การก อกําเนิด การดํารงอย ู การล...

424
การกอกําเนิด การดํารงอยู การลมสลาย ของขบวนการเคลื่อนไหว ทางสังคมแนวใหม : ศึกษากรณีสํานักหุบผาสวรรค โดย พันเอกหญิง อุมาดา นทอง ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก .. 2552

Upload: others

Post on 08-Aug-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • การกอกําเนิด การดาํรงอยู การลมสลาย ของขบวนการเคลื่อนไหว ทางสังคมแนวใหม : ศึกษากรณีสํานักหุบผาสวรรค

    โดย

    พันเอกหญิง อุมาดา ปนทอง

    ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ส่ือสารการเมือง)

    วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2552

  • การกอกําเนิด การดํารงอยู การลมสลาย ของขบวนการเคลื่อนไหว ทางสังคมแนวใหม : ศึกษากรณีสํานักหุบผาสวรรค

    โดย

    พันเอกหญิง อุมาดา ปนทอง

    ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ส่ือสารการเมือง)

    วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2552

  • The Creation, Existence, and Collapse of the New Social Movement:

    A Study of Hooppha Swan

    By

    Col. Umada Pinthong

    A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy Program in Political Communication

    Political Communication College Krirk University 2009

  • (1)

    บทคัดยอ

    ดุษฎีนิพนธ เร่ืองการกอกําเนิด การดํารงอยู การลมสลาย ของขบวนการเคล่ือนไหว

    ทางสังคมแนวใหม : ศึกษากรณีสํานักหุบผาสวรรค เปนการวิเคราะหสารทางการเมืองของ

    ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม ที่เกิดข้ึนต้ังแต พ.ศ. 2509 จนถึงพ.ศ. 2548 เมื่อส้ินสุดยุค

    ของผูนําสํานักหุบผาสวรรค คือ นายสุชาติ โกศลกิติวงศ

    การศึกษาวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) ประเภท

    การวิจัยเอกสาร (documentary research) โดยใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหาสองแบบประกอบกันคือ

    การวิเคราะหเนื้อหา (content analysis) และ การวิเคราะหความหมายเชิงตีความ (interpretative

    textual analysis) มีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ

    1. เพื่อศึกษาบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมในหวงเวลา พ.ศ. 2501 ถึง

    พ.ศ. 2548 ที่สงผลตอ การกอกําเนิด การดํารงอยู และการลมสลาย ของขบวนการเคล่ือนไหวทาง

    สังคมแนวใหม กรณีของสํานักหุบผาสวรรค

    2. เพื่อศึกษากระบวนการในการส่ือสารทางการเมืองของขบวนการเคล่ือนไหวทาง

    สังคมแนวใหม กรณีของสํานักหุบผาสวรรค ทั้งรูปแบบ เนื้อหา และวิธีการ

    3. เพื่อศึกษา การกอกําเนิด การดํารงอยู และการลมสลาย ของขบวนการเคล่ือนไหว

    ทางสังคมแนวใหม กรณีของสํานักหุบผาสวรรค

    ผลการศึกษา พบวา

    บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ที่สงผลตอการกอกําเนิดและการดํารงอยูของ

    สํานักหุบผาสวรรค เปนผลสืบเนื่องมาจากปญหาภัยคอมมิวนิสตจากนอกประเทศที่คุกคาม

    ประเทศไทย ประกอบกับปญหาทางการเมือง และปญหาทางเศรษฐกิจในประเทศ ทําใหประชาชน

    จํานวนมากอยูในสภาพตกงานขาดรายไดและยากจน หวาดกลัวภัยคอมมิวนิสต จึงเปดโอกาสให

    สํานักหุบผาสวรรคกอกําเนิดข้ึน ในป พ.ศ. 2509 โดยมีนายสุชาติ โกศลกิติวงศ เปนผูนํา และ

    มีลักษณะหลาย ๆ อยางที่คลายคลึงกับ ขบวนการพระศรีอาริย นั่นคือผูนําที่มีบุญบารมี

    สํานักหุบผาสวรรคมีกระบวนการสื่อสารทางการเมือง ดังนี้

    ผูสงสาร นายสุชาติ โกศลกิติวงศ ประสบความสําเร็จในฐานะผูส่ือสารทางการเมือง

    ก็เพราะมีคุณลักษณะของการเปนผูสงสารที่ดี

    สาร พบวา ส่ิงที่ปรากฏในการดําเนินกิจกรรมของนายสุชาติ โกศลกิติวงศ จะมี

    ความหมายเปนที่ยอมรับของผูรับสารได ตองประกอบข้ึนจากรหัสที่มีการรับรูรวมกันของคน

    ในสังคม นั่นคือการแสดงวาตนนั้นเปนผูมีอิทธิฤทธิ์ ซึ่งมีผลตอความนาเช่ือถือของประชาชน และ

  • (2)

    ชวยสรางความหมายใหกับ ประเด็นสาระที่พูดออกมาใหมีพลังมากข้ึน และการนําเสนอประเด็น

    สาระการส่ือสารทางการเมือง พบวาประเด็นสาระตาง ๆ ไดรับการประกอบสรางมาจากการรวบรวม

    ขอเท็จจริงจากขาว และการตีความสถานการณทางการเมืองที่เกิดข้ึนเฉพาะหนาเพื่อสรางความหมาย

    ในเชิงลบใหแกภัยคอมมิวนิสต และเห็นวารัฐบาลไมมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะพาพวกเขาใหรอด

    ปลอดภัย ดังนั้นการเขารวมขบวนการกับสํานักหุบผาสวรรคคือทางออกของปญหาทั้งปวง

    ชองทางการส่ือสาร มีดังนี้ 1. การสื่อสารแบบเผชิญหนา 2. สานุศิษยในฐานะ

    ส่ือบุคคล 3. เทปบันทึกเสียง 4. ภาพนิ่ง (slide) อัดแถบบันทึกเสียง 5. ภาพยนตร 6. สถานี

    วิทยุกระจายเสียง 7. สถานีโทรทัศน 8. หนังสือพิมพ 9. หนังสือ 10. การจัดกิจกรรมพิเศษ 11. ส่ือ

    อินเตอรเน็ต

    ผูรับสาร พบวา กลุมผูที่เช่ือถือในการดําเนินกิจกรรมของสํานักหุบผาสวรรค ไดแก

    กลุมผูที่เช่ือในเร่ืองเหนือธรรมชาติ กลุมผูรักชาติและตอตานภัยคอมมิวนิสต กลุมผูนับถือศาสนา

    อ่ืน ๆ เชน ศาสนาคริสต ศาสนาซิกซนามธารี เปนตน

    สํานักหุบผาสวรรคเปนขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมแนวใหมแบบไทย คือเกิดข้ึน

    ดวยลักษณะของผูนําที่มีบุญบารมี ดําเนินไปสูเปาหมายดวยการหาทรัพยากรสนับสนุนในแบบ

    ขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมแนวเกา และสุดทายตองลมสลายแบบไทย ๆ คือขัดแยงกับ

    ผูปกครองเดิมและถูกปราบปรามเชนเดียวกับขบวนการพระศรีอาริยในอดีต

  • (3)

    Abstract

    The study of the creation, existence, and collapse of new social movement,

    a case study of Hooppha Swan, is the political analysis of the new social movement of

    Hooppha Swan since 1966 till 2005, the end of Hooppha Swan era’s leader, Mr.Suchart

    Kosonkittiwong.

    This study is qualitative research which is a documentary research based

    with two contents analyses: content analysis and interpretative textural analysis. The

    objectives of the study are:

    1. To study the political, economic, and social contexts during 1958 to 2005 that affected the creation, existence, and collapse of the new social movement, a case

    study of Hooppha Swan.

    2. To study the political communication process of this new social movement of Hooppha Swan case study; in terms of form, content, and process.

    3. To study the creation, existence, and collapse of the new social movement , a case study of Hooppha Swan.

    The study found that the political, economic, and social contexts affected

    the creation and existence of Hooppha Swan. Regarding the perceived threat of

    communism from foreign countries which intensely invaded Thailand, including the

    internal political problems, and economic problems, many people were unemployed,

    gained less income, became poor , and also felt afraid of the communist threat. Then, it

    brought an opportunity to Hooppha Swan, which had several similar aspects to

    millenarianism that believed in a holy leader, led by Mr.Suchart Kosonkittiwong, founded

    in 1966.

    The key points of the existence of Hooppha Swan were partly concerned the

    consistence of various factors in communicative process as the following:

    Sender - The message sender, Mr.Suchart Kosonkittiwong, was successful

    as a political communicator due to his good oratorical skills.

    Message - The message appeared in Mr.Suchart Kosonkittiwong’s activities

    contained an acceptable meaning information to audience. It showed that his sent

  • (4)

    message had shared perceptive codes among people in society. In addition, his

    presentation as a miraculous person affected people’s reliability and made spoken

    issues more powerful. Furthermore, according to the political communication issues

    presentation, it was found that most issues were collected from news facts and political

    situation interpretation at hand to provide a negative sense of communism and to imply

    that the government was inefficient enough to allow them to survive. The solution of this

    situation is to join the Hooppha Swan’s movement.

    Channel - Channels of communication found were as follows: 1) face-to-face

    communication ; 2) key persons as personal media; 3) tape recordings; 4) slides and

    voice recordings; 5) movies; 6) radio stations; 7) television stations; 8) newspapers; 9)

    books; 10) special events, and 11) internet (starting in 2005).

    Receiver – It was found that groups of people who believed in Hooppha

    Swan’s activities were generally superstitions, conservative by nature and anti-

    communist, including some people from other religions, such as Christians, Sikhism

    namdhari, and others.

    This new social movement of Hooppha Swan case had its source and

    aspects as a new Thai social movement founded by the holy Thai men’s rebellion. They

    proceeded to reach their goal by new social movement by seeking support resources

    from the old social movement. Finally, the movement was destroyed by the Thai

    establishment which was the contradiction with previous governors and was then

    suppressed like the past millenarian movement.

  • (5)

    กิตติกรรมประกาศ

    การศึกษาคนควาฉบับนี้สามารถสําเร็จลุลวงลงได เนื่องจากไดรับความอนุเคราะห

    จาก ดร. นันทนา นันทวโรภาส ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธที่กรุณาสละเวลาในการให

    คําปรึกษาแนะนําช้ีแจงแนวทางเพื่อปรับปรุง แกไข ขอบกพรองตาง ๆ จนการศึกษาคนควาฉบับนี้

    สําเร็จไดอยางสมบูรณ ดังนั้น จึงขอขอบพระคุณอยางสูง

    และขอขอบพระคุณทานอาจารยผูสอนในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาส่ือสาร

    การเมืองทุกทาน ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูในดานตาง ๆ ที่สามารถนํามาปรับใชในการ

    ทําการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ได สุดทายขอขอบพระคุณผูอยูเบื้องหลังทุกทาน ซึ่งคอยสงเสริม

    ใหโอกาส ใหการสนับสนุนและเปนกําลังใจใหกับผูวิจัยจนประสบผลสําเร็จในการศึกษาระดับ

    ปริญญาเอกคร้ังนี้

    พันเอกหญิง อุมาดา ปนทอง

    มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2552

  • (6)

    สารบัญ

    หนา

    บทคัดยอภาษาไทย................................................................................................ (1)

    บทคัดยอภาษาอังกฤษ ........................................................................................... (3)

    กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................. (5)

    สารบัญตาราง ....................................................................................................... (10)

    สารบัญภาพ.......................................................................................................... (11)

    บทที ่

    1. บทนาํ....................................................................................................... 1

    ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ................................................ 1

    ปญหานําวิจัย....................................................................................... 14

    วัตถุประสงคของการวิจัย....................................................................... 15

    นิยามศัพท ........................................................................................... 15

    ขอบเขตการวจิัย ................................................................................... 17

    ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ..................................................................... 17

    2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยัที่เกี่ยวของ........................................................ 19

    แนวคิดเกี่ยวกบักระบวนการส่ือสาร ........................................................ 19

    แนวคิดเกี่ยวกบัการส่ือสารและการโนมนาวใจ ......................................... 26

    แนวคิดเกี่ยวกบัการส่ือสารทางการเมือง.................................................. 32

    แนวคิดเกี่ยวกบัขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคม........................................ 36

    ทฤษฎีสัญญะวิทยา............................................................................... 44

  • (7)

    ศาสตรแหงการตีความ ......................................................................... 48 งานวิจยัที่เกี่ยวของ ............................................................................... 54

    3. ระเบียบวิธวีิจยั ......................................................................................... 75

    แนวทางการศึกษาวิจัย .......................................................................... 75 เคร่ืองมือการศึกษา ............................................................................... 76 กลุมผูใหขอมลู...................................................................................... 77 การจัดกระทําขอมูล .............................................................................. 79 การวิเคราะหขอมูล................................................................................ 81 ขอจํากัดงานวจิัย .................................................................................. 84

    4. บริบททางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม ที่มีผลตอการดําเนนิกิจกรรมของขบวนการ

    เคล่ือนไหวทางสังคมแนวใหม กรณีของสํานักหุบผาสวรรค ............................ 85

    บริบททางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม พ.ศ. 2501-พ.ศ. 2514 ที่สงผลตอ การกอกาํเนิดของสํานกัหุบผาสวรรค ...................................................... 86 บริบททางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม ต้ังแต พ.ศ. 2515 -พ.ศ. 2534 ทีส่งผล ตอการดํารงอยู และการลมสลายของสํานกัหุบผาสวรรค .......................... 96 บริบททางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม หลังจาก พ.ศ. 2534 ซึ่งสํานัก หุบผาสวรรคถูกส่ังปดอยางถาวร ............................................................ 156

    5. กระบวนการสือ่สารทางการเมืองของขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมแนวใหม

    กรณีของสํานกัหุบผาสวรรค........................................................................ 172

    ผูสงสาร ............................................................................................... 174 สาร ..................................................................................................... 203 ชองทางการส่ือสาร ............................................................................... 246 ผูรับสาร ............................................................................................... 262 ผลของการสื่อสาร ................................................................................. 282

  • (8)

    6. การกอกาํเนิด การดํารงอยู และการลมสลายของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม

    แนวใหม กรณีของสํานกัหุบผาสวรรค .......................................................... 285

    ผูนําของสํานกัหุบผาสวรรค ................................................................... 286

    การจัดต้ังองคกรของสํานกัหบุผาสวรรค .................................................. 291

    อุดมการณของสํานักหุบผาสวรรค .......................................................... 301

    ผูปฏิบัติการของสํานักหุบผาสวรรค......................................................... 304

    การสนับสนุนจากมวลชนของสํานักหุบผาสวรรค...................................... 306

    ทรัพยากรของสํานักหุบผาสวรรค............................................................ 312

    เปาหมายของสํานักหุบผาสวรรค ............................................................ 317

    ยุทธวิธีการเคลื่อนไหวของสํานักหุบผาสวรรค .......................................... 323

    7. สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ .............................................................. 336

    ผลสรุปของการวิจัย............................................................................... 336

    อภิปรายผลการวิจัย .............................................................................. 347

    ขอสังเคราะห........................................................................................ 368

    ขอเสนอแนะจากการวิจัย....................................................................... 373

    บรรณานุกรม......................................................................................................... 375

    ภาคผนวก

    ก. คําส่ังคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ที่ 520/2524 ....................................... 394

    ข. คําส่ังคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ที่ 521/2524 ....................................... 395

    ค. คําส่ังใหระงับการจัดงานพิธเีททองหลอองคสมมติสามแมฯ ที่0016/6161 .......... 396

    ง. ประกาศจังหวดัราชบุรีใหงดจัดงานและหามบุคคลเขาไปในสํานักหุบผาสวรรค... 397

  • (9)

    จ. ประกาศ ผูชาํระบัญชีทรัพยสินของมูลนิธชิินนะปูโตอนสุรณ.............................. 398

    ฉ. คําส่ังดวนที่สุด ที่ 0206/ว.23 กระทรวงมหาดไทย ............................................ 399

    ช. คดีที่คณะกรรมการสมาคมศาสนาสัมพนัธและมูลนธิิชนินะปูโตอนุสรณไดยื่น

    ตอสูการถอนใบอนุญาตจัดต้ังสมาคมศาสนาสัมพนัธและมูลนิธชิินนะปูโต

    อนุสรณ ....................................................................................................... 400

    ซ. คดีที่ทางภาครัฐไดฟองมูลนธิิชินนะปูโตอนุสรณ............................................... 402

    ฌ. คดีที่ นายสุชาติ โกศลกิติวงศ ไดถูกฟองรองในศาลสถิตยุติธรรม ....................... 403

    ญ. หนงัสือกรมศิลปากร ที่ศธ.07042/4440.......................................................... 404

    ฏ. ประมวลภาพสํานักหุบผาสวรรค จังหวัดราชบุรี................................................ 405

    ประวัติการศึกษา ................................................................................................... 409

  • (10)

    สารบัญตาราง

    ตารางที ่ หนา

    5.1 กลุมประเด็นสาระที่มกีารเสนอต้ังแต พ.ศ. 2509 –พ.ศ. 2524 ........................ 209

    5.2 กลุมประเด็นยอยที่เกีย่วของกับศาสนาและความเชื่อ ต้ังแต พ.ศ. 2509 –

    พ.ศ. 2524 ................................................................................................ 223

    5.3 กลุมประเด็นยอยที่เกีย่วของกับศาสนา ความเช่ือและการเมือง ต้ังแต

    พ.ศ. 2509 –พ.ศ. 2524 ............................................................................. 235

    5.4 กลุมประเด็นยอยที่เกีย่วของกับศาสนา ความเช่ือและและการดํารงชีวติ

    ต้ังแต พ.ศ. 2509 –พ.ศ. 2524 .................................................................... 238

    5.5 กลุมประเด็นยอยที่เกีย่วของกับการตอบโตขอกลาวหาต้ังแต พ.ศ.2509 –

    พ.ศ.2524 ................................................................................................. 243

  • (11)

    สารบัญภาพประกอบ

    ภาพที ่ หนา

    2.1 แบบจําลองการสื่อสารของ เดวิด เค เบอรโล (David K. Berlo) ...................... 21

    2.2 แบบจําลองการสื่อสารตามแนวคิดของ ลาสเวลล ......................................... 25

    2.3 แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของ ไบรอัน แมคแนร (Brian McNair) ..... 34

    2.4 แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองประยุกตของ นันทนา นนัทวโรภาส .......... 35

    2.5 กรอบแนวคิดในการวิจัย ............................................................................. 74

    4.1 ภาพผังทํานายอนาคต................................................................................ 114

    5.1 ภาพของนายสุชาติ โกศลกติิวงศ ................................................................. 175

    5.2 ภาพเหมือนของหลวงปูทวดเหยียบน้ําทะเลจืด ............................................. 179

    5.3 ภาพเหมือนของสมเด็จพระพุฒาจารย (โต) พรหมรังษี .................................. 180

    5.4 ภาพของนายสุชาติ โกศลกติิวงศ ขณะทรงสมเด็จพระพฒุาจารย (โต)

    พรหมรังษี ................................................................................................. 181

    5.5 ภาพเหมือนของทาวมหาพรหมชินนะปญจะระ ............................................. 182

    5.6 ภาพของนายสุชาติ โกศลกติิวงศ ในภาพลักษณทูตสันติภาพ ........................ 183

    5.7 ภาพของนายสุชาติ โกศลกติิวงศ ขณะเดินทางไปบํารุงขวัญทหาร .................. 186

    5.8 ภาพสันติเจดีย........................................................................................... 250

    5.9 ภาพปกหนงัสือของสํานกัหบุผาสวรรค......................................................... 257

    5.10 ภาพแสดงเว็บไซต สวรรครําลึก ................................................................... 261

    7.1 กรอบแนวคิดที่คนพบจากการวิจัย............................................................... 367

  • 1

    บทที่ 1

    บทนํา

    ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

    การสื่อสารกับการเมืองเปนส่ิงที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกันอยางแนบแนน

    การสื่อสารเปนรากฐานขององคความรูหลากหลายสาขา ทางดานการเมืองนั้นเปนเร่ืองปฏิกิริยา

    สัมพันธของมนุษย พฤติกรรมทางการเมืองผูกพันอยูกับกิจกรรมการสื่อสารในลักษณะหนึ่ง

    ลักษณะใดเสมอ การส่ือสารจึงเปนเสมือนเคร่ืองมือที่จะนําไปสูการกระทําทางการเมือง1

    โดยเฉพาะกระบวนการส่ือสารทางการเมือง ซึ่งเปนการแสดงบทบาทของการเรียกรอง

    ความตองการของประชาชน การตอบสนองของรัฐที่นําไปสูการตัดสินใจอันมีผลมาจากการสื่อสาร

    ทางการเมืองของระบบการเมือง เปนเสมือนเสนประสาทของระบบการเมือง นําไปสูการดํารงอยู

    และบูรณภาพของระบบการเมือง2 การสื่อสารทางการเมืองชวยทําใหเกิดการรับรู ความคิด ความเชื่อ

    และทัศนคติทางการเมืองในหมูผูรับสาร จนเกิดเปนมโนภาพข้ึนในใจของกลุมคนเหลานั้น3

    การสื่อสารทางการเมืองของไทยในอดีตที่ผานมา โดยมากเปนการส่ือสารทางเดียว

    คือการส่ือสารจากบนลงมาลาง ผูสงสารซึ่งหมายถึงสถาบันทางการเมืองตาง ๆ เชน รัฐบาล พรรค

    การเมือง ระบบราชการ กลุมผลประโยชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกลุมของส่ือมวลชน4

    ผลักประชาชนใหอยูในฐานะผู รับสารแตเพียงฝายเดียวมิไดมีสวนรวมในการบอกกลาวถึง

    ความตองการที่แทจริงของตน เปนสาเหตุไดวาการส่ือสารทางการเมืองในหลาย ๆ กรณี ดังเชน

    1เสถียร เชยประทับ, การสื่อสารกับการเมือง : เนนสังคมประชาธิปไตย (กรุงเทพฯ:

    จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540), น. 1-10. 2ชวนะ ภวกานนท, การสื่อสารทางการเมือง หนวยที่ 1-7, หนวยที่ 2 ทฤษฎีการสื่อสาร

    ทางการเมือง (กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551), น. 41-42. 3Richard R. Fagen, Political and Communication (Boston: Brown and Company,

    1966), p. 70. 4ศุภชัย ยาวะประภาษ และ ปยากร หวังมหาพร, การส่ือสารทางการเมืองภาครัฐ,

    ส่ือสารทางการเมือง หนวยที่ 11 (กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551),

    น. 11-13.

  • 2

    นโยบายของรัฐบาลที่มีตอประชาชน อาจสรางความไมพึงพอใจหรือสงผลกระทบกับประชาชน

    หลาย ๆ กลุม จนเปนผลนําไปสูความขัดแยงในสังคมได5

    โลกยุคโลกาภิวัตนเกิดปญหาและความขัดแยงแบบใหม ๆ ขึ้นมากมาย เปน

    ความขัดแยงที่บรรดาสถาบันหลักทางการเมืองการปกครองและสถาบันสังคมที่ดํารงอยูไมเขาใจ

    และไมมีความสามารถในการแกไขไดโดยลําพัง แตตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝาย

    เนื่องจากเปนปญหาที่สลับซับซอน หลากหลาย และตัดขามบรรดาเสนแบงตาง ๆ ที่ดํารงอยู

    ดังเชน ความขัดแยงบนฐานของเช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เพศ ทรัพยากรธรรมชาติและ

    ส่ิงแวดลอม ความขัดแยงแบบใหมเหลานี้ แสดงออกในรูปของ "ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม

    แนวใหม" ดังตัวอยางของขบวนการสตรี ขบวนการศาสนายุคใหม ขบวนการอนุรักษธรรมชาติและ

    ส่ิงแวดลอม และขบวนการเรียกรองสิทธิของคนพ้ืนเมืองด้ังเดิมในประเทศตาง ๆ เปนตน6

    ทางดานศาสนานั้น โดยทั่วไปแลวศาสนากับสังคมมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด

    การเปล่ียนแปลงใด ๆ ที่เกิดข้ึนในสังคมยอมสงผลกระทบตอศาสนา และในทํานองเดียวกัน

    การเปล่ียนแปลงในศาสนาก็จะมีผลกระทบตอสังคมเชนเดียวกัน ความพยายามของรัฐบาลต้ังแต

    สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต หลังการทํารัฐประหาร เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เปนตนมา

    เปนความพยายามท่ีจะกระตุนการพัฒนา กระบวนการจะอยูที่การขยายหนาที่และความตองการ

    ของรัฐออกไปอยางกวางขวาง การบริการสาธารณะรวมไปถึงการใหการศึกษา ทั้งสายอาชีพและ

    สายสามัญ ความปลอดภัยทางสังคมและสาธารณูปการ ขณะเดียวกันหนาที่พลเมืองอยูในรูปของ

    ความจงรักภักดีแบบใหม คือ การเคารพกฎหมายของบานเมือง ไดแก การเสียภาษี การเขารับ

    การเกณฑทหารเพื่อปองกันประเทศ เมื่อแนวความคิดเกี่ยวกับการบริการสาธารณะและหนาที่

    พลเมืองเปนองคประกอบสําคัญของการเมืองสมัยใหม ดังนั้น นอกจากขาราชการแลว สถาบัน

    ศาสนาก็ไดเขารวมกระบวนการพัฒนาสูความเปนสมัยใหมนี้ดวย พระสงฆในพุทธศาสนาชวยให

    งานพัฒนาดานสาธารณูปการ และจิตใจของประชาชนประสบความสําเร็จมากข้ึน ความรวมมือ

    กันระหวางพระสงฆกับรัฐบาลในกระบวนการพัฒนาประเทศเพื่อเอาชนะใจประชาชนและตานภัย

    5นพดล บุรณนัฎ, ขบวนการเคลื่อนไหวทองถิ่น กิจกรรมปฏิบัติขององคกรเอกชนและ

    การใชมาตรการของรัฐกับความไมพอใจของประชาชนที่มีตอโครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย

    (วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎ

    สวนสุนันทา, 2549). 6ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติ กับ (ความไร) ระเบียบรัฐโลกชุดใหม (กรุงเทพฯ:

    สํานักพิมพวิภาษา, 2549), น. 68.

  • 3

    ลัทธิคอมมิวนิสตนั้น ไดกลายเปนพื้นฐานที่สําคัญในการใชสถาบันศาสนาเพื่อสนับสนุนทั้งอํานาจ

    และความชอบธรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเผยแพรศาสนาไปดวยในตัวเอง

    แตในชวงเวลาเดียวกันนั้น ไดมีความขัดแยงและการขาดความรวมมือกันใน

    การปฏิบัติภารกิจในหมูพระสงฆ7 ความแตกแยกเกิดข้ึนเร่ือย ๆ ปญหาที่ยังไมไดรับการแกไขทบัทวี

    ข้ึน ความขัดแยงที่สะสมไวเร่ิมรุนแรง ดวยสาเหตุจากปญหาและความขัดแยงที่มีอยางตอเนื่องได

    กอใหเกิดขบวนการใหมทางศาสนาหลายลักษณะข้ึนในสังคมไทย มีทั้งกลุมที่พยายามเพิ่มเติม

    หรือเสริมสรางส่ิงที่ขาดหายและเนนกิจกรรมใหม ตลอดจนกลุมที่พยายามแยกตนเองออกจาก

    การควบคุมของคณะสงฆเกา กลุมตาง ๆ ที่เกิดข้ึนเปนความพยายามที่จะตอบสนองความตองการ

    ของสังคมไทย ในทัศนะที่ผูนํากลุมแตละกลุมมองเห็นวาเปนส่ิงที่ขาดหายไปหรือเปนส่ิงที่สมควร

    ทําในบริบทของสังคม8 ดังงานวิจัยของ อภิญญา เฟองฟูสกุล ไดกลาวไววา

    “กระบวนการที่สังคมไทยกาวเขาสูความเปนสมัยใหม ซึ่งเห็นไดชัดต้ังแตกลาง

    ศตวรรษที่19 และทวีความเขมขนยิ่งข้ึนภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ได

    สงผลกระทบอยางลึกซึ้งตอการเปลี่ยนแปลงดานโลกทัศนและระบบคุณคาในสังคม

    โดยเฉพาะอยางยิ่งตอสถาบันศาสนา ซึ่งผูวิจัยเช่ือวาไมมียุคใดในประวัติศาสตรไทย

    ที่ “ความเปนพุทธ” จะถูกเลือกสรรมาตีความอยางหลากหลายในขบวนการตาง ๆ

    จํานวนมากเทายุคปจจุบัน”9

    ขบวนการเคล่ือนไหวทางศาสนาตาง ๆ ที่พบในยุคอํามาตยาธิปไตยนี้มีหลายกลุม

    ดังเชน กลุมสวนโมกขพลารามของทานพุทธทาสภิกขุที่เปนผูบุกเบิกการตีความพุทธศาสนาแนวใหม

    โดยมุงไปถึงแกนแทของพระพุทธศาสนา10 กลุมวัดพระธรรมกาย นําโดยพระราชภาวนาวิสุทธิ์

    (พระไชยบูลย ธัมมชโย) ที่พยายามปรับและสรางความเปนพุทธแบบเมืองสมัยใหม11 กลุมสันติอโศก

    7แสวง อุดมศรี, การปกครองคณะสงฆไทย (กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณ

    ราชวิทยาลัย, 2546), น. 324. 8มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร, ความเชื่อ และศาสนาใน

    สังคมไทย (กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2533), น. 88-89. 9อภิญญา เฟองฟูสกุล, ศาสนทัศนของชุมชนเมืองสมัยใหม ศึกษากรณีวัดพระธรรมกาย

    (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2541), น. 1. 10ชลธี ยังตรง, ความคิดทางการเมืองของพุทธทาสภิกขุ (วิทยานิพนธปริญญา

    มหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533), น. 2. 11ชลธี ยังตรง, เพิ่งอาง, น. 1.

  • 4

    ภายใตการนําของสมณะโพธิรักษ ซึ่งมองวาโลกตกอยูใตอํานาจของทุนนิยม จึงเสนอแนวคิดใหม

    ใหกับสังคมเรียกวา ระบบบุญนิยมอันหมายถึงความดีงามหรือการชําระกิเลส12 วัดจิตตภาวัน

    นําโดยพระเทพกิตติปญญาคุณ (กิตติวุฑโฒ ภิกขุ) ผูกลาวคําพูดโดงดังวา ฆาคอมมิวนิสต ไมบาป

    ซึ่งถูกฝายขวา อันไดแก นวพล กลุมกระทิงแดง ในสมัยนั้นนําไปใชเปนวาทกรรมโจมตีฝายซาย13

    เปนตน

    นอกจากนี้ ยังพบวาปญหาภัยคอมมิวนิสตภายนอกประเทศที่คุกคามประเทศไทย

    นับต้ังแตยุคของจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต นั้นคุกคามประเทศไทยทั้งในแงของบูรณาการทางดินแดน

    และยังคุกคามตอระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข และสถาบันตาง ๆ ของชาติ

    ดวย14 ผาสุก พงษไพจิตร และคริส เบเคอร ไดกลาววา การคุกคามสงผลใหบรรดาขาราชการและ

    กลุมขุนนางเกาคิดแสวงหาวิธีปลุกระดมอุดมการณ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ข้ึนมาใชอีกคร้ัง

    หนึ่ง โดยเนนใหประชาชนไดเห็นวาพระมหากษัตริย ทรงมีบทบาทสําคัญตอประเทศในทุก ๆ ดาน

    มานับต้ังแตในอดีต และส่ิงที่ทําควบคูกันไปดวยคือ กลุมอ่ืนในระบบราชการและกองทัพสนับสนุน

    ขบวนการตาง ๆ เพื่อฟนฟูความสําคัญของพุทธศาสนาในฐานะเปนพลังทางสังคมและการเมือง

    ของฝายอนุรักษนิยม มีขบวนการตาง ๆ เกิดข้ึนในชวงทศวรรษ 2500 ขบวนการเหลานี้รวมถึง

    การฟนฟูคัมภีรโบราณ การอุทิศตนและการบูชาพระศรีอาริย15 ผาสุก พงษไพจิตร และคริส เบเคอร

    มีความเห็นวา การรวมตัวของกลุมคนกลุมหนึ่งในหวงเวลานั้นเปนขบวนการบูชาพระศรีอาริย

    ที่สําคัญตอสังคมนั่นคือสํานักหุบผาสวรรค โดยนายสุชาติ โกศลกิติวงศ เปนผูกอต้ัง16 ซึ่ง อภิญญา

    เฟองฟูสกุล เรียกสํานักหุบผาสวรรคแหงนี้วาเปน ขบวนการปูสวรรค อันเปนขบวนการความเปน

    พุทธที่หลากหลายสอดแฝงอยูในขบวนการที่เกี่ยวของกับการเมือง 17

    12นพดล ลิมป สีสวรรค , แนวคิดทางพุทธศาสนาของพุทธสถานสันติอโศก

    (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548), น. 38. 13ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเคอร, เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ, พิมพ

    คร้ังที่ 3 (กรุงเทพฯ: โอ เอส เพรนต้ิงเฮาส, 2546), น. 390. 14พวงทอง รุงสวัสด์ิทรัพย ภวัครพันธุ, สงครามเวียดนาม : สงครามกับความจริง

    ของ “รัฐไทย” (กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2549), น. 27. 15ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเคอร, อางแลว เชิงอรรถที่ 13, น. 395-397. 16ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเคอร, เพิ่งอาง, น. 399. 17อภิญญา เฟองฟูสกุล, อางแลว เชิงอรรถที่ 9, น. 1.

  • 5

    สํานักหุบผาสวรรคเปนขบวนการที่มีการดําเนินกิจกรรมที่มีลักษณะคลายกับองคกร

    ทางศาสนา แตผูนําของพวกเขาคือ นายสุชาติ โกศลกิติวงศ เปนผูนําที่เปนฆราวาส

    นายสุชาติ โกศลกิติวงศ เปนคนไทยเช้ือสายจีนที่เกิดในประเทศไทย ไดรับการศึกษา

    ในระบบการศึกษาของรัฐเพียงช้ันประถมศึกษาปที่ 418 ฐานะครอบครัวอยูในระดับสามัญชน

    ทั่วไป19 เขากอต้ังสํานักหุบผาสวรรคอยางเปนทางการเม่ือ พ.ศ. 2509 แรกเร่ิมอยูที่ บานเลขที่

    118/2 ซอยอนามัย ถนนสุขสวัสด์ิ ตําบลบางปะกอก เขตราษฎรบูรณะ กรุงเทพมหานคร ตอมาไดยาย

    มาต้ังสํานักงานถาวร ซอย 65 ถนนเพชรเกษม บางแค กรุงเทพมหานคร ในป พ.ศ. 2513 ใชชื่อวา

    สํานักปูสวรรค จากนั้นไดแสวงหาสถานที่ต้ังเพิ่มข้ึนอีกหนึ่งแหงอยูที่ ตําบลดอนทราย อําเภอปาก

    ทอ จังหวัดราชบุรี เรียกช่ืออยางยกยองวา อาณาจักรหุบผาสวรรคเมืองศาสนา ซึ่งรูจักกันทั่วไปใน

    นาม สํานักหุบผาสวรรค

    การดําเนินการของสํานักหุบผาสวรรค เปนการดําเนินกิจกรรมที่โดยทั่วไปแลวมักจะ

    เปนการเทศนาส่ังสอนหลักธรรมทางดานศาสนาพุทธ คําสอนเร่ืองความเช่ือในเร่ืองเหนือธรรมชาติ

    มีการปฏิบัติกิจกรรมตามหลักศาสนา เชน การสวดมนต มีการปฏิบัติกิจกรรมในเร่ืองเหนือ

    ธรรมชาติ เชน รักษาโรคผีเขาดวยน้ํามนต20 เปนตน แตอยางไรก็ตามการดําเนินกิจกรรมที่มี

    ลักษณะคลายกับองคกรทางศาสนาของพวกเขาก็มิไดอยูภายใตองคกรปกครองคณะสงฆ

    ในอีกดานหนึ่งการดําเนินกิจกรรมของพวกเขา ก็เปนไปในแนวทางตอตานภัยคอมมิวนิสต

    สอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล

    สถานภาพของกลุม นายสุชาติ โกศลกิติวงศ และสานุศิษยสํานักหุบผาสวรรคนั้น

    ไมมีความชัดเจนวามีใครสนับสนุนอยูเบ้ืองหลังใหเปนกลุมจัดต้ังหรือไม ส่ิงที่ปรากฏคือจนกระทั่ง

    ในปพ.ศ. 2517 พวกเขายังคงดําเนินกิจกรรมในลักษณะขององคกรทางศาสนาและตอตานภัย

    18ณัฐพร อุชชิน (ผูรวบรวม), เบ้ืองหลัง สัมภาษณคนทรงหลวงปูทวด สมเด็จโต

    พรอมดวยประวัติสามดอกเตอรที่ศรัทธา (กรุงเทพฯ: สํานักปูสวรรค, 2515) น. 22. 19วิษณุ รัตนโมรานนท (ผูรวบรวม), เจาะลึก อริยวังโส ภิกขุ (ศาสตราจารย ดร.สุชาติ

    โกศลกิติวงศ) นักตอสูเพื่อมนุษยชาติ, พิมพคร้ังที่ 2 (กรุงเทพฯ: บริษัท สามวิจิตรเพลส จํากัด,

    2541), น. 12. 20คลุม วัชโรบล, ประสบการณวิญญาณ เลม 1, พิมพคร้ังที่ 4 (กรุงเทพฯ: สํานัก

    ปูสวรรค, 2518), น. 49-93.

  • 6

    คอมมิวนิสตอยางตอเนื่องดวยวิธีการของพวกเขาดังที่กลาวขางตน21 และเพื่อเปนการตอตานภัย

    ของคอมมิวนิสตที่กําลังคุกคามเขาไปสูทุกสถาบันในประเทศไทยอยางหนัก22 ในหวงป พ.ศ. 2518

    นายสุชาติ โกศลกิติวงศ มีความเห็นวา จะปลอยใหเร่ืองของประเทศไทยเปนเร่ืองของฝายการเมือง

    แตเพียงฝายเดียวมิได ฝายศาสนาตองเขาไปมีสวนรวมดวย นั่นคือการเมืองตองเดินคูกับศาสนา23

    เวลาตอมานายสุชาติ โกศลกิติวงศ ไดมีคําทํานายภัยพิบัติที่กําลังจะเกิดข้ึนกับอนาคตของ

    มนุษยชาติ ซึ่งไดเขียนผังทํานายอนาคตออกมา ต้ังแตวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 ถือเปน

    ประเด็นที่สรางความต่ืนตัวใหกับสังคมอยางมาก สรุปใจความคําทํานายไดวา ลัทธิคอมมิวนิสตจะ

    ครองโลก ผูที่จะมาชวยเหลือมนุษยไดคือพระโพธิสัตวที่จะมาพํานักอยู ณ สํานักหุบผาสวรรค24

    มีการสรางถาวรวัตถุข้ึนมาหลากหลาย เชน สันติเจดีย สรางพระยืน 9 เมตร เปนตน โดยอางวา

    สามารถชวยเหลือโลกมนุษยได25 ทําใหประชาชนหลากหลายกลุมสนใจสํานักหุบผาสวรรค26

    ตอมาไดต้ังมูลนิธิชินนะปูโตอนุสรณ และสมาคมศาสนาสัมพันธข้ึน เปนองคกร

    สําหรับรับรองทางนิตินัยของสํานักหุบผาสวรรค เพื่อรองรับการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ โดยเฉพาะ

    การดําเนินกิจกรรมที่ชื่อวา ภราดรภาพทางศาสนา โดยมีแผนงานที่จะสรางสัญลักษณของศาสนา

    ตาง ๆ เชน พระเยซูคริสต พระมะหะหมัด โดยอางวาเปนการระลึกถึงบรมศาสดาจารยแตละองคที่

    เกิดมาเพื่อตองการสันติภาพ หลังจากนั้นก็จะมีแผนงานเชิญผูนําตาง ๆ มาประชุมสันติภาพที่

    สํานักหุบผาสวรรค ซึ่งเขาอางอีกวา เปนการนําเอาศาสนามายุติสงคราม และถาแผนงานของเขา

    ทําสําเร็จสงครามโลกคร้ังที่ 3 ก็จะไมเกิดและสันติภาพอันถาวรก็จะเกิดข้ึนได27

    21เกหลง พานิช (ผูรวบรวม), ธรรมะจากดวงวิญญาณบริสุทธิ์ หลวงปูทวดเหยียบน้ํา

    ทะเลจืด เลมที่ 1 (กรุงเทพฯ: สามวิจิตรเพรส, 2546), น. 85-86. 22พิบูลย ภาษวัธน (ผูรวบรวม), วาทะทูตสันติภาพแหงโลก บทบาทสตรีและ

    เยาวชนไทย (กรุงเทพฯ: บริษัท สามวิจิตรเพรส จํากัด, 2545), น. 28-35. 23พิบูลย ภาษวัธน, วาทะทูตสันติภาพแหงโลก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย คือ

    ชาติไทย (กรุงเทพฯ: บริษัท สามวิจิตรเพรส จํากัด, 2545), น. 31-39. 24พิบูลย ภาษวัธน (ผูรวบรวม), ไทยกําลังอันตรายขอพุทธานุภาพแผทั่วถิ่นไทย.

    (กรุงเทพฯ: บริษัทสามวิจิตรเพรสจํากัด, 2545), น. 40-42. 25พระราชธรรมกวี (ผูรวบรวม), โอวาทสมเด็จโต เลม 7 (ราชบุรี: บริษัทยุคใหม จํากัด,

    2521), น. 17-19. 26สัมภาษณ สานุศิษย ร., วันที่ 19 ธันวาคม 2552. 27พระราชธรรมกวี (ผูรวบรวม), อางแลว เชิงอรรถที่ 25, น. 18-19.

  • 7

    เพื่อใหแผนงานของเขาดําเนินตอไป เขาจึงกําหนดกิจกรรมข้ึนมาอีกหลายประการ

    นับต้ังแตวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2520 นายสุชาติ โกศลกิติวงศ และสานุศิษยสํานักหุบผาสวรรค

    ไดจัดใหคืนวันที่ 19 ของทุกเดือนตลอดไป เปนการฟงปาฐกถาธรรม การใหโอวาท จากนายสุชาติ

    โกศลกิติวงศ28 ซึ่งปรากฏวาในเวลาตอมาการปาฐกถานั้นเปนชองทางหนึ่งที่เขาใชในการวิพากษวิจารณ

    การทํางานของรัฐบาล ขาราชการ และเร่ืองอ่ืน ๆ ตามที่เขาพิจารณาแลววาตองการจะส่ือสารไปสู

    ผูรับขาวสารจากเขา นอกจากนี้ยังจัดใหมีคณะทํางานเดินทางไปตางประเทศ โดยอางวาเพื่อเปน

    การเจริญสัมพันธไมตรีกับประมุขศาสนาของประเทศตาง ๆ อันจะนํามาซ่ึงการสรางภราดรภาพ

    ทางศาสนาที่สํานักหุบผาสวรรคไดสําเร็จภายในป พ.ศ. 2521 ซึ่งจะเปนการปูพื้นฐานไปสูการ

    ประชุมสันติภาพ ทั้งนี้เพื่อจะยับยั้งการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 329 ชองทางนี้เองทําใหชื่อเสียงของ

    นายสุชาติ โกศลกิติวงศ และสํานักหุบผาสวรรค เปนที่รูจักในหลายประเทศ และทําใหเขาไดมี

    โอกาสเขาพบกับผูนําศาสนาในหลายประเทศที่สําคัญ ๆ ไดแก ประเทศจีน รัสเซีย รวมถึงการทํา

    ใหเขาไดเขาไปติดตอกับสหประชาชาติดวย

    การดําเนินกิจกรรมของสํานักหุบผาสวรรคนั้น พวกเขาอางวามีสมาชิกและสานุศิษย

    ทั่วประเทศ ถึง 4 ลานคน30 บรรดาผูเล่ือมใสสํานักหุบผาสวรรคนอกจากชาวบานทั่ว ๆ ไป แลว

    ยังมีทั้งขาราชการช้ันผูใหญทั้งขาราชการทหารและพลเรือน พระภิกษุสงฆ ตลอดจนผูที่จบการศึกษา

    ระดับปริญญาเอก31 เขามาเปนสานุศิษย แตกระน้ันก็ตามการดําเนินการของสํานักหุบผาสวรรค

    มิไดราบร่ืนโดยตลอด นักการศาสนาบางกลุมมองความเคล่ือนไหวของสํานักหุบผาสวรรคดวย

    ความวิตกวาจะทําใหประชาชนเกิดความคลาดเคล่ือนในการเขาใจสัจธรรมของพระพุทธเจา32

    รวมถึงภาครัฐเองมองความเคล่ือนไหวของสํานักหุบผาสวรรคดวยความเคลือบแคลงหลายเร่ือง

    28พิบูลย ภาษวัธน (ผูรวบรวม), อางแลว เชิงอรรถที่ 24, น. 53. 29คณะผูจัดทํา, งานศาสนาสัมพันธตางประเทศ ของ สุชาติ โกศลกิติวงศ (กรุงเทพฯ:

    ศิริวัฒนาการพิมพ, 2534), น. 20-42. 30พระราชธรรมกวี (ผูรวบรวม), โอวาทสมเด็จโต เลม 6 ระวังภัยมืด (ราชบุรี: บริษัท

    ยุคใหมจํากัด, 2521), คํานํา. 31ณัฐพร อุชชิน (ผูรวบรวม), อางแลว เชิงอรรถที่ 18, น. 73-84. 32ชยานันโทภิกษุ (อนันต เสนาขันธ), เกรียงศักด์ิ เคราะหดี และ อลงกต เทียบศรไชย,

    ผีบุญสุชาติ แหงหุบผานรก (กรุงเทพฯ: โรงพิมพโคมทอง, 2525), น. 19.

  • 8

    เชน เร่ืองต้ังอาณาจักรแยกเปนเอกเทศ เร่ืองมีใครเชิดอยูเบ้ืองหลัง เร่ืองเลนการเมืองโดยเอา

    สันติภาพและศาสนาบังหนา เปนตน33

    ส่ิงที่ทําใหหลาย ๆ ฝาย มุงความสนใจไปที่สํานักหุบผาสวรรคมากข้ึน สืบเนื่องจาก

    ในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2522 นายสุชาติ โกศลกิติวงศ ไดแสดงปาฐกถาเร่ือง “วันส้ินชาติไทย”

    สรุปใจความวา ในวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2525 กองทัพญวน สหรัฐอเมริกาและรัสเซีย จะบุกเขา

    มาในประเทศไทย พรรคคอมมิวนิสตสายรัสเซียประกาศตั้งรัฐบาลในป 2527 สหรัฐอเมริกาและ

    รัสเซียจะตอสูกันดวยระเบิดปรมาณู จนนําไปสูการเกิดสงครามโลก34 ซึ่งนายสุเทพ จิตตธรรมวานิช

    เจาของสํานักพิมพทิพยอักษรการพิมพ ไดนําไปพิมพเปนหนังสือชื่อ “วันส้ินชาติไทย” ออกจําหนาย

    เพื่อเปนทุนในการสรางหอประชุมสันติภาพ35 เมื่อหนังสือเผยแพรออกไป มีผูไปรองเรียนรัฐบาลวา

    เขาปลุกระดมใหประชาชนชาวไทยต่ืนตระหนกตกใจเร่ืองจะส้ินชาติไทย36 ทําใหในเวลาตอมา

    มีการดําเนินการทางกฎหมายกับนายสุเทพ จิตตธรรมวานิช เจาของสํานักพิมพทิพอักษรการพิมพ

    และผูพิมพผู โฆษณาเปนจําเลยตอศาลแขวงธนบุรีในขอหาผิดพระราชบัญญัติการพิมพ

    พ.ศ. 2484 โดยวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2524 ศาลมีคําพิพากษาจําคุก 6 เดือน และใหทําลาย

    ส่ิงพิมพของกลางที่ยึดไวทั้งหมด37

    ตอมานายสุชาติ โกศลกิติวงศ ไดกระทําในสิ่งที่เกินเลยไปมากกวาการที่รัฐบาลจะ

    จํากัดขอบเขตได ดังที่ ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเคอร ไดกลาวไวในหนังสือเศรษฐกิจการ

    เมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ วา

    33กลุมประชาชนผูเ ล่ือมใสงานของหุบผาสวรรคเมืองศาสนา กลุมประชาชน

    ผูสนับสนุนสันติภาพโดยสันติวิธี, ทานถามเราตอบ หุบผาสวรรคเมืองศาสนา, พิมพคร้ังที่ 2

    (กรุงเทพฯ: โรงพิมพบํารุงนุกูลกิจ, 2526), น. 63-97. 34“ศาลจําคุกสํานักพิมพ หนังสือวันส้ินชาติไทย หุบผาสวรรคโดนดวย,” หนังสือพิมพ

    ไทยรัฐ (วันที่ 16 ธันวาคม 2524), อางถึงใน ชยานันโทภิกษุ, เกรียงศักด์ิ เคราะหดี และอลงกต

    เทียบศรไชย, ผีบุญสุชาติ แหงหุบผานรก (กรุงเทพฯ: โรงพิมพโคมทอง, 2525), น. 28-29. 35“ศาลจําคุกสํานักพิมพ หนังสือวันส้ินชาติไทย หุบผาสวรรคโดนดวย,” เพิ่งอาง,

    น. 28-29. 36ประชาชนผูมีศรัทธาในอุดมการณของหุบผาสวรรคเมืองศาสนา, รายงานประชาชน

    ความจริงที่ทานควรทราบ (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2525), น. 15-16. 37“ศาลจําคุกสํานักพิมพ หนังสือวันส้ินชาติไทย หุบผาสวรรคโดนดวย,” อางแลว

    เชิงอรรถที่ 34, น. 28-29.

  • 9

    “ปลายทศวรรษ 2510 เมื่อขบวนการ พคท. รุงเรืองถึงขีดสูงสุด การทํานายของสชุาติ

    ทวีความสุดข้ัวสุชาติทํานายวาประเทศไทยจะเปนศูนยความขัดแยงทางดาน

    อุดมการณในโลก อาจถูกโจมตีพรอมกันโดยเวียดนาม จีน และสหรัฐอเมริกา

    และอาจเปนประเทศท่ีจุดประเด็นสงครามนิวเคลียร ความหายนะจะเกิดข้ึนใน

    พ.ศ. 2525 นอกเสียจากวาผูคนจะสนับสนุนกระบวนการตอตานความหายนะของ

    เขาสุชาติประกาศวาตนและพระมหากษัตริยเทานั้นที่จะชวยประเทศไทยได รัฐบาล

    เปนเพียงฝูงนกกระจอกในขณะที่ตนและพระมหากษัตริยมีลักษณะเปนผูมีบุญที่อยู

    ในฐานะจะทําการตอตานลัทธิคอมมิวนิสตโดยทางจิตวิญญาณ เขาแนะนําให

    พระมหากษัตริยสละราชสมบัติและรวมกับเขาในโครงการตอตานคอมมิวนิสต”38

    ส่ิงที่นายสุชาติ โกศลกิติวงศ และสานุศิษยสํานักหุบผาสวรรค ไดกระทํานั้น ถูกมอง

    วา พวกเขามีพฤติกรรมอันเปนการดูหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแหงสถาบันพระมหากษัตริย39

    จึงนํามาซ่ึงการถูกตรวจสอบพฤติการณและการตอตานอยางรุนแรง จากฝายตาง ๆ เชน ขบวนการ

    ชนวน โดยชยานันโทภิกษุ (อนันต เสนาขันธ) และนายเกรียงศักด์ิ เคราะหดี ไดเร่ิมเผยแพรหนังสือ

    ผีบุญแหงหุบผาสวรรค วิพากษวิจารณโจมตีการดําเนินกิจกรรมของนายสุชาติ โกศลกิติวงศและ

    สํานักหุบผาสวรรค 40 หนังสือพิมพรายวันตีพิมพขอความเกี่ยวกับสุชาติ โกศลกิติวงศ พรอมทั้งเรง

    ใหทางราชการดําเนินการกับสํานักหุบผาสรรค41 ทานจุฬาราชมนตรีไมเห็นดวยกับการใหมีการ

    บริจาคเพื่อสรางปูชนียสถานของศาสนาอิสลามในสํานักหุบผาสวรรค42 เจาหนาที่ตํารวจภูธร

    อําเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี ผลัดเปลี่ยนกันเขาสังเกตการณทั้งภายในและรอบ ๆ สํานักหุบผา

    สวรรค43 เปนตน

    38ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเคอร, อางแลว เชิงอรรถที่ 13, น. 399. 39“ปญญานันทะ เรงทลายดวน หุบผานรกดินแดนตมตุนมนุษย,” หนังสือพิมพขาว

    ตะวัน (วันจันทรที่ 21 ธันวาคม 2524), อางถึงใน ชยานันโทภิกษุ, เกรียงศักด์ิ เคราะหดี และ

    อลงกต เทียบศรไชย, ผีบุญสุชาติ แหงหุบผานรก (กรุงเทพฯ: โรงพิมพโคมทอง, 2525), น. 42. 40ชยานันโทภิกษุ และ เกรียงศักด์ิ เคราะหดี, ผีบุญแหงหุบผาสวรรค (กรุงเทพฯ:

    โรงพิมพบพิธ จํากัด, 2524). 41จุมพล สวัสดิยากร และคณะ (ผูรวบรวม), ประวัติศาสตรศาสนาตองจารึกการ

    ทําลายหุบผาสวรรค, พิมพคร้ังที่ 2 (กรุงเทพฯ: โครงการธรรมไมตรี, 2536), น. 50. 42“สํานักเถื่อน,” หนังสือพิมพมติชน ปที่ 4 ฉบับที่ 1373 (วันที่ 1 ธันวาคม 2524), น. 3. 43จุมพล สวัสดิยากร และคณะ (ผูรวบรวม), อางแลว เชิงอรรถที่ 41, น. 51.

  • 10

    วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2524 ตัวแทนพรรคการเมืองตาง ๆ ไดรวมกันลงชื่อเสนอ

    ญัตติดวนใหสภาผูแทนราษฎรต้ังกรรมาธิการวิสามัญ สอบสวนพฤติการณของนายสุชาติ โกศลกิติวงศ

    และสํานักหุบผาสวรรค เนื่องจากมีการดูหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแหงสถาบันพระมหากษัตริย44

    โดยเห็นวามีการกระทําอันเปนภัยตอความมั่นคงของชาติ45

    และในที่สุด วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2524 ไดมีการออกหมายจับนายสุชาติ โกศลกิติวงศ

    ขอหาเปนผูใช จาง วาน ใหพิมพหนังสือ “วันส้ินชาติไทย” และในวันเดียวกันนี้ นายชงค วงษขันธ

    เลขาธิการคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ออกคําส่ังลงวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2524 ปดสํานัก

    หุบผาสวรรค ดวยเหตุผลวา นําความเส่ือมเสียมาสูวัฒนธรรมของชาติ ขัดตอความสงบเรียบรอย

    และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน กระทําการอันอาจเปนภัยตอความมั่นคงของชาติ และฝาฝน

    ไมปฏิบัติตามขอบังคับของสภาวัฒนธรรมแหงชาติ วาดวยการควบคุมสมาคมและองคการตาง ๆ

    จึงส่ังเพิกถอนใบอนุญาตจัดต้ังสมาคมศาสนาสัมพันธและมูลนิธิชินนะปูโตอนุสรณ46

    เจาหนาที่ของรัฐไดเขาไปตรวจคนหาส่ิงผิดปกติในสํานักหุบผาสวรรคพรอมกับนํา

    ส่ือมวลชนเขาไปเปนพยานในการตรวจคนดวย ส่ือมวลชนรายงานขาวคําส่ังปดสํานักหุบผาสวรรค

    และการออกหมายจับนายสุชาติ โกศลกิติวงศ 47 ซึ่งตอมาไมมีผูใดพบเห็นนายสุชาติ โกศลกิติวงศ

    อีกเลยต้ังแต พ.ศ. 2525 เปนเวลา 4 ป 6 เดือน จึงกลับออกมาสูสังคมเพื่อตอสูคดีใน พ.ศ. 2529

    ในระหวางนี้สานุศิษยในนามคณะกรรมการสมาคมศาสนาสัมพันธและมูลนิธิชินนะปูโต

    อนุสรณไดยื่นตอสูการถอนใบอนุญาตจัดต้ังสมาคมศาสนาสัมพันธและมูลนิธิชินนะปูโตอนุสรณ

    โดยฟองทางฝายรัฐ48 สําหรับทางภาครัฐนั้นไดฟองมูลนิธิชินนะปูโตอนุสรณดวยเชนกัน49 ซึ่งตอมา

    44“ปญญานันทะ เรงทลายดวน หุบผานรกดินแดนตมตุนมนุษย,” หนังสือพิมพ

    ขาวตะวัน (วันจันทรที่ 21 ธันวาคม 2524), อางแลว เชิงอรรถที่ 39, น. 42. 45“ยื่นญัตติดวนสอบสํานักปูสวรรค,” หนังสือพิมพมติชน (วันที่ 19 ธันวาคม 2524),

    อางถึงใน ชยานันโทภิกษุ, เกรียงศักด์ิ เคราะหดี และ อลงกต เทียบศรไชย, ผีบุญสุชาติ แหงหุบผา

    นรก, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพโคมทอง, 2525), น. 40. 46ภาคผนวก ก, น. 394, ภาคผนวก ข, น. 395. 47คณะผูศรัทธาในผลงาน (ผูรวบรวม), ประวัติศาสนาตองจารึกการทําลายหุบผา

    สวรรคเมืองศาสนา (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2535), น. 50-55. 48จุมพล สวัสดิยากร และคณะ (ผูรวบรวม), อางแลว เชิงอรรถที่ 41, น. 46-47. 49จุมพล สวัสดิยากร และคณะ (ผูรวบรวม), เพิ่งอาง, น.