ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 ·...

22
คำนำ รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การจัดทาข้อมูลเชิงพื้นที่จังหวัดนี้ เป็นรายงาน สถานการณ์ที่สานักงานสถิติจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้จัดทาขึ้นเพื่อรวบรวมประมวลข้อมูล ที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี และวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว ด้วยการนาข้อมูล สารสนเทศมาประกอบการกาหนดผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ ( Product Champion) และ ห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นยุทธศาสตร์กับ ตัวแปรที่สาคัญ ที่จะนาไปสู่การกาหนดปัจจัยสู่ความสาเร็จที่เหมาะสมด้วยข้อมูลสารสนเทศ ตามประเด็นต่าง ๆ สานักงานสถิติจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด ใน 3 ประเด็น คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การ ส่งเสริมเกษตรปลอดภัย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความมั่นคงของคนและชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ในโอกาสนี้ สานักงานสถิติจังหวัดเพชรบูรณ์ ขอขอบคุณคณะกรรมการสถิติ ระดับจังหวัด และหน่วยงานต่าง ๆ ที่ได้อนุเคราะห์ข้อมูล ซึ่งเป็นผลทาให้การวิเคราะห์ ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์จังหวัดสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารพื้นที่ และผู้สนใจ

Upload: others

Post on 25-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

ค ำน ำ

รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่จังหวัดนี้ เป็นรายงานสถานการณ์ที่ส านักงานสถิติจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้จัดท าขึ้นเพื่อรวบรวมประมวลข้อมูล ที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี และวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว ด้วยการน าข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการก าหนดผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และ ห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นยุทธศาสตร์กับตัวแปรที่ส าคัญ ที่จะน าไปสู่การก าหนดปัจจัยสู่ความส าเร็จที่เหมาะสมด้วยข้อมูลสารสนเทศตามประเด็นต่าง ๆ

ส านักงานสถิติจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด ใน 3 ประเด็น คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมเกษตรปลอดภัย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความมั่นคงของคนและชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ในโอกาสนี้ ส านักงานสถิติจังหวัดเพชรบูรณ์ ขอขอบคุณคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด และหน่วยงานต่าง ๆ ที่ได้อนุเคราะห์ ข้อมูล ซึ่งเป็นผลท าให้การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์จังหวัดส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารพื้นที่ และผู้สนใจ

Page 2: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
Page 3: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

1

รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่ จังหวัดเพชรบูรณ ์

ตามแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบูรณ์ ปี พ.ศ. 2558 - 2561 ได้ก าหนดวิสัยทัศน์ เพื่อก าหนดทิศทางการพัฒนา ดังน้ี

วิสัยทัศน์ : ดินแดนแห่งความสุขของคนอยู่และผู้มาเยือน

ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด : ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1. การส่งเสริมเกษตรปลอดภัย การเพิ่มประสทิธภิาพการ

ผลิตและสร้างมลูคา่เพิม่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3. การพัฒนาคณุภาพชีวติ และเสริมสร้างความมั่นคงของ

คนและชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4. การบริหารจัดการทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

อย่างยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5. เสรมิสรา้งขีดความสามารถในการแข่งขัน และเพิ่ม

ประสิทธภิาพการบริหารจัดการ เป้าประสงค์ :

1. เศรษฐกิจของจังหวัดมีการขยายตัวในอัตราที่เหมาะสมอย่างยั่งยืน 2. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคง ควบคู่กับคุณธรรมและจริยธรรม

และการด ารงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 3. สงัคมและชุมชนมีความเข้มแข็ง อยู่เย็นเป็นสุข ความเหลื่อมล้าลดลง 4. เพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความมั่นคงทาง

พลังงาน

Page 4: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

2

ข้อมูลทั่วไป : จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 7,917,760 ไร่ มีเนื้อที่ถือครอง

ท าการเกษตรทั้งสิ้น 2,793,112 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 35.27 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด และมีจ านวนครัวเรือนเกษตรกร 97,823 ราย โดยจังหวัดเพชรบูรณ์มีพื้นฐานด้านการเกษตร เป็นแหล่งผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงประชากรในจังหวัด และภูมิภาค ประชาชนร้อยละ 30.4 ประกอบอาชีพทางด้านเกษตร สร้างรายได้ให้แก่จังหวัด คิดเป็นมูลค่าประมาณ 19,720 ล้านบาทต่อปี โดยพืชที่ส าคัญและเป็นพชืหลัก ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อย โรงงานยาสูบ มะขามหวาน พริกขี้หนู กะหล่ าดอก และหอมแดง เป็นต้น ด้านปศุสัตว์ ได้แก่ โคเนื้อ สุกร ไก่พื้นเมือง และไก่เนื้อ ด้านการประมง มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ได้แก่ ปลาดุก และปลานิล

