บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗...

34
๑๗ กฎกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ .. (.. ….) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน .. ๒๕๓๕ เรื่อง มาตรการความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรมปโตรเลียม และอุตสาหกรรมปโตรเคมี หมวด ลักษณะอาคารของโรงงาน หรือลักษณะภายในของโรงงาน วัตถุประสงคของกฎหมาย กฎหมายในหมวดนี้เขียนขึ้นมาดวยความประสงคที่จะใหมีการพิจารณาเรื่องความปลอดภัย ตั ้งแตขั ้นตอนการออกแบบโรงงาน โดยผูประกอบกิจการจะตองพิจารณาตั้งแต () การเลือกสถานที ่ตั ้งโรงงาน () การกํ าหนดที่ตั้งของโรงงาน อาคารสํ านักงาน สิ ่งอํ านวยความสะดวกอื ่น () มาตรฐานที ่ใชในการออกแบบ และการเลือกวัสดุสํ าหรับเครื่องจักร เครื่องอุปกรณที่ สํ าคัญ () การจัดวางเครื่องจักร () ถนน () รางระบายนํ() อุปกรณตอบโตภาวะฉุกเฉิน แนวทางการปฎิบัติ และการตรวจสอบ ขอ การออกแบบแผนผังโรงงาน .) หนวยผลิตผลิตภัณฑตาง หนวยผลิตสาธารณูปโภค และหนวยสนับสนุนในเขตที่ตั้ง ของกระบวนการผลิต หรือผลิตภัณฑ หรือสาธารณูปโภคที่มีหนวยยอยของกระบวน การซึ่งมีกาซไวไฟ หรือของเหลวไวไฟ หรือของเหลวติดไฟ ตองมีถนนเขา-ออก บททีแนวทางการตรวจสอบ

Upload: others

Post on 30-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๑๗

กฎกระทรวงอตุสาหกรรมฉบับที่.. (พ.ศ. ….)

ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕เรือ่ง มาตรการความปลอดภัยในโรงงานอตุสาหกรรมปโตรเลียม และอุตสาหกรรมปโตรเคมี

หมวด ๓ลกัษณะอาคารของโรงงาน หรือลักษณะภายในของโรงงาน

วัตถุประสงคของกฎหมายกฎหมายในหมวดนี้เขียนขึ้นมาดวยความประสงคที่จะใหมีการพิจารณาเรื่องความปลอดภัย

ต้ังแตขัน้ตอนการออกแบบโรงงาน โดยผูประกอบกิจการจะตองพิจารณาตั้งแต(๑) การเลือกสถานท่ีต้ังโรงงาน(๒) การกํ าหนดที่ตั้งของโรงงาน อาคารสํ านักงาน ส่ิงอํ านวยความสะดวกอ่ืน ๆ(๓) มาตรฐานท่ีใชในการออกแบบ และการเลือกวัสดุสํ าหรับเครื่องจักร เครื่องอุปกรณที่สํ าคญั

(๔) การจัดวางเครื่องจักร(๕) ถนน(๖) รางระบายนํ ้า(๗) อุปกรณตอบโตภาวะฉุกเฉิน

แนวทางการปฎิบัติ และการตรวจสอบขอ ๔ การออกแบบแผนผังโรงงาน

๔.๑) หนวยผลิตผลติภัณฑตาง ๆ หนวยผลิตสาธารณูปโภค และหนวยสนับสนุนในเขตที่ตั้งของกระบวนการผลิต หรอืผลิตภัณฑ หรอืสาธารณูปโภคทีม่หีนวยยอยของกระบวนการซึ่งมีกาซไวไฟ หรอืของเหลวไวไฟ หรอืของเหลวติดไฟ ตองมีถนนเขา-ออก

บทที่ ๓แนวทางการตรวจสอบ

Page 2: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๑๘

สํ าหรับรถดับเพลิงอยางนอย ๒ ทาง โดยความกวางของถนนรวมไหลทางตองไมนอยกวา ๖ เมตร และตองมถีนนรอบพื้นที่กระบวนการผลิต เพ่ือความสะดวกตอการเขาไปปฏบิตังิานของรถดับเพลิงในพ้ืนทีก่ระบวนการผลิต อันประกอบดวยกระบวนการผลิต ระบบทอ อุปกรณผลิต

กระแสไฟฟา ไอน้ํ า ลม ซ่ึงภายในระบบทอ หรืออุปกรณมีกาซ และหรือของเหลวไวไฟ หรือติดไฟอยู ตองจัดท ําถนน ซ่ึงมีความแข็งแรง และสภาพดีสํ าหรับใหรถดับเพลิงวิ่งเขาไปปฎิบัติงานไดสะดวกอยางนอย ๒ เสนทาง เพ่ือรองรับในกรณีมีการร่ัวไหลของกาซ และหรือของเหลวไวไฟ หรือตดิไฟรัว่ไหลออกมาบนถนนเสนทางใดเสนทางหนึ่ง พนักงานดับเพลิงยังสามารถใชถนนอีกเสนทางหนึง่เขาไปควบคุมระงับเหตุได

การตรวจสอบ๑. เอกสารแผนผงัโรงงานแสดงถนนเขา-ออก เขตพื้นที่กระบวนการผลิตอยางนอย ๒ เสน

ทาง แตละเสนทางมีความกวางรวมไหลทางไมนอยกวา ๖ เมตร และรอบพ้ืนท่ีกระบวนการผลิตจะตองมีถนนรอบพ้ืนท่ีดวย ถนนมีสภาพด ีแข็งแรง สามารถรองรับน้ํ าหนักของรถดับเพลิงได

๒. การตรวจสอบพ้ืนท่ีสังเกตเสนทางเขา-ออกกระบวนการผลิต ตองมีถนนอยางนอย ๒ เสนทาง โดย

ถนนจะตองมีสภาพดี แข็งแรง สามารถรองรับน้ํ าหนักของรถดับเพลิงไดโรงงานเดิมที่ไดรับอนุญาตประกอบกิจการโรงงานกอนที่กฎหมายฉบับนี้มีผล

บงัคบัใชจะไดรับการยกเวนจากการบังคับใชในหมวดนี ้ หรือกรณีท่ีโรงงานเกิดอุบัติภัยการยกเวนใหขึน้กับการวินิจฉัยของอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ยกเวนกรณีท่ีมีความเสียหายโดยส้ินเชิงตองด ําเนินการตามกฎหมายฉบับน้ี

๔.๒)หนวยสนับสนุนอาคารควบคุมการผลิต และสถานท่ีท่ีใชสํ าหรับการควบคุมภาวะฉกุ-เฉนิ ตองอยูในพื้นที่ที่ปลอดภัย ไมอยูในแหลงที่อาจกอใหเกิดการลุกไหมหรือระเบิด

หมายเหตุ ขอความท่ีแสดงดวยอักษรตัวหนา เปนขอความท่ีคัดลอกมาจากรางกฎกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ เร่ือง มาตรการความปลอดภัยในโรงงานอตุสาหกรรมปโตรเลียม และอุตสาหกรรมปโตรเคมี

Page 3: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๑๙

หนวยสนับสนุนในขอนี้ครอบคลุมถึงศูนยอ ํานวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน สถาน-พยาบาล สถานีดับเพลิง และสถานีเคร่ืองสูบน้ํ าดับเพลิง จะตองตั้งอยูในต ําแหนงที่ปลอดภัย หรือตองออกแบบใหสามารถทนตอแรงระเบิด หรือการแผรังสีความรอน ซ่ึงเกิดจากการเกิดเพลิงไหมหรือระเบิดของอุปกรณที่อยูในบริเวณ ใกลเคียงได

การตรวจสอบ๑) เอกสารตรวจสอบผลการค ํานวณแรงระเบิด และการแผรังสีความรอนจากการประเมิน

ความเส่ียงแลวเปรียบเทียบกับตํ าแหนงที่ตั้งของศูนยอํ านวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน สถานพยาบาลสถานดีบัเพลิง สถานีเครื่องสูบนํ้ าดับเพลิง อาคารควบคุมการผลิตวา ปลอดภัยจากการระเบิด และการแผรังสีความรอนหรือไม หากพบวา ตั้งอยูในรัศมีที่ไดรับผลกระทบใหตรวจสอบตอไปวาสถานท่ีตาง ๆ ไดถูกออกแบบใหทนตอภาวะน้ันได

๒) การสัมภาษณผูจัดการโรงงาน๒.๒) มีหลักการในการกํ าหนดที่ตั้งอาคารตาง ๆ อยางไร๒.๓) รูไดอยางไรวา ปลอดภัย

๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ีตรวจสอบสถานท่ีตาง ๆ วา ไดกอสรางในตํ าแหนงที่กํ าหนดไวในแผนผังโรงงาน

และไดกอสรางตามแบบท่ีกํ าหนด

๔.๓) ต ําแหนงเครื่องจักรหรือเครื่องอุปกรณตาง ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิง เครื่องอุปกรณที่ออกแบบไวสํ าหรบัการปองกันอันตราย เชน อุปกรณระบายแรงดัน ลิ้นปดเปดระบบนํ ้าหลอเย็นเปนตน ตองอยูในตํ าแหนงท่ีเหมาะสม และมีชองวางที่สะดวกตอการเขาไปปฏิบัติงานการตรวจสอบ

1.! การตรวจสอบพ้ืนท่ีตรวจสอบต ําแหนงของอุปกรณระบายแรงดัน วาลวปด-เปด ระบบนํ้ าหลอเย็น วา

สามารถเขาไปปฏิบัติงานไดโดยสะดวก ปลอดภัย

Page 4: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๐

๔.๔) ระบบระบายนํ้ า ตองออกแบบใหสามารถระบายนํ้ าไปในทิศทางท่ีไมนํ าน้ํ าปนเปอนเมือ่เกิดอุบัติเหตุกระจายไปสูสวนตาง ๆ ของโรงงาน สวนท่ีระบายไปในทิศทางของถนนหรอืเสนทางของรถบรรทุกสารเคมีหรือนํ้ ามัน ตองออกแบบใหสามารถตัดตอนหรอืเกบ็กกัสารที่รั่วไหลมิใหออกสูล ํารางสาธารณะหรือสูแหลงนํ้ าธรรมชาต ิ และสามารถสูบออกไปบ ําบัดได

๔.๕) ระบบระบายนํ ้าปนเปอน ตองออกแบบใหมีระบบปองกันไอของสารติดไฟมิใหแพรกระจายออกนอกระบบ ยกเวนสวนที่ไดออกแบบไวเฉพาะสํ าหรับการขจัดสารปนเปอน

ขอกํ าหนดนี ้ ตองการใหระบบระบายนํ ้าในโรงงานปลอดภัย ไมกอใหเกิดอันตรายตอผูปฏบิตังิาน และทรัพยสิน รวมทั้งในกรณีเกิดอุบัติเหตุก็ไมท ําใหเกิดการแพรกระจายของไฟ และสารเคมี โดยระบบระบายนํ ้าควรเปนไปตามแนวทางตอไปนี้

๑) ระบบระบายนํ ้าปนเปอนสารเคมี ควรเปนระบบปด มีการปองกันไมใหไอของสารเคมีหลุดลอดออกมาจากระบบ เปนอันตรายตอผูปฎบิตัิงาน และเส่ียงตอการเกิดเพลิงไหม

๒) ระบบระบายนํ ้าฝนในพื้นที่กระบวนการผลิต ซ่ึงเปนระบบเปด และมีโอกาสปนเปอนสารเคมี ในกรณีท่ีมีการหกร่ัวไหลจากการปฎิบัติงานหรือจากกรณีไฟไหม มีการฉีดน้ํ าเพ่ือระงับเหตุ จะตองออกแบบใหมีการปองกันการร่ัวไหลสูแหลงน้ํ าสาธารณะ และ ทิศทางการไหล รวมทั้งขนาดของรางระบายนํ ้าจะตองเหมาะสม ไมกระจายเช้ือเพลิงหรือไฟไปยังสวนตาง ๆ ในโรงงาน

๓) ระบบระบายนํ ้าในสวนท่ีไมเก่ียวของกับการผลิต เชน ทางเขาโรงงาน สํ านักงาน หากมีการใชเปนเสนทางในการขนสงสารเคม ีและมีโอกาสในการหกร่ัวไหล จะตองออกแบบใหมีการปองกันการร่ัวไหลสูแหลงน้ํ าสาธารณะ

การตรวจสอบ๑) เอกสาร๑.๑) แผนผังระบบระบายนํ ้า๑.๒) การค ํานวณขนาดของรางระบายน้ํ า

Page 5: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๑

๒) การสัมภาษณผูจัดการโรงงาน๒.๑) ระบบระบายนํ้ ามีก่ีระบบ อะไรบาง๒.๒) นํ ้าทีป่นเปอนสารเคมี จะระเหยออกมาเปนอันตรายตอพนักงานหรือไม รูได

อยางไร๒.๓) เม่ือเกิดไฟไหม นํ ้าดับเพลิงจะ ลนรางระบายหรือไม๒.๔) ถาสารเคมีหกร่ัวไหลบนถนนจะไหลออกไปนอกโรงงานหรือไม

๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ี๓.๑) ตรวจสอบระบบระบายนํ ้าวา เปนไปตามแบบหรือไม มีส่ิงสกปรก อุดตันหรือไม๓.๒) ตรวจสอบการร่ัวไหลของไอสารเคมีจากรอยตอตาง ๆ ฝา sump ของระบบ

ระบายนํ ้าที่มีการปนเปอน๓ .๓) ตรวจสอบระบบที่ใชในการปองกันนํ้ าที่มีการปนเปอนไหลออกสูแหลงนํ้ า

สาธารณะ๔.๖) อาคารควบคุมการผลิต ตองออกแบบใหปลอดภัยจากการระเบิด หรือไฟไหม

การตรวจสอบเหมือนกับขอ ๔.๒

ขอ ๕ ในเขตกระบวนการผลิตที่มีภาชนะบรรจุของเหลวไวไฟ หรือของเหลวติดไฟ พื้นที่ในแนว-ราบโดยรอบภาชนะบรรจุ ภายในระยะ ๙ เมตร และบริเวณเหนือภาชนะบรรจุดังกลาว ภายในระยะ ๑๒ เมตร เปนพื้นที่เสี่ยงตอการถูกไฟไหม โครงสราง เครื่องอุปกรณหรือสิง่ปลกูสรางในบริเวณดังกลาวตองออกแบบใหมีโครงสรางเปนชนิดทนไฟ (Fire proof)หรอืตดิตั้งระบบฉีดนํ ้าระบายความรอน (Fixed sprinkler system)

ขอ ๖ โครงสรางสํ าหรับรองรับทอล ําเลียง (Pipe rack support) ที่ตั้งอยูภายในรัศมี ๑๕ เมตรจากเครือ่งอุปกรณที่อาจเปนตนก ําเนิดไฟตองออกแบบใหทนไฟไดอยางนอย ๒ ช่ัวโมง และใชวัสดุเปนไปตามมาตรฐานสากล เชน ASTM E-119 เปนตนขอกํ าหนดนี ้ ตองการใหมีการปองกันการออนตัวหรือยุบตัวของโครงสรางเหล็กท่ีรองรับ

นํ ้าหนกัภาชนะ เม่ือถูกไฟเผาอยูเปนเวลานาน การออนตัวหรือยุบตัวของเหล็กโครงสรางจะเปนผล

Page 6: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๒

ใหจดุเช่ือมตอระหวางทอกับตัวภาชนะเกิดแตกหักและสารเคมีร่ัว ทํ าใหของเหลวภายในไหลออกมาเปนเช้ือเพลิงสมทบใหไฟขยายวงกวางข้ึนไปอีก

การตรวจสอบ๑. เอกสาร๑.๑) แผนผังของหนวยผลิตใหสังเกตในเขตกระบวนการผลิตที่มีสารไฮโดรคารบอน

เหลวภายในภาชนะบรรจุความดัน หรืออุปกรณ เชน หอกล่ัน (Distillation Columnor Fractionation Column) ถังเก็บหรือถังพัก (Reflux Drum, Separator Drum,Knockout Drum, Accumulator, etc.) ทีมี่ขนาดใหญ และแบบของภาชนะที่มีตัวเลขแสดงปริมาณหรือระดับในภาชนะ เม่ือเดินเคร่ืองในสภาวะปกติสามารถคํ านวณไดวามีปริมาณความจุมากกวา ๑ ลูกบาศกเมตรขึน้ไป

๒) พื้นที่๒.๑) ตรวจการจัดทํ าฐานหรือโครงสรางทีร่องรับภาชนะดังกลาวขางตน ซ่ึงปกติมักเปน

ฐานหรือแทนคอนกรีต แตหากท ําดวยเหล็กจะตองมีการหุมคอนกรีตที่หนาเพียงพอจะท ําใหสิ่งที่รองรับนี้ยังคงความแข็งแรงอยูไดเมื่อถูกไฟเผานาน ๒ ช่ัวโมงโดยเปรียบเทียบจากอัตราการทนไฟของวัสดุในมาตรฐาน ASTM E-119 หรือมีการปองกันโครงสรางดวยการติดตั้งระบบฉีดนํ้ าเมื่ออุปกรณตรวจจับเปลวเพลิงท ํางานแบบถาวร

๒.๒)ตรวจโครงสรางรองรับทอลํ าเลียงโดยรอบภาชนะเหลาน้ี ภายในรัศมี ๑๕ เมตรโครงสรางของสวนที่รองรับทอลงมาถึงพื้นตองเปนคอนกรีต

(ในกรณีท่ีมีการวางทอซอนกันมากกวาหน่ึงช้ันข้ึนไป โครงสรางท่ีรองรับสวนเหนือทอช้ันแรกไมจ ําเปนตองทนไฟ)

หมวด ๔ลักษณะเคร่ืองจักร และเครื่องอุปกรณ หรือสิ่งที่นํ ามาใชในโรงงาน

ขอ ๗ เครือ่งจักร เครื่องอุปกรณ อาคาร หรือสิ่งปลูกสราง ที่ตั้งอยูภายในเขตกระบวนการผลติ ตองออกแบบใหเปนไปตามมาตรฐานดังตอไปนี้ หรือมาตรฐานเทียบเทา หรือมาตรฐานท่ีรฐัมนตรีประกาศก ําหนด

Page 7: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๓

กรณทีีไ่มสามารถเลือกอุปกรณตามแบบที่ยื่นตอกรมโรงงานอุตสาหกรรม ผูรับใบอนุญาตตองทํ าการทบทวนวา การเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมกอใหเกิดผลกระทบตอความปลอดภัย โดยใหมีวศิวกรรบัรองลงลายมือชื่อเปนลายลักษณอักษร และเก็บบันทึกผลการทบทวนไวเปนหลักฐานใหสามารถตรวจสอบได

มาตรฐานท่ีใชสํ าหรับรายการ

การออกแบบ (Design) วัสดุใชงาน (Materials)๑) ภาชนะบรรจุความดัน (Pressure vessel) ASME Section VIII ASTM / ASME /

AWS

๒) อปุกรณถายเทความรอน (Heatexchangers)๒.๑) ลกัษณะเปนเปลือกหุมหรือเปนทอ

(Shell and tube type)ASME Section VIII /TEMA

ASTM / ASME / AWS/ TEMA

๒.๒) ลกัษณะเปนแผน (Plate type) ASME Section VIII /TEMA

ASTM / ASME /AWS / TEMA

๒.๓) อปุกรณระบายอากาศ (Air coolers) ASME Section VIII /API 661

ASTM / ASME /AWS

๓) ถังสารเคมี (Tanks)๓.๑) ถงัสารเคมีขนาดใหญชนิดทนความ

ดันตํ่ า (Large welded low pressuretanks)

API 620 ASTM / AWS

๓.๒) ถงัเก็บสารเคมีขนาดใหญ (Largewelded storage tanks)

ANSI / API 650 ASTM / AWS

๓.๓) ถงัสารเคมีทรงกลม (Sphericaltanks)

ASME Section VIII /API 2510 / BS 5500

ASTM / ASME /AWS

๔) เครื่องกํ าเนิดไอน้ํ า (Steam generators) ASME Section I /CSA

Pressure Parts :ASME Section I / IINon-Pressure Parts :ASTM

Page 8: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๔

มาตรฐานท่ีใชสํ าหรับรายการ

การออกแบบ (Design) วัสดุใชงาน (Materials)๕) กังหันกาซ (Gas turbine) ASME / API / IGTI ASME / API / IGTI๖) เคร่ืองทํ าความรอน (Heater)๖.๑) เครือ่งก ําเนิดความรอนในกระบวน

การผลิต (Process heater)API RP 530 / API 560 ASTM / ASME B-31.3

๖.๒) การน ําพลงังานความรอนหมุนเวียนมาใชงานใหม (Waste heatrecovery)

> 70 bar ASMESection I< 70 bar ASME

Section VIII,Division I

ASME Section I / II,ASTM

๖.๓) หมอไอนํ้ า (Boiler) ASME CSA / API / NFPA /UL

๗) เคร่ืองจักรกล (Machinery)๗.๑) เคร่ืองสูบ (Pumps)

-! เครื่องสูบสํ าหรับของเหลว ไวไฟหรือมีพิษ (Pumpingtemperature above 200ocflammable or toxic liquids)

-!แบบแรงหนีศูนย (Centrifugalpumps heavy duty service)

-!แบบลูกสูบ (Reciprocatingpositive)

-!Displacement pumps Positivedisplacement pumps-controlledvolumeRotary positive displacementpumps

API 610

API 674

API 675

API 676

Page 9: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๕

มาตรฐานท่ีใชสํ าหรับรายการ การออกแบบ (Design) วัสดุท่ีใชงาน

(Materials)๗.๒) เครื่องสูบสํ าหรับดับเพลิง (Fire

water pumps and fireprotection)

NFPA

๗.๓) Driver for fire pump engines DEMA / NFPA๗.๔) เครื่องอัดความดันส ําหรับกาซ

ไวไฟหรือมีพิษ (Compressors for flammable or toxic gaseous)

-!แบบแรงหนีศูนย (Centrifugalcompressors)

-!แบบเกลียว (Screw compressors)-!แบบลูกสูบ (Reciprocating

compressors)

API 617

API 619API 618 / IGC

๗.๕) ระบบซลี (Lube and seal oilsystem ; for special purpose only)

API 614

๗.๖) พดัลมและเครื่องเปา (Fans andblowers ; for furnace or mainprocess service only)

API 673

๗.๗)กังหันไอนํ ้า (Steam turbines)-! สํ าหรับการใชงานท่ัวไป (General

purpose steam turbines)-! สํ าหรับการใชงานพิเศษ (Special

purpose steam turbines)

API 611

API 612

๘. ฐานรากและโครงสรางรองรับ(Foundations and concrete structure)

ACI / AWS /AASHTO / OSHA

ASTM / AWS / ANSI/ TIS

Page 10: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๖

มาตรฐานท่ีใชสํ าหรับรายการ การออกแบบ (Design) วัสดุใชงาน (Materials)

๙) อาคาร (Buildings) UBC / ACI / AISC ASTM / TIS๑๐) โครงสรางเหล็ก (Structural Steel) AISC / AWS / ANSI /

UBC / OSHAASTM

๑๑) ทอ (Piping) ASME / ANSI / API /MSS / AWWA

ASME / ASTM / AISI/ API / TIS

๑๒) ฉนวน (Insulation) ASTM๑๓) อิฐทนความรอน (Bricks &

refractory)ASTM

๑๔) ระบบไฟฟา (Electrical Equipment) IEC / NEMA / NFPA /DIN / TIS / IPCEA /NEC / ISO / IES /IEEE / ANSI / NESC /OSHA / VDE / API

๑๕) ระบบเครื่องมือ (Instrumentation) ANSI / API / ASME /ISA / AGA / NEC /IBC / ISO

ASTM

การตรวจสอบ๑. เอกสาร

๑.๑) สัญญาจางเหมากอสรางโรงงานที่ระบุถึงมาตรฐานที่บังคับใชสํ าหรับอุปกรณ อาคารและส่ิงปลูกสรางตาง ๆ เชน ภาชนะบรรจุความดัน เตาเผากาซ ฯลฯ

๑.๒) มาตรฐานท่ีอางถึงในเอกสารดานวิศวกรรมตาง ๆ เชน แบบบันทึกแสดงการค ํานวณ (Calculation Data or Calculation Sheet) ตารางรายการวัสดุ (Bill ofMaterial) รายการอุปกรณ (Equipment List) แบบแสดงอุปกรณกระบวนการผลิต (Process Sketch) รายละเอียดระบบทอ (Pipeline Listing) บันทกึการวิเคราะหวัสดุ (Mill Sheet) หรือเอกสารแสดงมาตรฐานของวัสดุท่ีใชสํ าหรับอปุกรณที่ประกอบเปนสวนของหนวยการผลิตตาง ๆ อยางใดอยางหนึ่ง

Page 11: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๗

ขอ ๘ อปุกรณท่ีใชสํ าหรับบรรเทา (Deluge valve, Relief valve) หรือตัดตอน (Isolation valve)ในกรณเีกดิเหตุฉุกเฉิน ตองออกแบบใหสามารถปองกันไมใหเกิดความเสียหายเปนระยะเวลาเพยีงพอท่ีพนักงานผูควบคุมสามารถใชเครื่องอุปกรณดังกลาวนี้ได เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน

การตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) แผนภูมิ (Process flow diagram) แสดงวาลวระบายแรงดนัในกระบวนการผลิตแผนภูมิแสดงวาลวตัดตอน แบบแสดงรายละเอียดสวนประกอบของวาลวในกรณีท่ีใชวาลวชนิดทนไฟ หลักการที่ออกแบบใหวาลวทํ างาน เม่ือกํ าลังไฟฟาหรือกํ าลังจากอากาศท่ีอัดไวถูกตัดขาดในภาวะฉุกเฉิน

๒) พื้นที่๒.๒)ตรวจการปองกันไฟหรือตํ าแหนงที่ติดตั้งของวาลวเหลานี ้ ในดานความเส่ียงจาก

อุปสรรคเม่ือเกิดไฟใหมหรือการเขาถึงวาลวขณะฉุกเฉินอุปกรณสํ าหรับบรรเทาหรือตัดตอนในขอกํ าหนดนี ้ หมายถึง เคร่ืองอุปกรณท่ีออกแบบไว

สํ าหรับกรณีฉุกเฉิน แบงออกเปนสองรูปแบบ คือ ในกรณีระบายแรงดันเมื่อเกินพิกัดปกติ วาลวระบายแรงดันจะตองติดตั้งอยูในตํ าแหนงและพ้ืนท่ีท่ีไมลอแหลมตอความเสียหายหากเกิดเพลิงไหมในบริเวณนั้น และสามารถเปดออกโดยอัตโนมัติเมื่อแรงดันสูงถึงพิกัดที่ตั้งไวใหท ํางาน และหากเกิดเหตุขัดของก็ยังมีชองทางเผื่อไวใหพนักงานสามารถเขาไปจัดการกับกลไกบังคับการเปดได หรือในอีกกรณีหนึง่ มีการออกแบบวาลวท่ีใชตัดตอนขณะเกิดเหตุฉุกเฉิน โดยใหสามารถปองกันสารเคมีไหลออกจากภาชนะบรรจุชนิดน้ี วาลวชนิดน้ีตองเปนชนิดทนไฟหรือมีการหุมสารทนไฟไวเพ่ือใหคงความสามารถกักกันสารเคมีเอาไวขณะเกิดเหตุฉุกเฉิน

หมวด ๕การกอสราง

ขอ ๙ ผูรบัใบอนุญาตตองดํ าเนินการ และก ํากับดูแลผูรับเหมา ในเรื่องตาง ๆ ดังนี้๙.๑) การคัดเลือกผูรับเหมาตองก ําหนดหลกัเกณฑดานความปลอดภัยเปนเงื่อนไขในการ

คัดเลือก

Page 12: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๘

ขอกํ าหนดนี ้ ตองการใหผูประกอบกิจการโรงงานที่มีการจางผูรับเหมาเขามาทํ างานที่เก่ียวของกับกระบวนการผลิต ซ่ึงเก่ียวของกับสารเคมีอันตรายไมวาจะเปนงานกอสราง งานร้ือถอนติดตัง้เคร่ืองจักร เคร่ืองอุปกรณ และงานอ่ืน ๆ ท่ีมีผลกระทบตอความปลอดภัยในกระบวนการผลิตผูประกอบกิจการโรงงานตองมั่นใจวา ผูรับเหมามีคณุสมบัติเหมาะสมกับการปฏิบัติงานนั้น ๆ

การตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) เอกสาร ระเบียบ ค ําส่ัง หรือขั้นตอนการด ําเนินการ ที่ลงนามโดยผูบริหารระดับสูง และระบุใหน ําเอาหลักเกณฑดานความปลอดภัย เชน ๑.๑.๑) การจดทะเบียนกองทุนเงินทดแทน๑.๑.๒) อปุกรณที่จํ าเปนในการปฎิบัติงานเพ่ือใหเกิดความปลอดภัย๑.๑.๓) อุปกรณความปลอดภัย๑.๑.๔) มาตรฐานการทํ างานดานความปลอดภัย๑.๑.๕) บุคลากรท่ีมีความรู ความสามารถ และประสบการณดานความ

ปลอดภัย ไปใชในการคัดเลือกผูรับเหมารวมกับหลักเกณฑดานอ่ืน ๆ

๑.๒) บนัทกึผลการประเมินผูรับเหมาที่แสดงใหเห็นวา หลักเกณฑดานความ-ปลอดภัยเปนหลักเกณฑที่มีผลตอการคัดเลือกผูรับเหมาอยางแทจริง

๒) การสัมภาษณ๒.๑) เจาหนาที่จัดจาง ใหสอบถามวามีหลักเกณฑในการคัดเลือกผูรับเหมา อยางไร๒.๒)ผูจดัการโครงการ ใหสอบถามวา อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นในการท ํางานของผู

รับเหมามีอะไรบาง มีมาตรการปองกันอันตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึนไดอยางไรและใหประเมินผูรับเหมาวา มีคุณสมบัติอยางไรเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรการปองกันอันตราย

๒.๓)ผูรับเหมา ใหสอบถามวา อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นในการท ํางานของผูรับเหมามีอะไรบาง และมีมาตรการปองกันอันตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึนอยางไร

Page 13: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๒๙

๓) การตรวจพ้ืนท่ี๓.๑) มีอุปกรณ บุคลากร ขั้นตอนการด ําเนินงาน วิธีการปฏิบัติงาน กฏระเบียบดาน

ความปลอดภัยตามท่ีระบุไวในเกณฑการประเมิน หรือในมาตรการปองกันอันตรายท่ีผูจัดการโครงการกลาวถึง

๓.๒)สังเกตกุารปฏิบัติงานของผูรับเหมาวา เปนไปตามขั้นตอนการด ําเนินงานวิธีการปฏิบัติงาน กฏระเบยีบดานความปลอดภัยตามท่ีระบุไวในเกณฑการประเมิน หรือในมาตรการปองกันอันตรายท่ีผูจัดการโครงการกลาวถึง

๙.๒) ตองจัดตั้งหนวยงานควบคุมความปลอดภัยขึ้นตรงตอผูบริหารระดับสูงสุดของโรงงานใหมหีนาท่ีโดยตรงในการควบคุมดูแลวา ไดมีการปฏิบัติตามหัวขอตาง ๆ ในหมวดนี้และมีการมอบอํ านาจเพื่อใหหนวยงานควบคุมความปลอดภัยสามารถส่ังใหหยุดงานหรือส่ังใหผูรับเหมาแกไขสภาพการปฏิบัติงานระหวางการกอสรางท่ีไดพิจารณาแลววา หากดํ าเนินการในสภาพนั้นตอไปจะเปนสาเหตุใหเกิดความเสียหายตอทรัพยสินหรือชวีติของผูปฏิบัติงานไดการตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) ค ําส่ังแตงตั้งบุคลากรใหท ําหนาทีใ่นโครงการกอสราง๑.๒) อํ านาจหนาทีใ่นโครงการกอสราง๑.๓) เอกสารโตตอบกับผูรับเหมา

๒) การสัมภาษณ๒.๑) หวัหนาหนวยงานควบคุมความปลอดภัย ใหสอบถามวา มีหนาที่ท ําอะไรบาง

มีปญหาอะไร แกปญหาอยางไร๒.๒)ผูรับเหมา ใหสอบถามวา หนวยงานควบคุมความปลอดภัย ไดสั่งการใหท ํา

อะไรบาง เคยถูกสั่งใหหยุดงานบางหรือไม เรื่องอะไร๙.๓) ตองจัดใหมีการอบรมดานความปลอดภัยแกผูปฏิบัติงานกอสรางกอนเริ่มปฏิบัติงานใน

เขตโรงงานเพื่อใหทราบถึงอันตรายที่เกี่ยวของ และวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย

Page 14: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๐

๙.๔) ตองจัดทํ า และเก็บบันทึกการฝกอบรมของผูปฏิบัติงานกอสรางแตละคน โดยตองระบุถงึชือ่-สกลุ วันที่ฝกอบรม และผลการฝกอบรมหรือสิ่งที่แสดงไดวาผูปฏิบัติงานมีความรู ความเขาใจการตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) ตรวจสอบแผนการฝกอบรมวา มีการฝกอบรมผูปฏิบัติงานกอสรางใหทราบถงึอันตรายที่มีอยูในงานที่ตองปฎิบัต ิ วิธีการปฎิบัติงานท่ีปลอดภัย สิ่งที่ตองปฎิบัติในภาวะฉุกเฉิน สํ าหรับงานกอสราง งานร้ือถอน ติดตั้งเครื่องจักรเคร่ืองอุปกรณ และงานอ่ืน ๆ ที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยในกระบวนการผลิต

๑.๒) ตรวจสอบบนัทึกการฝกอบรบวา ครอบคลุมผูรับเหมาที่ปฏิบัติงานในกระบวนการผลิต ที่เกี่ยวของกับสารเคมีอันตรายครบถวนหรือไม หัวขอที่ฝกอบรมเก่ียวของกับอันตรายท่ีมีอยู วิธีการปฏิบัติงานท่ีปลอดภัย และส่ิงท่ีตองปฏบิติัในภาวะฉุกเฉินหรือไม

๒) การสัมภาษณใหสอบถามผูรับเหมาวา๒.๑) ทํ างานอะไร๒.๒) มีอันตรายหรือไม๒.๓) ตองท ําอยางไร จึงจะปลอดภัย๒.๔) เขามาท ํางานคร้ังแรกไดรับการฝกอบรมวาอยางไร๒.๕) เคยไดรับการฝกอบรมเรื่องอะไรบาง๒.๖) อบรมคร้ังสุดทายเม่ือไร๒.๗) อบรมเรื่องอะไร๒.๘) ถาไฟไหมตองทํ าอะไรบาง

๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ีสังเกตการปฏิบัติงานของผูรับเหมาวา๓.๑) ปฏบัิติตามกฎความปลอดภัยอยางถูกตอง

Page 15: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๑

๓.๒)ใชเคร่ืองปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง๓.๓)ปฏบัิติตามวิธีการปฎิบัติงานท่ีปลอดภัยอยางถูกตอง

๙.๕) ตองจัดใหมีการกํ าหนดความถี่ในการตรวจประเมินผลการทํ างานดานความปลอดภัยของผูปฏบิตังิานกอสรางเปนระยะอยางเหมาะสมการตรวจสอบ๑. เอกสาร

๑.๑) แผนการตรวจประเมินผลการทํ างานดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน กอสราง

๑.๒) ผลการตรวจประเมินผลการท ํางานดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติงานกอสราง๑.๓) การแกไขขอบกพรอง

๒) การสัมภาษณผูจดัการหนวยงานความปลอดภัยใหสอบถามวา๒.๑) มีการตรวจประเมินผลการทํ างานดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน

กอสรางหรือไม๒.๒) แผนการตรวจประเมินผลการทํ างานดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน

กอสรางเปนอยางไร๒.๓) ผลเปนอยางไร๒.๔) เอาผลไปทํ าอะไรบาง

๙.๖) ตองจัดใหมีการควบคุม ดูแล รักษาความปลอดภัยในพื้นที่บริเวณกอสรางการตรวจสอบ๑) เอกสาร๑.๑) ขอดรูายช่ือผูรับเหมาที่เขาไปท ํางานในกระบวนการผลิต

๑.๑.๑) มรีายช่ือผูรับเหมาที่ไดรับอนุญาตใหเขาไปในพ้ืนที่ตาง ๆ หรือไม๑.๑.๒) สุมตรวจสอบวา ผูที่เขาไปท ํางาน มีรายช่ืออยูในกลุมท่ีไดรับ

อนุญาตหรือไม๑.๒) ขอดูหลักฐานการตรวจสอบ การเขา-ออกกระบวนการผลิตของผูรับเหมา

๒) การสัมภาษณ

Page 16: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๒

หวัหนาหนวยงานความปลอดภัยใหสอบถามวา๒.๑) มกีารควบคุมการเขาปฏิบัติงานในกระบวนการผลิตของผูรับเหมาหรือไม๒.๒) การควบคุมมีหลักการอยางไร สังเกตการควบคุมการเขา-ออกพื้นที่ของ

โรงงาน๙.๗) ตองจัดใหมีการรายงานอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับผูปฏิบัติงานกอสรางและเก็บรักษารายงานนี้

ไวอยางนอย ๓ ป๙.๘) ตองจัดใหมีระบบท่ีนํ าเอารายงานอุบัติเหตุมาวิเคราะห เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให

เกิดความปลอดภัยยิ่งขึ้นการตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) ค ําส่ังหรือขั้นตอนการด ําเนินงาน เรื่องการรายงานอุบัติเหตุของผูรับเหมา๑.๒) รายงานอุบัติเหตุ๑.๓) สถิติอุบัติเหตุ๑.๔) รายงานการประชุมเพ่ือพิจารณาผลการวิเคราะหอุบัติเหตุ๑.๕) รายงานผลการด ําเนินการตามมติท่ีประชุม

๒) การสัมภาษณหวัหนาหนวยงานความปลอดภัยใหสอบถามวา๒.๑) มรีะบบการรายงานการสอบสวนอุบัติเหตุของผูรับเหมาหรือไม๒.๒)ระบบเปนอยางไร๒.๓) เอารายงานอุบัติเหตุไปท ําอะไรบาง๒.๔)ผลเปนอยางไร

๙.๙) ตองตรวจสอบเคร่ืองจักร และเครื่องอุปกรณที่นํ ามาติดต้ังใหเปนไปตามท่ีไดออก-แบบไวหรือผานการทดสอบจากโรงงานผูผลิต และเก็บรักษารายงานการตรวจสอบทดสอบไวใหพนักงานเจาหนาท่ีเรียกตรวจสอบได

๙.๑๐) ตองตรวจสอบการติดตั้งเครื่องจักร และเครื่องอุปกรณใหเปนไปตามที่ไดออกแบบไวและเกบ็รายงานการตรวจสอบไวใหพนักงานเจาหนาที่เรียกตรวจสอบได

Page 17: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๓

การตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) Specification ของอุปกรณตามหมวด ๔ ขอ ๗๑.๒) บันทกึผลการตรวจสอบตาม Specification๑.๓) บนัทกึผลการทดสอบจากโรงงานผูผลิต หรอืบุคคลที่ ๓ ที่เชื่อถือได๑.๔) แผนผงัแสดงต ําแหนงติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ๑.๕) บนัทกึผลการตรวจสอบการติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณตามแบบ

๒) การสัมภาษณผูจดัการโครงการ ผูจัดการฝายบ ํารุงรักษาใหสอบถามวา๒.๑) ทราบไดอยางไรวา อุปกรณไดสรางมาตาม Specification ที่กํ าหนด๒.๒) ทราบไดอยางไรวา อุปกรณถูกติดต้ังตามแบบ

๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ี๓.๑) ตรวจสอบต ําแหนงการติดตั้งเครื่องจักรเทียบกับแผนผัง

ประกาศกระทรวงอตุสาหกรรมฉบับที่.. (พ.ศ. ….)

ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕เรือ่ง มาตรการความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรมปโตรเลียม และอุตสาหกรรมปโตรเคมี

หมวด ๒

การทดลองเดินเคร่ืองจักร

ขอ ๓ ผูประกอบกิจการโรงงานตองแจงวัน เวลา และระยะเวลาการทดลองเดินเคร่ืองจักรโดยใหปฏบิตัติามมาตรา ๑๓ แหงพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และกฎกระทรวงฉบับที่ ๖(พ.ศ. ๒๕๓๕)

ขอ ๔ กอนการทดลองเดินเครื่องจักรตองทบทวนดานความปลอดภัย ดังนี้

Page 18: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๔

๔.๑) การกอสราง การติดต้ังเคร่ืองจักร และเครื่องอุปกรณตองเปนไปตามรายละเอียดของการออกแบบ

๔.๒)ตองมเีอกสารอธิบายขั้นตอนการด ําเนินงาน วิธีปฏิบัติงานในเรื่องการควบคุมเครื่อง-จักร และเครื่องอุปกรณ การบ ํารุงรักษา ความปลอดภัย และการควบคุมภาวะฉุกเฉินใหพรอมท่ีจะใชปฏิบัติงาน และแสดงใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบได

๔.๓) ตองจัดใหมีการทดสอบการท ํางานของระบบควบคุม และระบบปองกัน๔.๔) ตองจัดใหมีการซอมแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน

ขอ ๕ ตองฝกอบรมพนักงานทีเ่กีย่วของใหมีความสามารถในการควบคุมเครื่องอุปกรณ หรือระบบตามวิธีการที่กํ าหนดไวในขอ ๔.๒) กอนทํ าการทดลองเดินเคร่ือง

ขอ ๖ ตองจัดใหมีการทดสอบเครื่องอุปกรณแตละเครื่อง กอนการประกอบติดตั้ง หากไมสามารถทดสอบได ตองมีมาตรการรองรับเพื่อใหมั่นใจวา สามารถหยุดอุปกรณไดอยางปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุขัดของการตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) สํ าเนาการแจงทดลองเดินเครื่องที่ยื่นตอสํ านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด หรือกรมโรงงานอุตสาหกรรม

๑.๒) แผนการทดลองเดินเครื่อง๑.๓) Process Flow Diagram, Piping and Instrument Diagram (P&ID) ของระบบที่จะ

ทํ าการทดลอง๑.๔) บันทกึผลการตรวจสอบการกอสรางติดต้ังอุปกรณ๑.๕) บนัทกึผลการทดสอบระบบควบคุม ระบบปองกัน๑.๖) รายงานอุปกรณท่ีบกพรอง และมาตรการแกไขปองกัน๑.๗) บนัทกึผลการชี้บงอันตราย และการประเมินความเส่ียงตามประกาศกระทรวงอุต-

สาหกรรม ฉบับที ่๓ (พ.ศ. ๒๕๔๒) พรอมรายงานผลการติดตามความ กาวหนาในการดํ าเนินการแกไขปองกัน

หมายเหตุ ขอความท่ีแสดงดวยอักษรตัวหนา เปนขอความท่ีคัดลอกมาจากรางประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ เร่ือง มาตรการความปลอดภัยในโรงงานอตุสาหกรรมปโตรเลียม และอุตสาหกรรมปโตรเคมี

Page 19: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๕

๑.๘) Operating manual๑.๙) Emergency plan๑.๑๐) ผลการฝกซอมตามแผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน๑.๑๑) บนัทึกผลการฝกอบรม Operator

๒) การสัมภาษณผูจดัการโครงการ หัวหนาหนวยงานผลิต หัวหนาหนวยงานความปลอดภัย พนักงานท่ีเก่ียวของใหสอบถามวา๒.๑) แผนการทดลองเดินเครื่องเปนอยางไร๒.๒) ม่ันใจไดอยางไรวา อุปกรณไดรับการกอสราง ติดตั้งตามแบบที่ก ําหนด๒.๓) รูไดอยางไรวา อุปกรณเหลานี ้ทํ างานตามทีอ่อกแบบไว๒.๔) ถามีสารเคมีรั่วไหลออกมาระหวางทดลองเดินเครื่องจะท ําอยางไร๒.๕) ถาไฟฟาดับระหวางทดลองเดินเครื่องจะท ําอยางไร

๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ี๓.๑) เลือกผลการช้ีบงอันตราย และการประเมินความเส่ียง ที่ระบุใหจัดท ํามาตรการ

เพ่ิมเติมไปตรวจสอบในพื้นที่วา ไดมีการดํ าเนินการแลวหรือยัง๓.๒) มแีหลงเชื้อเพลิงทีไ่มจํ าเปนอยูในพื้นที่ที่จะท ําการทดสอบหรือไม๓.๓) การควบคุมแหลงกํ าเนิดประกายไฟ มีประสิทธิภาพหรือไม๓.๔) อปุกรณดับเพลิง อุปกรณแจงเหตุฉุกเฉิน มีความเหมาะสมเพียงพอ และอยูใน

สภาพพรอมใชงานหรือไม

หมวด ๓

การควบคุมความปลอดภัยในการผลิต

ขอ ๗ ผูประกอบกิจการตองจัดท ํา และปฏิบัติตามขั้นตอนการดํ าเนินงานในการผลิต (Operatingmanual) ซึง่ขัน้ตอนการดํ าเนินงานดังกลาว ตองมีคํ าแนะน ําดานความปลอดภัยท่ีชัดเจนสํ าหรบัการปฏิบัติงานในแตละสวนของกระบวนการผลิตทั้งหมด โดยครอบคลุมสถาน-การณตาง ๆ ดังนี้

Page 20: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๖

๗.๑) ขัน้ตอนในแตละสถานการณของการผลิต๗.๑.๑) การเร่ิมเดินเคร่ืองจักร๗.๑.๒) การเดินเคร่ืองจักรทํ างานตามปกติ๗.๑.๓) การหยุดเดินเครื่องจักรแบบฉุกเฉิน๗.๑.๔) การหยุดเดินเคร่ืองจักรตามแผนท่ีกํ าหนด๗.๑.๕) การเร่ิมเดินเคร่ืองจักรหลังจากการบํ ารุงรักษาครั้งใหญ หรือภายหลังการ

เกิดอุบัติภัยรายแรง๗.๒) เกณฑในการควบคุมการผลิต (Process parameter limit)

๗.๒.๑) ผลกระทบที่เกิดจากการไมเปนไปตามเกณฑ๗.๒.๒) ขัน้ตอนท่ีใชในการแกไขเมื่อไมเปนไปตามเกณฑ

๗.๓) ขอมลูดานความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย๗.๓.๑) ขอมูลดานความปลอดภัยของสารเคมีที่ใชในกระบวนการผลิต๗.๓.๒) มาตรการความปลอดภัยที่ตองด ําเนินการ

ขอ ๘ ตองจัดทํ าและปฎิบัติตามมาตรการดานความปลอดภัยในเรื่องตอไปนี้เปนอยางนอย๘.๑) การปองกันอันตรายจากไฟฟาสถิต๘.๒) การควบคุมการทํ างานท่ีกอใหเกิดความรอน หรือกอใหเกิดประกายไฟในบริเวณที่มี

ความเสี่ยงตอการรั่วไหลของสารไวไฟ๘.๓) การปองกันสารเคมีอันตราย๘.๔) การระบายกาซติดไฟหรือกาซไวไฟสูบรรยากาศ๘.๕) การระบายของเสียที่เปนของเหลว๘.๖) การควบคุมแหลงก ําเนิดความรอนและประกายไฟ๘.๗) การทํ างานเกี่ยวกับอุปกรณแรงดันสูง๘.๘) การทํ างานเกี่ยวกับสารกัมมันตรังสีการตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) Operating Manual ทีมี่เนื้อหาครอบคลุมการ Operate อุปกรณในภาวะตาง ๆ๑.๒) Process Parameter Limit

Page 21: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๗

๑.๓) ขอมูลดานความปลอดภัยขัน้ตอนการด ําเนินงาน / กฏความปลอดภัย เรื่องตาง ๆ ดังนี้๑.๓.๑) การปองกันอันตรายจากไฟฟาสถิต๑.๓.๒) การควบคุมการท ํางานที่กอใหเกิดความรอนหรือกอใหเกิดประกายไฟ

ในบริเวณท่ีมีความเส่ียงตอการร่ัวไหลของสารไวไฟ๑.๓.๓) การปองกันสารเคมีอันตราย๑.๓.๔) การระบายกาซติดไฟหรือกาซไวไฟสูบรรยากาศ๑.๓.๕) การระบายของเสียที่เปนของเหลว๑.๓.๖) การควบคุมแหลงกํ าเนิดประกายไฟ๑.๓.๗) การท ํางานเก่ียวกับอุปกรณแรงดันสูง๑.๓.๘) การทํ างานเก่ียวกับสารกัมมันตรังสี

๒) การสัมภาษณOperator ใหสอบถามวา๒.๑) ท ําหนาที่ Operate อุปกรณอะไร๒.๒) คาทีต่องควบคุมใหอุปกรณทํ างานปกติอยูทีเ่ทาไร และกรณีผิดปกติตองท ํา

อยางไรบาง๒.๓) อุปกรณมีอันตรายอะไร๒.๔) ตองปฏิบัติอยางไรจึงจะปลอดภัย๒.๕) ถา Unit ขาง ๆ ไฟไหม ตองท ําอะไรบาง

๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ี๓.๑) ตรวจสอบ Log Sheet ของ Operator วา สอดคลองกับ Process Parameter Limit

หรือไม๓.๒) สังเกตการปฏิบัติงานตามขัน้ตอนการดํ าเนินงาน กฎความปลอดภัยท่ีมีอยู เชน

การระบายกาซติดไฟหรือกาซไวไฟสูบรรยากาศ การปองกันสารเคมีอันตรายการท ํางานกับสารกัมมันตรังสีวา สอดคลองกับที่ก ําหนดไวหรือไม

Page 22: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๘

หมวด ๔การซอมบ ํารุงเครื่องจักรอุปกรณ

ขอ ๙ ตองจัดใหมีแผน และขั้นตอนในการดํ าเนินงานการบ ํารุงรักษาอยางเปนระบบ เพ่ือใหม่ันใจวา เครือ่งอุปกรณตาง ๆ ในโรงงานไดรับการบ ํารุงรักษาใหอยูในสภาพที่ด ีและมีความปลอดภยั โดยตองครอบคลุมเครื่องอุปกรณตาง ๆ ดังนี้๙.๑) เครื่องอุปกรณตาง ๆ ไดแก Pressure vessel, Heat exchangers, Tanks, Steam

generators, Gas turbine, Heater และ Machinery๙.๒) เครือ่งอปุกรณที่ใชลดหรือระบายแรงดันจากเครื่องอุปกรณตาง ๆ เชน ลิ้นนิรภัย

(Safety valve)๙.๓) เครื่องอุปกรณควบคุมการหยุดเดินเครื่อง๙.๔) เครือ่งอุปกรณระบบปองกัน เชน ระบบ Over speed trip

ขอ ๑๐ การฝกอบรมผูท่ีจะปฏิบัติงานในการบํ ารุงรักษาตองไดรับการฝกอบรมใหทราบถึงขั้นตอนการดํ าเนิน-

งาน วธิกีารปฏิบัติงาน มาตรการดานความปลอดภัย กฎความปลอดภัย และตองดํ าเนินการทดสอบความสามารถ กอนเขาไปปฏิบัติงานขอ ๑๑ การตรวจสอบและทดสอบ

เครือ่งอปุกรณในกระบวนการผลิตตองไดรับการตรวจสอบและทดสอบ โดยการตรวจ-สอบและทดสอบตองเปนไปตามเงื่อนไขดังนี้

๑๑.๑) วธิกีาร และระยะเวลาในการตรวจสอบและทดสอบตองเปนไปตามความเหมาะสมกับการใชงาน และมีการปรับปรุงใหทันสมัย

๑๑.๒) เครือ่งอุปกรณที่บกพรองหรือชํ ารุด ตองดํ าเนินการซอมหรอืแกไข เพ่ือใหสามารถใชงานไดดวยความปลอดภัย

๑๑.๓) ตองจัดเก็บผลการตรวจสอบและทดสอบ ที่แสดงขอมูลตอไปนี้๑๑.๓.๑) วนัท่ีตรวจสอบและทดสอบ๑๑.๓.๒) ช่ือผูทํ าการตรวจสอบและทดสอบ๑๑.๓.๓) วธิกีารตรวจสอบและทดสอบ๑๑.๓.๔) ผลการตรวจสอบและทดสอบ

Page 23: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๓๙

ขอ ๑๒ มาตรการส ําหรับการดัดแปลง เมือ่มกีารดดัแปลงอุปกรณที่มีผลกระทบตอกระบวนการผลิต ตองปฏิบัติตามขอ ๑๖ ขอ ๑๗และขอ ๑๘ขอ ๑๓ การประกันคุณภาพ

วัสดุ อะไหลที่นํ ามาใชในการซอมบ ํารุง ตองเปนไปตามมาตรฐานเดิมของอุปกรณ และเหมาะแกการใชงานในกระบวนการผลิตขอ ๑๔ ตองจัดทํ ามาตรการปองกันสํ าหรับงานบ ํารุงรักษาท่ีมีความเส่ียงตอการเกิดอันตราย เชน

การตดัแยกระบบทอ หรือเครื่องอุปกรณเพื่อการบํ ารุงรักษา การปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณท่ีความดันสูง การปฏิบัติงานในที่อับทึบ เปนตนการตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) แผนการบํ ารุงรักษาไดระบุถึงการบํ ารุงรักษาอุปกรณตอไปน้ีหรือไม๑.๑.๑) Pressure Vessel๑.๑.๒) Heat Exchanger๑.๑.๓) Tank๑.๑.๔) Steam Generator๑.๑.๕) Gas Turbine๑.๑.๖) Heater๑.๑.๗) Pump๑.๑.๘) Piping๑.๑.๙) Electrical Equipment๑.๑.๑๐) Instrument๑.๑.๑๑) อุปกรณท่ีใชลดหรือระบายความดันจากอุปกรณตาง ๆ เชน ล้ินนิรภัย๑.๑.๑๒) อปุกรณควบคุมการหยุดเดินเครื่อง๑.๑.๑๓) อปุกรณระบบปองกัน เชน ระบบ Over speed trip

๑.๒) แผนการบ ํารุงรักษา ไดระบุถึงการตรวจสอบ และทดสอบอุปกรณแตละชนิดหรือไม

Page 24: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๐

๑.๓) ขัน้ตอนการตรวจสอบ และทดสอบเปนไปตามค ําแนะน ําของผูผลิต หรือมาตร-ฐานทางดานวิศวกรรมหรือไม

๑.๔) ระยะเวลาในการตรวจสอบ และทดสอบเปนไปตามค ําแนะน ําของผูผลิต หรือมาตรฐานทางดานวิศวกรรมหรือไม

๑.๕) บันทกึผลการตรวจสอบ และทดสอบไดระบุถึงขอมูลตอไปนี้หรือไม๑.๕.๑) วันที่ท ําการตรวจสอบ๑.๕.๒) ชื่อผูตรวจสอบ ทดสอบ๑.๕.๓) Serial no. ของอุปกรณ๑.๕.๔) ส่ิงท่ีตรวจสอบ ทดสอบและวิธีการตรวจสอบ ทดสอบ ๑.๕.๖) ผลการตรวจสอบ ทดสอบ

๑.๖) มขีัน้ตอนการด ําเนินงาน หรือระเบียบ ค ําส่ังท่ีแสดงวา การบ ํารุงรักษาไดดํ าเนินไปอยางตอเนื่อง สม่ํ าเสมอ

๑.๗) บนัทกึการฝกอบรมของผูปฏิบัติงาน และผูรับเหมาที่แสดงวา ไดมีการฝกอบรมใหผูเกี่ยวของทราบถึง๑.๗.๑) กระบวนการผลิต และอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น๑.๗.๒) ขัน้ตอนการด ําเนินงาน วิธีการปฏิบัติงานที่จะท ําใหสามารถปฏิบัติงาน

ไดอยางถูกตอง ปลอดภัย๑.๘) ในกรณีท่ีมีการติดต้ังอุปกรณใหม ตรวจสอบวา มเีอกสารที่แสดงใหเห็นวา ไดมี

การตรวจสอบวาอุปกรณไดถูกประกอบถูกตองตาม Specification และเหมาะสมกับการใชงานในกระบวนการผลิต

๑.๙) บันทกึผลการทดสอบความสามารถของผูปฏิบัติงาน และผูรับเหมา ท่ีแสดงวาไดผานเกณฑท่ีกํ าหนด สุมตรวจสอบผูไมผานหลักเกณฑวามีรายช่ืออยูในกลุมผูปฎบิัติงานบํ ารุงรักษาหรือไม

๑.๑๐) มขีัน้ตอนการด ําเนินการ หรือวิธีการในการเก็บรักษา วัสดุ อะไหล (Spare Part)และอุปกรณใหอยูในสภาพท่ีเหมาะสมหรือไม

Page 25: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๑

๑.๑๑) มขีัน้ตอนการด ําเนินการ วิธีการปฏิบัติงานในการควบคุมวัสด ุ อะไหลที่น ํามาใชในการซอมบ ํารุงจะตองเปนไปตามมาตรฐานเดิมของอุปกรณ เหมาะสมกับการใชงานในกระบวนการผลิต

๑.๑๒) มขีัน้ตอนการด ําเนินการ ระเบียบ ค ําส่ังดานความปลอดภัยในเร่ืองตอไปน้ีหรือไม เชน การตัดแยกระบบทอ หรืออุปกรณเพ่ือการบํ ารุงรักษา การปฏิบัติ-งานเก่ียวกับอุปกรณท่ีมีความดันสูง การปฏิบัติงานในที่อับทึบ เปนตน

๒) การสัมภาษณ๒.๑) แผนงาน และวิธีการในการบํ ารุงรักษาอุปกรณแตละชนิดเปนอยางไร๒.๒) วิธีการท่ีใชในการตรวจสอบ ทดสอบอุปกรณแตละชนิดเปนอยางไร ใชมาตร-

ฐานอะไร๒.๓) จะรูไดอยางไรวา อุปกรณที่น ํามาติดต้ัง เปนไปตาม Specification ที่ก ําหนด

เหมาะสมกับกระบวนการผลิต๒.๔) การตรวจสอบ ทดสอบ ระบบควบคุม ระบบปองกันท ําอยางไร เอาวิธีการมาจาก

ไหน๒.๕) เคยอบรมเร่ืองอะไรมาบาง๒.๖) มขีัน้ตอนการด ําเนินการ ระเบียบค ําส่ังดานความปลอดภัยอะไรบาง๒.๗) จะรูไดอยางไรวา วัสดุ อะไหล (Spare Parts) ถูกตอง เหมาะสมกับการซอม

บํ ารุง๒.๘) จะรูไดอยางไรวา วัสดุ อะไหลที่น ํามาซอมบ ํารุงเปนไปตามมาตรฐานเดิมของ

อุปกรณ๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ี

๓.๑) สังเกตสภาพของเคร่ืองจักรอุปกรณวา มีสภาพดี สะอาด ปลอดภัยหรือไม๓.๒) สังเกตการปฏิบัติงานของพนักงานบํ ารุงรักษาวา เปนไปตามขั้นตอนการด ําเนิน-

งาน วิธีปฏิบัติงานดานความปลอดภัยหรือไม๓.๓) สังเกตวิธีการจัดเก็บวัสดุ อะไหล วาเปนระเบียบ ชี้บงชัดเจน สภาพแวดลอม

เหมาะสม

Page 26: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๒

หมวด ๕การขยายหรือเปลี่ยนแปลงการผลิตรวมทั้งเครื่องจักรอุปกรณ

การจัดการความเปล่ียนแปลงในโรงงาน ตองดํ าเนินการดังตอไปนี้ขอ ๑๕ เมือ่มกีารเปลี่ยนแปลงการผลิต เคร่ืองจักร และเครื่องอุปกรณที่มีผลกระทบตอกระบวนการ

ผลติ ตองปฏิบัติตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๒) เรื่องมาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดํ าเนินงาน

ขอ ๑๖ ตองจัดทํ าและปฏบิตัติามขัน้ตอนการด ําเนินงาน เพื่อจัดการความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับกระบวนการผลิต เทคโนโลยี เคร่ืองมือ เครื่องอุปกรณ ขั้นตอนการด ําเนินงานใน การผลติ (Operating manual) หรือสิ่งอ ํานวยความสะดวกตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอกระบวนการผลติ เวนแตการเปลี่ยนอุปกรณ ทดแทนของเดิมดวยอุปกรณชนิดเดียวกัน

ขอ ๑๗ ขัน้ตอนการดํ าเนินการ จะตองมีการด ําเนินการในเร่ืองตาง ๆ ดังนี้ ๑๗.๑) ทบทวนความเปนไปได ผลกระทบทางดานเทคนิคจากส่ิงท่ีตองการเปล่ียนแปลง

๑๗.๒) ทบทวนผลกระทบตอความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย๑๗.๓) ทบทวนการแกไข เปลีย่นแปลงขั้นตอนการดํ าเนินงานเพื่อการผลิต๑๗.๔) พิจารณาชวงระยะเวลาท่ีจํ าเปนสํ าหรับการเปลี่ยนแปลง๑๗.๕) ก ําหนดผูท่ีมีอํ านาจอนุมัติใหทํ าการเปลี่ยนแปลง

ขอ ๑๘ ตองดํ าเนนิการแกไขขั้นตอนการด ําเนินการ เพื่อการผลิต การบ ํารุงรักษา วิธีการปฏิบัติงานบ ํารงุรกัษา (ถาไดรับผลกระทบ) และแจงใหพนักงานและผูเกี่ยวของทราบ และตองดํ าเนินการฝกอบรมเกี่ยวกับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงกอนที่จะเริ่มเดินเครื่องจักรการตรวจสอบ๑) เอกสาร

๑.๑) เอกสารขัน้ตอนการดํ าเนินงานเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงกระบวนการผลิต เครื่องอุปกรณ เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต โดยเนื้อหาในขั้นตอนการด ําเนินงานตองกํ าหนดเงื่อนไขตาง ๆ ดังนี้

Page 27: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๓

๑.๑.๑) การช้ีบงอันตราย และการประเมินความเส่ียง๑.๑.๒) ขัน้ตอนการอนุมัติใหท ําการเปล่ียนแปลงโดยผูมีอํ านาจ๑.๑.๓) การทบทวนการออกแบบทั้งงานดัดแปลงที่ท ําข้ึนช่ัวคราวและถาวร๑.๑.๔) การทบทวนวาการดัดแปลงไดด ําเนินการไปตามท่ีออกแบบไว๑.๑.๕) ผูมีอ ํานาจอนุมัติใหท ําการดัดแปลงช่ัวคราว๑.๑.๖) ข้ันตอนการกลับสูภาวะปกติหลังการดัดแปลงช่ัวคราว

๑.๒) เอกสารขัน้ตอนการดํ าเนินงานตองกํ าหนดใหมีการพิจารณาในเร่ืองตาง ๆ ดังนี้๑.๒.๑) พิจารณาทางดานเทคนคิ กอนจะเสนอขอท ําการเปลี่ยนแปลง๑.๒.๒) พิจารณาถึงผลกระทบดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย กอนจะท ํา

การเปลี่ยนแปลง๑.๒.๓) พิจารณาถึง Operating Procedure กอนจะท ําการเปลี่ยนแปลง๑.๒.๔) พิจารณาถึงระยะเวลาท่ีเหมาะสมท่ีจะทํ าการเปลี่ยนแปลง๑.๒.๕) พิจารณาถึงวัตถุประสงคของผูมีอํ านาจอนุมัติกอนจะทํ าการเปล่ียน-

แปลง๑.๓) บันทกึการฝกอบรมท่ีแสดงวา Operator ชางซอมบํ ารุง และผูเกี่ยวของอื่น ๆ ได

รบัการฝกอบรมใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น๑.๔) Operating Procedure ไดมีการปรับปรุงแกไขใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง

หรือไม๒) การสัมภาษณ

๒.๑) ถาจะขอเปลี่ยน Set point ของอุปกรณตองท ําอยางไร๒.๒) ถาขอเพ่ิม Safety valve อกีหนึ่งตัว เพ่ือใหสามารถนํ าของเดิมไปทดสอบได

สะดวกตองท ําอยางไรบาง๒.๓) ในการพิจารณาใหทํ าการดัดแปลง มีปจจัยอะไรบางที่นํ ามาใชในการพิจารณา๒.๔) ในการพิจารณาใหทํ าการดัดแปลง มีการพิจารณาถึงระยะเวลาในการเปล่ียนหรือ

ไม ถามีพิจารณาอะไรบาง๒.๕) ใครเปนผูอนุมัติใหท ําการดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลง๒.๖) Maintenance operator จะรูไดอยางไรวา มีอะไรเปลี่ยนไปบาง และตองท ํา

อยางไร

Page 28: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๔

๒.๗) ถาม Operator วา เม่ือดัดแปลงหรือเปลี่ยนแปลงแลว วิธีการ Operate เปลี่ยนไปหรือไม ถาตอบวาเปล่ียน ถามตอวา เปลี่ยนอะไรบาง ขอด ู Operating Manualวาแกไขหรือไม ซ่ึงสามารถตรวจสอบจากเน้ือหา และวันที่ทํ าการ แกไข

๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ี๓.๑) สังเกตอุปกรณที่ท ําการดัดแปลงหรือติดตั้งใหมวา ไดด ําเนินการตามท่ีกํ าหนดไว

ในการช้ีบงอันตรายหรือใม

หมวด ๖การเตรียมการเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน

ขอ ๑๙ ตองจดัใหมีเครื่องอุปกรณดับเพลิงชนิดติดตั้งอยูกับที่ และชนิดเคลื่อนที่ไดเพียงพอและเหมาะสมกับชนิดของอันตรายที่มีอยูในโรงงาน

ขอ ๒๐ นํ ้าดับเพลิง ตองจัดหาแหลงนํ ้าใหมีปริมาณและแรงดันเพียงพอที่จะใชในการควบคุมเพลิงโดยมีหลักเกณฑดังตอไปนี้๒๐.๑) ปรมิาณนํ ้าพิจารณาจากการประเมิน กรณีไฟไหมที่ตองใชนํ ้ามากท่ีสุดในการ

ควบคุมเพลิง เปนเวลาไมนอยกวา 3 ช่ัวโมง๒๐.๒) แรงดันนํ ้าพิจารณาจากการประเมนิ กรณีไฟไหมที่มีการใชแรงดันนํ้ าสูงสุดสํ าหรับ

อปุกรณดับเพลิงขอ ๒๑ การออกแบบ การติดตั้งเครื่องอุปกรณดับเพลิงตองเปนไปตามมาตรฐานของ National

Fire Protection Association (NFPA)ขอ ๒๒ ตองบ ํารงุรกัษาอุปกรณดับเพลิง ตรวจสอบตามและทดสอบวิธีการ และระยะเวลาท่ี

ก ําหนดไวในมาตรฐาน NFPA หรือคํ าแนะน ําของบริษัทผูผลิตขอ ๒๓ ตองจัดทํ าแผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน และแผนผจญเพลิง (Pre-fire plan) ของเครื่อง

อปุกรณท่ีส ําคัญ ๆ ในโรงงาน พรอมทั้งจัดใหมีการฝกอบรม และฝกซอมตามแผนที่กํ าหนด

ขอ ๒๔ ตองจัดใหมีการทบทวนแผนควบคมุภาวะฉุกเฉินใหมีความสมบูรณ เปนปจจุบัน และมีประสิทธภิาพ ประสิทธิผลภายหลังการฝกซอม หรือหลังการเกิดอุบัติภัยรายแรง

Page 29: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๕

การตรวจสอบขอกํ าหนดนี้ตองการใหผูประกอบการเตรียมความพรอมที่จะรับมือกับเหตุการณอันไมพึง

ประสงคทีอ่าจจะเกิดขึ้นได ทั้งในแงของอุปกรณควบคุมเหตุฉุกเฉิน สิ่งที่พนักงานตองปฏิบัติแผนฉุกเฉินรวมท้ังวิธีการในการควบคุมเหตุฉุกเฉินตาง ๆ

๑) เอกสาร๑.๑) แผนฉุกเฉินของโรงงานควรจะครอบคลุมเรื่องตาง ๆ ดังนี้

๑.๑.๑) ข้ันตอนในการอพยพ และเสนทางการอพยพ๑.๑.๒) วิธีการตรวจนับจ ํานวนพนักงานภายหลังการอพยพ๑.๑.๓) วิธีการแจงเหต ุและการรายงานภาวะฉุกเฉิน๑.๑.๔) โครงสราง สายการบังคับบัญชา หนาที่และขั้นตอนการปฏิบัติงานของ

พนักงานในภาวะฉุกเฉิน๑.๑.๔.๑) พนกังานที่ท ําหนาที่ควบคุมเครื่องจักรอุปกรณในภาวะฉุก-

เฉิน๑.๑.๔.๒) พนักงานที่ท ําหนาท่ีกูภัย และปฐมพยาบาล

๑.๑.๕) รายช่ือ เบอรโทรศัพท บุคคล หนวยงานท่ีตองประสานงาน หรือขอความชวยเหลือ

๑.๑.๖) การประสานงานกับหนวยงานภายนอก๑.๑.๗) จุดรวมพล๑.๑.๘) การควบคุมการจราจร๑.๑.๙) ระบบแจงเหตุ๑.๑.๑๐) ประเภทของเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นได๑.๑.๑๑) อปุกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล๑.๑.๑๒) บนัทกึการฝกอบรมในเรื่องดับเพลิง การชวยเหลือผูประสบภัย เพื่อ

พิจารณาวาจ ํานวนผูไดรับการฝกอบรมมีจํ านวนเพียงพอหรือไม๑.๑.๑๓) ประวัตใินการปรับปรุงแผนฉุกเฉิน เปรียบเทียบกับบันทึกผลการฝก

ซอม และการรายงานอุบัติเหตุ๑.๑.๑๔) แผนฉุกเฉิน ครอบคลุมสารเคมีร่ัวไหลในปริมาณเล็กนอยหรือไม

Page 30: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๖

๑.๑.๑๕) แผนผจญเพลิง (Pre-fire Plan) ของอุปกรณท่ีสํ าคญั ตรวจสอบปริมาณการใชน้ํ าดับเพลิง และโฟม

๑.๑.๑๖) ตรวจสอบ Hydraulic Calculation ของระบบนํ้ าดับเพลิง๑.๑.๑๗) ตรวจสอบปริมาณนํ ้าดับเพลิง และโฟมทีโ่รงงานตองใชทั้งหมด

๒) การสัมภาษณ๒.๑)พนักงานใหสอบถามวา

๒.๑.๑) เหตุฉุกเฉินในโรงงาน มีประเภทใดบาง๒.๑.๒) ถาพบเห็นสารเคมีรั่วไหล จะตองท ําอยางไร เคยไดรับการฝกอบรม

หรือไม๒.๒)Operator ที่มีโอกาสพบเห็นสารเคมีรั่วไหล ใหสอบถามเพ่ือตรวจสอบวา มี

ความสามารถตอการปฏิบัติตามแผนควบคุมภาวะฉุกเฉินหรือไม โดยถามวา๒.๒.๑) สารเคมีที่รั่วออกมาเปนอะไร มีอันตรายอยางไร๒.๒.๒) ถาสารเคมีร่ัวออกมา จะเกิดเหตุฉุกเฉินอะไรไดบาง๒.๒.๓) ถาพบเห็นการรั่วไหลตองทํ าอะไรบาง

๒.๓)ทีมควบคุมภาวะฉุกเฉินใหสอบถามวา๒.๓.๑) ภาวะฉุกเฉินในโรงงานมีอะไรบาง๒.๓.๒) เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินแตละประเภท เขาตองท ําอยางไร๒.๓.๓) เครือ่งปองกันอันตรายสวนบุคคล มีแบบใดบาง ตองใชอะไร เม่ือไร๒.๓.๔) กรณีสารเคมีร่ัวไหล มีวิธีการจดัการอยางไร๒.๓.๕) กรณีท่ีรับมือไมไหว มีใครชวยไดบาง๒.๓.๖) ท ําอยางไรท่ีจะไมใหการจราจรติดขัดปองกันไมใหประชาชนท่ีไมมี หนาท่ีเก่ียวของเขามาในโรงงานไดอยางไร๒.๓.๗) ถามีผลกระทบตอเน่ืองไปถึงชุมชนจะมีวิธีการจัดการอยางไร๒.๓.๘) มีวิธีการแจงเตือนใหประชาชนทราบอยางไร

๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ี๓.๑) สังเกตระบบการแจงเหต ุการเตอืนภัยวา ครอบคลุมประเด็นตอไปนี้หรือไม

Page 31: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๗

๓.๑.๑) มรีะบบการแจงใหทราบถึงเหตุการณแตละประเภท เชน ไฟไหมสารเคมีร่ัวไหลหรือไม

๓.๑.๒) สัญญาณทีใ่ชเตือนพนักงาน สามารถเห็นหรือไดยินในขณะปฏิบัติงานหรือไม

๓.๑.๓) พนักงานสามารถบอกไดถูกตองวา สัญญาณใดตองทํ าอะไร๓.๑.๔) ระบบการแจงเหตุเตือนภัย ไดรับการบ ํารุงรักษาใหอยูในสภาพท่ีใช

งานได๓.๑.๕) มีการตรวจสอบ และทดสอบอุปกรณดับเพลิงอยางเหมาะสม๓.๑.๖) ภายหลังการตรวจสอบ และทดสอบอุปกรณดับเพลิงใหน ําอุปกรณ

เหลานี้กลับเขาประจ ําที่ทันที๓.๑.๗) อุปกรณดับเพลิงทีไ่มมีการตรวจสอบ ควรทดสอบอยางนอย ๒ เดือน

ตอครั้ง๓.๑.๘) ระบบท่ีมีการตรวจสอบ ควรทดสอบอยางนอยปละครั้ง๓.๑.๙) การตรวจสอบทดสอบอะไรควรท ําโดยบุคคลท่ีมีความรูความสามารถ๓.๑.๑๐) จดุทีแ่จงเหต ุสามารถเขาถึงไดงายหรือไม

๓.๒) สังเกตเสนทางอพยพวา มีส่ิงกีดขวางหรือไม มีแสงสวางเพียงพอในกรณีไฟฟาดบั ปายบอกทางมองเห็นไดชัดเจน น ําออกไปยังจุดที่ปลอดภัยได

๓.๓) สังเกตอุปกรณดับเพลิงวา อยูในสภาพท่ีใชงานได ไมมีส่ิงกีดขวาง มีการบํ ารุงรักษาตามระยะเวลา ที่ก ําหนด

๓.๔) สังเกตอุปกรณท่ีใชในการควบคุมภาวะฉุกเฉิน เชน การควบคุมการร่ัวไหลการดดูซับสารเคม ี เครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลวา มีการบํ ารุงรักษาใหอยูในสภาพท่ีดี

หมวด ๗การรายงานอุบัติเหตุ

ขอ ๒๕ ผูประกอบกิจการโรงงานตอง๒๕.๑) จัดทํ า และเก็บรักษาสถิติอุบัติการณ อุบัติเหต ุและอุบัติภัยรายแรง ซ่ึงเปนผลท่ีทํ า

ใหเกิดการ บาดเจ็บ เจ็บปวย ท่ีจํ าเปนตองไดรับการรักษาพยาบาลโดยแพทยหรือ

Page 32: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๘

ผูเช่ียวชาญ (ไมรวมถึงการปฐมพยาบาล) การหยุดงานหรือไมหยุดงานแตจํ าเปนตองเปลี่ยนงานใหม หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการสูญเสียสติสัมปชัญญะหรอืสญูเสียสมรรถภาพในการทํ างาน หรือจํ ากัดงาน หรือเสียชีวิต รวมท้ัง อุบัติการณ อุบัติเหต ุ และอุบัติภัยรายแรงที่ทํ าใหเกิดทรัพยสินเสียหาย การรั่วไหลของสารเคมี หรือไฟไหมจนเปนเหตุใหตองหยุดการผลิตบางสวนหรือทั้งหมด

๒๕.๒) กรณทีีม่อีบุัติเหตุในโรงงานอันเนื่องมาจากโรงงาน หรือเครื่องจักรของโรงงานเปนเหตุใหบุคคลถึงแกความตาย เจ็บปวย หรือบาดเจ็บ ซึ่งภายหลัง ๗๒ ช่ัวโมงแลวยังไมสามารถทํ างานในหนาท่ีเดิมได ใหผูประกอบกิจการโรงงาน จัดสงรายงานการสอบสวนอุบัติเหต ุตามแบบ ศภ.๐๐๑ ใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมภายใน๓ วนันบัแตวันตายหรือครบก ําหนด ๗๒ ช่ัวโมง แลวแตกรณี และในกรณีที่มีอบุตัเิหตุเปนผลใหโรงงานตองหยุดด ําเนินงาน เกินกวา ๗ วัน ให ผูประกอบกจิการโรงงานจัดสงรายงานสอบสวนอุบัติเหต ุตามแบบ ศภ.๐๐๑ ใหกรมโรงงานอตุสาหกรรม ภายใน ๑๐ วัน นับแตวันที่เกิดอุบัติเหตุ

๒๕.๓) ปรบัปรุงขอมูลสถิติอุบตัเิหตขุองโรงงานใหเปนปจจุบันภายใน ๑๐ วัน นับแตวันทีเ่กดิอบุัติเหตุและตองติดประกาศใหพนักงานทราบ

๒๕.๔) ลักษณะของขอมูลตองช้ีบงใหเห็นถึงสาเหตุของอุบัติเหตุ เครื่องอุปกรณที่เกี่ยวของ การบาดเจ็บ เจ็บปวย เสียชีวิต ความเสียหายตอทรัพยสินอยางชัดเจน

ขอ ๒๖ ตองสงส ําเนาเอกสารหลักฐานท่ีใชในการดํ าเนินการเพ่ือเรียกคาสินไหมทดแทน และ รายงานการสอบสวนของบริษัทประกันภัยใหแกกรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบภายใน ๓๐วนันบัแตวันที่ไดรับเอกสารหลักฐานและรายงานดังกลาว

ขอ ๒๗ ตองสรุปจํ านวนผูบาดเจ็บ เจ็บปวย เสียชีวิต และทรัพยสินท่ีเสียหายซ่ึงเกิดข้ึนในแตละปตามแบบ ศภ.๐๐๒ และสงใหกรมโรงงานอุตสาหกรรม พรอมทั้งติดประกาศสํ าเนาแบบศภ.๐๐๒ ใหคนงานทราบภายในวันท่ี ๑ มีนาคมของปถัดไป

Page 33: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๔๙

ขอ ๒๘ ตองเก็บรักษาส ําเนาแบบ ศภ.๐๐๑ และแบบ ศภ.๐๐๒ และขอมูลเกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุไวไมนอยกวา ๓ ป

ขอ ๒๙ การรายงานอุบัติเหตุกรณีมีผูเสียชีวิตหรือตองเขารับการรักษาพยาบาล ๒๙.๑) กรณทีีเ่กดิอุบัติเหต ุ และมีพนักงานเสียชีวิต หรือบาดเจ็บ หรือเจ็บปวยตองเขารับการ

รกัษาพยาบาลอยางนอย ๓ วัน ผูประกอบกิจการโรงงานตองปฏิบัติตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๔ โดยอยางนอยตองมีหนังสือแจงเจาหนา-ทีก่รมโรงงานอุตสาหกรรมหรืออุตสาหกรรมจังหวัดที่ใกลที่สุดทราบภายใน ๓วัน หลังเกิดอุบัติเหตุ

๒๙.๒) ในรายงานตองระบุถึงชื่อ สถานที ่ บริเวณท่ีเกิดเหตุ อุปกรณที่เปนสาเหตุของการเกิดอบุตัเิหต ุ กิจกรรมที่ก ําลังดํ าเนินการขณะเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุเบ้ืองตน เวลาท่ีเกิดเหตุจํ านวนผูเสียชีวิตหรือเขารักษาตัวในสถานพยาบาล ช่ือผูประสานงาน หมายเลขโทรศัพท รายละเอียดการเกิดอุบัติเหตุ

การตรวจสอบ๑. เอกสาร

๑.๑) ตรวจสอบ ศภ.๐๐๑ วาไดจัดท ําขึ้น อยางถูกตอง ครบถวนหรือไม๑.๒) ตรวจสอบ ศภ.๐๐๒ วาไดจัดท ําขึ้น อยางถูกตอง ครบถวนหรือไม๑.๓) ตรวจสอบบันทกึการรักษาพยาบาลในหองปฐมพยาบาลวา สอดคลองกับ ศภ.๐๐๑

และ ศภ.๐๐๒ หรือไม๑.๔) ตรวจสอบสถิติอุบัติเหตุของโรงงานวา สอดคลองตาม ศภ.๐๐๑ และ ศภ.๐๐๒ หรือ

ไม๑.๕) ตรวจสอบรายงานการ Claim เงินจากกองทุนเงินทดแทนวา สอดคลองกับ ศภ.๐๐๑

และ ศภ.๐๐๒ หรือไม๑.๖) รายงานการสอบสวนของบริษัทประกัน

๒) การสัมภาษณ๒.๑) หวัหนาหนวยงานความปลอดภัยใหสอบถามวา

๒.๑.๑) เม่ือมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ขั้นตอนการสอบสวนการรายงานอุบัติเหตุเปนอยางไร

Page 34: บทที่ ๓ แนวทางการตรวจสอบ...๑๗ กฎกระทรวงอ ตสาหกรรม ฉบ บท .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในพระราชบ

๕๐

๒.๑.๒) การรายงานสํ านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด หรือกรมโรงงานอุตสาห-กรรม เปนหนาที่ของใคร ตองท ําเม่ือไร

๒.๑.๓) มรีะบบที่นํ าเอาผลการสอบสวนไปดํ าเนินการแกไข ปองกันหรือไม๒.๒) พยาบาลประจ ําโรงงานใหสอบถามวา

๒.๒.๑) กรณีพนักงานไดรับอุบัติเหตุจากการท ํางาน มีขั้นตอนในการปฐม-พยาบาล และการสงตอผูปวยอยางไร

๒.๒.๒) กรณีเกิดอุบัติเหตุแลวน ําสงโรงพยาบาลทันท ี ใครเปนผูท ําใบสงตัวและจัดเก็บบันทึก

๒.๒.๓) อบุตัเิหตุที่เกิดขึ้น มีประเภทใดบาง๒.๒.๔) ผูประสบอุบัติเหตุแตละประเภท มีประเภทใดเพิ่มขึ้น ประเภทใดลด

ลงบาง๒.๓) พนักงาน ใหสอบถามวา

๒.๓.๑) เวลาเกิดอุบัติเหตุตองท ําอยางไรบาง๒.๓.๒) โรงงานเคยเอาแบบรายงานอุบัติเหตุมาปดประกาศใหทราบหรือไม ตรง

กับความเปนจริงหรือไม๒.๔) ผูรับเหมา ใหสอบถามวา

๒.๔.๑) เวลาเกิดอุบัติเหตุตองท ําอยางไรบาง๒.๔.๒) โรงงานเคยเอาแบบรายงานอุบัติเหตุมาปดประกาศใหทราบหรือไม ตรง

กับความเปนจริงหรือไม๓) การตรวจสอบพ้ืนท่ี

๓.๑) สังเกตอุปกรณ สถานท่ีท่ีไดระบุในการแกไข และปองกันการเกิดอุบัติเหตุใหท ําการปรับปรุงแกไขวา ไดมีการดํ าเนินการจริงหรือไม

๓.๒) มีการนํ าเอา ศภ.๐๐๒ มาปดประกาศใหพนักงานทราบหรือไม๓.๓) สังเกตปายประกาศตางๆ วา มีเรื่องอุบัติเหตุปดประกาศไวหรือไม สอดคลองกับ

ศภ.๐๐๑ หรือไม