บทบาททางการเมืองของกลุ่มทหารในสมัยรัฐบาล...

13
1 บทบาททางการเมืองของกลุมทหารในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท เสนอ รองศาสตราจารย ดร.สุรพล ราชภัณฑารักษ รองศาสตราจารย ดร.ชัยชนะ อิงคะวัต รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา ทหารกับการเมืองไทย รหัสวิชา POL 9214 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเมือง คณะรัฐศาสตร รุนที7 ภาคเรียนที1 ปการศึกษา 2558

Upload: yaowaluk-chaobanpho

Post on 16-Aug-2015

10 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

1

บทบาททางการเมืองของกลุมทหารในสมัยรัฐบาล

พลเอกเปรม ติณสูลานนท

เสนอ

รองศาสตราจารย ดร.สุรพล ราชภัณฑารักษ

รองศาสตราจารย ดร.ชัยชนะ อิงคะวัต

รายงานน้ีเปนสวนหน่ึงของวิชา ทหารกับการเมืองไทย

รหัสวิชา POL 9214

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเมือง คณะรัฐศาสตร

รุนท่ี 7

ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2558

นายสนทรรศน แยมรุง รหัสประจําตัว 5619860005

นายปณิธิ อนสุวรรณ รหัสประจําตัว 5719860008

นางสาวเยาวลักษณ ชาวบานโพธ์ิ รหัสประจําตัว 5719860013

นางสาวพินติา แกวจิตคงทอง รหัสประจําตัว 5719860014

บทบาททางการเมืองของกลุมทหารในสมัยรัฐบาล

พลเอกเปรม ติณสูลานนท

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังการขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีของ

พลเอกเปรม ติณสูลานนท-เหตุการณกบฏ 1 เมษายน พ.ศ.2524

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังเหตุการณกบฏ 1 เมษายน พ.ศ. 2524 –

การเลือกต้ังวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2526

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังการเลือกต้ังเม่ือวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2526 –

เหตุการณกบฏ 9 กันยายน พ.ศ. 2528

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังเหตุการณกบฏ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 – การยุบ

สภาเม่ือวันท่ี 29 เมษายน พ.ศ. 2531

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังเหตุการณ

14 ตุลาคม พ.ศ. 2516

เมื่อคณะผูปกครองทหารถูกโคนอํานาจลงภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 กลุมพลัง

การเมืองตาง ๆ กลับมามีบทบาทอีกครั้ง โดยท่ีกลุมทหารตองลดบทบาททางการเมืองลงและเปดใหมีการ

เลือกตั้งในป พ.ศ. 2518 สงผลใหนักการเมืองไดกลับมามีบทบาททางการเมือง แตภายหลังเหตุการณ 6

ตุลาคม พ.ศ. 2519 กลุมทหารก็สามารถกลับมามีบทบาททางการเมืองดังเดิม เมื่อพลเรือเอกสงัด ชะลออยู

ไดนําคณะปฏิรูปการปกครองแผนดินเขายึดอํานาจการปกครองจากรัฐบาล หมอมราชวงศเสนีย ปราโมช

เมื่อวันท่ี 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 หลังจากนั้นนายธานินทร กรัยวิเชียร ไดขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี โดย

ไดรับการสนับสนุนจากกลุมทหาร กลุมทหารจึงสามารถกลับมามีบทบาททางการเมืองไดอีกครั้ง บทบาท

ของกลุมทหารคงอยูเรื่อยมาจนกระท่ังคณะปฏิรูปการปกครองแผนดินภายใตการนําของพลเรือเอกสงัด

ชะลออยู เขาทําการรัฐประหารยึดอํานาจรัฐบาล นายธานินทร กรัยวิเชียร เมื่อวันท่ี 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520

ภายหลังการรัฐประหารพลเอกเกรียงศักด์ิ ชมะนันทน เลขาธิการคณะปฏิรูปการปกครองแผนดินขึ้นดํารง

ตําแหนงนายกรัฐมนตรี กลุมทหารจึงยังคงครองอํานาจทางการเมืองตอมา โดยไดรับการแตงตั้งใหดํารง

ตําแหนงรัฐมนตรี และดํารงตําแหนงสมาชิกวุฒิสภา

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังเหตุการณ

14 ตุลาคม พ.ศ. 2516

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังการข้ึนดํารง

ตําแหนงนายกรัฐมนตรีของ พลเอกเปรม ติณสูลานนท-

เหตุการณกบฏ 1 เมษายน พ.ศ.2524

กลุมทหารท่ีมีบทบาทสําคัญทางการเมืองในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลา

นนท แบงออกเปนหลายกลุม และบทบาทของทหารแตละกลุมไดสงผลกระทบตอ

สถานการณทางการเมืองภายในประเทศ ความแตกแยกภายในกองทัพจนทําใหทหารแบง

ออกเปนหลายกลุมน้ี เกิดขึ้นเน่ืองจากสภาวการณทางการเมืองของไทยเร่ิมเปล่ียนแปลงไป

ภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 และเหตุการณ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เปนผลใหผูนํา

ในกองทัพไมสามารถท่ีจะกุมอํานาจท้ังหมดไวได นายทหารจึงมีการแตกแยกออกเปนกลุม

ตาง ๆ ท่ีมีความแตกตางทางดานแนวความคิด ความแตกแยกในกลุมทหารเหลาน้ีปรากฏ

อยางชัดเจนในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท อันเปนชวงเวลาท่ีกลุมทหารมีความ

ขัดแยงกันอยางมาก และจะสงผลกระทบตอสถานการณทางการเมืองภายในประเทศ

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังการข้ึนดํารง

ตําแหนงนายกรัฐมนตรีของ พลเอกเปรม ติณสูลานนท-

เหตุการณกบฏ 1 เมษายน พ.ศ.2524

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังเหตุการณกบฏ

1 เมษายน พ.ศ. 2524 – การเลือกต้ังวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526

สภาพทางการเมืองท่ีเร่ิมเปล่ียนแปลงไปในสมัยรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท

ไดกระทบตอบทบาททางการเมืองของกลุมทหาร จนทําใหการเขามาแทรกแซงทางการเมือง

ในรูปแบบเดิมของกลุมทหารไมไดรับการยอมรับและถูกตอตานมากย่ิงขึ้น กลุมทหารจึง

พยายามปรับเปล่ียนรูปแบบการเขามามีบทบาททางการเมืองใหม แตก็ยังคงไมไดรับการ

ยอมรับ จนกระท่ังเกิดเหตุการณความไมสงบ เม่ือวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2524 ภายหลัง

เหตุการณดังกลาวกลุมทหารถูกสังคมจับตามองและวิพากษวิจารณมากขึ้น

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังการเลือกต้ังเมื่อ

วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 – เหตุการณกบฏ

9 กันยายน พ.ศ. 2528

สถานการณทางการเมืองภายหลังการเลือกต้ังเม่ือวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2526 ได

สงผลใหความขัดแยงทางแนวความคิดภายในกองทัพแสดงออกอยางชัดเจนมากขึ้น แมวาท่ี

ผานมานายทหารในกองทัพจะมีการจับกลุมกันตามความสนิทสนมและตามแนวความคิด

กันบางแลว แตก็ไมไดมีการแบงแยกแนวความคิดอยางเดนชัดจนกระท่ังภายหลังการ

เลือกต้ังเม่ือวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2526 อยางไรก็ตาม การรวมกลุมของนายทหารดังกลาว

น้ียังคงอยูบนพ้ืนฐานของรุนการศึกษาเปนสําคัญ โดยกลุมทหารท่ีมีบทบาทสําคัญภายหลัง

การเลือกต้ังเม่ือวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2526 ยังคงเปนนายทหารกลุมเดิมไดแก นายทหาร

เตรียมทัพบกรุน 5 (รุน 5 ใหญ) นายทหาร จปร. รุน 5 (รุน 5 เล็ก)

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังการเลือกต้ังเมื่อ

วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 – เหตุการณกบฏ

9 กันยายน พ.ศ. 2528

♥ บทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังเหตุการณกบฏ

9 กันยายน พ.ศ. 2528 – การยุบสภา

เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2531

การกอการรัฐประหารเม่ือวันท่ี 9 กันยายน พ.ศ. 2528 ซึ่งสิ้นสุดลงดวยความ

พายแพของฝายผูกอการ แมจะไมสงผลตอการเปล่ียนแปลงทางการเมืองอยาง

ทันทีทันใด แตไดทําใหสถานการณทางการเมืองตึงเครียดขึ้น ความขัดแยงทางการเมือง

และภายในกองทัพท่ีมีมากอนหนาท่ีจะเกิดเหตุการณกบฏ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 ได

ขยายตัวมากขึ้น ในขณะเดียวกันกลุมทหารก็ไดเขามาแทรกแซงทางการเมือง หากแต

การแสดงบทบาททางการเมืองของกลุมทหารภายหลังเหตุการณกบฏ 9 กันยายน พ.ศ.

2528 ไดมีการปรับเปล่ียนรูปแบบ ตามการเปล่ียนแปลงกลุมอํานาจในกองทัพ กระน้ันก็

ตามการเคล่ือนไหวทางการเมืองของกลุมทหารก็ไดสงผลใหมีการเปล่ียนแปลงทาง

การเมืองในเวลาตอมา