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบูรณ ์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเพชรบูรณ์ในปี พ.ศ.2554 มีผลิตภัณฑ์ภาคการเกษตร

ที่ส าคัญของจังหวัดประกอบไปด้วย ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กะหล่ าปลี อ้อย ถั่วเขียว ยาสูบพันธุ์เบอร์เลย์ ยาสูบพันธุ์พื้นเมือง มะขามหวาน มันส าปะหลัง พริกข้ีหนู ทั้งนี้จากการวิเคราะห์ BCG Matrix ของจังหวัดเพชรบูรณ์ พบว่า ผลิตภัณฑ์ที่เป็นดาวเด่น (Star) คือ ข้าว ผลิตภัณฑ์ที่ท าเงิน (Cash Cows) คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผลิตภัณฑ์ที่มีปัญหา (Question Mark) คือ มะขามหวาน ยาสูบพันธุ์พื้นเมือง ถั่วเขียว อ้อย และมันส าปะหลัง ผลิตภัณฑ์ที่ตกต่ า (Dogs) คือ กะหล่ าปลี ยาสูบเบอร์เลย์ และพริกขี้หนู

Page 5: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

3

ข้าว

ข้าวโพดเลีย้งสตัว์กะหล ่าปลี

อ้อย

ถัว่เขียว

ยาสบูพนัธุ์เบอร์เลย์

ยาสบูพนัธุ์พืน้เมือง

มะขามหวาน

มนัส าปะหลงั

พริกขีห้นู

-40.00

-30.00

-20.00

-10.00

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

-25.00-15.00-5.005.0015.0025.0035.00

แผนภาพท่ี 1 การวิเคราะห์ BGC Matrix ของจังหวัดเพชรบูรณ์

ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมเกษตรปลอดภัย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยก าหนดเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ คือ เพื่อเพิ่มมูลค่า และผลิตภาพภาคการเกษตร ซึ่งมี 5 กลยุทธ์ที่ส าคัญ และ 4 ตัวชี้วัด ก าหนดมะขามหวานเป็นผลิตภัณฑ์ที่ส าคัญ

แผนภาพท่ี 2 ห่วงโซ่คุณค่า มะขามหวาน

Page 6: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

4

มะขามหวานเป็นต้นไม้ประจ าจังหวัดเพชรบูรณ์ซึ่งได้ช่ือว่าเป็นเมืองมะขามหวาน และตามต าราพรหมชาติ ถือว่ามะขามเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง ที่ช่วยป้องกันสิ่งเลวร้าย ส าหรับประโยชน์ของมะขามและสรรพคุณมะขามนั้นมีมากมาย และจัดว่าเป็นผลไม้เพื่อสุขภาพที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงและยังมีสรรพคุณใช้เป็นยารักษาโรคอีกด้วย โดยในส่วนที่น ามาใช้เป็นยาจะเป็นเนื้อฝักแก่ (มะขามเปียก) เปลือกของล าต้น (ทั้งสดและแห้ง) และเนื้อในเมล็ด โดยสามารถช่วยรักษาได้หลายโรค เช่น เป็นยาขับเสมหะ แก้อาการท้องเดิน บรรเทาอาการท้องผูก ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ เป็นต้น

การปลูกมะขามหวานในประเทศไทย ปี 2556 มีพื้นที่ปลูกมะขามหวานทั้งหมด 157,532.8 ไร่ สามารถเก็บผลผลิตได้ 86,509.43 ตัน พันธุ์ที่นิยมปลูกกันได้แก่ สีทอง ศรีชมภู และประกายทอง แหล่งที่ปลูกส่วนใหญ่ อยู่ในจังหวัดเลย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ และน่าน ส่วนการส่งออกมะขามนั้น มีปริมาณการส่งออก 30,524.65 ตัน คิดเป็นมูลค่า 849.55 ล้านบาทผลิตภัณฑ์มะขามที่สง่ออกมีทั้งมะขามสด มะขามเปียก และมะขามแห้ง คู่ค้าที่ส าคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เวียดนาม ฟิลิปปินส์ สหรัฐฯ แคนาดา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปากีสถาน สหภาพยุโรป และรัสเซีย

Page 7: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

5

1) การวิเคราะห์สถานการณ์ข้อมูล : ด้านเศรษฐกิจ (มะขามหวาน)

ส าหรับจังหวัดเพชรบูรณ์ ในปี 2556 มีพื้นที่เพาะปลูกมะขามหวาน 49,881 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 30.87 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ เก็บผลผลิตได้ 47,496.74 ตัน คิดเป็นร้อยละ 51.21 ของผลผลิตทั้งประเทศมีมลูคา่ราว 1,500 ล้านบาท พันธุ์ของมะขามหวานที่นิยมปลูกในจังหวัดได้แก่ สีทอง ศรีชมภู และประกายทอง มีเกษตรกรที่ปลูกมะขามหวานในจังหวัดเพชรบูรณ์ที่ผ่านมาตรฐาน GAP (Good Agricultural Practice) จ านวน 1,438 ราย มีพื้นที่เพาะปลูกจ านวน 18,204.20 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 37.44 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมดในจังหวัด แนวโน้มการปลูกมะขามหวานเริ่มลดลงสังเกตได้จากเนื้อที่การเพาะปลูกมะขามหวานเนื้อที่การเก็บเกี่ยวผลผลิตต่อตันและผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ที่ได้จากการเพาะปลูกมะขามหวานดังแผนภูมิ

แผนภูมิที่ 1 จ านวนพื้นที่เพาะปลูกและพื้นท่ีเก็บเกี่ยวมะขามหวาน ปี 2553 – 2556

ท่ีมา : ส านักงานเกษตรจังหวัดเพชรบูรณ์

51,451 52,130 50,524 49,881

15,052

28,26633,856

40,075

0

10,000

20,000

30,000

40,000

50,000

60,000

2553 2554 2555 มิ.ย.-56

จ านวนพื้นที่เพาะปลูกและพื้นที่เก็บเกี่ยวมะขามหวาน

พื้นที่ปลูกเพาะปลูกทั้งหมด (ไร่) พื้นที่เก็บเกี่ยวผลผลิต (ไร่)

Page 8: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

6

แผนภมูทิี่ 2 ผลผลิตของมะขามหวานที่เก็บเก่ียวได้ต่อปี ปี พ.ศ. 2553 – 2556

ท่ีมา : ส านักงานเกษตรจังหวัดเพชรบูรณ์

แผนภมูทิี่ 3 ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของมะขามหวานต่อปี ปี พ.ศ. 2553 – 2556

ที่มา : ส านักงานเกษตรจังหวัดเพชรบูรณ ์

4,105.98

75,076.02

32,795.57

47,496.74

0.00

10,000.00

20,000.00

30,000.00

40,000.00

50,000.00

60,000.00

70,000.00

80,000.00

2553 2554 2555 มิ.ย.-56

ผลผลิตของมะขามหวานที่เก็บเกี่ยวได้ต่อปี (ตัน)

272.79

2,656.05

968.681,185.20

0.00

500.00

1,000.00

1,500.00

2,000.00

2,500.00

3,000.00

2553 2554 2555 ม.ิย.-56

ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของมะขามหวานต่อปี (กิโลกรัม /ไร)่

Page 9: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

7

ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อก าหนดห่วงโซ่คุณค่าปัจจัยสู่ความส าเร็จที่ส าคัญ พบว่า เนื้อที่เพาะปลูกทั้งหมด เนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิต ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย

สมการความสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ทีม่ีศักยภาพ : มะขามหวาน Y

"มะขามหวาน" 𝒙𝟏 + 𝒙𝟐 + 𝒙𝟑 + 𝒙𝟒

มูลคา่ผลิตภัณฑ์มะขามหวาน

เนื้อที่เพาะปลูกทั้งหมด

เนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิต

ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย

ด้วยปริมาณข้อมูลที่มีอยู่ ท าให้ก าหนดสมการความสัมพันธ์ได้เพียงสมการเนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิต (ไร่) และ ผลผลิตที่ เก็บเกี่ยวได้ (ตัน) เป็นการอธิบายแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงตามกันระหว่างเนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิต และผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ ที่มีแนวโน้มแปรผันตามกันโดยสมการเนื้อทีเ่ก็บเกี่ยวผลผลิต y=8,789x + 17,896 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค่าเป็นบวก 8,789 และมีค่า R2 หรือความสามารถในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่เก็บเกี่ยวด้วยสมการเชิงเส้นที่ 0.147 ในขณะที่สมการผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ y=8,065x + 9,147 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค่าเป็นบวก 8,065 ซึ่งมีค่าเป็นบวกเช่นเดียวกับสมการเนื้อที่เก็บเกี่ยว ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ R2 ในการศึกษาความสัมพันธ์ของมะขามหวานแสดงดังแผนภาพ พบว่า R2 ของเนื้อที่เก็บเก่ียวผลผลิต เท่ากับ 0.147 และ R2 ของผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ เท่ากับ 0.954 นั่นคือมูลค่าเศรษฐกิจทางด้านการเกษตร (ตัวแปรY) มีความสัมพันธ์กับผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ มากกว่า เนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิต

Page 10: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

8

แผนภูมิที่ 4 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของขอ้มูลทีม่ีแนวโน้มแปรผนัตามกัน:เนือ้ที่เก็บ เกี่ยวผลผลิตและผลผลิตทีเ่ก็บเกีย่วได้ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2553 - 2556

รายงานสถานการณ์การจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่ระดับจังหวัดนี้ เป็นรายงานสถานการณ์ที่ ส านักงานสถิติจังหวัดได้จัดท าขึ้นเพื่อรวบรวมประมวลข้อมูลที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ. 2558 - 2561) และวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว ด้วยการน าข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการก าหนดผลิตภัณฑ์ที่ส าคัญ และห่วงโซ่คุณค่า และการคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นยุทศาสตร์กับตัวแปรที่ส าคัญ ที่จะน าไปสู่ความส าเร็จที่เหมาะสมด้วยข้อมูลสารสนเทศ

รายงานนี้ จึงเป็นแสดงข้อมูลที่ส าคัญ จ าเป็นและเพียงพอต่อการตัดสินใจส าหรับการจัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี รวมทั้งข้อมูลรายละเอียด (Profile) ในมิติด้านเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

y = 8065.9x + 9147.5R² = 0.9541

y = 8789.2x + 17896R² = 0.147

-

10,000

20,000

30,000

40,000

50,000

60,000

70,000

80,000

2553 2554 2555 2556

เนือ้ท่ีเก็บเก่ียวผลผลิต(ไร่) ผลผลิตท่ีเก็บเก่ียวได้ (ตนั)

เชิงเส้น (เนือ้ท่ีเก็บเก่ียวผลผลิต(ไร่)) เชิงเส้น (ผลผลิตท่ีเก็บเก่ียวได้ (ตนั))

Page 11: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

9

2) การวิเคราะหส์ถานการณ์ข้อมูล : ด้านสังคม

จังหวัดเพชรบูรณ์ ปี 2556 มีจ านวนประชากรทั้งสิ้น 992,980 คน เป็นเพศชาย 492,956 คน คิดเป็นร้อยละ 49.64 และเพศหญิง 500 ,024 คน คิดเป็นร้อยละ 50.36 (ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2556) และมีอัตราการขยายตัวของประชากรลดลงจากร้อยละ 0.30 ในป ี2555 เหลือร้อยละ 0.08 ในป ี2556

จากรายงานสถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์ประเทศไทยปี 2554 ซึ่งได้จากการประเมินค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์ภายใต้กรอบแนวคิดมาตรฐาน และตัวชี้วัดความมั่นคงของมนุษย์จาก 12 มิติพบว่าจังหวัดเพชรบูรณ์ มีค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์เฉลี่ย ร้อยละ 73.91 และจากผลการประเมินดัชนีความมั่นคงของมนุษย์ในแต่ละมิติพบว่าประเด็นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ควรให้ความส าคัญในการแก้ปัญหาคือมิติด้านสังคม และมิติด้านสุขภาพซึ่งมีค่าเฉลี่ยต่ ากว่าประเทศและสนับสนุนยุทธศาสตร์ประเทศ : การลดความเหลื่อมล้ า

แผนภมูทิี ่5 : การเปรียบเทียบดัชนีความมั่นคงของมนุษย์

ท่ีมา : รายงานสถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554

0

20

40

60

80

100ที่อยู่อาศัย

สุขภาพ

อาหาร

การศึกษา

การมีงานท า/รายได้

ครอบครัวสังคม

ศาสนา

ความปลอดภัย…

สิทธิ/…

การเมือง

สิ่งแวดล้อม

ประเทศไทย เพชรบูรณ์

Page 12: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

10

จังหวัดเพชรบูรณ์ก าหนดต าแหน่งการพัฒนา(Positioning) ใน 3 ประเด็น คือ ส่งเสริมเกษตรปลอดภัย ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ใช้ศักยภาพทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เป็นจุดเด่น และพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมอย่างยั่ งยืนในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 “การพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความมั่นคงของคนและชุมชน” โดยก าหนดเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ คือ “ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน” ซึ่งมี 3 กลยุทธ์ที่ส าคัญ และ 14 ตัวชี้วัด ก าหนดเรื่อง“การแก้ไขปัญหาความยากจน” เป็นปัญหาส าคัญ

ในขณะที่ตัวชี้วัดในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ของจังหวัด ประกอบไปด้วย 1. สัดส่วนคนจน (รายได้ต่ ากว่า 2,422 บาท/เดือน) ลดลงร้อยละ 3 2. อัตราคดียาเสพติดต่อประชากรแสนคนลดลงเฉลี่ยร้อยละ 5 ต่อป ี3. สถานบริการสุขภาพผ่านมาตรฐาน HA เพิ่มขึ้นร้อยละ 60 ในป ี2561 4. ร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง

เพิ่มขึ้นร้อยละ 65 ในป ี2561 5. ร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง

เพิ่มขึ้นร้อยละ 65 ในป ี2561 6. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ าตาลได้ดีเพิ่มขึ้นร้อยละ 70 ในป ี

2561 7. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันได้ดีเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 60 ในป ี2561 8. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อ

เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 ในป ี2561 9. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/

ส่งต่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 100 ในป ี2561 10. ประชาชนอายุระหว่าง 15-59 ปีที่อยู่ ในระบบการศึกษานอกโรงเรียน

เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 ต่อป ี

Page 13: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

11

11. สัดส่วนผู้อยู่ในระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ต่อป ี12. อัตราทารกตายต่อเกิดมีชีพลดลงร้อยละ 1 ต่อป ี13. ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 5 กลุ่ม

สาระการเรียนรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 ในป ี2561 14. จ านวนหมู่บ้าน/ชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ตามแนวคิด

เศรษฐกิจพอเพียง (เพิ่มขึ้นอ าเภอละ 4 หมู่บ้าน)

กลยุทธ์ที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ที่ 3 ประกอบไปด้วย 1. พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษา การ

สาธารณสุขและการบริการภาครัฐแก่ประชาชน 2. พัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้โดยการสร้างอาชีพ เพื่อเพิม่

รายได้และเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม/จิตสานึก ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อลดรายจ่าย

3. เสริมสร้างความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

แผนภาพที ่3 ห่วงโซ่คุณค่า คุณภาพชีวิตและครอบครัว

Page 14: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

12

ส าหรับจังหวัดเพชรบูรณ์ ในปี 2556 มีจ านวนผู้ว่างงานทั้งหมด 6 ,437 คน ไตรมาสที่ 3 ของปี มีจ านวนผู้ว่างงานมากที่สุด 3,000 คน คิดเป็นร้อยละ 46.61 ของจ านวนผู้ว่างงานทั้งปี รองลงมาเป็นไตรมาส ที่ 1 จ านวน 1,528 คน คิดเป็นร้อยละ 23.74 ไตรมาสที่ 4 จ านวน 1,490 คน คิดเป็นร้อยละ 23.15 และไตรมาสที่ 2 จ านวน 419 คน คิดเป็นร้อยละ 6.50

ในปี 2556 จังหวัดเพชรบูรณ์ มีผู้ประกันตนตามมาตรา 33 จ านวน 29 ,410 คน และผู้ประกันตนตามมาตรา 39 จ านวน 5,403 คน

ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อก าหนดห่วงโซ่มูลค่าและปัจจัยสู่ความส าเร็จที่ส าคัญ พบว่า จ านวนผู้ว่างงานรายไตรมาส จ านวนผู้ประกันตนมาตรา 33 และ 39 จ านวนสถานประกอบการในระบบประกันสังคม

สมการความสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การแก้ไขปัญหาความยากจน Y “การแก้ไขปัญหา

