๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป...

44
๒๐๐ กฎหมายตราสามดวง ศูนยขอมูลกฎหมายกลาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

Upload: others

Post on 12-Jan-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง

ศูนยขอมูลกฎหมายกลาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

Page 2: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

คํานํา

ดวยกฎหมายตราสามดวงตราขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เมื่อปพุทธศักราช ๒๓๔๗ เพ่ือชําระกฎหมายที่กระจัดกระจายอยูในขณะนั้นใหเปนระบบ และชําระกฎหมายบางฉบับที่มีเนื้อหาไมสอดคลองกับหลักเหตุผลและความเปนธรรม ใหถูกตองเปนธรรม กฎหมายตราสามดวง จึงถือเปนวิวัฒนาการทางกฎหมายที่สําคัญชวงหนึ่งในประวัติศาสตรกฎหมายของไทย เปนรอยตอระหวางกฎหมายสมัยเกากับกฎหมายปจจุบัน และในปนี้ (พุทธศักราช ๒๕๔๗) ครบรอบ ๒๐๐ ป ของการตรากฎหมายตราสามดวง ศูนยขอมูลกฎหมายกลาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จึงจัดทําเอกสารเผยแพรเก่ียวกับกฎหมายตราสามดวงเนื่องในโอกาสดังกลาว เพ่ือเผยแพรความเปนมา และสาระสําคัญของกฎหมายตราสามดวง ตลอดจนความสําคัญที่มีตอกฎหมายปจจุบัน ใหนักกฎหมายและประชาชนไดทราบ และหวังวาเอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูสนใจประวัติศาสตรกฎหมายไทยตามสมควร

คณะผูจัดทําขอขอบคุณสวนภาษาโบราณ หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร พิพิธภัณฑศาลไทย และพิพิธภัณฑ อัยการไทย ที่อนุญาตใหถายภาพและใหขอมูลทางประวัติศาสตรที่สําคัญประกอบการจัดทําเอกสารฉบับนี้

คณะผูจัดทํา

Page 3: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

สารบัญ

หนา ๑. ความเปนมาของกฎหมายตราสามดวง ๑ ๒. การคัดลอกกฎหมายตราสามดวง ๔ ๓. เนื้อหาของกฎหมายตราสามดวง ๖ ๔. อิทธิพลของกฎหมายตราสามดวงที่มีตอกฎหมายปจจุบัน ๑๐

๓.๑ หลักอินทภาษ ๑๐ ๓.๒ พระไอยการลักษณรับฟอง ๑๓

๓.๒.๑ การรับฟอง ๑๓ ๓.๒.๒ ฟองซอน ๑๔ ๓.๒.๓ คดีอุทลุม ๑๕

๓.๓ พระไอยการลักษณผัวเมีย ๑๖ ๓.๓.๑ เง่ือนไขการสมรส ๑๖ ๓.๓.๒ ทรัพยสินระหวางสามีภรรยา ๑๘ ๓.๓.๓ การสิ้นสุดการสมรส ๒๐

๓.๔ พระไอยการลักษณมรดก ๒๔ ๓.๔.๑ การตกทอดแหงมรดก ๒๔ ๓.๔.๒ มรดกของพระภิกษุ ๒๗ ๓.๔.๓ การเสียสิทธิในการรับมรดก ๒๗ ๓.๔.๔ มรดกที่ไมมีผูรับ ๒๘

๓.๕ พระไอยการลักษณวิวาทดาตีกัน ๒๙ ๓.๕.๑ หลักการยกเวนโทษแกเด็กอายุ ๗ ขวบและคนชราอายุ ๗๐ ป ๒๙ ๓.๕.๒ หลักการยกเวนโทษสําหรับบุคคลวิกลจริต ๓๐ ๓.๕.๓ การหมิ่นประมาท ๓๐

๓.๖ พระไอยการลักขณโจร ๓๒ ๓.๖.๑ ความผิดตอศาสนา ๓๒ ๓.๖.๒ การลกัทรัพยระหวางคูสมรสและญาต ิ ๓๓

๔. การปฏิรูปกฎหมายไทยภายหลังกฎหมายตราสามดวง ๓๕

๔.๑ การปฏิรูปกฎหมายสมัยรัชกาลที่ ๔ ๓๕ ๔.๒ การปฏิรูปกฎหมายสมัยรัชกาลที่ ๕ ๓๕ ๔.๓ การปฏิรูปกฎหมายตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๖ เปนตนมา ๓๖ ๔.๔ ความแตกตางระหวางการจัดทํากฎหมายตราสามดวงและกฎหมายสมัยใหม ๓๗

บรรณานุกรม ๓๙

Page 4: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวงตราขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุ ท ธ ย อ ดฟ า จุ ฬ า โ ล ก ม ห า ร า ช ปพุทธศักราช ๒๓๔๗ เพ่ือชําระกฎหมายที่ใชอยูในขณะนั้นใหถูกตองเปนธรรมโดยยึดพระธรรมศาสตรเปนหลักสําคัญในการปรับปรุงและชําระกฎหมาย และกฎหมายตราสามดวงถือ เปนวิ วัฒนาการทางก ฎ ห ม า ย ที่ สํ า คั ญ ช ว ง ห นึ่ ง ใ นประวัติศาสตรกฎหมายของไทย และใน ปนี้ (พุทธศักราช ๒๕๔๗) ครบรอบ ๒๐๐ ป แหงการตรากฎหมายตราสามดวง กฎหมายตราสามดวงฉบับหลวง จึงขอกลาวถึงความเปนมา และสาระสําคัญของกฎหมายตราสามดวง ดังตอไปนี้∗

ความเปนมาของกฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวงเกิดขึ้นจากพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระพุทธ

ยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ที่จะชําระกฎหมายที่มีอยูในขณะนั้นใหสอดคลองเหมาะสมกับหลักเหตุผลและความเปนธรรม เนื่องจาก กฎหมายเกาครั้งกรุงศรีอยุธยาไดสูญไปมาก ในบทกฎหมายเกาหรือสิบสวน จะคงเหลืออยูก็แตเพียงสวนเดียวเทานั้น ประกอบกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชไดทรงทําการวินิจฉัยเรื่องตาง ๆ โดยอาศัยมูลอํานาจอธิปไตยของพระองคเองบาง อาศัยหลักฐานที่ไดจากการสืบสวนฟงคําบอกเลาของผูเฒาผูแกบาง จนกระทั่งเกิดคดีหนึ่งซึ่งมีการทูลเกลาฯ ถวายฎีกา คดีที่วาเปนคดีฟองหยาในป พ.ศ. ๒๓๔๗ โดยเปนคดีที่อําแดงปอม ฟองหยานายบุญศรีชางเหล็กหลวง ทั้ง ๆ ที่ตนไดทําชูกับนายราชาอรรถและศาลไดพิพากษาใหหยาไดตามที่อําแดงปอมฟอง โดยอาศัยการพิจารณาคดีตามบทกฎหมายที่มีความวา “ชายหาผิดมิได หญิงขอหยา ทานวาเปนหญิงหยาชาย หยาได” เมื่อผลของคดีเปนเชนนี้ นายบุญศรีจึงไดนําเร่ืองข้ึนทูลเกลาถวายฎีกาตอพระเจาแผนดิน พระองคทรงเห็นดวยกับฎีกาวาคําพิพากษาของศาลนั้นขัดตอหลักความยุติธรรม ทรงสงสัยวาการพิจารณาพิพากษาจะถูกตองตรง

ชื่อของบุคคลที่กลาวอางถึงในบทความฉบับนี้คัดลอกมาจากเอกสารทางประวัติศาสตรกฎหมายตางฉบับกันจึงอาจเขียนแตกตางกัน และถอยคําในกฎหมายตราสามดวงฉบับนี้คัดลอกจากจาก “ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ ๑ จุลศักราช ๑๑๖๖ พิมพตามฉะบับหลวง ตรา ๓ ดวง” จัดพิมพโดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมือง, พ.ศ. ๒๕๒๙.ซึ่งในตนฉบับเขียนตัวสะกดของคําเดียวกันในแตละท่ีอาจแตกตางกัน

Page 5: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

ตามตัวบทกฎหมายหรือไม จึงมีพระบรมราชโองการใหเทียบกฎหมายทั้ง ๓ ฉบับ คือฉบับที่ศาลใชกับฉบับที่หอหลวงและท่ีหองเครื่องแตปรากฏขอความที่ตรงกัน เมื่อเปนดังนี้ จึงทรงมีพระราชดําริวากฎหมายนั้นไมเหมาะสม อาจมีความคลาดเคลื่อนจากการคัดลอกสมควรที่จะจัดใหมีการชําระสะสางกฎหมายใหม เหมือนการสังคายนาพระไตรปฎก ดังพระราชปรารภที่วา “ใหกรรมการชําระพระราชกําหนดบทพระอายการอันมีอยูในหอหลวง ตั้งแตพระธรรมศาสตรไปใหถูกถวนตามบาฬีและเนื้อความมิใหผิดเพี้ยนซ้ํากันได จัดเปนหมวดเปนเหลาเขาไว แลวทรง อุสาหทรงชําระดังแปลงซึ่งบทอันวิประหลาดนั้นใหชอบโดยยุติธรรมไว”๑

ในการชําระกฎหมายครั้งนั้นพระองคทรงโปรดเกลาฯ ใหตั้งกรรมการขึ้น เพ่ือชําระและพิจารณาสอบทานตัวบทที่ใชอยู กับคัมภีรพระธรรมศาสตรใหสอดคลองตรงความกัน กรรมการชําระกฎหมาย มีจํานวน ๑๑ คน คือ อาลักษณ (๑) ขุนสุนทรโวหาร ผูวาที่พระอาลักษณ (๒) ขุนสาระประเสริฐ (๓) ขุนวิเชียรอักษร (๔) ขุนวิจิตรอักษร ลูกขุน

(๑) ขุนหลวงพระไกรส ี (๒) พระราชพินิจใจราชบหลัด (๓) หลวงอัถยา ราชบัณฑิต

(๑) พระมหาวิชาธรรม (๒) ขุนศรีวรโวหาร (๓) นายพิม (๔) นายดอนบาเรียน

โดยใหกรรมการดังกลาวทําหนาที่ ๒ ประการ คือ ประการที่ ๑ จัดทําใหมีทางสําหรับคนหาตัวบทกฎหมายไดงาย เพ่ือความ

สะดวกแกศาลในอันที่จะคนควานําเอามาพิเคราะหประกอบการพิจารณาอรรถคดี ประการที่ ๒ สะสางเก่ียวกับเนื้อความในตัวบทกฎหมายนั้น เพ่ือตัดทอนสวนที่มี

ความขัดแยงอันทําใหเกิดความฉงนสนเทหแกศาลในอันที่จะนําเอาบทกฎหมายมาปรับกับคดีใหถูกตอง

เมื่อกรรมการตรวจชําระเสร็จแลวอาลักษณไดเขียนดวยหมึกบนสมุดขอย รวม ๖ ชุด ชุดละ ๔๑ เลม ๓ ชุดแรกเปนตนฉบับแท เรียกวาฉบับหลวงเขียนเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ บนปกแตละเลม ประทับตราพระราชสีห ตราพระคชสีห และตราบัวแกว อีก ๓ ชุดเขียนเชนเดียวกัน

๑ แสวง บุญเฉลิมวิภาส, ประวัติศาสตรกฎหมายไทย (The Thai Legal History), (กรุงเทพฯ:วิญูชน, ๒๕๔๓), น. ๑๑๗-๑๒๐.

Page 6: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

แตมิไดประทับตรา เรียกวาฉบับรองทรงเขียนเมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๐ ฉบับรองทรงนี้ใชสําหรับอานเขียนคัดลอก และเอาออกใชเวลาตัดสินคดี เพ่ือถนอมฉบับตัวจริงมิใหชอกช้ําบุบสลายเร็ว

เดิมกฎหมายตราสามดวงฉบับหลวงมี ๓ ชุด จํานวน ๑๒๓ เลม แตในปจจุบันเหลืออยูเพียง ๗๙ เลม เก็บไวที่กระทรวงยุติธรรม ๓๗ เลม หอสมุดแหงชาติ ๔๒ เลม สวนอีก ๔๔ เลม ไมทราบวาขาดหายไปดวยประการใด สวนที่ขาดหายไปนั้นคือพระไอยการพรหมศักดิ์และพระไอยการทาษ ซึ่งยังคงปรากฏแตในฉบับรองทรงเทานั้น๒

กฎหมายตราสามดวง จึงถือเปนชวงรอยตอประวัติศาสตรกฎหมายไทยระหวางกฎหมายยุคเกาโดยนําเอากฎหมายลักษณะตางๆ กระจัดกระจายอยูตามที่ตางๆ มารวบรวมไวในที่เดียวกัน และชําระเสียใหมใหสอดคลองกับความเปนธรรม และบริบทของสังคมขณะนั้น กฎหมายตรา ๓ ดวง จึงมีลักษณะใกลเคียงกับงานประมวลกฎหมายในครั้งแรกๆ ของยุโรป

๒ พระยานิติศาสตรไพศาลย, ประวัติศาสตรกฎหมายไทย, พิมพครั้งท่ี ๔, (กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๐๐), น.๕๗-๖๗.

Page 7: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

การคัดลอกกฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวงไดมีผูนํามาคัดลอกเพื่อเผยแพรหลายครั้ง การคัดลอกแตละคร้ังมีทั้งการนํากฎหมายสมัยที่มีการคัดลอกเพิ่มเติมเขาไป หรือตัดบทกฎหมายที่ถูกยกเลิกในสมัยที่มีการคัดลอกออก ทั้งยังมีการแกไขอักขรวิธีตามยุคสมัยเพื่อวัตถุประสงคการใชงานที่แตกตางกัน ดังตอไปนี้๓

(๑) เมื่อจุลศักราช ๑๒๑๑ พุทธศักราช ๒๓๙๒ พระยากสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตกุล) คัดลอกมาตีพิมพข้ึนเปนขนาด ๒ เลมจบเรียกวา ๑ ชุด แตเมื่อนําเลมหนึ่งออกจําหนาย ปรากฏวาเปนการกระทําโดยไมได รับ พระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว จึงทรงโปรดเกลาฯ ใหริบและเผาเสีย แตยังหลงเหลือถึงปจจุบันเลมหนึ่งเก็บรักษาที่หอสมุดแหงชาติ

พระยากสาปนกิจโกศล (โหมด) (๒) เมื่อจุลศักราช ๑๒๒๔-๑๒๒๕ พุทธศักราช ๒๔๐๕-๒๔๐๖ รัชสมัยรัชกาลที่ ๓ หมอสอนศาสนาชาวอเมริกัน ช่ือบรัดเลยรวมกับสหายชื่อโรบินสันเปนผูที่มีเครื่องพิมพของตนเอง โดยนําเขามาจากตางประเทศ นํากฎหมาย ๒ เลมของพระยากสาปนกิจโกศล มาจัดพิมพ ข้ึนโดยนําเอากฎหมายโจรหาเสนซึ่งประกาศใชในรัชกาลที่ ๓ รวมพิมพไวดวย โดยเรียกกฎหมายที่พิมพ ฉบับนี้วา “กฎหมายหมอบรัดเลย”

หมอบรัดเลย (๓) ตอมาหลวงดํารงธรรมสาร จัดพิมพกฎหมายเกาๆ และกฎหมายที่

ประกาศใชใหมในสมัยนั้นรวมกัน ๒ เลมจบ ช่ือวา “กฎหมายเกาใหม” เพ่ือใชในราชการ โดยการพิมพใชอักขรวิธีแบบใหมเพ่ือใหสะดวกแกคนสมัยนั้น

(๔) เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๔ รัตนโกสินทรศก ๑๑๙ เสด็จในกรมหลวงราชบุรีทรง

จัดพิมพกฎหมาย ๒ เลมข้ึน เรียกวา “กฎหมายราชบุรี” ทรงพิมพเพ่ิมกฎหมายลิลิตและกรมศักดิ์ลงไวดวย และทรงทําคําอธิบายไวใหผูอานรูวากฎหมายใดยังคงใชอยูหรือไดยกเลิกไปโดยปริยาย เพราะมีกฎหมายใหมบัญญัติแทนซึ่งทับซอนหรือขัดแยงกันแลว

๓ หลวงสุทธิวาทนฤพุฒิ, คําบรรยายประวัติศาสตรกฎหมาย, พิมพครั้งท่ี ๗, (กรุงเทพฯ:

โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๑๗), น.๙๕-๙๗.

Page 8: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

(๕) เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๑-๒๔๘๒ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมือง มอบหมายให ม.เอร แลงกาต เปนผูชําระและจัดพิมพกฎหมายตราสามดวงขึ้นเปน ๓ เลม เพ่ือใหเปนสมุดตําราศึกษาประวัติศาสตรกฎหมาย โดยคัดทั้งหมดตามรูปเดิมใหนักศึกษาไดเห็นวาอักขรวิธีตัวสะกดการันต ในสมัยโบราณเปนอยางไร และบทกฎหมายที่เลิกใชแลว ก็คัดไวทั้งส้ิน เรียกวา “กฎหมายตรา ๓ ดวง ฉบับคัดลอกโดยมหาวิทยาลัย”

การคัดลอกและพิมพข้ึนดังกลาวแสดงถึงประวัติศาสตรกฎหมายและวิวัฒนาการ

ของกฎหมายในแตละชวงยุคสมัย ซึ่งในปจจุบันการศึกษากฎหมายตราสามดวงยึดถือฉบับคัดลอกโดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมืองเปนหลัก

Page 9: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

เน้ือหาของกฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวง มีลักษณะเปนการรวบรวมกฎหมายเดิมๆ ข้ึนเปนเรื่องๆ ตามรูปเดิมแตละเร่ืองมีขอความไมติดตอกัน เร่ืองหนึ่งๆ ถือเปนกฎหมายฉบับหนึ่ง ในคําปรารภของแตละเร่ืองกลาวถึงเหตุแหงการออกกฎหมายเรื่องนั้น และคําส่ังของพระเจาแผนดินที่ใหตรากฎหมายนั้นข้ึนดวย ทั้งนี้ ตามที่ปรากฏในฉบับพิมพของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง มี ๒๘ เร่ือง ดังตอไปนี้

(๑) พระธรรมสาตร เปนคําภีรกลาวถึง พระราชพงษาวดารสมเด็จพระเจามหาสมมุติราช และอุบัติเหตุแหงคัมภีรพระธรรมศาสตร ตลอดถึงประวัติของทานมโนสารอํามาตย เหตุแหงตุลาการ ๒๕ ประการ มูลคดีผูพิพากษาและตระลาการ ๑๐ ประการ และมูลคดีวิวาท ๒๙ ประการ

(๒) หลักอินทภาษ เปนคําภีรวางหลักวาบุคคลผูใดจะเปนผูพิพากษาตัดสินคดีการแหงมนุษยทั้งหลาย พึงกระทําโดยปราศจากอคติทั้ง ๔ คือ ฉันทาคติ โทษาคติ ภยาคติ โมหาคติ ทั้ง ๔ ประการนี้เปนทุจริตธรรม (๓) กฎมณเฑียรบาล ถือเปนกฎหมายสวนพระองคของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและขาราชสํานักแหงพระองคดวย

(๔) พระธรรมนูน วาดวยเรื่องเก่ียวกับศาลและอํานาจศาล วาคดีใดควรพิจารณาในศาลใดตลอดจนวิธีพิจารณาความตางๆ กับเรื่องดวงตราของกระทรวง ทบวง กรม (๕) พระไอยการพรมศักดิ วาดวยเบี้ยปรับตามศักดินา เบี้ยปรับตามพิกัดคาของคน เบี้ยปรับเปนศักดิ์มือ ศักดิ์ไม และศักดิ์เหล็ก (๖) พระไอยการตําแหนงนาพลเรือน วาดวยการกําหนดศักดินาฝายพลเรือน มีสูงตั้งแตเจานาย ขาราชการ ตลอดลงมาถึงไพรราบ ไพรเลวและยาจก วรรณิพก ทาส เปนที่สุดมีศักดินา ๕ ไร (๗) พระไอยการตําแหนงนาทหารหัวเมือง วาดวยเรื่องศักดินาอีกบทหนึ่ง ซึ่งกําหนดศักดินาทหารทั่วไปรวมทั้งในนครหลวงดวย

(๘) พระไอยการบานผแนก วาดวยการกําหนดวาลูกที่ไดจากการสมรสของชายทหาร หรือหญิงทหาร จะอยูในความดูแลของใคร (๙) พระไอยการลักษณรับฟอง วาดวยการรับฟอง การตัดฟอง และการตัดสํานวน อายุความการฟองคดีโดยกําหนดวาคดีวิวาทดาตีกันไมวาดวยเหตุใดๆ ใหฟองรองภายใน ๑๕ วัน หากพนกําหนดเวลาดังกลาวมิใหรับฟอง คดีลักทรัพยส่ิงของหรือคดีโทษเบาซึ่งยอมความกันได เชน เชา, ฝาก, ยืม ทรัพยสินของแกกัน ทานใหฟองรองภายใน ๓ เดือน หากพนกําหนดเวลาดังกลาวมิใหรับฟอง นอกจากนี้ยังกําหนดเรื่องคดีอุทลุม หามมิใหฟองรองบิดา มารดา ปู ยา ตา ยาย ผูใดฝาฝนมีโทษอาญา เปนตน

(๑๐) พระไอยการลักษณภญาน วาดวยเรื่องการรับฟงพยานโดยกําหนดประเภทพยานในลักษณะตางๆ เชนกําหนดตามศักดิ์ในสังคมมี ๕ ประการ กําหนดจากคุณสมบัติ

Page 10: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

ของบุคคลผูควรถามเอาเปนพยานไดมี ๖ ประเภท และบุคคลที่ตองหามมิใหรับฟงเปนพยาน ๓๓ จําพวก (๑๑) พีสูทดํานํ้าพีสูทลุยเพลิง เปนกฎหมายวิธีพิจารณาความประเภทหนึ่ง ใชเพ่ือพิสูจนความจริงในคดีแพงโดยมีวิธีการพิสูจน ดังนี้ สาบาน ลุยเพลิงดวยกัน วายขึ้นน้ําขามฟากแขงกัน ตามเทียนคนละ ๑ เลมเทากัน ลวงตะกั่ว ดําน้ํา (๑๒) พระไอยการลักษณตระลาการ กลาวถึงลักษณะผูจะเปนตระลาการโดยมี

บทบัญญัติบังคับถึงวิธีพิจารณาความ และกฎหมายสารบัญญัติดวย

(๑๓ ) พระ ไอยกา รลักษณอุธร วาดวยการกําหนดลักษณะ อุธรไว ๕ ประการ ไดแก ๑. ลักษณองค อุธรมี ๙ ประการ ไดแก การอุทธรณวาไมมีกฎหมายที่โจทกจะบังคับจําเลย หรือจําเลยยังมิไดแกฟองแตถูกตัดสินลงโทษ เป นต น ๒ . ลักษณสุ ธะอุ ธรมี ๑๒ ประการ ไดแก หาวาคัดเทียบสํานวนโดย

พระไอยการลักษณตระลาการ มิให โจทกหรือจําเลยรู และตัดขอความเสีย หรือหาวามิไดเขียนเอาคําคูความหรือเขียนไวแลวลบเสีย เปนตน ๓. ลักษณอุตริอุธรมี ๒๑ ประการ ไดแก หาวาเกาะคูความหนวงเหนี่ยวไว เรียกเอาขาริดชาแตขางหนึ่ง หรือหาวามิไดเอาค้ําประกันไวใหลูกความหนี เปนตน ๔. ลักษณนานาอุธรมี ๒๐ ประการ ไดแก หาวารับฟองไวโดยมิไดบังคับหมายกอนบังคับ หรือหาวามิไดเอาคูความมาถามโดยทานบังคับบัญชา เปนตน ๕. ลักษณอาษาชะณะอุธรมี ๕ ประการ ไดแก หาวาพยานมิไดรูเห็นกลับอาสาเขามารับสมอางติดใจมิฟง หรือหาวาพยานรูเห็นแตกลับมิไดรับรูตามที่เห็น เปนตน (๑๔) พระไอยการลักษณผัวเมีย วาดวยการสมรสตามกฎหมาย ทรัพยสินระหวางสามีภริยา การหยา เปนตน โดยกฎหมายยอมรับรองภรรยาหลายคนโดยแบงช้ันภรรยาออกเปน ๓ ประการ ดังนี้ ๑. เมียกลางเมือง คือ หญิงอันบิดามารดา “กุมมือ” ใหเปนเมียชาย ๒. เมียกลางนอก คือ ชายขอหญิงมาเลี้ยงเปนอนุภรรยาหลั่นเมียหลวงลงมา ๓. เมียกลางทาษี คือ หญิงมีทุกขยากและชายชวยไถมา (๑๕) พระไอยการทาษ จัดแบงทาสตามแนวคัมภีรพระธรรมศาสตร เปน ๗ ประเภท คือ ทาษสินไถ ลูกทาษเกิดในเรือนเบี้ย ทาษไดแตบิดามารดา ทาษทานให ทาษอันไดดวยชวยกังวลแหงคนอันตองทัณฑโทษ ทาษอันไดเล้ียงมาเมื่อกาลทุภิกขะ ทาษอันไดดวยเปนเชลย

(๑๖) พระไอยการลักภาลูกเมียผูคนทาน กําหนดโทษของโจรผูลักพาลูกเมียผูคนทานไป รวมถึงผูแนะนําใหลูกเมียขาคนอื่นหลบหนี ผูใหเสบียงหรือใหความชวยเหลือใดๆ

Page 11: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

ทาสผูนั้นหนีออกไปนอกเมือง และยังกําหนดความผิดของผูใหความอุปการะแกผูหลบหนีมาสูตนดวย อีกทั้งผูที่อําพรางไวเมื่อมีทาสหนีมาพึ่งตนก็ตองโทษเชนกัน การที่กฎหมายกําหนดความผิดเร่ืองลักพาลูกเมียผูคนทานไวอาจเปนเพราะวากฎหมายลักษณะทาษใหผัวขายเมียได พอแมขายลูกได นายเงินขายทาษตอไปได แตเมียก็ดี ลูกก็ดี ทาษก็ดี ไมสามารถโตแยงผัว พอแม นายเงิน ได (๑๗) พระไอยการลักษณมรดก เปนกฎหมายที่บัญญัติวิธีการแบงมรดก ซึ่งจะแตกตางกันตามบรรดาศักดิ์ กลาวคือ ถาผูตายเปนผูมีบรรดาศักดิ์ตั้งแต ๔๐๐ ไรข้ึนไป มรดกของชายนั้นแบงออกเปน ๔ ภาค คือ ภาคหลวง๑, ภาคบิดามารดา๑, ภาคภรรยา๑, และภาคญาติ๑ แตในกรณีตอไปนี้การแบงมรดกไมจําเปนตองมีภาคหลวง แมจะมีศักดินา ๔๐๐ ไรข้ึนไป คือ (๑) เมื่อผูตายมีศักดินา ๔๐๐ ไรข้ึนไปนั้นเปนผูมีบําเหน็จหรือบํานาญอยางใดอยางหนึ่งในราชการ (๒) เมื่อผูตายนั้นเปนพราหมณ ถึงแมจะมีบรรดาศักดิ์ก็ตาม ถาผูตายมีศักดินาต่ํากวา ๔๐๐ ไร มรดกของชายนั้นแบงออกเปน ๓ ภาค คือ ภาคบิดามารดา ๑, ภาคภรรยา ๑, ภาคญาติ ๑ ไมตองมีภาคหลวง นอกจากนี้ผูมีทรัพยสมบัติและมีความประสงควาเมื่อตนถึงแกความตายแลวจะยกทรัพยสมบัติใหตกเปนสิทธิแกผูหนึ่งผูใด เจาของทรัพยนั้นก็ตองทําพินัยกรรม ความประสงคนั้นจึงสําเร็จผล มิฉะนั้นการแบงสมบัติตองเปนไปตามกฎหมาย (๑๘) พระไอยการลักษณกูหน้ี วาดวยลักษณะกูหนี้ยืมสินเปนมูลวิวาท ๒๙ ประการ ลักษณะสัมพันธมิตร ญาติสนิท ลักษณะผัวเมียกูยืมดวยกันและผัวเมียกู ผัวเมียมิรูและผัวเมียตายและยัง ลักษณะกูหนี้ถือสินกันและเอาช่ือผูอ่ืนในกรมทันหลายคน ลักษณะกูหนี้ทานยังไมไดใชลูกหนี้ตาย เปนตน (๑๙) พระอายการเบดเสรจ เปนการรวมกฎหมายทั้งส้ิน ๑๒ ลักษณะดวยกัน คือ ๑. ลักษณะที่ไรที่นา ๒. ที่บานที่สวน ๓. ที่กระหนาบคาบเกี่ยว ๔. ลักษณะตูทรัพยขาคนทานตลอดถึงจํานํารับจํานํา ๕. ลักษณะฝากทรัพยส่ิงของ ๖. ลักษณะเชาทรัพยยืมทรัพย ๗. ลักษณะจางวาน ๘. ลักษณะซื้อขายแตมีเร่ืองเรือเกวียนโดนกันพวงทายอยู ๒ มาตราอันเปนเรื่องละเมิด ๙. ลักษณะใหทรัพย แตมีเร่ืองละเมิดตอทายอยู ๓ มาตรา ๑๐. ลักษณะพนันขันตอ ๑๑. ลักษณะสาเหตุอันบังเกิดมูลคดีวิวาทรวมตลอดทั้งเร่ืองละเมิดอันไมมีสาเหตุแกกันมากอน ๑๒. ลักษณะคดีเก่ียวกับชะมบ จะกละ กระสือ กระหาง ตลอดจนเวทวิทยาคมและกฤษติคุณเปนมูลคดีวิวาท

(๒๐) พระไอยการลักษณวิวาทตีดากัน เปนกฎหมายที่กําหนดเรื่องการวิวาทดาตีกัน การทํารายซึ่งกันและกัน และการหมิ่นประมาท เปนตน (๒๑) พระไอยการลักขณโจร จําแนกไดเปน ๒ จําพวกใหญ คือ จําพวกแรก องคโจร หมายถึงผูที่กระทําผิดตองรับโทษเต็มตามกฎหมาย ไดแก ๑. กระทําความผิดเอง ๒. ใชใหผูอ่ืนกระทํา ๓. ส่ังสอนใหลัก จําพวกที่สองสมโจร หมายถึงผูกระทําผิดอันมีลักษณะเปนผูสนับสนุน ใหความชวยเหลือผูอ่ืนกระทําความผิด ไดแก ๑. ใหที่อยูแกโจร ๒. เปนเพื่อน มิตร

Page 12: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

สหายกับโจร ๓. สมรูรวมคิดกับโจร ๔. ปองกันโจรไว ๕. กินอยูสัมเลกับโจร นอกจากนี้ไดวางวิธีการกําหนดโทษในระหวางตัวการกับผูสนับสนุนไวดวยวาโทษขององคโจรนั้นตามสถานโทษ สวนโทษสมโจรนั้นกึ่งโทษโจร สมดวยผูสมโจรนั้นกึ่งผูสมโจร เปนตน (๒๒) พระไอยการอาญาหลวง เปนการกําหนดลักษณะความผิดสําคัญและสถานโทษ โดยกําหนดโทษที่จะลงแกผูกระทําความผิด ๑๐ สถาน ตั้งแตโทษเบาที่สุดคือภาคทัณฑ จนถึงโทษหนักที่สุดคือบั่นคอริบเรือนตองเปนเรื่องที่กระทําผิดตอรัฐหรือตอหลวง (๒๓) พระไอยการกระบดศึก กําหนดโทษของผูคิดกบฏประทุษรายตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะปลงพระชนม โจรคุมพรรคพวกถือสรรพสาตราวุธเขาปลนตีเมือง โจรปลนตีพระนครเผาพระราชนิเวศมนเทียรสถาน โจรปลนตีอารามเผาพระอุโบสถและสังฆาราม ประหัดประหารพระ ชาวบาน หรือผูฆาบิดา มารดา ญาติและครูอุปชฌาถือเปนพวกผูรายยิ่งโจรใหลงโทษกรรมกร ๒๑ สถาน

(๒๔) กฎพระสงฆ กําหนดใหพระภิกษุสงฆ สามเณร ปฏิบัติตนอยูใตพระธรรมวินัยของสงฆ และพฤติตนใหเหมาะสม เชน ใหพระสงฆผูแสดงธรรมเทศนาตามพระบาลี และอรรถกถาใหบริบูรณ หามเทศนาเปนกาพยกลอน และกลาวถอยคําตลกคะนองโดยประมาทใหผิดจากพระวินัย หากพระสงฆผูใดมิไดประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายนี้ตองไดรับโทษาณุโทษ เปนตน (๒๕) กฎ ๓๖ ขอ เดิมประกาศเปนกฎหมายรับสั่งและกฎขนอนรวมดวยกัน ๔๒ ภายหลังชําระ ไดกําหนดเรื่องการเขาเฝาของขาราชบริพาร การที่โจทก จําเลยติดใจคําตัดสินของตระลาการใหสงสํานวนใหกระทรวงพิจารณาตอไป หรือการกําหนดระยะเวลาการพิจารณาใหแลวเสร็จภายใน ๓ เดือน ถาพยานอยูไกลทาง ๑๕ วันเดือนหนึ่ง ใหกฎหมายตามใกลแลไกล อยาใหลวงพนอายุความตามระยะทางใกลไกลนั้นได เปนตน (๒๖) พระราชบัญญัติ มีลักษณะเปนการกําหนดขอกฎหมายจากการวินิจฉัยคดีของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยวาดวยความผิดฐานภรรยาทําชูเนื่องจากผัวไปราชการตางเมือง กําหนดความผิดโจรผูแทงฟนฆาเจาเรือนตาย การกําหนดโทษผูลักพาลูกเมียเขาขายตอไป หรือการกําหนดโทษแกผูเจรจาหยาบชาแกผูมีบรรดาศักดินา ๔๐๐ ข้ึนไป เปนตน (๒๗) พระราชกําหนดเกา วาดวยการใหไวแกผูรักษาเมือง ผูร้ังกรมการเมือง พระสุรีศวดีซายขวา และแกมหาดไทย กลาโหม กรมวัง เมื่อพิจารณาอรรถคดีตางๆ ชําระใหม จ.ศ. ๑๑๖๖ และวาดวยบทอาญาหลวง ๑๓๐ มาตรา บทอาญาราษฎร ๒๐ มาตรา วาดวยเรื่อง คาที่นั่งความผูรายหัวเมืองและบุตรภริยาผูราย ความนครบาลพิจารณายังไมเสร็จ หามอยาใหจําเลยยื่นฟองหาอาญาอุทธรณ หรือเมื่อจับตัวผูรายปลนฆาเจาทรัพยตายไมไดใหผูรักษาเมืองและชาวบานใชทุนทรัพย เปนตน (๒๘) พระราชกําหนดใหม วาดวยการเสร็จพระราชดําเนิน การเสพสุรา เลนเบี้ยบอน ไพรฟองกลาวโทษมูลนาย คาธรรมเนียมตอและซอมสําเภา โทษเลกหลบหนีราชการการจับผูรายลักพระพุทธรูป การบวช การลักพาทาส เปนตน

Page 13: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๐

อิทธิพลของกฎหมายตราสามดวงที่มีตอกฎหมายปจจุบัน

กฎหมายตราสามดวง ถือเปนชวงรอยตอประวัติศาสตรกฎหมายไทยระหวางกฎหมายยุคเกากับกฎหมายสมัยใหม โดยชําระกฎหมายที่กระจัดกระจายอยูในสมัยนั้น รวบรวมเขาไวในที่เดียวกันใหเปนหมวดหมู และตรวจชําระเนื้อหาของกฎหมายใหสอดคลองกับหลักความเปนธรรม และบริบทของสังคมไทยขณะนั้น ทั้งนี้ จากการศึกษาพบวากฎหมายไทยปจจุบันไดรับอิทธิพลจากกฎหมายตราสามดวงบางลักษณะซึ่งถือเปนเอกลักษณของกฎหมายไทยปจจุบัน และกฎหมายตราสามดวงบางลักษณะมีเนื้อหากฎหมายเชนเดียวกับหลักกฎหมายสากลที่ใชอยูปจจุบัน ซึ่งจะขออธิบายโดยสังเขป ดังตอไปนี้

หลักอินทภาษ

หลักอินทภาษ คือ หลักธรรมที่ใชตัดสินคดีของผูพิพากษาในอดีต กลาวคือ ผูพิพากษาตองปราศจากอคติ ๔ คือ ฉันทาคติ โทษาคติ ภยาคติ และโมหาคติ ซึ่งหลักธรรมดังกลาวยังคงใชเปนหลักสําคัญของผูพิพากษาในในการตัดสินคดีความ ดังจะไดกลาวโดยละเอียดตอไปนี้

พระธรรมสาตร

หลักอินทภาษ

บทที่ ๔ บัญญัติวา “ในเทวะอรรรถาธิบายนั้นวา ดูกรมานพ โย ปุคฺคฺโล อันวาบุคคลผูใดจะเปนผูพิภากษาตัดสีนคดีการแหงฝูงมนุษยนิกรทังหลาย นาติวตฺตติ บมิไดลวงเสีย ธมฺมํ ซึ่งสุจริตธรรมอันเปนของแหงสับปรุษ ฉนฺทา โทสา ภยา โมหา เหตุโลภแลโกรธแลกลวัแลหลง... อรรถาธิบายวาบุคคลผูใดจะเปนผูพิภากษาตัดสินคดีการแหงมนุษยนิกรทั้งหลายพึงกระทําสันดานใหนิราศปราศจากอะคติธรรมทั้งส่ี คือ ฉันทาคติ ๑ โทษาคติ ๑ ภะยาคติ ๑ โมหาคติ ๑...

แลซึ่งวาใหผูพิภากษาปราศจากฉันทาคะตินั้นคือใหทําจิตรใหนิราศจากขาดจากโลภ อยาไดเหนแกลาภะโลกามิศสีนจางสีนบน... ถึงมาทวาผูตองดดีนั้นจะเปนเผาพันธุเปนตนวาบิดามานดาตนก็ดี อยาพึงเขาดวยสามาถฉันทาคติอันมิควรจะพึงไป จงทําจิตรใหตั้งอยูในอุเบกขาญาณ จึงไดช่ือวาเปนองคตุลาการ มีอาการอันเสมอเหมือนตราชู...

แลใหปราศจากโทษาคตินั้น คือ ใหผูพิภากษากระลาการกระทําจิตรใหเสมออยาไดไตไปตามอํานาจโทษาพยาบาทจองเวร วาผูนี้เปนคนปะฏิปกขขาศึกผิดกันกับอาตมา อยา

Page 14: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๑

กระทําซึ่งความโกรธแลเวระพญาบาทเปนเบื้องหนาแลวแลพิจารณากดขี่ใหพายแพ... พึงดําเนินไปตามธรรมสาตรราชสาตร แลตั้งจิตรไวในมัชฌะอุเบกขาใหแนแนวแลวจึ่งพิจารณาตัดสีน เปนทามกลาง ฯลฯ

ซึ่งวากระลาการแลผูพิภากษาปราศจากภะยาคะตินั้นคือใหผูพิภากษากระลาการการะทําจิตรใหมั่นคง อยาไดหวั่นไหวแตไภยความกลวฝายโจทแลฝายจําเลย อยาสดุงหวาดเสียววาผูนี้เปนอธิบดีมียศถาศักดิแลเปนราชตระกูลประยูรอันยิ่งใหญ ถาอาตมาพิภากษาควรแพแลแพลงบัดนี้ ก็จะทําใหอาตมาถึงซึ่งความฉิบหายดวยเหตุอันใดอันหนึ่งเปนมั่นคง อนึ่งอยาพ่ึงกลัววาผูนี้มีวิทยาคมแลฝมือกําลังกายแกลวกลาถาพายแพลงก็จะเคียดโกรธอาตมาแลวจทําความวินาศอันใดอันหนึ่งใหถึงเรา เพราะเหตุเราบังคับบันชาใหพายแพในที่อันควรจะแพ พึงกระทําจิตรให องอาจอยาไดหวาดไหวแตไภยความกลัวอะธิบดีตระกูล... แลใหปราศจากโมหาคตินั้น โมหะเจตสิกดวงนี้ คือ ตัวอะวิชา มีลักษณอันมืดไปในที่ทังปวง...คดีใดควนแกแพ ก็พึงพิจารณาใหเหนดวยปญญาวาควนแพ คดีใดจะพึงชนะ ก็สอดใหเหนดวยปญาโดยแทวาควรชนะ อยาบังคับบันชาดวยความโมหาคติอันมืดหลงใหล ถาเหลือสติปญาตนก็พึงเทียบทานถามซึ่งบัณฑิตยเสวะกามาตผูมีปญาชาญฉลาดในราชบัญญัติ แลเคยในกิจคดีตัดสีนพิภากษาในกาลกอน อยาทะอึงอวดตนดวยอุณตมานะอันโมหาเหนเปลาแลวแตหลงใหล พึงหยุดหนวงซึ่งหลักคือสุจริตธรรม แลวพึงไตไปตามธรรมสาดรราชสาตร อยากลับซึ่งคดีอันแพใหชนะ กลับคดีชนะใหแพดวยอํานาจแหงโมหะคือความหลง...” ประมวลจริยธรรมขาราชการตุลาการ พ.ศ.๒๕๒๙

“ขอ ๓ ในการนั่งพิจารณาคดี ผูพิพากษาจักตองวางตัวเปนกลางและปราศจากอคติ ทั้งพึงสํารวมตนใหเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่ แตงกายเรียบรอยใชวาจาสภุาพ ฟงความจากคูความและผูเก่ียวของทุกฝายอยางตั้งใจ ใหความเสมอภาค และมคีวามเมตตา” “ขอ ๑๒ เมื่อจะพิจารณาหรอืมีคําส่ังในเรือ่งใด ผูพิพากษาจักตองวางอคติทั้งปวงเก่ียวกับคูความหรือคดคีวามเรื่องนั้น ทั้งจักตองวินจิฉัยโดยไมชักชา และไมเห็นแกหนาผูใด

คําพิพากษาและคําส่ัง ตองมีคําวินิจฉัยทีต่รงตามประเด็นแหงคดีใหเหตุผลแจงชัดและสามารถปฏิบัตติามนัน้ได การเรียงคําพิพากษาและคําส่ังควรใชภาษาเขียนทีด่ี ใชถอยคาํในกฎหมาย ใชโวหารที่รัดกุมเขาใจงาย และถูกตองตามพจนานุกรมฉบบัราชบัณฑิตยสถาน ขอความอ่ืนใดอนัไมเก่ียวกับการวินิจฉัยประเด็นแหงคดีโดยตรง หรือไมทําใหการวินิจฉัยประเด็นดังกลาวชัดแจงข้ึนไมพึงปรากฏอยูในคําพิพากษาหรือคําส่ัง” จริยธรรมตุลาการศาลปกครอง

“ขอ ๓. ในการไตสวนและการนั่งพิจารณาคดี ตุลาการศาลปกครองจักตองวางตนเปนกลางและปราศจากอคติ สํารวมตนใหเหมาะสมกับตาํแหนงหนาที่ แตงกายใหเรียบรอย ใชวาจาสภุาพ ทั้งพึงไตสวน ซักถาม และฟงความจากคูกรณีรวมทั้งผูที่เก่ียวของทุกฝายอยางตั้งใจ ใหความเสมอภาค และมีเมตาธรรม”

Page 15: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๒

“ขอ ๗. เมื่อจะพิจารณาหรอืมีคําส่ังในคดีเร่ืองใด ตลุาการศาลปกครองจะตองละวางอคติทั้งปวงเก่ียวกับคูกรณีหรือคดเีร่ืองนั้น ทั้งจักตองวินิจฉยัโดยไมชักชาและไมเห็นแกผูใด” ในปจจุบันประมวลจริยธรรมของตุลาการซึ่งถือเปนขอกําหนดการดํารงตน และการปฏิบัติหนาที่ของผูพิพากษา กําหนดใหผูพิพากษาวางตนเปนกลางและปราศจากอคติทั้งปวง แสดงใหเห็นวาหลักอินทภาษในกฎหมายตราสามดวงเปนหลักกฎหมายที่สอดคลองกับหลักธรรมอันเปนสากล และยังคงยึดถือปฏิบัติกันจวบจนปจจุบัน

Page 16: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๓

พระไอยการลักษณรับฟอง กฎหมายตราสามดวง พระไอยการลักษณรับฟอง แยกออกเปน ๖ ลักษณะ ดังนี้ ๑. ลักษณะรับฟอง ตราขึ้นเมื่อป พ.ศ. ๑๘๙๙ ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ๒. ลักษณะรองฟอง ตราขึ้นในแผนดินสมเด็จพระเอกาทศรถ ๓. ลักษณะตัดสํานวน ๔. ลักษณะประวิงความ ทั้งสามลักษณะนี้ไมปรากฏหลักฐานที่แนนอน ๕. ลักษณะแกตางวาตาง วาตราขึ้นในสมัยใด ๖. ลักษณะตัดพยาน ตราขึ้นในแผนดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ์รวบรวมเปนกฎหมายตราสามดวงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ของ

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

๑. การรับฟอง

พระไอยการลักษณรับฟอง ในบทที่ ๑ ไดกําหนดลักษณะของบุคคล ๗ ประการ ที่หามมิใหรับฟองตามหลัก

อินทพาษ ๗ ดังนี้ ๑. คนพิกลจริตบาใบ ๒. เสียจักษุทั้งสองขางมิไดเหน ๓. คนเสียหูทั้งสองขางมิไดยิน ๔. เปนงอยเปลี้ยเดิรไปมามิได ๕. เปนคนกยาจกถือกระเบื้องกะลาขอทาน ๖. เปนคนสูงอายุศมหลงไหล ๗. เดกต่ําอายุศมเอาถอยคํามิได คน ๗ จําพวกนี้ถามาฟองรองเรียนอยาเพอฟงกอน ใหผูเปนตะลาการไตสวนผู

เปนสักขิญานรูเหน ถาสมดั่งมันกลาวจริง จึ่งใหรับไวบังคับบันชาโดยมันกลาว ถาหมีสม ทานวาอยาใหรับคดีนั้นไวบังคับบันชาเลย

บทที่ ๒ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง มิใชคดีตนเเลคดีบิดามานดาปู ยา ตา ยาย ปา นา อา บุตรภรรยาญาติพ่ีนองตนเกบเอาเนื้อความผูอ่ืนซึ่งมิไดเปนเนื้อความเรื่องเดียวกันมากฎหมายรองฟอง ผูนั้นบังอาจใหยากแกความเมืองทานๆ วาเลมิด ใหไหมโดยยศถาศักดิ อยาใหรับฟองไวพิจารณา”

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง การฟองคดีตามกฎหมายปจจุบันผูฟองคดี เรียกวา “โจทก” ผูที่ถูกฟองคดี

เรียกวา “จําเลย” ทั้งโจทกและจําเลยมีช่ือเรียกโดยรวมวา “คูความ” ในบางกรณีกฎหมายบังคับวาคูความดําเนินคดีเองไมได จึงตองมีผูแทนโดยชอบธรรม หรือบางทีคูความไมประสงคจะฟองหรือตอสูคดีดวยตนเอง ก็ตั้งผูหนึ่งผูใดเปนทนายความ หรือผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูที่ตัวความตั้งมาเปนผูแทนตองกระทําการในนามของตัวความ เปนผูดําเนินคดีแทน เปนตน

Page 17: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๔

มาตรา ๑ (๑๑) วิเคราะหศัพท “คูความ” หมายความวา “บุคคลผูยื่นคําฟองหรือถูกฟองตอศาล และเพ่ือประโยชนแหงการดําเนินกระบวนพิจารณาใหรวมถึงบุคคลผูมีสิทธิกระทําการแทนบุคคลนั้นๆ”

พระไอยการลักษณรับฟองกําหนดลักษณะตองหามของบุคคลไมมีสิทธิฟองคดีกลาวคือ บุคคลที่มีรางกายพิกลพิการหรือไมรูสํานึกผิดชอบเพียงพอ รวมถึงผูที่มิไดเปนผูเสียหายในคดีและมิไดมีสวนเกี่ยวพันเปนญาติกับผูเสียหายที่จะใชสิทธิฟองคดีได ดังนี้ผูที่ไมเขาลักษณะตองหามดังกลาวจึงมีสิทธิฟองคดี ในกฎหมายปจจุบันโจทกตองเปนผูถูกโตแยงสิทธิที่กฎหมายรับรอง อยางไรก็ตามกฎหมายกําหนดใหบุคคลอื่นสามารถฟองคดีแทนผูถูกโตแยงสิทธิไดในบางกรณี เชน กรณีผูแทนโดยชอบธรรมฟองคดีแทนผูเยาว หรือผูอนุบาลฟองคดีแทนบุคคลไรความสามารถ เปนตน แตกฎหมายปจจุบันมิไดตองหามบุคคลพิการฟองคดีหากเปนผูมีความสามารถบริบูรณตามกฎหมาย แตบุคคลผูหยอนความสามารถตามที่กฎหมายกําหนดไว เชน ผูเยาว ผูวิกลจริต หรือคนไรความสามารถจะตองมีผูฟองคดีแทน ทั้งนี้เพ่ือใหมีผูปกปองดูแลการใชสิทธิทางศาลของบุคคลดังกลาว แตพระไอยการลักษณรับฟองมิไดบัญญัติใหมีผูดําเนินการแทนบุคคลตองหามเหลานั้นแตอยางใด ดังนั้นกฎหมายปจจุบันจึงรับรองสิทธิการฟองคดีของบุคคลไดดีกวา

๒. ฟองซอน พระไอยการลักษณรับฟอง

บทที่ ๗ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ผูใดมีคดีมาฟองรองเรียนหาความแกทานแหงหนึ่งแลว ยังไมไดพิจารณาสําเรจแลไปฟองรองเรียนแหงหนึ่งเลา ทานวาทําดั่งนี้เปนสองสารใหไหมลาหนึ่งตามบันดาศักดิ์เปนแตพิไนหลวง แลววาใหตามคําฟองรองกอนนั้น”

บทที่ ๘ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ราษฎรทําหนังสือรองฟองหาความแกกันในกรมใดๆ ตระลาการทอดโฉนฎฎีกาตราสารไปใหมุนนายสงผูตองคดีก็ดี แลมันผูตองคดีรูสึกคดีแลวมันมิไดมาแกพิภาษโดยเขาหา มันไปฟองซอนเหนือคดีเขากลาวหาก็ดี ตระลาการไดไตถามแลว แลความนั้นยังมิไดพิจารณาสําเรจ ฝายจําเลยไปรองฟองกลาวโทษโจทเลา ทานวาเลมิดใหไหมโดยบันดาศักดิ์ลาหนึ่งเปนพิไนหลวง แลวใหพิจารณาโดยหนังสือรองโจท แลสํานวนนั้นสืบไปใหเหนเทจแลจริง”

ประมวลกฎหมายวิธีพิจาณาความแพง มาตรา ๑๗๓ วรรคสองบัญญัติวา “นับแตเวลาที่ไดยื่นคําฟองแลว คดีนั้นอยูใน

ระหวางพิจารณาและผลแหงการนี ้(๑) หามไมใหโจทกยื่นคําฟองเร่ืองเดียวกันนั้นตอศาลเดียวกันหรือตอศาลอ่ืน

...” กรณีดังกลาวเมื่อพิจารณาแลวเห็นไดวากฎหมายทั้งสองฉบับนั้นมีความ

คลายคลึงกันในหลักเกณฑการฟองซอนกลาวคือ หามมิใหโจทกฟองคูความเดียวกันในเรื่องเดียวกันที่คดีเดิมอยูในระหวางพิจารณา กลาวคือ เมื่อโจทกยื่นฟองคดีเรื่องหนึ่งไวแลว และคดี

Page 18: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๕

นั้นอยูในระหวางพิจารณาของศาล หามมิใหโจทกนําฟองเร่ืองเดียวกันนั้นมาย่ืนตอศาลเดียวกันหรือศาลอ่ืนอีกเปนฟองซอน นอกจากนี้ตามพระไอยการลักษณรับฟอง การฟองซอนมีโทษปรับไหมถือเปนการนําโทษอาญาซึ่งเปนกฎหมายสารบัญญัติมาบัญญัติรวมกับกฎหมายวิธีสบัญญัติ แตกตางจากกฎหมายปจจุบันที่แยกกฎหมายทั้งสองลักษณะออกจากกัน

๓. คดีอุทลุม

พระไอยการลักษณรับฟอง บทที่ ๒๕ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ผูใดเปนคนอุทลุมหมีไดรูคุณบิดามานดาปู

หญาตายาย แลมันมาฟองรองใหเรียกบิดามานดาปูญาตายายมัน ทานใหมีโทษทวนมันดวยลวดหนังโดยฉกันอยาใหมันคนรอยนั้นดูเย่ียงหยางกันตอไป แลวอยาใหบังคับบันชาวากลาวคดีของมันนั้นเลย”

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๖๒ บัญญัติวา “ผูใดจะฟองบุพการีของตนเปนคดีแพงหรือคดีอาญา

มิได แตเมื่อผูนั้นหรือญาติสนิทของผูนั้นรองขอ อัยการจะยกคดีข้ึนวากลาวก็ได” ตามพระไอยการลักษณรับฟองบัญญัติหามการฟองคดีบิดา มารดา ปู ยา ตา

ยาย หากฝาฝนตองโทษอาญา และมิใหศาลรับคดีไวพิจารณา หลักดังกลาวถือเปนเอกลักษณของสังคมไทยตั้งแตอดีตกาลเพื่อใหครอบครัวมีความสงบสุข มั่นคง และประสงคให ลูก หลานมีความกตัญูตอบุพการีและญาติผูใหญที่สืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปโดยมิใหลูก หรือหลานฟองคดีตอบิดา มารดา หรือปู ยา ตา ยาย ของตน โดยผูฝาฝนตองไดรับโทษทางอาญาดวย ซึ่งกฎหมายปจจุบันไดรับอิทธิพลจากหลักการดังกลาวโดยนํามาบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๖๒ อยางไรก็ตามกฎหมายปจจุบันกลายความเครงครัดลงโดยคํานึงถึงขอเท็จจริงในสังคมมากยิ่งข้ึนโดยกําหนดความเพิ่มเติมข้ึนวาหากผูนั้นหรือญาติสนิทของผูนั้น รองขอ อัยการจะยกคดีข้ึนวากลาวก็ได

งาชางดัชนีชื่อพระไอยการ

Page 19: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๖

พระไอยการลักษณผัวเมีย

พระไอยการลักษณผัวเมีย เปนบทบัญญัติที่เก่ียวกับความสัมพันธของครอบครัว ซึ่งมีบัญญัติไวแตโบราณ พบในสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใชช่ือกฎหมายวา “พระไอยการลักษณผัวเมีย” ตราขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๙๐๔ (จุลศักราช ๗๒๒) และมีการแกไขเพิ่มเติมใน พ.ศ. ๑๙๐๕๔ เปนพระราชบัญญัติเพ่ิมเติมวาดวยการแบงปนสินทรัพยระหวางผัวเมีย ซึ่งความสัมพันธนั้นอยูในรูปแบบประเพณีนิยมเปนสวนใหญ

๑. เง่ือนไขการสมรส๕

พระไอยการลักษณผัวเมียกําหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามของชายและหญิงที่จะทําการสมรสกันตามกฎหมายดังตอไปนี้๖

๑) หญิงตองไมเปนภรรยาของชายอื่นอยูกอนแลว หากหญิงมีสามีไปไดเสียกับชายอื่น กฎหมายถือวาชายนั้นเปนเพียงชายชูเทาน้ัน จะตองเอาหญิงน้ันสงคืนสามีเขา

พระไอยการลักษณผัวเมีย บทที่ ๒๕ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ผูใดทําชูดวยเมียทาน แลชายชูนั้นจะเอาเมีย

ทานมาเปนเมียตน ทานวาอยาพึงให ใหสงหญิงนั้นใหแกผัวมันจงได ขาเมียแลบาดเบี้ยเทาใดใหไหมเทานั้น ใหแกเจาผัวจงสิ้น”

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๔๕๒ บัญญัติวา “ชายหรือหญิงจะทําการสมรสในขณะที่ตนมีคูสมรสอยู

ไมได” มาตรา ๑๔๙๕ บัญญัติวา “การสมรสที่ฝาฝนมาตรา ๑๔๔๙ มาตรา ๑๔๕๐

มาตรา ๑๔๕๒ และมาตรา ๑๔๕๘ เปนโมฆะ” ในปจจุบันมิไดหามเฉพาะฝายหญิงเทานั้น แตหามฝายชายดวย เปลี่ยนจาก

ระบบผัวเดียวหลายเมีย มาเปนระบบผัวเดียวเมียเดียว โดยไดรับอิทธิพลจากตางประเทศ หากฝาฝนจะมีผลใหการสมรสครั้งหลังเปนโมฆะ ซึ่งผลนี้ตางกับในอดีต กลาวคือ ในกฎหมายลักษณะผัวเมียนั้นบัญญัติใหชายที่ยุงเก่ียวกับหญิงมีสามีเปนชายชูและใหปรับไหมชายชูนั้น อาจจะเทียบไดวาการทําชูนั้นแมวาชายหญิงจะมีเจตนาเปนสามีภรรยากันก็ไมอาจทําใหหญิงนั้นเปนภรรยาโดยชอบดวยกฎหมายของชายชูนั้นได แมกฎหมายจะมิไดบัญญัติชัดเจนดังเชนบรรพ ๕ ในปจจุบัน แตโดยสภาพแลวผลจากการฝาฝนบทบัญญัติดังกลาวไมแตกตางกัน

๔ แลงกาต โรแบรต, ประวัติศาสตรกฎหมายไทย, (กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

และการเมือง, ๒๔๘๙), น.๑๗. ๕ การหมั้น ตามกฎหมายปจจุบันเปนการตกลงกันวาจะทําการสมรส กลาวคือ กอใหเกิด

ความผูกพันและกอใหเกิดสถานะการเปนคูหม้ันซึ่งเปนประเพณีที่ไดทํากันมาตั้งแตโบราณและกฎหมายรับรอง ทั้งนี้เพ่ือใหบุคคลทั่วไปไดทราบและกอใหเกิดความมั่นใจแกชาย หญิงเทานั้น

๖ ดวงจิตต กําประเสริฐ, ประวัติศาสตรกฎหมาย, (กรุงเทพฯ:โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๒), น. ๗๘.

Page 20: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๗

๒) ชายตองไมเปนพระภิกษุ ในกฎหมายลักษณะผัวเมียหามไวโดยชัดแจง

ไมใหพระภิกษุสามเณรมีภรรยา ถาพระภิกษุสามเณรผิดเมียผูอ่ืนถึงชําเรา ไดช่ือวาปราชิกใหสึกออก และใหปรับไหมดวย

พระไอยการลักษณผัวเมีย บทที่ ๔๐ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง พระครูภิขุสํามเณร ผิดเมียทานถึงชําเราชื่อวา

ปราชิก ใหสึกออกเสียแลวใหไหมโดยพระราชกฤษฎีกา” บทที่ ๔๑ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ถาพระครูภิษุสํามเณรผูอยูในศีล ทําทุราจาน

ผิดกิจวิไนยทํารายดวยหญิงหาผัวมิไดถึงชําเราเปนสัจไซ ช่ือวาปราชิก ใหสึกออกลงโทษ ๕๐หรือ๒๕ ที สงตัวลงญาชางหลวง สวนหญิงนั้นใหทําโทษดุจหญิงทําชูนอกใจผัวนั้นแล”

กรณีดังกลาวนี้ปจจุบันเปนเรื่องพระธรรมวินัยของสงฆ กลาวคือ กฎหมายปจจุบันมิไดบัญญัติความผิดทางเพศของพระสงฆไวเนื่องจากตองการแยกกฎหมายบานเมือง กับพระธรรมวินัยออกจากกันโดยใหองคกรทางศาสนาเปนผูพิจารณาความผิดของพระสงฆเอง ซึ่งพระธรรมวินัยของสงฆนั้น การที่พระภิกษุสามเณรยุงเก่ียว หรือการเล้ียงดูหญิงเปนภรรยานั้น ผิดตอพระวินัยสงฆตองโทษปราชิก เชนเดียวกัน

๓) ชายหญิงตองไมเปนญาติกัน โดยเชื่อกันวาหากชายหญิงที่เปนญาติกัน

สมรสกันจะทําใหเกิดสิ่งอัปมงคลแกบานเมือง ดังที่บัญญัติไวตอไปนี้ พระไอยการลักษณผัวเมีย

บทที่ ๓๖ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง พอแมลูกพ่ีนองยายหลาน ตาหลานลุงนาหลานทําชูกันไซ ใหทําแพลอยผูนั้นเสียในชะเล ใหเจาพอแมพ่ีนองพลีเมืองทานทัง ๔ ประตู ไก ๘ ตัว ใหพระสงฆพราหมณาจารยสวดมนตรทําพิทธีการระงับอุบาทวจันไร น้ําฟา น้ําฝน จึงจะตกเปนประโยชนแกคนทังหลาย ฝายพอแมพ่ีนองรูวาลูกหลานทํามิชอบมิไดวากลาว ทานวาเลมิดใหลงโทษโดยโทษาณุโทษ”

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๔๕๐ บัญญัติวา “ชายหญิงซึ่งเปนญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรือ

ลงมาก็ดี เปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดาหรือมารดาก็ดี จะทําการสมรสกันไมได ความเปนญาติดังกลาวมานี้ใหถือตามสายโลหิต โดยไมคํานึงวาจะเปนญาติโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม”

เง่ือนไขในขอนี้ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ ๕ บัญญัติไวเชนเดียวกัน แตแนวคิดพื้นฐานในการบัญญัติกฎหมายนั้นแตกตางกัน กลาวคือในอดีตหามมิใหผูเปนญาติกันทําการสมรสกันโดยเชื่อวาจะเปนเรื่องอัปมงคลแกบานเมือง แตในปจจุบันดวยความรูทางวิทยาศาสตรพบวาการสมรสกันระหวางเครือญาติจะทําใหบุตรที่เกิดมาภายหลังอาจมีความผิดปกติบางประการ ซึ่งกฎหมายปจจุบันบัญญัติไวเฉพาะวาตองเปนญาติจากสายโลหิตเทานั้น โดยไมคํานึงวาจะเปนญาติโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม ในเรื่องนี้จึงอาจกลาวไดวาเปนภูมิปญญา

Page 21: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๘

คนไทยสมัยกอนที่ตองการรักษาความอบอุน และความเปนปกแผนของครอบครัว ซึ่งสอดคลองกับหลักกฎหมายปจจุบัน

๔) หญิงหมายที่สามีตาย จะทําการสมรสใหมตองจัดการเผาศพสามีให

เรียบรอยเสียกอน กฎหมายลักษณะผัวเมียเห็นวาถายังมิไดจัดการเผาศพสามีใหเรียบรอยการสมรสยังไมขาดจากกัน ดังที่บัญญัติไวตอไปนี้

พระไอยการลักษณผัวเมีย

บทที่ ๓๐ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ผัวตายหงายไวทังโลง สภยังอยูกับเรือน หญิงเมียนั้นน้ําตาตกแลคลอยใจกําหนัดชักเอาชายมานอน แลผีตายหงายรับกันอยูดั่งนั้น ถาพ่ีนองชายผูตายรูเหนเอาความมาฟองรอง เมื่อสวนสับขับแทแพจริงไซ ทานใหสานกะตรอตากลวยครอบศีศะหญิงนั้นลงเพียงตา ใหทะเวนรอบเรือนที่ผีผัวอยูนั้นสามรอบแลวใหไหมชายชูเปนเบี้ย ๑๐ แสน ใหแกญาติพ่ีนองเผาผีผูตาย”

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๔๕๓ บัญญัติวา “หญิงที่สามีตายหรือที่การสมรสสิ้นสุดลงดวยประการ

อ่ืนจะทําการสมรสใหมไดตอเมื่อการสิ้นสุดแหงการสมรสไดผานพนไปแลวไมนอยกวาสามรอยสิบวัน เวนแต

(๑) คลอดบุตรแลวในระหวางนั้น (๒) สมรสกับคูสมรสเดิม (๓) มีใบรับรองแพทยประกาศนียบัตรหรือปริญญาซึ่งเปนผูประกอบการรักษา

โรคในสาขาเวชกรรมไดตามกฎหมายวามิไดมีครรภ หรือ (๔) มีคําส่ังของศาลใหสมรสได” การกระทําของหญิงในสมัยกอนนั้นจะตองใหเกียรติแกชายแมวาสามีตายไปแต

ยังมิไดเผา ก็ยังไมถือวาการสมรสไดส้ินสุดลงอีกทั้งการกระทําในลักษณะดังกลาวอาจเปรียบไดกับการเปนชูเชนกัน แตเง่ือนไขแหงการสมรสตามกฎหมายปจจุบันใหหญิงที่สามีตายหรือการสมรสส้ินสุดดวยสาเหตุใดจะทําการสมรสใหมไดตอเมื่อการสิ้นสุดแหงการสมรสไดผานพนไปแลวไมนอยกวา ๓๑๐ วัน เพ่ือแกปญหากรณีบุตรที่เกิดภายหลังสามีตายวาใครเปนบิดาที่ชอบดวยกฎหมายของเด็ก กฎหมายจึงบัญญัติหามไวมิใหทําการสมรสใหมภายใน ๓๑๐ วัน เวนแตหญิงไดคลอดบุตรแลวในระหวางนั้น หรือสมรสกับคูสมรสเดิม หรือมีใบรับรองแพทยวามิไดมีครรภ หรือมีคําส่ังของศาลใหสมรสได เนื่องจากระยะเวลา ๓๑๐ วันเปนระยะเวลาสูงที่สุดที่มนุษยสามารถมีครรภและคลอดบุตรได การที่กฎหมายปจจุบันกําหนดไวเชนนี้จึงเปนเหตุผลทางเทคนิคมากกวาเหตุผลทางจารีตประเพณีและศิลธรรม

Page 22: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๑๙

๒.ทรัพยสินระหวางสามีภรรยา

พระไอยการลักษณผัวเมีย

บทที่ ๑๑๔ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ชายใดใหสูฃอลูกสาวหลานสาวทานแลเอาขันหมากสามขันไปกลาวถามพอ แม พ่ีนองหญิงรับเอาไววาใหลูกสาวหลานสาวแกทานๆ คํานับไวในกําหนฎซึ่งวากลาวกันไวนั้นยังเปนเมียชาย ถาชายใดทําชูสูหญิงนั้น ทานวาผิดเมียทานในขันหมาก ทานใหเอาขันหมากตั้งไหมขันหมากกลาวถามนั้น ๑๑ ขันๆ หมากหมั้น ๕๐ ฃัน เปน ๖๑ ฃัน ใหตีคาฃันหมากกลาวถามนั้นฃันละเฟอง ใหตีฃันหมากหมั้นนั้นฃันละสะหลึง เอาฃันหมากทังนั้นบวกกันเฃาแลวใหไหมทวีคูณ ยกทุนใหเจาฃองเหลือนั้นเปนสีนไหมกึ่งพีในกึ่ง ถาถึงกําหนฎซึ่งวากลาวนัดหมายกันไวนั้น ชายมิไดเอาฃันหมากใหญมาแตงงานตามสันญานัด ทานวาหญิงนั้นมิไดเปนเมียชายเลย หญิงมีชูผัวอื่นหาโทษมิได แลฃันหมาก ๓ ฃันนั้น ชายจะคืนเอามิได เหตุวาพนกําหนฎซึ่งวากลาวกันนั้นแลว”

บทที่ ๖๘ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ผัวเมียอยูดวยกัน ตางคนตางผิดใจกันจะหยากันไซ ใหหญิงสงสีนสอดขันหมากแกชาย ถามีลูกดวยกันไซ ทานมิใหสงสีนสอดขันหมากแกชายเลย ใหเรียกสีนเดิมทังสองขาง สินสมรศไซ ใหแหวกปนเปนสามสวนใหชายสองสวน ใหแกหญิงสวนหนึ่ง ถาหญิงนั้นเขามีทุนเดิมซื้อฃายจายไดกําไร แลชายหาทุนเดิมมิไดไซ ทานใหปนสีนสมรศนั้นสามสวน ไดแกหญิงสองสวน ไดแกชายสวนหนึ่งเพราะชายหาทุนมิได ชายไดไปหารักษาจึ่งได”

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๔๓๗ บัญญัติวา “การหมั้นจะสมบูรณเมื่อฝายชายไดสงมอบหรือโอน

ทรัพยสินอันเปนของหมั้นใหแกหญิงเพ่ือเปนหลักฐานวาจะสมรสกับหญิงนั้น เมื่อหมั้นแลวใหของหมั้นตกเปนสิทธิแกหญิง สินสอด เปนทรัพยสินซึ่งฝายชายใหแกบิดามารดา ผูรับบุตรบุญธรรม หรือ

ผูปกครองฝายหญิง แลวแตกรณี เพ่ือตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส ถาไมมีการสมรสโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกหญิงหรือโดยมีพฤติการณซึ่งฝายหญิงตองรับผิดชอบ ทําใหชายไมสมควรหรือไมอาจสมรสกับหญิงนั้น ฝายชายเรียกสินสอดคืนได

ถาจะตองคืนของหมั้นหรือสินสอดตามหมวดนี้ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๔๑๒ ถึงมาตรา ๔๑๘ แหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยลาภมิควรไดมาใชบังคับโดยอนุโลม”

มาตรา ๑๔๓๙ บัญญัติวา “เมื่อมีการหมั้นแลว ถาฝายใดผิดสัญญาหมั้นอีกฝายหนึ่งมีสิทธิเรียกใหรับผิดใชคาทดแทน ในกรณีที่ฝายหญิงเปนฝายผิดสัญญาหมั้นใหคืนของหมั้นแกฝายชายดวย”

มาตรา ๑๔๗๑ บัญญัติวา “สินสวนตัวไดแกทรัพยสิน (๑) ที่ฝายใดที่ฝายหนึ่งมีอยูกอนสมรส (๒) ที่เปนเครื่องใชสอยสวนตัว เครื่องแตงกาย หรือเคร่ืองประดับกายตามควร

แกฐานะ หรือเคร่ืองมือเคร่ืองใชที่จําเปนในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคูสมรสฝายใดฝายหนึ่ง

Page 23: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๐

(๓) ที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยการรับมรดกหรือโดยการใหโดยเสนหา

(๔) ที่เปนของหมั้น” มาตรา ๑๔๗๔ บัญญัติวา “สินสมรสไดแกทรัพยสิน (๑) ที่คูสมรสไดมาระหวางสมรส (๒) ที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยพินัยกรรมหรือโดยการใหเปน

หนังสือเมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกใหระบุวาเปนสินสมรส (๓) ที่เปนดอกผลของสินสวนตัว ถากรณีเปนที่สงสัยวาทรัพยสินอยางหนึ่งเปนสินสมรสหรือมิใช ใหสันนิษฐานไว

กอนวาเปนสินสมรส” ทรัพยสินระหวางสามีภรรยาตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย ไดแก ทองหมั้นหรือ

ของหมั้นที่ฝายชายใหไวแกบิดามารดาหรือผูปกครองของฝายหญิงแตถาชายหยากับหญิงตองคืนของนั้นใหแกชายเวนแตจะมีบุตรดวยกัน สินสอด เปนทรัพยที่ฝายชายใหแกฝายหญิงเพื่อตอบแทนในการที่บิดามารดาหญิงเล้ียงดูหญิงจนไดแตงงานกับชาย เมื่อชายหญิงหยากัน หญิงตองคืนสินสอดใหกับฝายชาย เวนแตจะมีบุตรดวยกัน สินเดิม เปนทรัพยที่ชาย หญิงไดมากอนการเปนสามีภรรยากัน สินสมรส คือ ทรัพยที่สามีภรรยาไดมาภายหลังการแตงงานอยูกินดวยกัน

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ ๕ ในเรื่องทรัพยสินระหวางสามีภรรยาแบง

กฎหมายตราสามดวงฉบับหลวง ออกเปน ๒ ประเภท คือ สินสวนตัว และสินสมรส ตามพระอัยการลักษณผัวเมียมิไดอธิบายวาทรัพยสินใดบางที่เปนสินเดิม สินสวนตัว หรือสินสมรส

สําหรับสินสอด และขันหมากในปจจุบันยังคงมีอยูแตเปนทรัพยที่ใหไวแกพอแมของฝายหญิง ซึ่งบิดามารดาอาจยกใหเปนสินสวนตัวของฝายหญิง หรือยกใหเปนสินสมรสก็ได ทรัพยสินระหวางสามีภรรยาตามกฎหมายลักษณะผัวเมียในปจจุบันยังคงมีอยูแตมิไดเปนทรัพยสินระหวางสามีภรรยาตามกฎหมายแตอาจถือตามประเพณี หรือบางกรณีอาจจะรวมอยูเปนสินสวนตัว หรือสินสมรส ไปโดยปริยาย เชน เรือนหอ อาจเปนทรัพยที่หามาไดในระหวางสมรส หรือเปนทรัพยสินรวมกันโดยเปนสินสวนตัวคนละครึ่งตามหลักการแบงทรัพยสินก็ได

อํานาจในการจัดการทรัพยสินนั้น ในปจจุบันหากเปนสินสมรส สามีภรรยามีอํานาจจัดการทรัพยสินรวมกัน แตทรัพยที่มีความสําคัญนั้นกฎหมายบัญญัติใหตองไดรับความยินยอมจากคูสมรสอีกฝายหนึ่งดวย สวนเรื่องทรัพยสินตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย มิไดบัญญัติไวใหใครเปนผูจัดการทรัพยสินทั้งปวง กฎหมายบัญญัติเพียงความสัมพันธระหวางสินเดิม และสินสมรส เทานั้น

Page 24: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๑

๓. การสิ้นสุดแหงการสมรส

พระไอยการลักษณผัวเมีย

บทที่ ๖๗ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ภิริยาสามีมิชอบเนื้อพึงใจกัน เฃาจะหยากันไซ ตามน้ําใจเฃา เหตุวาเฃาทังสองนั้นสิ้นบุญกันแลว จะจําใจใหอยูดวยกันนั้นมิได”

บทที่ ๕๐ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ผัวเมียอยูดวยกัน หญิงนั้นหาความผิดมิได แลชายนั้นโกรธหญิงเกบเอาทรัพยสิ่งสีนตนลงจากเรือนไป แลชายนั้นมิไดไปมาเปนชานาน ถึง ๘ ๙ ๑๐ หรือ ๑๑ เดือน ตามระยะทางพนกําหนฎแลว จึ่งใหหญิงเอา สีนสอด ขันหมาก หรือทุนทรัพของชายนั้น ไปสงใหแกชาย แลพอหรือแม ชายนั้นเปนตนเปนประทานแลว ชายหรือหญิง จึ่ง ฃาดจากผัวเมียกัน

อนึ่งถาชายไปดวยสามาทโทโสมาแขก ครั้นหายโกรธแลวมันเสียเมียมันมิได แลกลับมาหาเมียมันดวยสุภาพสุจริต แลใหทรัพยสิ่งของเยี่ยมเยิยนแตใน ๘ ๙ ๑๐ หรือ๑๑ เดือนก็ดีปหนึ่งก็ดี ถาหญิงนั้นมิสมักรักชาย แกลงคอนคับกลับดาชายเปนอันหมีดี มิใหชายนั้นไปมาอีกเลาไซทานวาจะใหมันฃาดจากผัวเมียกันนั้นมิได ทานวาหญิงนั้นมันทุจริตคิดเอาใจออกนอกใจผัวมัน ถาหญิงมีชูผัวใหปรับไหม โดยพระราชกฤษฎีกา”

บทที่ ๖๑ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ชายไปเลี้ยงลูกหรือหลานสาวทาน แลมีส่ิงสีนไปดวยเปนคํานับ ถาชายหยาบชาตอดาหรือตี พอตาแมยายแลผูเถาผูแกแหงหญิง แลชายนั้นไมทําทานบนใหก็ดี ไมสะมักสมาพอตาหรือแมยายผูเถาผูแกก็ดี หญิงวามิอยูเปนเมียชายนั้นสืบไป ใหเอาทรัพยสิ่งของทังปวงแหงชาย ซึ่งยังบริคนอยูนั้นสงใหแกชายนั้นเสีย เหตุวาทรัพยสิ่งสีนทังนี้เปนที่คํานึงพึงใจเสนห แกทวยราษฎรทังหลาย ทานจึ่งวาใหเอาสงเสียแกมันจงแลว อยาใหเอาทรัพยสิ่งของมันไวใหเปนบริคนสืบไปเลยแลวใหขับมันเสียอยาใหมันอยูดวยลูกสาวสืบไป ถาแลทรัพยสิงสีนแหงมันยังบริคนอยูแกหญิง หญิงมิสงใหแกมันไซ ทานวาหญิงนั้นยังเปนเมียชายนั้นอยูแล

กลาวลักษณผัวเมียวิวาทกัน เกินเลยพอตาหรือแมยาย โดยสงเขบแตเทานี้” ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๑๔ บัญญัติวา “การหยานั้นจะทําไดแตโดยความยินยอมของทั้งสอง

ฝายหรือโดยคําพิพากษาของศาล การหยาโดยความยินยอมตองทําเปนหนังสือและมีพยานลงลายมือช่ืออยางนอย

สองคน” มาตรา ๑๕๑๖ บัญญัติวา “เหตุฟองหยามีดังตอไปนี้... (๒) สามีหรือภริยาประพฤติช่ัว ไมวาความประพฤติช่ัวนั้นจะเปนความผิดอาญา

หรือไม ถาเปนเหตุใหอีกฝายหนึ่ง (ก) ไดรับความอับอายขายหนาอยางรายแรง (ข) ไดรับความดูถูกเกลียดชังเพราะเหตุที่คงเปนสามีหรือภริยาของฝายที่

ประพฤติช่ัวอยูตอไป หรือ

Page 25: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๒

(ค) ไดรับความเสียหายหรือเดือดรอนเกินควร ในเมื่อเอาสภาพ ฐานะ และความเปนอยูรวมกันฉันสามีภริยามาคํานึงประกอบ

อีกฝายหนึ่งนั้นฟองหยาได (๓) สามีหรือภริยาทําราย หรือทรมานรางกายหรือจิตใจ หรือหมิ่นประมาทหรือ

เหยียดหยามอีกฝายหนึ่งหรือบุพการีของอีกฝายหนึ่ง ทั้งนี้ ถาเปนการรายแรง อีกฝายหนึ่งนั้นฟองหยาได

(๔) สามีหรือภริยาจงใจละทิ้งรางอีกฝายหนึ่งไปเกินหนึ่งป อีกฝายหนึ่งนั้นฟองหยาได...”

การสิ้นสุดแหงการสมรสในกฎหมายตราสามดวง ลักษณผัวเมีย อาจจําแนกไดเปน ๓ กรณี ดังนี ้

๑. ตายจากกัน ๒. การหยา หรือมีเหตุทําใหสามีภรรยาตองเลิกกันเกิดขึ้น ๓. โดยคําพิพากษาของศาล เหตุแหงการขาดจากการสมรสอาจเกิดขึ้นจาก ๑. การหยากันดวยความสมัครใจของสามีและภรรยา ชายหญิงที่แตงงานกัน

ภายหลังอาจหยากันไดตามกฎหมาย ตามพระอัยการลักษณผัวเมีย บทที่ ๖๗ เชนเดียวกับกฎหมายในปจจุบัน การหยานั้นจะทําไดแตโดยความยินยอมของทั้งสองฝายหรือคําพิพากษาของศาล ซึ่งจะตองทําเปนหนังสือและมีพยานอยางนอยสองคนรับรอง อีกทั้งการหยาโดยความยินยอมจะสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนการหยานั้นแลว เง่ือนไขที่แตกตางกันคือ กฎหมายปจจุบันกําหนดวาการหยาที่สมบูรณตองมีการจดทะเบียนดวย แตถาเปนการหยาโดยความสมัครใจตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย เมื่อตางผิดใจกันและหยากันใหฝายหญิงสงสินสอด ขันหมากคืนแกชาย แตถามีลูกดวยกันทานมิใหสงสินสอดขันหมากแกชายเลย และใหแบงทรัพยสินระหวางกัน ถือวาการสมรสนั้นสุดลงแลว

๒. ชายทิ้งรางภรรยาไปไมกลับมาหาภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด ถือวาชายหญิงขาดจากการเปนสามีภรรยากัน แตหญิงตองเอาสินสอด ขันหมาก ทุนทรัพย สงคืนชาย หรือกรณีสามีไปคาขายตามหัวเมือง พนกําหนด ๑ ป ชายไมกลับมา ชายหญิงขาดจากการเปนสามีภรรยา ในเรื่องการทิ้งรางนี้ในกฎหมายปจจุบัน ถือเปนเหตุฟองหยา ตามมาตรา ๑๕๑๖ (๔) สามีหรือภริยาจงใจละทิ้งรางอีกฝายหนึ่งไปเกินหนึ่งป อีกฝายหนึ่งนั้นฟองหยาได ซึ่งกฎหมายลักษณะผัวเมียนั้นบัญญัติใหเฉพาะกรณีชายทิ้งหญิงเทานั้น แตในปจจุบันสิทธิของชายและหญิงเทาเทียมกัน หากหญิงทิ้งรางไปชายก็สามารถยกขึ้นเปนเหตุฟองหยาได

๓. ชายลวงเกินพอตาแมยาย หรือญาติผูใหญของหญิง หากหญิงไมประสงคอยูรวมเปนสามีภรรยากับชาย ชายหญิงขาดจากกการเปนสามีภรรยากัน ฝายหญิงตองสงทรัพยสินของชายคืนแกชาย ในปจจุบันถือเปนเหตุฟองหยาตามมาตรา ๑๕๑๖ (๓)๔. ชายคิดเอาใจออกหางหญิง ยักยายสินเดิม สินสมรส ไปไวยังบิดามารดาญาติพ่ีนองของตน ใหชายสงทรัพยสินคืนและแบงปนตามกฎหมาย ชายหญิงขาดจากการเปนสามีภรรยา

Page 26: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๓

๕. ชายคบหาโจรผูราย ใหพอตาแมยายขับไลชายนั้นไปเสียใหพน แลวสงขันหมากทุนคืนแกชาย และบอกกลาวแกนายบาน นายอําเภอกรมการใหรับทราบไว ชายหญิงขาดจากการเปนสามีภรรยา สําหรับกรณีนี้อาจเทียบไดกับกรณีที่สามีหรือภริยาประพฤติช่ัวไมวาจะเปนความผิดอาญาหรือไมก็ตาม ตามมาตรา ๑๕๑๖ (๒)

๖. ชายมีศรัทธาในพระศาสนา ไปบวชเปนพระภิกษุ ชายหญิงขาดจากการเปนสามีภรรยา สินเดิม สินสมรสตกเปนของหญิงหมด เวนแตชายจะไดแบงปนทรัพยสินไวกอนแลว ซึ่งในปจจุบันนี้กฎหมายมิไดบัญญัติในเรื่องนี้ไว แตอาจเปรียบไดกับการจงใจทิ้งรางอีกฝายหนึ่ง หากเกิน ๑ ป อาจเปนเหตุฟองหยาได จะเห็นไดวาสังคมไทยเปนสังคมเมืองพุทธ กฎหมายจึงวางแนวปฏิบัติใหสามีภรรยานั้นขาดจากกัน แตในทางปฏิบัติของสังคมไทยในปจจุบันนั้นการฟองหยาดวยเหตุดังกลาวนั้นอาจจะดูเปนการไมสมควรนัก แตถึงอยางไรก็ตามในทางปฏิบัติก็อาจถือไดวามิไดเปนสามีภรรยากันโดยพฤตินัย แตผลในทางกฎหมายยังคงมีอยูและจะมีผลถึงเร่ืองของการแบงมรดกตอไปดวย ดวยเหตุดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ ๕ กรณีการสิ้นสุดของการสมรสในปจจุบันนั้นมีที่มาจากกฎหมายลักษณะผัวเมียเปนสวนมาก โดยมีการปรับปรุงแกไขใหทันสมัยเหมาะกับสังคมปจจุบัน เชนกรณีการหยาจะตองจดทะเบียนหยาจึงจะมีผลตามกฎหมาย ซึ่งสอดคลองกับสังคมในปจจุบันที่ใชระบบผัวเดียวเมียเดียวประกอบกับในปจจุบันมีประชากรเพิ่มมากย่ิงขึ้นจึงตองมีระบบทะเบียนเพ่ือใหสามารถตรวจสอบสถานการสมรสของบุคคลได แมวาบทบัญญัติบางเรื่องนั้นจะมิไดนํามาบัญญัติไวอยางชัดเจนในกฎหมายปจจุบันแตในทางปฏิบัติแลวก็ยังแทรกซึมอยูในวิถีการดํารงชีวิตของคนไทยโดยมากเชนกัน ถือเปนประเพณีอันดีงามที่ตกสืบทอดกันมา

Page 27: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๔

พระไอยการลักษณมรดก กฎหมายลักษณะมรดกบญัญัติข้ึนโดยพระเจาทรงธรรม ในปพุทธศักราช ๒๑๕๕ วาดวยเรื่องบรรดาทรัพยสินของผูตายรวมตลอดทั้งหนีสิ้นของผูตายดวย ซึ่งในบทความนี้จะหยิบยกบางเรื่องในพระไอยการลักษณมรดกเปรียบเทียบกับกฎหมายปจจุบันเพื่อใหเขาใจวิวัฒนาการของกฎหมายพอสังเขป ดังนี้ ๑. การตกทอดแหงทรัพยมรดก

พระไอยการลักษณมรดก บทที่ ๑ บัญญัติวา “ถาแลผูมีบันดาศักดิตั้งแตนา ๔๐๐ ข้ึนไป ถึงแกมรณภาพแลจะแบงปนทรัพยมรดกเปนสวน ซึ่งจะไดแกบิดามานดาแลญาติพ่ีนองบุตรภรรยาหลานเหลนลื่อนั้น โดยไดรับราชการแลมิไดรับราชการ แลมีบําเน็จบํานาญ แลหาบําเน็จบํานาญมิได ใหทําเปนสวนดั่งพระผูเปนเจากลาวไวนี้” บทที่ ๒ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ผูมรณภาพนั้น หาบําเน็จบํานาญแกราชการมิได ใหทําทังพัทยาแลมรดกคงไวทังสองสถาน ถาผูมรณภาพนั้นมีบําเหน็จแกราชการแลหาบํานาญมิได อยาใหทํามรดกเลย ใหทําแตพัทยาคงไว ถาผูทํามรดกเลยใหทําแตพัทยาเกิด ถาผูมรณภาพนั้น มีทังบําเหน็จบํานาญแกราชการไซ อยาใหทําพัทยาแลมรดกเลย ใหเอาทรัพยอันเปนสะวิญาณกะทรัพยแลอะวิญาณกะทรัพทังสองประการนั้นแบงปนใหแกบิดามานดาแลลูกหลานชายหญิงแหงผูมรณภาพนั้น ถาแลหาบิดามานดาแลลูกหลานชายหรือหญิงมีได อยาใหทํามรดกพัทยาเลย ใหคงไวแกญาติพ่ีนองผูมรณภาพนั้นเถิด อนึ่งผูมรณภาพนั้น เอาสะวิญาณกระทรัพแลอะวิญาณกะทรัพไปฝากไวยังอารามก็ดี ผูใดจะเอาออกจากอารามนั้นมิได ทานวาผูนั้นมิพนจัตุราบาย” บทที่ ๓ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง เสนาบดีมลตรีมุกขลูกขุน เจาราชนิกุญขุนหมื่นพันทนายผูมีบันดาศักดิทังปวง แลบิดามานดาแตงใหมีเรือนแตอายุสมควรจะมีเรือน แลคนทังนั้นมีทรัพยสิ่งสินดวยผลราชการอันพระราชทานใหก็ดี แลมีทรัพยสิ่งสีนขึ้นดวยทํามาหากินดวยกนักด็ ีแลผูนั้นถึงแกมรณภาพลง ใหเอาเครื่องสรรพาวุธชางมาเครื่องพัทยาบาวไพร แลเรือยาวแต ๗ วาข้ึนไปยกไวเปนหลวง แลทรัพยสิ่งสีนทาษกรรมกรชายหรือหญิง เรือกสวนไรนานั้น ยังมากนอยเทาใดใหประมวนไว ถาแลผูมรณภาพนั้น มีนี่มากนอยเทาใดก็ดี ใหบิดามานดาบุตรภรรยา เอาทรัพยนั้นไชนี่จงครบกอน ถาแลผูมรณภาพหานี่มิไดก็ดี ใหเอาทรัพยสิ่งของทังปวงซึ่งยังอยูนั้น แบงออกเปนสวนใหทําเปนสี่ภากๆ หนึ่งเขาพระคลังหลวง ภากหนึ่งใหแกบิดามานดา ถาแลบิดาถึงแกมรณภาพยังแตมารดา ใหมารดานั้นไดทรัพยทังสวน ถามารดามรณภาพยังแตบิดา ใหบิดานั้นไดทรัพยทังสวน ถาบิดามารดาหยารางกันแลว ใหไดทรัพยคนละกึ่งสวน แลภาคหนึ่งใหแกพ่ีนองลูกหลานแลญาติกาผูถึงมรณภาพ ภาคหนึ่งใหแกพิริยา ถาแลผูมรณภาพนั้นหาแมเจาเรือนมิไดยกไวเปนหลวง”

Page 28: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๕

จากบทบัญญัติขางตนเห็นไดวาพระไอยการลักษณมรดกถือหลักเร่ืองการมีศักดินาหรือไมมีศักดินาเปนเกณฑสําคัญในการแบงมรดก คือ ผูตายมีศักดินา ๔๐๐ ไร หรือกวานั้นข้ึนไป ใหแบงมรดกออกเปน ๔ ภาค คือ ภาคหลวง ภาคบิดามารดา ภาคภรรยา และภาคญาติ ทั้งนี้มีขอยกเวนสําหรับพวกที่มีศักดินา ๔๐๐ ไร หรือกวานั้นข้ึนไปไมตองแบงภาคหลวง ถาหาก ๑. ผูตายมีบําเหน็จ หรือบํานาญอยางใดอยางหนึ่งในราชการ

บําเหน็จ คือ คุณความดีความชอบที่กระทําเปนพิเศษเปนครั้งคราว เปนประโยชนอยางมากแกบานเมือง บํานาญ คือ รางวัลในการปฏิบัติราชการดวยดีเสมอมาในการรับราชการ

๒. ผูตายเปนพราหมณ แมจะมีศักดินากวา ๔๐๐ ไรก็ตาม ในสวนภาคหลวงนี้ยังมีเครื่องพัทยาที่ผูตายจะตองคืนหลวงดวย เวนแตผูตายจะมีทั้งบําเหน็จและบํานาญจึงไมตองคืนเครื่องพัทยา เครื่องพัทยา คือ ส่ิงซึ่งพระเจาอยูหัวพระราชทานสําหรับความชอบในตําแหนงหรือเกียรติยศ หรือส่ิงซึ่งพระราชทานพระบรมราชาอนุญาตใหสรางข้ึนใชในการประดับยศแห งตน เชน เครื่องยศ เสล่ียง เรือกันยา หีบหมาก พานทอง นอกจากนี้ ยังมีส่ิงของที่ไดมาจากการสงครามที่พระเจาอยูหัวพระราชทานใหเปน

กฎหมายตราสามดวงฉบับหลวง เครื่องประกอบเกียรติยศ เชน ชาง มา อาวุธ ขาทาษ เปนตนผูตายมีศักดินาต่ํากวา ๔๐๐ ไร ใหแบงมรดกออกเปน ๓ ภาค คือ ภาคบิดามารดา ภาคภริยา และภาคญาติ๗ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

มาตรา ๑๕๙๙ บัญญัติวา “เมื่อบุคคลใดตายมรดกของบุคคลนั้นตกแกทายาท” มาตรา ๑๖๒๙ บัญญัติวา “ทายาทโดยธรรมมีหกลําดับเทานั้น และภายใตบังคับ

แหงมาตรา ๑๖๓๐ วรรคสอง แตละลําดับมีสิทธิไดรับมรดกกอนหลังดังตอไปนี้… (๑) ผูสืบสันดาน (๒) บิดามารดา (๓) พ่ีนองรวมบิดามารดาเดียวกัน (๔) พ่ีนองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน (๕) ปู ยา ตา ยาย (๖) ลุง ปา นา อา”

๗อางแลว, เชิงอรรถที่ ๖, น.๘๓-๘๔.

Page 29: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๖

มาตรา ๑๗๓๔ บัญญัติวา “เจาหนี้กองมรดกชอบแตจะไดรับการชําระหนี้จากทรัพยสินในกองมรดกเทานั้น”

คําวา “ผูสืบสันดาน” ตามมาตรา ๑๖๒๙ (๑) ในที่นี้หมายความวาบุตรที่สืบสาย

โลหิตโดยตรงลงไปจากเจามรดก จําแนกเปนชั้นๆ คือ บุตร หลาน เหลน ล้ือ ในกรณีที่มีผูสืบสันดานหลายชั้นมาตรา ๑๖๓๑ บัญญัติวา “ในระหวางผูสืบสันตางช้ันกัน บุตรของเจามรดกอันอยูในชั้นสนิทที่สุดเทานั้นมีสิทธิรับมรดก ผูสืบสันดานที่อยูช้ันถัดลงไปจะรับมรดกไดก็แตโดยสิทธิการรับมรดกแทนที่” ดังนั้น ทายาทลําดับชั้นหลาน เหลน ล่ือ จะรับมรดกไดโดยเปนผูเขารับแทนบุตรของเจามรดกตามหลักเกณฑวาดวยการรับมรดกแทนที่๘

นอกจากนี้ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา ๑๖๒๗ บัญญัติวา “บุตรนอกกฎหมายที่บิดาไดรับรองแลวและบุตรบุญธรรมใหถือเปนผูสืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย ตามความหมายแหงประมวลกฎหมายนี้” ดังนั้น บุตรบุญธรรมจึงมีสิทธิรับมรดกของผูรับบุตรบุญธรรมในฐานะผูสืบสันดาน ตามมาตรา ๑๖๒๙ (๑) ดวย

จากที่กลาวมาขางตน พระไอยการลักษณมรดกจําแนกผูรับมรดกเปน ๔ ประเภทคือ ๑. ภาคหลวง คือ ผูที่มีศักดินาตั้งแต ๔๐๐ ไรข้ึนไป เวนแต มีคุณสมบัติตามขอยกเวนที่กฎหมายกําหนดก็ไมตองแบงมรดกเขาหลวง ๒. ภาคบิดามารดา ๓. ภาคภรรยา และ ๔. ภาคญาติ หมายความถึง บุตร หลาน เหลน ล่ือ บุตรบุญธรรม พ่ีนองรวมบิดามารดา พ่ีนองตางบิดาหรือตางมารดา ปู ยา ตา ยาย ลุง ปา นา อา (พระไอยการลักษณมรดก บทที่ ๑๐, ๑๑, ๑๒, ๑๖, ๑๗) แตกฎหมายปจจุบันกําหนดทายาทโดยธรรมออกเปน ๖ ลําดับ คือ ๑. ผูสืบสันดาน ๒. บิดามารดา ๓. พ่ีนองรวมบิดามารดาเดียวกัน ๔. พ่ีนองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน ๕. ปู ยา ตา ยาย ๖. ลุง ปา นา อา ซึ่งทายาทโดยธรรมนี้ตรงกับการแบงมรดกภาคญาติตามกฎหมายเกา และกฎหมายใหมแบงการตกทอดมรดกแกคูสมรสไวตางหากอีกสวนหนึ่งมิไดรวมกับการแบงมรดกของทายาทโดยธรรมซึ่งก็มีลักษณะใกลเคียงกับกฎหมายเกาที่แบงการตกทอดมรดกภาคภรรยาแยกออกจากญาติ อยางไรก็ตามกฎหมายปจจุบันกําหนดใหทายาทอยูในลําดับกอนซึ่งยังมีชีวิตอยูมีสิทธิไดรับมรดกทั้งหมดตามหลักญาติสนิทตัดญาติหาง ตางจากกฎหมายเกาที่กําหนดใหแบงมรดกออกเปนสวนทั้ง ๔ ภาค โดยไมมีลําดับการรับมรดกโดยพิจารณาจากความใกลชิดของการสืบสายโลหิต

นอกจากนี้พระไอยการลักษณมรดกกําหนดใหผูที่มีศักดินาตั้งแต ๔๐๐ ไรข้ึนไป ตองแบงมรดกเขาหลวง ซึ่งกฎหมายปจจุบันไมมีการบัญญัติใหมรดกของผูตายตองแบงเขาหลวง เวนแตจะเปนมรดกที่ไมมีผู รับซึ่งกฎหมายปจจุบันกําหนดใหตกเปนของแผนดิน (มาตรา ๑๗๕๓)

๘เพรียบ หุตางกูร, คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดก, พิมพครั้งท่ี

๖, (กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๑), น.๔๘-๔๙.

Page 30: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๗

๒. มรดกของพระภิกษ ุ

พระไอยการลักษณมรดก บทที่ ๓๖ บัญญัติวา “ภิกษุจุติจากอาตมภาพแลคหัถจะปนเอาทรัพยมรดกนั้น

มิได เหตุวาเขาเจตนาทําบุญใหแกเจาภิกษุเปนของอยูในอารามทานแลว ถาเจาภิกษุอุทิศไวใหทานแกคหัถๆ จึ่งรับทานทานได

อนึ่งถาคหัถมรณภาพ บิดาหรือมารดา ญาติพ่ีนองลูกหลานเปนเจาภิกษุอยูในสิกฃาบทแลว จะปนเอาทรัพยมรดกคหัถนั้นมิได เหตุวาเปนบุตรพระเจาแลว ถาคหัถผูมรณภาพนั้นอุทิศไว ถวายสวิญาณกะทรัพยแลอะวิญาณกะทรัพยแกเจาภิกษุผูเปนญาติพ่ีนองลูกหลาน จึ่งรับเอาทรัพยทังนั้นเปนของเจาภิกษุได ถาเจาภิกษุจุติจากอาตมภาพ ทรัพยนั้นคงเปนของในอาราม ผูใดจะวากลาวเอา ทานวาหมิไดเลย”

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๖๒๒ บัญญัติวา “พระภิกษุนั้น จะเรียกรองเอาทรัพยมรดกในฐานะที่

เปนทายาทโดยธรรมไมได เวนแตจะไดสึกจากสมณเพศมาเรียกรองภายในกําหนดอายุความตามมาตรา ๑๗๕๔

แตพระภิกษุนั้น อาจเปนผูรับพินัยกรรมได” มาตรา ๑๖๒๓ บัญญัติวา “ทรัพยสินของพระภิกษุที่ไดมาในระหวางเวลาที่อยูใน

สมณเพศนั้นเมื่อพระภิกษุนั้นถึงแกมรณภาพ ใหตกเปนสมบัติของวัดที่เปนภูมิลําเนาของพระภิกษุนั้น เวนแตพระภิกษุนั้นจะไดจําหนายไประหวางชีวิตหรือโดยพินัยกรรม”

พระไอยการลักษณมรดกบัญญัติมิใหพระภิกษุเปนทายาทโดยธรรมในการรับมรดก เวนแต ผูตายจะมีเจตนาอุทิศไวแกพระภิกษุ และในกรณีที่พระภิกษุมรณภาพใหทรัพยของพระภิกษุนั้นตกเปนของวัด กฎหมายปจจุบันบัญญัติมิใหพระภิกษุเรียกรองเอาทรัพยมรดกในฐานะที่เปนทายาทโดยธรรม ซึ่งนาจะมีผลทางกฎหมายเชนเดียวกัน

สวนกรณีที่พระภิกษุมรณภาพพระไอยการลักษณมรดกกําหนดใหทรัพยมรดกนั้นเปนของวัดผูใดจะมาเรียกรองมิได โดยมิไดจําแนกทรัพยมรดกวาส่ิงใดไดมากอนหรือระหวางที่อยูในสมณเพศ เหมือนดังกฎหมายปจจุบันที่กําหนดไวเฉพาะทรัพยมรดกที่ไดมาในระหวางที่เปนพระภิกษเทานั้นจึงจะตกเปนสมบัติของวัดที่เปนภูมิลําเนาเทานั้น

๓. การเสียสิทธิในการรับมรดก

พระไอยการลักษณมรดก บทที่ ๔๓ บัญญัติวา “ถาแลญาติพ่ีนองบุตรภิริยาทําบาญชียมรดก แลมรดกนั้น

แกวแหวนทองเงินสรรพทรัพยสิ่งใดนั้นมากก็ดี แลเครื่องสรรพาวุธพัทยาแลสมพลทังปวงนั้นมากก็ดี แลผูรักษาทรัพยมรดกนั้นยักยายเบียดบังไวทําบาญชียมรดกนั้นนอย แลสมุหะมรดกนั้นสืบสวนเปนสัจวาคงมีบาญชียมรดกโดยมาก บุตรภิริยาญาติพ่ีนองหากยักยายซอนเนบไวใหบาญชียคงแตนอย ทานวามันโลภหมิซื่อตรงตอญาติพ่ีนอง มันจึ่งยักยายอําพรางเบียดบังเอาไววาส่ิงของนั้นนอย ทานวาอยาใหไดสวนแบงปนซึ่งแบงไวนั้นเลย”

Page 31: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๘

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๖๐๕ บัญญัติวา “ทายาทคนใดยักยาย หรือปดบังทรัพยมรดกเทาสวนที่

ตนจะไดหรือมากกวานั้นโดยฉอฉลหรือรูอยูวา ตนทําใหเส่ือมประโยชนของทายาทคนอื่น ทายาทคนนั้นตองถูกกําจัดมิใหไดมรดกเลย แตถาไดยักยายหรือปดบังทรัพยมรดกนอยกวาสวนที่ตนจะได ทายาทคนนั้นตองถูกกําจัดมิใหไดมรดกเฉพาะสวนที่ไดยักยายหรือปดบังไวนั้น”

พระไอยการลักษณมรดกบัญญัติเร่ืองการกําจัดมิใหทายาทหรือผูรักษาทรัพยมรดกที่ยักยายหรือปดบังทรัพยมรดก พฤติการณดังกลาวยอมถือวาทายาทหรือผูรักษาทรัพยมรดกมีเจตนาฉอฉลใหทายาทหรือผูมีสิทธิรับมรดกอื่นเสื่อมประโยชน ซึ่งกฎหมายปจจบุนับญัญตัิเร่ืองการกําจัดมิใหทายาทผูมีพฤติกรรมฉอฉลเบียดบังทรัพยมรดกมิใหรับมรดกแตไดบัญญัติเพ่ิมเติมวา หากทายาทคนใดยักยาย หรือปดบังทรัพยมรดกนอยกวาสวนที่ตนควรจะได จะถูกกําจัดใหรับมรดกเฉพาะสวนที่ไดยักยายหรือปดบังมิไดกําจัดมิใหรับมรดกซึ่งแตกตางจากกฎหมายเกา นอกจากนี้กฎหมายปจจุบันมิไดมีผู รักษาทรัพยมรดก แตนาจะมีความหมายใกลเคียงกับผูจัดการมรดก

๔. มรดกที่ไมมีผูรับ

พระไอยการลักษณมรดก

บทที่ ๔ บัญญัติวา “ถาบิดามารดาผูมรณภาพนั้นหามิไดแลทรัพยสิ่งของทาษกรรมกรชายหญิงอันเปนเครื่องบริโภคทังปวงนอกกวาเครื่องสรรพาวุธพัทยาท่ีเปนของหลวงนั้น ใหแบงปนออกเปนสามภาคๆ หนึ่งเขาพระคลังหลวง ภาคหนึ่งใหแกพ่ีนองลูกหลานแลญาติผูถึงมรณภาพ ภาคหนึ่งใหแกพิริยา ถาแลผูมรณภาพนั้นหาแมเจาเรือนมิไดใหยกไวเปนของหลวง”

บทที่ ๔๘ บัญญัติวา “เศษฐีคฤหบดีผูมีทรัพยสิ่งสีนแลถึงแกมรณภาพ หาญาติพ่ีนองพงษามิได ทานใหเอาทรัพยสิ่งสีนแกวแหวนเงินทองชามาขาคนเครื่องบริโภคทั้งปวงนั้นเขาทองพระคลังหลวง...”

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๗๕๓ บัญญัติวา “ภายใตบังคับของเจาหนี้กองมรดกเมื่อบุคคลใดถงึแก

ความตาย โดยไมมีทายาทโดยธรรมหรือผูรับพินัยกรรม หรือการตั้งมูลนิธิตามพินัยกรรม มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกแผนดิน”

พระไอยการลักษณมรดก หากผูตายมีทรัพยมรดกและไมมีทายาทผูรับมรดกตามกฎหมาย หรือหากเจามรดกที่เปนชายตายโดยที่ยังไมมีพิริยาหรือแมเจาเรือน ใหทรัพยมรดกตกเปนของพระคลังหลวง กฎหมายปจจุบันบัญญัติไวในลักษณะเชนเดียวกัน คือ หากผูตายไมมีทายาทโดยธรรมมรดกนั้นยอมตกเปนของแผนดิน ซึ่งหมายความวา ทรัพยมรดกอาจตกเปนของแผนดินทั้งหมดหรือบางสวนก็ได๙

๙ อางแลว, เชิงอรรถที่ ๖, น. ๘๘-๘๙.

Page 32: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๒๙

พระอัยการลักษณวิวาทดาตีกัน

พระอัยการลักษณะวิวาทดาตีกัน เปนกฎหมายที่บัญญัติเก่ียวกับการวิวาทดาตีกัน การทํารายซึ่งกันและกัน การหมิ่นประมาท เปนตน ซึ่งในตัวพระอัยการระบุวาตราขึ้นในป มหาศักราช ๑๓๖๙ ซึ่งตรงกับป พ.ศ. ๑๙๙๒ กฎหมายฉบับนี้มีเพียง ๔๖ บท (มาตรา) และถูกยกเลิกเมื่อใชกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.๑๒๗ ในป พ.ศ.๒๔๕๑ เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายอาญาที่ใชกันอยู ณ ปจจุบัน จะเห็นไดวามีบางมาตราที่ไดรับอิทธิพลมาจากพระอัยการลักษณะวิวาทดาตีกันนี้ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

๑. หลักการยกเวนโทษแกเด็กอายุ ๗ ขวบและคนชราอายุ ๗๐ ป พระอัยการลักษณวิวาทดาตีกัน

บทที่ ๑๐ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง เดกตอเดกวิวาทตีกัน ใหพอหรือแมหามปราม ถาพอหรือแมเดกฝายขางหนึ่งไปตีบุตรทานฝายขางหนึ่งไซ ใหไหมผูตีนั้นโดยกรมศักดิทวีคูน เหตุวาเดกมิรูผิดแลชอบ ถาเดกตีกันมีบาทเจบไซ ใหพิเคราะดูเดกผูตีหรือผูเจบนั้น ถาเทากันอยาใหมีโทษแกมันเลย เหดุเปนเดกดวยกัน ถาเดกผูตีผูใหญไซใหทําขวันเสียคาน้ํามันใหแกมันผูนอย”

กฎหมายตราสามดวงฉบับหลวง

อนึ่งเดก ๗ เขาเถา ๗๐ เปนคนหลงใหลไปดาหรือตีทานๆมิใหปรับไหมมีโทษ แตใหนายบานนายเมืองชวยวากลาวใหสมักสมาผูเจบนั้นโดยควร”

ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๗๓ บัญญัติวา “เด็กอายุยังไมเกินเจ็ดป กระทําการอันกฎหมายบัญญัติเปนความผิด เด็กนั้นไมตองรับโทษ” การที่กฎหมายยกเวนโทษแกเด็กอายุไมเกินเจ็ดป เนื่องจากเด็กเปนผูที่ยังไมสามารถแยกแยะการกระทําถูกผิดได ยังไมมีความรูผิดชอบเพียงพอถือเปนผูที่ขาดความสามารถในการกระทําช่ัว จึงยกเวนโทษให ซึ่งตามพระอัยการลักษณะวิวาทดาตีกัน ยกเวนโทษใหเด็กอายุเจ็ดขวบและคนชราอายุเจ็ดสิบปข้ึนไปแตเฉพาะการทะเลาะวิวาทตีกันระหวางเด็ก หรือเด็กตีผูใหญเทา หรือคนชราอายุเจ็ดสิบปข้ึนไปดาตีผูอ่ืนเทานั้นมิไดยกเวนโทษในทุกเร่ือง หากแตตามประมวลกฎหมายอาญาไดยกเวนโทษเด็กไวทุกความผิด นอกจากนี้ประมวลกฎหมายอาญายกเวนโทษใหเฉพาะแกเด็กอายุเจ็ดขวบเทานั้น สวนคนชรากฎหมายมิไดยกเวนโทษให จึงอาจที่จะยกการยกเวนโทษสําหรับคนวิกลจริตตามมาตรา ๖๕ มาปรับใชถาหากวาคนชรากระทําผิดเพราะจิตบกพรองหรือจิตฟนเฟอน

Page 33: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๐

๒. หลักการยกเวนโทษสําหรับบุคคลวิกลจริต

พระอัยการลักษณวิวาทดาตีกัน

บทที่ ๑๕ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง คนบาเขาบานทานตีฟนแทงคนดีตาย จะไหมบาไซทานวามิชอบ เพราะวาบาหาตําแหนงแบงสัจมิได ทานวาใหพอแมพ่ีนองเผาพันธุบาใชก่ึงเบิย้ปลูกตัวผูตาย ใหเวนบานั้นไปใหแกพอแมพ่ีนองเผาพันธุบานั้นจึ่งชอบ ถามันตีมีบาทเจบไซ หาโทษมิได ถาที่เปนที่ไรนาปาดงพงแขมเปนที่อยูแหงคนผูสูงอายุศมแลคนพิกลจริตบาใบผูใดเขาไปในที่มันอยูมันฟนแทงมีบาทเจบแลตายก็ดี ถาพบปะมันกลางถนนหนทางมิไดหลีกแลมันฟนแทงบาทเจบถึงตายก็ดี จะเอาโทษแกมันมิไดเลย ใหโฆษนาแกนครบาลใหจับเอาตัวมันจําจองไวจนกวาจะสิ้นกําม” ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๖๕ บัญญัติวา “ผูใดกระทําความผิด ในขณะไมสามารถรูผิดชอบ หรือไมสามารถบังคับตนเองไดเพราะมีจิตบกพรอง โรคจิตหรือจิตฟนเฟอน ผูนั้นไมตองรับโทษสําหรับความผิดนั้น แตถาผูกระทําความผิดยังสามารถรูผิดชอบอยูบาง หรือยังสามารถบังคับตนเองไดบาง ผูนั้นตองรับโทษสําหรับความผิดนั้น แตศาลจะลงโทษนอยกวาที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได”

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๒๙ บัญญัติวา “บุคคลใดแมไรความสามารถเพราะเหตุเปนผูเยาวหรือวิกลจริตก็ยังตองรับผิดในผลที่ตนทําละเมิด บิดามารดาหรือผูอนุบาลของบุคคลเชนวานี้ยอมตองรับผิดรวมกับเขาดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกหนาที่ดูแลซึ่งทําอยูนั้น” จะเห็นวาตามพระอัยการลักษณวิวาทดาตีกันเรียกบุคคลวิกลจริตวา คนบา เหตุที่ไมลงโทษผูกระทําผิด ซึ่งเปนบุคคลวิกลจริตเพราะบุคคลดังกลาวเปนผูที่ไมสามารถรูผิดชอบและไมมีความสํานึกในการกระทําของตน จึงไมมีประโยชนที่จะลงโทษบุคคลดังกลาว ซึ่งเปนที่ยอมรับหลักการดังกลาวมาแตอดีตแลว สําหรับการลงโทษในอดีตนั้นใหนําตัวไปกักขังไว ซึ่งในปจจุบันบุคคลวิกลจริตไมตองรับผิดในทางอาญา แตยังตองรับผิดในทางแพงซึ่งในอดีตตามพระอัยการลักษณะวิวาทดาตีกันใหพอแมของคนวิกลจริตตองรับผิดในคาปลงศพของผูที่ถูกคนวิกลจริตทํารายถึงตายจึงเหมือนกับความรับผิดเพื่อความละเมิดตามกฎหมายแพงและพาณิชย ที่ใหบุคคลวิกลจริตยังตองรับผิดในผลที่ตนกระทําและใหบิดามารดาหรือผูอนุบาลรวมรับผิดกับเขาดวย ๓. การหมิ่นประมาท

พระอัยการลักษณวิวาทดาตีกัน

บทที่ ๓๗ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ดาสบประมาททานใหไดความอายวามึงทําชูดวยแมมึงๆ ทําชูดวยพอมึงๆ ทําชูดวยลูกมึงๆ ทําชูดวยหลานมึง ถาเปนสัจดั่งมันดา อยาใหมี

Page 34: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๑

โทษแกผูดานั้นเลย ใหลงโทษแกมันผูทํากระลีลามกนั้นโดยบทพระอายการ ถาพิจารณาเปนสัจวามันแกลงดาทานใหไดอาย ใหไหมกึ่งคาตัวตามกระเศียรอายุศมผูตองดา อนึ่งดาทานวามึงเปนชูกูกอนมึงเปนขากูกอนก็ดี พิจารณาเปนสัจวามันแกลงดาทานใหไดความอายอดสูดั่งนั้น เปนสบประมาทใหไหมกึ่งคา ถาจริ่งดุจมันดาไซก็ใหไหมกึ่งนั้นลงมาเลา ถาดาส่ิงอ่ืนเปรียบเทียบทาน พิจารณาเปนสัจ ทานวามันดาหมูประทามันดาหมาประเทียบใหไหมโดยเบี้ยคาตัวเอาแตก่ึงหนึ่ง กลาวลักษณวิวาทดากันใหปรับไหมโดยสังเขปแตเทานี”้

ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๓๒๖ บัญญัติวา “ผูใดใสความผูอ่ืนตอบุคคลที่สาม โดยประการที่นาจะทําใหผูอ่ืนนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผูนั้นกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” มาตรา ๓๓๐ บัญญัติวา “ในกรณีหมิ่นประมาท ถาผูถูกหาวากระทําความผิด พิสูจนไดวาขอหาท่ีวาเปนหมิ่นประมาทนั้นเปนความจริงผูนั้นไมตองรับโทษ แตหามมิใหพิสูจน ถาขอที่หาวาเปนหมิ่นประมาทนั้น เปนการใสความในเรื่องสวนตัว และการพิสูจนจะไมเปนประโยชนแกประชาชน” จะเห็นไดวาการหมิ่นประมาทตามพระอัยการลักษณวิวาทดาตีกัน ถาหากเปนการใสความผูอ่ืนเรื่องชูสาวระหวางเครือญาติ ถาเปนความจริงผูใสความไมมีความผิด แตผูทําชูกันกลับมีความผิดเพราะกฎหมายเห็นวาเปนกาลีแกบานเมือง ถาเปนการแกลงดาใหไดรับความอับอายอดสูดั่งเปนการสบประมาทใหมีความผิดตองถูกปรับไหม สวนการใสความในเรื่องอ่ืนๆนั้นขอความที่ใสความนั้นจะเปนความจริงหรือเท็จ ผูใสความลวนแตมีความผิด จะตองถูกปรับไหมทั้งส้ิน สวนประมวลกฎหมายอาญานั้น ผูกลาวหาจะตองพิสูจนวาขอหาที่หมิ่นประมาทนั้นเปนความจริง จึงไมตองรับโทษ แตหากเปนเรื่องสวนตัวและเปนเรื่องที่ไมเปนประโยชนตอประชาชนหามมิใหพิสูจน

Page 35: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๒

พระไอยการลักขณโจร

พระไอยการลักขณโจรตราขึ้นโดยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง) เมื่อพุทธศักราช ๑๙๐๓ และถูกยกเลิกเมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๑ โดยกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ ซึ่งกฎหมายลักษณะโจรนี้มีหลักกฎหมายทั้งในสวนที่เปนกฎหมายสารบัญญัติและกฎหมาย วิธีสบัญญัติรวมกัน เชนนี้ ในการศึกษาพระไอยการลักขณโจรเปรียบเทียบกับกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบันจึงสามารถศึกษาแยกตามลักษณะของกฎหมาย ดังนี้

พระไอยการลักขณโจร

๑. ความผิดตอศาสนา ความผิดตอศาสนาตามพระไอยการลักขณโจรแยกไดเปนการกระทําตอวัตถุอัน

เปนที่เคารพในพระศาสนาหรือตอพระสงฆ ซึ่งเปนผูสืบพระศาสนา ดังมีการกระทําดังตอไปนี ้พระไอยการลักขณโจร บทที่ ๔๗ บัญญัติวา “ผูใดทุจริตรจิตรบาปหยาบชาเปนโจรลักเอาองคพระพุทธิ

รูปทอง, หนาก, เงีน, แกว, สําฤท, ทองแดงหรือดีบุก แลส่ิงใดซึ่งเปนรูปพระปติมากอรอยูนั้นไปขาย หรือทําลายก็ดี เอาไปหมีทันขายแลเอาไปหมีทันทําลายจับไดที่ใด ๆ ก็ดี ใหเกาะกุมมนัมาถามเอาพวกเพื่อนรูเหนเปนเพื่อนซื้อขายทําดวยกันจงได ถาเปนสัจโดยคําโจรใหทวนดวยลวดหนังคล ๖๐ ที ใหตัดตีนสีนมือพวกเพื่อนทังนั้นเสีย แลวใหไหมเปนเบี้ยคล ๗๐๐๐๐๐ บุณพระพุทธรูปนั้น สวรโจรแลพวกมันนั้นใหฆาเสียไชบาปมันจงลางแลว”

บทที่ ๔๘ บัญญัติวา “ถาโจรมันเอาพระพุทธรูปไปลางไปเผาสํารอกเอาทองก็ดี เอาพระบทไปสํารอกแชน้ําเอาผาไปก็ดี ใหเอามันใสเตาเพลีงสูบมันเสียดั่งมันทําแกพระนั้นบาง ไชบาปมันจงลางแลว”

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๐๖ บัญญัติวา “ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ แกวัตถุหรือสถานอันเปน

ที่เคารพในทางศาสนาของหมูชนใด อันเปนการเหยียดหยามศาสนานั้น ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงเจ็ดป หรือปรับตั้งแตสองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”

มาตรา ๓๓๕ ทวิ บัญญัติวา “ผูใดลักทรัพยที่เปนพระพุทธรูปหรือวัตถุในทางศาสนา ถาทรัพยนั้นเปนที่สักการะบูชาของประชาชน หรือเก็บรักษาไวเปนสมบัติของชาติ หรือสวน

Page 36: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๓

หนึ่งสวนใดของพระพุทธรูปหรือวัตถุดังกลาว ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบป และปรับตั้งแตหกพันบาทถึงสองหมื่นบาท

ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก ไดกระทําในวัด สํานักสงฆ สถานอันเปนที่เคารพในทางศาสนา โบราณสถานอันเปนทรัพย สินของแผนดิน สถานที่ ราชการหรือพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงสามหมื่นบาท”

เนื่องจากพระพุทธศาสนามีความสําคัญตอสังคมไทยตั้งแตอดีตจวบจนถึงปจจุบัน ดังนั้น บทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับศาสนาจึงตกทอดมาโดยตรงและนํามาบัญญัติอยูในประมวลกฎหมายอาญาในมาตราดังกลาวนั่นเอง

๒. การลักทรัพยระหวางคูสมรสและเครือญาติ พระไอยการลักขณโจร บทที่ ๑๔๖ บัญญัติวา “มาตราหนึ่ง ลูกเขยลักทรัพยสิ่งของสิ่งใด ๆ ของพอตา

แมยาย ๆ ลักทรัพยของลูกเขย แลลูกษะใภลักทรัพยของพอผัวแมผัว ๆ ลักทรัพยของลูกษะใภ ลูกลักทรัพยของพอแม ๆ ลักทรัพยของลูก นาลักทรัพยของหลาน ๆ ลักทรัพยของนา ลุงตาปูหญาอาวอาลักทรัพยหลาน ๆ ลักทรัพยลุงตาปูหญาอาวอา พ่ีลักทรัพยของนอง ๆ ลักทรัพยของพี่ ประการเทานี้ทานวาใชอ่ืน เขาทรัพยเร่ืองเดียวกันยากไรเขาเสียกันมิได ใหคืนแตทรัพยสิ่งของนั้นใหแกกัน จลงโทษและปรับไหมใหแกกันดั่งฉันผูอ่ืนมิได

อนึ่งผัวเมียลักทรัพยสิ่งของกันเอง ทานมิใหเอาโทษดั่งฉันผูอ่ืนเลย แมนลักแลวจะหยา แบงทรัพยกันก็ใหบังคับใหโดยขนาด ถาญาติเขยษะใภทังหลายก็ดุจเดียวกัน

กลาวมาดวยลักษณโจร อันเปนลหุโทษ ส้ินอยูแตเทานี”้

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๑ บัญญัติวา “ความผิดตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๓๓๔ ถึงมาตรา ๓๓๖

วรรคแรก และมาตรา ๓๔๑ ถึงมาตรา ๓๖๔ นั้น ถาเปนการกระทําที่สามีกระทําตอภริยา หรือภริยากระทําตอสามี ผูกระทําไมตองรับโทษ

ความผิดดังระบุมานี้ ถาเปนการกระทําที่ผูบุพการีกระทําตอผู สืบสันดาน ผูสืบสันดานกระทําตอผูบุพการี หรือพ่ีหรือนองรวมบิดามารดาเดียวกันกระทําตอกัน แมกฎหมายมิไดบัญญัติใหเปนความผิดอันยอมความได ก็ใหเปนความผิดอันยอมความไดและนอกจากนั้น ศาลจะลงโทษนอยกวาที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได”

จะเห็นไดวาในประมวลกฎหมายอาญานั้นบัญญัติยกเวนโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพยบางมาตราเฉพาะที่สามีกระทําตอภรรยา หรือภรรยากระทําตอสามี สวนความผิดเกี่ยวกับทรัพยที่กระทําตอกันระหวางเครือญาตินั้น ประมวลกฎหมายอาญามิไดยกเวนโทษให เพียงแตกําหนดวาถาความผิดที่กระทํานั้นไมใชความผิดอันยอมความได ก็ใหถือวาเปนความผิดอันยอมความได ถาหากคูกรณีไมยอมความกัน ศาลจะลงโทษผูกระทําความผิดนอยกวาที่กฎหมายกําหนดเพียงใดก็ได นอกจากนี้ เครือญาติผูไดรับประโยชนตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๗๑ ยังจํากัดไวเพียงผูบุพการี ผูสืบสันดาน พ่ีนองรวมแตบิดามารดาเดียวกันเทานั้น แสดงใหเห็นวา

Page 37: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๔

หลักการยกเวนโทษในกรณีการลักทรัพยระหวางสามีภรรยาตามประมวลกฎหมายอาญานั้นเปนหลักกฎหมายที่ไดรับอิทธิพลมาจากพระไอยการลักขณโจร แตเนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยทําใหลักษณะครอบครัวในสังคมไทยมีขนาดเล็กลง ความใกลชิดในหมูเครือญาติจึงลดนอยลงไปดวย กฎหมายจึงตองบัญญัติรองรับใหเหมาะสมกับสภาพการณดังกลาว

Page 38: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๕

การปฏิรูปกฎหมายไทยภายหลังกฎหมายตราสามดวง ภายหลังจากมีการตรากฎหมายตราสามดวงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา

จุฬาโลกมหาราชแลว กฎหมายดังกลาวมีผลใชบังคับเรื่อยมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวซึ่งอยูในชวงวิกฤตการณลาอาณานิคมชาติตะวันตก ทําใหประเทศไทยเสียเอกราชทางศาลเปนผลใหมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายและบัญญัติกฎหมายใหมออกมาจํานวนมากเพ่ือพัฒนาประเทศใหเปนอารยะและเพื่อใหไดเอกราชทางศาลกลับคืนมา การปฏิรูปกฎหมายดังกลาวทําอยางตอเนื่องจนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงมีดําริใหมีการชําระกฎหมายไทยใหเปนระบบประมวลกฎหมายตามแบบอยางชาติตะวันตกซึ่งถือเปนจุดเปลี่ยนสําคัญทําใหประเทศไทยเขาสูยุคกฎหมายสมัยใหมดังที่เปนอยูในปจจุบัน

๑. การปฏิรูปกฎหมายสมัยรัชกาลที่ ๔

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ประเทศทางยุโรปเรืองอํานาจ ทําใหประเทศไทยตองประสบปญหาเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต จึงจําเปนตองปรับปรุงระบบกฎหมายใหทันสมัย โดยการรับแนวคิดของกฎหมายจากตะวันตกเขามา ซึ่งสมัยนี้ถือวาเปนช วงที่ เ ร่ิมนํ ากฎหมายสมัยใหม เข ามาใช กับสังคมไทย โดยมีการประกาศใชกฎหมายรวมกวา ๕๐๐ ฉบับ ซึ่งกฎหมายที่ประกาศใชในเวลา

ราชกิจจานุเบกษาฉบับแรกในสมัยรัชกาลที่ ๔ นั้นเพื่อแกไขปญหาเฉพาะเรื่องและเพ่ือปรับเปลี่ยนความคิดของคนไทยใหทัดเทียมอารยประเทศดวย เพราะกฎหมายเดิมบางบทเปนกฎหมายที่ลาสมัยและยุงยาก บางบทไมเที่ยงธรรม หรือรุนแรงเกินสมควร๑๐

๒. การปฏิรูปกฎหมายสมัยรัชกาลที่ ๕ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชประสงคที่จะ

พัฒนาประเทศไทยใหเจริญกาวหนาตามแบบตะวันตกนิยม จึงทรงปรับปรุงในทุกดานเพื่อใหเจริญตามมาตรฐานตางประเทศ และเพ่ือแกไขขอบกพรองหละหลวมตางๆ จึงไดมีประกาศวาดวยพระราชบัญญัติเคานซิลออฟสเตด ไดจัดตั้งคณะที่ปรึกษาราชการแผนดินข้ึนในลักษณะเดียวกันกับ “สภาท่ีปรึกษาแหงรัฐ” (Council of State หรือ Conseil d’État)

“เคานซิลออฟสเตด” จะประกอบดวย พระบาทสมเด็จพระเจาแผนดินเปน “เปรสสิเดน” และประกอบดวย “เคานซิลลอรออฟสเตด (Councillors of State) จํานวน ๑๐ - ๒๐ คน ซึ่งจะทรงแตงตั้งจากราชตระกูล และขาราชการซึ่งมีตระกูลและสติปญญา รอบรู ในราช

๑๐ อางแลว, เชิงอรรถที่ ๑, น. ๑๔๙-๑๕๒.

Page 39: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๖

กิจการตางๆ และให “เคานซิลลอรออฟสเตด” เลือกผูหนึ่งในยี่สิบคนนั้นข้ึนไปเปน “ไวซเปรสิเดน” (Vice–President) เพ่ือไวเปนที่สองรองจากพระเจาแผนดินในเวลาที่พระองคไมไดเสด็จออกปรึกษาราชการแผนดิน

อํานาจหนาที่ของคณะที่ปรึกษาราชการแผนดิน (เคานซิลออฟสเตด) ๒ ประการ คือ

๑ . เปนที่ปรึกษาของพระองคในการบริหารราชการแผนดิน และในการรางกฎหมาย

๒. พิจารณาเรื่องที่ราษฎรได รับความเดือดรอน๑๑

อยางไรก็ตาม การดําเนินงานของคณะที่ปรึกษาราชการแผนดินยังไมเปนไปตามพระราชประสงค พระองคจึงทรงไดโปรดเกลาฯ ใหยกเลิกพระราชบัญญัติเคานซิลออฟสเตด จ.ศ. ๑๒๓๖ (พ.ศ. ๒๔๑๗) นั้นเสียใน ร.ศ. ๑๑๓ (พ.ศ. ๒๔๓๗)

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาในอดีต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเจาอยูหัวไดทรงเริ่มตนการปฏิรูประบบกฎหมายไทย

ตามหลักกฎหมายของประเทศตะวันตกอยางจริงจัง ในป พ.ศ. ๒๔๔๐ ทรงโปรดเกลาฯ ใหหาผูเช่ียวชาญทางกฎหมายจากตางประเทศเขามารับราชการหลายคน เชนนายโรแลง ยัคแมงค (Rolin Jacquemyns) นายริชารด เกิกแปตริก (Richard Kirkpatrik) และนายโตกิจิ มาเซา (Tokichi Masao) เพ่ือเปนกรรมการตรวจชําระพระราชกําหนดบทอัยการเกาใหม จัดทําเปนประมวลกฎหมายขึ้น โดยมีความมุงหมายสองประการ คือ

๑. เพ่ือรวบรวมกฎหมายที่กระจัดกระจายอยู เขาเปนหมวดหมูมาตรา ยกเลิกบทกฎหมายที่พนสมัย คัดเอากฎหมายที่ขัดแยงกันออกเสีย บัญญัติตัวบทกฎหมายขึ้นใหมตามหลักกฏหมายอันแพรหลายที่นิยมกันเพื่อใหกฎหมายสอดคลองกับภาวะสังคมสมัยใหม

๒ เพ่ือจะเลิกศาลกงศุลที่มี “สิทธิสภาพนอกอาณาเขต” ใหหมดไป ๓. การปฏิรูปกฎหมายตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๖ เปนตนมา

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงแตงตั้งกรรมการฝายไทยเพิ่มข้ึนป พ.ศ. ๒๔๕๙ จนกระทั่งวันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ ไดมีประกาศตั้งกรมราง

๑๑ คณะกรรมการกฤษฎีกา, สํานักงาน, “พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว:พระ

บิดาแหงกฎหมายมหาชน (องคผูใหกําเนิดสถาบันที่ปรึกษาราชการแผนดินและปฏิรูประบบกฎหมายไทย)” หนังสือ ๑๒๐ เคานซิลออฟสเตดจากที่ปรึกษาราชการแผนดินมาเปนคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๔๑๗-พ.ศ. ๒๕๓๗, (กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ๒๕๓๗), น. ๙.

Page 40: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๗

กฎหมายโดยยกกองกรรมการชําระประมวลกฎหมายขึ้นเปนกรมชั้นอธิบดีสังกัดในกระทรวงยุติธรรม โดยมิไดมีหนาที่ชําระประมวลกฎหมายแตอยางเดียวแตมีหนาที่รางกฎหมายอื่นๆ ดวย

ตอมาเมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดมีประกาศพระบรมราชโองการให

โอนกรมรางกฎหมายในกระทรวงยุติธรรมมาขึ้นตอคณะกรรมการราษฎร เพ่ือความสะดวกในการดําเนินการตรากฎหมาย และในปถัดมามีการตราพระราชบัญญัติวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๔๗๖ ใหโอนงานของกรมรางกฎหมายมาเปนงานของคณะกรรมการกฤษฎีกา โดย มุงหมายใหคณะกรรมการกฤษฎีกาทําหนาที่รางกฎหมายและพิจารณาคดีปกครอง การดําเนินงานในสวนการรางกฎหมาย ใหคณะกรรมการกฤษฎีกาจัดทํารางกฎหมายตามคําส่ังของคณะรัฐมนตรี และตามคํารองขอของสภาผูแทนราษฎร โดยแตงตั้ งกรมรางกฎหมายหรือเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือที่ปรึกษากฎหมายชาวฝรั่งเศสใหเปนกรรมาธิการดวย

ความแตกตางระหวางการจัดทํากฎหมายตราสามดวงและกฎหมายสมัยใหม

มีดังน้ี ๑. ในกฎหมายตราสามดวงนั้นมิไดจัดหมวดหมู และลําดับเรื่องของกฎหมายไว

เชน กฎหมายลักษณะมรดก ไมไดแบงหมวดออกเปนการตกทอดแหงทรัพย การเปนทายาท การตัดมิใหรับมรดก เปนตน ซึ่งกฎหมายจะเขียนกระจัดกระจาย ไมลําดับเหตุการณอยางเชนกฎหมายปจจุบัน

๒. กฎหมายตราสามดวงมีที่มาจากการรวบรวมกฎหมายซึ่งใชอยูในกรุงศรีอยุธยาใหเปนกฎหมายลายลักษณอักษรเพื่อความชัดเจนในการปรับใชกฎหมายอยางถูกตอง ซึ่งมิไดมีการแตงเติมหรือยกรางข้ึนใหมเพราะเชื่อวากฎหมายหรือหลักธรรมมิใชส่ิงที่มนุษยจะสรางข้ึนมาได ตางกับกฎหมายสมัยใหมซึ่งการยกรางประมวลกฎหมายนั้นมุงเนนถึงการบัญญัติกฎหมายที่มีความสอดคลองกับแนวคิดสมัยใหมที่กําลังมีอิทธิพลมากขึ้นและบทบัญญัติของกฎหมายใหมนั้นสามารถแกไขและเพิ่มเติมกฎหมายใหเทาทันกับสภาพสังคมที่เปล่ียนไปได

๓. โดยสวนใหญแลวการจัดทํากฎหมายสมัยใหมจะตองมีความรูในสาขาวิชาการตางๆไมเฉพาะทางนิติศาสตรเทานั้น เพราะการบัญญัติกฎหมายที่ดีนั้นจะตองสอดคลองและใชบังคับไดผลดีกับสภาพสังคมที่อาจเปลี่ยนแปลงไปในภายหนา แมอาจกลาวไดวาประมวลกฎหมายของไทยปจจุบันจะเปนการรวบรวมกฎหมายเชนเดียวกับกฎหมายตราสามดวงก็ตาม แตวัตถุประสงคของการรวบรวมนั้นแตกตางกัน และความสัมพันธกันของตัวบทกฎหมายในแตละบรรพ แตละลักษณะนั้นแตกตางกันโดยสิ้นเชิง จะเห็นไดวากฎหมายตราสามดวง แตละพระไอยการนั้นจะมีลักษณะเปนเรื่องเฉพาะเทานั้น มิไดมีความสัมพันธและสอดคลองกับพระไอยการลักษณะอื่น อีกทั้งมิไดมีบททั่วไปที่เปนหลักการ โดยสวนใหญแลวจะเปนจารีตประเพณีและวิถีปฏิบัติของชาวบานโดยแท รวมถึงความเชื่อทางศาสนาเขามาปะปนมากกวาที่จะมีหลักเกณฑทางนิติศาสตรดังเชนปจจุบัน

๔. ถอยคําในกฎหมายตราสามดวงสวนใหญเปนถอยคําสามัญที่มีความหมายตรงไปตรงมา เชน คําวา “มัน” ในกฎหมายอาญา ใชเรียกสําหรับผูกระทําความผิดทางอาญา คําที่

Page 41: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๘

ใชเรียกจําเลยในคดีอาญาวา “อาย”หรือ “อี” ซึ่งบางถอยคําในกฎหมายยาวไป หรือมีภาษาพูดปะปน สวนกฎหมายสมัยใหมนั้นมักจะใชถอยคําที่กะทัดรัด ไมวกวน เขาใจงาย มีความหมายแนนอน และหากเปนศัพทเทคนิคทางกฎหมายจะมีบทวิเคราะหศัพทอธิบายความหมายของคํานั้นๆ

๕. ในกฎหมายสมัยใหมนั้นไดรับรองศักดิ์ศรีและความเทาเทียมกันของมนุษย เชน ในเรื่องสิทธิของสตรี ไดมีประกาศยกเลิกบทบัญญัติของกฎหมายที่ใหบิดามารดา หรือสามีขายบุตร หรือภรรยาลงเปนทาสโดยเจาตัวไมสมัครใจเพื่อนําเงินมาชําระหนี้ ซึ่งในกฎหมายตราสามดวงนั้นมีบทบัญญัติที่ใหสิทธิแกฝายชายมากกวา เชนพระไอยการลักษณผัวเมีย บัญญัติใหชายมีภรรยาไดหลายคน นอกจากนี้ในกฎหมายสมัยใหมยังใหสิทธิแกสามีและภรรยาในการจัดการสินสมรสไดรวมกัน แตในกฎหมายตราสามดวงนั้นสามีจัดการสินสมรสไดเพียงฝายเดียว

๖. การรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของทรัพยสินของเอกชน แมวาความคิดในเรื่องสิทธิในทรัพยสินจะเปนเรื่องที่รับรูมาตั้งแตกฎหมายเดิมแลว แตกฎหมายสมัยใหมนี้ก็ใหการรับรองและยืนยันในความคิดนี้ใหเดนชัดขึ้น จนกลายมาเปนหลักกฎหมายที่สําคัญวาดวยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน

๗. ความคิดเกี่ยวกับกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความ กฎหมายสมัยใหมไดกําหนดหลักไววา ไมมีโทษโดยไมมีกฎหมาย คือเจาหนาที่ของรัฐจะจับกุมลงโทษบุคคลใดไดตองปรากฏวาการกระทําของบุคคลนั้นมีกฎหมายบัญญัติไวโดยชัดแจงวาเปนความผิดและกําหนดโทษไว สําหรับการพิจารณาคดีอาญา กฎหมายสมัยใหมคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและยังมีหลักที่วา การพิจารณาคดีตองเปดเผย ฟงความทุกฝาย และผูตองหาหรือจําเลยเปนผูบริสุทธิ์จนกวาจะไดพิสูจนวาผูนั้นกระทําความผิดจึงจะลงโทษได แตกฎหมายสมัยเดิมนั้นใชวิธีการทรมานรางกาย ขมขูใหรับสารภาพ และมีการลงโทษที่รุนแรง

Page 42: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๓๙

บรรณานุกรม

กําธร กําประเสริฐ. ประวัติศาสตรกฎหมาย. กรุงเทพฯ:คณะนติิศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๒๖.

คณะกรรมการกฤษฎีกา, สํานักงาน. “พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว:พระบิดาแหง

กฎหมายมหาชน (องคผูใหกําเนิดสถาบนัที่ปรึกษาราชการแผนดินและปฏิรูประบบกฎหมายไทย)” หนังสือ ๑๒๐ เคานซิลออฟสเตดจากที่ปรึกษาราชการแผนดินมาเปนคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๔๑๗-พ.ศ. ๒๕๓๗. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ๒๕๔๗.

เดือน บนุนาค. ประวัติศาสตรกฎหมายไทย. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาธรรมศาสตรและการเมือง,

๒๔๘๙. ดวงจิตต กําประเสริฐ. ประวัติศาสตรกฎหมาย. พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๒. พระยานิตศิาสตรไพศาล. ประวัติศาสตรกฎหมายไทย. พิมพครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๐๐. พระวรภักดิ์พิบูลย. ประวัตศิาสตรกฎหมายไทย. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ:สมาคม

สังคมศาสตรแหงประเทศไทย, ๒๕๑๒. เพรียบ หุตางกูร. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดก. พิมพครั้งที่ ๒.

กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๑. มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง. ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ ๑ จุลศักราช ๑๑๖๖

พิมพตามฉะบับหลวง ตรา ๓ ดวง เลม ๑. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง, ๒๕๒๙.

______________________________ . ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ ๑ จุลศักราช ๑๑๖๖

พิมพตามฉะบับหลวง ตรา ๓ ดวง เลม ๒. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง, ๒๕๒๙.

______________________________ . ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ ๑ จุลศักราช ๑๑๖๖

พิมพตามฉะบับหลวง ตรา ๓ ดวง เลม ๓. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง, ๒๕๒๙.

Page 43: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๔๐

แลงกาต, โรแบรต. ประวัตศิาสตรกฎหมายไทย เลม ๑. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง, ๒๔๗๘. วิษณุ เครืองาม. “อําแดงปอมกับการปฏรูิปกฎหมายไทยครั้งที่ ๑” หนังสือ ๖๐ ป สํานักงาน

คณะกรรมการกฤษฎีกา. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ๒๕๓๖.

วิชา มหาคุณ. ประวัติกฎหมายและภาษากฎหมายไทย. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ:คณะ

นิตศิาสตร จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓. แสวง บญุเฉลิมวิภาส. ประวัติศาสตรกฎหมายไทย (The Thai Legal History). กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพวญิูชน, ๒๕๔๓. หลวงสุทธิวาทนฤพุฒิ. ประวัติศาสตรกฎหมาย. พิมพครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๑๗.

Page 44: ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง - :: ::๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง ศ ขนย อมลกฎหมายกลาง

๔๑

รายนามคณะผูจัดทํา เอกสารเผยแพรเนื่องในโอกาสครบรอบ ๒๐๐ ป กฎหมายตราสามดวง

คณะที่ปรึกษา นายธรรมนิตย สุมันตกุล

นายเชวง ไทยยิ่ง นายประเสริฐ สุขสบาย

นางศศิธร ศรีเลิศชัยพานิช นางกาญจนา แสงทองลวน

บรรณาธิการ นายเกียรติกอง กิจการเจริญดี

คณะผูจดัทํา นางสาวปาจรีย จําเนียรกุล

นางสาวสุนันทา เอกไพศาลกุล นางสาวอรดา เชาวโรดม นางสาวนวพร สาระคุณ

นางสาวธัญกมล ลิมาคุณาวุฒิ นายกิติศักดิ์ สถิรเจริญทรัพย

นายพิศิษฐ แกนคํา

ศูนยขอมูลกฎหมายกลาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา