บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข...

22

Upload: others

Post on 01-Nov-2019

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ
Page 2: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ ส - 1

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

สารบัญ

บทที่ หน้าที ่

บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ 1-1

บทที่ 2 การเริ่มเข้าใช้งานระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ 2-1

บทที่ 3 การใช้งานโปรแกรมส่วนผู้ประกอบการ 3-1

Page 3: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

บทที่ 1

ภาพรวมระบบฐานขอมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

Page 4: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 1 - 1

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ในบทนี้จะกล่าวถึง ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ โดยมีรายละเอียดดังนี้

1.1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ เป็นระบบที่จัดท าขึ้นเพ่ือรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน ประกอบการ

วิเคราะห์ และสนับสนุนการระงับเหตุ โดยมีข้อมูลหลัก คือ ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการ , บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ

การระงับเหตุ, ข้อมูลอุปกรณ์ระงับเหตุ, ข้อมูลสารเคมีและวัตถุอันตราย, ข้อมูลแผนที่, แผนผังโรงงาน และข้อมูลผัง

สื่อสาร

โดยระบบสารสนเทศหลักที่กนอ. มีอยู่ ทางที่ปรึกษาได้ศึกษา วิเคราะห์กระบวนการด าเนินงาน เพ่ือน ามา

ประยุกต์ใช้กับระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ อันประกอบไปด้วย ระบบพิจารณาอนุมัติ อนุญาต

ประกอบการ (e-PP) (ดูในมิติข้อมูลทั่วไปผู้ประกอบการ) ระบบ SHEE (ดูในมิติข้อมูลสารเคมีและวัตถุอันตราย)

ระบบ Integration (ดูในมิติการเชื่อมโยงข้อมูล) ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ (ดูในมิติการเชื่อมโยงข้อมูลแผนที่)

พบว่ามีระบบงานที่เกี่ยวข้อง ที่พร้อมและสามารถน าไปประยุกต์ใช้งานได้เพียงระบบเดียวในปัจจุบันคือระบบ

พิจารณาอนุมัติ อนุญาต ประกอบการ (e-PP) ซึ่งเป็นระบบที่ท าหน้าที่รับค าขอจากผู้ประกอบการผ่านระบบ

อิเล็กทรอนิกส์ และ พิจารณาอนุมัติ อนุญาตค าขอ ในระบบจึงมีข้อมูลผู้ประกอบการทั้งหมดและมีการยืนยันตัวตน

การเข้าใช้งานของผู้ประกอบการ ดังนั้น

จากภาพที่ 1.1 จะประกอบด้วยผู้ใช้งานหลัก 3 ส่วนคือ ผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ส านักงานนิคม และ

เจ้าหน้าที่ดูแลฐานข้อมูลจะน าเข้าข้อมูลสู่ฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ และมีการสรุปข้อมูลเพ่ือน าเสนอ

ผู้บริหาร โดยมีการเชื่อมโยงข้อมูลการให้สิทธิ์การเข้าถึงบริการและข้อมูลผู้ประกอบการกับระบบ e-PP โดยข้อมูลที่

น าเข้าจากผู้ใช้งานแต่ละส่วนมีดังนี ้

1) ผู้ประกอบการ

- ข้อมูลบุคลากรที่ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในการสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน

- ข้อมูลแผนผังทีมสนับสนุนการระงับเหตุของผู้ประกอบการ

- ข้อมูลอุปกรณ์เครื่องมือสนับสนุนการระงับเหตุของผู้ประกอบการ

- ข้อมูลสารเคมี/วัตถุอันตรายที่มีความเสี่ยงสูง (Main Hazardous Material)

- ข้อมูลแผนผังโรงงาน (Plot Plan)

Page 5: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 1 - 2

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

2) เจ้าหน้าที่ส านักงานนิคม

- ข้อมูลบุคลากรที่ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในการสนับสนุนการระงับเหตุของนิคม

- ข้อมูลแผนผังทีมสนับสนุนการระงับเหตุของส านักงานนิคม

- ข้อมูลอุปกรณ์เครื่องมือสนับสนุนการระงับเหตุของส านักงานนิคม

- ข้อมูลแผนผังนิคม (Master Plan)

- ข้อมูลชุมชนและหน่วยงานโดยรอบ

3) เจ้าหน้าที่ดูแลฐานข้อมูล

- สิทธิ์การเข้าใช้งานระบบ

- รายการข้อมูลสารเคมีอันตราย/วัตถุอันตราย

- รายการเครื่องมือสนับสนุนการระงับเหตุ

- ข้อมูลหน่วยงานภายนอกที่เก่ียวข้องกับการสนับสนุนการระงับเหตุ

ภาพที่ 1.1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

Page 6: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

บทที่ 2

การเริ่มเขาใชงานระบบฐานขอมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

Page 7: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 2 - 1

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

บทที่ 2 การเริ่มเข้าใช้งานระบบ

ในบทนี้จะกล่าวถึง หน้าจอการเริ่มเข้าใช้งานระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ (User Interface) ซึ่ง

ถูกแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่นิคม และผู้ดูแลระบบ โดยมีการแยกสีตามประเภทผู้ใช้งาน

กลุ่มผู้ประกอบการมีหน้าที่น าเข้าข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้ประกอบการเอง กลุ่มเจ้าหน้าที่

นิคมมีหน้าที่น าเข้าข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุเกี่ยวกับนิคมที่เจ้าหน้าที่นิคมก ากับดูแล และกลุ่มผู้ดูแลระบบมี

หน้าที่บริหารจัดการสิทธิ์ บริหารจัดการข้อมูลตั้งต้น และพิจารณาความครบถ้วนถูกต้องของข้อมูลที่ผู้ประกอบการ

และเจ้าหน้าที่นิคมจัดส่งมายังระบบ

ทั้งนี้นอกจากหน้าจอผู้ใช้งานของระบบที่แตกต่างไปแล้วในการเข้าถึงระบบ ยังได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ

การเข้าถึงจาก HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) เป็น HTTPS (Hyper Text Transfer Protocol Secure)

ซึ่งเป็น Protocol ที่มีความปลอดภัยในการใช้งานมากยิ่งขึ้น โดยผู้ประกอบการสามารถใช้งานได้บนอุปกรณ์ที่

หลากหลาย

การเริ่มเข้าใช้งานระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ ส่วนผู้ประกอบการ การเริ่มเข้าใช้งานระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุส่วนผู้ประกอบการ จะมีพ้ืนหลังเป็นเฉดสีเขียว ดัง

แสดงในภาพที่ 2.1 โดยผู้ใช้งานสามารถระบุ Username และ Password เพ่ือเข้าสู่ระบบได้

ภาพที่ 2.1 หน้าจอเข้าสู่ระบบ

Page 8: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 2 - 2

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

หากผู้ใช้งานระบุ Username หรือ Password ไม่ถูกต้อง และกดปุ่ม “เข้าสู่ระบบ (Login)” ระบบจะแสดง

ข้อความตัวอักษรสีแดง “Username หรือ Password ไม่ถูกต้อง” ดังแสดงในภาพที่ 2.2

ภาพที่ 2.2 หน้าจอ Username หรือ Password ไม่ถูกต้อง

หากผู้ใช้งานระบุ Username แต่ไม่ระบุ Password และกดปุ่ม “เข้าสู่ระบบ (Login)” ระบบจะแสดง

ข้อความตัวอักษรสีแดง “กรุณาระบุ Password” ดังแสดงในภาพที่ 2.3

ภาพที่ 2.3 หน้าจอกรุณาระบุ Password

เมื่อผู้ใช้งานเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ ส่วนผู้ประกอบการ ระบบจะน าเข้าสู่หน้าจอหลัก

ดังแสดงในภาพที่ 2.4

Page 9: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 2 - 3

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

ภาพที่ 2.4 หน้าหลักของระบบ

Page 10: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

บทที่ 3

การใชงานโปรแกรมสวนผูประกอบการ

Page 11: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 1

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

บทที่ 3 การใช้งานโปรแกรมส่วนผู้ประกอบการ

ในบทนี้จะกล่าวถึง กระบวนการด าเนินงานส าหรับผู้ประกอบการ และ หน้าจอการใช้งานโปรแกรมส่วน

ผู้ประกอบการ (User Interface) ซ่ึงมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

3.1 กระบวนการด าเนินงานส าหรับผู้ประกอบการ

ที่ปรึกษาฯ ได้วิ เคราะห์กระบวนการด าเนินงานที่ เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

กระบวนการด าเนินงานหลักที่เกี่ยวข้องคือ กระบวนการด าเนินงานส าหรับผู้ประกอบการบันทึกข้อมูล และ

กระบวนการด าเนินงานส าหรับเจ้าหน้าที่นิคม บันทึกข้อมูล

จากการศึกษาวิเคราะห์กระบวนการด าเนินงานส าหรับผู้ประกอบการบันทึกข้อมูลแสดงดังภาพที่ 3.1 โดย

เริ่มจากผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบและจัดท าข้อมูล หากข้อมูลยังไม่พร้อมส่งจะบันทึกข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลสนับสนุน

การระงับเหตุ แต่หากข้อมูลพร้อมจะบันทึกข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลและส่งให้เจ้าหน้าที่พิจารณาข้อมูลเพ่ือรอการอนุมัติ

ข้อมูลต่อไป เมื่อเจ้าหน้าที่พิจารณาข้อมูลแล้ว หากข้อมูลพร้อมใช้งานจะบันทึกสถานะการตรวจสอบข้อมูล (อนุมัติ

เรียบร้อยแล้ว) และแจ้งผลไปยังผู้ประกอบการ แต่หากต้องการขอข้อมูลเพ่ิมเติมจะบันทึกสถานะการตรวจสอบ

ข้อมูล (ขอข้อมูลเพิ่มเติม) และผู้ประกอบการจะรับทราบผลการตรวสอบข้อมูล

Page 12: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 2

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

ภาพที่ 3.1 กระบวนการด าเนินงานส าหรับผู้ประกอบการบันทึกข้อมูล

3.2 การใช้งานโปรแกรมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ ส่วนผู้ประกอบการ จากการวิเคราะห์กระบวนการด าเนินงานส าหรับผู้ประกอบการในข้อ 3.1 ที่ปรึกษาได้จัดท าระบบฐานข้อมูล

สนับสนุนการระงับเหตุ ส่วนผู้ประกอบการ ซ่ึงประกอบด้วยหน้าจอหลักดังต่อไปนี้

1) หน้าหลักของระบบ (ภาพที่ 3.2 - 3.3)

2) หน้าจอการจัดการชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ (ภาพที่ 3.4)

- ข้อมูลบุคลากร (ภาพท่ี 3.5)

- ข้อมูลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (ภาพที่ 3.6)

- ข้อมูลสารเคมี/วัตถุอันตรายที่มีความเสี่ยงสูง (Main Hazardous Material) (ภาพที่ 3.7)

- ข้อมูลแผนผังทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Chart/Communication Chart) (ภาพที่ 3.8)

- ข้อมูลแผนผังโรงงาน (Plot Plan) (ภาพที่ 3.9)

- ผู้ให้ข้อมูล (ภาพที่ 3.10)

3) หน้าจอเรียกดูชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

Page 13: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 3

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

- ข้อมูลบุคลากร (ภาพที่ 3.11)

- ข้อมูลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (ภาพที่ 3.12)

- ข้อมูลสารเคมี/วัตถุอันตรายที่มีความเสี่ยงสูง (Main Hazardous Material) (ภาพที่ 3.13)

- ข้อมูลแผนผังทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Chart/Communication Chart) (ภาพที่

3.14)

- ข้อมูลแผนผังโรงงาน (Plot Plan) (ภาพที่ 3.15)

- ผู้ให้ข้อมูล (ภาพที่ 3.16)

4) หน้าจอรายงานสรุปข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ (ภาพท่ี 3.17)

1) หน้าหลักของระบบ

เมื่อเข้าสู่ “หน้าหลักของระบบ” ดังแสดงในภาพที่ 3.2 เมื่อกดปุ่ม “User Name” ส่วนบนขวาของทุก

หน้าจอจะแสดงรายละเอียดของผู้ใช้งาน ประกอบด้วยชื่อผู้ประกอบการ, User Name, แปลงที่ดินและการใช้งาน

ล่าสุด นอกจากนี้ยังมีปุ่ม “Profile” เพ่ือดูข้อมูลผู้ใช้งาน และปุ่ม “Sign out” เพ่ือออกจากระบบ หากผู้ใช้งานกด

ปุ่ม จะกลับสู่หน้าหลักของระบบ

ส่วนของหน้าจอหลักจะแสดงปุ่ม “การจัดการชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ” และ “รายงานสรุปข้อมูล

สนับสนุนการระงับเหตุ”

ภาพที่ 3.2 หน้าหลักของระบบ

Page 14: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 4

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

เมื่อเข้าไปที่ปุ่ม “Profile” จากบริเวณ “User Name” จะพบว่ามีรายละเอียดข้อมูลประกอบกิจการของผู้

ประกอบกิจการ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถระบุต าแหน่งที่ตั้งของโรงงานได้จากหน้าจอดังแสดงในภาพที่ 3.3

ทั้งนี้เพ่ือให้ข้อมูลที่น าไปใช้งานมีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน กรุณาตรวจสอบข้อมูลที่แสดงในระบบอีก

ครั้งหนึ่ง ถ้าข้อมูลมีความคลาดเคลื่อน กรุณาแจ้งเจ้าหน้าที่ ศปก.กนอ. เพื่อท าการปรับปรุงข้อมูลต่อไป

ภาพที่ 3.3 แสดง Profile ผู้ประกอบการที่เชื่อมโยงมาจากระบบ e-PP

2) หน้าจอการจัดการชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “การจัดการชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ” จากหน้าหลักของระบบ ระบบจะเข้าสู่

หน้าจอการจัดการชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ ซึ่งจะแสดงรายการข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุตามสถานะของ

ข้อมูล (อนุมัติเรียบร้อยแล้ว, อยู่ระหว่างจัดท า, อยู่ระหว่างตรวจสอบ หรือขอข้อมูลเพิ่มเติม) ดังแสดงในภาพที่ 3.4

ภาพที่ 3.4 หน้าจอการจัดการชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

Page 15: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 5

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

ผู้ใช้งานสามารถกดปุ่ม “สร้างชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ” เพ่ือสร้างชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ขึ้นมาใหม่ หรือ ปุ่ม “Edit” เพ่ือปรับปรุง/เพ่ิมเติม/ท าต่อ จากข้อมูลในรายการที่มีสถานะอยู่ระหว่างจัดท าหรือขอ

ข้อมูลเพ่ิมเติม หรือปุ่ม “ปรับปรุงชุดข้อมูลที่อนุมัติล่าสุดให้เป็นปัจจุบัน” เพ่ือปรับปรุงข้อมูลที่มีการอนุมัติพร้อมใช้

งานแล้ว จากนั้นระบบจะน าเข้าสู่หน้าจอ “บันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ข้อมูลบุคลากร” ดังแสดงใน

ภาพที่ 3.5 เมื่อผู้ใช้งานกรอกข้อมูลและต้องการบันทึกการกรอกข้อมูลผู้ใช้งานสามารถกดปุ่ม “บันทึกการกรอก

ข้อมูล” เพ่ือบันทึกการกรอกข้อมูลและกลับมากรอกข้อมูลเพ่ิมได้ในภายหลัง หากผู้ใช้งานต้องการล้างข้อมูลที่กรอก

ไปแล้วสามารถกดปุ่ม “ล้างค่าทั้งหมด” และเมื่อผู้ใช้งานกรอกข้อมูลทั้งหมดแล้วและต้องการส่งข้อมูลให้ กนอ.

พิจารณาสามารถกดปุ่ม “ส่งข้อมูลให้ กนอ.”

ภาพที่ 3.5 หน้าจอบันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ข้อมูลบุคลากร

หน้าจอ “บันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ข้อมูลบุคลากร” ดังแสดงในภาพที่ 3.5 ผู้ใช้งานสามารถ

บันทึกข้อมูลดังต่อไปนี้

- จ านวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในแต่ละช่วงเวลา

- เริ่มเวลา

- ถึงเวลา

- จ านวนพนักงานประจ า (คน)

- จ านวนพนักงานจ้างเหมา (Outsource) (คน)

- รวมจ านวนพนักงาน (คน)

- ข้อมูลบุคลากรที่ได้รับแต่งตั้งให้ปฏับัติหน้าที่ในภาวะฉุกเฉิน

Page 16: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 6

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

- ต าแหน่งหน้าที่ในภาวะฉุกเฉิน

- ค าน าหน้าชื่อ

- ชื่อ-นามสกุล

- ต าแหน่งปัจจุบัน

- คลื่นความถี่วิทยุสื่อสาร

- หมายเลขโทรศัพท์

- หมายเลขโทรศัพท์มือถือ

เมื่อกรอกข้อมูลครบถ้วน ผู้ใช้งานสามารถกดปุ่ม “เพ่ิม” เพ่ือเพ่ิมข้อมูลลงตารางหรือ “ล้างข้อมูล” เพ่ือล้าง

การกรอกข้อมูล

เมื่อเข้าสู่ “หน้าจอบันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ข้อมูลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตอบโต้ภาวะ

ฉุกเฉิน” ดังแสดงในภาพที่ 3.6 ผู้ใช้งานสามารถบันทึกข้อมูลดังต่อไปนี้

- รายการเครื่องมืออุปกรณ์

- รายการประเภท/ลักษณะ/ชนิด

- ขนาด/ปริมาณ

- จ านวน

เมื่อกรอกข้อมูลครบถ้วน ผู้ใช้งานสามารถกดปุ่ม “เพ่ิม” เพ่ือเพ่ิมข้อมูลลงตารางหรือ “ล้างข้อมูล” เพ่ือล้าง

การกรอกข้อมูล

ภาพที่ 3.6 หน้าจอบันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ข้อมูลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

Page 17: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 7

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

เมื่อเข้าสู่ “หน้าจอบันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ข้อมูลสารเคมี/วัตถุอันตรายที่มีความเสี่ยงสูง”

ดังแสดงในภาพที่ 3.7 ผู้ใช้งานสามารถบันทึกข้อมูลดังต่อไปนี้

- ชื่อสารเคมี/วัตถุอันตราย

- CAS No.

- GHS No.

- UN No.

- สถานะ

- ปริมาณกักเก็บ

- ภาชนะท่ีบรรจุ

- สารดับเพลิง/การระงับเหตุ

เมื่อกรอกข้อมูลครบถ้วน ผู้ใช้งานสามารถกดปุ่ม “เพ่ิม” เพ่ือเพ่ิมข้อมูลลงตารางหรือ “ล้างข้อมูล” เพ่ือล้าง

การกรอกข้อมูล

ภาพที่ 3.7 หน้าจอบันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ข้อมูลสารเคมี/วัตถุอันตรายที่มีความเสี่ยงสูง

เมื่อเข้าสู่หน้าจอ “บันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ข้อมูลแผนผังทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน” ดังแสดง

ในภาพที่ 3.8 ผู้ใช้งานสามารถบันทึกข้อมูลแผนผังทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน โดยกดปุ่ม “Choose File” เลือกไฟล์ภาพ

ที่ต้องการและกดปุ่ม “บันทึกการกรอกข้อมูล” เพ่ือให้ภาพถูกบันทึกลงในระบบ หากต้องการตรวจสอบว่าภาพถูก

บันทึกในระบบแล้วหรือไม่ ให้กดปุ่ม “View” เพ่ือดูภาพ ทั้งนี้ท่านสามารถลบภาพได้ โดยกดปุ่ม “Delete”

Page 18: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 8

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

ภาพที่ 3.8 หน้าจอบันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ข้อมูลแผนผังทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

เมื่อเข้าสู่หน้าจอ “บันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ข้อมูลแผนผังโรงงาน” ดังแสดงในภาพที่ 3.9

ผู้ใช้งานสามารถบันทึกข้อมูลแผนผังโรงงาน โดยด าเนินการเช่นเดียวกับการบันทึกข้อมูลแผนผังทีมตอบโต้ภาวะ

ฉุกเฉิน

ภาพที่ 3.9 หน้าจอบันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ข้อมูลแผนผังโรงงาน

Page 19: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 9

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

เมื่อเข้าสู่หน้าจอ “บันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ผู้ให้ข้อมูล” ดังแสดงในภาพที่ 3.10 ผู้ใช้งาน

สามารถบันทึกข้อมูลดังต่อไปนี้

- ค าน าหน้าชื่อ

- ชื่อ-นามสกุล

- หมายเลขโทรศัพท์

- หมายเลขโทรศัพท์มือถือ

- Email

ภาพที่ 3.10 หน้าจอบันทึกชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ผู้ให้ข้อมูล

3) หน้าจอเรียกดูชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

จากหน้าจอ “การจัดการชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ” ดังแสดงในภาพที่ 3.4 ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูชุด

ข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุที่มีสถานะข้อมูล “อนุมัติเรียบร้อยแล้ว” โดยกดปุ่ม “View” ระบบจะแสดงข้อมูล

สนับสนุนการระงับเหตุดังแสดงในภาพที่ 3.11-3.16

Page 20: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 10

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

ภาพที่ 3.11 หน้าจอชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ข้อมูลบุคลากร

ภาพที่ 3.12 หน้าจอชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ข้อมูลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

ภาพที่ 3.13 หน้าจอชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ข้อมูลสารเคม/ีวัตถุอันตรายที่มีความเสี่ยงสูง

Page 21: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 11

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

ภาพที่ 3.14 หน้าจอชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ข้อมูลแผนผังทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

ภาพที่ 3.15 หน้าจอชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ - ข้อมูลแผนผังโรงงาน

ภาพที่ 3.16 หน้าจอชุดข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ – ผู้ให้ข้อมูล

Page 22: บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ · บทที่ 1 ภาพรวมระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration: NIDA) หน้าที่ 3 - 12

คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมลูสนับสนนุการระงับเหตุ: โครงการส ารวจและน าเข้าข้อมลูสนับสนุนการระงับเหตุของโรงงาน ระยะที่ 3

4) หน้าจอรายงานสรุปข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ

จากหน้าจอหลักของระบบดังแสดงในภาพที่ 3.2 ผู้ใช้งานสามารถดูสรุปข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุได้โดย

เข้าไปที่ “รายงานสรุปข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ” ซึ่งจะเป็นการสรุปข้อมูลในหน้าเดียว ดังแสดงในภาพที่ 3.17

ภาพที่ 3.17 รายงานสรุปข้อมูลสนับสนุนการระงับเหตุ