บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8...

19
บทที8 การจัดการสิ่งแวดลอมและการกอสรางโรงเรือน Environmental Control and Dairy Farm Building and Equipment 1. การจัดการสิ่งแวดลอม โคนมเปนสัตวที่มีการใหผลผลิตทีและตอบสนองรวดเร็วกับการจัดการสิ่งแวดลอมรอบตัว โคในเขตหนาวมีการ ปองกันตนเองจากการสูญเสียความรอนออกจากรางกายโดยมีขนปกคุมที่ยาวและมีชั้นไขมันที่หนา สวนโคในเขตรอนจะมี การระบายความรอนออกจากรางกายโดยการมีผิวหนังหยอน มีขนสั้นและชั้นไขมันที่บาง ขณะเดียวกันก็อาศัยการมีรมเงา มี แนวปองกันลมฝนเพื่อปองกันตนเองจากภัยของสิ่งแวดลอม การเลี้ยงโคนมเพื่อใหไดผลผลิตสูงจึงจําเปนที่จะตองมีการการรม เงาและการกอสรางโรงเรือนถือเปนความตองการอันดับแรกกอนเริ่มกิจการโคนม 2. การสรางความรอนในรางกายโค การสรางความรอนภายในรางกายโคนมเกิดจากปจจัยตางๆเชนระดับการใหอาหาร ขนาดรางกาย อุณหภูมิของ สภาพแวดลอมและลักษณะของกิจกรรมที่โคกระทําอยู เชนในลูกโคที่กินอาหารหลักเปนน้ํานมและอาหารขน จะผลิลความ รอนออกมานอยกวาโคโตที่กินอาหารหยาบเปนหลักซึ่งจะมีการสรางความรอนจากการหมักยอยอาหารขึ้นมามากมาย ขณะเดียวกันในโคจะมีการระบายความออกมาทางเหงื่อโดยการระเหยผานชั้นผิวหนัง ในตาราง จะแสดงปริมาณน้ําที่โคสราง ขึ้นมา(vapor production) และตองการที่จะระเหยหรือนําออกจากโรงเรือน vapor production จะมีปญหาในโรงเรือนโคแบบ ปด ที่ตองการพัดลมดูดออก แตโรงเรือนที่เปนแบบโปรงปญหาน้ําที่โคสรางและตองการระเหยออกไปจะไมมีปญหามากนัก ในบานเรา 3. อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับโคนม โคนมในเขตตางๆทั่วโลกมีความตองการอุณหภูมิแตกตางกันตามอายุ ความเคยชินหรือการปรับตัวของโคจะชวยให โคอยูไดสบายขึ้นอยางมีสุขภาพดี ในตาราง8.1 จะแสดงอุณหภูมิที่เหมาะสมกับโคแตละรุทั้งขอมูลไดจากงานวิจัยซึ่งสภาพ จริงอาจมีความแตกตางบาง 4. หลักการสรางโรงเรือน 1. ตองใหความรมเย็นแกโคและผูทํางาน 2. ความเปนอยูตองสะดวกสบาย ไมเปนตนเหตุของอุบัติเหตุ 3. ตองมีน้ําที่สะอาดอยางเพียงพอ และอาหารจํานวนเพียงพอ 4. จัดใหมีเครื่องมือ อุปกรณอยางเพียงพอตามจําเปน 5. ใชเครื่องมือในการรีดนมอยางมีประสิทธิภาพ 6. จัดใหมีหองสําหรับเก็บอาหารสํารอง หรือหองผสมอาหาร 7. ตองมีแบบแผนในการสรางโรงเรือนที่ใหงาย ในการจัดการทั่วไป 8. จะตองงายในการใหอาหาร การรีดน้ํานม การขจัดมูล

Upload: others

Post on 02-Jun-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

267

บทที่ 8 การจัดการสิ่งแวดลอมและการกอสรางโรงเรือน Environmental Control and Dairy Farm Building and Equipment

1. การจัดการสิ่งแวดลอม โคนมเปนสัตวที่มีการใหผลผลิตทีและตอบสนองรวดเร็วกับการจัดการสิ่งแวดลอมรอบตัว โคในเขตหนาวมีการปองกันตนเองจากการสูญเสียความรอนออกจากรางกายโดยมีขนปกคุมที่ยาวและมีช้ันไขมันที่หนา สวนโคในเขตรอนจะมีการระบายความรอนออกจากรางกายโดยการมีผิวหนังหยอน มีขนสั้นและชั้นไขมันที่บาง ขณะเดียวกันก็อาศัยการมีรมเงา มีแนวปองกันลมฝนเพื่อปองกันตนเองจากภัยของสิ่งแวดลอม การเลี้ยงโคนมเพื่อใหไดผลผลิตสูงจึงจําเปนที่จะตองมีการการรมเงาและการกอสรางโรงเรือนถือเปนความตองการอันดับแรกกอนเริ่มกิจการโคนม

2. การสรางความรอนในรางกายโค การสรางความรอนภายในรางกายโคนมเกิดจากปจจัยตางๆเชนระดับการใหอาหาร ขนาดรางกาย อุณหภูมิของสภาพแวดลอมและลักษณะของกิจกรรมที่โคกระทําอยู เชนในลูกโคที่กินอาหารหลักเปนน้ํานมและอาหารขน จะผลิลความรอนออกมานอยกวาโคโตที่กินอาหารหยาบเปนหลักซึ่งจะมีการสรางความรอนจากการหมักยอยอาหารขึ้นมามากมาย ขณะเดียวกันในโคจะมีการระบายความออกมาทางเหงื่อโดยการระเหยผานชั้นผิวหนัง ในตาราง จะแสดงปริมาณน้ําที่โคสรางขึ้นมา(vapor production) และตองการที่จะระเหยหรือนําออกจากโรงเรือน vapor production จะมีปญหาในโรงเรือนโคแบบปด ที่ตองการพัดลมดูดออก แตโรงเรือนที่เปนแบบโปรงปญหาน้ําที่โคสรางและตองการระเหยออกไปจะไมมีปญหามากนักในบานเรา

3. อุณหภูมิท่ีเหมาะสมสําหรับโคนม โคนมในเขตตางๆทั่วโลกมีความตองการอุณหภูมิแตกตางกันตามอายุ ความเคยชินหรือการปรับตัวของโคจะชวยใหโคอยูไดสบายขึ้นอยางมีสุขภาพดี ในตาราง8.1 จะแสดงอุณหภูมิที่เหมาะสมกับโคแตละรุน ทั้งขอมูลไดจากงานวิจัยซึ่งสภาพจริงอาจมีความแตกตางบาง

4. หลักการสรางโรงเรือน 1. ตองใหความรมเย็นแกโคและผูทํางาน 2. ความเปนอยูตองสะดวกสบาย ไมเปนตนเหตุของอุบัติเหตุ 3. ตองมีน้ําที่สะอาดอยางเพียงพอ และอาหารจํานวนเพียงพอ 4. จัดใหมีเครื่องมือ อุปกรณอยางเพียงพอตามจําเปน 5. ใชเครื่องมือในการรีดนมอยางมีประสิทธิภาพ 6. จัดใหมีหองสําหรับเก็บอาหารสํารอง หรือหองผสมอาหาร 7. ตองมีแบบแผนในการสรางโรงเรือนที่ใหงาย ในการจัดการทั่วไป 8. จะตองงายในการใหอาหาร การรีดน้ํานม การขจัดมูล

Page 2: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

268

ตารางที่8. 1 แสดงอุณหภูมิ ความชื้น และอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับโคนม

ที่มา: Ensminger (1993) องคประกอบทั่วไป การกอสรางแบบประหยัด ผูเลี้ยงสามารถสรางสวนรีดนมและโรงเรือนโคใหอยูในบริเวณเดียวกันได แตตองคํานึงถึงระบบการจัดการดวย ไดแก ระบบการใหอาหาร ระบบการขจัดมูล ขนาดของพื้นที่ โดยมีหลัก 1. โรงเรือนทุกประเภท ตองอยูในที่สูง หรือจัดสรางใหสูง 2. ทิศทางกอสรางหัว ทาย โรงเรือนอยูแนวทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก 3.โรงเรือนทุกประเภท ควรมีหลังคาแบบจั่ว2ช้ันหรือช้ันเดียวแตมีลูกหมุนระบายอากาศที่หลังคา 4. หลังคาควรเปนกระเบื้องดีที่สุด การสรางดวยหลังคาหญาแฟกใหความรมเย็นดี แตไมทนทาน สวนหลังคาสังกะสี ไมคอยเหมาะสมเพราะจะทําใหโรงเรือนรอน 5. ความสูงของชายคาอยางนอย 3 เมตร และยื่นชายคาใหยาว สามารถปองกันแสงแดด และฝนสาดได 6. เสาควรเปนคอนกรีตหรือเหล็กแปบน้ําเทานั้น เสาไมไมเหมาะสมเพราะตองสัมผสักับความชื้นอยูตลอดเวลา 7. พ้ืนควรเปนคอนกรีต รอบรางอาหาร รางน้ําและบริเวณที่พัก ยกเวนลานเดินเลน 8. ในสภาพอากาศรอน การสรางโรงเรือนแบบโปรงจะทําใหโคอยูสบาย 9. ถาสามารถทําได ควรสรางรางอาหารใหโคกิน อยูคนละที่กับโรงเรือนพักโค เพื่อลดการใชพ้ืนที่และสภาพโรงเรือนจะแหงสะอาด 10. ถาสรางโรงเรือนพักโคกับรางอาหารโคในชายคาเดียวกัน จะตองออกแบบระบบการระบายน้ําใหเอียงมากกวา 3-5 เปอรเซ็นต ก. องคประกอบสําหรับกิจการโครีดนม 5-50 ตัว 1. อาคารเอนกประสงค 1.1 หองรีดนมพรอมชุดรีดนม และอุปกรณ 1.5 หองพักเจาหนาที่ 1.2 พัดลมชุดระบายอากาศ 1.6หองเก็บสารเคมีทําความสะอาด

Page 3: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

269

1.3 หองเก็บนม 1.7 คอกคัดโคปวย/ผสมเทียม 1.4 หองเก็บอาหารขนสําเร็จรูป 1.8 ซองรีด 1.9 รางอาหารขน 2. คอกพักนอนโค 2.1 ซองนอนพรอมทรายสะอาด/ดินสะอาดหรือลานดิน 2.2 รางจายอาหาร 2.3 อางน้ํากิน 2.4 ลานพักผอนโค ข. องคประกอบสําหรับกิจการขนาด 50-100 ตัว 1. อาคารเอนกประสงค ประกอบดวย 1.1 สวนทํางาน 1.4 สวนพยาบาล 1.2 สวนเก็บน้ํานม 1.5 สวนพักโค 1.3 สวนรีดนม 1.6 สวนกักโค 2. อาคารโรงเรือนพักนอนโค 2.1 ซองพักนอนทรายหรือดิน 2.3 รางอาหาร 2.2 ลานพักผอน 2.4 อางน้ํา 3. อาคารเก็บอาหาร 3.1 บออาหารหมัก 3.2 โรงเก็บหญาแหง 3.3 โรงผสมและเก็บอาหารขน ค. องคประกอบสําหรับกิจการขนาด 100-200 ตัว 1. อาคารเอนกประสงค 1.1 สวนทํางาน 1.5 สวนพักโค 1.2 สวนเก็บน้ํานม 1.6 สวนกักโค 1.3 สวนรีดนม 1.7 สวนพนเห็บ 1.4 สวนพยาบาล 1.8 อางแชน้ําโค 2. อาคารโรงเรือนพักนอนโค 2.1 ซองพักนอนทรายหรือดิน 2.3 รางอาหาร 2.2 ลานพักผอน 2.4 อางน้ํา 2.5 สวนกักโคปวย 3. โรงอาหารสัตว 3.1 โรงผสมอาหารขน 3.3 บออาหารหมัก 3.2 โรงเก็บหญาแหง 4. ลานกักเก็บมูลโค 4.1 ลานรวมมูลเหลว 4.2 ลานตากมูล

Page 4: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

270

5. โรงเรือนโคสาว 6. อาคารลูกโคและโครุน

5. ขอมูลจําเพาะสําหรับกอสราง 5.1 สวนอาคารเอนกประสงค สวนในอาคารนี้ จะสรางเชื่อมกันเปนอาคารใหญ โดยมีวัตถุประสงคใหเปนการใชพ้ืนที่ใหเกิดประโยชนมากที่สุด และขนาดฟารมไมเกิน 100 ตัว การรวมที่ทํางานเขาหากัน หรืออยูใกลกันจะงาย สะดวกในการบริหารและควบคุมการทํางาน ซึ่งสามารถแบงสวนกันใชพ้ืนที่ไดเปน 1.1 สวนที่ทํางาน ปกติการเลี้ยงโคจะใชอัตราสวน เจาหนาที่ตอโคในฟารม 1:20-30 ดังนั้นขนาดฟารม 100 ตัว จะใชสวนที่ทํางานขนาด 5x10 เมตร 1.2 สวนพยาบาลโค เนื่องจากการเลี้ยงโคนมจะเนนการปองกันเปนหลัก และ หากโคปวยเล็กนอย มักจะใชวิธีกั้นสวนในอาคารนํามาดูแลรักษาในสวนพยาบาล ซึ่งออกแบบใหไดงานไดรวมกันระหวางการตรวจรักษา การผสมเทียม การใหยา สวนนี้จะออกแบบใหเปนบริเวณพักของโคขณะไดรับการดูแลดวย ซึ่งควรประกอบดวย 1.2.1 ซองยืนบนพื้นคอนกรีต (STANCHIONS) จํานวน 15-20 ซอง ก็นาจะพอเพียง และจัดใหระบายน้ําดี 1.2.2 คอกรวมบนพื้นดิน\ทราย สําหรับกักโคบางตัวที่มีปญหาในเรื่องกีบเทา สราง 1-2 คอก ขนาด 2x3 เมตร ทั้งนี้เพื่อแยกจากกลุม เปนการปองกันการกระทบกระแทก 1.2.3ซองที่คัดแยกตัว ซึ่งตองทําเปนกลุมจึงมีความจําเปนตองมีซองเรียงแถวหนึ่ง พรอมประตูคัดแยก ความยาว 10-15 เมตร สําหรับโคโต และซองคัดแยกสําหรับโคเล็ก/ลูกโค ยาวประมาณ 5-10 เมตร 1.3 สวนโคใกลคลอด ควรจัดสรางเปนคอกคัดแยกและอยูหางจากสวนพยาบาล โค เพื่อลดการติดเชื้อในระยะแรก ทั้งในแมและลูกโค คอกดินหรือคอกที่ใสฟางจะเหมาะสมเปนคอกใหโคคลอด แตตองระวังในเรื่อง การหมักหมม ถาหลีกเลี่ยงไมไดจึงใหคลอดในคอกซีเมนต ขนาดพื้นที่ที่ตองการ 3x4 เมตร/ตัว ประกอบดวยอางน้ํา รางอาหาร 1.4 สวนลูกโค (อาจพิจารณาแยกอาคาร) 1.4.1 เลี้ยงแบบขังกรงเดี่ยวยกพื้นหรือเปนซอง โคอายุแรกเกิด-1 เดือน 0.8x1.3 เมตร สูง 0.50 เมตร 1.4.2 เลี้ยงแบบขังกรงเดี่ยวต้ังพื้น โคอายุแรกเกิด-1 เดือน 1x2.5 เมตร 1.4.3 ความตองการพื้นที่ตอตัว ลูกโคอายุ 1-2 เดือน 25 ตร.เมตร/ตัว ลูกโคอายุ 3-4 เดือน 30 ตร.เมตร/ตัว 1.5 สวนโคโต กรณีจัดสรางเปนซองนอน(Free stall) จะมีขนาดตอตัวคือ โคอายุ 2-4 เดือน ใชขนาด 2x4 ฟุต/ตัว โคอายุ 4-8 เดือน ใชขนาด 2.5x4.5 ฟุต/ตัว โคอายุ 8-18 เดือน ใชขนาด 3x3 ฟุต/ตัว โคอายุ 18-ต้ังทอง ใชขนาด 3.5x6 ฟุต/ตัว

Page 5: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

271

แบบชุดรีดนม ขอคํานึงคือ 1.จะตองชวยเพิ่มประสิทธิภาพของการใชแรงงานและลดเวลาในการรีด 2.ใหความสะดวกสบายแกผูปฏิบัติงาน สามารถควบคุมความสะอาด 3. ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ 4. ใชทุนในการเริ่มติดต้ัง และคาการบํารุงรักษาที่ถูกที่สุด แบบชุดรีด(types of milking parlors)ที่มีทั้งหมด 5 แบบ คือ 1. แบบยืนรีดในซอง (STANCHION BARN) 2. แบบซองรีดเปดขาง (SIDE OPENING PARLORS) 3. แบบแถวรีดกางปลา (HERRINGBONE PARLORS) 4. แบบแถวรีดเหลี่ยม (POLYGON PARLORS) 5. แบบรีดหมุนวงกลม (ROTARY PARLORS) ขนาดกิจการอยูระหวางโครีดนม 5-50 ตัว ควรพิจารณาแบบยืนรีดในซอง ซึ่งมีทั้งแบบรีดใสถัง สําหรับจํานวนโคนอย และแบบรีดระบบทอสงนมซึ่งจะสะดวกกวาใชถังรีด กิจการที่มีขนาดโตขึ้นมีโครีดนม 50-100 ตัว ควรพิจารณาแบบยืนรีดในซองกับแถวรีดกางปลา (ใชระบบทอสงนม) ซึ่งเหมาะสมกวาการใชแบบแถวรีดเปดขาง กิจการที่มีขนาดโตขึ้นมีโครีดนม 100-200 ตัว หรือมากกวา ควรพิจารณาควบคูกับคาแรงงาน และประสิทธิภาพการใชแรงงาน ถาอยูในแหลงที่ไมแพงและควบคุมคนไดดี การใชแบบยืนรีดในซองก็ใชไดดี แตหากคาแรงงานและมีปญหาแรงงาน ควรพิจารณาแบบแถวรีดกางปลาหรือแบบแถวรีดเหลี่ยมหรือแบบรีดหมุนวงกลม สําหรับกิจการที่มีขนาดโตกวานี้ ก็เพียงแตขยายขนาดของชุดรีด ใหรีดไดครั้งละมากขึ้น หรือขยายหลุมรีดใหมากขึ้น เทานั้น ตารางที่ 8.2 แบบยืนรีดในซองรีด เปนแบบที่งายที่สุดในขบวนการรีด รองจากการรีดดวยมือ โดยมีลักษณะแบบใหโคมายืนรอเรียงขางเขารีด เหมาะกับการเลี้ยงแบบยืนโรง มีอุปกรณคือ 1. ทอสุญญากาศ พรอมกอกปดเปด 2. ถังรองรับนมพรอม 3. ชุดควบคุมจังหวะรีด พรอม เกยวัดความดัน 4. หัวรีด 4 ชุด (1 ชุด มี 4 หัวรีด) 5. ถังเย็นรวมนมดิบ หรืออาจเปนทอสงนมดิบไปยังถังเย็นรวมนม 6. มอเตอร ชุดรีดดังกลาว 1 ชุด จะควบคุมการรีดโคไดคราวละ 4 ตัว พรอมกัน ดังนั้นแบบโรงเรือนจึงตองมีซองยืนเรียงเดี่ยว 8 ซอง ติดตอกันหรือทําเปน 2 แถว ๆ ละ 4 ซอง

Page 6: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

272

รูปที่8. 1 แสดงแบบชุดรีดน้ํานม

แบบซองรีดเปดขาง โรงรีดแบบนี้ตองออกแบบใหมีขางละ 2 แถว โดยแถวหนึ่งเปนทางเดินโคเขารีดในแตละชอง อีกแถวหนึ่งเปนแถวของชองใหโคเขารีดนมรายตัว โดยยืนขนานกับหลุมรีด ซึ่งจะเปนอิสระตอกัน โคตัวไหนเขากอนก็รีดเสร็จแลวก็ออกกอน ซึ่งจะเปนการบังคับการปด-เปด ชองใหโคเขา-ออก โดยผูรีดโดยตรง แบบนี้ผูเลี้ยงจะรีดไดเร็ว เนื่องจากโคยืนขนาน ผูรีดจึงตองรีดจากดานขาง ผูรีด 1 คน สามารถคุมเครื่องรีดได 4-8 ตัว ชุดรีดแบบนี้จะประกอบดวยประตู ปด-เปดแบบอัตโนมัติเพื่อสะดวกในการปลอยโค ดังนั้นจึงไมเหมาะกับผูเลี้ยงที่ไมมีความรูดานกลไก และคาบํารุงรักษาสูง จึงไมคอยมีผูนิยมใชในไทย แบบแถวรีดกางปลา

ลักษณะการออกแบบอาจเปนแถวเดียว หรือ 2 แถวคูขนานมีหลุมรีดอยูตรงกลาง ซึ่งแบบ 2 แถวรีด จะนิยมกันมาก ทั้งนี้ปจจุบัน บริษัทที่ทําออกจําหนวยอาจออกเปนลักษณะใหโคเขายืนรีดไดหลายแบบเชน ใหทาโคยืนหันสวนกนเขาหาผูรีด

Page 7: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

273

ผูรีดตองสอดชุดรีดผานระหวาง 2 ขาหลังเทานั้น ลักษณะนี้โคจะยืนต้ังฉากกับหลุมรีดแบบแถวรีดนี้ดูจะเหมาะและยืดหยุนไดมากกวาทุกแบบและใหความสะดวกทั้งโคและคนรีดพอสมควร มีขนาดตั้งแต 3 ชุดรีด ขึ้นกับขนาดฟารม แบบแถวรีดหลายเหลี่ยม แบบนี้เหมาะกับผูที่ตองการประหยัดพื้นที่ในการรีดนม และควบคุมและลดเวลา รอรีดนมของโคเมื่อขนาดฝูงโคมีจํานวนมาก (ต้ังแต 200 ตัว) รูปแบบของหลุมรีดนมจะเปนแบบ สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนหรือเปรียบเทียบเทากับแบบแถวรีดกางปลา 4 แถว ดังนั้นการเขารีดชุดรีด ทาตาง ๆ ในการรีดจะเหมือนกับแบบกางปลา แตไดเปรียบกวาและเหมาะกับกิจการที่มีโครีดนมกวา 200 แมขึ้นไป แบบรีดหมุนวงกลม แบบนี้มี 3 แบบยอย แบงตามลักษณะโคยืนคือ แบบยืนขนานหลุมรีด แบบยืนเอียงขางเขาหาหลุมรีด แบบยื่นหัวเอาหัวหรือทายเขาหลุมรีด โดยเปนการดัดแปลงจากแบบรีดเปดขาง แตพ้ืนที่ที่โคเขายืนรีดจะหมุนไดรอบ ซึ่งจะมีการกําหนดการรีดนมคงที่ตามรอบการหมุนของฐานที่ยืนโค(plat form) ซึ่งแบบนี้ถึงแมจะรีดไดเร็วมาก แตผูเลี้ยงตองมีความพรอมในการรีด ไดแกการแบงกลุมโครีด, ความพรอมของชุดรีด เจาของกิจการจึงตองมีความรูในการใชงานเปนอยางดี จะเกิดประสิทธิภาพ 1.7 สวนหองเก็บนม ผูเล้ียงที่มีปริมาณโคไมมากนัก ความตองการของพื้นที่สวนนี้แทบไมจําเปน สวนนี้จะจําเปนสําหรับผูที่มีการใชระบบรีดนมอัตโนมัติชวยในกิจการ และมีการลางทําความสะอาด ระบบอัตโนมัติ หรือมีปริมาณน้ํานมมากตองเก็บในอางน้ํานมดิบเฉพาะ เพราะจะเปนที่อยูของตัวปม ตาง ๆ, สารเคมี, ชุดควบคุมการทํางานเครื่องมือรีดและถัง/อางนมดิบ/อางน้ําเย็น ขอพิจารณา 1. ความสูงของหอง 2.4 เมตร ก็พอเพียง 2. หองตองมีความลาดเทเอียง 1:40 มีระบบการระบายน้ําเสียงาย 3. ผนังหองควรบุกระเบื้องหรือฉาบเรียบสูงอยางนอย 1.5 เมตร เพื่องายในการทําความสะอาด ตารางที่8. 2 เปรียบเทียบประสิทธิภาพโรงรีดน้ํานม ........................................................................................................................................................... แบบเครื่องรีด จํานวนคนรีด จํานวนชุดรีด จํานวนโครีด/ชม. ........................................................................................................................................................... แบบยืนรีดในซอง (ใชถังรีดนม) 1 2 15-20 แบบยืนรีดในซอง (ใชทอสงนม) 1 3 20-25 แบบแถวรีดกางปลาคู 4 ชุดรีด 1 4 35-40 แบบแถวรีดกางปลาคู 8 ชุดรีด 2 8 70-80 แบบซองรีดเปดขางคู 4 ชุดรีด 2 8 52-64 แบบแถวรีดหลายเหลี่ยม 2 24 130-140 แบบรีดวงกลม 12 ชุดรีด 2 13 50-55 ............................................................................................................................................................

Page 8: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

274

1.8 สวนลางตัวโคหรือพนยาฆาเห็บ สวนนี้มีผูเล้ียงบางฟารมที่มีการเลี้ยงโคนมแบบปลอยฝูงและมีปญหาในเรื่อง ความสกปรกของตัวโค และโรคเห็บ ก็ควรสรางสวนนี้เพื่อใชประโยชน และมักออกแบบใหอยูทางเดินโคกอนที่จะเขาสูที่พักโครอรีดนม ซึ่งจะออกแบบเปนทางเดินเรียงเดี่ยว และลอมรอบขางดวย หัวพนสเปรยระดับตาง ๆ ต้ังแตสวนหัว ถังสวนเทาโค ทางเดินใชความกวาง 0.65 เมตร ความยาวขึ้นอยูกับความตองการ ซึ่งจะอยูประมาณ 3-5 เมตร ดานขางสวนนี้ใหสรางอางน้ําเพื่อใชเปนที่ผสมยาฆาเห็บหรือพักน้ํา กอนที่ปมน้ําจะสูบสงไปที่หัวสเปรและควรออกแบบใหสามารถใชน้ําหมุนเวียนจากการพนไดดวย 1.9 สวนอางจุมแชเทา การเลี้ยงโคที่มีสายเลือดสูง หรือพันธุแท มักจะมีปญหาในเรื่องกีบเทาอยูประจํา การนําโคมายืนแชเทาหรือเดินผาน สัปดาหละครั้ง ในน้ําสารละลายจุนสี (CuSO4)ความเขมขน 3-5% หรือสารละลายฟอรมาลิน 1-3 % การสรางมักออกแบบใหอยูระระหวางสวนพักโครอรีดนม หรือทางเดินผานหลังรีดนมเสร็จ แบบใดแบบหนึ่ง ลักษณะของแบบแชเดี่ยวตัวเดียว ใหสรางครอมทางเดินเดี่ยวมีความยาวประมาณ 3 เมตร ขอบขางสูง 15-20 เซ็นติเมตร แตหากเปนแชรวมออกแบบใหแชรวมไดครั้งละ 3-5 ตัว พอเพียง หากมีงบประมาณควรสรางแบงเปน 2 บอ ขนาดบอละ 3x3 เมตร ลึก 20 เซ็นติเมตร โดยบอแรกใสน้ําธรรมดาเพื่อกระตุนใหโคถายปสสาวะ มูล สวนบอสองจึงใสน้ํายาจุมเทา จะชวยใหน้ํายาลดการปนเปอนจากมูลโค 1.10 สวนพักโครอรีดนม ผูเล้ียงตองออกแบบใหพอเพียง กับจํานวนโคที่มารอเขารีดนมกับวิธีการจัดการ และควรเปนสวนที่มีการระบายอากาศไดดีรมเย็น อาจมีอางน้ําเย็นใหดื่มได บางคนมักจะติดต้ังพัดลมใหดวย เพื่อลดความเครียดจากตัวโค จะไดใหน้ํานมไดมาก ปจจุบันมี 2 แบบ คือเปนแบบสี่เหกลี่ยมและแบบวงกลม ซึ่งแบบสี่เหลี่ยมจะงายในการดูแลรักษาและราคาในการกอสรางจะลงทุนนอยกวา แตหากมีปญหาแรงงาน การเลือกใชแบบวงกลมจะชวยใหควบคุมโคเขารีดไดงายกวา ใชแรงงานนอยกวา ขนาดพื้นที่คํานวณจากระบบการเลือกใชแบบวงกลมจะชวยใหควบคุมโคเขารีดไดงายกวา ใชแรงงานนอยกวา ขนาดพ้ืนที่คํานวณจากระบบการรีดอาจใชระบบนําโคแตละโรงเรือนมารอรีดทั้งหมดเลย เชนโรงเรือนจุโครีดนม 50 ตัว มารีดทั้งหมดก็ตองมีพ้ืนที่พักโคสําหรับ 50 ตัว ซึ่งตองการขนาด 70-80 ตารางเมตร หรือตองการพื้นที่ 1.4 ตารางเมตรตอตัว และมีความเอียงของพื้นที่ออกจากสวนรีดนม เพื่อกันไมใหน้ําไหลเขาไปในโรงรีดนม 1.11 สวนกักโค การสรางสวนนี้ขึ้นมา เพื่อใชเปนที่กักโคหลังจากรีดนมเสร็จเพื่อวัตถุประสงคบางอยางเชนรอกลับที่พักเปนฝูงพรอมกัน รอผสมเทียม รอใหสัตวแพทยมาตรวจรักษา รอเช็ดตรวจสุขภาพ เพราะงานรีดนมมักใชเวลาไมตรงกับกิจกรรมของแผนกอื่น ๆ ดวยใชเวลาชวงเชาสุดและชวงเย็นสุดของแตละวันเราตองสรางคอกกักโคไวในตําแหนง ทางเดินโคกลับโรงเรือนหลังรีดเสร็จ ขนาดที่จุโคได 5-10% ของฝูงโครีดนมก็เพียงพอ

5.2 อาคารโรงเรือนโครีดนม โรงเรือนสําหรับโครีดนม เปนจุดสําคัญที่ผูเลี้ยงตองใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง กวาทุกโรงเรือน เพราะถือไดวาเปนบอทองของผูเลี้ยง ถาผูเลี้ยงออกแบบดีโคอยูสบาย แตจะเปนบอทุกขทันทีที่ออกแบบของโรงเรือนผิด เพราะจะเปนตนเหตุปญหาที่แกไขไมจบสิ้น เปนแหลงเกิดโรคเตานมอักเสบ โรคมดลูกอักเสบ เปนตนเหตุโคปะปนกันจนจัดการไดลําบาก ใหอาหารไมได โคนมเกิดความเครียดมาก สุดทายก็มีผลตอนํ้านมที่โคจะใหแกผูเลี้ยง

Page 9: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

275

องคประกอบพิจารณา 1.ขนาดโรงเรือน ขนาดหนึ่งๆไมควรจะเกิน 100 ตัว หากเราสรางขนาด ใหญมาก จะเปนอุปสรรคในการจัดการควบคุม บริหารงานไดลําบาก กอใหเกิดความเครียดตอโคไดงาย 2. การออกแบบ ควรใหมีความเรียบงาย ตรง ๆ มีการถายเทของอากาศไดสะดวก พ้ืน คอกตองแหงสะอาด ระบายน้ําไดดีมาก 3. ลักษณะโรงเรือน 3.1 แบบของโรงเรือน หากเงินทุนไมมากนัก ใหสรางโรงเรือนจั่ว 2 ช้ัน ครอมรางอาหาร 2 ขาง โดยมีถนนจายอาหารอยูตรงกลาง เพื่อสามารถจัดจายอาหารโคไดทุกฤดูกาลและอาอาหารไมเนาเสียงาย 3.2 หากมีเงินลงทุนมาก ก็ใหสามารถเปนอาคารใหญ ครอบคลุมรางอาหารและบริเวณที่พักนอนโค ใหอยูภายใตหลังคาเดียวกัน ซึ่งชวยใหโคมีที่พักนอนในชวงฤดูฝน แตอยางไรก็ตามหากผูเลี้ยงสามารถจัดสรางที่จายอาหาร และที่พักผอนโคแยกจากกันได จะเปนการดีที่สุด เพราะบริเวณรางอาหารจะเปนจุดที่มีความชื้นแฉะมากที่สุด เนื่องจากพฤติกรรมโคเมื่อกินอาหาร จะมีการปสสาวะและถายมูลออกมา และจะเปนพฤติกรรมเลียนแบบกันเปนสวนใหญ ดังนั้นบริเวณ พ้ืนซีเมนตตามแนวรางอาหารจึงช้ืนแฉะที่สุด หากบริเวณที่นอนโคอยูหางกับรางอาหารปญหาเหลานี้จะลดนอยลง ทําใหลดสาเหตุของการเกิดโรคเตานมอักเสบ มดลูกอักเสบ กีบ-ขาอักเสบ 4. ลักษณะอาคาร ควรสูงอยางนอย 3-4 เมตร โปรงหลังคาเปนจั่ว 2 ช้ัน แนวอาคาร อยูในทิศตะวันตก ตะวันออกเทานั้น 5. การระบายของเสียจากโรงเรือน ตองออกแบบใหดี โดยแยกเปน 2 สวน ของเสียที่เปนของแข็ง เชน มูล ควรขจัดแยกโดยใชแรงงานคนหรือเครื่องจักร เชน แทรกเตอรดัน กวาดออกจากโรงเรือนวันละ 1-2 ครั้ง ตรงทายอาคารตองมีบริเวณรวบรวมมูล และตองตักขึ้นรถขนออกไปตากแดดทันที เพื่อลดมลภาวะจากแมลงวัน ไมควรปลอยสะสมไวทายคอก สวนที่เปนของเหลว ควรจัดสรางรองระบายน้ําชองเปดมีความกวาง 20 ซม. ลึก15-20ซม. ยาวตามแนวโรงเรือน อาจใชรวมกันกับรองระบายน้ําฝนจากชายคาได และเมื่อถึงทายโรงเรือนตองมีรองระบายน้ําแบบเปด เพื่อระบายสวนของเหลวไปรวมในบอเกรอะและบอพักน้ําเสียตอไป 6.พ้ืน พ้ืนโรงเรือนโครีดนมบริเวณทางเดินโคควรเปนพื้นซีเมนตกวางอยางนอย2.5-3เมตร หรือหากสามารถออกแบบใหเปนพื้นตะแกรง (พ้ืนที่ระบายมูลและน้ําลงดานลางได) บางสวนไดยิ่งเปนการดี พ้ืนซีเมนตโรงเรือนควรชักรองเปนกางปลาหรือรองยาว ลึกขนาด 1-2 ซม. เขาหารองระบายน้ําเสียที่มีรอบอาคารโดยตลอด ไมควรชักรองตามแนวยาวของโรงเรือน เพราะจะทําใหพ้ืนที่โรงเรือนช้ืนแฉะตลอดเวลา และเปนการแพรกระจายโรคไปทั่วโรงเรือนอยางงายดาย 7. รางอาหารและถนนจายอาหาร ผูเลี้ยงตองลงทุนในสวนนี้อยางจริงจัง โดยสราง เปนพื้นคอนกรีต เพื่อเปนการประหยัดมักจะออกแบบใหเปนโรงเรือนโคนมคูขนานมีหลังคาปกคลุม มีโคนมอยูสองดาน และมีรางอาหารอยู 2 ขาง ถนนจายอาหารอยูตรงกลาง ทั้งนี้ควรใหผิวถนนอยูระดับเดียวกับรางอาหารหรืออาจอยูสูงกวารางอาหารเล็กนอย โดยเอียงลาดเทจากถนนเขาหารางอาหาร สวนตําแหนงรางอาหาร อาจทําเปนรองลึกไมมากนักประมาณ 10-15 ซม. กวาง 20-30 เซนติเมตร ยาวตามแนวโรงเรือน พรอมกอผนังเพื่อกั้นโค ขึ้นมาหนึ่งดานสูงจากขอบบนของรางอาหาร 20-30 ซม. หรือสูงจากเทาโคที่ยืนขึ้นมา 50 ซม. พรอมราวเหล็กกั้นโค การสรางเฉพาะรางอาหารเปนรางซีเมนตแบบยกพื้นสูงกวาผิวถนน ไมวาผิวถนนจะเปนลูกรัง หรือคอนกรีต จะเหมาะสมกับกิจการขนาดเล็กเทานั้น ถาเปนกิจกรรมใหญ ใชรถในการจายอาหารขน และอาหารหยาบ จะไมสะดวกและรถ

Page 10: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

276

มักชนรางอาหารแตกอยูเปนประจํา รวมถึงความสูญเสียอันเกิดจากคน และโคทําหกหลนออกมานอกรางอาหาร จะมีมากกวาแบบทํารางอาหารระดับเดียวกับถนนหรือตํ่ากวาผิวถนน

การสรางและขนาดรางอาหารแบบแยก ความสูงรางอาหารตองสูงจากพื้นดิน 24-30 นิ้ว ความลึกราง: ถาออกแบบใหใสเฉพาะอาหารขนอยางเดียวควรลึกอยางนอย 8 นิ้ว ถาออกแบบใหใสอาหาหยาบสด/แหงดวยควรลึก 12 นิ้ว ความกวางราง: ถาออกแบบใหกินไดดานเดียวตองกวาง 18-24 นิ้ว ถาออกแบบใหเขากินได 2 ดาน ตองกวาง 36 นิ้ว 8. เหล็กกั้นแนวรางอาหาร ใชในกรณีเลี้ยงโคนมแบบโรงเรือนเปด เพื่อประโยชนในการปองกันไมใหโคดึงอาหารเขาไปกินในโรงเรือน ซึ่งทําไดหลายแบบ 8.1 แบบรางเหล็กล็อคคออัตโนมัติ เหล็กกั้นวิธีนี้เมื่อโคสอดคอลอดเขาไปเพื่อกินอาหาร คาน เหล็กจะถูกคอโคดันล็อคอัตโนมัติ ประโยชนคือเปนการล็อคคอโคใหกินอาหารอยูกับที่ ปองกันโคแยงอาหารกิน และสามารถตรวจสอบสุขภาพโครายตัวได สามารถปองกันโคอวนผอม คือจํากัดการกินอาหารได วิธีนี้ลงทุนสูง บางฟารมจึงใชเฉพาะในบริเวณสวนพยาบาลสัตว หรือบริเวณสวนผสมเทียม ซึ่งจะใชประโยชนไดเต็มที่ 8.2 แบบรางเหล็กกั้นขวางแนวเอียง แบบนี้เวลาโคจะกินอาหารตองเอียงศีรษะลอดเขา ไป เพราะเหล็กทอที่ขวางอยูจะเช่ือมยืดเปนแนวเอียงประมาณ 60 องศา คูขนานกันไป โดยแปปเหล็กแตละอันจะหางกัน 25 ซม. มีความสูงในแนวตั้งฉาก 60-70 ซม. วิธีนี้มีประโยชนในการปองกันการแยงอาหารกันขณะกิน และปองกันโคไมใหดึงอาหารเขาไปกินภายในโรงเรือน 8.3 แบบกั้นดวยสายลวดสลิง วิธีนี้จะใชสายลวดสลิง 2 เสน เปนตัวกั้นโค โดยสายลวดสลิงจะขึงตรึงเปนแนวยาวตามรางอาหารทั้งสองเสนโดยเสนบนจะอยูในแนวระดับต่ํากวาแนวสันหลังโคเล็กนอย ตรงกับขอบดานในรางอาหาร และเสนที่สองจะอยูตํ่ากวาเสนบน เยื้องไปดานหนารางอาหารประมาณ 1 ฟุต สายลวดสลิงเสนที่สองนี้จะเปนตัวบังคับไมใหโคดึงอาหารเขาไปกินในโรงเรือน ทั้งนี้สายลวดสลิงทั้งสองควรออกแบบใหสามารถปรับตรึงหรือหยอนได และลดหรือเพิ่มระดับความสูงได 9. ที่นอนโค แบบแปลนที่นอนของโค

แบบซองนอนขึ้นอยูกับวิธีการเลี้ยง และเงินทุน รวมถึงขอจํากัด ของพื้นที่ดวย 9.1 แบบนอนอิสระ ( Loosing ) 9.2 แบบซองนอนเดี่ยวอิสระ ( Free stall ) 9.3 แบบลามคอในซอง ( Fix stall ) 9.1 แบบนอนอิสระ เปนการลงทุนที่ถูกสุดเหมาะสําหรับผูเลี้ยงที่มีโคไมมากนัก เพราะเพียงผูเลี้ยงจัดหาโรงเรือนโปรง ที่คุมแดดคุมฝน และปลอยใหโคเขาไปนอนอยางอิสระ ถาจะใหดีควรมีพ้ืนเปนทราย หรือรวนปนทราย เพื่อไมใหมีน้ําขัง และควรอยูในตําแหนงที่สูงกวาระดับทั่วไป เพื่อใหพ้ืนแหงอยูตลอดเวลา ขอเสียของแบบนี้คือ ผูเลี้ยงตองหมั่นขจัดมูลโคออกจากโรงเรือน ไมเชนนั้นจะหมักหมมเปนตนเหตุของโรคตอไป

Page 11: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

277

9.2 แบบซองนอนเดี่ยวอิสระ แบบนี้เหมาะสําหรับกิจการขนาดกลางขึ้นไป เพราะตองลงทุนในเรื่องเหล็กทอที่จะนํามาทําเปนเหล็กกั้นรายตัว หรืออาจทําเปนไมก็ได แตปจจุบันไมเนื้อแขงจะหายาก ซองนอนแบบนี้อาจสรางอยูภายในอาคารเดียวกันกับรางอาหาร หรือสรางแยกตางหากไมรวมกับอาคารรางอาหาร ซึ่งโรงเรือนจะแหงมากกวา ลักษณะของซองเหล็กจะตองตัดกลมมน ไรเหลี่ยมที่จะเปนสาเหตุของอุบัติเหตุ มีขนาดกวางของระยะแตละซอง 90-100 ซม. ขนาดซองเหล็กทอดัดยาว 150-180 ซม. ขอบบนสูง 90-100 ซม. ขอบลางสูง 40-45 ซม.(ผิวทราย) พ้ืนลางควรเปนทรายละเอียด หากหาไมได จึงใชดินรวนปนทราย แตขอสําคัญผูเลี้ยงตองหมั่นปรับเกลี่ยผิวระดับของดินอยูเสมอสัปดาหละ 1-2 ครั้ง จะชวยใหโคนอนสบาย และไมเขาไปติดหลุมดิน ลุกไมขึ้นใตซองเหล็ก พ้ืนทรายควรยื่นพนซองเหล็กออกมาโดยมีขนาดกวางจากเสากลางของซองเหล็กออกมา 170 ซม. สวนความยาวขึ้นอยูกับจํานวนซองตอแถว เชนทํา 20 ซองดานเดียว จะใชความยาวเทากับ 90x20 ซม. หรือเทากับ 18 เมตร ถาทําสองดานจะได 40 ซอง ซึ่งจุโคได 40 ตัว สวนดานบนของซองตองมีทอเหล็ก หรือสายลวดสลิงตรึงพาดอยูดานบน (สามารถเลื่อนไปมาได) เพื่อใชเปนตัวบังคับใหโคนอนลงหรือออกมายืนปสสาวะและถายมูล นอกเขตซองนอน และเปนตัวบังคับใหโคนอนลึกเขาไปหรือถอยออกจากซองนอน เพื่อใหแนวขาหลังกับบั้นทายโควางอยูบนขอบทรายพอดี การบังคับเชนนี้ผูเลี้ยงตองหมั่นปรับแนวเหล็กที่พาดดานบนอยูตลอดเวลา และการจัดพื้นทรายใหเปนรูปเอียงออกมาจากตรงกลางหาขอบทราย จะชวยบังคับโคไมใหนอนอลึกเขาไปไดเชนกัน วิธีประหยัดคือสรางเปน 2 ดาน หันหนาโคเขาหากัน จะใชประโยชน ไดเต็มที่ ซองนอนแบบนี้ตองอยูสูงจากพื้นทางเดินปกติ 30 ซม. หรือขอบบนผิวทราย สูงจากพื้น 30 ซม. เพื่องายในการทําความสะอาดมูล และน้ําที่ลางจะไดไมกระเด็นขึ้นไปบนซองนอนทําใหช้ืนแฉะ ซองนอนแบบนี้ควรสรางติดตอกันไมเกิน 20-25 ซองนอนตอแถว เพื่อสะดวกใหโคเดิน และทําความสะอาดงายหรือจัดการกั้นโคไดงาย 9.3 แบบลามคอในซอง แบบนี้นิยมในเขตหนาวที่มีการเลี้ยงโคในโรงเรือนปด หรือมีพ้ืนที่ในการเลี้ยงนอย และวิธีนี้ตองการการเอาใจใสที่มาก ไมเชนนั้นโคจะอยูไมสบาย สวนในเมืองไทยก็มีใชอยู เทาที่ทํากันจะสรางไวในโรงเรือนแบบเปด โดยมีหลักการสราง จะแบงพื้นที่ใชสอยออกเปน 3 สวน สวนแรกดานหนาเปนตําแหนงของรางอาหาร ที่สรางใหกวาง 30-40 ซม. ลึก 20-25 ซม. ยาวตามแนวโรงเรือน สวนที่สองเปนซองนอนที่สรางใหมีความกวาง 100-110 ซม. และยาว 150-155 ซม. มีพ้ืนเปนคอนกรีตขัดหยาบหรือพื้นยางหนาปูรอง หรือเปนพื้นคอนกรีตสลับกับพื้นไมทําเปนระแนง สวนที่สาม เปนสวนขจัดของเสีย ทําเปนรองระบายน้ําและมูล สรางกวางอยางนอย 30 ซม. ลึก 20 ซม. เปนรองเปด โดยพื้นที่โคนอนจะตองสรางใหเอียงเขาหากับรองระบายน้ํา ในกรณีที่สรางเปน 2 แถวติดกัน ใหหันหนาโคเขาหากันเพื่อสะดวกในการใหอาหาร และปองกันอาหารเนาเสียไดงาย โดยจัดใหมีชองทางเดินจายอาหาร 2-3 เมตร หรืออาจกวางกวานี้ หากออกแบบสําหรับใชรถเขาจายอาหาร

5.3 อาคารโรงเรือนพักนอนโคทั่วไป โรงเรือนโคสาวอายุ 5 เดือน-ต้ังทอง มักออกแบบเหมือนกันทั้งกิจกรรมขนาดเล็ก และใหญ ประกอบดวยสวนสําคัญคือ 1 รางอาหาร 2 อางน้ํา 3 ลานดินและรมเงา สําหรับกิจกรรมขนาดเล็กถึงปานกลาง ไมควรลงทุนสวนนี้มากนัก ควรจัดทําเฉพาะรางอาหาร อางน้ําและรมเงา (ซึ่งอาจใชตาขายพลาสติกดําทึบแสง 80-90% ทําเปนรมเงาให) ไมจําเปนตองสรางโรงเรือนก็ได แตหากมีเงินทุนบาง ก็ใหเริ่มสรางหลังคากั้นแดดและฝนใหตรงตําแหนงรางอาหาร เพื่อลดการสูญเสียของอาหารและใหความรมเย็นขณะกินอาหาร การ เทพื้นคอนกรีตไมจําเปนตองมากนัก ถาตองการเทใหเทพื้นกวาง 2 เมตร จากรางอาหารออกมาก็เพียงพอ ความลาดเอียงของ

Page 12: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

278

พ้ืนที่ควรใหตําแหนงของรางอาหารอยูจุดสูงสุด ลาดเทไปยังลานดิน ไมควรวางอางน้ํากินใกลรางอาหารจะกอใหเกิดความชื้นแฉะ ควรนําไปวางในที่รมกลางลานดินเปนจุด ๆ ขอมูลจําเพาะ -โคตองการน้ําสะอาด 15-20 แกลลอน/ตัว/วัน จึงตองจัดใหมีทั้งในรูปอางน้ํากิน 10-15 ตัวตออาง หรือ 20-25 ตัวตอถวยน้ํากินอัตโนมัติ การสรางอางน้ํากิน รางอาหารขน รางอาหารหยาบ ตองเทพื้นดวยคอนกรีตรอบบริเวณดังกลาวระยะ 8-10 ฟุต เพื่อปองกันดินทรุดและพื้นสะอาดขึ้น

5.4 รมเงาและการลดความรอนในโรงเรือน 1. รมเงา(shading) ในเขตรอนเชนบานเรา การใหความสําคัญในเรื่องรมเงาตอโคมีความสําคัญยิ่ง ผูเลี้ยงจํานวนมากคิดวา การจัดสรางโรงเรือนแตเพียงอยางเดียวก็เพียงพอตอโคแลว โดยหารูไมวาการใหโคอยูอยางแออัดแตภายในโรงเรือนโนมนําโคใหออนแอ และเจ็บปวยงาย หากกระจายโคออกมาอยูนอกโรงเรือนใหมาก การระบายอากาศในโรงเรือนจะดี การสรางรมเงาจึงเปนสิ่งจําเปน ในเรื่องรมเงาควรเนนเปนอยางยิ่ง รองจากเรื่องอาหาร โดยสังเกตจากการอยูถานอนอยูรวมกันจุดเดียวก็ไมเพียงพอ แตถาอยูกระจายก็พอเพียง การสรางมี 2 แบบ และควรทําควบคูกันไป 1.1 รมเงาถาวร คือปลูกตนไมใหญเปนรมเงาหรือหากมีไมใหญแลว ใหทําการลอมรั้วรอบตนไม รัศมี 2 เมตร ดวยรั้วที่แข็งแรง ทนการเบียดเสียดสีตัวของโค หรือกอเปนบลอคคอนกรีตรอบตนไม รัศมี 2 เมตร สูง 1 เมตร ใสดินตรงกลางจะชวยรักษาตนไม ในกรณีเปนพื้นที่โลงเตียนใหจัดปลูกไมเนื้อออนโคเร็วกอนตามขอบรั้วเชน กระถินยักษ เปนตน ซึ่งใชประโยชนใหโคกินไดและปลูกไมผลหรือไมเนื้อแข็งทรงพุมมากตามทีหลังเพื่อหวังรมเงา ในอีก 5-6 ปขางหนา หรืออาจสรางรมตาขายดําเพิ่มถารมไมพอ จะชวยเหนี่ยวนําใหโคออกมาใชพ้ืนที่พักผอนในลานดิน มากกวาไปยืนออตามรางอาหาร ซึ่งจะชวยใหมีการใชพ้ืนที่เกิดประโยชน ในทุกสวน 1.2 รมเงาชั่วคราว 1.2.1 รมเงาจากตาขายพลาสติก ไดแกการสรางรมเงาโดยตาขายพลาสติกดําที่มี เปอรเซ็นตทึบแสง 80-90% หรืออาจใชวัสดุอื่นเชนกระสอบพลาสติกที่ใสอาหารสัตวหรือวัสดุที่ใกลเคียงกันนี้ การสรางรมเงานี้ตองการพื้นที่เงา 30-50 ตารางฟุต/ตัว ความสูงของตาขายจากพื้นดินประมาณ 12 ฟุต โดยใชตาขายขึงตรึงในลักษณะแบนราบหรือเอียงเล็กนอยก็ได ใชลวดเสนใหญ ถาเปนลวดทนแรงดึงยิ่งดี ใชเพียง 2 เสน/ตาขาย 1 ผืน โดยขอบขางหนึ่งตองพับชาย และมัดถัดกับลวดไปตามแนวยาวของลวด สวนอีกขางหนึ่งก็ทําเชนเดียวกัน หากใชตาขายพลาสติก 2 ผืน ก็สามารถเย็บชายติดกันกับลวดเสนตรงกลางไดเลย โดยใชลวด 3 เสน ขนานกัน ตอเช่ือมตาขาย 2 ผืน ในการสรางรมเงาแบบนี้ไมควรสรางเชื่อมกันเกิน 2 ผืน เพราะจะเปนรมใหญเกินไป ถาเปนไปไดควรสรางเปนแถวละ 1 ผืน เพื่อใหแสงแดดสองสวางเขาไปขางในได จะไดฆาเชื้อโรคและพื้นแหง ขอสําคัญ ตองสรางขวางดวงอาทิตย (อยูในแนวเหนือ-ใต) เพื่อใหแสงแดดมีการสองผานได จุดสําคัญที่จะมีผลทําใหเกิดความมั่นคงคือขนาดเสาค้ํายัน ซึ่งควรเปนเสาปูนซีเมนต หรือเสาเหล็กทอที่มีการถักโครงอยางแนน เพื่อเวลาตรึงลวดเสาจะไมออน - ควรจัดใหมีเกลียวตรึงลวดเปนระยะ เพื่อปองกันปญหาลวดหยอน

Page 13: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

279

- ควรมีการค้ํายันทุกระยะ 20 เมตร ทําเปนรูปเสาตัว T คลายราวตาก ผา - รมเงาแบบนี้มีความทนทานอยางนอย 3 ป หากมีการดูแลที่ดี 1.2.2 รมเงาจากหญาแฝก หญาคา เปนของเดิมที่เกษตรกรทั่วไปรูจักดี และสรางหรือหาซื้อไดงาย มีความทนทาน 2-3 ป ขึ้นอยูกับคุณภาพของวัสดุที่นํามาทํา 1.2.3 แนวกันลม ในพื้นที่ที่มีการสรางโรงเรือนมักถากถางปากันมาก จึงมีผลเสียคือลมแรงจะทําใหอาคารโรงเรือนมีปญหารื้อถอนไดงาย ดังนั้น ควรพิจารณาปลูกตนไม ทั้งไมเนื้อออน ไมเนื้อแข็งเพื่อทําเปนแนวกันลมไวดวย โดยเฉพาะตามแนวรั้ว แนวถนนทั้ง 2 ขาง แนวแปลงหญาหรือตามรอบอาคาร 2. การลดความรอนในโรงเรือน โรงเรือนที่สรางในเขตรอนจะเปนโรงเรือนแบบเปดอยูแลวมีการระบายอากาศ พอสมควร แตผูเลี้ยงก็ไมควรละเลยควรหมั่นสังเกตพฤติกรรมของฝูงโค วามีการอยูอยางเกาะกลุมหรือกระจายกันไปหรือลักษณะการหายใจของโค ซึ่งโรงเรือนที่มีระบายอากาศดีไมรอนอบอาวหมายถึง เปนโรงเรือนที่ไมช้ืนอับภายในโรงเรือนรอน มีกลิ่นแกสของเสียมาก สิ่งเหลานี้คือเครื่องบงช้ีของโรงเรือนที่แย ซึ่งจะมีผลตอสุขภาพ และการกินอาหารของโค อยางไรก็ตามโคนมที่มีสายเลือดผสมไมสูงมากนักสามารถทนตอสภาพที่มีการระบายอากาศที่แยไดดีกวาโคนมพันธุแท ดังนั้นจึงเห็นไดทั่วไปวาในที่มีการเลี้ยงโคจํานวนมากหรือโคสายเลือดสูง จะตองมีการจัดใหมีการลดอุณหภูมิภายในโรงเรือน ซึ่งทําได 2 วิธี 2.1 การใชพดัลม พัดลมที่ใชเปนพัดลมที่นิยมใชกันตามโรงเรือนเลี้ยงไกเลี้ยงสุกร เปนพัดลมใหญ มีขนาดใหเลือกใชตามความเหมาะสมของโรงเรือน คือ -ขนาดหนากวาง 36 นิ้ว ขนาดมอเตอร 0.5 แรงมา พัดลมไดไกล 30 ฟุต - ขนาดหนากวาง 48 นิ้ว ขนาดมอเตอร 1.0 แรงมา พัดลมไดไกล 40 ฟุต การติดต้ังตองติดเหนือลม เหนือสปริงเกอร (ถามี) หันหนาพัดลมเฉียงลงหาพื้นโรงเรือนเล็กนอย ควรเปนพัดลมที่ใชไฟ 3 สาย(เฟส) จะชวยประหยัดคาใชจาย จุดที่ควรติดต้ังพัดลม คือบริเวณทางเดิน ที่ยืนกินอาหารของโคจะชวยใหโคสบาย กินอาหารไดมากขึ้น และบริเวณที่พักรอรีดนมกับบริเวณรีดนม เพราะเปนจุดที่โคนมอยูกันหนาแนน 2.2 การใชสเปรยพนน้ํา 2.2.1 ติดต้ังตามแนวรางอาหารหัวฉีดแบบนี้ตองติดตั้งใหเฉียงทํามุม 180 องศา โดยใหมีระดับพนฝอยน้ํา ออกมาสัมผัสตัวโคขณะที่ยืนกินอาหาร ตามแนวไหลหนา สันหลัง ถึงบั้นทายโคใชเวลาในการพนนาน 10-15 นาที โดยดูวาพื้นสัมผัสของหยดน้ําครอบคลุมประมาณครึ่งตัวโค ถาน้ําเริ่มรวมตัวกันเปนทางน้ําไหลลงมาจากสันหลังโคสูผิวดานทองและเตานมโคนั้น แสดงวาเปยกช้ืนเกินตองการแลว และจะเปนสาเหตุของการนําสิ่งสกปรกจากตัวโคเขาสูเตานมโค เพราะฉะนั้นการปรับตารางเวลาพนของน้ําจึงตองหมั่นตรวจสอบ ขอควรคํานึงถึง 1. ละอองน้ําตองมีขนาดเล็ก โดยตองใชหัวพนสเปรยที่เฉพาะเชนที่ใชในเรือนเพาะชํา ไมควรใชหัวสปริงเกอรซึ่งสเปรยหยดน้ําขนาดใหญเกินไป 2. น้ําที่พนตองไมลงไปในรางอาหาร

Page 14: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

280

3. น้ําที่ฉีดตองผานตัวเครื่องกรองเพื่อปองกันปญหาจากเศษสาหราย หรือ ตะไครน้ําอุดตันหัวฉีด 4. ติดต้ังใหอยูใตพัดลม และไมกีดขวางทางผานของรถที่เขาทํางานใน โรงเรือน 5. หากใชรวมกับพัดลม ควรซื้อชุดควบคุมเวลาทํางาน และควบคุมอุณหภูมิ มาใชรวมจะสะดวกกวา 2.2.2 ติดต้ังกลางโรงเรือน ไดแกตามบริเวณพักผอนของโคหรือบริเวณที่ พักโคกอนเขารีดนม การติดต้ังใหอยูตามแนวทางเดินโค หรือกลางโรงเรือนซึ่งอาจมีแนวทอน้ําหลายทอไดตามความจําเปน ลักษณะหัวสเปรยพนน้ําที่เลือกใช จะเปนชนิดพนน้ําได 180 องศา หลักการเชนเดียวกับ 2.1

5.5 สวนเก็บถนอมอาหาร บอหมักและผสมอาหาร ผูเลี้ยงตองตระเตรียมบริเวณสถานที่และอุปกรณที่จําเปนตองใชใหเพียงพอแกกิจการ ของตนเอง โดยเฉพาะในเรื่องอาหาร ความพรอมตองมากกวา 80% ที่ควรพิจารณาคือ 1. โรงเก็บหญาแหง ในวงจรการเลี้ยงโคนมมีความจําเปน ตองใหโคไดรับอาหารประเภทเสนใยในรูปแหงดวย ดังนั้นผูเลี้ยงตองรูจักวิธีเก็บและหาสถานที่เก็บที่ปลอดภัยจากไฟ และความชื้น ดังนั้นควรจัดสรางในที่สูงหลังคาสังกะสีปดลอมมิดชิด หรือดานขางอาจเปดโลงแตปกคลุมเฉพาะฤดูฝนก็ได สถานที่ควรอยูหางจากโรงเรือนอื่น ๆ หรืออยูใกลแหลงน้ําเปนการดี ขนาดของโรงเรือนขึ้นอยูกับจํานวนหญาแหงที่ใชตลอดปและรูปแบบจัดเก็บวาเปนฟอนหรือเปนกองธรรมดา แตวิธีที่ดีคือเก็บในลักษณะฟอน เพราะงายและสะดวกในการใช เชน มีโครีดนม 20 ตัว ใหกินหญาแหงวันละ 3 กก./ตัว ในหนึ่งปจะตองการหญาแหง = 3x20x365 = 21,900 กก. หญาแหง 1 ฟอนใชพ้ืนที่ = 0.128 ตารางเมตร คิดเปนฟอน(15 กก.) = 21,900/15 กก. = 1,420 ฟอน : ใชพ้ืนที่ = 1,460x0.128 = 187 ตารางเมตร เทากับโรงเรือนขนาด (กxยxส) = 6x10x3.7 เมตร 2. บอหญาหมัก รูปแบบของการหมักมีหลายแบบ แตที่นิยมใชในไทยมี 4 แบบ 2.1 หมักในทอซีเมนต 2.2 หมักในถุงพลาสติก 2.3 หมักในหลุมดิน 2.4 หมักในหลุมซีเมนต 2.1 หมักในทอซีเมนต เปนวิธีที่งาย ลงทุนไมแพงนักใชไดทนทาน แตเหมาะกับกิจการ ขนาดเล็กเทานั้น เพราะทอซีเมนตมีปริมาณความจุไมมากนัก แตสะดวกในการบดอัดใหแนน มีหลักการคํานวณ เลี้ยงโครีดนม 10 ตัว ใหกินหญาหมักตัวละ 12 กก./วัน ตองการใหกินชวงฤดูแลง 4 เดือน(120วัน) = 10x12x120 = 14,400 กก. : ตองการหญาหมักไวกิน = 14,400 กก. แตการทําหญาหมักมีสูญเสีย 25%

Page 15: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

281

ดังนั้นตองเริ่มตนทําจากหญาสด = 14,400x125/100 = 18,000 กก. ถาใชทอซีเมนตขนาด 80 ซม. สูง 50 ซม. จะมีพ้ืนที่หมักหญา = 0.25 ลบ.ม. ตองใชทอซีเมนต 36/0.25 = 144 ทอ อยางไรก็ตามหากผูเลี้ยงใชทอขนาดใหญขึ้น ก็จะใชจํานวนทอลดลง และ สามารถนํามาตอกันได 2.2 แบบหมักในผาพลาสติก แบบนี้จะเห็นหมักกันทั่วไป และใชในการหมักหญาหรือฟางดวยวิธีนี้อาจใช ผายาง หรือพลาสติกก็ได แตตองวางทับหรือทากาวทับเชื่อมเปนผืนใหญ เพื่อใหปกคลุมไดหมดจึงเกิดสภาพไรออกซิเจนภายในกองหมักไดดี วัสดุที่ใชควรเปนพลาสติกดําทึบแสงดีที่สุด หรือผายางพลาสติกคลุมกันฝนก็ได หรือเปนพลาสติกใสขาวก็ไดแตไมดีเพราะหญาหมักตองโดนแสงแดดตลอดวัน คุณคาทางอาหารลดลง ในการลงทุนครั้งหนึ่งหากผูเลี้ยงรูจักเก็บรักษาพลาสติก ก็สามารถใชคลุมไดหลายครั้ง แตมีขอเสียที่ตองระวังรอยรั่วของพลาสติกตลอดเวลา ซึ่งจะสงผลใหคุณภาพของอาหารที่หมักภายในสูญเสียมากขึ้น เกิดราไดงาย 2.3 แบบหมักในหลุมดิน (TRENCH SILO) เปนวิธีการที่ถูกที่สุด และเหมาะกับผูเริ่มกิจการ โดยวิธีนี้จะยอมสูญเสียอาหารหมักตามบริเวณขอบที่สัมผัสกับผิวดินบางประมาณ 10 เปอรเซ็นต และสามารถหมักไดครั้งละมาก การบดอัดใหแนนทําไดดี มีขอพึงระวังใหความสูงเพียงพอที่เปดใชในแตละวัน เพราะถาเปดและตัดตักนําไปใชไมหมดจะสูญเสีย คาดวาในแตละครั้งที่นําไปใชควรนําออกไปใชทั้งหมดตลอดดานหนาตัด ขวางและลึกเขาไปในกองหมักไมตํ่ากวา 20 ซม. จึงจะทําใหผิวหนาของหญาหมักไมเกิดราขึ้น การสรางหลุมหมักนี้ จะตองสรางในที่สูง ที่ระบายน้ําไดดี น้ําไมทวมหรือไมซึมเขามาได ขนาดของหลุมขึ้นอยูจํานวนของหญาที่ตองการนํามาหมัก หญาหมักหนัก 1 ตัน (1,000 กก) ตองการพื้นที่ 1.5-2 ลบ.ม. ดังนั้น ผูเลี้ยงตองคํานวณคลายกับแบบแรกเพียงเปลี่ยนจากสูตรการหาปริมาตรความจุของทอซีเมนต เปนปริมาตรความจุของหลุม หรือคํานวณอีกวิธีหนึ่งคือ 1. โค 1 ตัว น้ําหนัก = 500 กก. 2. ใหกินหญาหมัก คิดเปนสิ่งแหง1.66 % ของน้ําหนักตัว = 8.30 กก./วัน 3. จํานวนโคในฟารม 10 ตัว = 10x8.30 = 83 กก./วัน 4. จํานวนหญาหมักสูญเสียระหวางใหกิน (20%) = 16.6 กก./วัน 5. จํานวนหญาหมักใหกิน 365 วัน = 365x(83+16.6) = 3,6354 กก./ป = 36.35 ตัน/ป 6. จํานวนหญาสดที่ตองนํามาทําหมัก (หญาหมักมีน้ําหนักแหง 35%) สูตร จํานวนน้ําหนักหญาหมักที่กิน x 100 = (36.35 x 100)/ 35 %จํานวนน้ําหนักแหงที่มี = 103.8 ตัน/ป

Page 16: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

282

หมายความวาตองใชหญาสดจํานวน 103.8 ตัน/ป เพื่อนํามาหมักในหลุมหมัก จึงจะได หญาที่หมักที่คิดเปนน้ําหนักแหง 36.35 ตัน 7.ขนาดของหลุมหมักที่ตองการใช หากเราตองการหมักหญาสดจํานวน 103.8 ตัน ภายในหลุมเดียวตองสรางหลุม โดยคิดจากหญาหมักน้ําหนักเปยก 1,000 กก. (1 ตัน) ตองการพื้นที่ 1.5 2 ลบ.ม. สูตร หญาสดที่นํามาหมัก(กก.) x 1.5 = 103.8 x 1.5 1,000 กก.(หรือ 1 ตัน) 1 คิดเปนปริมาตรหลุม = 155.7 ลบ.ม. คิดเปนขนาดหลุม = 5x15.6x2 เมตร. (กxยxส) หรือใชขนาดหลุมกวาง 5 เมตร สูง 2 เมตร ยาว 15.6 เมตร แตในภาคปฏิบัติเรากอสรางหลุมเปนสี่เหลี่ยมผืนผา และตองสรางหลุมใหมีความลาดเทดวย การกอสรางหลุมดินใหไดขนาดดังกลาวก็มีหลักการดังนี้ 1. เลือกทําในที่สูงมีความลาดเอียง 2. ขุดเปดดินใหเปนรองลึกลงไปประมาณ 1-1.5 เมตร โดยมีหนากวาง 5 เมตร และใชดินที่ขุดขึ้นมาทําเปนไหลขอบบอใหไดขอบบอสูงประมาณ 1 เมตร การทําเชนนี้จะไดความลึกของบอ 2 เมตร และกวาง 5 เมตร 3. การทําขอบบอใหทําโดยมีความลาดเอียง ใหเปนบอดินที่มีรูปเปนสี่เหลี่ยมคางหมูควํ่า ขอสําคัญขณะที่ขุดดินในบอขึ้นมาทําขอบบอนั้นจะตองบดอัดใหแนน เพื่อปองกันการพังทลายของขอบบอ และหากการทําหญาหมักมีการใชเครื่องจักรเปนแทรกเตอรมาชวยในการบดอัดหญาหมักนั้น ขอบบอสวนบนสุดจะตองกวางอยางนอย 1-2 เมตร เพื่อกันบอพัง 4. ในการทําบอหมักเราสามารถทําเปนบอแฝด โดยใชสันขอบบอรวมกันได สําหรับความยาวของบอ ใหขุดยาวตามที่ตองการ 5. พ้ืนบอจะตองทําใหมีความลาดเอียงประมาณ 5% จากสวนหัวบอถึงสวนปลายลางของบอ และตรงสวนปลายลางของบอจะตองจัดทําใหเปนรองระบายน้ํา เพื่อปองกันการขังของน้ําฝน และน้ําจากพืชหมัก 6. อยางไรก็ตามขนาดกวาง, ยาว, สูง ของบอมีความยืดหยุนขึ้นกับ ขนาดของฟารมและจํานวนหญาที่ตองการหมัก แตควรออกแบบขนาดหลุมใหมีการปฏิบัติการต้ังแตเริ่มหมักจนเสร็จสิ้นปดหลุมคลุมพลาสติก ใหไดเร็วสุดภายใน 3-5 วัน ซึ่งจะทําใหคุณภาพของหญาหมักมีคุณภาพดี 2.4 แบบ หลุมซีเมนต แบบนี้การกอสรางหรือรูปแบบทั่วไปคลายกับการสรางแบบหลุมดินเพียงแตเปลี่ยนจากขอบดิน เปนขอบซีเมนตเทานั้น โดยมีหลักการ 1. พ้ืนหลุมเทซีเมนตใหหนา 15-20 ซม. เปนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก (เพื่อใหรับน้ําหนักของรถบรรทุกและเครื่องจักรที่เขาไปทํางานได) 2. ใหมีความลาดเอียงของพื้น 5 % 3. ขอบดานขางอาจเปนดินหรือซีเมนตก็ได แตถาเปนซีเมนตจะดี เพราะลดการสูญเสีย

Page 17: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

283

5.6 โรงผสมอาหารขน สําหรับผูเลี้ยงที่มีโคนมจํานวนไมมากนัก และใชอาหารบริษัทตาง ๆ นั้น คงไมจําเปนตองกอสรางโรงเก็บอาหารขนาดใหญ อาจจัดทําโดยกั้นหองเล็กๆบริเวณโรงรีดนม แตขอสําคัญบริเวณที่กักเก็บอาหารสําเร็จรูปเหลานี้ ควรเปนพื้นซีเมนตที่มีการปูรองดวยพลาสติก แตหากทําไมได ควรเก็บอาหารใหมีไมรองพื้น อยาใหกระสอบอาหารสัมผัสกับพื้นซีเมนตโดยตรง เพราะจะทําใหความชื้นจากพื้นเขาไปทําใหอาหารเนาเสียเปนเชื้อราไดงาย แตในกรณีที่ผูเล้ียงตองการสรางโรงเก็บและผสมอาหารจะมีขนาดและรายละเอียดตารางที่ 8.3 7.สวนคัดแยกและกักกันโค ผูเลี้ยงโคนมขนาดเล็กนอยกวา 50 ตัว คงไมจําเปนตองมี หากมีการเลี้ยงแบบยืนโรงอยูแลว แตผูเลี้ยงที่มีกิจการขนาดกลางขึ้นไป มีโรงเรือนรีดนมแยกกับโรงเรือนพักนอนโค จําเปนตองมีการสรางโรงคัดแยกและกักกันโคช่ัวคราว เพื่อความสะดวกในการผสมเทียม คัดแยกโคปวย ตรวจการตั้งทอง คัดแบงกลุมโคหรือช่ังน้ําหนักอื่น ๆ อยางไรก็ตามสวนนี้มักเปนสวนประกอบอยูกับสวนอื่นๆเชนสรางอยูในบริเวณโรงพยาบาลโค หรือสรางบริเวณกอนเขารีดนมหรือขางอาคารโรงรีดนม โดยมีรูปแบบ 1. เปนซองเดินเรียงเดี่ยวทําดวยทอขนาด 2.5-3 นิ้ว มีความกวาง 60-65 ซม. ยาว 10-15 เมตร สูงจากพื้น 1.2 เมตร 2. แบงการใชงานเปน 3 สวน คือ 2.1 สวนทางเขาซองเดินเดี่ยว เปนบริเวณกักโครอเขาซองเดินเดี่ยว จะจัดสรางเปนลักษณะกรวยเขาซองเดิน หรืออาจทําเปนวงกลมรัศมี 4-5 เมตร หมุนไดรอบตัวก็ได ถาทําเปนแบบวงกลมจะชวยใหบังคับโคไดงาย เพราะอาศัยการเลื่อนประตูซึ่งเปนรัศมีของวงกลม ก็จะบีบ/จํากัดพื้นที่โคใหเดินเขาซองงาย 2.2สวนกลาง จะเปนซองเดินเดี่ยวแถวยาวควรออกแบบใหมีแกนเหล็กบังคับ ใหสามารถปรับระยะความกวางของซองได เพื่อประโยชนในการใชรวมกันของลูกโค, โคสาว, โคตั้งทอง หรือถาไมทําแกนบังคับ ก็ใหจัดสรางซองเดินเดี่ยวแยกกันระหวางโคโตกับโคเล็ก 2.3 สวนปลายทางเดินออก ในระยะเมตรที่ 10-15 จะแบงเปนสวนยอย โดยใชประตูบาน พับที่หมุนไดรอบ เปนตัวบังคับใหโคเดินไปในทิศที่ตองการ เนื่องจากบางฟารมอาจออกแบบให เอนกประสงคนั่นเอง ซึ่งจะประกอบดวยซองจัดการโค; 2.3.1 ซองชั่งน้ําหนักโค 2.3.2 ซองหนีบตัวโค หรือซองหนีบคอโค 2.3.3 ซองผสมเทียม (ซองเดี่ยวกวาง 60-65 ซม. ยาว 2-2.2เมตร ซองรวม5ตัวกวาง 2 เมตร ยาว 3 เมตร) 2.3.4 ซองผาตัดโคซึ่งจะเปนซองพับ และยกตัวโคได 3. สวนพื้นของทางเดินเดี่ยว ตองเปนคอนกรีตยกระดับสูง5-10ซม. จะชวยในการทําความสะอาดซองเดินไดงาย 4. องคประกอบอื่น อาจจะทําเปนบริเวณติดต้ังสเปรยพนตัวโคไดดวยถาจําเปน

Page 18: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

284

ตารางที่8. 3 แสดงขนาดโรงอาหารและเครื่องจักรที่จําเปน ......................................................................................................................................................................................................... รายการ ปริมาณอาหารที่ผสม (ตัน/วัน) .................................................................................................……………........................... 1.0 3.0 5.0 11.0 17.0 ......................................................................................................................................................................................................... 1. ปริมาณวัตถุดิบอาหารที่ตองเก็บ 360 1,100 1,800 4,000 6,100 ไว,กระสอบ (กระสอบขนาด 0.7 x 1 เมตร/กระสอบ) 2. พื้นที่ของตัวอาคารโรงอาหาร

2.1 สวนของโกดัง (ม2) 50 75 250 550 850

2.2 สวนของอุปกรณผสม (ม2) 25 25 75 100 100 3. อุปกรณผลิตอาหารที่ควรมี 3.1 เคร่ืองผสมอาหาร ชนิดถังตั้ง ชนิดถังตั้ง ชนิดถังตั้ง ชนิดถังตั้ง ชนิดถังตั้ง ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด 500กก. 1000กก. 2000กก. 3000กก. 3000กก. - - - --- หรือ ถังนอน 2 เครื่อง--- ขนาด ขนาด 1500กก. 2000กก. 3.2 เคร่ืองบดอาหาร 1 เคร่ือง 1 เคร่ือง 1 เคร่ือง 1 เคร่ือง 1 เคร่ือง ขนาด 500 1000 1000 3000 4000 หนวย กก./ชม. กก./ชม. กก./ชม. กก./ชม. กก./ชม. 3.3 อุปกรณอื่น - เคร่ืองผสมแรธาตุ ชนิดถังนอน ชนิดถังนอน ชนิดถังนอน ขนาด ขนาด ขนาด 200กก. 200กก. 200กก. 1 เคร่ือง 1 เคร่ือง 1 เคร่ือง -ถังเก็บอาหารผสม/บดแลว 2ชุด 2ชุด ............................................................................................................................................................................…………......................

Page 19: บทที่ 8 ัการจดการสิ่ ...¸šทที่ 8 การจัดการ... · 267 บทที่ 8 ัการจดการสิ่ งแวดลอมและการก

285

บรรณานุกรม Bath, D.L., Dickinson, H.A. Tucker, and R.D. Appleman . 1978. Dairy cattle. 2nd ed. Lea & Febiger, Philadelphia. Cambell, J. R. , and R. T. Marshall. 1975. The science of providing milk for man. McGraw-Hill, Inc. Ensminger, M. E. 1993. Dairy cattle science. 3th ed. Interstate Publishers, Inc. Ensminger, M. E., J. E. Oldfield, and W. W. Heinemann.1990. Feed & nutrition digest. 2nd The Ensminger Pulishing Company. Etgen ,W.M., and P.M. Reaves. 1978. Dairy cattle feeding and management. 6th ed. John Wiley & Son, Inc. Miller, W.J. 1979. Dairy cattle feeding and nutrition. Academic Press. Quim, T. 1980. Dairy farm management. Van Nostrand Reinhocd Company. Richard A.B., and B.D. Vernon .1987. Handbook of livestock management techniques. Surjeet Publications. Schmidt, G.H., and L.D. VanVleck. 1974. Priciple of dairy science. W.H. Freeman and Company.