วยเด็กเป็นอีกกลุ่มหนึง่ที่มีโอกาส ได้รับยาในขนาดที่สูงเกินไปเนื่องจากมกีารทํางานของไต

ลดลง ดังนัน้ทางฝ่ายเภสัชกรรมจึงมีแผนงานที่จะขยายการ ดูแลครอบคลุมไปถึงผู้ป่วยเดก็ และผู้ป่วยเด็กแรกเกิดด้วย

Page 18: การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง