บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ...

27
บทที3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการ

Upload: others

Post on 27-Sep-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการ

Page 2: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-1

บทท่ี 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการ

1. บทนํา

“ธุรกิจบริการ” เปนถอยคําที่มีความหมายกวาง การประกอบธุรกิจบริการมีความหลากหลาย แตกตางกันตามลักษณะของการใหบริการ ธุรกิจบริการอาจมีลักษณะที่เห็นไดชัดในตัวเองวาเปน ธุรกิจบริการโดยตรง หรือมีลักษณะเปนทั้งธุรกิจบริการและธุรกิจการจําหนายสินคาควบคูกันไป ธุรกิจบริการจะครอบคลุมถึงกิจกรรม ผลประโยชน หรือความพึงพอใจที่สนองความตองการของลูกคา ซ่ึงมีความเกี่ยวของสัมพันธกับพื้นฐานการดําเนินชีวิตของประชาชนและหนวยงานธุรกิจโดยทั่วไป ทําใหผูอยูในธุรกิจนี้จะตองพยายามสรางทัศนคติที่ดีใหเกิดขึ้นกับลูกคาโดยมีความคิดริเร่ิมสรางสรรค ชวยแกไขปญหา สรางบริการที่แตกตางเหนือกวาคูแขงขันเพื่อใหการสงมอบบริการใหลูกคามีความสะดวก รวดเร็วและสรางความประทับใจเพื่อใหเกิดโอกาสการใชบริการซ้ําหรือตอเนื่อง ธุรกิจบริการนั้นมีความหลากหลายประเภทเพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการของลูกคา ทําใหมีผูประกอบกิจการรายใหม ๆทยอยเขาสูตลาดภาคบริการตลอดเวลาโดยเฉพาะผูประกอบกิจการขนาดเล็ก เนื่องจากเปนที่มีอุปสรรค ในการเขาสูธุรกิจไมสูงมาก อยางไรก็ดีโดยรวมแลวธุรกิจบริการนาจะหมายความถึงการประกอบธุรกิจหรือการประกอบกิจการคาเพื่อแสวงหากําไรที่มิไดมุงในการจําหนายสินคาหรือผลิตภัณฑที่สามารถ จับตองได แตมุงที่การใหบริการดวยความชํานาญเฉพาะดาน ความสามารถเฉพาะตัว การใชกําลังแรงกายหรือกําลังความคิด โดยคาดหวังผลตอบแทนจากการใหบริการนั้นๆ ทั้งนี้โดยท่ีผูใชบริการอาจใชบริการเนื่องจากตองการประโยชนจากการบริการโดยตรง เชน ความประณีต ความสวยงาม ความทันสมัยหรือประโยชนทางออมจากการบริการ เชน ความบันเทิง ความผอนคลาย ความสุข หรือการพักผอนหยอนใจ ในรายงานการศึกษาโครงการการสงเสริมธุรกิจการใหบริการ1 ไดใหคํานิยามวาธุรกิจการใหบริการ (Service) หมายถึง เปนกิจกรรม ผลประโยชน หรือความพึงพอใจที่สนองตอบความตองการแกลูกคา โดยจําแนกเปน 4 ประเภทอยางกวางๆ ดังนี้ 1) ผูซ้ือเปนเจาของสินคาและนําสินคาไปขอรับบริการ จากผูขาย เชน บริการซอมรถ ซักอบรีด เปนตน 2) ผูขายเปนเจาของสินคาและขายบริการใหกับผูซ้ือ เชน ถายเอกสาร เปนตน 3) ลูกคาซื้อบริการและมีสินคาควบมาดวย เชน รานอาหาร เปนตน และ 4) ลูกคาซื้อบริการและไมมีสินคาควบมาดวย เชน สถานลดน้ําหนักนวดแผนโบราณ เปนตน ทั้งนี้ การศึกษาดังกลาวไดจัดกลุมธุรกิจการใหบริการออกเปนกลุมยอยลงไปอีกดังนี้2

1 รายงานการศึกษาโครงการ การสงเสริมธุรกิจการใหบริการ เสนอกรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย จัดทําโดย บริษัท เอ็กเซลเลนท บิสเนส แมเนจเมนท จํากัด กุมภาพันธ 2544 2 ผูวิจัยไดจัดกลุมประเภทธุรกิจการใหบริการท่ีสอดคลองกับเงื่อนไขของโครงการใหครอบคลุมประเภทธุรกิจเปาหมายซึ่งจัดอยูใน ประเภทธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม

Page 3: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-2

1) บริการดานอสังหาริมทรัพยและที่เกี่ยวของ ไดแก การกอสรางและซอมแซมบาน สํานักงาน การออกแบบจัดสวนและดูแลสวน การออกแบบตกแตง ภายใน การปองกันกําจัดปลวก/แมลง การซอมและวางระบบไฟฟา/น้ําประปา การติดตั้งและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ การซอมเฟอรนิเจอร การทํา มุงลวด/เหล็กดัด การซอมเครื่องใชไฟฟา เชน โทรทัศน วิทยุ เปนตน การซอมเครื่องใชสํานักงาน เชน เครื่องคอมพิวเตอร เปนตน การทํากุญแจสํารอง บริการทําความสะอาด บริการรักษาความปลอดภัย บริการบานเชา/หอพัก/อพารตเมนต และนายหนา/ตัวแทนซื้อขายอสังหาริมทรัพย เปนตน

2) บริการที่เกี่ยวกับเครื่องใชสวนบุคคล ไดแก การซักอบรีด การตัดเย็บและ ซอมเสื้อผา การซอมแซมเครื่องใชสวนบุคคล ไดแก รองเทา กระเปา นาฬิกา โทรศัพทมือถือ เครื่องประดับ เปนตน

3) บริการดานการเดินทาง/ขนสง ไดแก การคมนาคมทางบก เชน รถเมล รถประจําทาง รถสองแถว รถตูโดยสาร รถจักรยานยนตรับจาง แท็กซี่รับจาง สามลอรับจาง การคมนาคมทางน้ํา เชน เรือโดยสาร/เรือขามฟาก/เรือรับจาง บริการดานการขนสง เชน ขนสงสินคา/พัสดุ และเอกสารตลอดจนบริการใหเชาพาหนะเดินทาง เปนตน

4) บริการเกี่ยวกับรถยนต/ยานพาหนะ ไดแก การใหบริการซอมรถยนต และ รถจักรยานยนต เชน เคาะพนสี/ซอมตัวถัง บํารุงรักษา/เปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง ปะยาง/ถวงลอ ลางรถ บริการที่จอดรถ/รับฝากรถ เปนตน

5) บริการดานสุขภาพ/ความงาม ไดแก การตัดผม เสริมสวย ตลอดจนการนวดแผนไทย เปนตน

6) บริการดานสันทนาการและกีฬา ไดแก การใหบริการเกี่ยวกับสถานบริหาร รางกายและสนามกีฬา เชน เทนนิส แบดมินตัน เปนตน

7) บริการดานการศึกษาและฝกอบรม ไดแก การฝกอบรม/สัมมนา การสอนพิเศษ หรือกวดวิชา เชน สอนภาษาไทย/ตางประเทศ เครื่องดนตรี ขับรองเพลง การเตนรํา/เตนบัลเลต การใชเครื่องคอมพิวเตอร การวายน้ํา/ดําน้ํา การเลนกีฬา เชน เทนนิส กอลฟ การขับรถยนต ตลอดจนการสอนวิชาชีพเฉพาะ เชน ดูแลผูปวย ดูแลเด็ก เปนตน

8) บริการจัดหาบุคลากร ไดแก พยาบาล พี่เล้ียงดูแลเด็ก ผูดูแลคนชรา คนดูแล ทําความสะอาดบาน และคนขับรถ เปนตน

Page 4: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-3

9) บริการใหเชา ไดแก หนังสือ วีดีโอ ซีดี ตูเกม เครื่องจักร เครื่องถายเอกสารและเครื่องคอมพิวเตอร เปนตน

10) บริการดานการทองเที่ยวและที่เกี่ยวเนื่องกับการเดินทาง ไดแก ธุรกิจนําเที่ยว/รับจองตั๋ว เชน โรงแรม พาหนะเดินทาง เปนตน บริการภัตตาคาร/รานอาหาร บริการรับจัดงานเลี้ยง บานเชา/เกสตเฮาส เปนตน

11) บริการดานธุรกิจ ไดแก บริการโฆษณา บริการคอมพิวเตอร เชน รับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร การติดตั้งซอฟทแวร อินเตอรเน็ต เปนตน บริการใหคําปรึกษา ยกเวนวิชาชีพเฉพาะ เชน ทนายความ บัญชี เปนตน ตลอดจนบริการวิจัยตลาด เปนตน

12) ธุรกิจบันเทิงและโฆษณา ไดแก การโฆษณาประชาสัมพันธ พาณิชยศิลป เชน การวาดรูป การเขียนปาย เปนตน

13) บริการดานสิ่งแวดลอม ไดแก การกําจัดขยะ การบําบัดน้ําทิ้ง เชน บอดัก ไขมัน เปนตน

14) บริการทั่วไป ไดแก การถายเอกสาร/เขาเลม งานพิมพเอกสาร/การด/นามบัตร โรงพิมพ ถายรูปใน/นอกสถานที่ ถายสติกเกอร รับแปลเอกสาร ลาม บริการจัดดอกไม บริการจัดสงอาหารและการสงน้ําดื่มตามบาน/สํานักงาน ตลอดจนบริการเกี่ยวกับสัตวเล้ียง เชน ฝกสุนัข ตัดขน เปนตน

องคการการคาโลก หรือ World Trade Organizations (WTO) ตามพันธกรณีภายใตความตกลงทั่วไปวาดวยการคาบริการ หรือ General Agreement on Trade in Services (GATS) ซ่ึงเปนความตกลงระหวางประเทศอันเปนผลจากการเจรจาพหุภาคีรอบอุรุกวัยไดกําหนด “บริการ”ประเภทตางๆ เอาไวหลายหมวดหมู บริการที่นํามาพิจารณาเจรจากันภายใตขอตกลงนี้ครอบคลุม ตั้งแตบริการที่เปนของฟุมเฟอย ไดแก การทองเที่ยว การบันเทิง การโฆษณา และการกีฬา จนถึงบริการพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต ไดแก การรักษาพยาบาล การศึกษา การขนสง ส่ิงแวดลอม ซ่ึงรวมถึงการจายน้ํา พลังงาน และการกําจัดขยะและของเสีย นอกจากนี้ยังรวมถึง การกอสราง การค าปลี กและค าส ง การสื่ อสารโทรคมนาคม การบริหารธุ รกิ จ และการเงิ น 3 ทั้ งนี้ สาขาการคาบริการที่จําแนกไวเมื่อการเจรจารอบอุรุกวัยแบงเปน 12 สาขา ดังนี้1) สาขาบริการ ดานธุรกิจ 2) สาขาดานคมนาคมสื่อสาร 3) สาขาบริการดานการกอสรางและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง

3 ชนิดา จรรยาเพศ แบมฟอรด โครงการศึกษาและปฏิบัติการงานพัฒนา (โฟกัส)

http://www.focusweb.org/publications/Thai/2001/karnkaborikarn.html

Page 5: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-4

กับการกอสราง 4) สาขาบริการดานการจัดจําหนาย 5) สาขาบริการดานการศึกษา 6) สาขาบริการ ดานสิ่งแวดลอม 7) สาขาบริการดานการเงิน 8) สาขาบริการที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพและดานสังคม 9) สาขาบริการดานการทองเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยว 10) สาขาบริการ ดานสันทนาการ วัฒนธรรมและกีฬา 11) สาขาบริการดานการขนสง และ 12) สาขาบริการดานอื่นๆ

ความตกลงทั่วไปวาดวยการบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service: AFAS) มีการกลาวถึงการบริการเชนเดียวกัน โดยมีการกําหนดเปดเสรีในสาขาบริการ 7 สาขา ไดแก บริการดานธุรกิจ ส่ือสารโทรคมนาคม บริการกอสรางและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการกอสราง การเงิน การทองเที่ยว และการเดินทางที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยว การขนสง ทางทะเล การขนสงทางอากาศ

ความตกลงวาดวยการเปดเสรีในเอเปก (Asia Pacific Economic Cooperation: APEC) มีขอตกลงในลักษณะการแลกเปลี่ยนขอมูล ขอคิดเห็นดานวิชาการ ตลอดจนกฎระเบียบตางๆ เกี่ยวกับ การคาและการบริการในแตละสาขาที่ดําเนินการเปดเสรีดวยความสมัครใจ สาขาบริการดังกลาว ไดแก สาขาสื่อสารโทรคมนาคม การทองเที่ยวและการเดินทางที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยว การขนสงทางทะเล การขนสงทางอากาศ การขนสงทางถนน การประกันภัยบริการดานการพลังงาน

อยางไรก็ดี การกําหนดธุรกิจบริการของภาครัฐแนวทางหนึ่งในปจจุบันจะอยูภายใตหลักเกณฑการจัดแบงหมวดหมูและการกําหนดรหัสตามการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล หรือ International Standard Industrial Classification of All Economic Activities (ISIC) ขององคการสหประชาชาติ (United Nations) กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานไดจัดประเภท มาตรฐานอุตสาหกรรมของประเทศไทยตามแนวทางดังกลาว เพื่อประโยชนในการบริหารงาน แรงงาน เชน งานจัดหางาน งานแนะแนวอาชีพ งานคุมครองแรงงาน งานพัฒนาแรงงาน งานการจัดเก็บสถิติอุตสาหกรรม และสถิติเศรษฐกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งสามารถเปรียบเทียบขอมูลกับนานาประเทศที่เก็บขอมูลในภาพรวมระบบสากล นอกจากนี้หนวยงานตางๆ ยังสามารถ นําไปใชประกอบการวางแผนกําลังคน การศึกษา การฝกอบรมและการวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรมไดเมื่อพิจารณา “ธุรกิจบริการ” ภายใตการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) พ.ศ. 2544 ธุรกิจบริการยังคงมีความหมายที่กวางมากโดยถูกจัดอยูใน หมวด H โรงแรมและภัตตาคาร หมวด I การขนสง สถานที่เก็บสินคาและการคมนาคม หมวด J ตัวกลางทางการเงิน หมวด K บริการดานอสังหาริมทรัพย การใหเชาและบริการทางธุรกิจ หมวด M การศึกษา หมวด N การบริการดานสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห หมวด O การใหบริการชุมชน สังคมและ บริการสวนบุคคลอื่นๆ และ หมวด Q ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล

Page 6: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-5

ภายใตประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมดังกลาวของไทย ธุรกิจบริการมีความหมาย กวางมาก อาทิ โรงแรม คายพัก และที่พักชั่วคราว ภัตตาคาร รานขายอาหาร บาร ไนตคลับ คาเฟ บริการใหเชาของใชสวนบุคคลและของใชในครัวเรือน การใหคําปรึกษาเกี่ยวกับฮารดแวร กิจกรรมดานฐานขอมูล การบํารุงรักษาและการซอมแซมเครื่องจักรสํานักงาน เครื่องทําบัญชีและเครื่องคํานวณ การวิจัยและการพัฒนาการทดลองดานวิทยาศาสตรธรรมชาติ ดานวิศวกรรมและ ทางเทคนิค และดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร บริการทางกฎหมาย บัญชี การวิจัยตลาดและการสํารวจความคิดเห็น การใหคําปรึกษาทางธุรกิจ บริการทางสถาปตยกรรม บริการโฆษณา บริการจัดหางานและสรรหาบุคลากร บริการสืบสวนสอบสวน บริการรักษาความปลอดภัย บริการทําความสะอาดอาคาร บริการถายภาพ บริการบรรจุภัณฑ การศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา บริการดานสุขภาพ การใหบริการชุมชน สังคม และบริการสวนบุคคลอื่นๆ กิจกรรมนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา การฉายภาพยนตร บริการดานวิทยุและ โทรทัศน การแสดงละคร ดนตรี และศิลปะอื่นๆ กิจกรรมความบันเทิงอื่นๆ สวนพฤกษชาติ สวนสัตว สโมสรการกีฬา สถานบริการดานกีฬา รานแตงผม สถานเสริมความงาม บริการเกี่ยวกับงานศพและกิจกรรมที่เกี่ยวของ สถานลดน้ําหนัก สถานอาบ อบ นวด บริการนวดแผนโบราณ บริการจัดการงานแตงงาน ลูกจางในครัวเรือน เปนตน ดังนั้น จากขอบเขตอันหลากหลายของธุรกิจบริการดังกลาว ทําใหการพิจารณาถึงแรงงานในภาคบริการดังกลาวมีจํานวนมากและมีความหลากหลาย แตโดยรวมแลวแรงงานในภาคบริการอาจพิจารณาไดตามลักษณะการใหบริการแตละประเภท ซ่ึงเมื่อพิจารณาในเชิงเปรียบเทียบจะเห็นวาแนวทางการจําแนกหรือกําหนดหมวดหมูของ “ธุรกิจบริการ” “ธุรกิจการใหบริการ” “บริการ” ดังที่กลาวมาแลวขางตนลวนแลวแตอยูในหมวดหมูที่มีความใกลเคียงกัน โดยมีความครอบคลุมที่กวางมาก และมีรายละเอียดที่สามารถแบงแยกเปนประเภทยอยๆ ไดเปนจํานวนมาก ซ่ึงไมวาจะมีการแบงแยกอยางไร ธุรกิจการใหบริการ จะครอบคลุมถึงกิจกรรม ผลประโยชน หรือความพึงพอใจที่สนองความตองการของลูกคาซึ่งมีความเกี่ยวของสัมพันธกับพื้นฐานการดําเนินชีวิตของประชาชนและหนวยงานธุรกิจโดยทั่วไป4

ดวยขอบเขตที่กวางขวางประกอบกับลักษณะความหลากหลายของธุรกิจบริการ ทําใหธุรกิจบริการเปนธุรกิจที่ตองมีการจางงานเปนจํานวนมากโดยนอกจากแรงงานหรือลูกจาง ในธุรกิจบริการจะมีจํานวนมากแลว ยังมีความแตกตางกันตามลักษณะของธุรกิจบริการ ความถนัด ความสามารถเฉพาะที่จําเปนสําหรับธุรกิจบริการแตละประเภท และมีลักษณะการจางแรงงาน สวนหนึ่งที่ไมเขาขายลูกจางตามกฎหมายคุมครองแรงงาน ดังนั้น บรรดาลูกจางหรือผูทํางาน ในภาคบริการจึงควรไดรับความคุมครองขั้นพื้นฐานอยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน

4 หนา 2-1 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 1

Page 7: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-6

ขอมูลสถิติแรงงาน 2544 ของกองวิชาการและแผนงาน กรมสวัสดิการและคุมครอง แรงงาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม (ช่ือในขณะนั้น) แสดงจาํนวนสถานประกอบการและลกูจาง ในป 2544 จําแนกตามอุตสาหกรรมและขนาดสถานประกอบการทั่วราชอาณาจักรชี้ใหเห็นวาในจํานวนสถานประกอบการทั่วราชอาณาจักร 349,102 แหง มีสถานประกอบการที่เขาขายธุรกิจการบริการเปนจํานวนรวมถึง 235,518 แหง แบงเปน ขายสง ขายปลีก ภัตตาคาร และโรงแรม 151,390 แหง ขนสง คลังสินคา และคมนาคม 12,058 แหง บริการการเงิน ประกันภัย และอสังหาริมทรัพย 26,131 แหง และบ ริ ก า ร ชุ ม ช น บริการสังคม และบริการสวนบุคคล 45,939 แหง ทั้งนี้ สถานประกอบการที่เขาขายธุรกิจการบริการดั ง ก ล า ว มีจํานวนลูกจางรวมทั้งสิ้น 3,189,592 คน จากจํานวนลูกจางรวมในทุกอุตสาหกรรมจํานวน 7,891,402 คน แบงเปนลูกจางในอุตสาหกรรมขายสง ขายปลีก ภัตตาคาร และโรงแรม 1,658,140 คน ขนสง คลังสินคา และคมนาคม 436,526 คน บริการการเงิน ประกันภัย และอสังหาริมทรัพย 601,552 คน และบริการชุมชน บริการสังคม และบริการสวนบุคคล 493,374 คน

อยางไรก็ดี เนื่องจากขอบเขตการศึกษาของรายงานการศึกษาฉบับนี้มุงเนนในการศึกษาเพื่อเสนอแนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการเปนหลัก จึงจําเปนตองทําความเขาใจในความหมายและคํานิยามของคําวาสถานบริการ ซ่ึงความหมายที่ชัดเจนที่สุดจะอยูภายใตพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 ซ่ึงมีการแกไขเพิ่มเติมใหสอดคลองกับสภาวการณปจจุบันโดยพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2546 โดยจะมีการกลาวถึงตอไปพรอม ๆกับพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509

หากกลาวถึง “สถานบริการ” โดยทั่วไปแลวความหมายในเชิงกวางจะมีความ สอดคลองกับความหมายที่ไดกลาวเอาไวในตอนตนที่จะมีความหลากหลายและแยกยอยออกไดเปนจํานวนมาก เนื่องจากการประกอบธุรกิจบริการสวนใหญลวนแลวแตตองมีสถานที่ สําหรับ ใหบริการแกลูกคาหรือผูมาใชบริการ ยกเวนธุรกิจบริการบางลักษณะที่อาจไมจําเปนตองมีสถานที่สําหรับใหบริการเนื่องจากลักษณะการบริการตองทํานอกสถานที่หรือเปนการใหบริการในสถานที่ของลูกคาหรือผูใชบริการ อยางไรก็ดี เนื่องจากการศึกษานี้มุงเนนกลุมแรงงานซึ่งมิไดมีอยูในฐานะลูกจางตามความกฎหมายคุมครองแรงงานซึ่งสถานบริการที่มีแรงงานลักษณะนี้อยูเปนจํานวนมาก ธุรกิจเหลานี้ ไดแก ธุรกิจบริการประเภทหนึ่ง ซ่ึงชวยผอนคลายหรือบรรเทาทุกขทางใจและกายของมนุษย5ทําใหม นุ ษ ย มีความรื่นเริง ความบันเทิง หรือความสุขทั้งทางใจและกายมีการเรียกสถานบริการทั้งในความหมายรวมๆ โดยกวาง เชน สถานเริงรมย สถานบันเทิง แหลงบันเทิง หรือสถานที่เที่ยว หรือจะเรียกยอยๆ แตกตางกันออกไปตามลักษณะของสถานที่ เชน ผับ คาเฟ ไนตคลับ รานอาหาร โรงน้ําชา บารรําวง บารอโกโก

5 เอกสารวิจัย เรื่อง การใชมาตรการทางกฎหมายวาดวยสถานบริการในการควบคุมการกระทําผิด: ศึกษากรณีการควบคุมสถาน บริการตามกฎหมายวาดวยสถานบริการสถาบันพัฒนาขาราชการตํารวจ กองบัญชาการการศึกษา กรมตํารวจ พ.ศ. 2539 หนา 1

Page 8: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-7

ดิสโกเธค ภัตตาคาร สวนอาหาร นวดแผนโบราณ อาบอบนวด เปนตน อยางไรก็ตาม ความหมายของสถานบริการที่ปรากฏชัดที่สุดจะอยูภายใตพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 25096 ซ่ึงไดใหคํานิยามของสถานบริการเอาไวซ่ึงจะไดกลาวถึงโดยละเอียดตอไปในหัวขอตอไป

เนื่องจากสถานบริการเปนสถานที่เกิดขึ้นมาไดเนื่องจากเปนสถานที่ซ่ึงชวยผอนคลายหรือบรรเทาทุกขทางกายของมนุษย หรือชวยสรางความบันเทิงใหมนุษย ในสมัยที่ความเจริญทางวัตถุยังไมเปนเงื่อนไขของสังคม การจัดกิจกรรมจึงเปนไปในรูปแบบของการใหบริการโดยไมคิดมูลคา7 ไมมีผลประโยชนทางวัตถุเขามาเกี่ยวของ ตอมาเมื่อความเจริญทางวัตถุในสังคมมีมากขึ้น ทําใหมีการพัฒนาสถานบริการออกมาหลายรูปแบบ เร่ิมมีการเรียกรองคาบริการเกิดขึ้นมีพัฒนาการมากขึ้นจนถึงมีการจัดตั้งสโมสรหรือไนตคลับขึ้นเพื่อใหบริการแกนักเที่ยวกลางคืนผูมีรสนิยมฟุมเฟอย มีการจัดงานราตรีสโมสรขึ้นในที่เหมาะสมเพียบพรอมดวยนักรองนักดนตรีขับกลอม โดยเก็บคาบริการ สถานการคาประเวณีหรือซองไดพัฒนาตัวเองเปนสถานอาบอบนวดเพื่อฉวยโอกาสคาประเวณีแอบแฝง ตามภัตตาคารใหญๆ มีการจัดใหมีหญิงบริการซึ่งทําหนาที่ยกอาหารและเครื่องดื่มมาบริการลูกคา บางภัตตาคารมีบริการพิเศษให ลูกคาสามารถลวงเกินหญิงบริการขณะบริการอาหารไปดวยได8 นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเมือง การปกครอง มีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมควบคูไปดวย สถานบริการหลายๆ ประเภทจึงตองมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบเพื่อใหพนจากความผิดตามกฎหมาย เชน ความเปนมาของสถานบริการ อาบอบนวด เร่ิมปรากฏขึ้นครั้งแรกในกรุงเทพเมื่อ พ.ศ. 2494 บริเวณยานพัฒนพงษ ช่ือ บางกอกออนเซน โดยดัดแปลงมาจากบริการในบารญ่ีปุน ธุรกิจบริการประเภทอาบอบนวด จึงกลายเปนที่นิยมของคนไทย จนกระทั่งสถานบริการอาบอบนวดไดจดทะเบียนเปนสถานบริการที่ถูกตองตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 อาชีพหมอนวดจึงกลายเปนอาชีพที่ถูกตองตามกฎหมาย9

จากขอมูลของกรมการปกครองในป 2546 มีจํานวนสถานบริการรวมทั้งสิ้น 7,825 แหง แบงเปนในกรุงเทพมหานคร 1,639 แหง ภาคกลาง 1,985 แหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1,443 แหง ภาคเหนือ 1,229 แหง และภาคใต 1,529 แหง

จากขอมูลของกลุมงานระบาดวิทยา กองกามโรค กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุขที่ทําการสํารวจในป พ.ศ. 2545 มีสถานบริการทั้งสิ้น 12,090 แหง สถานบริการประเภท คาราโอเกะมีจํานวนสูงที่สุดคือ 4,301 แหง ประเภทบารรําวงมีจํานวนนอยที่สุดคือ 4 แหง ในจํานวนสถานบริการทั้งหมดทั่วประเทศ มีผูใหบริการรวมทั้งสิ้น 136,299 คน โดยแบง

6 มาตรา 3 ซึ่งไดมกีารเพิ่มเติม (4) โดยพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที ่3) พ.ศ. 2525 7 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 1 8 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 1 9 กระบวนการกลายเปนหมอนวด: กรณีศึกษาหญิงบริการในสถานบริการ อาบ อบ นวด วิทยานิพนธหลักสูตรสังคมวิทยา

มหาบัณฑิต คณะสงัคมวิทยาและมานษุยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2530โดยศุลีมาน นฤมล

Page 9: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-8

เปนชาย 21,459 คน ในจํานวนนี้เปนชายใหบริการ 3,788 คน แบงเปนหญิง 114,840 คน ในจํานวนนี้ เปนหญิงใหบริการ 65,186 คน (แรงงานอื่นนอกเหนือจากชายและหญิงผูใหบริการหมายความถึง แรงงานอื่นๆ ทั้งหมดที่ทํางานในสถานบริการ เชน พนักงานเสิรฟ บารเทนเดอร เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย พนักงานรับรถ พนักงานตอนรับ พอครัว แมครัว คนเชียรแขก แมบาน พนักงาน เก็บเงิน เปนตน)

พิจารณาจากขอมูลขางตน จะเห็นไดวาจํานวนสถานบริการจากสองแหลงขอมูล มีความแตกตางกันมากซึ่งสะทอนใหเห็นวามีสถานบริการจํานวนหนึ่งที่มิไดจดทะเบียน กับกรมการปกครองซึ่งอาจเนื่องจากลักษณะของสถานบริการไมเขาขายสถานบริการตามกฎหมายสถานบริการ ซ่ึงสืบเนื่องจากไมไดปรับปรุงกฎหมายใหสอดคลองกับสถานการณ นอกจากนี้ จากขอมูลขางตนยังแสดงใหเห็นวา สถานบริการที่เปดใหบริการในรูปแบบตางๆ มีจํานวนมาก ซ่ึงสงผลใหมีแรงงานที่ทํางานในสถานบริการเปนจํานวนมากตามมาเชนกัน ไมวาจะเปนผูที่ทํางานในการใหบริการโดยตรงหรือผูที่ทําหนาที่อ่ืนๆ ในสถานบริการเหลานี้โดยตรง หรือเปนผูที่ทํางานในธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับสถานบริการ สถานบริการจึงเปนธุรกิจที่นอกจากจะสามารถสรางงาน ไดเปนจํานวนมาก แลวยังเปนธุรกิจที่มีอัตราการขยายตัวที่รวดเร็วโดยในชวงระหวางป พ.ศ. 2525–2533 (คาดคะเนถึงป พ.ศ. 2539) จํานวนสถานบริการทั่วประเทศมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากจํานวนประมาณ 3,000 แหงในป พ.ศ. 2525 เปนประมาณ 6,000 แหงในป พ.ศ. 2533 และ มีจํานวนประมาณ (จากการคาดคะเน) 8,800 แหงในป พ.ศ. 253910 ในป พ.ศ. 2541 มีจํานวน 8,016 แหง11 และจากการสํารวจลาสุดในป พ.ศ. 2545 มีจํานวนเพิ่มขึ้นเปน 12,090 แหง12

เชนเดียวกับอัตราการขยายตัวของสถานบริการ อัตราการจางงานในสถานบริการก็มีอัตราการขยายตัวที่รวดเร็วเชนกัน ในชวงระหวางป พ.ศ. 2525 – 2533 (คาดคะเนถึง ป พ.ศ. 2539) จํานวนหญิงโสเภณีทั่วประเทศมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้นจากจํานวนประมาณ 44,000 คน ในป พ.ศ. 2525 เปนประมาณ 80,000 คน ในป พ.ศ. 253313 ในป พ.ศ. 2541 จํานวนพนักงาน ทั้งหมดในสถานบริการทางเพศมีจํานวน 107,591 คน ในจํานวนนี้เปนหญิงใหบริการทางเพศจํานวน 61,135 คน14 และจากการสํารวจลาสุดในป พ.ศ. 2545 มีจํานวน 136,299 คน ในจํานวนนี้เปนหญิงใหบริการทางเพศจํานวน 65,186 คน15

10 เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องบทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนในการปองกันและแกไขปญหาธุรกิจบริการทางเพศ วันที่ 18 – 19 กันยายน พ.ศ. 2533

ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล อางถึงในหนา 2-3 ของวิทยานิพนธหลักสูตรปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการประชาสัมพันธ บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการสื่อสารของหญิงโสเภณี : ศึกษาเฉพาะกรณีหญิงโสเภณี ที่เขารับการสงเคราะห ณ สถานสงเคราะหหญิง บานเกร็ดตระการ จังหวัดนนทบุรี ของนางสาวปาริชาต สถาปตานนท พ.ศ. 2534

11 กองกามโรค กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข อางถึงในหนา 15 ของประมวลสถานการณทางดานสุขอนามัยของหญิงบริการทางเพศ อุไรวรรณ คนึงสุขเกษม และ สุภาณี เวชพงศา สิงหาคม 2542 12 กลุมงานระบาดวิทยา กองกามโรค กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข อางถึงใน รายงานการสํารวจสถานบริการทางเพศและผูใหบริการทางเพศ ของคณะกรรมการพัฒนาระบบการสํารวจสถานบริการทางเพศ 13 หนา 2 อางถงึแลวในเชิงอรรถที่ 10 14 หนา 15 อางถงึแลวในเชิงอรรถที่ 11 15 อางถงึแลวในเชิงอรรถท่ี 12

Page 10: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-9

ธุรกิจสถานบริการนอกจากจะสามารถสรางงานไดเปนจํานวนมากแลว ยังทําใหเกิดธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องจํานวนมาก เชน ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจบันเทิง เปนตน การขยายตัวของจํานวนและประเภทของสถานบริการสวนหนึ่งเกิดจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซ่ึงสอดคลองกับความเจริญทางวัตถุ และการเพิ่มขึ้นของจํานวนนักทองเที่ยว ทําใหมีสถานบริการเปดใหมจํานวนมากทั้งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดซึ่งเปนแหลงทองเที่ยวสําคัญ ในป พ.ศ. 2545 กรุงเทพมหานครมีสถานบริการจํานวน 2,059 แหง ชลบุรี จํานวน 1,135 แหง สงขลา จํานวน 472 แหง สุราษฎรธานี จํานวน 430 แหง ภูเก็ต จํานวน 418 แหง ระยอง จํานวน 350 แหง นครศรีธรรมราช จํานวน 330 แหง สมุทรปราการ จํานวน 327 แหง เชียงราย จํานวน 301 แหง ปตตานี จํานวน 291 แหง นครราชสีมา จํานวน 265 แหง นนทบุรี จํานวน 132 แหง เชียงใหม จํานวน 117 แหง16

อยางไรก็ตาม เนื่องจากการประกอบธุรกิจของสถานบริการสวนใหญเปนการใหบริการในลักษณะที่กอใหเกิดปญหาแกสังคม ไมวาจะเปนสถานบริการที่เปดใหบริการในชวง กลางวันหรือในชวงกลางคืนก็ตาม (แตปญหาที่เกิดขึ้นสวนมากมักเกิดจากสถานบริการที่เปด ใหบริการในชวงกลางคืน) ผลกระทบที่เกิดจากบรรดาสถานบริการนอกเหนือจากความ ผอนคลาย ความบรรเทาทุกขทั้งทางกายและใจ และความบันเทิงที่ผูเที่ยวจะไดรับแลว มักจะเกิดปญหาตามมาไมวาจะเปนจากการทะเลาะวิวาท การกอคดีขมขืนกระทําชําเราหญิงบริสุทธิ์ เนื่องจากได รับการยั่ วยุอารมณทางเพศเพื่อ เ รียกรองความสนใจจากลูกคาของนักรองนักแสดง ในสถานบันเทิง การที่หญิงบริการกลายเปนพาหะของการแพรเชื้อโรค17 ปญหาที่เกิดขึ้นนี้มีทั้ง ในแงของการใหบริการนอกกฎหมาย เชน กรณีโสเภณีหญิงถูกบังคับ ขูเข็ญ และเอารัดเอาเปรียบตางๆ ในการเขามาประกอบอาชีพเปนโสเภณีหรือการเขามาขายบริการทางเพศ รวมถึงการเกิด อิทธิพลมืดหรืออิทธิพลนอกระบบ การเรียกคาคุมครองจากบรรดาผูประกอบกิจการสถานบริการ จากโสเภณีหรือผูขายบริการ รวมถึงการติดสินบนเจาหนาที่ และปญหาสวยตํารวจ เปนตน นอกจากนี้ยังรวมถึงปญหาการมอมเมาเยาวชนในดานตางๆ และปญหายาเสพติด ซ่ึงมักนํามาซึ่งหรือเกิดขึ้นควบคูกับปญหาอาชญากรรม แกงมิจฉาชีพ และอิทธิพลมืดนอกกฎหมาย เปนตน

สถานบริการจึงเปนสถานประกอบการที่ภาครัฐบาลควรใหความสําคัญมาก เปนพิเศษเนื่องจากผลกระทบที่เกิดจากการประกอบธุรกิจของสถานบริการเกิดขึ้นหลายดาน ซ่ึงสงผลโดยตรงตอสภาพสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ

ดานแรงงานหรือผูที่ประกอบอาชีพในสถานบริการนั้น เชนเดียวกับความหลากหลายในประเภทของสถานบริการที่มีมากมายหลายประเภท แรงงานในสถานบริการจึงมีหลากหลายประเภทเชนกัน ตั้งแตแรงงานที่ไดรับความคุมครองภายใตกฎหมายแรงงาน อาทิ ลูกจางประจําหรือพนักงานประจําในตําแหนงหนาที่ตางๆ รวมไปถึงแรงงานที่ไมไดรับความ 16 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 12 17 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 1

Page 11: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-10

คุ ม ค ร อ ง ขั้นพื้นฐานภายใตกฎหมายแรงงาน ไมวาจะเปนแรงงานที่มักถูกเรียกรวมๆ กันวาแรงงานนอกระบบในตําแหนงหนาที่ใดๆ ก็ตาม หากพิจารณาถึงแรงงานสวนใหญโดยเฉพาะแรงงานหญิง ซ่ึงสถานบริการในความหมายอยางแคบไดจัดหาไวบริการใหกับลูกคาที่มาใชบริการนั้น มักไมไดรับการเอาใจใสดูแลอยางเพียงพออยางที่ควรจะเปน ตองอยูในภาวะนาเศราสลดใจ ตกเปนเหยื่อ ของการเอารัดเอาเปรียบ การติดสินบนเจาพนักงาน และที่สําคัญที่ควรพิจารณาอยางลึกซึ้ง คือการที่แรงงานเหลานี้ไมไดรับความคุมครองตามกฎหมายแรงงาน

ภายใตกฎหมายแรงงานของไทยที่ใชบังคับอยูในปจจุบันโดยเฉพาะพระราช-บัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เปนที่คอนขางแนชัดวาแรงงานบางประเภทในสถานบริการ โดยเฉพาะแรงงานในงานบริการพิเศษ เชน โสเภณี หมดนวด หญิงบริการในบารหรือในไนตคลับ นางทางโทรศัพท ตางไมไดรับความคุมครองภายใตกฎหมายแรงงาน อยางไรก็ดีแรงงานที่ปฏิบัติหนาที่อ่ืน เชน พนักงานทําความสะอาด พนักงานตอนรับ พนักงานเสิรฟ พนักงานรับรถ พนักงานเก็บเงิน เปนตน ซ่ึงทํางานอยูในสถานประกอบการเดียวกันก็ยังไมแนชัดวาไดรับความคุมครอง ภายใตกฎหมายแรงงานหรือไม ในฐานะที่กระทรวงแรงงานมีหนาที่ดูแลและควบคุมการจางงานและคุมครองแรงงาน ไดตระหนักถึงปญหาที่เกิดขึ้นวาเปนงานที่อยูนอกจายคุมครองของกฎหมาย และมีผลตอแรงงานในงานบริการพิเศษเหลานี้ ไมวาแรงงานเหลานี้จะสมัครใจหรือถูกบังคับ หรือ โดนแรงกดดันอื่นๆ ในขณะที่กฎหมายแรงงานในปจจุบันไดใหความหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับสัญญาและสภาพการจางงานในงานบริการอื่นๆ ที่ลูกจางตกลงและยอมรับที่จะทํางานใหนายจางได แตก็เปนการยากยิ่งหรือเปนไปไมไดเลยที่กฎหมายจะเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับงานที่ไมมีความชัดเจนหรือมีเงื่อนงํา ซ่ึงแรงงานในงานบริการพิเศษเองก็ไมอาจรูไดถึงลักษณะงานที่จะทําหรือถูกบังคับใหทําเพื่อรักษาโอกาสการทํางานของตนไว18

เมื่อกลาวถึงแรงงานนอกระบบแลว ควรที่จะมีการขยายความเพื่อทําความเขาใจถึงแรงงานในสถานบริการที่อาจหมายถึงแรงงานนอกระบบไดในหลายแงมุมใหชัดเจนขึ้น ความหมายเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบยังคลุมเครือและไมชัดเจน ซ่ึงมีผลตอคาสถิติ แรงงาน นอกระบบกอใหเกิดประโยชนตอเศรษฐกิจทั้งในระดับมหภาคและระดับจุลภาค อยางไรก็ตามปญหาแรงงานนอกระบบมีอยูดวยกันหลายประการ ไดแก สถานภาพของแรงงานที่ไมชัดเจน สภาพการทํางานที่ไมมีเสถียรภาพ สภาพแวดลอมการทํางานที่ไมเหมาะสม การขาดการสงเสริมพัฒนาเพื่อยกระดับฝมือ การไดรับคาจางคาตอบแทนในการทํางานที่ต่ํา การไมไดรับสวัสดิการและการคุมครองแรงงาน การขาดหนวยงานที่ทําหนาที่บริหารและรับผิดชอบงานโดยตรง นอกจากนี้ ประเด็นปญหาสุขภาพที่สําคัญและไดรับการกลาวถึงเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบ ไดแก การรับงานที่เสี่ยงหรือเปนอันตรายตอสุขภาพ ประเภทหรือสภาพการทํางานที่มีผลตอสุขภาพ การทํางาน

18 หนา 1-3 ของรายงานผลการศึกษาวิจัย เรื่อง สภาพการทํางานของหญิงบริการในสถานบริการ โดย นางจริยา ขันธวิทย ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน มาตรฐานคุมครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

Page 12: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-11

ที่รีบเรง การทํางานเปนระยะเวลายาวนาน การขาดขอมูลขาวสารดานสุขภาพอยางเพียงพอ การขาดหลักประกันในความคุมครองสวัสดิการแรงงาน แรงงานนอกระบบสวนใหญไมมีความสัมพันธในการทํางานลักษณะนายจางกับลูกจาง จึงทําใหหลุดพนออกจากระบบกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองแรงงานและกฎหมายเงินทดแทน และแรงงานนอกระบบหลายประเภทอยู ในระบบสัญญาจางทําของหรือสัญญาจางเหมาหรือสัญญาซื้อขายซ่ึงเปนความสัมพันธในระบบกฎหมายแพงและพาณิชยซ่ึงมีจุดออนของระบบกฎหมายแพงและพาณิชยที่คูสัญญาสามารถ ทําความตกลงกันไดเอง19

นอกจากแรงงานนอกระบบแลว หลายๆ ประเทศไดมีการพิจารณาถึงแรงงาน อีกประเภทที่มีความใกลเคียงกับแรงงานนอกระบบดังที่ไดกลาวถึงขางตน แตก็ไมเหมือนกันทีเดียวนักโดยมีการเรียกตางกันออกไปแตโดยรวมแลวจะเรียกกันวา “atypical” หรือ “non-standard” worker ซ่ึงจะหมายความถึงแรงงานที่ไมไดมีรูปแบบหรืออยูในขายการจางงานที่รูจักกันโดยทั่วไป แตเปนรูปแบบของแรงงานที่เพิ่งเกิดขึ้นไดไมนานซึ่งโดยสวนใหญจะไมไดรับความคุมครองภายใตกฎหมายแรงงาน อยางไรก็ดี ถึงแมประเทศไทยจะยังไมมีการใหคํานิยามอันเปนที่ยอมรับกันทั่วไปถึงแรงงานลักษณะดังกลาว แตอาจกลาวโดยรวมไดวาหมายความถึงแรงงานที่ถูกจางในสภาพ การจางที่แตกตางจากแรงงานทั่วๆ ไปในงานลักษณะเดียวกัน มีช่ัวโมงการทํางาน ความสัมพันธ กับนายจาง สภาพของสถานที่ทํางาน และระยะเวลาการจางที่แตกตางจากแรงงานทั่วๆ ไป เชน ลูกจางชั่วคราว (Part-time worker) ลูกจางที่รับงานจากผูวาจางไปทําที่อ่ืน (Dispatched worker) ลูกจางที่รับงานไปทําที่บาน (Homeworker) ลูกจางชวง ลูกจางที่มีขอตกลงในการจางพิเศษ ลูกจางอิสระ (Freelancer) เปนตน20

ขอเสนอแนะจากการศึกษาโครงการประมวลความรูที่จําเปนเกี่ยวกับแรงงาน นอกระบบที่อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 19 ช้ีใหเห็นวาควรมีการสงเสริม พัฒนาและคุมครองแรงงานนอกระบบ แนวทางในการจัดสวัสดิการดานสุขภาพสําหรับแรงงานนอกระบบ อันนําไปสูการ ปรับปรุงระบบบริหารสุขภาพและสรางเสริมระบบการประกันสุขภาพที่เหมาะสมสําหรับแรงงานนอกระบบและครอบครัว21 บทบาทของภาครัฐในการใหความสําคัญกับแรงงานในสถานบริการ ทั้งที่เปนแรงงานในงานบริการพิเศษหรือแรงงานอื่นๆ ที่ไมไดรับความคุมครองโดยกฎหมาย แรงงานในปจจุบันจึงควรเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเปนรูปธรรม ควรมีการพิจารณาถึงแนวทางในการใหความคุมครองแกแรงงานหรือผูทํางานในสถานบริการที่ไมไดรับความ คุมครองดังกลาวเพื่อใหแรงงานเหลานี้มีหลักประกันทางสังคมและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซ่ึงจะสงผลตอสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยภาพรวมในทายที่สุด

19 บทคัดยอ โครงการประมวลความรูท่ีจําเปนเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดย ดร. สุสัณหา ยิ้มแยม 20 แปล (บางสวน) มาจาก “Social Protection Program and Policy Alternatives for Non-standard Workers in Korea” โดย Soh-Young Kim และ IDS Employment Supplemental: Part-time and atypical workers ใน http://www.incomesdata.co.uk/brief/part-timesupp.htm 21 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 19

Page 13: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-12

2. สถานบริการในประเทศไทย

2.1 ประเภทของสถานบริการ • กฎหมายที่เก่ียวของกับสถานบริการ

กฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจของสถานบริการ22 โดยตรง ไดแก “พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509”23 ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันไมใหบุคคลผูประกอบกิจการสถานบริการบางประเภทดําเนินการไปในทางกระทบกระเทือนตอความสงบเรียบรอย และศีลธรรมของประชาชน ควบคุมการจัดใหมีการแสดงเพื่อความบันเทิงในสถานบริการใหอยู ในกรอบของศีลธรรม ประเพณี ทั้งนี้ เพื่อรักษาไวซ่ึงความสงบเรียบรอย ศีลธรรม วัฒนธรรม และประเพณีอันดีของชาติตอไป24 พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 เปนกฎหมายหลัก ที่เกี่ยวของกับการจัดตั้งสถานบริการ มีการกําหนดคํานิยามของสถานบริการ25 วาหมายความถึง สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อการใหบริการโดยหวังประโยชนในการคา ดังตอไปนี้ (1) สถานเตนรํา รําวง หรือรองเง็ง ประเภทที่มีและประเภทที่ไมมีหญิงพาตเนอรบริการ (2) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ําชา หรือเคร่ืองดื่มอยางอื่นจําหนายและบริการ โดยมีหญิงบําเรอสําหรับปรนนิบัติลูกคา หรือโดยมีที่สําหรับพักผอนหลับนอน หรือมีบริการนวดใหแกลูกคา (3) สถานอาบน้ํา นวด หรือ อบตัว ซ่ึงมีผูบริการใหแกลูกคา (4) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ําชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจําหนาย โดยจัดใหมีการแสดงดนตรีหรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิง

ดังนั้น สถานที่แหงใดจะเปนสถานบริการหรือไม จึงตองมีองคประกอบดังตอไปนี้ คือ 1) เปนสถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อใหบริการ 2) หวังประโยชนในทางการคา (มุงแสวงหากําไร) 3) มีลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังตอไปนี้

3.1) เปนสถานเตนรํา รําวง หรือรองเง็ง อยางใดอยางหนึ่ง ไมวาจะเปนประเภทที่มีคู เตนรําหรือไมก็ตาม เชน สถานลีลาส ดิสโกเธค หรือ สถานรําวง เปนตน ทั้งนี้ รวมตลอดถึงสถานที่ใดๆ ที่มีการดําเนินกิจการ ในลักษณะดังกลาวแมวาจะใชช่ืออ่ืนๆ เชน ไนตคลับ บาร ภัตตาคาร หรือผับ เปนตน

22 กฎหมายที่เก่ียวของกับสถานบริการ 23 กอนป พ.ศ. 2509 สถานบริการเปนธุรกิจการคาท่ีรัฐควบคุมดานการจัดเก็บภาษีเทานั้น รวมท้ังโรงยาฝนในกรุงเทพฯ และตามเมืองใหญๆ กอนถูกยกเลิกสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเปนผูนํา อางถึงในเอกสารที่อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 1 24 สมพร พรหมหิตาธร พล.ต.ต. ดรุณ โสตถิพันธุ พ.ต.อ. โดม วิศิษฎสรอรรถ (2539: 1-2) 25 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 2

Page 14: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-13

3.2) เปนสถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ําชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจําหนายและ

บริการ โดยมีหญิงบําเรอสําหรับปรนนิบัติลูกคา หรือเปนสถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ําชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจําหนายและบริการ โดยมีที่สําหรับพักผอนหลับนอนหรือมีบริการนวดใหแกลูกคา เชน โรงน้ําชา คาเฟ หรือภัตตาคารซึ่งมีหญิงบําเรอนั่งรวมโตะ ทําหนาที่ปรนนิบัติลูกคา หรือโรงน้ําชาที่มีเตียงพักผอนหลับนอนและมีบริการนวดใหแกลูกคา หรือรานคาราโอเกะที่มีหญิงบําเรอปรนนิบัติลูกคา (หญิงนั่งชั่วโมง) เปนตน ทั้งนี้ สถานบริการประเภทดังกลาวมีวัตถุประสงคในการจําหนายอาหาร สุรา น้ําชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นเปนหลัก โดยมีการใหบริการปรนนิบัติหรือที่พักผอน หรือมีบริการนวดเปนสวนประกอบ

3.3) เปนสถานที่อาบน้ํา ซ่ึงมีผูใหบริการอบน้ําใหแกลูกคา หรือเปนสถานนวดตัวหรืออบตัวซ่ึงมีผูบริการนวดตัวใหแกลูกคา เชน รานอาบอบนวดรานนวดแผนโบราณที่ไมไดรับอนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุขใหเปนสถานพยาบาลและไมมีใบประกอบโรคศิลปะ เปนตน

3.4) เปนสถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ําชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจําหนาย โดยจัดใหมีการแสดงดนตรี หรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิง เชน รานอาหารที่มีการแสดงดนตรี ทั้งนี้ ตองเปนการรองเพลงหรือแสดงดนตรี โดยนักรองหรือนักดนตรีซ่ึงไมไดจํากัดจํานวนของเครื่องดนตรีวาตองมีจํานวนกี่ช้ิน หรือเปนรานอาหารที่มีการแสดงตลก หรือมีการแสดง มายากล เปนตน26

อยางไรก็ดี ตามที่ไดกลาวไวในตอนตนถึงการปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติ

สถานบริการตามพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2546 สงผลใหความหมายและ คํานิยามของ “สถานบริการ” เปลี่ยนไป ทั้งนี้ มีความสอดคลองกับสภาพการณของสังคมในปจจุบันมากขึ้น ภายใตพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2546 สถานบริการ หมายความถึง สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อใหบริการโดยหวังผลประโยชนในทางการคาดังตอไปนี้27

1) สถานเตนรํา รําวง หรือรองเง็ง เปนปกติธุระประเภทที่มีและประเภทที่ไมมี คูบริการ

2) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ําชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจําหนายและบริการ โดยมีผูบําเรอสําหรับปรนนิบัติลูกคา

26 คูมือในการปฏิบัติงาน วาดวยกฎหมายสถานบริการ สมเจตน เต็งมงคล สิงหาคม 2546 27 มาตรา 3 พระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2546

Page 15: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-14

3) สถานอาบน้ํา นวด หรืออบตัว ซ่ึงมีผูบริการใหแกลูกคา เวนแต - สถานที่ ซ่ึงผูบริการไดขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเปนผูประกอบ

โรคศิลปะสาขาการแพทยแผนไทยประเภทการนวดไทยตามกฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ หรือไดรับยกเวนไมตองขึ้นทะเบียนและ รับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนไทยประเภทการนวดไทยตามกฎหมายดังกลาว หรือสถานพยาบาลตามกฎหมาย วาดวยสถานพยาบาล

- สถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงจะตองมีลักษณะของสถานที่ การบริการ หรือผูใหบริการเปนไปตาม มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยดวย ประกาศดังกลาวจะกําหนด หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบเพื่อการรับรองใหเปนไปตามมาตรฐานนั้นดวยก็ได หรือ

- สถานที่อ่ืนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง 4) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจําหนายหรือใหบริการ โดยมี

รูปแบบอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ - มีดนตรี การแสดงดนตรี หรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิงและยินยอม

หรือปลอยปละละเลยใหนักรอง นักแสดง หรือพนักงานอื่นใดนั่งกับ ลูกคา

- มีการจัดอุปกรณการรองเพลงประกอบดนตรีใหแกลูกคา โดยจัดใหมี ผูบริการขับรองเพลงกับลูกคาหรือยินยอมหรือปลอยปละละเลย ใหพนักงานอื่นใดนั่งกับลูกคา

- มีการเตนหรือยินยอมใหมีการเตน หรือจัดใหมีการแสดงเตน เชน การเตนบนเวที หรือการเตนบริเวณโตะอาหารหรือเครื่องดื่ม เปนตน

- มีลักษณะของสถานที่ การจัดแสงหรือเสียง หรืออุปกรณอ่ืนใดตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

5) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจําหนาย โดยจัดใหมีการแสดงดนตรีหรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิง ซ่ึงปดทําการหลังเวลา 24.00 นาฬิกา

6) สถานที่อ่ืนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

Page 16: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-15

ดังนั้น ขอบเขตของสถานบริการจะตองมีการพิจารณาตามแนวทางใหม ซ่ึงเปน ผลดีตอการศึกษา เนื่องจากจะมีความสอดคลองกับสภาพสังคมปจจุบันมากยิ่งขึ้น

ลักษณะข างตน เปนแบ ง ลักษณะของสถานบริการออกเปนกลุมใหญๆ ตามคํานิยามใน พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 แตเนื่องจากความซับซอนและหลากหลายในรูปแบบของสถานบริการทําใหการจัดแบงประเภทของสถานบริการไดอยางถูกตองครบถวนเปนไปไดยากและไมมีใครสามารถระบุไดแนนอนวามีสถานบริการจํานวนเทาไร อยางไรก็ตาม หนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบดูแลเรื่องการสํารวจสถานบริการทางเพศและผูใหบริการทางเพศ คือ กองกามโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ไดจัดแบงประเภทของสถานบริการ ตั้งแต ป พ.ศ. 2539 เอาไว ตามลักษณะการใหบริการออกเปน 5 ประเภทหลัก โดยสามารถแบงยอยๆ ออกเปนประเภทตางๆ ไดทั้งสิ้น 25 ประเภท ดังตอไปนี้

ประเภทที่ 1 1) ผับ 2) ดิสโกเธค 3) บารเบียร 4) ไนทคลับ 5) บารเกย 6) บารอโกโก 7) บารรําวง

ประเภทที่ 2 8) ค็อกเทลเลานจ 9) โรงน้ําชา ประเภทที่ 328 10) อาบอบนวด 11) นวดแผนโบราณ 12) ซาวนา 13) รานตัดผมชาย

14) รานเสริมสวย ประเภทที่ 4 15) คอฟฟช็อป 16) คาเฟ 17) รานอาหาร 18) คาราโอเกะ ประเภทที่ 5 19) สํานัก (สํานักบริการ (ซอง)29 สํานักบุคคลอาชีพพิเศษ30 สํานัก

คาประเวณี31) 20) โรงแรม 21) บังกะโล 22) เกสเฮาส 23) นางทางโทรศัพท 24) เตร็ดเตร 25) อ่ืน ๆ

นอกจากพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 แลว กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจสถานบริการไดแก “พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคาประเวณี พ.ศ. 2539” “ประมวลกฎหมายอาญา” ในสวนที่วาดวยเรื่องของการลอลวงหญิงมาเพื่อคาประเวณี หรือเพื่อการอนาจาร “พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2478” เปนตน

หนวยงานที่มีหนาที่กํากับดูแลสถานบริการโดยทั่วไป ไดแก กระทรวงมหาดไทย

และสํานักงานตํารวจแหงชาติ แตอาจมีหนวยงานอื่นเขามาเกี่ยวของบางตามประเภทของ สถานบริการ เชน สถานบริการประเภทนวดแผนโบราณ อาจตองอยูภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงสาธารณสุขอีกทางหนึ่ง เปนตน

28 ปจจุบันนาจะรวมสถานที่ท่ีเรียกกันวา “สปา” อันเปนสถานที่นวดตัวลักษณะหนึ่งที่กําลังเปนที่นิยมเขาไวในประเภทนี้ดวย 29 รายงานผลการวิจัยเบื้องตน เรื่อง โครงการศึกษาลักษณะดานประชากรและพฤติกรรมของสตรีขายบรกิารทางเพศในประเทศไทย ระยะที่ 2 30 ความสัมพันธระหวางทัศนคติ และพฤติกรรมการสื่อสารของหญิงโสเภณี : ศึกษาเฉพาะกรณีหญิงโสเภณีท่ีเขารับการสงเคราะห 31 รายงานการสํารวจสถานบริการทางเพศและผูใหบริการทางเพศ

Page 17: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-16

ธุรกิจบริการอีกหลายประเภทมีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวของโดยตรงที่สงผลให ผูประกอบกิจการตองปฏิบัติตามอยางเครงครัด ซ่ึงอาจสงผลถึงการปฏิบัติตอแรงงานในสถานบริการดังกลาวของผูประกอบกิจการหรือการใหความคุมครองถึงแรงงานในสถานบริการ เชน ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก ธุรกิจโรงแรม ภายใตพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2478 ตามลําดับ

ธุรกิจนําเที่ยว หมายถึง การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการจัดหรือการใหบริการหรือการอํานวยความสะดวกเกี่ยวกับการเดินทาง สถานที่พัก อาหาร ทัศนาจร หรือมัคคุเทศก ใหแกนักทองเที่ยว

มัคคุเทศก หมายถึง ผูที่นํานักทองเที่ยวไปยังสถานที่ตางๆ และใหความรู แกนักทองเที่ยวเกี่ยวกับสถานที่หรือบุคคลโดยไดรับคาตอบแทน

ภายใตพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองไดรับใบอนุญาตและจดทะเบียนกับทางการ เชนเดียวกับการเปนมัคคุเทศก ดังนั้นผูประกอบกิจการธุรกิจนําเที่ยวหรือมัคคุเทศกตองปฏิบัติตามขอกําหนดของพระราชบัญญัติฯ และกฎกระทรวงที่เกี่ยวของ อยางเครงครัด

ธุรกิจโรงแรม หมายถึง สถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรับสินคาสําหรับคนเดินทางหรือบุคคลที่ประสงคจะหาที่อยูหรือที่พักชั่วคราว โดยมีเจาสํานักเปนบุคคลผูควบคุมและจัดการโรงแรมเชนเดียวกับธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก ผูประกอบธุรกิจโรงแรมตองไดรับใบอนุญาตและจดทะเบียนกับทางการตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ธุรกิจบริการอีกหลายประเภทไมมีกฎหมายเฉพาะที่กํากับดูแลการประกอบธุรกิจแตอยางใด ดังนั้นแรงงานในสถานบริการเหลานี้ อาจไมไดรับความคุมครองที่เพียงพอจากทั้ง ผูประกอบกิจการและกฎหมายแรงงาน เนื่องจากการใหความคุมครองอาจเขาไมถึงตัวแรงงาน เหลานั้น ตัวอยางธุรกิจบริการดังกลาว เชน ธุรกิจรานอาหาร/ภัตตาคาร ธุรกิจรานตัดผม เปนตน ธุรกิจรานอาหาร/ภัตตาคารเปนธุรกิจที่มีหลากหลายประเภท มีขนาดที่แตกตางกัน และมีแนวคิดการใหบริการที่หลากหลาย โดยมุงกลุมลูกคาเปาหมายที่แตกตางกัน การจัดตั้งสามารถทําไดทั้งในรูปแบบที่ไมเปนนิติบุคคลหรือนิติบุคคล โดยตองยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชยเนื่องจากมีการขายอาหารซึ่งถือเปนการขายสินคาควบคูไปกับการใหบริการดวย หากมีการเก็บสะสมกาซหุงตมไวไมวาในปริมาณเทาใดก็ตาม ผูประกอบกิจการจะตองขออนุญาตตอฝาย ส่ิงแวดลอมและสุขาภิบาลของสํานักงานเขต สํานักงานหรือเขตเทศบาล หรือสํานักงาน หรือ เขตสุขาภิบาลที่รานตั้งอยู เพื่อขอรับใบอนุญาตใหใชสถานที่ทําการคาซึ่งเปนที่รังเกียจหรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ หากมีการจําหนายเครื่องดื่มประเภทสุรา และ/หรือยาสูบชนิดใดก็ตาม ผูประกอบกิจการจะตองยื่นคําขอใบอนุญาตขายสุรา ยาสูบตอกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง

Page 18: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-17

ธุรกิจรานตัดผมสามารถจัดตั้งไดทั้งในรูปแบบที่ไมเปนนิติบุคลหรือนิติบุคคล หากธุรกิจรานตัดผมมีการใหบริการรับจางแตงเล็บหรือแคะหูซ่ึงอาจเปนอันตรายแกสุขภาพ ผูประกอบกิจการจะตองขออนุญาตตอฝายสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาลของสํานักงานเขต สํานักงานหรือเขตเทศบาล หรือสํานักงาน หรือเขตสุขาภิบาลที่รานตั้งอยู เพื่อขอรับใบอนุญาตใหใชสถานที่ทําการคาซึ่งเปนที่รังเกียจหรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ อยางไรก็ดี ผูประกอบกิจการจะตอง ขอใบอนุญาตใหตั้งหรือใชสถานที่เปนที่รับจางแตงผมตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เร่ืองควบคุมการแตงผม พ.ศ. 2518

• จํานวนสถานบริการ

จากขอมูลการสํารวจจํานวนสถานบริการแตละประเภท ประจําป 2545 ของ กลุมงานระบาดวิทยา กองกามโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เมื่อพิจารณาเปนรายภาครวมถึงกรุงเทพมหานครแสดงใหเห็นถึงประเภทสถานบริการที่นิยมจัดตั้งขึ้นใหบริการดังตอไปนี้ กรุงเทพมหานคร มีสถานบริการประเภทคาราโอเกะจํานวนมากที่สุด คือ 876 แหง รองลงมาไดแก รานอาหาร 263 แหง นวดแผนโบราณ 210 แหง คาเฟ 157 แหง ผับ 132 แหง บารอโกโก 85 แหง อาบอบนวด 58 แหง โรงแรม 46 แหง บารเบียร 39 แหง ไนตคลับ 29 แหง บารเกย 26 แหง ค็อกเทลเลานจ 22 แหง สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป ภาคกลาง มีสถานบริการประเภทคาราโอเกะจํานวนมากที่สุด คือ 1,202 แหง รองลงมาไดแก บารเบียร 725 แหง รานอาหาร 712 แหง นวดแผนโบราณ 480 แหง สํานัก 149 แหง บารอโกโก 71 แหง คาเฟ 68 แหง โรงแรม 58 แหง ผับ 56 แหง อาบอบนวด 38 แหง ดิสโกเธค 26 แหง สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป ภาคเหนือ มีสถานบริการประเภทรานอาหารจํานวนมากที่สุด คือ 448 แหง รองลงมาไดแก คาราโอเกะ 280 แหง สํานัก 174 แหง นวดแผนโบราณ 115 แหง รานเสริมสวย 108 แหง โรงแรม 72 แหง บังกะโล 52 แหง บารเบียร 42 แหง รานตัดผมชาย 33 แหง ผับ 30 แหง เกสเฮาส 24 แหง สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสถานบริการประเภทรานอาหารจํานวนมากที่สุด คือ 703 แหง รองลงมาไดแก คาราโอเกะ 533 แหง คาเฟ 127 แหง นวดแผนโบราณ 107 แหง สํานัก 87 แหง โรงแรม 70 แหง ผับ 49 แหง บังกะโล 46 แหง บารเบียร 31 แหง ดิสโกเธค 25 แหง อาบอบนวด 22 แหง สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป ภาคใต มีสถานบริการประเภทคาราโอเกะจํานวนมากที่สุด คือ 1410 แหง รองลงมาคือ รานอาหาร 468 แหง บารเบียร 325 แหง นวดแผนโบราณ 282 แหง สํานัก 181 แหง คาเ ฟ 99 แหง โรงแรม 77 แหง ผับ 41 แหง ดิสโกเธค 24 แหง บารเกย 22 แหง สวนประเภทที่เหลือ จะมีจํานวนลดหลั่นลงไป

Page 19: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-18

จากขอมูลดังกลาวแสดงใหเห็นไดวาประเภทสถานบริการที่ผูประกอบกิจการนิยมเปดใหบริการในแตละภูมิภาคจะมีลักษณะที่สอดคลองกัน โดยสถานบริการที่มีจํานวนผูประกอบกิจการมากจะมีอยูเพียงไมกี่ประเภท ไดแก สถานบริการประเภทคาราโอเกะ และรานอาหาร รองลงมาเปนสถานบริการประเภทบารเบียร และคาเฟ จากขอมูลจํานวนสถานบริการจําแนกตามประเภทสถานบริการทั่วประเทศจากการสํารวจในป พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2545 ของกองกามโรค กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวง สาธารณสุข แสดงใหเห็นแนวโนมที่เพิ่มขึ้นของสถานบริการสวนใหญ โดยประเภทที่มีการเพิ่มขึ้นอยางเห็นชัดที่สุดมีความสอดคลองกับขอมูลจํานวนประเภทสถานบริการในแตละภูมิภาค ในตอนตน ซ่ึงไดแก สถานบริการประเภทคาราโอเกะ ที่มีจํานวน 4,301 แหงในป พ.ศ. 2545 เพิ่มขึ้นจากเดิมจํานวน 1,210 แหง ในป พ.ศ. 2541 และสถานบริการประเภทบารเบียร ที่มีจํานวน 1,162 แหงในป พ.ศ. 2545 เพิ่มขึ้นจากเดิมจํานวน 699 แหงในป พ.ศ. 2541 สถานบริการประเภทที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในลําดับรองลงมาไดแก นวดแผนโบราณ ค็อกเทลเลานจ ผับ โรงแรม บังกะโล ดิสโกเธค เกสเฮาส เปนตน สวนประเภทที่เหลือมีการเปลี่ยนแปลงไมมากนัก โดยบางแหง มีจํานวนลดลง ไดแก สํานัก โรงน้ําชา บารเกย บารอโกโก บารรําวง ไนทคลับ อาบอบนวด คอฟฟช็อป คาเฟ และนางทางโทรศัพท แนวโนมความเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นของสถานบริการประเภทคาราโอเกะนาจะเกิดขึ้นจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีในเครื่องมือและอุปกรณที่ราน คาราโอเกะตองใชมีราคาถูกลง หาซื้อไดงายขึ้น ไมเหมือนในชวงหลายปกอนหนานี้ ที่เครื่องมือและอุปกรณตางๆ มีราคาสูง ไมแพรหลายเหมือนในปจจุบัน นอกจากนี้อีกปจจัยที่เกี่ยวของนาจะเนื่องมาจากสถานคาราโอเกะเปนสถานที่ที่ผูใชบริการสามารถไดรับความบันเทิงในทุกรูปแบบ สามารถใหบริการแกลูกคาที่มีความชอบหลากหลาย ทั้งการรองเพลง การดื่มสุรา การทานอาหาร การผอนคลายดวยการสนทนากับหญิงที่คอยใหบริการ รวมไปถึงการผอนคลายดวยการใชบริการทางเพศ สวนแนวโนมการเพิ่มขึ้นของสถานบริการประเภทบารเบียรนาจะเปนผลโดยตรงมาจากการเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวตางชาติ ไมวาจะเกิดจากนโยบายการสงเสริมการทองเที่ยวของทางการ หรือไมก็ตาม เนื่องจากผูที่ใชบริการในสถานบริการประเภทบารเบียรสวนใหญเกือบทั้งหมดจะเปนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศทั้งสิ้น

• จํานวนผูใหบริการในสถานบริการ

จากขอมูลการสํารวจจํานวนผูใหบริการในสถานบริการแตละประเภท ประจําป2545 ของกลุมงานระบาดวิทยา กองกามโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เมื่อพิจารณาเปนรายภาครวมถึงกรุงเทพมหานครแสดงใหเห็นถึงประเภทสถานบริการที่นิยม จัดตั้งขึ้นใหบริการดังตอไปนี้

Page 20: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-19

กรุงเทพมหานคร มีจํานวนผูใหบริการในสถานบริการประเภทคาราโอเกะ มากที่สุด จํานวน 11,403 คน รองลงมาไดแก นวดแผนโบราณ 7,181 คน อาบอบนวด 5,484 คน รานอาหาร 4,677 คน บารอโกโก 3,740 คน คาเฟ 3,586 คน ผับ 2,395 คน โรงแรม 1,449 คน สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป ภาคกลาง มีจํานวนผูใหบริการในสถานบริการประเภทบารเบียรมากที่สุด จํานวน 8,440 คน รองลงมาไดแก คาราโอเกะ 7,904 คน รานอาหาร 7,666 คน นวดแผนโบราณ 6,883 คน บารอโกโก 2,498 คน คาเฟ 1,302 คน อาบอบนวด 1,274 คน สํานัก 1,223 คน สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป ภาคเหนือ มีจํานวนผูใหบริการในสถานบริการประเภทรานอาหารมากที่สุดจํานวน 3,144 คน รองลงมาไดแก คาราโอเกะ 1,967 คน สํานัก 1,056 คน นวดแผนโบราณ 978 คน โรงแรม 553 คน อาบอบนวด 469 คน ผับ 351 คน บารเบียร 318 คน คอฟฟช็อป 188 คน บารอโกโก 153 คน สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจํานวนผูใหบริการในสถานบริการประเภทรานอาหารมากที่สุด จํานวน 5,349 คน รองลงมาไดแก คาราโอเกะ 3,207 คน คาเฟ 1,367 คน นวดแผนโบราณ 1,021 คน อาบอบนวด 696 คน ผับ 537 คน โรงแรม 522 คน สํานัก 469 คน ดิสโกเธค 390 คน สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป ภาคใต มีจํานวนผูใหบริการในสถานบริการประเภทคาราโอเกะมากที่สุด จํานวน 7,327 คน รองลงมาไดแก รานอาหาร 4,163 คน นวดแผนโบราณ 3,886 คน บารเบียร 2,308 คน สํานัก 1,921 คน คาเฟ 1,725 คน โรงแรม 838 คน ผับ 709 คน บารเกย 428 คน บารอโกโก 415 คน สวนประเภทที่เหลือจะมีจํานวนลดหลั่นลงไป อยางไรก็ดี จํานวนผูใหบริการขางตนเปนจํานวนผูใหบริการทั้งหมดใน สถานบริการแตละประเภท แตในจํานวนผูใหบริการทั้งหมดนั้น ไมใชผูใหบริการทุกคนจะไดรับความคุมครองจากกฎหมายแรงงานที่บังคับใชอยูในปจจุบัน ตามที่ไดกลาวในตอนตน จะคอนขางชัดเจนวาผูใหบริการในสถานบริการประเภทตางๆ จํานวนที่เปนผูใหบริการทางเพศทั้งชายและหญิงจะไมไดรับความคุมครองตามกฎหมายแรงงานแตอยางใด ในขณะที่ผูใหบริการที่ไมใชผูใหบริการทางเพศ เชน พนักงานตอนรับ แมบาน พนักงานเสิรฟ พนักงานรับรถ เจาหนาที่รักษาความปลอดภัยนาจะมีทั้งผูที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายแรงงานขั้นพื้นฐานตามที่กฎหมายกําหนด ซ่ึงหากพิจารณาจํานวนผูใหบริการทางเพศในแตละภูมิภาครวมทั้งกรุงเทพมหานครจะเห็นวา มีแนวโนมที่คอนขางจะสอดคลองกับจํานวนผูใหบริการทั้งหมด โดยสถานบริการหลายๆ ประเภทจะมีสัดสวนผูใหบริการทางเพศคอนขางสูงเมื่อเทียบกับจํานวนผูใหบริการทั้งหมดดังนี้32

32 ในการเปรียบเทียบสัดสวนจํานวนผูใหบริการทางเพศจากจํานวนผูใหบริการท้ังหมดในสถานบริการแตละประเภทจะไมพิจารณาสถานบริการ ประเภทนางทางโทรศัพท เตร็ดเตร และอื่นๆ เนื่องจากมีผูใหบริการทางเพศเกือบท้ังหมดจากผูใหบริการตามประเภทของสถานบริการ ดังกลาวอยูแลว

Page 21: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-20

กรุงเทพมหานคร สถานบริการประเภทบารอโกโกมีสัดสวนผูใหบริการทางเพศสูงที่สุด จํานวน 3,239 คน จากจํานวนผูใหบริการทั้งหมด 3,740 คน รองลงมาไดแก บารเกย 979 จาก 1,022 คน อาบอบนวด 4,420 จาก 5,484 คน เปนตน ภาคกลาง สถานบริการประเภทสํานักมีสัดสวนผูใหบริการทางเพศสูงที่สุดจํานวน 1,174 คน จากจํานวนผูใหบริการทั้งหมด 1,223 คน รองลงมาไดแก อาบอบนวด 1,119 จาก 1,274 คน บารเกย 372 จาก 463 คน บารอโกโก 1,972 จาก 2,498 คน บารเบียร 7,398 จาก 8,840 คน ในขณะที่คาราโอเกะ นวดแผนโบราณ รานอาหาร และคาเฟก็จํานวนมีผูใหบริการทางเพศ สูงถึง 3,286 คน 2,664 คน 2,263 คน และ 520 คนตามลําดับ ภาคเหนือ สถานบริการประเภทบารเกยมีสัดสวนผูใหบริการทางเพศสูงที่สุดจํานวน 232 คน จากจํานวนผูใหบริการทั้งหมด 235 คน รองลงมาไดแก สํานัก 1,029 จาก 1,056 คน บารอโกโก 136 จาก 153 คน อาบอบนวด 440 จาก 469 คน ในขณะที่คาราโอเกะ รานอาหาร นวดแผนโบราณ และบารเบียรมีผูใหบริการทางเพศจํานวน 779 คน 672 คน 349 คน และ 114 คนตามลําดับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถานบริการประเภทบารเกยมีสัดสวนผูใหบริการทางเพศสูงที่สุดจํานวน 12 คน จากจํานวนผูใหบริการทั้งหมด 12 คน รองลงมาไดแก โรงน้ําชา 42 จาก 54 คน ค็อกเทลเลานจ 100 จาก 127 คน สํานัก 439 จาก 469 คน บารอโกโก 36 จาก 79 คน อาบอบนวด 581 จาก 696 คน ในขณะที่รานอาหาร คาราโอเกะ นวดแผนโบราณ คาเฟ ผับ บารเบียร มีผูใหบริการทางเพศจํานวน 1,711 คน 1,036 คน 455 คน 274 คน 145 คน และ 106 คนตามลําดับ ภาคใต สถานบริการประเภทบารอโกโกมีสัดสวนผูใหบริการทางเพศสูงที่สุด จํานวน 406 คน จากจํานวนผูใหบริการทั้งหมด 415 คน รองลงมาไดแก อาบอบนวด 296 จาก 304 คน สํานัก 1,862 จาก 1,921 คน บังกะโล 40 จาก 56 คน บารเกย 334 จาก 428 คน โรงแรม 684 จาก 838 คน ในขณะที่คาราโอเกะ บารเบียร รานอาหาร นวดแผนโบราณ คาเฟ ผับ มีผูใหบริการทางเพศจํานวน 3,770 คน 1,858 คน 1,503 คน 842 คน 414 คน และ 364 คนตามลําดับ จากสัดสวนจํานวนผูใหบริการทางเพศตอผูใหบริการทั้งหมดในสถานบริการ ขางตนจะเห็นไดวาผูใชแรงงานในสถานบริการประเภทตางๆ จํานวนไมนอยตองประกอบอาชีพโดยไมมีหลักประกันจากทางการ ไมไดรับความคุมครองขั้นพื้นฐานที่พึงมีภายใตกฎหมายแรงงาน ซ่ึงหากพิจารณาสัดสวนผูใหบริการทั้งในระดับประเทศ และภูมิภาค รวมทั้งกรุงเทพมหานคร แลวจะมีความสอดคลองกัน กลาวคือในสถานบริการทุกประเภทจะมีผูใหบริการที่เปนผูใหบริการทางเพศเปนจํานวนมากถึงรอยละ 30 – 50 ของจํานวนผูใหบริการทั้งหมด33 ดังนั้นปญหาหลัก

33 ขอมูลจากการสํารวจของกองกามโรค กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข ณ ป พ.ศ. 2545 ท่ัวประเทศมีจํานวนผูใหบริการทางเพศ 68,974 คน จากจํานวนผูใหบริการท้ังหมด 136,299 คน แบงเปนกรุงเทพมหานครจํานวน 25,116 จาก 46,105 คน ภาคกลาง 21,667 จาก 40,398 คน ภาคเหนือ 4,156 จาก 10,266 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5,344 จาก 14,769 คน และภาคใต 12,691 จาก 24,761คน

Page 22: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-21

ที่เกิดขึ้นคือมีผูประกอบอาชีพจํานวนมากที่ไมไดรับความคุมครองจากกฎหมายคุมครองแรงงาน ในปจจุบัน เชน ไมมีสิทธิในการหยุดงามตามวันหยุดตามประเพณีประจําป ไมมีสิทธิในวันลา พักผอน จึงถูกเอาเปรียบโดยสถานบริการใหทําตามกฎระเบียบของสถานบริการซึ่งเกือบทั้งหมดเปนไปในลักษณะที่เอาเปรียบและไมสอดคลองกับกฎหมายคุมครองแรงงาน เหตุผลหลักที่ทําใหกฎหมายคุมครองแรงงานเขาไปไมถึงนาจะมาจากการที่อาชีพใหบริการทางเพศเปนอาชีพที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของงานที่ไมมีความชัดเจน มีลักษณะของงานที่ไมสามารถกําหนดขอบเขตและหนาที่ จึงเปนการยากที่กฎหมายและทางการจะสามารถเขาไปใหความคุมครองไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ทางออกทางหนึ่งในการแกปญหานี้อาจเปนไปไดโดยการกําหนดขอบเขตความชัดเจน ในการประกอบอาชีพใหบริการทางเพศหรืออาชีพสําหรับบุคคลผูใหบริการพิเศษ เพื่อใหทางการสามารถกําหนดมาตรการใหความคุมครองตามกฎหมายโดยเฉพาะกฎหมายคุมครองแรงงานได ประกอบกับตองมีการปรับเปลี่ยนความรับรูของสังคมในการมองบุคคลผูใหบริการทางเพศเหลานี้วาถือเปนการประกอบอาชีพโดยสุจริตอาชีพหนึ่ง เพื่อใหบุคคลเหลานี้สามารถใชสิทธิที่พึงมี ไดอยางเต็มที่โดยไมตองหลบๆ ซอนๆ เพราะกลัวการประณามจากสังคม

2.2 ลักษณะการใหบริการของสถานบริการแตละประเภท

ตามที่ไดกลาวเอาไวในตอนตนถึงการแบงกลุมสถานบริการประเภทตางๆ ออกเปน กลุมใหญๆ ของกองกามโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงแบงออกเปน 5 ประเภทโดยรวม สถานบริการแตละประเภทในทั้ง 5 กลุมดังกลาวจะมีลักษณะที่คลายคลึงกัน โดยมีลักษณะดังตอไปนี้

ประเภทที่ 1 ผับ ดิสโกเธค บารเบียร ไนทคลับ บารเกย บารอโกโก บารรําวง ลักษณะการใหบริการของสถานบริการประเภทนี้สวนหนึ่งเปนธุรกิจที่

เกิดขึ้นเพื่อรองรับนักทองเที่ยวชาวตางชาติโดยเฉพาะฝรั่งจากโลกตะวันตก เพราะนักทองเที่ยวคนไทยหรือตางชาติชาวตะวันออกไมคอยนิยม34 ซ่ึงไดแก บารเบียรและบารอโกโก บารเบียรจะมีเคานเตอรเปดโลงขายเบียรและเครื่องดื่มเปนแกว มีเพลงฟงหรือมีการฉายวีดีโอหรือรายการ ทางโทรทัศนใหชม และมีหญิงขายบริการ (แอบแฝง) เปนผูเรียกลูกคาและบริการแขก35 สวนบารอโกโกเปนธุรกิจเริงรมณที่พัฒนามาจากไนตคลับธรรมดา แตจุดขายของบารอโกโกคือ การแสดงตางๆ ของผูหญิงขายบริการในชุดที่เกือบจะเปลือยเปลา เชน การเตนเกาะเสาบนเวที ดวยทาเตนที่ยั่วยุกามารมณหรือนําวัตถุตางๆ มาแสดงโดยใชอวัยวะเพศประกอบ หรือแมแตการแสดงการรวมเพศใหดู ผูหญิงที่หลังจากเวียนขึ้นไปเตนโชวเพื่อใหแขกเลือกแลวก็ลงมานั่งดื่ม

34 รวมแรงแบงปนรัก : สภาพและขอเท็จจริงแหงปญหาโสเภณีและเอดส สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล หนา 62 35 หนา 63 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32

Page 23: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-22

กับแขกรวมไปถึงการออกไปใหบริการพิเศษขางนอก (ออฟ)36 ไนทคลับ เปนธุรกิจเริงรมย ที่รับรูปแบบมาจากฝรั่งมานานกวา 30 ป โดยยุคเริ่มแรกนั้นก็คลายรานกาแฟที่บริการดีกวา รานกาแฟธรรมดา มีผูหญิงมาเปนเพื่อนนั่งคุย เรียกวา “นั่งชั่วโมง” หรือเปน “พารตเนอร” คูเตนรํากับแขกซึ่งในไนตคลับจะมีดนตรีบรรเลงและฟลอรสําหรับเตนรํา37 ผับ เปนสถานเริงรมยที่มีดนตรีสดเลนโดยใหบริการแกลูกคาเขามานั่งดื่ม ฟงเพลง รับประทานอาหาร และเตนรํา แตมีการยอมรับใหมีผูหญิงมานั่งบริการใหกับลูกคาผูมาใชบริการ ซ่ึงก็เชื่อมโยงไปสูการใหบริการทางเพศในที่สุด38 ดิสโกเธค และบารรําวง เปนสถานเริงรมยที่มีการเปดเพลงหรือดนตรีสดเลนเพื่อใหบริการแกลูกคาที่ตองการเตนรํา ดิสโกเธคจะเนนการดื่มและการเตนรําดวยจังหวะที่รวดเร็วและรอนแรง เปนแหลงรองรับคนกลางคืนทั้งชายและหญิงที่ตองการความสนุกจากการเตนรําดวยทาทางใดๆ ก็ไดเพียง เพื่อใหเขาจังหวะดนตรีที่ดังสนั่นกึกกองดวยระบบเสียงชั้นดีและระบบแสงสีที่ตื่นตาตื่นใจ39 มีพื้นที่เฉพาะใหลูกคาเตนตามจังหวะเพลง ซ่ึงมักมีหญิงขายบริการทางเพศแอบแฝงเขามาขายบริการใหแกลูกคาที่เขามาใชบริการ บารเกย เปนสถานเริงรมยที่ใหบริการเฉพาะลูกคาผูชายเทานั้น (อาจมีบางแหงที่อนุญาตใหผูหญิงเขาไปได) โดยจะมีดนตรีบรรเลง และมีเครื่องดื่มบริการแกลูกคา พนักงาน ที่ใหบริการจะเปนผูชายทั้งหมดโดยสวนหนึ่งจะเปนผูชายที่ขายบริการทางเพศหากลูกคาตองการ หลังจากที่นั่งดื่มหรือบริการใหกับลูกคาในราน

ประเภทที่ 2 ค็อกเทลเลานจ โรงน้ําชา ค็อกเทลเลานจ เปนสถานที่สําหรับดื่มเหลา และฟงเพลง โดยมีหญิงบริการ

มาเปนเพื่อนนั่งดื่ม เปนแหลงพักผอนที่ดูมีระดับ มีดนตรีและแสงสีที่ไมรอนแรงเหมือน ในดิสโกเธค มีหญิงสาวมาคอยบริการนั่งดื่ม นั่งคุย และอาจจะเลยไปถึงการบริการทางเพศ หรือ ภาษาเฉพาะในวงการเรียกวา “ออฟ” หรือ “หิ้ว” ค็อกเทลเลานจบางแหงจะตอนรับเฉพาะลูกคา ผูชาย ถึงขนาดมีกฎเกณฑวาถาลูกคาคนใดหาผูหญิงมาจากที่อ่ืนจะตองจายเงินใหกับทางรานจาํนวนหนึ่งเพื่อกันไมใหผูหญิงจากขางนอกเขาไปในค็อกเทลเลานจนั้น โดยมีเหตุผลวาเพื่อชดเชยรายไดของหญิงบริการที่ตองสูญเสียโอกาสที่ควรจะไปนั่งบริการลูกคาคนนั้น40 สวนโรงน้ําชา เปนสถานที่ ที่มี เครื่องดื่มใหบริการและมีการกั้นพื้นที่ เปนหองๆ เพื่อใหลูกคาใชบริการรวมกับผูหญิง ที่ขายบริการประจําโรงน้ําชา

36 หนา 66 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32 37 หนา 65 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32 38 การเขาสูงานบริการทางเพศแบบแอบแฝงของสตรีท่ีมีการศึกษาในสถานเริงรมย : กรณีศึกษาค็อกเทลเลาจ ผับ และคาราโอเกะ ปริญญานิพนธ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร พ.ศ. 2538 ของ จงจิตต โศภนคณาภรณ หนา 5 และ 84 39 หนา 83 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 36 40 หนา 84 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 36

Page 24: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-23

ประเภทที่ 3 อาบอบนวด นวดแผนโบราณ ซาวนา รานตัดผมชาย รานเสริมสวย อาบอบนวด เปนสถานที่ที่มีบริการเริ่มตนคือการอาบน้ําและการนวดโดย

หมอนวดสาวนุงนอยหมนอยดวยลีลาและวีธีการนวดตางๆ เพียงอยางเดียวในตอนแรก ตอมาจึงไดมีการขายบริการทางเพศผนวกเขาไปดวยถาลูกคาตองการ โดยรายไดที่นอกจากการนวดนี้คือรายไดหลักของหมอนวดซึ่งสูงกวารายไดจากคานวดเพียงอยางเดียวมาก การขายบริการของหมอนวดจะมีคนเชียรแขกเขามามีบทบาทในการสงแขกให คนเชียรแขกจึงมีสวนแบงดวยเสมอจากรายไดในการขายบริการทางเพศของหมอนวด41 นวดแผนโบราณ เปนธุรกิจที่ฉากหนาคือการใหบริการนวด แตธุรกิจที่แทจริงซึ่งแฝงอยูเปนจุดขายสําคัญก็คือ การขายบริการของหมอนวด โดยเจาของโรงนวดไดคาสถานที่และคานวด หมอนวดจะไดรายไดหลักจากการขายบริการใหแขก42 ซาวนา รานตัดผมชาย และรานเสริมสวย เปนสถานที่ที่มีการใหบริการทางเพศแอบแฝงโดยซาวนาจะเปนสถานที่ที่ใหบริการอบตัวดวยความรอนในหองที่มีลักษณะเฉพาะ สวนรานตัดผมชายและรานเสริมสวยจะมีฉากหนาเปนรานตัดผมหรือเสริมสวยตามชื่อ แตทั้งสามลักษณะจะมีผูหญิงขายบริการอยูเชนกัน

ประเภทที่ 4 คอฟฟช็อป คาเฟ รานอาหาร คาราโอเกะ คอฟฟช็อป เปนสถานที่สําหรับดื่มสุราและรับประทานอาหารอาจมีดนตรี

เปดหรือบรรเลงสดเพื่อใหลูกคาไดเพลิดเพลินไปพรอมๆ กับการดื่มและทานอาหาร แตเปน ที่ยอมรับกันวามีผูหญิงใหบริการทางเพศเขามาขายบริการในคอฟฟช็อปเชนกัน คาเฟ เปนรูปแบบธุรกิจสถานเริงรมยที่เกิดตอเนื่องมาจากอาบอบนวดและคอฟฟช็อป โดยนําการแสดงตางๆ เชน การแสดงตลก มายากลตางๆ เขามาใชเปนจุดขายรวมกับหญิงขายบริการทางเพศที่อยูในรูปนักรอง43 รานอาหารและสวนอาหาร เปนสถานบริการที่ใชรานอาหารและสวนอาหารเปนฉากบังหนา มีการขายสุรา อาหาร เครื่องดื่ม มีนักรองนักดนตรีขับกลอม รานอาหารประเภทนี้จะมีพนักงานเสิรฟเปนผูหญิงมากเปนพิเศษ หนารานสวนใหญจะตบแตงดวยไฟกระพริบหลากสีสรร44 คาราโอเกะ เปนธุรกิจเริงรมยรูปโฉมใหมที่กําลังไดรับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในปจจุบันจนแซงหนาธุรกิจประเภทเดียวกันรูปแบบอื่นๆอีกเปนจํานวนมากขึ้นมาภายในระยะเวลาจากที่ถือกําเนิดขึ้นเพียง 2-3 ปเทานั้นจุดขายหลักของคาราโอเกะก็คือ การนําเทคโนโลยีภาพยนตรเพลงหรือมิวสิควีดีโอ มาบริการแขกแทนการขายโชวหรือตลกแบบคาเฟ ทั้งๆ ที่บริการอื่นๆ เกือบไมแตกตางกัน คือ มีอาหาร เครื่องดื่ม และที่ขาดไมไดคือผูหญิงบริการ45

41 หนา 65 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32 42 หนา 63 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32 43 หนา 63 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32 44 หนา 62 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32 45 หนา 64 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32

Page 25: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-24

ประเภทที่ 5 สํานัก โรงแรม บังกะโล เกสเฮาส นางทางโทรศัพท เตร็ดเตร และอื่นๆ สํานัก อาจเรียกวา สํานักบริการ ซอง สํานักบุคคลอาชีพพิเศษ

สํานักคาประเวณี เปนสถานที่ขายบริการทางเพศของหญิงบริการโดยตรงไมมีฉากบังหนาเหมือนสถานบริการประเภทอื่นๆ แตเนื่องจากผิดกฎหมายจึงไมมีการติดปายประชาสัมพันธ แตจะเปน ที่รูจักกันเองในหมูนักเที่ยว สถานที่จึงมักเปนบาน หรืออยูภายในบริเวณบานของเจาของสํานัก นั่นเองกั้นเปนหองเล็กหองนอยสําหรับแขก46 โรงแรม เปนแหลงคาบริการทางเพศที่แอบแฝงอยูกับการขายบริการเรื่องที่พักและมีอยูหลายระดับ หลายราคา นับจากโรงแรมจิ้งหรีด โรงแรมมานรูด ถึงโรงแรมใหญๆ หญิงผูขายบริการมักเปนเพียงผูไปใชบริการของลอบบี้โรงแรมเพื่อรอแขกบางเทานั้นโดยทางโรงแรมมักไมไดผลประโยชนเกี่ยวของดวย โรงแรมธรรมดาทั่วๆ ไปโดยเฉพาะ โรงแรมที่มี ช่ือเปนตัวเลขและโรงแรมมานรูดมักจะมีผูหญิงไวบริการแขกที่มาเขาพักดวย แตบางครั้งโรงแรมก็เปนที่ที่หญิงขายบริการอิสระพาแขกของตนเองมานอนดวยเชนกัน47 บังกะโล และเกสเฮาส มีลักษณะคลายโรงแรมแตมีขนาดเล็กกวา มีลักษณะเปนบานพักเปนหลังๆ สําหรับบังกะโล แตโดยรวมจะใหบริการคลายกับโรงแรม ที่ขาดไมไดคือการมีหญิงขายบริการอีกเชนกันสวน นางทางโทรศัพท เปนการขายบริการทางเพศโดยวิธีการติดตอทางโทรศัพท ลูกคาผูใชบริการ จะเปนผูโทรศัพทไปหานางทางโทรศัพทเพื่อนัดแนะสถานที่นัดพบเพื่อใชบริการทางเพศ

2.3 ปญหาที่เก่ียวเนื่องกับสถานบริการ

เนื่องจากสถานบริการสวนใหญเปดใหบริการในเวลากลางคืน หรืออาจเปดใหบริการทั้ง

กลางวันและกลางคืน ประกอบกับมีการใหบริการที่ เกี่ยวของกับการใหบริการทางเพศ ทั้งโดยตรงและโดยแอบแฝง ทําใหการประกอบธุรกิจของสถานบริการสวนใหญมีโอกาส ที่จะกอใหเกิดการกระทําที่ฝาฝน ละเมิด หรือผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเปนบอเกิดของปญหาสืบเนื่องจํานวนมาก เชน ปญหาการคาประเวณี ปญหาการถูกหลอกหรือถูกบังคับใหคาประเวณี ปญหา ยาเสพติด ปญหาแหลงเสื่อมโทรม ปญหาทางดานสุขอนามัยทั้งของผูคาประเวณีและผูใชบริการ ซ่ึงที่สําคัญคือปญหาผูปวยโรคเอดส ปญหากลุมอิทธิพลนอกกฎหมายหรืออิทธิพลมืด ปญหาการ ถูกเอารัดเอาเปรียบของผูใหบริการในสถานบริการจากเจาของสถานบริการ และปญหายาเสพติดเปนตน

46 หนา 64 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32 47 หนา 64 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32

Page 26: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-25

3. บทบาทหนาท่ีของหนวยงานตางๆ ท่ีเก่ียวของ และปญหาที่เก่ียวเนื่องกับสถานบริการ

ธุรกิจสถานบริการเปนธุรกิจที่สามารถแบงยอยออกไดมากมายหลายประเภท มีผูประกอบกิจการเปนจํานวนมาก เนื่องจากเปนธุรกิจที่ชวยบรรเทาและผอนคลายความทุกข และสนองกิเลสตัณหาของผูมาใชบริการ ธุรกิจสถานบริการจึงเปนธุรกิจที่มีคนเปนจํานวนมากเขามาเกี่ยวของโดยเฉพาะอยางยิ่งแ ร ง ง า น ที่เปนผูใหบริการในสถานบริการซึ่ง อาจแบงเปนแรงงานผูใหบริการทั่วๆไป เชนพนักงานตอนรับ พนักงานเสิรฟ พนักงานทําความสะอาด พนักงานรับรถ เปนตน และแรงงานผูใหบริการทางเพศ ไมวาจะเปนชายหรือหญิง การมีแรงงานเปนจํานวนมากยอมหลีกเลี่ยงไมไดที่จะเปนที่มาของปญหาตาง ๆมากมายดังที่ไดกลาวไวกอนหนานี้ ดังนั้น จึงมีหนวยงานที่เกี่ยวของกับปญหาที่เกิดจากสถานบริการเปนจํานวนไ ม น อ ย ที่ถูกตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือในการแกไขปญหา โดยอาจแบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุมที่เปนหนวยงานราชการ และหนวยงานที่ไมสังกัดทางการหรือที่รูจักกันวา NGOs (Non-Governmental Organization) หนวยงานตาง ๆเหลานี้ไดแก48

(1.) ศูนยประสานงานและปราบปรามการใชแรงงานเด็กและโสเภณีเด็ก กองปราบปราม 509 ถนนวรจักร เขตปอมปราบฯ กทม. 10100 โทร. 0 2224 8481 หรือ 195 (2.) คณะทํางานเพื่อยุติการเอาเปรียบเด็กทางเพศ ตู ปณ. 20 ปทฝ. บางพลัด กทม. 10700 โทร. 0 2435 1246 โทรสาร 0 2434 6774 (3.) ศูนยพิทักษสิทธิเด็ก มูลนิธิเด็ก 180/10 ซอยวัดดีดวด จรัญสนิทวงศ 12 กทม. 10600 โทร. 0 2412 1196, 0 2412 0739 โทรสาร 0 2412 9833 (4.) บานพักผูหญิง มูลนิธิผูหญิง 35/267 จรัญสนิทวงศ 62 บางกอกนอย กทม. 10700 โทร. 0 2433 5149 โทรสาร 0 2434 6774 (5.) ศูนยพิทักษสิทธิสตรี มูลนิธิเพื่อนหญิง 1379/30 ซอยประดิษฐชัย ถนนพหลโยธิน สามเสนใน พญาไท กทม. 10400

48 หนา 175-176 อางถึงแลวในเชิงอรรถที่ 32

Page 27: บทที่ 3 ธุรกิจบริการ สถานบริการ และแรงงานในภาคบริการresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/LP47048/03LP47048.pdf ·

โครงการวิจัยเร่ือง แนวทางการคุมครองแรงงานในสถานบริการ

3-26

โทร. 0 2270 0928-9 โทรสาร 0 2271 2443 (6.) บานพักฉุกเฉิน 1 6 ถนนสุโขทัย กทม. 10300 โทร. 0 2241 5116 (7.) บานพักฉุกเฉิน 2 501/1 หมู 3 ถนนเดชะตุงคะ ดอนเมือง กทม. 10210 โทร. 0 2566 1774, 0 2566 2288 โทรสาร 0 2566 2288 (8.) มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก 143/109-111 หมูบานปนเกลาพัฒนา ซอยวัดสุวรรณคีรี ถนนปนเกลา-นครชัยศรี บางกอกนอย กทม. 10700 โทร. 0 2433 6292 (9.) มูลนิธิทองใบ ทองเปาด 15/138-139 ซอยเสือใหญอุทิศ ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กทม. 10900 โทร. 0 2513 6085 โทรสาร 0 2513 6085 (10.) สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ ตึกมหิดล ถนนพญาไท กทม. 10400 โทร. 0 2246 1457 (11.) ไทยแลนด แบ็บติสท มิชชั่นนารี เฟลโลชิพ (ศูนยชีวิตใหม) ตู ปณ. 29 อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50000 โทร. (053) 243 742 (12.) ชมรมชาวเหนือสัมพันธ กรุงเทพ 49 ถนนพระอาทิตย เขตพระนคร กทม. 10200 (13.) ศูนยพิทักษสิทธิหญิงบริการ (Empower) โทร. 0 2234 3078, 0 2234 0398