ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

55
การเมืองระหวางประเทศในอาเซียน (POL 9221) ความขัดแยงกรณีหมูเกาะสแปรตลีย โดย นายเยาวลักษณ ชาวบานโพธิรหัสประจําตัว 5719860013 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการเมือง รุนที7 เสนอ รองศาสตราจารย ดร.ธนาสฤษฏิ์ สตะเวทิน

Upload: yaowaluk-chaobanpho

Post on 14-Aug-2015

90 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

การเมืองระหวางประเทศในอาเซียน (POL 9221)

ความขัดแยงกรณีหมูเกาะสแปรตลีย

โดย

นายเยาวลักษณ ชาวบานโพธ์ิ

รหัสประจําตัว 5719860013

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการเมือง รุนที่ 7

เสนอ

รองศาสตราจารย ดร.ธนาสฤษฏิ์ สตะเวทิน

Page 2: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

บทนําและความเปนมา

การอางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลีย (Spratlys) ซึ่งเปนกลุมของเกาะใน

ทะเลจีนใต ต้ังอยูทาง ตอนใตของเกาะไหหลําของจีน อยูนอกชายฝงดานตะวันออก

ของเวียดนาม ทางตะวันตกของฟลิปปนสทางตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียและ

บรูไน ซึ่งจะเห็นไดวา จุดที่ต้ังของหมูเกาะสแปรตลียอยูในเสนทางเดินเรือที่สําคัญ

แหงหน่ึงของโลก อันที่จริงลักษณะทางภูมิศาสตรของหมูเกาะสแปรตลียสวนใหญ

เปน เกาะ แกง โขดหิน แนวปะการัง สันทราย ฯลฯ ซึ่งมนุษยไมสามารถอาศัยอยูได อยางไรก็ตาม หมูเกาะสแปรตลียไดทวีความสําคัญยิ่งขึ้นในสมัยสงครามโลก ครั้งที่

สอง เมื่อมีประเทศตางๆ ไดแก จีน อังกฤษ ญี่ปุน ใชหมูเกาะน้ีเปนที่ ซองสุมกําลัง

ทหารและเปนที่จอดเรือรบ อีกทั้งเมื่อมีการเริ่มจัดทําอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย

กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982

Page 3: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ในปค.ศ. 1973 หมูเกาะสแปรตลียไดรับความสนใจอยางมากอีกครั้งหน่ึง เน่ืองจาก

อนุสัญญาฉบับน้ีน้ีมีแนวคิดและไดสรางระบอบทางกฎหมายทะเลขึ้นใหมอีกหลาย

เรื่องอันมีผลกระทบตอประเทศในภูมิภาคน้ีเปนปญหาหน่ึงที่สงผลกระทบตอความ

มั่นคงในทะเลจีนใต ซึ่งปญหาน้ีอาจเปนจุดวาบไฟ (Flashpoint) ที่ทําใหเกิดการ

เผชิญหนาจนถึงขั้นเกิดสงครามทางเรอืและลุกลามไปในภูมิภาคทุกขณะ

Page 4: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ปญหาที่เกิดขึ้นในหมูเกาะสแปรตลียเปนปญหาการอางกรรมสิทธิ์ โดย จีน ไตหวัน

เวียดนาม ซึ่งตางอางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะทั้งหมด ในขณะที่ฟลิปปนสอางกรรมสิทธิ์

เหนือดินแดนเกือบทั้งหมดของหมูเกาะสแปรตลียสวน มาเลเซียอางดินแดนบางสวน

ของหมูเกาะสแปรตลียวาอยูในเขตไหลทวีปของ ตนเชนเดียวกับบรูไน ปจจุบันจีนได

ครอบครองเกาะตางๆ ในหมูเกาะสแปรตลีย 8-9 เกาะ เวียดนามครอบครอง 24 เกาะ

ฟลิปปนสครอบครอง 8 เกาะ มาเลเซีย ครอบครอง 3-6 เกาะ

Page 5: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ปญหากรณีพิพาทเหนือหมูเกาะสแปรตลียเกิดมานานเกือบศตวรรษแลว จนบัดน้ีก็ยัง

หาทางออกไมได โดยสถานการณความตึงเครียดจะเกิดขึ้นเปน ระยะๆ ดังเชน ในป

ค.ศ. 1988 เกิดการปะทะกันระหวางกองทัพเรือของจีนและ เวียดนามบริเวณจอหน

สัน เซาธรีฟ (Johnson South Reef) ในหมูเกาะสแปรตลียทําใหทหารเวียดนาม

เสียชีวิตมากกวา 70 นาย ในป ค.ศ. 2011

เหตุการณกลับมาตึงเครียดอีกครั้งหน่ึง เมื่อเวียดนามกลาวหาวาเรือรบจีนขัดขวางเรือ

สํารวจนํ้ามันของตนภายในเขต 200 ไมลทะเล อันเปนเขตเศรษฐกิจจําเพาะของ

เวียดนาม จีนตอบโตวาเวียดนามรุกลํ้านานนํ้าและคุกคามชาวประมงจีน นํามาซึ่งการ

แสดงแสนยานุภาพขมขวัญกัน เริ่มจากเวียดนามซอมรบทางทะเลดวยกระสุนจริง ถัด

มาไมก่ีวัน จีนประกาศซอมรบในทะเลจีนใตเชนเดียวกัน

Page 6: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands ในอดีตความขัดแยงแหงประวัติศาสตร

• ราว 3 ปกอนคริสตกาล เกาะแหงน้ีถูกคนพบ

โดยชาวหนันเยวจากทางตอนใตของประเทศ

จีนท่ีเขามาทําประมงในแหลงดังกลาว(ซึ่งจีนใช

เปนเหตุผลในการอางสิทธิ)

• ช ว ง ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 19ถึ ง ต น ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 20นั ก

เดินทางชาวยุโรป วิลเ ลียม สแปรตล่ีย ได

เดินทางมาคนพบในการสํารวจเสนทางเดินเรือ

• ป 1930 ฝร่ังเศสประกาศสิทธิเหนือหมูเกาะ โดย

อางในฐานะท่ีเวียดนามเปนดินแดนอาณานิคม

ของตน

• จีนขัดคานการประการสิทธิของฝร่ังเศส และยัง

สนับสนุนชาวประมงในการเขาสูพ้ืนท่ี ซึ่งทําให

เกิดการเผชิญหนากันเกิดขึ้น

Page 7: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands ในอดีตความขัดแยงแหงประวัติศาสตร (ตอ)

ป1931-1945 มีสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เกิดขึ้น ญ่ีปุนก็ไดเขาครอบหมูเกาะ

แหงนี้เพื่อใชเปนฐานเรือดําน้ํา เพื่อเสริมความแข็งแกรงทางทะเลในการเขา

รุกเขาสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต และไดมอบเกาะแหงนี้ใหอยูภายใตการ

ดูแลของไตหวัน

หลังจากท่ีญ่ีปุนพายแพในสงคราม พรรคกกมินตั๋งก็ไดเขาครอบครองหมู

เกาะท้ังหมด

ญ่ีปุนประกาศสละสิทธ์ิในหมูเกาะท่ีตนยึดไดในชวงสงครามท้ังหมด ดวย

การลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพซานฟรานซิสโกในป 1951

ป1949พรรคกกมินตั๋ง พายแพตอพรรคคอมมิวนิสตจีน ทําใหตองถอนตัว

ออกจากการครอบครอง

หลังจากฝร่ังเศสไดถอนกําลังออกจากเวียดนาม กองทัพเรือเวียดนามก็ได

เขาประจําการในเกาะสแปรตล่ีย

Page 8: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands เปนหมูเกาะท่ีต้ังอยูในอาณาบริเวณ

ทะเลจีนใต

มีอาณาบริเวณทางทะเล 3,500,000

ตารางกิโลเมตร

ประกอบไปดวย แนวปะการัง และหิน

โสโครก และเกาะเล็กๆประมาณ 100

เกาะ

เม่ือนําเน้ือท่ีท่ีเปนเกาะเล็กๆมารวมกัน

จะมี พ้ืนท่ีเพียง 3 ตารางไมลและไม

เหมาะแกการต้ังถิ่นท่ีอยูอาศัย

Page 9: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐในภมูภิาค

ทําไมตอง Spratly

เปนเสนทางผานของเสนทางเดินเรือท่ีสําคัญในภูมิภาค และมีความสําคัญเปนอันดับ 2

ของโลก

หากรัฐใดสามารถอางกรรมสิทธ์ิเหนือ หมูเกาะSpratlyได ก็จะสามารถเขาควบคุม

เสนทางการเดินเรือบริเวณทะเลจีนใตไดท้ังหมด

เปนจุดยุทธศาสตรทางทะเลท่ีสําคัญ ท่ีสงผลตอ จีน ญี่ปุน ไตหวัน เกาหลี รวมท้ังเปนจุด

ถวงดุลอํานาจระหวางมหาอํานาจตางๆ

ทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีคาดการกันวามีจํานวนมหาศาล ซึ่งจะสามารถตอบสนองตอการ

เติบโตทางเศรษฐกิจหรือเพ่ือเปน หลักประกันความม่ันคงทางพลังงานในอนาคตของรัฐ

ซึ่งในป 1968 มีการขุดพบนํ้ามัน โดยกระทรวงทรัพยากรธรณีและแรธาตุของจีน

ประเมินวาใตทองทะเลแถบน้ีมีนํ้ามันและกาซธรรมชาติถึง 17.7 พันลานตัน(คูเวตมี 13

พันลานตัน)ทําใหสแปตรล่ียเปนแหลงนํ้ามันและกาซธรรมชาติอันดับ 4 ของโลก

Page 10: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

Spratly กับทรัพยากรธรรมชาติท่ีคุมคาในการแยงชิง

ในปจจุบันคงจะปฏิเสธไมไดวาปจจัยท่ีสงผลตอความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ

ความเจริญกาวหนาของรัฐน้ัน ยอมจะมีปจจัยดานความม่ันคงทางพลังงานเขามา

เก่ียวของดวยเสมอ สงผลใหรัฐตางๆเรงแสวงหาแหลงพลังงานแหงใหมๆ ท่ีจะสามารถ

ตอบสนองตอความตองการของรัฐท่ีเพ่ิมสูงขึ้นตามไปดวย

รัฐในเอเชียตะวันออกเฉียงใตก็เชนเดียวกัน ซึ่งจากการคาดการณถึง ปริมาณ

ทรัพยากรธรรมชาติในทะเลจีนใตท่ีมีเปนจํานวนมาก ทําใหรัฐตางๆบริเวณโดยรอบ

ทะเลจีนใตพยายามท่ีจะอางกรรมสิทธ์ิเหนือพ้ืนท่ีทะเลจีนใตจนนําไปสูขอพิพาท

ระหวางรัฐเกิดขึ้น

ทรัพยากรธรรมชาติใน Spratly

นํ้ามัน

กาซธรรมชาติ

Page 11: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

ภาพแสดงถึงอิทธิพลทางทะเลของ Spratly

Page 12: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

Page 13: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

กฎหมายทางทะเล

The Third united Nations Convention on the Law of Sea (UNCLOS 3,1973-1982)

คือ การประชุมสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทางทะเลคร้ังท่ี 3 และมีผลบังคับใชป 1994 ซึ่ง

ขอสรุปในการประชุมคร้ังน้ีมีการพูดถึงในหัวขอ

ทะเลอาณาเขตและเขตตอเน่ือง (Territorial Sea and Contiguous Zone)

ชองแคบระหวางประเทศ (Straits used for International Navigation)

เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone)

ไหลทวีป (Continental Shelf)

ทะเลหลวง (High Seas)

ระบอบของเกาะ (Regime of Islands)

รัฐหมูเกาะ (Archipelagic States)

การวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล (Marine Scientific Research)

การปกปกษและสงวนรักษาไวซึ่งสภาวะแวดลอมทางทะเล

Page 14: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

กฎหมายทางทะเลท่ีเก่ียวของกับขอพิพาท Spratly

นานนํ้าภายใน (Internal Waters) คือ นานนํ้าท่ีอยูหลังเสนฐานปกติ หรือเสนฐาน

ตรง เขามาทางดานผืนแผนดินของรัฐชายฝง

ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) คือ เขตทางทะเลท่ีอยูถัดจากนานนํ้า

ภายในประเทศ ซึ่งสามารถขยายออกไปไดไกลสุดไมเกิน 12 ไมลทะเล ซึ่งรัฐ

ชายฝง มีสิทธิครอบครองโดยกฎหมายภายในและใชอํานาจอธิปไตยไดอยางเต็มท่ี

เขตตอเน่ือง (Contiguous Zone) คือ เขตท่ีอยูถัดจากทะเลอาณาเขต มีความกวาง

ไมเกิน 24 ไมลทะเล โดยวัดจากเสนฐานซึ่งใชวัดทะเลอาณาเขต ในเขตตอเน่ืองรัฐ

มีอํานาจในการปองกันมิใหมีการฝาฝนกฎหมายวาดวยการ ศุลกากร การเขาเมือง

การลงโทษตอการฝาฝนกฎหมาย ซึ่งไดกระทําในดินแดนหรือภายในทะเลอาณา

เขตของรัฐชายฝง

สิทธิการผานโดยสุจริต (Right of innocent passage) มาตรา 19(1)

Page 15: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

กฎหมายทางทะเลท่ีเก่ียวของกับขอพิพาท Spratly(ตอ)

มาตรา121กําหนดวา บริเวณโขดหิน ท่ีไมสามารถต่ังถิ่นท่ีอยูอาศัยของมนุษย

ได จะไมสามารถกําหนดเปนเขตเศรษฐกิจจําเพาะได

เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone: EEZ, มาตรา55-75) คือ

เขตท่ีมีความกวางไมเกิน 200 ไมลทะเล วัดจากเสนฐานซึ่งใชวัดความกวางของ

ทองทะเลอาณาเขต รัฐชายฝงมีสิทธิแตเพียงผูเดียว อธิปไตยเหนือเขตน้ีในการ

สํารวจและแสวงหาผลประโยชน อนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติท้ังท่ีมี

ชีวิตและไมมีชีวิต

จากขอกําหนดดังกลาวทําใหหลายๆประเทศพยายามสรางสิ่งปลูกสรางตางๆใน

พื้นท่ีพิพาทเพ่ือท่ีจะใชเปนขออางในการกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะและไมให

ขัดกับมาตรา121

Page 16: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

เสรีภาพของรัฐอื่นใน EEZ ของรัฐชายฝง รัฐอื่นยังคงมีเสรีภาพในเรื่อง

1. เสรีภาพการเดินเรือ(Freedom of navigation)

2. เสรีภาพการบินผาน(Freedom of overflight)

3. เสรีภาพในการวางสายเคเบิลและทอใตทะเล (Freedom to lay

submarine cables and pipelines)

4. เสรีภาพในการวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล(Freedom of scientific

research)

5. เสรีภาพในการสรางเกาะเทียมและสิ่งติดต้ังอื่นๆ (Freedom to

construct artificial island and other installations)

Page 17: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)

สิทธิและหนาท่ีของรัฐอ่ืนใน EEZ

ในการใชสิทธิและการปฏิบัติหนาท่ีของตนตามอนุสัญญาน้ีในเขต EEZ ใหรัฐ

อ่ืน คํานึงถึงสิทธิและหนาท่ีของรัฐชายฝงและใหปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับท่ีออก

โดยรัฐชายฝง ภาพตัวอยางแสดงถึงขอบเขตนานนํ้าไทย

สีเขียว คือ นานนํ้าภายใน

สีเหลือง คือ ทะเลอาณาเขต

สีนํ้าเงิน คือ เขตตอเน่ือง

สีฟา คือ เขตเศรษฐกิจจําเพาะ

บริเวณพื้นท่ีทับซอน ไทย-มาเล

Page 18: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

Spratly สูความขัดแยงท่ีรอวันปะทุ

ความขัดแยงท่ีกําลังเกิดขึ้น ในบริเวณทะเลจีนใตในขณะน้ีน้ัน เปนลักษณะของ

ความขัดแยงท่ีเกิดขึ้นในรูปแบบของความขัดแยง ระหวางประเทศอันเปนความ

ขัดแยงระหวางรัฐกับรัฐ ท่ีต้ังอยูบนพื้นฐานของผลประโยชนแหงชาติเปนสําคัญ

ผลประโยชนแหงชาติ

ในการดําเนินนโยบายหรือมาตรการใดๆก็ตามของรัฐชาติน้ัน ยอมจะใหความสําคัญ

กับผลประโยชนแหงรัฐเสมอ และในกรณีของ Spratly เองก็เชนกัน อันเปนผลมา

จากการท่ีรัฐตระหนักแลววา หากรัฐสามารถท่ีจะเขาถือครองกรรมสิทธ์ิเหนือพ้ืนท่ี

แหงน้ีได รัฐก็จะไดรับผลประโยชน จากทรัพยากรธรรมท่ีมีอยูอยางมากมายอันจะ

สงผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความม่ันคงของประเทศ

Page 19: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

เม่ือผลประโยชนแหงชาติขัดกัน

ผลจากการสํารวจท่ีเกิดขึ้นในบริเวณใตทองทะเลของหมูเกาะ Spratly น้ันทําใหมี

การคาดการถึงความอุดมสมบรูณของทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู อยางมากมายใน

บริเวณดังกลาว ซึ่งสอดคลองและตอบสนองตอนโยบายของรัฐตางๆในการท่ีจะ

แสวงหาแหลงทรัพยากรเพ่ือท่ีจะเปนหลักประกันและเก้ือหนุนตอระบบเศรษฐกิจท่ี

กําลังขยายตัวเพ่ิมสูงขึ้นในปจจุบัน

ซึ่งสถานการณท่ีเกิดขึ้นสงผลกระทบโดยตรงตอรัฐอันเกิดจากเปาหมายในการ

แสวงหาผลประโยชนน้ันขัดกัน ทําใหรัฐตางๆพยายามแยงชิงรวมท้ังการอางสิทธิ

เขาครอบครอง จนสงผลไปสูความขัดแยงท่ีกําลังเปนอยูในขณะน้ี

Page 20: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

รัฐที่เกี่ยวของในความขัดแยงนี้

Page 21: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

Page 22: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

กลุมรัฐคูขัดแยงอันเกิดจากการชวงชิงแหลงผลประโยชนเดียวกัน

ในสนามของการชวงชิงและการอางสิทธิเหนือพ้ืนท่ีพิพาทท่ีกําลังเกิดขึ้น ไดนํารัฐท่ี

เก่ียวของเขาสูความขัดแยงอยางหลีกเล่ียงไมได ซึ่งมีท้ังรัฐท่ีอยูในภูมิภาคเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใตและรัฐในภูมิภาคท่ีคาบเก่ียวกับทะเลจีนใตซึ่งมีสถานะเปนตัว

แสดงหลักในความขัดแยงน้ี อีกท้ังยังมีตัวแสดงภายนอกท่ีพยายามจะเขามามี

อิทธิพลในพื้นท่ีแหงน้ีดวยเชนกัน

กลุมรัฐคูขัดแยงท่ีเก่ียวของโดยตรง คือ ประเทศจีน เวียดนาม มาเลเซีย ฟลิปปนส

บรูไน ไตหวัน อีกท้ังยังมี อเมริกา ญี่ปุน ท่ีพยามยามเขามามีสวนรวมในสถานการณ

ท่ีเกิดขึ้น

โดยท่ี จีนและเวียดนาม อางสิทธิครอบครองหมูเกาะท้ังหมด ขณะท่ี มาเลเซียและ

ฟลิปปนส อางเพียงบางสวน รวมท้ังบรูไนซึ่งไมไดอางสิทธิเหนือหมูเกาะใดในพื้นท่ี

พิพาท แตไดประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะซึ่งไดเขาไปทับซอนกับอาณาเขตของการ

อางสิทธิของรัฐในขอพิพาทน้ี

Page 23: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

การอางสิทธิในความขัดแยงน้ี

จีนไดเผยแพรแผนท่ีทางการของตน ท่ีครอบคลุมพ้ืนท่ีเปน

บริเวณกวางในทะเลจีนใตซึ่งทําใหแนวหมูเกาะตางๆรวมท้ังเสนทาง

เดินเรือทั้งหมดอยูภายใตอธิปไตยของจีน

ซึ่งจีนไดอางหลักฐานทางประวัติศาสตร วาพ้ืนท่ีดังกลาวเคย

ปรากฏอยูในแผนที่ของอาณาจักรจีนมาต้ังแต 200 ปกอนคริสตกาล

Page 24: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

การอางสิทธิในความขัดแยง

Page 25: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

จีน กับ การเสริมสรางความม่ันคงแหงชาติ

ต้ังแตเร่ิมการปฏิรูปและพัฒนาประเทศของจีนนับต้ังแตป ค.ศ.1980 ทําใหชีวิตความ

เปนอยูของประชาชนและระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนดีขึ้นโดยรวม

อีกท้ังยังผลักดันใหจีนกาวขึ้นสูสถานะหน่ึงในมหาอํานาจของโลก แตทวาจีนยังคงตอง

เผชิญกับความทาทายรูปแบบใหมท่ีมาพรอมกับการพัฒนาและความทันสมัย น่ันก็คือการ

ขาดแคลน ทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศ

Page 26: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

จากการ ท่ีจีนตระหนักแลววา แหลงทรัพยากรเดิมท่ีตนมีอยูใน

ปจจุบัน ก็ คือ ถานหินนั้นไมสามารถท่ีจะขับเคลื่อนระบบ

เศรษฐกิจจีนไดอีกตอไป ท้ังจะสงผลกระทบทางสิ่งแวดลอมท่ี

รุนแรง เปนผลใหจีนตองมองหาทรัพยากรใหมท่ีจะสามารถเขา

แทนที่ทรัพยากรเดิม

ทําใหน้ํามันและกาซธรรมชาติกลายเปนพลังงานทางเลือกท่ีจะ

ตอบสนองตอความมั่นคงและระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนอยู

ในปจจุบัน

จีน กับ การเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติ (ตอ)

Page 27: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

จากความขาดแคลน สูการเรงแสวงหาและเขาครอบครองแหลงทรัพยากร

การท่ีจีนไมมีแหลงทรัพยากรท่ีเพียงพอตอการพัฒนาประเทศ ทําใหจีน

จําเปนตองนําเขาพลังงานจากตางชาติเพื่อขับเคล่ือนระบบเศรษฐกิจ อันเปน

ผลใหระบบเศรษฐกิจของจีนตองพึ่งพาตางชาติอยางหลีกเหล่ียงไมได

ทําใหบทบาทในการดําเนินการแสวงหาน้ํามันของจีนในปจจุบัน ปรากฏ

เปนรูปธรรมในหลายภูมิภาคท่ัวโลก โดยผาน ความสัมพันธในระดับกลไกของ

รัฐและเอกชน ไมวาจะเปนการแสวงหาการเขาไปลงทุนดานพลังงานใน

ตางประเทศ และการปกปองแหลงพลังงานท่ีตนมีอยู

Page 28: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

สงเสริมการดําเนินการของรัฐวิสาหกกิจน้ํามัน ในตางแดน

ใหความสําคัญกับประเด็นความม่ันคงทางพลังงาน

สรางความชอบธรรมใหเกิดขึน้ในเวทีระหวางประเทศ เพื่ออํานวยประโยชน

แกการเขาไปดาํเนินการของรัฐวิสาหกิจน้ํามัน

ดําเนินการสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร

สรางความเชื่อม่ันวาน้ํามันจะถูกลําเลียงสูจีนอยางปลอดภัย

Page 29: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ประเด็นเพ่ือผลประโยชนแหงชาติ อนันําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต

เพื่อความม่ันคงของเสนทางลําเลียงน้ํามันทางทะเล เนื่องจากหาก

เกิดเหตุสุดวิสัยหรืออุปสรรคใดๆตอเสนทางลําเลียงน้ํามันเหลานั้น

ยอมจะสงผลกระทบโดยตรงตอความม่ันคงดานพลังงานของจีนได

เพื่อเขาครอบครองแหลงทรัพยากร อันจะนําไปสูความมันคงทาง

พลังงาน

เพื่อถวงดุลอิทธิพลของประเทศมหาอํานาจท่ีพยายามเขามามี

อิทธิพลในภูมิภาคนี้

Page 30: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ประเด็นเพ่ือผลประโยชนแหงชาติ อนันําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต

แนวโนมความรุนแรงท่ีเกิดจากการพพิาท

ฟลิปปนสไดประกาศ EEZ ของตนและเร่ิมเขาทําการสํารวจและ

ผลิตกาซธรรมชาติในพื้นท่ีพิพาท ท่ีจีนอาง กรรมสิทธ์ิ

มาเลเซียไดประกาศ EEZ ของตนโดยอางอิงจากอาณาเขตชายฝง

ของหมูเกาะซาราวัค ซ่ึง EEZ ของมาเลท่ีวานี้ก็อยูใน อาณาเขต

นานน้ําท่ีจีนอาง กรรมสิทธ์ิ

เวียดนาม อางกรรมสิทธ์ิ เหนือแหลงน้ํามันในพื้นท่ีนอกชายฝงของ

เวียดนาม ซ่ึงครอบคลุมแหลง พลังงานนอกชายฝงของจีน

Page 31: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

Page 32: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ประเด็นเพ่ือผลประโยชนแหงชาติ อนันําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต

แนวโนมความรุนแรงที่เกดิจากการพิพาท ในชวงเวลาของการพพิาทและความขดัแยงท่ีผานมา มีการปะทะ

ประปรายของกองกําลังทหารหนวยยอยๆระหวางกองเรือ

ลาดตระเวน ซ่ึงจํากัดความรุนแรงและไมไดนําไปสูการเกิดสงคราม

ป 1974 จีนบุกเขายึดครองหมูเกาะพาราเซลจากเวียดนาม

ป 1988 เกิดการปะทะระหวางกองเรือจีนและกองเรือเวียดนาม

สงผลใหเรือของเวียดนาม จมไปหลายลําและทําใหลูกเรือกวา 70

นายเสียชีวิต

จีนไดเร่ิมคุกคามบริษัทน้ํามันตะวันตก และ ปโตรเวียดนาม ใน

ระหวางการเขาสํารวจแหลงทัพยากรในพืน้ท่ีพพิาท

Page 33: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ประเด็นเพ่ือผลประโยชนแหงชาติ อนันําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต

แนวโนมความรุนแรงที่เกดิจากการพิพาท แนวโนมการจัดซื้ออาวุธและเสริมสรางความมัน่คงทาง

ทหารในภูมภิาคเพ่ิมสูงขึ้น

กองทัพอากาศมาเลเซีย ใหเหตุผลในการจัดหาเครื่องรบ

SU-30 MKM วา เปนการรับมอืกบัความทาทายใหม ในการ

ยุทธทางทะเล

Page 34: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ประเด็นเพ่ือผลประโยชนแหงชาติ อนันําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต

แนวโนมความรุนแรงที่เกดิจากการพิพาท จีนไดประกาศหามเรือประมงของประเทศอื่น เขาไปจับปลาใน

เขตหมูเกาะสแปรตลี่ย ที่จีนอางกรรมสิทธิ์ และไดมีการจบักมุ

ชาวประมงของประเทศเพ่ือนบานอยูหลายครั้ง

จีนไดเสริมกองกําลงัทางทะเลเขาสูทะเลจีนใต และในเดือน

มีนาคม ป 2010 เรือรบของจนีไดมีการเผชิญหนากับเรือรบของ

สหรัฐในนานน้ําทะเลจีนใต

จีนไดจัดการซอมรบขึ้น กับ รัสเซีย ในรูปแบบของการรบ

ทางอากาศ ทางบก ทางทะเล ซึ่งเปนการแสดงความพรอมใน

การรบหากเกิดสถานการณที่ไมคาดฝนขึ้น

Page 35: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ประเด็นเพ่ือผลประโยชนแหงชาติ อนันําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต

แนวโนมความรุนแรงที่เกดิจากการพิพาท ฟลิปปนส จนี เวียดนาน ไดเขาไปต้ังปอมปราการทางทหาร

บริเวณเกาะเล็กเกาะนอยตางๆ เพ่ือคุมกนัแทนขุดเจาะของตน

เวียดนามและฟลิปปนสไดจัดการซอมรบทางทะเล ดวย

กระสุนจริงและมีการซอม ปลอยขีปนาวุธตอตานเรือรบชนดิ

ตางๆ

ไตหวันเรงเสริมสรางกองกําลังทางทะเลของตนใหแข็งแกรง

ขึ้นเพ่ือรับมอืกบัความรนุแรงที่อาจะเกิดขึ้นในอนาคต

Page 36: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ประเด็นเพ่ือผลประโยชนแหงชาติ อนันําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต

แนวโนมความรุนแรงที่เกดิจากการพิพาท จีนเตรียมกองเรือเฉพาะกิจไวที่ฐานทัพเรือบนเกาะไหหลํา ซึ่ง

อยูหางจาก สแปรตลี่ย 1000 กิโลเมตร กองเรือดังกลาวพรอม

เคลื่อนยายทันทีหากมคีวามรุนแรงเกดิขึ้นในพ้ืนที ่

จีนแสดงทาทีไมพอใจ ตอกรณีที่ 5 สมาชิกสภาผูแทน ของ

ฟลิปปนสเดินทางไปยังหมูเกาะสแปรตลี่ย โดยที่จีนอางวาเปน

การกระทําที่ยั่วยุตออํานาจอธิปไตยของจนี

ฟลิปปนสแสดงความไมพอใจตอการอางกรรมสิทธิ์ของ

ทางการจีน จนนําไปสูความคิดที่จะเปลี่ยนชื่อทะเลจีนใต ไป

เปนทะเลฟลิปปนส

Page 37: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

อาคารท่ีทางการจีนสรางไวในพื้นท่ีพพิาท เพื่อใชเปนปอมปราการทางทหาร

Page 38: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

เรือปลอยขีปนาวุธตอสูเรือรบ ของกองทัพเรือ เวียดนาน ขณะเตรียมตัวกอน

ออกลาดตระเวนในทะเลจีนใต

Page 39: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

เรือรบเวียดนามทําการซอมยงิขีปนาวุธ ตอตาน อากาศยาน เรือผิวน้ํา และตอสู

ชายฝง

Page 40: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

เรือตรวจการณขีปนาวุธ กองทัพเรือเวียดนามขณะลาดตระเวนในบริเวณทะเลจีนใต

Page 41: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)

กองเรือขีปนาวุธ เวียดนามแลนออกจากทา เพื่อเขาสูสถานการณรบดวยกระสุนจริง

Page 42: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)

ไตหวัน นํารถถังเขาประจําการบนเกาะในพ้ืนที่พิพาท

Page 43: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)

จีนสงเรือรบเขาสูนานนํ้าทะเลจีนใตเพื่อขมขวัญและแสดงแสนยานุภาพทางทะเลของตน

Page 44: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ประเด็นเพ่ือผลประโยชนแหงชาติ อนันําไปสูความขัดแยงในทะเลจีนใต

แนวโนมความรุนแรงที่เกดิจากการพิพาท จากสถานการณความรุนแรงท่ีเกิดขึ้น หากมองในมุมของอํานาจ

ทางการทหารนั้น เห็นไดชัดวาคงไมมีประเทศใดในความขัดแยงนี้ท่ี

จะมีแสนยานุภาพทางการทหารท่ีเหนือกวาจีนไปได และจีนเองก็

ตระหนักในความเหนือกวาของตนดี

ซ่ึงทําใหจีนตองแสดงทาทีทางทหารใหอยูในกรอบท่ีเหมาะสมและ

ควบคูไปกับการดําเนินการทางการทูตเพราะหากสถานการณใน

พ้ืนท่ีขยายวงกวางออกไป ยอมจะสงผลตอภาพลักษณของการเปน

มหาอํานาจในเอเชียของจีน และอาจจะเปนเหตุผลใหมหาอํานาจอื่น

เขามาแทรกแซงสถานการณที่เกิดขึ้น

Page 45: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)

สหรัฐอเมริกาตอกรณีความขัดแยงในทะเลจีนใต

ดวยความท่ีพ้ืนท่ีบริเวณทะเลจีนใต เปนจุดยุทธศาสตรท่ีมีความสําคัญ ตอการถวงดุล

อํานาจระหวางประเทศและมีความสําคัญตอความเจริญกาวหนาของจีน ซึ่งสถานการณ

ความขัดแยงท่ีเกิดขึ้ง ไดสรางความชอบธรรมในการท่ีอเมริกาจะเขาไปมีบทบาทใน

พ้ืนท่ี เน่ืองจากเปนท่ีทราบกันดีวา ยุทธศาสตรใหญของสหรัฐในภูมิภาคน้ี คือ การปด

ลอมจีน อีกท้ังยังไดรับการรองขอจากชาติท่ีเก่ียวของใน ความขัดแยงน้ีโดยตรง ไมวา

จะเปน เวียดนาม และ ฟลิปปนส

ทาทีของอเมริกาในความขัดแยงน้ี

อเมริกาไดกระชับความสัมพันธทางทหารกับเวียดนาม

อเมริกาจัดการซอมรบรวมกับ ฟลิปปนส และ เวียดนาม

สถานการณความขัดแยงท่ีเกิดขึ้นน้ี สหรัฐเองถึงแมวาจะเปนมหาอํานาจทางทหารแต

จะใหเปดฉากสงครามก็คงจะไมเปนผลดีตอท้ังอเมริกา และจีน ดังน้ันสถานการณท่ี

เกิดขึ้น ก็นาจะเปนไปในรูปของการ แสดงทาทีทางการทูตเสียมากกวา

Page 46: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)

แผน ท่ี ท่ีแสดงอาณา

เ ข ต รั บ ผิ ด ช อ บ ท า ง

ทหารของอเมริกาท่ีมี

อยู ท่ั ว ทุกมุมโลก ซ่ึ ง

แสดงใหเห็นถึงความ

ทะเยอทะยาน ในการท่ี

จะเปนเจามหาอํานาจ

ของสหรัฐอเมริกา

Page 47: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค(ตอ)

ความขัดแยงกับการแสวงหาทางออก

สถานการณความขัดแยงท่ีเกิดขึ้น สงผลโดยตรงตอเสถียรภาพและความม่ันคงของ

ภูมิภาค ทําใหประชาคมระหวางตองเรงแสวงหาทางออกจากความขัดแยงน้ีรวมกัน

เพ่ือท่ีจะปองกัน เหตุบานปลายท่ีอาจสงผลใหเกิดความรุนแรง และเปนความทาทาย

ใหมขององคกรระหวางประเทศในพ้ืนท่ีวาจะสามารถแสดงความสามารถในการ

แกไข ความขัดแยงน้ีไดดีเพียงใด

การแกไขปญหาท่ีเกิดขึ้น

การริเร่ิมใชแนวทางการทูต และขอตกลงความรวมมือตางๆเพ่ือแกปญหาในทะเลจีน

ใต โดยการเจรจาผานเวทีประชุมของกลุมความรวมมือประชาติแหงเอเชียตะวันออก

เฉียงใต

ท่ีประชุมอาเซียน ในป 2539 ไดมีมติในการออกระเบียบปฏิบัติในทะเลจีนใต

(Code of Conduct)

Page 48: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

บทบาทของอาเซียนในการแกไขปญหาในหมูเกาะสแปรตลีย บทบาทของอาเซียนในหมูเกาะสแปรตลียสามารถพิจารณาไดจากการที่ประชุมระดับ

รัฐมนตรีตางประเทศของอาเซียนที่ฟลิปปนสเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1992 ไดออก

ปฏิญญาอาเซียนวาดวยทะเลจีนใต (ASEAN Declaration on the South China Sea) กําหนด

แนวทางในการแก ปญหาขัดแยงโดยสันติวิธี จีนซึ่งเขารวมในการประชุมไดลงนามในการ

รับรอง ดวยอยางไรก็ตามแมมีปฏิญญาอาเซียนวาดวยทะเลจีนใตแลว รัฐที่กลาวอาง สิทธิ์ก็

ยังตอสูชวงชิงเพ่ือใหตนไดมาซึ่งลักษณะทางภูมิศาสตรในบริเวณหมูเกาะสแปรตลียที่ยัง

ไมมีรัฐใดเขาไปครอบครองซึ่งความตึงเครียดน้ีขึ้นสูจุดสูงสุด

ในป ค.ศ. 1995 หลังจากจีนเขาไปครอบครอง Mischief Reef ซึ่งฟลิปปนสอางสิทธิ์วาเปน

ของตนและต้ังอยูนอกชายฝงของเกาะ Palawan เพียง 100 ไมลการเขาครอบครอง

Mischief Reef ของจีน กอใหเกิดความตึงเครียดอยางรุนแรงระหวางอาเซียนกับจีนดวยเหตุ

น้ีจึงมีความพยายามที่จะจัดทําความตกลงเก่ียวกับแนวปฏิบัติของรัฐผูเปนฝายในกรณี

พิพาท ซึ่งไดแก ปฏิญญา อาเซียนจีนวาดวยแนวปฏิบัติของผูเปนฝายในกรณีพิพาทใน

ทะเลจีนใต (2002 ASEAN-China Declaration on the Conduct of Parties in the South

China Sea)

Page 49: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

บทบาทของอาเซียนในการแกไขปญหาในหมูเกาะสแปรตลีย

ซึ่งไดรับการยอมรับโดยรัฐมนตรีตางประเทศ ของอาเซียนและจีนในคราวประชุมสุดยอด

อาเซียน (ASEAN Summit) ที่ กรุงพนมเปญ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 ปฏิญญาอาเซียน-จีนวา ดวยแนวปฏิบัติของผูเปนฝายในกรณีพิพาทในทะเลจีนใตกําหนด

วา รัฐผูเปนฝายในกรณีพิพาทยืนยันวาจะเคารพและใหคํามั่นสัญญาวาจะปฏิบัติตามหลัก

เสรีภาพในการเดินเรือและการบินผานในทะเลจีนใตตามหลักกฎหมายระหวางประเทศที่

ไดรับการยอมรับระดับสากลซึ่งรวมถึงอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย กฎหมายทะเล

ค.ศ. 1982 และยืนยันวาการรับเอาแนวปฏิบัติ (Code of Con-duct) ในทะเลจีน

ใตจะเปนการสงเสริมสันติภาพและความมั่นคง (Peace and Stability)

ในภูมิภาคและตกลงวาจะดําเนินการในเรื่องน้ีใหสําเร็จลุลวงตาม วัตถุประสงคบน

พ้ืนฐานของหลักฉันทามติ (Consensus) นอกจากน้ีปฏิญญาฯ ยังกําหนดใหรัฐผูเปน

ฝายที่เก่ียวของในกรณีพิพาทพรอมที่จะดําเนินการใหมีการปรึกษาหารือและการเจรจาใน

ประเด็นปญหาตางๆ ที่เก่ียวกับขอพิพาทน้ันตาม วิธีการที่ไดตกลงกันและโดยประการ

สําคัญปฏิญญาฯ น้ีไดระบุวา รัฐผูเปนฝายในกรณีพิพาทรับวาตนจะเคารพและกระทําการ

ตามบทบัญญัติของปฏิญญาฯ

Page 50: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

Code of Conduct เปนกระบวนการแสวงหาทางออก โดยผานกระบวนการในการตกลงรวมกัน ในการ

ท่ีจะสรางความสันติใหเกิดขึ้นในพ้ืนท่ี รวมท้ังทําใหเกิดความชัดเจนในการ

ดําเนินการดานตางๆ เชน การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร การปราบปรามโจรสลัด

และขบวนการคายาเสพติด โดยไมกอใหเกิดความขัดแยงในดานอธิปไตย

ป ค.ศ. 1999 ไดมีการผลักดันใหมีการกําหนดระเบียบปฏิบัติในการแกไขปญหาขอ

พิพาท โดย เวียดนามและฟลิปปนส ซึ่งเห็นวาควรใหจีนเขามามีสวนในขอตกลงน้ี

จีนไดเร่ิมเปดการเจรจากับกลุมอาเซียนเก่ียวกับ ระเบียบปฏิบัติ ซึ่งจะใชกําหนดการ

ปฏิบัติ ของผูอางสิทธิท้ังหลาย ซึ่งจีนมีความคิดเห็นไมตรงกับหลายๆประเทศใน

เร่ืองท่ีวา “ภาคีอาเซียนตองการผลักดันใหเกิดพันธะผูกพันท่ีชัดเจน ในขณะท่ีจีน

ตองการพันธะผูกพันแบบกวางๆเพ่ือยับย้ังการกระทําท่ีอาจจะ ทําใหสถานการณ

ยุงยากมากขึ้น”

Page 51: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

ทาทีของสหรัฐในการแกไขความขัดแยง

ในการประชุม ARF ท่ีผ านมานั้น รัฐมนตรีว าการกระทรวงการ

ตางประเทศของสหรัฐ Hillary Clinton ไดประกาศทาทีท่ีตอความขัดแยง

ท่ีเกิดขึ้น

สหรัฐถือวาเร่ืองนี้เปนเร่ืองสําคัญและจะเขามามีบทบาทในการแกไข

ปญหาและไมเห็นดวยกับการใชกําลังในการแกไขปญหา

สหรัฐสนับสนุนใหมีการเจรจาแบบพหุภาค ี

สหรัฐใชยุทธศาสตรความม่ันคงรวม ในภูมิภาคเพื่อจะใชเปนหลักประกัน

เสถียรภาพและความม่ันคงของสหรัฐในวามขัดแยงท่ีเกิดขึ้นผานทาง

ขอตกลงตางๆ

Page 52: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

Spratly Islands กับเสถียรภาพและความม่ันคงของรัฐในภูมิภาค (ตอ)

ตราบใดท่ีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ยังคงเปนความตองการเรงดวนของทุกรัฐ

ในปจจุบันน้ีแลว ปจจัยดานพลังงานก็จะเปนตัวหนุนและรองรับความเจริญเติบโตท่ี

เกิดขึ้น ไมวาจะเปนไปในรูปของการแสวงหาพลังงานเขาสูรัฐ หรือแมกระท่ัง การคา

ขายทรัพยากรพลังงาน ท่ีไดจากแหลงทรัพยากรพลังงานของรัฐ และดวย

ผลประโยชนท่ีเกิดขึ้นอยางมากมายน้ีเอง ท่ีนําไปสูความขัดแยงท่ีนับวันจะทวีความ

รุนแรงขึ้นตราบใดท่ียังไมสามารถหาขอยุติในการอางสิทธิท่ีคาบเก่ียวกันได

การจัดต้ังกระบวนการเจรจาไกลเกล่ียโดยสันติวิธี และจัดทํา ระเบียบปฏิบัติ ท่ี

ยอมรับรวมกัน จึงจําเปนตองดําเนินการอยางตอเน่ือง เพ่ือเปนหลักประกัน ตอความ

ม่ันคงและความสงบสุขของภูมิภาค

Page 53: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกบัประเทศไทย สําหรับประเทศไทย ปญหาการแยงชิงกรรมสิทธิ์ในหมูเกาะสแปรตลียเปนปญหาที่มี

ความสําคัญอยางยิ่งเน่ืองจากหากมีการสูรบกันเกิดขึ้นประเทศไทยอาจไดรับผลกระทบทั้ง

ในดานภูมิศาสตรเศรษฐกิจและการเมือง กลาวคือ ประเทศไทยมีพ้ืนที่ติดทะเลอยู 2 ดาน

คืออาวไทยและทะเลอันดามัน โดยเฉพาะอาวไทยเปนอาวที่ลํ้าเขามาในแผนดินและมีรัฐ

ชายฝงอื่นๆ ลอมรอบทําใหเสนทางคมนาคมถูกปดลอมโดยที่ต้ังทางภูมิศาสตรหากมีการสู

รบกันเกิดขึ้นในทะเลจีนใต นอกจากน้ีทะเลจีนใตยังเปนพ้ืนที่สําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจ

ของไทยโดยเปนเสนทางคมนาคมที่สําคัญในการขนสงสินคาทางทะเล พาณิชยนาวี

เหตุการณรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตจะทําใหไทยถูกดึงเขาไปเก่ียวของ อยางหลีกเล่ียง

ไมไดในระดับใดระดับหน่ึงและอาจเกิดผลกระทบตอความสัมพันธทางดานการเมือง

ระหวางประเทศ เพราะประเทศที่อางกรรมสิทธิ์เปนสมาชิกของอาเซียนถึง 4 ประเทศ หากเกิดเหตุการณรุนแรงขึ้นยอมสงผลกระทบตอการปองกันประเทศและผลประโยชนทาง

เศรษฐกิจของไทย สมควรที่จะมีการพิจารณากําหนดทาทีของไทยตอปญหาและผลกระทบ

ที่อาจเกิดขึ้นจากความขัดแยงในบริเวณ ดังกลาวเพ่ือใหสามารถรักษาผลประโยชนของชาติ

ไดอยางเหมาะสม

Page 54: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกบัประเทศไทย นอกจากน้ีปญหาหมูเกาะสแปรตลียมีความสําคัญตอไทยในแงที่เปนเขตกองเรือประมงนํ้า

ลึกของไทยอาจไปรวมทําการประมงโดยขอตกลงรวมกับประเทศที่อางกรรมสิทธิ์ตางๆ ได

และประเทศไทยจําเปนตองอาศัยเสนทางคมนาคมผานดินแดนทะเลจีนใตน้ี ความมั่นคง

ปลอดภัยของเสนทางเดินเรอืจึงมีความสําคัญและประการสุดทาย ถามีการแกปญหาโดยการ

ใชกําลัง ประเทศไทย ก็จะไดรับผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงไมได ดังน้ัน การวางตัวเปนกลางของไทยตอการขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นนาจะอํานวยประโยชนและ

สรางความมั่นคงใหแกไทยไดมากที่สุด อยางไรก็ตาม ไทย นาจะยืนยันตามปฏิญญาอาเซียน

วาดวยทะเลจีนใต ซึ่งไดเสนอใหใชหลักการ ของสนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือใน

เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเนนการแกไขขอพิพาทโดยสันติวิธีโดยไทยควรยึดหลักการ

สําคัญ 3 ประการ คือ 1. ยืนยันสนับสนุนการแกปญหาโดยสันติวิธี 2. ไมสนับสนุนใหอาเซียนโดดเด่ียวประเทศใดที่กลาวอางกรรมสิทธิ์ 3. ไมแสดงทาทีสนับสนุนการกลาวอางกรรมสิทธิ์ของฝายใดฝายหน่ึง

Page 55: ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์