ความยากจน” X1 + X2 + X3

การแก้ไขปัญหาความยากจน

จ านวนผู้ว่างงานรายไตรมาส

จ านวนผู้ประกันตนมาตรา 33

จ านวนผู้ประกันตนมาตรา 39

ด้วยปริมาณข้อมูลที่มีอยู่ท าให้ก าหนดสมการความสัมพันธ์ได้เพียงสมการจ านวนผู้ว่างงานรายไตรมาส (คน) จ านวนผู้ประกันตนมาตรา 33 (คน) และจ านวนผู้ประกันตนมาตรา 39 (คน) โดยสมการจ านวนผู้ว่างงานรายไตรมาส y= 51.9x + 1,692.6 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค่าเป็นบวก 51.9 และมีค่า R2 หรือความสามารถในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงจ านวนผู้ว่างงานด้วยสมการเชิงเส้นที่ 0.017 ในขณะที่สมการของจ านวนผู้ประกันตนมาตรา 33 y= 844.5x + 2,6257 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค่าเป็นบวก 884.5 โดยมีค่า R2 = 0.707 สมการของจ านวนผู้ประกันตนมาตรา 39 y=611.3x + 2,256.3 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค่าเป็นบวก 611.3 โดยมีค่า R2 = 0.979 ซึ่งทั้งสามสมการมีค่าเป็นบวกเช่นเดียวกับกันทั้งหมด

Page 15: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

13

ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ R2 ในการศึกษาความสัมพันธ์ของการแก้ไขปัญหาความยากจนแสดงดังแผนภูมิ พบว่า R2 ของจ านวนผู้ว่างงานรายไตรมาส เท่ากับ 0.017, R2 ของจ านวนผู้ประกันตนมาตรา 33 เท่ากับ 0.707 และ R2 ของจ านวนผู้ประกันตนมาตรา 39 เท่ากับ 0.979 นั่นคือ การแก้ไขปัญหาความยากจน (ตัวแปรY) มีความสัมพันธ์กับจ านวน ผู้ว่างงานรายไตรมาสน้อยกว่าจ านวนผู้ประกันตนมาตรา 33 และ 39

แผนภมูทิี ่6 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีแนวโน้มแปรผันตามกัน : ผู้ว่างงาน รายไตรมาสและจ านวนผู้ประกันตนตามมาตรา 33 และ 39

แผนภมูทิี ่7 จ านวนผู้ประกันตนตามมาตรา 33 และ 39 จังหวัดเพชรบูรณ์ ปี พ.ศ. 2552 - 2556

Page 16: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

14

ทิศทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ได้จัดท ายุทธศาสตร์ 3 ประเด็น ซึ่งให้ความส าคัญกับการพัฒนาทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในส่วนของยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ของส านักงานสถิติแห่งชาติแบ่งออกเป็น 3 ด้าน โดยมีรายการข้อมูลสถิติทางการที่ส าคัญจ าเป็นต่อการพัฒนาพื้นที่ 21 สาขา ครอบคลุมทั้งเรื่อง เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกัน และในส่วนของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ที่ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนานั้น ในกระบวนการจัดท าได้มีการทบทวนและน าแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 และวาระแห่งชาติต่าง ๆ ใช้ประกอบในการก าหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่แล้วด้วย ดังนั้น การพัฒนาข้อมูลให้มีเพียงพอ จึงเป็นเรื่องส าคัญที่จะช่วยตอบสนองในการจัดท าแผนหรือการก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่นั้นๆ ได ้

รายงานสถานการณ์การจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่ระดับจังหวัดนี้ เป็นรายงานสถานการณ์ที่ ส านักงานสถิติจังหวัดได้จัดท าขึ้น เพื่อรวบรวมประมวลข้อมูลที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปีและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว ด้วยการน าข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการก าหนดผลิตภัณฑ์ที่ส าคัญ และห่วงโซ่มูลค่า และการคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นยุทศาสตร์กับตัวแปรที่ส าคัญ ที่จะน าไปสู่ความส าเร็จที่เหมาะสมด้วยข้อมูลสารสนเทศ

รายงานนี้ จึงเป็นแสดงข้อมูลที่ส าคัญ จ าเป็นและเพียงพอต่อการตัดสินใจส าหรับการจัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี รวมทั้งข้อมูลรายละเอียด (Profile) มิติด้านสังคมประกอบด้านรายการสถิติ 9 สาขา คือ สาขาประชากรศาสตร์ ประชากรเคหะ สาขาแรงงาน สาขาการศึกษาสาขาศาสนาศิลปะ วัฒนธรรม สาขาสุขภาพ สาขาสวัสดิการสังคม สาขาหญิงและชาย สาขารายได้และรายจ่ายของครัวเรือน และสาขายุติธรรมความมั่นคงการเมือง และการปกครองที่ เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

Page 17: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

15

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 “การพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความมั่นคงของคนและชุมชน” เป็นประเด็นยุทศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม โดยก าหนดเป้าประสงค์คือ “ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน” ซึ่งมี 3 กลยุทธ์ที่ส าคัญ และ 14 ตัวชี้วัดซึ่งมีข้อมูลที่ต้องจัดเก็บจ านวน 40 ชุดข้อมูล เป็นชุดข้อมูลที่มีการจัดเก็บปกติ 17 ชุดข้อมูล ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ดังกล่าวยังต้องการชุดข้อมูลที่ไมได้มีการจัดเก็บในพื้นที่ 23 ชุดข้อมูลโดยมีหน่วยงานที่รับผิดชอบที่ส าคัญคือ ต ารวจภูธรจังหวัด ที่ท าการปกครองจังหวัด ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด ส านักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ส านักงานการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด ส านักงานประกันสังคมจังหวัด ส านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ส านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดส านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ส านักงานวัฒนธรรมจังหวัด ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดจังหวัด และส านักงานสถิติจังหวัด

Page 18: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

16

3) การวิเคราะหส์ถานการณ์ข้อมูล : ด้านทรพัยากรธรรมชาติและสิง่แวดล้อม

จังหวัดเพชรบูรณ์มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ลุ่มแบบท้องกระทะประกอบด้วยเนินเขา ป่าและที่ราบ เป็นตอนๆ สลับกันไป พื้นที่มีลักษณะลาดชันจากเหนือลงใต้ ทางตอนเหนือมีทิวเขาสูง ตอนกลางเป็นที่ต่ ามี แม่น้ าส าคัญ คือ แม่น้ าป่าสัก ไหลผ่านกลางจังหวัดเพชรบูรณ์จากเหนือลงใต้ มีความยาวประมาณ 350 กม. ต้นแม่น้ ามีถิ่นก าเนิดที่ภูเขาผาลาจังหวัดเลย และล าน้ าหลายแห่งรวมตัวกันไหลผ่านอ าเภอหล่มเก่า อ าเภอหล่มสัก อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ อ าเภอหนองไผ่ อ าเภอบึงสามพัน อ าเภอวิเชียรบุรี และอ าเภอศรีเทพ รวมทั้งจังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดเพชรบูรณ์ก าหนดต าแหน่งการพัฒนา (Positioning) ใน 3 ประเด็น คือ ส่งเสริมเกษตรปลอดภัย ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ใช้ศักยภาพทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เป็นจุดเด่น และพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมอย่างยั่งยืนในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 “การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน” โดยก าหนดเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ คือ เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรป่าไม้ และคุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งมี 4 กลยุทธ์ที่ส าคัญ และ 2 ตัวชี้วัด ก าหนดเรื่อง “การบริหารจัดการน้ าเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง” เป็นปัญหาส าคัญ

กลยุทธ์ที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ที่ 4 ประกอบไปด้วย 1. เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการปูองกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติธรรมชาติ 3. การจัดการองค์ความรู้และการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมด้านการอนุรักษ์

และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4. ส่งเสริมพัฒนาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งเหลือใช้เพื่อความมั่นคงทาง

พลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

Page 19: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

17

ในขณะที่ตัวชี้วัดในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ของจังหวัด ประกอบไปด้วย 1. จ านวนพื้นที่ปา่ไม้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.0025 ต่อป ี2. ปริมาณขยะลดลงร้อยละ 5 ต่อป ี

ทั้งนี้ตัวชี้วัด/กลยุทธ์สอดคล้องกับห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) และปัจจัยสู่ความส าเร็จ ดังแผนภาพที่ 4

แผนภาพที่ 4 ห่วงโซ่คุณค่า การบริหารจัดการน้ าเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง

ตารางที ่1 จ านวนครัวเรือนและจ านวนผู้ประสบภัย ปี พ.ศ. 2554 - 2556 ข้อมูลอุทกภัย 2554 2555 2556

