a devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

26

Upload: peach

Post on 04-Jul-2015

1.518 views

Category:

Business


5 download

TRANSCRIPT

Page 1: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk
Page 2: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

รายชื่อผู้ทำาโครงงาน1.นายวศิน ปัญจรัตนากร ห้องม.6/32.นายชยุตม์ จัตุนวรัตน์ ห้องม.6/5 3.นายตรีทเศศ เจียมจรัสรังสี

ห้องม.6/5อาจารย์ที่ปรึกษา

อ.สาโรจน์ บุญเสง็ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานสุรณ์

อ.อุษา จีนเจนกิจ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานสุรณ์

Page 3: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ที่มาและความสำาคัญ พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมมีวลโมเลกุลมากประกอบด้วย หน่วยเล็ก ๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกนัหรือต่างกนัมาเชื่อมต่อกันด้วยพนัธะโคเวเลนต์

พอลิเอทิลีน (Polyethylene: PE)สีขาวขุ่น โปร่งแสง มีความลื่นมันในตัว

สมบัติทั่วไป -ยืดหยุ่นได้ดี เหนียวมากที่อุณหภูมติำ่า - มีความทนทานต่อสารเคมีได้ดีมาก -ทนต่อสภาวะอากาศได้ดีพอควร อากาศและก๊าซสามารถซึมผ่านได้ดี

Page 4: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

พอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่า (LDPE)

พอลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง (HDPE)

พอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่าชนิดโซ่ตรง (LLDPE)

ชนิดของพอลิเอทิลีน

Page 5: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วัตถุประสงค์

1. เพื่อหาคุณสมบัติของพลาสติกที่เกิดจากการนำาเปลือกข้าวมาผสมกับพอลิเอทลิีนความหนาแน่นตำ่าในอัตราส่วนต่างๆกนั

2. เพื่อหาอัตราส่วนในการผสมพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่ากับเปลือกข้าวที่จะทำาให้ได้พลาสติกที่มีคุณภาพและลดปรมิาณของการใช้พอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่ามากที่สุด

Page 6: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ขอบเขตของการศึกษา

ทำาพลาสติกผสมโดยใช้เปลือกข้าวในอัตราส่วนรอ้ยละ 10, 20, 30 และ 40 โดยมวลของพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่า และ ผสม White Oil ในอัตราส่วน 1% ของพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่า แล้วนำามาทดสอบคุณสมบัติของพลาสติกผสมนั้น

Page 7: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลอง

การทำาพลาสติกผสมระหว่างพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่ากับเปลือกข้าว

การทดสอบคุณสมบัติต่างๆของพลาสตกิผสม

การวิเคราะหแ์ละสรุปผล

การเตรียมสารที่จะนำาไปทำาพลาสติกผสม

Page 8: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 1 การเตรยีมสารที่จะนำาไปทำาพลาสติกผสม

1. การลดขนาดของเปลือกข้าว

Page 9: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 1 การเตรยีมสารที่จะนำาไปทำาพลาสติกผสม

2. การคัดขนาดของเปลือกข้าว โดยเลือกขนาดที่น้อยกว่า 100 mesh

Page 10: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 1 การเตรยีมสารที่จะนำาไปทำาพลาสติกผสม

3. การอบพอลิเอทลิีนความหนาแน่นตำ่าและเปลือกข้าว อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส 8 ชั่วโมง

Page 11: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 2

การทำาพลาสติกผสมระหว่างพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่ากับเปลือกข้าว1. การผสมพลาสติกผสม ใช้พอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่าที่ผสมไวท์ออยล์รอ้ยละ1 ผสมกบัเปลือกข้าวร้อยละ 10, 20, 30 และ40 โดยมวล

Page 12: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 2

การทำาพลาสติกผสมระหว่างพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่ากับเปลือกข้าว2. การลดขนาดของพลาสติกผสม

Page 13: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 2

การทำาพลาสติกผสมระหว่างพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่ากับเปลือกข้าว3. การขึ้นรปูพลาสติกผสม

Page 14: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 3 การทดสอบคุณสมบัติต่างๆของพลาสติกผสม

1. การทดสอบแรงดึง

Page 15: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 3 การทดสอบคุณสมบัติต่างๆของพลาสติกผสม

2. การทดสอบคุณสมบัติแรงกระแทก

Page 16: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

วิธีการทดลองขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์และสรุปผล

Page 17: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ผลการทดลอง

คา่ยังมอดูลัส (Young’s Modulus of Elasticity) เป็นค่าที่บอกถึงความแข็งของวสัดุหรือความสามารถในการรับแรงต่อการเปลี่ยนรูปหรือ เสียสภาพของวัสด ุ

ค่ายงัมอดูลัส = ความเค้น ความเครียด

Page 18: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ผลการทดลอง

กราฟที่ 1 แสดงคา่ Young's Modulus ของพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตำ่าผสมกับเปลือกข้าวในอัตราส่วน 0%, 10%, 20%, 30% และ 40%

Young's Modulus

0.00

100.00

200.00

300.00

400.00

500.00

600.00

0% 10% 20% 30% 40% 50%

Percentage rice husk (w/w)

Yo

un

g's

Mo

du

lus

(MP

a)

Page 19: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ผลการทดลอง

ความต้านทานแรงดงึ (Tensile Strength) คอื คา่ความเค้นสูงสุดที่เกิด

ขึ้นเมื่อดึงวัตถุ

ความเค้น (Stress) = แรงที่กระทำา / พื้นที่หน้าตัดที่รับแรงนั้น

Page 20: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ผลการทดลอง

กราฟที่ 2 แสดงคา่ Tensile Strength ของพอลิเอทิลนีความหนาแน่นตำ่าผสมกับเปลือกข้าวในอัตราส่วน 0%, 10%, 20%, 30% และ 40%

Tensile Strength

0.00

2.00

4.00

6.00

8.00

10.00

12.00

0% 10% 20% 30% 40% 50%

Percentage rice husk (w/w)

Ten

sile

Str

eng

th (

MP

a)

Page 21: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ผลการทดลอง

ร้อยละความเครียด (Percentage Strain at Break)

ร้อยละความเครียด (%Strain) = (ความยาวหลังดึง - ความยาวก่อนดึง) 100

ความยาวก่อนดงึ

Page 22: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ผลการทดลอง

กราฟที่ 3 แสดงคา่ Percentage Strain at Break ของพอลิเอทิลนีความหนาแน่นตำ่าผสมกับเปลือกข้าวในอตัราส่วน 0%, 10%, 20%, 30% และ 40%

Percentage Strain at Break

0.00

50.00

100.00

150.00

200.00

0% 10% 20% 30% 40% 50%

Percentage rice husk (w/w)

Per

cen

tag

e S

trai

n a

t B

reak

Page 23: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ผลการทดลอง

Impact Resistance = งานที่ใช้กระแทก พื้นที่รอยแยก

Impact Resistance คือ ค่าทดสอบความทนแรงกระแทก

Page 24: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

ผลการทดลอง

กราฟที่ 4 แสดงคา่ Impact Resistance ของพอลิเอทิลนีความหนาแน่นตำ่าผสมกับเปลือกข้าวในอตัราส่วน 0%, 10%, 20%, 30% และ 40%

Impact resistance

0

50

100

150

200

250

300

350

0% 10% 20% 30% 40% 50%

Percentage rice husk

Imp

act

res

ista

nce

(kJ/

m2)

Page 25: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

สรุปผลการทดลอง

คา่ Impact Resistance, Percentage Strain at Break, Tensile Strength มีค่าลดลง เมื่อผสมในปรมิาณที่มากขึ้น

คา่ Young’s Modulus of Elasticity มีค่ามากขึ้น เมื่อผสมเปลือกข้าวในปริมาณที่มากขึ้น

อัตราส่วนที่เหมาะสมคือ 10% เพราะนอกจากจะลดปริมาณการใช้พอลิเอทิลนีความหนาแน่นตำ่าได้ในระดบัหนึ่งแล้ว ยังสามารถคงคุณสมบัตขิองพลาสติกให้ไม่แตกต่างจากเดิมมากนัก

Page 26: A devolopment of low density polyethylene composites made with rice husk

กิตติกรรมประกาศขอขอบพระคุณ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

โครงการ "การประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว ์”

อ.จันทร์ฉาย ทองปิ่น ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวสัดุ. คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ดร. ชาคริต สริิสงิห ภาควิชาเคม ีคณะวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหิดลอ.อษุา จีนเจนกิจ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์อ.สาโรจน ์ บญุเสง็ สาขาวิชาเคมี

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์