ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส...

34
สำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี สำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำกรธรณี

Upload: others

Post on 23-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

ส ำนกันโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนกัทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำกรธรณี

Page 2: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ พ.ศ. 2555 – 2559

ส านักนโยบายและแผนทรัพยากรธรณี ส านักทรัพยากรแร่

กันยายน 2555

Page 3: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

ii

ยุทธศาสตร์การบรหิารจัดการทรัพยากรแร่ พ.ศ. 2555 – 2559 อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี นายนิทัศน์ ภู่วัฒนกุล ผู้อ านวยการส านักนโยบายและแผนทรัพยากรธรณี นายไพรัตน์ จรรยหาญ ผู้อ านวยการส านักทรัพยากรแร่ นายอดิชาติ สุรินทร์ค า ส่วนนโยบาย นางเพชรเฮียง ทรัพย์ทวีวัง ผู้อ านวยการส่วนนโยบาย นายอนุชิต วิจิตรเฉลิมพงษ์ นักธรณีวิทยาช านาญการ นายเมธา ยังสนอง นักธรณีวิทยาช านาญการ นางสาวพนิดา เพชรศร นักวิชาการเผยแพร่ จัดพิมพ์โดย ส านักนโยบายและแผนทรัพยากรธรณี

กรมทรัพยากรธรณี เลขที่ 75/10 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2621-9811 โทรสาร 0-2621-9820 http://www.dmr.go.th พิมพ์ครั้งที่ 1 กันยายน 2555

จ านวน 50 เล่ม ข้อมูลทางบรรณานุกรม กรมทรัพยากรธรณี / -

ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ พ.ศ. 2555 – 2559, 2555 : โดย ส านักนโยบายและแผนทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี – กรุงเทพฯ 26 หน้า

Page 4: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

iii

ค ำน ำ

ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ฉบับนี้ เป็นการด าเนินงานภายใต้นโยบายของรัฐบาลสืบเนื่องจากค าแถลงของนายกรัฐมนตรีต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2554 ที่มีจุดมุ่งหมายน าพาประเทศไทยสู่โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่สมดุล และเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น และก าหนดให้มีแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ให้น ามาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม ที่ให้ความส าคัญในการก ากับดูแลผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน โดยค านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อทรัพยากรธรรมชาติชนิดอ่ืนและสิ่งแวดล้อมเป็นส าคัญ

กรมทรัพยากรธรณี ได้จัดท าร่างยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ (พ.ศ. 2555 - 2559) ขึ้น โดยยึดเอากรอบนโยบายของรัฐบาล และเป้าหมายที่ก าหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ซึ่งมีแนวคิดเตรียมความพร้อมและสร้างภูมิคุ้มกันของประเทศให้เข้มแข็ง ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทั้งได้น าข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นน ามาพิจารณาปรับปรุงแก้ไขร่างยุทธศาสตร์ดังกล่าว เพ่ือเป็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ (พ.ศ. 2555 - 2559) ฉบับนี้

ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์หลัก 5 ประเด็น คือ ประเด็นแรก ส ารวจ วิจัยและพัฒนาทรัพยากรแร่ทั่วประเทศ ประเด็นที่สอง ส่งเสริมให้น าเทคโนโลยีมาใช้ประเมินศักยภาพและพัฒนาแหล่งแร่ที่มีคุณค่าสูง ประเด็นที่สาม สนับสนุนการใช้แร่ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง ประเด็นที่สี่ ส่งเสริมการร่วมพัฒนาแหล่งแร่ระหว่างภาครัฐและเอกชน และประเด็นที่ห้า อุตสาหกรรมแร่สีเขียวสะอาดตั้งแต่ต้นจนจบ โดยมีเนื้อหาที่ให้ความส าคัญต่อการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

กรมทรัพยากรธรณีหวังว่า ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ (พ.ศ. 2555 - 2559) ฉบับนี้ จะเป็นแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพ่ือให้การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติของประเทศเป็นไปอย่างยั่งยืน และน าไปสู่การสร้างความผาสุกของประชาชนในที่สุด

กรมทรัพยากรธรณี กันยายน 2555

Page 5: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

iv

สารบัญ บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร v สถำนกำรณ์และสภำพปัญหำ 1

ฐำนทรัพยำกรแร่ 1 สถำนกำรณ์ทรัพยำกรแร่ในปัจจุบัน 8 แนวโน้มควำมต้องกำรใช้แร่ในอนำคต 8 สภำพปัญหำในกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรแร่ 8 นโยบำยของรัฐและแผนระดับชำติที่เก่ียวข้องกับทรัพยำกรแร่ 10

ยุทธศำสตร์บริหำรจัดกำรทรัพยำกรแร่ 22 วิสัยทัศน์ 22 ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 1 ส ำรวจ วิจัยและพัฒนำทรัพยำกรแร่ทั่วประเทศ 22ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 2 ส่งเสริมให้น ำเทคโนโลยีมำใช้ประเมินศักยภำพและพัฒนำ 22

แหล่งแร่ที่มีคุณค่ำสูง ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 3 สนับสนุนกำรใช้แร่ในอุตสำหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง 23 ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 4 ส่งเสริมกำรร่วมพัฒนำแหล่งแร่ระหว่ำงภำครัฐและเอกชน 23 ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 5 อุตสำหกรรมแร่สีเขียวสะอำดตั้งแต่ต้นจนจบ 24

สารบัญรูป รูปที่ 1 แสดงต ำแหน่งประทำนบัตรกลุ่มแร่เพ่ือกำรพัฒนำสำธำรณูปโภคพ้ืนฐำนและโครงกำรขนำดใหญ่ของรัฐ 3 รูปที่ 2 แสดงพื้นที่แหล่งแร่และต ำแหน่งประทำนบัตรกลุ่มแร่พลังงำน 4 รูปที่ 3 แสดงต ำแหน่งประทำนบัตรกลุ่มแร่เพ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสำหกรรม 5 รูปที่ 4 แสดงพ้ืนที่แหล่งแร่และต ำแหน่งประทำนบัตรกลุ่มแร่เพ่ือกำรเกษตร 6 รูปที่ 5 แสดงพ้ืนที่แหล่งแร่และต ำแหน่งประทำนบัตรกลุ่มแร่เพ่ือรองรับเทคโนโลยีชั้นสูง 7 รูปที่ 6 นโยบำยของรัฐและแผนระดับชำติที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกำรทรัพยำกรแร่ 11 รูปที่ 7 ผังแสดงกลไกควำมสัมพันธ์ของ กฎหมำย นโยบำย และแผนระดับชำติ 12

ที่เก่ียวข้องกับกำรจัดกำรทรัพยำกรแร่

สารบัญตาราง ตำรำงที่ 1 แสดงแผนงำน/โครงกำรตำมนโยบำยรัฐบำล 14

Page 6: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงความส าคัญของ การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของประเทศอย่างเป็นระบบ เพ่ือน าไปปส่่การบริหารจัดการท่่เอืออต่อการพัฒนาท่่ยั่งยืน ตามนโยบายของรัฐบาลท่่แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันอังคารท่่ 23 สิงหาคม 2554 พร้อมทัองเป้าหมายท่่ก าหนดไปว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ทัองน่อไปด้มอบหมายให้กรมทรัพยากรธรณ่จัดท าแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ (พ.ศ. 2555 - 2559) ขึอนมาเพ่ือเป็นกรอบทิศทางในการด าเนินการ

ในอด่ตม่การใช้ทรัพยากรแร่อย่างกว้างขวางเพ่ือสร้างปัจจัยพือนฐานส าหรับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งน ามาเป็นวัตถุดิบต้นนอ าในภาคอุตสาหกรรมและการก่อสร้าง อันน ามาส่่ ความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจของประเทศ แต่จากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เช่น เรื่อง ข้อขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรแร่ระหว่างผ่้ม่ส่วนไปด้เส่ย รวมทัองภัยพิบัติท่่เกิดขึอนจากการใช้ทรัพยากรแร่อย่างไปม่สมดุล ดังนัอนในสภาวะปัจจุบันสังคมไปทยไปด้เน้นให้ความส าคัญต่อการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ ท่่ม่ความเชื่อมโยงกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทุก ๆ ประเภทในแบบองค์รวม โดยให้ความส าคัญต่อ การ บ่รณาการด้านข้อม่ล เพ่ือให้การใช้ประโยชน์เชิงพือนท่่เป็นไปปอย่างสมดุลมากยิ่งขึอน

การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ท่่จะน าไปปส่่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนและน า ไปปส่่ การสร้างความผาสุกของประชาชนในประเทศนัอน จ าเป็นต้องม่ความพร้อมในหลาย ๆ ด้าน ไปด้แก่ การม่ข้อม่ลทางด้านทรัพยากรแร่ท่่ครบถ้วนสมบ่รณ์พร้อมใช้งาน การสร้างความร่้ความเข้าใจให้กับประชาชนในด้านการพัฒนาทรัพยากรแร่ขึอนมาใช้ประโยชน์กับช่วิตประจ าวัน การก าหนดมาตรการและพัฒนากฎระเบ่ยบ ท่่ใช้ในการก ากับด่แล การใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่ท่่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการวิจัยพัฒนาด้านทรัพยากรแร่ รวมถึงการพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรและองค์กร

ดังนัอน ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่จึงเป็นสิ่งจ าเป็นต่อการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ท่่เอืออต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ทัองในเชิงพือนท่่และเชิงรายประเภทของทรัพยากรแร่ โดยเน้นให้ทุกภาคส่วนเข้ามาม่ส่วนร่วมในการด าเนินการ เพ่ือให้ม่ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยท่่สุดและสามารถเพ่ิมม่ลค่าทรัพยากรแร่ให้เกิดประโยชน์ส่งสุด โดยสนับสนุนให้ม่การก ากับด่แลผ่านกระบวนการ ม่ส่วนร่วม รวมทัองสร้างเสริมศักยภาพของชุมชนให้ค านึงถึงข้อด่ข้อเส่ยของการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแร่อย่างครบถ้วนสมบ่รณ์ ซึ่งยุทธศาสตร์ดังกล่าวม่สาระส าคัญโดยสรุป ดังน่อ

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 1 ส ำรวจ วิจัยและพัฒนำทรัพยำกรแร่ทั่วประเทศ (Mineral Exploration Research And Development) โดยม่เป้าประสงคเ์พ่ือให้ทราบถึงข้อม่ลพือนฐานและต้นทุนทางทรัพยากรแร่ของประเทศเพ่ือการวางแผนพัฒนาประเทศ รวมถึงการคิดค้นเทคโนโลย่และพัฒนาบุคลากรท่่เหมาะสมในการส ารวจและพัฒนาแหล่งแร่ รวมทัองวิจัยเพ่ือการเพ่ิมม่ลค่า เพ่ือเป็นปัจจัยในการผลิตทุกระดับ โดยมุ่งเน้นเร่งรัดการส ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแร่ทั่วประเทศตามหลักวิชาการ พร้อมจัดท าฐานข้อม่ลในระดับไปพศาล และขัอนรายละเอ่ยด พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงข้อม่ลทรัพยากรแร่ ให้เป็นศ่นย์ข้อม่ลกลางท่่ม่ข้อม่ลทันสมัย เข้าถึงสะดวก และให้บริการอย่างม่ประสิทธิภาพ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D) ใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่และการสร้างม่ลค่าเพ่ิมในลักษณะผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องท่่ใช้แร่ เป็นวัตถุดิบ โดยบ่รณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน และพัฒนาบุคลากร (HRD) ด้านการวิจัยพัฒนา และพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการส ารวจและการศึกษาวิจัย

Page 7: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

vi

เก่่ยวกับทรัพยากรแร่ ในลักษณะทวิภาค่หรือพหุภาค่ โดยเฉพาะภายใต้กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ่ยน และสนับสนุนภาคเอกชนส ารวจและพัฒนาทรัพยากรแร่ในต่างประเทศ

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 2 ส่งเสริมให้น ำเทคโนโลยีมำใช้ประเมินศักยภำพและพัฒนำแหล่งแร่ที่มีคุณค่ำสูง (Superior Exploration) โดยม่เป้าประสงคเ์พ่ือให้ม่การน าเทคโนโลย่ท่่ทันสมัยมาใช้ในการประเมินศักยภาพแหล่งปริมาณส ารองแร่ท่่ม่คุณค่าส่ง ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และการใช้ประโยชน์ โดยสนับสนุนให้ม่การน าเทคโนโลย่ท่่ทันสมัยมาใช้ในการประเมินศักยภาพแหล่งแร่ท่่ม่คุณค่าส่ง และพัฒนาข่ดความสามารถของบุคลากรของภาครัฐและเอกชน ด้านการคัดสรรและประยุกต์ใช้เทคโนโลย่ ในการส ารวจและพัฒนาทรัพยากรแร่ทุกขัอนตอน

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 3 สนับสนุนกำรใช้แร่ในอุตสำหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง (Mineral for Advanced Product) โดยม่เป้าประสงค์เพ่ือให้การใช้ทรัพยากรแร่ท่่ใช้ในอุตสาหกรรมเทคโนโลย่ชัอนส่งเกิดความคุ้มค่าและเกิดประโยชน์ส่งสุด โดยส่งเสริมให้ม่การน าแร่หายาก เป็นวัตถุดิบส าหรับอุตสาหกรรมเทคโนโลย่ชัอนส่ง เพ่ิมข่ดความสามารถในการแต่งแร่ (Ore Dressing) ด้วยเทคโนโลย่ ท่่ทันสมัยให้ไปด้มาตรฐานคุณภาพแร่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 4 ส่งเสริมกำรร่วมพัฒนำแหล่งแร่ระหว่ำงภำครัฐและเอกชน(Positive Partnership) โดยม่เป้าประสงค์เพ่ือส่งเสริมให้ภาคเอกชนด าเนินการพัฒนาแหล่งแร่อย่างถ่กหลักวิชาการ โดยสร้างแรงจ่งใจด้านการส ารวจแร่ และพัฒนาแหล่งแร่ขนาดใหญ่ โดยเปิดโอกาสให้แข่งขันกันอย่างเป็นธรรม ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนน าทรัพยากรแร่ในท้องถิ่นมาใช้ในการผลิตสินค้าชุมชนโดยภาครัฐช่วยสนับสนุนการส ารวจและข้อม่ลวิชาการ เร่งรัดให้ม่การประกาศเขตเศรษฐกิจแร่ เพ่ือเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาแหล่งแร่อย่างถ่กต้องตามหลักวิชาการและกฎหมายท่่เก่่ยวข้อง ปรับปรุง แก้ไปข พัฒนาระบบการอนุญาตส ารวจแร่ การท าเหมืองแร่ การแต่งแร่หรือการประกอบโลหกรรม ตามขนาดพือนท่่และผลกระทบโครงการท่่แตกต่างกัน ให้ม่ความรวดเร็วทันต่อความต้องการใช้ประโยชน์

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 5 อุตสำหกรรมแร่สีเขียวสะอำดตั้งแต่ต้นจนจบ (Green and Clean Mineral Industry: Before-During-After) โดยม่เป้าประสงค์เพ่ือให้อุตสาหกรรมแร่ม่สิ่งแวดล้อมท่่ด่ (Green) และใช้เทคโนโลย่การผลิตท่่สะอาด (Clean) ตลอดทัองกระบวนการ รวมถึงม่การท าแนวกันชนส่เข่ยวและฟ้ืนฟ่สภาพพือนท่่ (Green Buffer Zone and Rehabilitation) โดยควบคุมให้ปฏิบัติตามเงื่อนไปข ระเบ่ยบ หรือกฎหมาย และการควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแบบ Polluter Pay Principle ม่มาตรการทางสังคมในการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนให้เกิดการท าเหมืองแร่ส่เข่ยวทั่วประเทศ เร่งพัฒนาเครื่องมือและกลไปกฟ้ืนฟ่พือนท่่ท าเหมืองแร่ โดยสนับสนุนการใช้เทคโนโลย่เพ่ือฟ้ืนฟ่พือนท่่ท่่ผ่านการท าเหมืองแร่แล้วทัองระหว่างและภายหลังการท าเหมืองแร่ให้ม่สภาพแวดล้อมท่่เหมาะสม และใช้ประโยชน์อ่ืนไปด้ตามศักยภาพของพือนท่่และความต้องการของชุมชน สร้างแรงจ่งใจให้ผ่้ประกอบการเหมืองแร่ ม่มาตรการท่่ด่และปฏิบัติตามมาตรการ เงื่อนไปข ระเบ่ยบ และกฎหมายเก่่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด สร้างแรงจ่งใจให้ผ่้ประกอบการเหมืองแร่พัฒนาการผลิตและเพ่ิมม่ลค่าทรัพยากรแร่ (Value Added) รวมถึงการสร้างม่ลค่าทรัพยากรแร่ (Value Creation) ในการน าไปปใช้ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ควบค่่กับการสนับสนุนและจ่งใจให้ใช้วัสดุทดแทนแร่ การใช้ประโยชน์โลหะหมุนเว่ยนให้มากท่่สุด

Page 8: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

สถานการณ์และสภาพปัญหา

แร่เป็นทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่งที่มีความส าคัญต่อการด ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตมาทุกยุคทุกสมัย มนุษย์รู้จักน าแร่มาใช้ประโยชน์ตั้งแต่อดีต จวบจนปัจจุบันได้พัฒนาการใช้แร่เพ่ือเป็นวัตถุดิบต้นน้ าของอุตสาหกรรมต่างๆ มากมาย เช่น อุตสาหกรรมก่อสร้างและปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ทางด้านพลังงานและการเกษตร แต่ด้วยเหตุที่แร่เป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ไม่สามารถสร้างขึ้นมาใหม่ในระยะ เวลาอันสั้นได้ ดังนั้นการน าแร่มาใช้ประโยชน์จึงต้องค านึงถึงผลประโยชน์สูงสุดที่จะได้รับให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นส าคัญ อีกทั้งจะต้องรักษาสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์ไปพร้อมกันด้วย และถ้าการน าทรัพยากรแร่มาใช้โดยไม่ค านึงถึงหลักการ สงวน อนุรักษ์ และฟ้ืนฟู จะท าให้ประเทศชาติขาดแคลนทรัพยากรแร่ในที่สุด ดังนั้นจึงจ าเป็นต้องก าหนดทิศทางหรือแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ เพ่ือให้การพัฒนาทรัพยากรแร่เป็นไปอย่างมีระบบ มีประสิทธิภาพ มีความสมดุล และตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างคุ้มค่าสูงสุด โดยค านึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและข้อขัดแย้งในสังคมเป็นส าคัญ

ฐานทรัพยากรแร่ กรมทรัพยากรธรณีในฐานะที่มีภารกิจหลักเกี่ยวกับการสงวน อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และบริหาร

จัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี ได้จัดท ายุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ ส าหรับก าหนดทิศทางหรือแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรแร่เพ่ือให้การพัฒนาทรัพยากรแร่เป็นไปอย่างมีระบบและ มีประสิทธิภาพ มีการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า โดยค านึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและข้อขัดแย้งในสังคมเป็นส าคัญ โดยได้จัดท าข้อมูลตามภารกิจ และบูรณาการข้อมูลอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ ซึ่งได้แก่

บริเวณพบแร่ (mineral occurrence) หมายถึง บริเวณใดบริเวณหนึ่งที่พบว่ามีแร่ (หรือบางครั้งอาจพิจารณาในนามของสินค้าแร่ เช่น ทองแดง แบไรต์ หรือทองค า ) และมีความน่าสนใจในเชิงวิทยาศาสตร์หรือเชิงวิชาการ สะสมตัวอยู่

พื้นที่ศักยภาพทางแร่ (mineral potential area) หมายถึง พ้ืนที่ใดพ้ืนที่หนึ่งที่ยังไม่มีการค้นพบทรัพยากรแร่ (undiscovered mineral resource) แต่มแีนวโน้มที่จะมีได้ โดยมีหลักฐานบ่งชี้จากข้อมูลทางธรณีวิทยา ธรณีวิทยาแหล่งแร่ ธรณีเคมี และธรณีฟิสิกส์ และรวมพ้ืนที่ที่มีแร่กระจัดกระจายในหินซึ่ง มีนัยส าคัญ หรือมีบริเวณพบแร่ในส่วนใดส่วนหนึ่งของพ้ืนที่นั้น

พื้นที่แหล่งแร่ (mineral area) หมายถึง พ้ืนที่ใดพ้ืนที่หนึ่งซึ่งมีแหล่งแร่หรือแหล่งสินแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกันในพ้ืนที่นั้น รวมทั้งพ้ืนที่ที่มีค าขอประทานบัตรและ/หรือประทานบัตร ที่ได้ตรวจสอบความถูกต้องตามหลักวิชาการ การก าหนดขอบเขตพ้ืนที่แหล่งแร่ยึดถือข้อมูลวิชาการทางธรณีวิทยาแหล่งแร่เป็นปัจจัยหลัก

ปริมาณทรัพยากรแร่ส ารองที่ได้รับอนุญาตให้ผลิต หมายถึง ปริมาณส ารองที่รวบรวมได้จากประทานบัตรท าเหมืองแร่ที่กระทรวงอุตสาหกรรมอนุญาตให้ท าการผลิต ซึ่งเจ้าของประทานบัตรได้ท าการส ารวจและรายงานไว้ โดยใช้ข้อมูลจากกรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม แล้วน ามาประเมินร่วมกับราคาแร่เฉลี่ยในประเทศไทย ยกเว้นแร่ที่ไม่มีการซื้อขายในประเทศไทย จะใช้ราคาแร่เฉลี่ยจากตลาดกลางในต่างประเทศ

Page 9: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 2 -

ปริมาณทรัพยากรแร่ส ารองมีศักยภาพเป็นไปได้ หมายถึง ปริมาณส ารองที่ประเมินในพ้ืนที่ที่มีการพบแร่ แต่ยังมิได้มีการพิสูจน์ว่ามีปริมาณความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด เป็นทรัพยากรแร่ส ารอง ที่จะต้องท าการส ารวจเพ่ิมเติมจนถึงขั้นรายละเอียด เพ่ือให้ทราบปริมาณและความสมบูรณ์ รวมทั้งศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาก่อนที่จะลงทุนท าเหมืองแร่ โดยในการประเมินใช้การประเมินทางสถิติ และวิชาการธรณีวิทยาเป็นปัจจัยหลัก

ทรัพยากรแร่ของไทย ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรแร่หลายชนิด ซึ่งมีการขุดน าขึ้นมาใช้ประโยชน์

อย่างแพร่หลาย มากกว่า 45 ชนิด จ าแนกตามการใช้ประโยชน์ได้เป็น 5 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มแร่เพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ

จ าแนกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ 1) แร่เพ่ืออุตสาหกรรมซีเมนต์ ได้แก่ หินปูน หินดินดาน ยิปซัม และเหล็ก และ 2) แร่เพ่ือการก่อสร้าง ได้แก่ หินชนิดต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง และใช้เป็นหินประดับ เช่น หินปูน หินแกรนิต หินอ่อน หินทราย และหินบะซอลต์ กลุ่มแร่นี้พบอยู่ในทุกภาคของประเทศ (รูปที่ 1)

2. กลุ่มแร่พลังงาน ใช้เป็นวัตถุดิบส าคัญในการผลิตพลังงาน เช่น ไฟฟ้า และให้ความร้อน ได้แก่ ถ่านหิน หินน้ ามัน และแร่กัมมันตรังสี (ยูเรเนียม ทอเรียม) โดยถ่านหินมีแหล่งผลิตส าคัญอยู่ที่จังหวัดล าปาง ล าพูน พะเยา และกระบี่ แหล่งหินน้ ามันพบท่ีจังหวัดตาก ส่วนแร่กัมมันตรังสีพบที่จังหวัดขอนแก่น (รูปที่ 2)

3. กลุ่มแร่เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม จ าแนกออกได้เป็น 4 กลุ่มย่อย คือ 1) แร่โลหะมีค่า ได้แก่ ทองค า และเงิน แหล่งผลิตทองค าที่ส าคัญ คือ แหล่งแร่ทองค าชาตรี ของบริษัท อัคราไมนิ่ง จ ากัด ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อของอ าเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร และอ าเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ และยังพบว่ามีแร่เงินเกิดร่วมกับทองค าในแหล่งนี้ด้วย 2) แร่โลหะ ได้แก่ เหล็ก ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี พลวง ดีบุก ทังสเตน และแมงกานีส ใช้ถลุงแยกเอาโลหะไปใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ แหล่งแร่ที่ส าคัญ เช่น แหล่งแร่เหล็ก จังหวัดเลย และแหล่งแร่สังกะสีพระธาตุผาแดง จังหวัดตาก 3) แร่อุตสาหกรรม ได้แก่ ดินขาว เฟลด์สปาร์ แบไรต์ ฟลูออไรต์ และทรายแก้ว โดยทรายแก้ว พบตามแนวชายฝั่งทะเลในภาคตะวันออกและภาคใต้ และ 4) แร่รัตนชาติ ได้แก่ พลอย (ทับทิมและแซปไฟร์) แหล่งพลอยพบที่จังหวัดจันทบุรี ตราด กาญจนบุรี แพร่ และอุบลราชธานี (รูปที่ 3)

4. กลุ่มแร่เพื่อการเกษตร ถูกใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นส าหรับการผลิตปุ๋ย ใช้ปรับปรุงคุณภาพดิน ได้แก่ โพแทช โดโลไมต์ เพอร์ไลต์ ฟอสเฟต แร่กลุ่มนี้พบกระจายอยู่ทุกภาคของประเทศไทย (รูปที่ 4)

5. กลุ่มแร่เพื่อรองรับเทคโนโลยีช้ันสูง ใช้ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องมือสื่อสาร ดาวเทียม อุปกรณ์เตือนภัยทางทหาร ได้แก่ โคลัมไบต์-แทนทาไลต์ และ แร่หายาก (โมนาไซต์ และซีโนไทม์) ส าหรับแร่โคลัมไบต์ - แทนทาไลต์ ปัจจุบันยังไม่มีการผลิตโดยตรง พบเป็นแร่พลอยได้จากการ ท าเหมืองแร่ดีบุกในบริเวณจงัหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต ตรัง ราชบุร ี กาญจนบุร ี อุทัยธาน ี และประจวบคีรีขันธ์ (รูปที่ 5)

Page 10: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 3 -

รูปที่ 2 แสดงพื้นที่แหล่งแร่และต าแหน่งประทานบัตรกลุ่มแร่พลังงาน

รูปที่ 1 แสดงต าแหน่งประทานบัตรกลุ่มแร่เพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ

Page 11: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 4 -

รูปที่ 2 แสดงพื้นที่แหล่งแร่และต าแหน่งประทานบัตรกลุ่มแร่พลังงาน

Page 12: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 5 -

รูปที่ 3 แสดงต าแหน่งประทานบัตรกลุ่มแร่เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

Page 13: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 6 -

รูปที่ 4 แสดงพื้นที่แหล่งแร่และต าแหน่งประทานบัตรกลุ่มแร่เพื่อการเกษตร

Page 14: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 7 -

รูปที่ 5 แสดงพื้นที่แหล่งแร่และต าแหน่งประทานบัตรกลุ่มแร่เพื่อรองรับเทคโนโลยีช้ันสูง

Page 15: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 8 -

สถานการณ์ทรัพยากรแร่ในปัจจุบัน ในช่วงระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2551 - 2554) สัดส่วนของมูลค่าผลผลิตทรัพยากรแร่

คิดเป็นร้อยละ 0.5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) โดยการผลิตแร่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเพ่ือตอบสนองความต้องการของอุตสาหกรรมในประเทศ ในปี พ.ศ. 2554 การผลิตแร่มีมูลค่า 57,000 ล้านบาท แร่หลักที่มีการผลิต คือ ถ่านหินลิกไนต์ หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมก่อสร้าง ยิปซัมก้อน และสินแร่ทองค า แร่ที่ผลิตได้น ามาใช้เพ่ือสนองความต้องการใช้แร่ภายในประเทศเป็นหลัก ที่เหลือเป็นการผลิตเพ่ือส่งออก ในปี พ.ศ. 2554 การส่งออกมีมูลค่า 35,000 ล้านบาท แร่หลักที่มีการส่งออก ได้แก่ โลหะดีบุก โลหะทองค า โลหะสังกะสี ยิปซัมก้อน และสินแร่เหล็ก

โดยในปี พ.ศ. 2554 ต้องมีการน าเข้าแร่จากต่างประเทศเพ่ือสนองความต้องการใช้แร่ของภาคการผลิต ซึ่งมีมูลค่ารวม 56,000 ล้านบาท การน าเข้าแร่ส่วนใหญ่อยู่ในรูปสินแร่และผลิตภัณฑ์แร่ที่มีคุณภาพดี ได้แก่ ถ่านหินชนิดอื่น ๆ ถ่านหินบิทูมินัส สินแร่สังกะสี ถ่านโค้ก และสินแร่เหล็ก

แนวโน้มความต้องการใช้แร่ในอนาคต การผลิต การน าเข้า การส่งออก และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่ มีแนวโน้มปรับตัว

เพ่ิมข้ึนตามอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยภาพรวมแล้วประเทศไทยไม่สามารถจัดหาทรัพยากรแร่จากแหล่งภายในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการใช้แร่และต้องพ่ึงพิงการน าเข้าแร่จากต่างประเทศจ านวนมาก โดยอัตราส่วนของมูลค่าการผลิตแร่เพ่ือใช้ในประเทศต่อมูลค่าการน าเข้าแร่คิดเป็น 1 ต่อ 2.7 ซึ่งเมื่อแยกพิจารณาเป็นรายแร่จะพบว่ามีเพียงกลุ่มแร่เพ่ืออุตสาหกรรมก่อสร้างที่ประเทศไทยสามารถจัดหาได้จากแหล่งทรัพยากรในประเทศเป็นหลัก ในขณะที่กลุ่มแร่อ่ืนมีมูลค่าการน าเข้าแร่สูงกว่ามูลค่าการผลิตแร่เพ่ือใช้ในประเทศ เทียบเป็นอัตราส่วน 1 ต่อ 2.3 และ 3.3 เป็นแร่เพ่ืออุตสาหกรรมเคมี และแร่พลังงาน ตามล าดับ เมื่อพิจารณาจากภาพรวมความต้องการใช้พบว่า ในปี พ.ศ. 2554 เพ่ิมขึ้นจาก พ.ศ. 2553 คาดว่าเป็นผลเนื่องมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐบาล (Mega Project) และมีแนวโน้มที่จะเพ่ิมมากข้ึนตามนโยบายของรัฐบาลชุดปัจจุบัน

ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้จัดท าโครงการศึกษาทบทวนนโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540 - 2559 ประเมินว่าแนวโน้มในช่วง 6 ปี (พ.ศ. 2554 - 2559) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ จะส่งผลให้มูลค่าการน าเข้าแร่เพ่ิมสูงขึ้นตามความต้องการการใช้แร่บางประเภท เช่น ถ่านหิน เพ่ือการผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอกับความต้องการ และรวมถึงสินแร่โลหะบางชนิด เช่น สินแร่สังกะสี และสินแร่เหล็ก เป็นต้น

สภาพปัญหาในการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ การพัฒนาทรัพยากรแร่มาใช้ประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ

อ่ืน ๆ และสิ่งแวดล้อมในหลายรูปแบบ เมื่อพิจารณาถึงวิวัฒนาการในการพัฒนาทรัพยากรแร่มาใช้ประโยชน์จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจะเห็นได้ว่าในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 ถึง 5 (พ.ศ. 2504 – 2539) เป็นการพัฒนาที่ขาดสมดุล โดยประสบความส าเร็จเฉพาะในเชิงปริมาณ แต่ขาดความสมดุลด้านคุณภาพ ผลจากการพัฒนาดังกล่าวท าให้ทรัพยากรธรรมชาติลดปริมาณลง มีสภาพเสื่อมโทรม และเกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ มากมาย แต่หากมีการพัฒนาให้สอดคล้องกันก็จะช่วยลดปัญหาลงไปได ้ซึ่งสรุปปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการพัฒนาทรัพยากรแร่ ในด้านต่าง ๆ ดังนี้

Page 16: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 9 -

1. ด้านข้อมูลพื้นฐานและระบบฐานข้อมูลทางธรณีวิทยาแหล่งแร่ของประเทศไทย ปัจจุบันข้อมูลพ้ืนฐานซึ่งเป็นต้นทุนทางทรัพยากรแร่ยั งมีไม่ครบถ้วนเพียงพอต่อการ

วางแผนพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับภาพรวมของประเทศและระดับภูมิภาค รวมถึงระบบสารสนเทศที่เก่ียวกับแหล่งแร่ต่าง ๆ ในประเทศไทยเป็นแบบดิจิทัล ยังไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มรูปแบบและเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งควรมีข้อมูลพ้ืนฐานด้านทรัพยากรแร่ 2 ประเภท คือ แร่ส าหรับการพัฒนาระดับพื้นฐาน และแร่ส าหรับการพัฒนาระดับไฮเทค

2. ด้านการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และบุคลากร 2.1 ผลจากการพัฒนาแหล่งแร่ในอดีตซึ่งมุ่งเน้นการผลิตแร่ที่มีความสมบูรณ์สูงเป็นหลัก

ท าให้แหล่งแร่เดิมท่ียังคงมีปริมาณทรัพยากรแร่หลงเหลืออยู่แต่ลดความสมบูรณ์ลง และไม่สามารถท าการผลิตได้ด้วยเทคโนโลยีการผลิตในอดีต เพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่อย่างคุ้มค่าและไม่ขยายขอบเขตพ้ืนที่ในการท าเหมืองแร่อันจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ประกอบกับในปัจจุบันมีแนวโน้มที่ต้องการแร่เฉพาะกลุ่มมากขึ้น เช่น กลุ่มแร่โลหะหายาก กลุ่มแร่โลหะอิเล็กทรอนิกส์ (แคดเมียม แกลเลียม เจอร์เมเนียม) กลุ่มแร่โลหะเคมี (ลิเทียม โบรอน บิสมัส) กลุ่มแร่โลหะเบา (อะลูมิเนียม แมกนีเซียม ไทเทเนียม) และกลุ่มแร่โลหะนิวเคลียร์ (ซีเซียม เบริลเลียม) ดังนั้นจึงควรสนับสนุนให้เกิดการวิจัยและพัฒนา และการน าเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาเพ่ิมประสิทธิภาพในการส ารวจ และพัฒนาแหล่งแร่ มาใช้ประโยชน์ รวมถึงต้องมีการพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในการส ารวจทรัพยากรแร่

2.2 แร่ที่ผลิตได้ในประเทศและมีการส่งออกส่วนใหญ่เป็นแร่ดิบหรือแร่ ที่ยังไม่ผ่านกระบวนการเพ่ิมมูลค่า ซึ่งมีมูลค่าต่ าท าให้มูลค่าการส่งออกโดยรวมต่ า แม้จะมีการส่งออกในปริมาณมาก ในทางกลับกัน ผลิตภัณฑ์แร่ที่มีการน าเข้าเป็นแร่ที่มีมูลค่าสูง ท าให้มูลค่าการน าเข้าโดยรวมสูงแม้จะมีปริมาณการน าเข้าไม่มากนัก ดังนั้นควรจะมีการด าเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนาซึ่งเป็นหัวใจส าคัญในการสร้างและเพ่ิมมูลค่าให้กับทรัพยากรแร่

3. การมีส่วนร่วมและบูรณาการระหว่างหน่วยงานและชุมชนจากพื้นฐานข้อมูลด้านทรัพยากรแร่ที่ตรงกัน

การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของภาครัฐขาดการบูรณาการอย่างรอบด้าน เนื่องจากความไม่สอดคล้องกันของนโยบายภาครัฐด้านการอนุรักษท์รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดผลกระทบหลายประการ ดังนี้

ก. เสียโอกาสน าทรัพยากรแร่มาใช้ประโยชน์ เนื่องจากมีการน าพ้ืนที่แหล่งแร่อุดมสมบูรณ์ไปใช้ประโยชน์เพ่ือกิจกรรมอ่ืนก่อนที่จะมีโอกาสพัฒนาแหล่งแร่ เช่น การตั้งถิ่นฐานในพ้ืนที่ที่เป็นแหล่งแร่ท าให้เสียโอกาสในการพัฒนาแหล่งแร่โดยไม่จ าเป็น เนื่องจากมีต้นทุนในการอพยพชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บนพื้นที่แหล่งแร่อุดมสมบูรณ์จนอาจไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน

ข. เตรียมความพร้อมด้านวัตถุดิบส าหรับภาคอุตสาหกรรมการผลิตไม่ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ท าให้ต้องน าเข้าทรัพยากรแร่บางชนิดจากต่างประเทศในราคาแพงทั้งที่ประเทศไทยมีศักยภาพแร่ชนิดนั้น จนสูญเสียความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมการผลิต หากพัฒนาทรัพยากรแร่ในอัตราสูงเกินความต้องการบริโภคทรัพยากรแร่ จะส่งผลให้แร่ที่ผลิตได้มีมูลค่าต่ า

ค. กระบวนการอนุญาตส ารวจและท าเหมืองแร่ยังยุ่งยากซับซ้อนและใช้เวลานานเนื่องจากมีกฎหมายหลายฉบับ และอยู่ในการก ากับดูแลของหลายหน่วยงาน ท าให้เป็นอุปสรรคต่อการตัดสินใจลงทุน

Page 17: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 10 -

จากสภาพปัญหาดังกล่าว การเตรียมความพร้อมด้านวัตถุดิบแร่ โดยจ าแนกเขตแหล่งแร่เพ่ือการพัฒนาและจัดล าดับชนิดแร่ส าคัญรองรับการสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมทั้งในปัจจุบันภาวะเศรษฐกิจตกต่ าและส ารองไว้ใช้ในอนาคต ภายใต้ข้อมูลทรัพยากรแร่ที่ตรงกัน

4. การท าเหมืองแร่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้จัดท ากรอบแนวคิด

และทิศทางของแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 - 2559 รายงานว่า ผลจากการพัฒนาทรัพยากรแร่ได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย และวิถีชีวิตของประชาชนและชุมชน รวมทั้งยังมีปัญหาการจัดการหน้าดิน และการปนเปื้อนในพ้ืนที่เหมืองที่ปิดกิจการแล้ว และพ้ืนที่โดยรอบ สาเหตุส าคัญมาจากการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ก าหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ท าให้ขาดความเชื่อถือจากชุมชนในพ้ืนที่ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผู้ประกอบการไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง ในขณะเดียวกันหน่วยงานภาครัฐต้องปรับปรุงข้อก าหนดเกี่ยวกับมาตรฐานและมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ ให้เป็นลักษณะจูงใจและสามารถปฏิบัติได้จริง ตลอดจนให้มีการติดตามตรวจสอบการด าเนินการตามเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง

นโยบายของรัฐและแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรแร่ การจัดการทรัพยากรแร่เกี่ยวข้องกับ นโยบายรัฐบาล และแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้อง

ประกอบด้วย แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540 - 2559 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 - 2559 มีสาระส าคัญปรากฏตามรูปที่ 6 ซึ่งกลไกความสัมพันธ์นโยบายของรัฐและแผนระดับชาติ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรแร่ปรากฏตามรูปที่ 7

1. นโยบายรัฐบาล

คณะรัฐมนตรีภายใต้การน าของนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 23 – 25 สิงหาคม 2554 มีจุดมุ่งหมายสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น สังคมมีความปรองดองสมานฉันท์และอยู่บนพ้ืนฐานของหลักนิติธรรมที่เป็นมาตรฐานสากลเดียวกัน และเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์ ประกอบด้วย 8 นโยบาย คือ นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มด าเนินการในปีแรก นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และนโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ซึ่งประเด็นทรัพยากรแร่และทรัพยากรธรณีได้มีการก าหนดไว้ในนโยบายเศรษฐกิจ และนโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ปรากฏดังนี้

1.1 นโยบายเกี่ยวกับทรัพยากรแร่โดยตรง

1) เร่งรัดส ารวจและแสวงหาแหล่งแร่ส าคัญเพ่ือน ามาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม โดยให้ความส าคัญกับการก ากับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน (นโยบายที่ 3 เศรษฐกิจ 3.3 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ 3.3.2 ภาคอุตสาหกรรม ล าดับที่ 10)

Page 18: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 11 - รูปที่ 6 นโยบายของรัฐและแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรแร่

นโยบายรัฐบาล 23-25 ส.ค. 54

นโยบายโดยตรง เร่งรัดส ารวจและแสวงหาแหล่งแร่ส าคัญเพื่อน ามาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสรา้งมูลค่าเพิ่ม โดยให้ความส าคญักับการก ากับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

นโยบายโดยตรง ด าเนินการศึกษา ส ารวจและก าหนดยุทธศาสตร์การใช้ทรัพยากรธรณีอย่างยั่งยืน

นโยบายที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงานและวัตถุดบิ เพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้กับประเทศและภมูิภาค

นโยบายที่เกี่ยวข้อง เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมใหเ้ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผดิชอบต่อสังคมและอยู่ร่วมกับชุมชนได้ โดยปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต ลดการใช้ทรัพยากรและลดปริมาณปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยหลักการการลดการใช้ การใช้ซ า การน ากลับมาใช้ใหม่ เพ่ิมปริมาณการใช้พลังงานทดแทนในภาคอุตสาหกรรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสร้างรายได้จากการขายคาร์บอนเครดิต และลดภาวะโลกร้อน รวมทั งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและการตรวจสอบสภาวะแวดล้อม และพัฒนาเมือง หรือพื นท่ีอุตสาหกรรมเชิงนิเวศท่ีสอดคล้องกับแนวทางดงักล่าว เพื่อน าไปสูส่ังคมคาร์บอนต่ า

นโยบายที่เกี่ยวข้อง จัดท าแผนวิจัยแม่บทเพื่อมุ่งเป้าหมายของการวิจยัให้ชัดเจน เน้นให้เกิดการวิจัยที่ครบวงจร ตั งแต่การวจิัยพื นฐานไปถึงการสร้างผลิตภณัฑ์โดยมุ่งให้เกิดห่วงโซ่คุณคา่ในระดับสูง

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 พ.ศ. 2555-2559

สนับสนุนการจัดท าฐานข้อมลูทรัพยากรแรเ่ผยแพร่ต่อสาธารณะอย่างต่อเนื่องทุกปี ผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์และสื่ออ่ืนๆ

จัดท าเขตเศรษฐกิจแร่ทั งประเทศ

นโยบายและแผนการส่งเสริม

และรักษาคณุภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540-2559

นโยบายประเมินประเภทและปรมิาณทรัพยากรธรณีวัตถุดบิส ารองทั่วประเทศและสงวนแหล่งแร่ในเขตอนุรักษ์ไว้เป็นแหล่งสุดท้ายที่จะน ามาพัฒนาและใช้ประโยชน์ในอนาคตเมื่อมีความจ าเป็น

นโยบายการใช้ทรัพยากรแร่และทรัพยากรธรณีอย่างมีประสิทธิภาพตามหลักการอนรุักษ์ โดยค านึงถึงความสมดลุทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั งการประสารการใช้ประโยชน์ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น

นโยบายการให้ประทานบตัรเหมืองแร่การอนุญาตเฉพาะแร่ที่มีความส าคัญหรืออยู่ในความต้องการของตลาดคุ้มค่ากับการลงทุนในเชิงพาณิชย์และสามารถป้องกัน แก้ไขผลกระทบตอ่สิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได ้

นโยบายเร่งรัดฟื้นฟูพื นท่ีผ่านการท าเหมืองแร่แล้ว ใหส้ามารถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อกิจกรรมอื่น ตามศักยภาพของพื นที่

ระยะกลาง พัฒนาเครือข่ายเช่ือมโยงข้อมูลทรพัยากรแร่กับข้อมูลด้านอื่นๆ โดยเฉพาะข้อมูลดา้นสุขภาพ รวมถึงสร้างช่องทางการเผยแพร่ขอ้มูล และการรายงานผลการติดตามประเมินผลการด าเนินงานในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแร่ โดยสนับสนุนใหส้าธารณชนมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล ตลอดจนพัฒนาให้เป็นศูนย์ข้อมูลกลางท่ีมีข้อมลูทันสมยั เข้าถึงได้สะดวก และมีการใช้บริการอย่างมปีระสิทธิภาพ

แผนจัดการคุณภาพ

สิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559

ระยะเร่งด่วน เร่งรัดการจัดท าเขตศักยภาพแร่และเขตเศรษฐกิจแร่ทั งประเทศให้แล้วเสรจ็ เพื่อใช้ประกอบการวางแผนและจัดเตรียมพื นท่ีให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรแร่อย่างยัง่ยืนและลดผลกระทบจากการพัฒนาทรัพยากรแร่ที่มีต่อชุมชนในพื นที ่

ระยะปานกลาง พัฒนาเครื่องมือก ากับ ควบคุมการบริหารจัดการเหมืองแร่ให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพรวมถึงเร่งสร้างมาตรการก ากับดูแล และชดเชยค่าเสียหายตามหลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่ายอย่างเป็นธรรม

ระยะกลาง สร้างกลไกเพื่อเสริมศักยภาพของท้องถิ่นและชุมชนในการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และดูแลการท าเหมืองแร่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ น

ระยะกลาง สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและเพิ่มขีดความสามารถให้กับหน่วยงานท้องถิ่นระดับต าบลเพื่อเป็นหน่วยงานเครือข่ายในการจดัเก็บข้อมลูพื นฐานที่เกี่ยวข้อง การเฝ้าระวัง และป้องกันผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการพัฒนาทรัพยากรแร่

ระยะกลาง ส่งเสริมการวิจยัเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่อย่างชาญฉลาด

แผนการบริหารราชการแผ่นดิน

พ.ศ. 2555-2559

ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งมีควมพร้อมทางด้านแรงงาน และวตัถุดบิเพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจใหแ้ก่ประเทศและภมูิภาค

สนับสนุนการจดัการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร การฟิ้นฟูดินและการป้องกันการชะล้างท าลายดิน ด าเนินการศึกษา ส ารวจ และก าหนดยุทธศาสตร์การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน รวมถึงการศกึษาและอนรุักษ์ซากดกึด าบรรพ ์

เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมใหเ้ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคมและอยูร่่วมกับชุมชนได้ โดยปรับปรุงเทคโนโลยีการผลติ ลดการใช้ทรัพยากรและลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยหลักการการลด การใช้ การใช้ซ า และการน ากลับมาใช้ใหม่ เพ่ิมปริมาณการใช้พลังงานทดแทนในภาคอุตสาหกรรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสร้างรายไดจ้ากการขายคาร์บอนเครดติและลดภาวะโลกร้อน รวมทั งสนับสนนุการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและตรวจสอบสภาวะแวดล้อม และพัฒนาเมืองหรือพื นท่ีอุตสาหกรรมเชิงนิเวศท่ีสอดคล้องกับแนวทางดังกล่าวเพื่อน าไปสู่สังคมคาร์บอนต่ า

จัดระบบบริหารงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพสูง โดยการจัดเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการวิจัยระหว่างหน่วยงานและสถาบันวจิัยที่สังกัดภาคส่วนต่างๆในประเทศ รวมทั งสถาบันอดุมศึกษาเพื่อลดความซ าซ้อนและทวีศักยภาพ จดัท าแผนวิจัยแม่บทเพื่อมุ่งเป้าหมายของการวิจยัให้ชัดเจน เน้นให้เกิดการวิจัยที่ครบวงจร ตั งแต่การวิจัยพื นฐานจนไปถึงการสร้างผลิตภัณฑโ์ดยมุ่งให้เกิดห่วงโซ่คุณค่าในระดับสูงสุด ส่งเสริมการลงทุนด้านการวิจัย โดยมุ่งเข้าสู่ระดับร้อยละ 2 ของผลิตภณัฑ์มวลรวมในประเทศ

เร่งรัดส ารวจและแสวงหาแหล่งแร่ส าคัญเพื่อน ามาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยให้ความส าคญักับการก ากับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

Page 19: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 12 - รูปที่ 7 ผังแสดงกลไกความสัมพันธ์ของ กฎหมาย นโยบาย และแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรแร่

(ดัดแปลงจากส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,2553)

กฎหมาย

ระดับชาติ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

(หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ)

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)

(ประกาศใช้ 26 ต.ค. 54)

นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษา

คุณภาพสิง่แวดล้อมแห่งชาติ

พ.ศ. 2540 – 2559 (ค.ร.ม. เห็นชอบ

26 พ.ย. 39)

แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม

พ.ศ. 2555-2559 (กก.วล. เห็นชอบ 17 พ.ย. 54)

แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2555 - 2559

(ค.ร.ม. เห็นชอบ 6 ก.ย. 54)

พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ

สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534

พ.ร.บ. พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2521

กฎหมายว่าด้วยแร่

นโยบายรัฐบาล ที่แถลงต่อรัฐสภา (วันที่ 23-25 ส.ค. 54)

พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

แผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น

ระดับกระทรวง/ กรม

Page 20: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 13 -

2) ด ำเนินกำรศึกษำ ส ำรวจและก ำหนดยุทธศำสตร์กำรใช้ทรัพยำกรธรณีอย่ำงยั่งยืน (นโยบำยที่ 5 ที่ดิน ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม 5.8 พัฒนำองค์ควำมรู้ในกำรบริหำรจัดกำรด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม)

1.2 นโยบำยทีเ่กี่ยวข้องกับทรัพยำกรแร่ 1) ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกำรขยำยกำรลงทุนไปประเทศเพ่ือนบ้ำนซึ่งมีควำมพร้อม

ทำงด้ำนแรงงำนและวัตถุดิบเพ่ือสร้ำงควำมมั่งคั่งทำงเศรษฐกิจให้กับประเทศและภูมิภำค (นโยบำยที่ 3 เศรษฐกิจ 3.2 นโยบำยสร้ำงรำยได้ ล ำดับที่ 3.2.5)

2) เร่งพัฒนำภำคอุตสำหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีควำมรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้ โดยปรับปรุงเทคโนโลยีกำรผลิต ลดกำรใช้ทรัพยำกรและลดปริมำณกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก ด้วยหลักกำรกำรลดกำรใช้ กำรใช้ซ ำและกำรน ำกลับมำใช้ใหม่ เพ่ิมปริมำณกำรใช้พลังงำนทดแทนในภำคอุตสำหกรรมเพ่ือส่งเสริมให้ผู้ประกอบกำรสร้ำงรำยได้จำกกำรขำยคำร์บอนเครดิต และลดภำวะโลกร้อนรวมทั งสนับสนุนกำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำรแก้ไขปัญหำและตรวจสอบสภำวะแวดล้อม และพัฒนำเมืองหรือพื นที่อุตสำหกรรมเชิงนิเวศที่สอดคล้องกับแนวทำงดังกล่ำวเพ่ือน ำไปสู่สังคมคำร์บอนต่ ำ (นโยบำยที่ 3 เศรษฐกิจ 3.3 นโยบำยปรับโครงสร้ำงเศรษฐกิจ 3.3.2 ภำคอุตสำหกรรม ล ำดับที่ 7)

3) จัดท ำแผนวิจัยแม่บทเพ่ือมุ่งเป้ำหมำยของกำรวิจัยให้ชัดเจน เน้นให้เกิดกำรวิจัย ที่ครบวงจรตั งแต่กำรวิจัยพื นฐำนไปถึงกำรสร้ำงผลิตภัณฑ์โดยมุ่งให้เกิดห่วงโซ่คุณค่ำในระดับสูงสุด (นโยบำยที่ 6 วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี กำรวิจัยและนวัตกรรม 6.4 จัดระบบกำรบริหำรงำนวิจัยให้เกิดประสิทธิภำพสูง)

2. แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2555 - 2558

แผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2555 - 2558 (รัฐบำลนำงสำวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นำยกรัฐมนตรี) ได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 กันยำยน 2554 แสดงมำตรกำรและรำยละเอียดของแนวทำงในกำรปฏิบัติรำชกำรในแต่ละปี โดยวำงกลยุทธ์และวิธีกำรด ำเนินกำรเป็น 2 ระยะ คือ นโยบำยเร่งด่วนที่จะเริ่มด ำเนินกำรในปีแรก และนโยบำยที่จะด ำเนินกำรในระยะ 4 ปี ซึ่งเริ่มด ำเนินกำรตั งแต่ปีแรกเป็นต้นไป ทั งนี แต่ละส่วนรำชกำรจะต้องน ำไปเป็นกรอบในกำรจัดท ำแผนปฏิบัติรำชกำรตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ .ศ. 2546 มำตรำ 9 และมำตรำ 16 ในกำรก ำหนดเป็นรำยละเอียดของแต่ละกิจกรรมที่จะด ำเนินกำรในแต่ละปี อันจะเป็นเครื่องมือส ำคัญของกำรบูรณำกำรนโยบำยในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินไปสู่กำรปฏิบัติได้อย่ำงเป็นรูปธรรม โดยแผนงำน/โครงกำร ตำมนโยบำยรัฐบำล ปรำกฏดังตำรำงที่ 1 มีสำระส ำคัญดังนี

1) เร่งรัดส ำรวจและแสวงหำแหล่งแร่ส ำคัญเพ่ือน ำมำใช้ประโยชน์ทำงเศรษฐกิจ และพัฒนำอุตสำหกรรมต่อยอดเพ่ือสร้ำงมูลค่ำเพ่ิม โดยให้ควำมส ำคัญกับกำรก ำกับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน ประกอบด้วย 1 กลยุทธ์/วิธีกำร โดยกระทรวงอุตสำหกรรมเป็นหน่วยงำนหลัก ยังไม่ปรำกฏโครงกำรภำยใต้กลยุทธ์/วิธีกำรดังกล่ำว

2) สนับสนุนกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติเพ่ือให้เกิดควำมมั่นคงทำงอำหำร กำรฟ้ืนฟูดินและกำรป้องกันกำรชะล้ำงท ำลำยดิน ด ำเนินกำรศึกษำ ส ำรวจและก ำหนดยุทธศำสตร์กำรใช้ทรัพยำกรอย่ำงยั่งยืน รวมถึงกำรศึกษำและอนุรักษ์ซำกดึกด ำบรรพ์ ประกอบด้วย 7 กลยุทธ์/วิธีกำร ภำยใต้กลยุทธ์/วิธีกำรดังกล่ำวมีเพียง 1 โครงกำร คือ โครงกำรพัฒนำศักยภำพและเพ่ิมประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมอย่ำงมีส่วนร่วม ระยะเวลำด ำเนินกำร 4 ปี ตั งแต่ พ.ศ. 2555 – 2558

Page 21: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 14 -

ตารางที่ 1 แสดงแผนงาน/โครงการตามนโยบายรัฐบาล

ที ่รายละเอียดของนโยบาย

กลยุทธ์/วิธีการ กระทรวงท่ีเกี่ยวข้อง

แผนงาน/ โครงการ

ระยะเวลา หน่วยงานรับผิดชอบ นโยบายที่ ประเด็นนโยบาย

1. 3. เศรษฐกิจ 3.3 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ 3.3.2 ภาคอุตสาหกรรม

10. เร่งรัดส ารวจและแสวงหาแหล่งแร่ส าคัญเพ่ือน ามาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและพัฒนาต่อยอดเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม โดยให้ความส าคัญกับการก ากับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน

สนับสนุนการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้วัตถุดิบและทรัพยากรธรรมชาติ โดยการเชื่อมโยงกับภาคการเกษตร

กระทรวง อุตสาหกรรม

2. 5. ที่ดินทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.8 พัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3. สนับสนุนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร การฟ้ืนฟูดินและการป้องกันการชะล้างท าลายดิน ด าเนินการศึกษา ส ารวจและก าหนดยุทธศาสตร์การใช้ทรัพยากรอย่างยั่ ง ยืน รวมถึ งการศึ กษาและอนุ รั กษ์ ซากดึกด าบรรพ์

- ก ากับดูแล ติดตามและตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมายที่ เกี่ยวข้องให้มีผลบังคับทั่วถึงเท่าเทียมและสอดคล้องกับสถานการณ ์- ปรับปรุงโครงสร้างกลไกการจัดการ และระเบียบปฏิบัติให้มีคุณภาพและความคล่องตัวในการด าเนินภารกิจ - ปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการใช้งบประมาณให้มีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงกับงานเพ่ือร่วมทุนกับภาคีเครือข่ายทุกระดับ - สนับสนุนระบบการประเมินและการก ากับดูแลองค์กรโดยยึดหลักธรรมาภิบาล - เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เข็มแข็ง

ส านักนายกรัฐมนตรี/กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

โครงการพัฒนาศักยภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพการบ ริ ห า ร จั ด ก า ร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม

2555 - 58 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช/กรมทรัพยากรธรณี/ส านักงานอัยการสูงสุด/ส านักพัฒนาความร่ วมมือเ พ่ือการพัฒนาระหว่างประเทศ

Page 22: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 15 -

ที ่รายละเอียดของนโยบาย

กลยุทธ์/วิธีการ กระทรวงท่ีเกี่ยวข้อง

แผนงาน/ โครงการ

ระยะเวลา หน่วยงานรับผิดชอบ นโยบายที่ ประเด็นนโยบาย

และบรรยากาศในการท างานที่เอ้ืออ านวย ต่อการร่วมมือกับขับเคลื่อนภารกิจ - พัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนการด าเนินภารกิจให้ครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร - จัดท าระบบ/ยกระดับขีดความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรดิน น้ า ป่า และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนที่ก าหนดไว้ในยุทธศาสตร์และแนวทางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

3. 3. เศรษฐกิจ 3.2 นโยบายสร้างรายได้

5. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพ่ือนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงาน และวัตถุดิบเพ่ือสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค

- เสริมสร้างการค้า และการลงทุนในเขตชายแดนกับประเทศเพ่ือนบ้าน และในภูมิภาคภายใต้กรอบต่างๆ - ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

กระทรวงอุตสาหกรรม/กระทรวงการ คลัง/กระทรวงพาณิชย์

โครงการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์ กลางธุ รกิ จอุตสาหกรรมแร่ในภูมิภาค

2556-58 กระทรวงอุตสาหกรรม (กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่)

4. 3. เศรษฐกิจ 3.3 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ 3.3.2 ภาคอุตสาหกรรม

7. เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้โดยปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต ลดการใช้ทรัพยากรและลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยหลักการการลดการใช ้การใช้ซ้ าและการน า

- ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ - พัฒนากลไกที่มีประสิทธิภาพในการก ากับดูแลคุณภาพสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สนับสนุนการมีส่วนร่วม และสร้างความรู้ความเข้ า ใจที่ ถู กต้ องเกี่ ยวกั บภาค อุตสาหกรรมให้แก่ชุมชน

ส านักนายกรัฐมนตรี/กระทรวงอุตสาหกรรม/กระทรวงการคลัง

โครงการขับเคลื่อนสู่ อุ ต ส าหกร รม สีเขียว

2555 - 58 กระทรวงอุตสาหกรรม (กรมโรงงานอุตสาหกรรม/ กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการ

Page 23: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 16 -

ที่ รายละเอียดของนโยบาย

กลยุทธ์/วิธีการ กระทรวงที่เกี่ยวข้อง

แผนงาน/ โครงการ ระยะเวลา หน่วยงาน

รับผิดชอบ นโยบายที่ ประเด็นนโยบาย กลับมาใช้ใหม่ เพ่ิมปริมาณการใช้พลังงาน

ทดแทนในภาคอุตสาหกรรมเพ่ือส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสร้างรายได้จากการขายคาร์บอนเครดิต และลดภาวะโลกร้อน รวมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและพัฒนาเมืองหรือ พ้ืนที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าวเพ่ือน าไปสู่สังคมคาร์บอนต่ า

- แก้ ไขปัญหามลพิษและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในพ้ืนที่มาบตาพุด และบริเวณใกล้เคียงจังหวัดระยองอย่างยั่งยืน

เหมืองแร่/ ส านักปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม)

5. 6. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 6.4 จัดระบบบริหารงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพสูง

1. จั ดระบบบริหารงานวิ จัย ให้ เกิดประสิทธิภาพสูง โดยการจัดเครือข่ายความร่วมมือเพ่ือการวิจัยระหว่างหน่วยงานและสถาบันวิจัยที่สั งกัดภาคส่วนต่างๆ ในประเทศ รวมทั้งสถาบัน อุดมศึกษาเพ่ือลดความซ้ าซ้อนและทวีศักยภาพ จัดท าแผนวิจัยแม่บทเพ่ือมุ่งเป้าหมายของการวิจัยให้ชัดเจน เน้นให้เกิดการวิจัยที่ครบวงจรตั้งแต่การวิจัยพ้ืนฐานไปถึงการสร้างผลิตภัณฑ์โดยมุ่งให้เกิดห่วงโซ่คุณค่าในระดับสูงสุด ส่งเสริมการลงทุนด้านการวิจัยโดยมุ่งเข้าสู่ระดับร้อยละ 2 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

- น าองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น และคุณภาพชีวิต - พัฒนาระบบการบริหารจัดการ - เ พ่ิมประสิทธิภาพการบริการของหน่วยงาน และสนับสนุนให้เอกชนเข้ามาลงทุน - เร่งจัดตั้งอุทยานวิทยาศาตร์ในทุกภาคให้แล้วเสร็จและติดตามประเมินผล - เร่งพัฒนาศูนย์แห่งความเป็นเลิศ เพ่ือรองรับเทคโนโลยีอุบัติใหม่ และเทคโนโลยีที่มีความส าคัญต่อการพัฒนาประเทศ

กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

- แผนงานศูนย์เครือข่ายกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจ าภูมิภาค

2555 - 58

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ส านักปลัดกระทรวง) /ส านักงานปรมาณูเพ่ือสันติ/สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ/องค์การพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

Page 24: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 17 -

ที ่รายละเอียดของนโยบาย

กลยุทธ์/วิธีการ กระทรวงท่ีเกี่ยวข้อง

แผนงาน/ โครงการ

ระยะเวลา หน่วยงานรับผิดชอบ นโยบายที่ ประเด็นนโยบาย

- สร้างความร่วมมือในการวิจัยทั้งใน ระดับประเทศและในระดับภูมิภาค - ก าหนดนโยบายและแผนหลักด้านการวิจัยของประเทศและทิศทางขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ - เสริมสร้างสมรรถนะและความเข้มแข็งให้กับระบบวิจัย - สร้างมาตรฐานการวิจัยที่มีศักยภาพต่อการพัฒนาประเทศ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดโครงสร้างพ้ืนฐานที่เอ้ืออ านวยต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศ - เสริมสร้างสมรรถนะและความเข้มแข็งให้กับระบบวิจัย

-การจัดตั้งส านักงาน ที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจ าสถานเอกอคัร ราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน

2555 - 58 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ส านักปลัดกระทรวง)

Page 25: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 18 -

ผู้รับผิดชอบ ได้แก่ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมทรัพยากรธรณี ส านักงานอัยการสูงสุด ส านักพัฒนาความร่วมมือเพ่ือการพัฒนาระหว่างประเทศ

3) ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปประเทศเพ่ือนบ้านซึ่งมีความพร้อมทางด้านแรงงาน และวัตถุดิบเพ่ือสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์/วิธีการ โดยกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์เป็นหน่วยงานหลัก โดยมีโครงการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจอุตสาหกรรมแร่ในภูมิภาค (โครงการของกระทรวงอุตสาหกรรมด าเนินการ 3 ปี ระหว่างปี 2556-2558 โดยกรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่

4) เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคมและอยู่ร่วมกับชุมชนได้ โดยปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต ลดการใช้ทรัพยากรและลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกด้วยหลักการการลดการใช้ การใช้ซ้ าและการน ากลับมาใช้ใหม่ เพ่ิมปริมาณการใช้พลังงานทดแทนในภาคอุตสาหกรรมเพ่ือส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสร้างรายได้จากการขายคาร์บอนเครดิต และลดภาวะโลกร้อน รวมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและพัฒนาเมืองหรือพ้ืนที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าวเพ่ือน าไปสู่สังคมคาร์บอนต่ า ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์/วิธีการ ภายใต้กลยุทธ์/วิธีการดังกล่าวมีเพียง 1 โครงการ คือ โครงการขับเคลื่อนสู่อุตสาหกรรมสีเขียว ระยะเวลาด าเนินการ 4 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2555 – 2558 ผู้รับผิดชอบ ได้แก่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ ส านักปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

5) จัดระบบบริหารงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพสูง โดยการจัดเครือข่ายความร่วมมือเพ่ือการวิจัยระหว่างหน่วยงานและสถาบันวิจัยที่สังกัดภาคส่วนต่างๆ ในประเทศ รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือลดความซ้ าซ้อนและทวีศักยภาพ จัดท าแผนวิจัยแม่บทเพ่ือมุ่งเป้าหมายของการวิจัยให้ชัดเจน เน้นให้เกิดการวิจัยที่ครบวงจรตั้งแต่การวิจัยพ้ืนฐานไปถึงการสร้างผลิตภัณฑ์โดยมุ่งให้เกิดห่วงโซ่คุณค่าในระดับสูงสุด ส่งเสริมการลงทุนด้านการวิจัยโดยมุ่งเข้าสู่ระดับร้อยละ 2 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ประกอบด้วย 10 กลยุทธ์/วิธีการ ภายใต้กลยุทธ์/วิธีการดังกล่าวมี 2 แผนงาน คือ ศูนย์เครือข่ายกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจ าภูมิภาค ระยะเวลาด าเนินการ 4 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2555 – 2558 ผู้รับผิดชอบ ได้แก่ ส านักงานปลัดกระทรวงกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส านักงานปรมาณูเพ่ือสันติ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ และการจัดตั้งส านักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจ าสถานเอกอัคราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระยะเวลาด าเนินการ 4 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2555 – 2558 ผู้รับผิดชอบ ได้แก่ ส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) มีพระบรมราชโองการให้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2554 โดยมีแนวคิดมุ่งเตรียมความพร้อมและสร้างภูมิคุ้มกันของประเทศ ให้เข้มแข็งภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเร่งสร้างภูมิคุ้มกันเพ่ือป้องกันปัจจัยเสี่ยง และเสริมรากฐานของประเทศด้านต่างๆให้เข้มแข็งควบคู่ไปกับการพัฒนาคนและสังคมไทยให้มีคุณภาพมีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรม รวมทั้งสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจด้วยฐานความรู้ และความคิดสร้างสรรค์บนพ้ืนฐานการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ 6 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยการสร้างความเป็นธรรมในสังคม การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน การปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพ่ือความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

Page 26: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 19 -

และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ซึ่งก าหนดเกี่ยวกับทรัพยากรแร่เฉพาะในยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ านวน 2 ประเด็น คือ

1) สนับสนุนการจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรแร่ เผยแพร่ต่อสาธารณะอย่างต่อเนื่องทุกปีผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์และสื่ออ่ืนๆ (แนวทางการพัฒนาที่ 5.1 การอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางหลักที่ 5.1.2 พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการจัดการองค์ความรู้)

2) จัดท าเขตเศรษฐกิจแร่ทั้งประเทศ (แนวทางการพัฒนาที่ 5.8 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นธรรมอย่างบูรณาการ แนวทางหลักที่ 5.8.4 ปรับนโยบายการลงทุนภาครัฐให้เอ้ือต่อการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

4. นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540 – 2559

นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540 - 2559 เป็นกรอบนโยบายระยะยาวในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศในช่วง 20 ปี ที่จักพึงถ่ายทอดจัดท าเป็นแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมต่อเนื่องกันเป็น 4 แผนๆ ละ 5 ปี ซึ่งนโยบายและแผนฉบับนี้ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 โดยทรัพยากรแร่ซึ่งเป็นสาขาของนโยบายทรัพยากรธรรมชาติก าหนดเป้าหมายให้มีการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรแร่และทรัพยากรธรณีในระยะยาว เพ่ือสงวนรักษาทรัพยากรแร่และทรัพยากรธรณีที่จะมีความส าคัญต่อการพัฒนาในอนาคตและความมั่นคงของประเทศ รวมทั้งประสานการใช้ประโยชน์ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และลดความขัดแย้งกับการจัดการทรัพยากรแร่อื่นๆ ประกอบด้วยนโยบาย 4 ประการ คือ

1) นโยบายประเมินประเภทและปริมาณทรัพยากรธรณีวัตถุดิบส ารองทั่วประเทศ และสงวนแหล่งแร่ในเขตอนุรักษ์ไว้เป็นแหล่งสุดท้ายที่จะน ามาพัฒนาและใช้ประโยชน์ในอนาคตเมื่อมีความจ าเป็น ประกอบด้วย 3 แนวทางด าเนินการ ดังนี้

(1) ก าหนดหลักเกณฑ์การส ารวจแหล่งแร่ และการจัดท ารายงานการส ารวจให้ได้มาตรฐาน

(2) ให้มีการส ารวจทางธรณีวิทยาและแหล่งแร่ส ารองในพ้ืนที่ที่มีศักยภาพแร่สูง โดยสนับสนุนและเพ่ิมบทบาทให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการน าเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีประสิทธิภาพและ ไม่เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมมาใช้

(3) เร่ งรัดการจ าแนกและประเมินทรัพยากรธรณีวัตถุดิบของประเทศ โดยค านึงถึงศีกยภาพและข้อจ ากัดด้านการใช้ พ้ืนที่ รวมทั้งจัดท าระบบข้อมูลเพ่ือประกอบการก าหนดเขต แหล่งแร่ และจัดล าดับความส าคัญของการน ามาพัฒนาและใช้ประโยชน์

2) นโยบายการใช้ทรัพยากรแร่และทรัพยากรธรณีอย่างมีประสิทธิภาพตามหลักการอนุรักษ์ โดยค านึงถึงความสมดุลทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการประสานการใช้ประโยชน์ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติอ่ืน ประกอบด้วย 8 แนวทางด าเนินการ ดังนี้

(1) ปรับปรุงพระราชบัญญัติแร่ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สอดคล้องและเกื้อกูลต่อการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ก าหนดบทลงโทษให้รัดกุมเหมาะสมและให้มีผลบังคับใช้อย่างจริงจัง รวมทั้งเร่งรัดการออกกฎหมายเฉพาะเพ่ือควบคุมการใช้ทรัพยากรธรณีบางประเภท อาทิ ดินลูกรัง การดูดทรายบก - น้ า และการขุดตักหน้าดิน

Page 27: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 20 -

(2) ปรับปรุงกลไกการบริหารและการจัดการทรัพยากรแร่และทรัพยากรธรณีให้มีประสิทธิภาพ

(3) ก าหนดพ้ืนที่ที่มีศกัยภาพในการท าเหมืองแร่เชิงพาณิชย์ให้ชัดเจน รวมทั้งให้มีมาตรการป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบ

(4) การพัฒนาและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่ และทรัพยากรธรณีต้องสอดคล้องกับศักยภาพของพ้ืนที่ และประสานการใช้ประโยชน์รวมกับทรัพยากรอ่ืนๆ รวมทั้งสัมพันธ์กับการขยายตัวของอุตสาหกรรมในประเทศ

(5) ก าหนดหลักเกณฑ์ให้ผู้ประกอบการจัดท าแผนผังโครงการท าเหมืองและแผนการน าแร่ออกมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งก าหนดมาตรการป้องกัน แก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในแหล่งแร่แต่ละพ้ืนที่ให้เหมาะสม

(6) ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีการท าเหมือง การแยกแร่และการแต่งแร่ ที่สามารถรักษาสมดุลของสภาพแวดล้อม รวมทั้งสามารถน าแร่ที่เป็นผลพลอยได้ที่มีค่าออกมาใช้ประโยชน์ เพ่ือให้การใช้ทรัพยากรแร่มีประสิทธิภาพสูงสุด

(7) ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมสินแร่ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจสูง โดยใช้เทคโนโลยีที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระยะยาว ทั้งนี้โดยสงวนทรัพยากรแร่ที่มีศักยภาพที่จะเป็นปัจจัยการผลิตที่ส าคัญของอุตสาหกรรม และมีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศไว้ใช้ในอนาคต

(8) ก าหนดเงื่อนไขการลงทุนจากต่างประเทศให้สอดคล้องกับนโยบายการอนุรักษ์ทรัพยากรแร่ โดยค านึงถึงความม่ันคงและผลประโยชน์ของประเทศในอนาคต

3) นโยบายการให้ประทานบัตรเหมืองแร่ ควรอนุญาตเฉพาะแร่ที่มีความส าคัญหรืออยู่ในความต้องการของตลาด คุ้มค่ากับการลงทุนในเชิงพาณิชย์ และสามารถป้องกัน แก้ไขผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ประกอบด้วย 3 แนวทางด าเนินการ ดังนี้

(1) พ้ืนที่ประทานบัตรท าเหมืองแร่ต้องไม่อยู่ ในเขตพ้ืนที่อนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี หากเป็นแร่ที่มีความส าคัญต่อประเทศ ต้องได้รับการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรีเป็นเฉพาะกรณีไป

(2) สนับสนุนให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพิจารณาอนุญาตประทานบัตรและตรวจสอบการด าเนินการตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้โดยเพ่ิมขีดความสามารถของท้องถิ่นด้วย

(3) ก าหนดระยะเวลาการอนุญาตประทานบัตรให้เหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละพ้ืนที่ และก าหนดหลักเกณฑ์การน าแร่ออก เพ่ือป้องกันการทิ้งพ้ืนที่ไว้โดยไม่ใช้ประโยชน์ ร วมทั้งให้มีการส่งคืนพ้ืนที่สัมปทานให้รัฐ เพื่อน าพื้นที่ภายหลังการท าเหมืองมาใช้เพ่ือสาธารณประโยชน์

4) นโยบายเร่งรัดฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการท าเหมืองแร่แล้ว ให้สามาถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อกิจกรรมอื่นตามศักยภาพของพ้ืนที่ ประกอบด้วย 3 แนวทางด าเนินการ ดังนี้

(1) ปรับปรุง แก้ไขหลักเกณฑ์การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการฟ้ืนฟูพ้ืนที่ที่ผ่านการท าเหมืองแร่แล้ว ตลอดจนควบคุมให้มีผลบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ

(2) ให้ผู้ถือประทานบัตรก าหนดกลยุทธ์การจัดการสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่ท าเหมืองแร่ ตลอดช่วงอายุของประทานบัตร รวมทั้งควบคุมการด าเนินการตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการฟื้นฟูพ้ืนที่อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง

Page 28: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

- 21 -

(3) จัดสรรค่าภาคหลวงแร่และรายได้จากการผลิตแร่ให้แก่ท้องถิ่นที่มีการท าเหมืองแร่ ในสัดส่วนที่เหมาะสม เพ่ือการพัฒนาและปรับปรุงสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และสภาพแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่น

5. แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559

แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 - 2559 ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2554 มุ่งเน้นแนวทางการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนกลุ่มต่างๆ สามารถเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ ได้อย่างเท่าเทียมกัน และก าหนดมาตรการสร้างภูมิคุ้มกันต่อความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ เพ่ือเตรียมความพร้อมในการเผชิญกับปัญหาความผันผวนจากผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากข้ึน แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 - 2559 นี้ ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ คือ การปรับฐานการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือเสริมสร้างธรรมาภิบาล การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชนในทุกระดับ การเตรียมความพร้อมเพ่ือรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ และการพัฒนาคนและสังคมให้มีส านึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

ส าหรับทรัพยากรแร่ก าหนดไว้ในยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือเสริมสร้างธรรมาภิบาล แผนงานที่ 3.4 การจัดสรรทรัพยากรแร่อย่างเป็นธรรมและยั่งยืน มีสาระส าคัญดังนี ้

ระยะเร่งด่วน เร่งรัดการจัดท าเขตศักยภาพแร่และเขตเศรษฐกิจแร่ทั้งประเทศให้แล้วเสร็จ เพ่ือใช้

ประกอบการวางแผนและจัดเตรียมพ้ืนที่ให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรแร่อย่างยั่งยืน และลดผลกระทบจากการพัฒนาทรัพยากรแร่ที่มีต่อชุมชนในพ้ืนที่ (แนวทางการปฏิบัติที่ 3.4.1)

ระยะปานกลาง 1) พัฒนาเครื่องมือก ากับ ควบคุมการบริหารจัดการเหมืองแร่ให้เป็นมิตรต่อ

สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ รวมถึงเร่งสร้างมาตรการก ากับ ดูแลและชดเชยค่าเสียหายตามหลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่ายอย่างเป็นธรรม (แนวทางการปฏิบัติที่ 3.4.2)

2) สร้างกลไกเพ่ือเสริมศักยภาพของท้องถิ่นและชุมชน ในการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และดูแลการท าเหมืองแร่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น (แนวทางการปฏิบัติที่ 3.4.3)

3) สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและเพ่ิมขีดความสามารถให้กับหน่วยงานท้องถิ่นระดับต าบล เพ่ือเป็นหน่วยงานเครือข่ายในการจัดเก็บข้อมูลพ้ืนฐานที่เกี่ยวข้อง การเฝ้าระวัง และป้องกันผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการพัฒนาทรัพยากรแร่ (แนวทางการปฏิบัติที่ 3.4.4)

4) ส่งเสริมการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ๆ เพ่ือการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่อย่างชาญฉลาด (แนวทางการปฏิบัติที่ 3.4.5)

5) พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงข้อมูลทรัพยากรแร่ กับข้อมูลด้านอ่ืนๆ โดยเฉพาะข้อมูลด้านสุขภาพ รวมถึงสร้างช่องทางการเผยแพร่ข้อมูล และการรายงานผลการติดตามประเมินผลการด าเนินงานในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแร่ โดยสนับสนุนให้สาธารณชนมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล ตลอดจนพัฒนาให้เป็นศูนย์ข้อมูลกลางที่มีข้อมูลทันสมัย เข้าถึงได้สะดวก และมีการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ (แนวทางการปฏิบัติที่ 3.4.6)

Page 29: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่

วิสัยทัศน์ บริหารจัดการทรัพยากรแร่เพ่ือประโยชน์แก่เศรษฐกิจและสังคม โดยยึดหลักการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส ารวจ วิจัยและพัฒนาทรัพยากรแร่ท่ัวประเทศ (Mineral Exploration Research And Development)

เป้าประสงค์ เพ่ือให้ทราบถึงข้อมูลพ้ืนฐานและต้นทุนทางทรัพยากรแร่* ของประเทศเพ่ือการวางแผน

พัฒนาประเทศ รวมถึงการคิดค้นเทคโนโลยีและพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมในการส ารวจและพัฒนาแหล่งแร่ รวมทั้งวิจัยเพื่อการเพ่ิมมูลค่าเพ่ือเป็นปัจจัยในการผลิตทุกระดับ

มาตรการ 1. เร่งรัดการส ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแร่ทั่วประเทศตามหลักวิชาการ

พร้อมจัดท าฐานข้อมูลในระดับไพศาล และขั้นรายละเอียด 2. พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงข้อมูลทรัพยากรแร่ให้เป็นศูนย์ข้อมูลกลางที่มีข้อมูลทันสมัย

เข้าถึงสะดวก และให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D) ใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่และการสร้างมูลค่าเพ่ิม ใน

ลักษณะผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องที่ใช้แร่เป็นวัตถุดิบ โดยบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน และพัฒนาบุคลากร (HRD) ด้านการวิจัยพัฒนา

4. พัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการส ารวจและการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรแร่ ในลักษณะทวิภาคีหรือพหุภาคี โดยเฉพาะภายใต้กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และสนับสนุนภาคเอกชนส ารวจและพัฒนาทรัพยากรแร่ในต่างประเทศ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมให้น าเทคโนโลยีมาใชป้ระเมินศักยภาพและพัฒนา แหล่งแร่ท่ีมีคุณค่าสูง (Superior Exploration)

เป้าประสงค์ เพ่ือให้มีการน าเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประเมินศักยภาพแหล่งปริมาณส ารองแร่

ที่มีคุณค่าสูงให้เหมาะสมกับสถานการณ์และการใช้ประโยชน์

* “แร่” ความหมายตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 หมายความว่า ทรัพยากรธรณีที่เป็นอนินทรียวัตถุ มีส่วนประกอบทางเคมีกับลักษณะทางฟิสิกส์แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อย ไม่ว่าจะต้องถลุงหรือหลอมก่อนใช้หรือไม่ และหมายรวมตลอดถึงถ่านหิน หินน้ ามัน หินอ่อน โลหะและตะกรันที่ได้จากโลหกรรม น้ าเกลือใต้ดิน หินซึ่งกฎกระทรวงก าหนดเป็นหินประดับหรือหินอุตสาหกรรม และดินหรือทรายซ่ึงกฎกระทรวงก าหนดเป็นดินอุตสาหกรรมหรือทรายอุตสาหกรรม แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงน้ า เกลือสินเธาว์ ลูกรัง หิน ดินหรือทราย

Page 30: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

-23-

มาตรการ 1. สนับสนุนให้มีการน าเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประเมินศักยภาพแหล่งแร่ที่มี

คุณค่าสูง 2. พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรของภาครัฐและเอกชน ด้านการคัดสรรและ

ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการส ารวจและพัฒนาทรัพยากรแร่ทุกขั้นตอน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 สนับสนุนการใช้แร่ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง (Mineral for Advanced Product)

เป้าประสงค์ เพ่ือให้การใช้ทรัพยากรแร่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงให้เกิดความคุ้มค่าและเกิด

ประโยชน์สูงสุด

มาตรการ

1. ส่งเสริมให้มีการน าแร่หายาก* เป็นวัตถุดิบส าหรับอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง 2. เพ่ิมขีดความสามารถในการแต่งแร่ (Ore Dressing) ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้ได้

มาตรฐานคุณภาพแร่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการร่วมพัฒนาแหล่งแร่ระหว่างภาครัฐและเอกชน(Positive Partnership)

เป้าประสงค์ เพ่ือส่งเสริมภาคเอกชนด าเนินการ พัฒนาแหล่งแร่อย่างถูกหลักวิชาการ

มาตรการ 1. สร้างแรงจูงใจด้านการส ารวจแร่ และพัฒนาแหล่งแร่ขนาดใหญ่ โดยเปิดโอกาสให้

แข่งขันกันอย่างเป็นธรรม 2. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนน าทรัพยากรแร่ในท้องถิ่นมาใช้ในการผลิตสินค้าชุมชน

โดยภาครัฐช่วยสนับสนุนการส ารวจและข้อมูลวิชาการ 3. เร่งรัดให้มีการประกาศเขตเศรษฐกิจแร่ เพ่ือเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา

แหล่งแร่อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง * แร่หายาก (Rare earth mineral) เป็นแร่ที่ประกอบด้วยธาตุหายาก (Rare earth element) ** ตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป เช่น แร่โมนาไซต์ (monazite) ซีโนไทม์ (xenotime) เซอร์คอน (zircon) อะพาไทต์ (apatite) ไททาไนต์ (titanite) อะลาไนต์ (allanite) และกาโดลิไนต์ (gadolinite) เป็นต้น ** ธาตุหายาก มีทั้งหมด 17 ธาตุ ได้แก่ Scandium (Sc) Yittrium (Y) Lanthanum (La) Cerium (Ce) Praseodymium (Pr) Neodymium (Nd) Promethium (Pm) Samarium (Sm) Europium (Eu) Gadolinium (Gd) Terbium (Tb) Dysprosium (Dy) Holmium (Ho) Erbium (Er) Thulium (Tm) Ytterbium (Yb) และ Lutetium (Lu)

Page 31: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

-24-

4. ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาระบบการอนุญาตส ารวจแร่ การท าเหมืองแร่ การแต่งแร่ หรือการประกอบโลหกรรม ตามขนาดพ้ืนที่และผลกระทบโครงการที่แตกต่างกัน ให้มีความรวดเร็วทันต่อความต้องการใช้ประโยชน์

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 อุตสาหกรรมแร่สีเขียวสะอาดตั้งแต่ต้นจนจบ (Green and Clean Mineral Industry: Before-During-

After)

เป้าประสงค์ เพ่ือให้อุตสาหกรรมแร่มีสิ่งแวดล้อมที่ดี (Green) และใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด

(Clean) ตลอดทั้งกระบวนการ รวมถึงมีการท าแนวกันชนสีเขียวและฟ้ืนฟูสภาพพ้ืนที่ (Green Buffer Zone and Rehabilitation)

มาตรการ 1. ควบคุมให้ปฏิบัติตามเงื่อนไข ระเบียบ หรือกฎหมาย และการควบคุมผลกระทบต่อ

สิ่งแวดล้อมแบบ Polluter Pay Principle 2. มีมาตรการทางสังคมในการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนให้เกิด

การท าเหมืองแร่สีเขียวทั่วประเทศ 3. เร่งพัฒนาเครื่องมือและกลไกฟ้ืนฟูพ้ืนที่ท าเหมืองแร่ โดยสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี

เพ่ือฟ้ืนฟูพ้ืนที่ที่ผ่านการท าเหมืองแร่แล้วทั้งระหว่างและภายหลังการท าเหมืองแร่ให้มีสภาพแวดล้อม ที่เหมาะสม และใช้ประโยชน์อื่นได้ตามศักยภาพของพ้ืนที่และความต้องการของชุมชน

4. สร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่มีมาตรการที่ดีและปฏิบัติตามมาตรการ เงื่อนไข ระเบียบ และกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด

5. สร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่พัฒนาการผลิตและเพ่ิมมูลค่าทรัพยากรแร่ (Value Added) รวมถึงการสร้างมูลค่าทรัพยากรแร่ (Value Creation) ในการน าไปใช้ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ควบคู่กับการสนับสนุนและจูงใจให้ใช้วัสดุทดแทนแร่ การใช้ประโยชน์โลหะหมุนเวียนให้มากท่ีสุด

Page 32: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

-25-

สรุปยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรแร่

ประเด็นยุทธศาสตร ์หน่วนงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส ารวจ วิจัยและพัฒนาทรัพยากรแร่ทั่วประเทศ (Mineral Exploration Research And Development)

ม.1 เร่งรัดการส ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแร่ตามหลักวิชาการ พร้อมจัดท าฐานข้อมูล ในระดับไพศาล และขั้นรายละเอียด

ม.2 พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงข้อมูลทรัพยากรแร่ให้เป็นศูนย์ข้อมูลกลางที่มีข้อมูลทันสมัยเข้าถึงสะดวก และให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ

ม.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D) ใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่และการสร้างมูลค่าเพิ่มในลักษณะผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องที่ใช้แร่เป็นวัตถุดิบ โดยบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน และพัฒนาบุคลากร (HRD) ด้านการวิจัยพัฒนา

ม.4 พัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการส ารวจและการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรแร่ ในลักษณะทวิภาคีหรือพหุภาคี โดยเฉพาะภายใต้กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และสนับสนุนภาคเอกชนส ารวจและพัฒนาทรัพยากรแร่ในต่างประเทศ

ทธ.

ทธ.,กพร.

ทธ.,กพร.

ทธ.,กพร.

กพร.

วช. ,สกว. สวทช.,สถาบัน

การศึกษา

กต.

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมให้น าเทคโนโลยีมาใชป้ระเมนิศักยภาพและพัฒนาแหล่งแร่ที่มีคุณค่าสูง (Superior Exploration)

ม.1 สนับสนุนให้มีการน าเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประเมินศักยภาพแหล่งแร่ที่มีคุณค่าสูง

ม.2 พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรของภาครัฐและเอกชน ด้านการคัดสรรและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการส ารวจและพัฒนาทรัพยากรแร่ทุกขั้นตอน

ทธ.

ทธ.,กพร.

MTEC

ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ 3 สนับสนุนการใช้แร่ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง (Mineral for Advanced Product)

ม.1 ส่งเสริมให้มีการน าแร่หายาก เป็นวัตถุดิบส าหรับอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง

ม.2 เพิ่มขีดความสามารถในการแต่งแร่ (Ore Dressing) ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้ได้มาตรฐานคุณภาพแร่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ทธ.,กพร.

กพร., MTEC

BOI สถาบันการศึกษา,

BOI

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการร่วมพัฒนาแหล่งแร่ระหว่างภาครัฐและเอกชน (Positive Partnership)

ม.1 สร้างแรงจูงใจด้านการส ารวจแร่ และพัฒนาแหล่งแร่ขนาดใหญ่ โดยเปิดโอกาสให้แข่งขันกันอย่างเป็นธรรม

ม.2 ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนน าทรัพยากรแร่ในท้องถิ่นมาใช้ในการผลิตสนิค้าชุมชน โดยภาครัฐช่วยสนับสนุนการส ารวจและข้อมูลวิชาการ

ม.3 เร่งรัดให้มีการประกาศเขตเศรษฐกิจแร่ เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาแหล่งแร่อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ม.4 ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาระบบการอนุญาตส ารวจแร่ การท าเหมืองแร่

กพร. ,BOI

กพร., ทธ.

ทส.

อก.,ทส.

ทธ.,อก.

กสอ.,BOI

ทธ.

กพร.,สผ.

Page 33: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

-26-

ประเด็นยุทธศาสตร ์หน่วนงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน

การแต่งแร่ หรือการประกอบโลหกรรม ตามขนาดพื้นที่และผลกระทบโครงการ ที่แตกต่างกัน ให้มีความรวดเร็วทันต่อความต้องการใช้ประโยชน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 อุตสาหกรรมแร่สีเขียวสะอาดตั้งแต่ต้นจนจบ

(Green and Clean Mineral Industry : Before-During-After)

ม.1 ควบคุมให้ปฏิบัติตามเงื่อนไข ระเบียบ หรือกฎหมาย และการควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแบบ Polluter Pay Principle

ม.2 มีมาตรการทางสังคมในการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนให้เกิดการท าเหมืองแร่สีเขียวทั่วประเทศ

ม.3 เร่งพัฒนาเครื่องมือและกลไกฟื้นฟูพื้นที่ท าเหมืองแร่ โดยสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพื่อฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการท าเหมืองแร่แล้วทั้งระหว่างและภายหลังการท าเหมืองแร่ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และใช้ประโยชน์อื่นได้ตามศักยภาพของพื้นที่และความต้องการของชุมชน

ม.4 สร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่มีมาตรการที่ดีและปฏิบัติตามมาตรการ เงื่อนไข ระเบียบ และกฎหมายเก่ียวกับสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด

ม.5 สร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่พัฒนาการผลิตและเพิ่มมูลค่าทรัพยากรแร่ (Value Added) รวมถึงการสร้างมูลค่าทรัพยากรแร่ (Value Creation) ในการน าไปใช้ในผลิตภัณฑ์ต่างๆควบคู่กับการสนับสนุนและจูงใจให้ใช้วัสดุทดแทนแร่ การใช้ประโยชน์โลหะหมุนเวียนให้มากที่สุด

กพร. ,สผ.

ทส. ,อก.

กพร.

กพร.

กพร.

อปท.

อปท.

ทส.

ทส.

อก.,สกว. BOI, MTEC

ทธ. : กรมทรัพยากรธรณี สกว. : ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวจิัย กพร. : กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ สวทช. : ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต ิทส. : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อก. : กระทรวงอุตสาหกรรม วช. : ส านักงานคณะกรรมการวิจยัแห่งชาติ อปท. : องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น BOI : ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน MTEC : ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดแุห่งชาติ กต. : กระทรวงการตา่งประเทศ ส านักงานพัฒนาวิทยาศาตร์ละเทคโนโลยีแห่งชาติ

Page 34: ส ำนักนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรณี ส ำนักทรัพยำกรแร่ กรมทรัพยำ ... · 2559)

กรมทรัพยำกรธรณี เลขที่ 75/10 ถนนพระรำมที่ 6 เขตรำชเทวี กรุงเทพมหำนคร 10400 โทรศัพท ์0-2621-9811 โทรสำร 0-2621-9820 http://www.dmr.go.th