จ านวนครัวเรือน 85,568 29,345 28,586 จ านวนผู้ประสบภัย (คน) 733,332 103,591 92,616

ที่มา : แผนพัฒนาจังหวัดเพชรบูรณ์ 4 ปี (พ.ศ. 2558 - 2561)

จากตารางข้างต้น จังหวัด เพชรบูรณ์ ในปี 2554 มีจ านวนครัวเรือนและผู้ประสบภัยจากอุทกภัย มีค่อนข้างสูง เนื่องจากเป็นปีที่ เกิดมหาอุทกภัยท าให้เกิดความเสียหายเป็นพื้นที่กว้างแต่ในปี 2555 – 2556 แนวโน้มของจ านวนครัวเรือนและผู้ประสบภัยจากอุทกภัยคงที่ เนื่องจากอาจเป็นพื้นที่ท่วมซ้ าซาก

Page 20: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

18

ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อก าหนดห่วงโซ่คุณค่าและปัจจัยสู่ความส าเร็จที่ส าคัญ พบว่า จ านวนครัวเรือนที่ประสบอุทกภัย และจ านวนผู้ประสบอุทกภัย

สมการความสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การบริหารจัดการน้ าเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัย

Y “การบริหารจัดการน้ าเพ่ือแก้ไขปัญหาอุทกภัย”

X1 + X2

การบริหารจัดการน้ าเพือ่แก้ไขปัญหาอุทกภัย

จ านวนครัวเรือนที่ประสบอุทกภยั

จ านวนผู้ประสบอุทกภัย

ด้วยปริมาณข้อมูลที่มีอยู่ ท าให้ก าหนดสมการความสัมพันธ์ได้เพียงสมการจ านวนครัวเรือน ที่ประสบอุทกภัยและจ านวนผู้ประสบอุทกภัยเป็นการอธิบายแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงตามกันระหว่างครัวเรือนที่ประสบอุทกภัย และผู้ประสบอุทกภัย มีแนวโน้มแปรผันตามกัน โดยสมการครัวเรือนที่ประสบอุทกภัย y = -28,491x + 104,815 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค่าเป็นลบ -28,491 และมีค่า R2 หรือความสามารถในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงจ านวนครัวเรือนที่ประสบอุทกภัยด้วยสมการเชิงเส้นที่ 0.76 ในขณะที่สมการของจ านวนผู้ประสบอุทกภัย y =-320,358x + 950,562 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค่าเป็นลบ -320,358 ซึ่งมีค่าเป็นลบเช่นเดียวกันกับสมการครัวเรือนที่ประสบอุทกภัย ด้วยมีค่า R2 = 0.76

ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ R2 ในการศึกษาความสัมพันธ์ของการบริหารจัดการน้ าเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยแสดงดังแผนภาพ พบว่า R2 ของจ านวนครัวเรือนที่ประสบอุทกภัย เท่ากับ 0.76 และ R2 ของจ านวนผู้ประสบอุทกภัยเท่ากับ 0.76 นั่นคือการบริหารจัดการน้ าเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัย(ตัวแปรY) มีความสัมพันธ์กับจ านวนครัวเรือนที่ประสบอุทกภัยเท่ากับจ านวนผู้ประสบอุทกภัย

Page 21: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

19

แผนภูมิที่ 8 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีแนวโน้มแปรผันตามกัน : ผูจ้ านวนครัวเรือนที่ประสบอุทกภัย และ จ านวนผูป้ระสบอุทกภัย

ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 มีประเด็นยุทธศาสตร์ที่ส าคัญ คือ “การบริหาร

จัดการน้ าเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัย” และมีการใช้รายงานสถิติทางการระดับจังหวัดด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบไปด้วยข้อมูลที่ต้องจัดเก็บจ านวน 29 ชุดข้อมูลเป็นชุดข้อมูลที่มีการจัดเก็บปกติ 20 ชุดข้อมูล ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ดังกล่าวยังต้องการชุดข้อมูลที่ไม่ได้มีการจัดเก็บในพื้นที่ 9 ชุดข้อมูลโดยมีหน่วยงานที่รบัผิดชอบที่ส าคัญคือ การประปาส่วนภูมิภาคจังหวัด โครงการชลประทานจังหวัด สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัด ส านักงานเกษตรจังหวัด ส านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ส านักงานท้องถิ่นจังหวัด ส านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

Page 22: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file... · 2015-03-03 · สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด