บทที่ ๕...

25
๑๗บททีหลักธรรมและวัฒนธรรมไทย วรรณกรรมเปนผลงานของมนุษยที่เก็บรวบรวมความคิด ความเปนอยู ปรัชญาชีวิต จริยธรรม และลักษณะสภาพตาง ของมนุษยในสังคมไว โดยเฉพาะอยางยิ่งวรรณกรรมประเภท คําสอนเกี่ยวกับพุทธศาสนา นับวาเปนวรรณกรรมที่สามารถสะทอนภาพชีวิตความเปนอยูและคา นิยม ของคนในสังคม ใหประโยชนแกผูอานผูฟงอยางคุมคา เนื่องจากกวีผูประพันธนอกจากจะเปน นักประพันธแลวยังเปนหนวยหนึ่งของสังคม (วิทย ศิวะศริยานนท, ๒๕๔๑, หนา ๑๙๘) ดังนั้น ผลงานของกวีที่ประพันธขึ้นมา นอกจากจะใหความบันเทิงใจแลว ยอมจะตองเปนสื่อกลาง สะทอนภาพเหตุการณสวนหนึ่งของสังคมและประสบการณของกวีในสมัยนั้น ซึ่งบางแงมุม ประวัติศาสตรมิไดบันทึกไวไดอีกดวย (อุบล เทศทอง, ๒๕๓๒, หนา ๑๖๒) วรรณกรรมกลอนสวดเรื่อง มหาชมภูบดีสูตร เลขที๔๓๗ เปนวรรณกรรมเรื่องหนึ่งทีสะทอนภาพทัศนคติ หลักประพฤติ ปฏิบัติ ของชาวบานชาววัดในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ผานมุมมองหรือความนึกคิดแบบชาวบานชาววัดของกวี ซึ่งในการศึกษาวิเคราะหเรื่องดังกลาว จะศึกษาในเรื่องหลักธรรมและวัฒนธรรมไทยที่ปรากฏในเรื่อง หลักธรรม หลักธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนแบบอยาง เปนสิ่งที่มนุษยคิดขึ้นมา เพื่อใชเปนแนว ทางในการดําเนินชีวิตของบุคคลและสังคม เปนเครื่องอบรมขัดเกลาจิตใจ กอใหเกิดความหวัง เพื่อ ความสุขสบายในภายภาคหนา (สืบพงศ ธรรมชาติ, ๒๕๓๔, หนา ๓๓๔) การศึกษา เรื่องหลักธรรม ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที๔๓๗ เปนสวนหนึ่งที่สามารถสะทอนใหเห็นทัศนคติและ หลักประพฤติปฏิบัติของชาวบานชาววัดสมัยรัตนโกสินทรตอนตนไดเปนอยางดี หลักธรรมตาง ที่มีปรากฏในเรื่องมีดังนี. นิพพาน เปนหลักธรรมที่เปนเปาหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา .. ปยุตฺโต (๒๕๔๓, หนา ๗๖ ๗๗) ไดใหความหมายของนิพพานไวในพจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับ

Upload: others

Post on 05-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๗๔

บทที่ ๕

หลักธรรมและวัฒนธรรมไทย

วรรณกรรมเปนผลงานของมนุษยที่เก็บรวบรวมความคิด ความเปนอยู ปรัชญาชีวิต จริยธรรม และลักษณะสภาพตาง ๆ ของมนุษยในสังคมไว โดยเฉพาะอยางยิ่งวรรณกรรมประเภท คําสอนเกี่ยวกับพุทธศาสนา นับวาเปนวรรณกรรมที่สามารถสะทอนภาพชีวิตความเปนอยูและคานิยม ของคนในสังคม ใหประโยชนแกผูอานผูฟงอยางคุมคา เนื่องจากกวีผูประพันธนอกจากจะเปน นักประพันธแลวยังเปนหนวยหนึ่งของสังคม (วิทย ศิวะศริยานนท, ๒๕๔๑, หนา ๑๙๘) ดังนั้น ผลงานของกวีที่ประพันธข้ึนมา นอกจากจะใหความบันเทิงใจแลว ยอมจะตองเปนสื่อกลางสะทอนภาพเหตุการณสวนหนึ่งของสังคมและประสบการณของกวีในสมัยนั้น ๆ ซึ่งบางแงมุมประวัติศาสตรมิไดบันทึกไวไดอีกดวย (อุบล เทศทอง, ๒๕๓๒, หนา ๑๖๒) วรรณกรรมกลอนสวดเรื่อง มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ เปนวรรณกรรมเรื่องหนึ่งที่สะทอนภาพทัศนคติ หลักประพฤติ ปฏิบัติ ของชาวบานชาววัดในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ผานมุมมองหรือความนึกคิดแบบชาวบานชาววัดของกวี ซึ่งในการศึกษาวิเคราะหเร่ืองดังกลาว จะศึกษาในเรื่องหลักธรรมและวัฒนธรรมไทยที่ปรากฏในเรื่อง หลักธรรม หลักธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนแบบอยาง เปนสิ่งที่มนุษยคิดขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของบุคคลและสังคม เปนเครื่องอบรมขัดเกลาจิตใจ กอใหเกิดความหวังเพื่อ

ความสุขสบายในภายภาคหนา (สืบพงศ ธรรมชาติ, ๒๕๓๔, หนา ๓๓๔) การศึกษาเร่ืองหลักธรรม

ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ เปนสวนหนึ่งที่สามารถสะทอนใหเห็นทัศนคติและหลักประพฤติปฏิบัติของชาวบานชาววัดสมัยรัตนโกสินทรตอนตนไดเปนอยางดี หลักธรรมตาง ๆ ที่มีปรากฏในเรื่องมีดังนี้ ๑. นิพพาน เปนหลักธรรมที่เปนเปาหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา ป.อ. ปยุตฺโต (๒๕๔๓, หนา ๗๖ – ๗๗) ไดใหความหมายของนิพพานไวในพจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับ

Page 2: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๗๕

ประมวลธรรมวา คือ สภาพที่ดับกิเลสและกองทุกขแลว ภาวะที่เปนสุขสูงสุด เพราะไรกิเลสไรทุกขเปน อิสรภาพสมบูรณ เปนภาวะที่เขาถึงไดยาก ตองทําจิตใหสงบนิ่ง ดับกิเลสไดหมดสิ้น ผูที่บรรลุนิพพานไดชื่อวาอรหันต ไมมีความทุกขใด ๆ อีกตอไป การบรรลุนิพพาน มี ๒ ชั้น คือ ๑. สอุปาทิเสสนิพพาน หมายถึง ดับกิเลสยังมีปญจขันธเหลือ คือ พระอรหันตยังทรงชีพอยู ส้ินโทสะ โมหะ ราคะ รูชอบแลว หลุดพนแลว อารมณทั้งหลายดับแลว ๒. อนุปาทิเสสนิพพาน หมายถึง ดับกิเลสไมมีปญจขันธเหลือ คือ พระอรหันตส้ินชีพแลวจัดไดวาบรรลุอนุปาทิเสสนิพพาน ในไตรภูมิพระรวง (กรมศิลปากร, ๒๕๑๘, หนา ๒๙๒ – ๒๙๓) กลาวถึงพุทธปรัชญานิพพานไววา เปนความสุขเที่ยงแทที่ประเสริฐที่สุด ยิ่งกวาความสุขในสวรรคชั้นใด ๆ ทั้งสิ้น ไมมีเจ็บปวย ไมมีแกเฒาชรา ตาย หรือพลัดพรากจากกันใหบังเกิดทุกข ดังคําประพันธวา ...อันวานิพพานสมบัตินี้สนุกนิ์สุขเกษมนักหนาหาที่จะปานบมิไดเลยฯ สมบัติ อินทรพรหมทั้งหลายก็ดี ถาจะเอามาเปรียบดวยสมบัตินิพพานนั้น ประดุจหิ่งหอยเปรียบ ดวยพระจันทร ถามิดังนั้นดุจน้ําอันติดอยูปลายผมแล มาเปรียบดวยน้ํามหาสมุทรอันลึก ได ๘๔,๐๐๐ โยชน ผิบมิดังนั้นดุจเอาดินธุลีนั้นมาเปรียบดวยเขาพระสุเมรุ จักรรัตนวร อันประเสริฐแหงนิพพานนั้นบมิถวนเลยฯ สมบัติในนิพพานนั้นสุขจะพนประมาณแลวา หาอันจะเปรียบบมิได บมิรูเปนอาพาธพยาธิส่ิงใดบมิรูเฒาบมิรูแกบมิรูตายบมิรูฉิบหาย บมิรูพลัดพรากจากกันสักอัน... พุทธปรัชญานิพพานเปนอุดมคติที่พุทธศาสนิกชนไทยสมัยกอนปรารถนาจะไปใหถึง ไมวาในชาติที่มีชีวิตอยู ชาติหนา หรือชาติตอ ๆ ไป ความปรารถนาเชนนี้มักจะพบในวรรณกรรมสมัยกอน แตไมคอยพบในวรรณกรรมปจจุบัน เพราะแนวการเขียนไดเปลี่ยนไป ดวยเขาใจวาเปนเรื่องสุดวิสัยที่คนธรรมดาสามัญจะเดินทางไปถึงได (สืบพงศ ธรรมชาติ, หนา ๒๕๓๔, หนา ๓๙๙) ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กวีไดกลาวถึงหลักธรรมเรื่องนิพพานไวในตอนที่พระพุทธเจาสอนพระยาชมภูบดีใหตัดกิเลสตัณหาทางโลก เพื่อมุงสูความสุขแทจริงคือ นิพพาน ไมมีการเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏอีกตอไป ดังคําประพันธวา

Page 3: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๗๖

...๐ ตัถาคต69นี้พิศเคราะห70 เห็นแตเมืองพระนิพพาน บรมสําราญ เจริญสุขแสนทวี ๐ พนภัยมัจจุราช ชื่อตายเกิดมิไดมี ขามชาติกันดารดี สะดวกแทโดยทางธรรม ๐ องคพระตถาคต จะเสด็จเมืองแกวอัน สุขพนที่รําพัน บพิตรเจาจะควรจร ๐ โดยพระตถาคต นี้รักใครบดินทร จึงตรัสประโลมวอน หวังพาทาวเสด็จดล ๐ ความสุขจะร่ําไย ใหปวยกลาวเปนกังวล เมืองพระนิพพานคน ไปอยูลวนพระโยคา... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๗) เมื่อพระพุทธเจาเล็งเห็นบุญบารมีของนางกาญจนเทวีที่เคยสรางสมมา ทําใหสามารถสําเร็จนิพพานได พระพุทธองคก็ไดส่ังสอนธรรมใหนางกาญจนเทวีประสงคจะสําเร็จนิพพาน เพื่อพบความสุขเที่ยงแทจริง ไมมีการเกิดแกเจ็บตายอีกตอไป ดังคําประพันธวา ...๐ ตัวมหาอุบาสิกาเลา กุศลสรางมาอนันต ในอเนกชาติจะนับกัลป ก็แสนกัลปบริบูรณ ๐ ครบปจฉิมภวิชาติ นี้ควรจะเยียรยูร ขามโอฆสงสารควรจรพูน เขาสูภพนิฤพาน ๐ เปนเอกนัตบรมแสนสุข เกษมสุดที่รํ่าปาน ดวยขามชาติแดนอันกันดาร ดับพยาธิชรามรณ ๐ ชื่อตายเกิดนั้นบมิไดมี ในเมืองแกวสถาวร ฝูงชนอันสถิตในนคร บควรที่จะคณนา... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๑๗) ๒. ไตรลักษณ เปนพุทธปรัชญาอยางหนึ่งที่กลาวถึงลักษณะของสิ่งตาง ๆ ๓ ประการ ที่จะตองดําเนินไปเชนเดียวกัน ไดแก การเกิด การเสื่อม และแปรปรวน ไมมีอํานาจใดจะขัดขวางมิใหดําเนินไปตามธรรมชาติ ๓ ประการนี้ได ลักษณะอันเสมอกันของสังขารมี ๓ อยาง คือ 69

ตัถาคต (ปาก) = ตถาคต 70

พิศเคราะห (ปาก) = พิเคราะห

Page 4: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๗๗

๑. อนิจจํ คือ ความไมเที่ยงแทแปรปรวนอยูตลอดเวลาทั้งดานรางกาย จิตใจ ความคิด อารมณ ๒. ทุกขํ คือ ความเปนทุกขที่ทนอยูไมไดตองปรวนแปรเสมอ เชน ทุกขในเรื่องเกิด แก เจ็บ ตาย ทุกขเพราะผิดหวัง ทุกขเพราะมีโรคภัยเบียดเบียน ทุกขดวยความกระวนกระวายใจ ทุกขอันเกิดจากการกระทําของตนเอง ทุกขอันเกิดจากลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ทุกขในการทํามาหากิน ทุกขจากการทะเลาะวิวาทกัน และความทุกขสุขในดานรางกาย อารมณ ความรูสึก ๓. อนัตตา คือ ความไมแนนอน ไมเปนของตัว ไมใชของตน บังคับไมได ส่ิงใดเปนทุกขส่ิงนั้นไมเที่ยงแท มีรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เปลี่ยนแปลงไปเปนธรรมดา หามไมได ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กวีไดกลาวถึงหลักธรรมเรื่องไตรลักษณไวในตอนที่พระเจาราชาธิราช ถามพระยาชมภูบดีเร่ืองทรัพยสมบัติและญาติวงศ วามีมากนอยเทาใด และปจจุบันยังคงสภาพเดิมหรือไม พระยาชมภูบดีตอบวาเมื่อประยูรญาติของพระองคส้ินชีวิต ทรัพยสมบัติก็พินาศไปตามกาลเวลา พระพุทธเจาจึงสอนวาทุกสิ่งทุกอยางในโลกนี้ไมเที่ยงแท ส่ิงของ ชีวิต และลาภยศ ไมเปนแกนสาร ยอมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ส่ิงของยอมเสื่อมสลายไป สวนรางกายซึ่งประกอบไปดวยขันธ ๕ ยอมแตกดับตามกาลเวลา ความแปรปรวน เหลานี้กอใหเกิดความทุกข กวีกลาวเนนย้ําเรื่องไตรลักษณอยางมาก เพื่อใหผูอานผูฟงปลงกับความไมเที่ยงแทและแนนอนของชีวิต ดังคําประพันธวา ...๐ ปางสมเด็จพุทธากูร71 ตรัสวาวงศสูญ

สูประโลก72ลวงนาน ๐ สรรพเครื่องราชาสิงคาร มากพนประมาณ เปนมรดกเดิมมา ๐ ไดแกบพิตรเหลือตรา หรืออันตรธา73 สถิตอยูดําบลใด ๐ องคทาวชมภูทูลไข กระหมอมมิได ซึ่งมรดกเดิมดาย

71

พุทธากูร (ปาก) = พุทธางกูร 72

ประโลก (ปาก) = ปรโลก 73

อันตรธา (ตัดคํา) = อันตรธาน

Page 5: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๗๘

๐ องคขัตติยราชวางวาย ชีวงคตของหลาย ก็แหลกก็ยุยผุยผง ๐ ปางนั้นสมเด็จพุทธองค ตรัสวาผูทรง พิภพเกากอนกาล ๐ ลวงสูปรโลกเลยลาน สมบัติดรธาน ทั้งสิ้นทุกสิ่งสารพัน ๐ หอนเปนแกนสารสักอัน ของรักรูปขันธ ในโลกยอมแหลกเหลวไหล ๐ วงเวียนตายเกิดเกิดใน สามภพยอมได อาดูรเดือดรอนรน ๐ หอนเหือดแหงชาติเวียนวน เรียกสงสารกล คือเกิดในกองปฏิกูล74... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๒๙๘ – ๒๙๙) ๓. ทุกข ป.อ. ปยุตฺโต (๒๕๔๓, หนา ๗๓) ไดใหความหมายของทุกขวา คือ สภาพที่ทนไดยาก ความทุกข ความไมสบาย ทุกขทางพุทธศาสนา หมายถึง ทุกขตา คือ ความเปนทุกข ภาวะแหงทุกข สภาพทุกข ความเปนสภาพที่ทนไดยาก หรือคงอยูในภาวะเดิมไมได มี ๓ ประการ ๑. ทุกขทุกขตา คือ สภาพทุกขคือทุกข หรือความเปนทุกขเพราะทุกข ไดแก ทุกขเวทนาทางกายและใจ ซึ่งเปนทุกขอยางที่เขาใจสามัญ ตรงตามชื่อตามสภาพ ๒. วิปริณามทุกขตา คือ ความเปนทุกขเพราะความแปรปรวน ไดแก ความสุข ซึ่งเปนเหตุใหเกิดความทุกข เมื่อตองเปลี่ยนแปลงไปเปนอื่น ๓. สังขารทุกขตา คือ ความเปนทุกขเพราะสังขาร ไดแก ตัวสภาวะของสังขาร คือ ส่ิงทั้งปวงซึ่งเกิดจากปจจัยปรุงแตงที่ถูกบีบค้ันดวยการเกิดขึ้น และสลายไป ทําใหคงสภาพอยูไมได พรองอยูเสมอ และใหเกิดทุกขแกผูยึดถือดวยอุปาทาน ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กวีกลาวถึงทุกข ๔ ประการ คือ ชาติทุกข

74

ปฏิกูล (ปาก) = ปฏิกูล

Page 6: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๗๙

ทุกขเพราะการเกิด ชราทุกข ทุกขเพราะแกเฒา พยาธิทุกข ทุกขเพราะโรคภัยไขเจ็บ และมรณทุกข

ทุกขเพราะการตายการพลัดพราก ซึ่งเปนความทุกขที่จะตองเกิดขึ้นกับชีวิตสัตวทุกชีวิตที่ยังเวียนวายตายเกิดอยูในสังสารวัฏ ดังคําประพันธวา ...๐ คราวสุขเสวยสุข แลวกลับทุกขทรมาน เรียกโอฆกันดาร อาดูรภาพพึงชัง ๐ ชื่อวาชาติทุกข ชราทุกขยอมรึงร้ัง พยาธิทุกขัง มรณังอนันตเนือง ๐ กําหนดในสังขาร ระทมทุกขไมรูเปลื้อง ส่ิงขอรําคาญเคือง ก็คงเต็มทุกตัวตน ๐ มัจจุราชยอมเบียดเบียน ชีวิตสัตวในสากล โลกนี้บหอนพน มรณภาพความตาย... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๖) ๔. ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๕ หรือเบญจศีล คือ ความประพฤติชอบทางกายและวาจา การรักษากายวาจาใหเรียบรอย การรักษาปกติตามระเบียบวินัย ขอปฏิบัติในการเวนจากความชั่ว การควบคุมตนใหตั้งอยูในความไมเบียดเบียน มี ๕ ประการ ๑. ปาณาติปาทา เวรมณี คือ เวนจากการปลงชีวิต เวนจากการฆา การประทุษรายกัน ๒. อทินนาทานา เวรมณี คือ เวนจากการถือเอาของที่เขามิไดให เวนจากการลักโกง ละเมิดกรรมสิทธิ์ ทําลายทรัพยสิน ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี คือ เวนจากการประพฤติผิดในกาม เวนจากการลวงละเมิดสิ่งที่ผูอ่ืนรักใคร หวงแหน ๔. มุสาวาทา เวรมณี คือ เวนจากการพูดเท็จ โกหก หลอกลวง ๕. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี คือ เวนจากน้ําเมา คือสุรา และเมรัย อันเปนที่ตั้ง

Page 7: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๐

ศีล ๘ หรือ อัฏฐศีล คือ การรักษาระเบียบทางกายวาจา ขอปฏิบัติในการฝกหัดกายวาจา

ใหยิ่ง ๆ ข้ึนไป มี ๘ ประการ ๕ ประการแรกเหมือนศีล ๕ ตางกันที่ศีลขอ ๓ ในศีล ๘ หมายถึง เวนจากการประพฤติผิดพรหมจรรย คือ เวนจากการรวมประเวณี (สุภาพรรณ ณ บางชาง, ๒๕๓๕, หนา ๒๒๔) สวนประการที่ ๖ – ๘ คือ ๖. วิกาลโภชนา เวรมณี คือ เวนจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือ ตั้งแตเที่ยงแลวไปจนถึงรุงอรุณของวันใหม ๗. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนมาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฐานา เวรมณี คือ เวนจากการฟอนรํา ขับรอง บรรเลงดนตรี ดูการละเลน อันเปนขาศึกตอพรหมจรรย การทัดทรงดอกไม ของหอม และเครื่องลูบไล ซึ่งใชเปนเครื่องประดับตกแตง ๘. อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี คือ เวนจากที่นอนอันสูงใหญหรูหราฟุมเฟอย ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ พระเจาราชาธิราชทรงสอนธรรมแกพระยาชมภูบดีวา มนุษยที่ไมรักษา ศีล ๕ ศีล ๘ และพูดเท็จ จะตองไปชดใชกรรมในนรก ดังคําประพันธวา ...๐ หญิงชายชาวมนุษยวาที เท็จทนเวทนี75 นรกลําบากบแคลน ๐ ชนเกิดในภพดาวแดน โลกนี้เหลือแสน ลวนอักกุศล76สันดาน ๐ ศีลหาศีลแปดแกนสาร เมินไมพยาบาล บํารุงแตบาปเบียดเบียน... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๒๙๙) ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กวีจะเนนเรื่องการพูดเปนพิเศษ เนื่องจากอาจเห็นวาเปนหลักปฏิบัติที่เกี่ยวของกับผูอานผูฟงมากที่สุด เปนสิ่งที่ปุถุชนทั่วไปมักจะละเลยไมใหความสําคัญ กวีจึงกลาวย้ําเตือนหลายครั้ง ดังคําประพันธวา ...๐ องคจุลจอมราชฤๅมา ตรัสคํามุกสา77 จะสูนรกรอนรน 75

เวทนี (บาลีทองถิ่น) = เวทนา 76

อักกุศล (ปาก) = อกุศล 77

มุกสา (ปาก) = มุสา

Page 8: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๑

๐ ความสัจประเสริฐกุศล ตายสูเบื้องบน สวรรคเปนสุขสมปอง... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๐) ๕. มรรค ๔ ผล ๔ เปนหลักธรรมขอหนึ่งในโลกุตรธรรม หมายถึง ธรรมอันพนวิสัยของโลก มีมรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ เปนความรูที่ละจากเครื่องผูกพันรัดรึงกิเลสของคนไว ป.อ. ปยุตฺโต (๒๕๔๓, หนา ๑๕๐ – ๑๕๑) ใหความหมายของมรรค ๔ ผล ๔ วา มรรค ๔ คือ ทางเขาถึงความเปนอริยบุคคล ญาณที่ทําใหละสังโยชนไดขาด มี ๔ ประการ ๑. โสดาปตติมรรค คือ มรรคอันใหถึงกระแสที่นําไปสูพระนิพพานทีแรก มรรคอันใหถึงความเปนพระโสดาบัน เปนเหตุใหละสังโยชนได ๓ ขอ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ๒. สกทาคามิมรรค คือ มรรคอันใหถึงความเปนพระสกทาคามี เปนเหตุละสังโยชนได ๓ ขอตน กับทําใหราคะ โทสะ โมหะ เบาบางลง ๓. อนาคามิมรรค คือ มรรคอันใหถึงความเปนพระอนาคามี เปนเหตุละสังโยชนเบื้องต่ําไดทั้ง ๕ ๔. อรหัตตมรรค คือ มรรคอันใหถึงความเปนพระอรหันต เปนเหตุละสังโยชนไดหมดทั้ง ๑๐ ผล ๔ คือ ผลที่เกิดสืบเนื่องจากการละกิเลสไดดวยมรรค ธรรมารมณอันพระอริยะพึงเสวย ที่เปนผลเกิดเองในเมื่อกิเลสสิ้นไปดวยอํานาจมรรคนั้น ๆ มี ๔ ประการ ๑. โสดาปตติผล คือ ผลแหงการเขาถึงกระแสที่นําไปสูพระนิพพาน ผลอันพระโสดาบันพึงเสวย ๒. สกทาคามิผล คือ ผลอันพระสกทาคามีพึงเสวย ๓. อนาคามิผล คือ ผลอันพระอนาคามีพึงเสวย ๔. อรหัตตผล คือ ความเปนพระอรหันต ผลอันพระอรหันตพึงเสวย ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กลาววา นางกาญจนเทวีไดบําเพ็ญเพียรบารมีจนสําเร็จมรรคผล ดังคําประพันธวา ...๐ โฉมกาญจนา รับพุทธฎีกา กราบบังคมคัล สามคาบแลวลา จักเวฬุวัน สูสํานักอัน องคพระอุบล ๐ ใหอุปสมบท ตามพุทธกําหนด ภิกขุนีบัดดล นางประพฤติตาม โอวาททศพล บัดลุมรรคผล สัมภิทาญาณ...

Page 9: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๒

(มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๑๘) เมื่อสุคคตกุมารไดเลาเรียนกรรมฐาน สุดทายสามารถสําเร็จมรรคผลไดเชนกัน ดังคําประพันธวา ...๐ สวนราชโอรส สมเด็จสุคคต ใหบรรพชาการ เปนพระสามเณร เรียนกรรมฐาน ไมชาไมนาน มรรคผลไพบูลย... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๑๘) ๖. ปฏิสัมภิทาญาณ ป.อ. ปยุตฺโต (๒๕๔๓, หนา ๑๔๔) ใหความหมายของปฏิสัมภิทาไววา คือ ปญญาแตกฉาน มี ๔ ประการ คือ ๑. อัตถปฏิสัมภิทา คือ ปญญาแตกฉานในอรรถ ปรีชาแจงในความหมาย เห็นขอธรรมหรือความยอก็สามารถแยกแยะอธิบายขยายออกไปไดโดยพิสดาร เห็นเหตุอยางหนึ่งก็สามารถคิดแยกแยะกระจายเชื่อมโยงตอออกไปจนลวงรูถึงผล ๒. ธัมมปฏิสัมภิทา คือ ปญญาแตกฉานในทางธรรม ปรีชาแจงในหลัก เห็นอรรถาธิบายพิสดารก็สามารถจับใจความมาตั้งเปนกระทูหรือหัวขอได เห็นผลอยางหนึ่งก็สามารถสืบสาวกลับไปหาเหตุได ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา คือ ปญญาแตกฉานในนิรุกติ ปรีชาแจงในภาษา รูศัพท ถอยคําบัญญัติและภาษาตาง ๆ เขาใจคําพูดชี้แจงใหผูอ่ืนเขาใจและเห็นตามได ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา คือ ปญญาแตกฉานในปฏิภาณ ปรีชาแจงในความคิดทันการ มีไหวพริบซึมทราบในความรูที่มีอยู เอามาเชื่อมโยงเขา สรางความคิดและเหตุผลข้ึนใหม ใชประโยชนไดสบเหมาะ เขากับกรณีและเหตุการณ ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กลาวถึงหลักธรรมเรื่องปฏิสัมภิทา ในตอนที่พระพุทธเจาเล็งเห็นบุญบารมีของพระยาชมภูบดีที่ไดสรางสมมา ทําใหพระยาชมภูบดีสามารถสําเร็จปฏิสัมภิทาญาณ เจริญสูนิพพานได ดังคําประพันธวา ...๐ ชาตินี้เปนที่สุด ปฏิสัมภิทาญาณ ควรแลวจะโปรดปราน ปรานีทาวใหถึงผล... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๒๘๑) ๗. กรรมฐาน ป.อ. ปยุตฺโต (๒๕๔๓, หนา ๘๑) ใหความหมายของกรรมฐานไววา คือ อารมณเปนที่ตั้งแหงงานเจริญภาวนา ที่ตั้งแหงงานทําความเพียร ฝกอบรมจิต วิธีฝกอบรมจิต หมายถึง ภาวนา คือ การเจริญ การทําใหเกิดใหมีข้ึน การฝกอบรมจิต มี ๒ ประการ คือ ๑. สมถภาวนา คือ การฝกอบรมจิตใหเกิดความสงบ การฝกสมาธิ

Page 10: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๓

๒. วิปสสนาภาวนา คือ การฝกอบรมปญญาใหเกิดความรูแจงตามเปนจริง การเจริญปญญาสองอยางนี้ในบาลีที่มาเรียกวา ภาเวตัพพธรรม และอวิชชาภาคิยธรรม ในคัมภีรสมัยหลังเรียกวา กรรมฐาน ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กลาวถึงกรรมฐานในตอนที่สุคคตกุมารขอบวชเปนสามเณร ไดเลาเรียนกรรมฐาน จนสําเร็จมรรคผล ดังคําประพันธวา ...๐ สวนราชโอรส สมเด็จสุคคต ใหบรรพชาการ เปนพระสามเณร เรียนกรรมฐาน ไมชาไมนาน มรรคผลไพบูลย... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๑๘) จากตัวอยางหลักธรรมในเบื้องตนจะเห็นไดวา หลักธรรมตาง ๆ ตามคติพุทธศาสนาที่มีปรากฏในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ มี ๒ ระดับ คือ โลกิยธรรม เปนขอประพฤติปฏิบัติสําหรับผูที่ยังเกี่ยวของกับโลก ไดแก การไมกระทําความชั่วทางกาย วาจา ใจ หมั่นกระทําความดีทางกาย วาจา และทําใจใหผองใส ธรรมอีกระดับหนึ่งคือโลกุตรธรรม เปนขอประพฤติปฏิบัติที่ชวยใหพนโลก ดับกิเลสตัณหาตาง ๆ ไดหมดสิ้น ไมมีการเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏอีก ซึ่งในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ เนนย้ําใหพุทธศาสนิกชนประพฤติปฏิบัติธรรมเพื่อผลระดับโลกุตรธรรมมากที่สุด ถึงแมจะเปนสิ่งที่เขาถึงหรือปฏิบัติตามไดยาก แตก็นับวาเปนหลักธรรมที่สามารถยึดเหนี่ยวจิตใจชาวพุทธใหยึดมั่นเลื่อมใสศรัทธาตอพระพุทธศาสนาไดเปนอยางดี วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางอันเปนแบบแผนในความคิด และการกระทําที่ แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษยในสังคมกลุมใดกลุมหนึ่งหรือสังคมใดสังคมหนึ่ง (สุพัตรา สุภาพ, ๒๕๓๖, หนา ๙๙) รวมไปถึงลักษณะสิ่งที่แสดงความเจริญงอกงาม และเปนสิ่งที่นิยมประพฤติกันสืบมา อาจเปนสิ่งที่มนุษยเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือผลิตสรางขึ้นเพื่อความเจริญงอกงามแหงชีวิต สามารถถายทอดได เลียนแบบกันได อาจเปนลักษณะความประพฤติ กิริยาอาการ หรือการกระทําใด ๆ ของมนุษยที่ลงรูปเปนพิมพเดียวกัน วรรณกรรมกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ สะทอนภาพวัฒนธรรมตาง ๆ สมัยรัตนโกสินทรตอนตน ไดแก ความศรัทธาตอพระพุทธเจา ความเชื่อ คานิยม การแตงกาย การแสดงความเคารพ การประทักษิณ และวัฒนธรรมทางวัตถุ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

Page 11: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๔

๑. ความศรัทธาตอพระพุทธเจา ความศรัทธา หมายถึง ความเลื่อมใส (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๖, หนา ๑๐๙๓) เปนการนับถือหรือเชื่อมั่นในสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางมาก เชื่อมั่นแนวแนวาสิ่งนั้น ๆ ดีประเสริฐและเกิดขึ้นจริง จนยากที่จะปรับเปลี่ยนความคิดนั้นไปเปนอ่ืนหรือในทางตรงขาม ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กวีไดสะทอนใหเห็นถึงความเลื่อมใสศรัทธาของชาวพุทธที่มีตอพระพุทธเจาอยางเหนียวแนน โดยศรัทธาวาพระพุทธเจาเปน ผูประเสริฐเพียบพรอมดวยจริยวัตรอันงดงามและมีบุญบารมีมาก ความเลื่อมใสศรัทธานี้ไดสะทอนออกมาทางการพรรณนาลักษณะมหาบุรุษของพระพุทธเจาและพุทธประวัติที่พิสดาร เปยมไปดวย ปาฏิหาริยอัศจรรยตาง ๆ เพื่อใชเปนกุศโลบายใหพุทธศาสนิกชนเคารพ เชื่อถือ และเลื่อมใสศรัทธา องคศาสดา ความเลื่อมใสศรัทธาตอพระพุทธเจาที่มีปรากฏในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ มีดังนี้ ๑.๑ มหาปุริสลักษณะ ชาวพุทธเชื่อวาพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนผูที่มีบุญบารมีมาก ยอมจะตองมีลักษณะที่ประเสริฐแตกตางจากบุคคลสามัญทั่วไป พระพุทธเจาเปนผูถึงพรอมดวยมหาปุริสลักษณะ คือ ลักษณะของมหาบุรุษ ประกอบดวย ทวดึงสลักษณะ อสีตยานุพยัญชนะ และมีฉัพพรรณรังสีฉายออกจากพระวรกาย ความเชื่อดังกลาวนี้มีปรากฏในวรรณกรรมไทยหลายเรื่อง เชน ไตรภูมิพระรวง (กรมศิลปากร, ๒๕๑๘, หนา ๒๓๓ – ๒๓๔) ไดกลาวถึงเรื่องฉัพพรรณรังสีไววา ...ดังเมื่อพระพุทธเจากระทําพระปาฏิหาริยดวยฤทธิ์อันชื่อวาอิทธิวิธิญาณดวย ใจอันชื่อโสมนัสสหคตญาณสัมปยุตตอสํขาริกจิตตมหาฉพรรณรังษีพระรัสมีทั้ง ๖ ส่ิงฯ แลวาพระรัสมีฝูงนั้นมีพรรณดังฤๅบางสิ้นฯ พระรัสมีอันหนึ่งแลมีพรรณเขียวงามดังดอก อัญชัน แลดังดอกนิลลุบลแลดอกผักตบดังแววนกยูงแลปกแมลงภูฯ แลวาพระรัสมีอัน หนึ่งมีพรรณอันเหลืองงามดังดอกกัณณิการแลหรดาลแลทองสุกอันชื่อวาชมพูนุทฯ แลวา พระรัสมีอันหนึ่งมีพรรณแดงดังแสงน้ําครั่งแลชาติหิงคุ แลดอกชบาดังดอกถีทับทิมฯ แล พระรัสมีอันหนึ่งมีพรรณขาวแลงามดังดอกพุดแลสังขฯ แลพระรัสมีอันหนึ่งแดงออนแล งามดังดอกอโนชา แลดอกชบาเทศแลดอกเทียนไทยแลดอกทองฟาอันออกแสงดัง

Page 12: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๕

ทองแดงอันทานขัดฯ แลพระรัสมีอันหนึ่งมีพรรณอันใส แลเหลืองแลงามดังดาวประกายพรึก แลผลึกรัตนะแลแลวจึงฉวัดเฉวียนเวียนใหรุงเรือง แลฝูงพระรัสมีทั้งหลายอันออกจาก พระองคพระพุทธเจาแลฯ... ในปฐมสมโพธิกถา (สังวร ยุตฺตสงฺวโร, ๒๕๑๖, หนา ๔๓ – ๕๓) ปริเฉทที่ ๔ ลักขณปริคคาหกปริวรรต ไดกลาวถึงทวดึงสลักษณะ คือ ลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ และอสีตยานุพยัญชนะ คือ ลักษณะนอย ๆ ในรางกายมหาบุรุษ ๘๐ ประการ ดังคําประพันธวา ...พระราชกุมารประกอบดวยทวดึงสมหาบุรุษลักษณะพรอมทั้ง ๓๒ จะมีคติ สองประการ ผิวสถิตอยูในฆราวาสจะเปนบรมจักรพรรดิ ผิวออกทรงบรรพชาจะไดตรัส เปนพระสัมมาสัมพุทธเจา สุปติฏฐิตปาโท แลพระราชกุมารนี้มีพื้นฝาพระบาททั้ง ๒ เสมอเปนอันดีดุจพื้นฉลองพระบาททอง ขณะเมื่อเหยียบลงก็ถูกตองพื้นพรอมกัน ขณะ เมื่อยกขึ้นก็พนจากพื้นพรอมกัน อันนี้จัดเปนพระมหาบุรุษลักษณะเปนปฐม จึ่งมีคํา ปุจฉาวาพระโพธิสัตวทรงทํากุศลสิ่งดังฤๅ จึ่งไดพระลักษณะอันนี้ วิสัชนาวา ในบุเรชาติ พระมหาบุรุษราชไดสมาทานมั่นในกุศลมิไดกลับกลอก ทรงประพฤติในกายสุจริต วจี สุจริต มโนสุจริต จําแนกทานแลรักษาเบญจศีลแลอุโบสถศีล ทําใหเปนประโยชนแก บิดามารดา เคารพในตระกูลผูเฒาผูแก ทําลายเบญจขันธข้ึนไปบังเกิดในเทวโลก เสวย ทิพยสมบัติประเสริฐยิ่งกวาเทพดาอื่น ๆ ดวยเหตุ ๑๐ ประการ มียิ่งดวยทีฆายุเปนอาทิ จุติมาบังเกิดในปจฉิมชาติจึ่งไดพระมหาบุรุษลักษณะอันนี้ แลวก็ทูลทํานายพระลักษณะ อ่ืนสืบตอไปวา เหฏฐาปาทตเลสุ จกฺกานิ ชาตานิ พระราชกุมารนี้มีพื้นฝาพระบาททั้ง สอง ประกอบดวยลายลักษณะกงจักรขางละอัน... ใชแตเทานั้นพระราชกุมารนี้ประกอบดวยพระอสีตยานุพยัญชนะพระลักษณะ นอยอีก ๘๐ ทัศ คือมีนิ้วพระหัตถแลนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม ๑ นิ้วพระหัตถแลนิ้ว พระบาทเรียวออกไปโดยลําดับแตตนจนปลายนั้น ๑ นิ้วพระหัตถแลนิ้วพระบาทกลมดุจ

Page 13: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๖

นายชางกลึงเปนอันดีนั้น ๑ พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง ๑ พระนขาทั้ง ๒๐ นั้นงอน งามชอนขึ้นเบื้องบนมิไดคอมลงในเบื้องต่ําดุจเล็บแหงสามัญชนทั้งปวงนั้น ๑ พระนขา นั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลมสนิทมิไดร้ิวรอยนั้น ๑ ขอพระหัตถแลขอพระบาทซอนอยูใน พระมังสะมิไดสูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอกนั้นประการ ๑ พระบาททั้งสองเสมอกันมิได ยอมใหญกวากันมาตรวาเทาเมล็ดงานั้น ๑ พระดําเนินงามดุจอาการดําเนินแหงกุญชร ชาติ ๑... ความเชื่อเร่ืองมหาปุริสลักษณะนี้ สุทธิวงศ พงศไพบูลย (๒๕๑๘, หนา ๔๑) ไดใหขอคิด วาเปนภาษาธรรมที่มีนัยแฝงอยู เชน ลักษณะมหาบุรุษของพระพุทธเจาที่วา “พื้นฝาพระบาททั้งสอง เสมอเปนอันดี ขณะเมื่อเหยียบลงก็ถูกตองพื้นพรอมกัน ขณะเมื่อยกขึ้นก็พนจากพื้นพรอมกัน” สามารถตีความไดวา มหาบุรุษผูสรางสมภูมิธรรมไวมาก ยอมประกอบกรรมทั้งปวงโดยปราศจากอคติ หรือลักษณะมหาบุรุษที่วา “มีชิวหาอันออนแลกวางยาวยิ่งกวาชนทั้งปวง โดยยาวนั้นอาจแลบลูบชองพระนาสิกทั้งสอง แลเลี้ยวกระหวัดถึงพระกรรณทั้งสองขางได โดยกวางนั้นอาจแลบแผปกปริมณฑลพระนลาฏไดทั่วทั้งสิ้น” ตีความไดวา มหาบุรุษยอมมีถอยคําวาจาอันลึกซึ้งและมีอรรถรสอยางไพศาล สามารถเจรจาถอยคําที่กอใหเกิดความคิดและเปนปยวาจา ใหเขาถึง หูคนอื่นและหูตนเองได สวนการที่พระพุทธเจามีฉัพพรรณรังสีฉายออกจากพระวรกายนั้น สามารถตีความไดวา มหาบุรุษที่มีเรือนธรรมประกอบดวยธรรมานุธรรมะอันประเสริฐทั้งปวง เรือนจิตนั้นก็ยอมรุงเรืองโอภาสดวยวิชาปราชญ ผูถึงปญญาก็ยอมเห็นแสงอันนั้น และเรียกธรรมคุณอันนั้นวา ผูมีรัศมีโอภาส เพราะพระธรรมคุณยอมขจัดอวิชชาไดอยางไพศาล ดังนี้เปนตน

Page 14: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๗

สวนวรรณกรรมกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ไดกลาวถึงมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาไววา พระองคมีรัศมีฉายซานออกจากพระวรกาย พรอมดวยทวดึงสลักษณะ และอสีตยานุพยัญชนะ ดังคําประพันธวา ...องคพระจอมปนเกลา สมเด็จพระเจาราชา สถิตมหาบัลลังกรัตน ใตเศวกฉัตรเฉกโฉม ควรเปนโจมจอมโลก พรอมวรโชคชัยชาญ รัศมีซานโสดแสง ไพโรจนแรงรุงเรือง เขียวขาวเหลืองบวร เลื่อมประภักษรหงสิบบาท78 รัตโนภาสพอพึง พรอมทวดึงสลักษณะ นุเพียรชนะอสีติยา มีประการะตางตาง หกพันรางเรืองรุง พลามโพลงพลุงจากพระกาย พรรณรายพรายทั่วภพ กลบพระอาทิตยปดพระจันทร โดยมหันตนุคุณ บุญเลิศบุญบุญเหลือบุญ โดยทรงพระมหาการุณย รอบขอบ จักรวาล... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๒๙๔) ชาวพุทธเลื่อมใสศรัทธาเรื่องมหาปุริสลักษณะอยางยิ่ง กลายเปนคุณลักษณะหนึ่งของพระพุทธเจาที่แสดงออกถึงความเปนผูมีบุญบารมีและประเสริฐเลิศล้ํา นับวากวีมีภูมิปญญาในการชักจูงใจและสรางศรัทธาใหชาวพุทธผูอานหรือฟงเนื้อเร่ืองเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในพุทธประวัติและพุทธศาสนาไดเปนอยางดี ๑.๒ ปาฏิหาริย หมายถึง ส่ิงที่นาอัศจรรย (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๖, หนา ๖๙๔) สังวร ยุตฺตสงฺวโร (๒๕๑๖, หนา ๔๗๕) กลาวถึงการแสดงปาฏิหาริยไวในภาควิจารณ ปฐมสมโพธิกถาวามี ๓ ประการ คือ (๑) อิทธิปาฏิหาริย เชน การนิมิตตัว ลองหน เหาะเหิน เปนตน (๒) อาเทศนาปาฏิหาริย เชน การดักใจ ทายใจคนไดถูกตอง (๓) อนุศาสนปาฏิหาริย คือ คําสอนอันจูงใจคนใหดีไปตาม ชาวพุทธเลื่อมใสศรัทธาบุญบารมีของพระพุทธเจามาก นอกจากพระองคจะเปนผูที่มีพุทธานุภาพ คือ มีคําสอนที่เปนจริงเที่ยงแทแลว พระองคยังเปนผูมีฤทธานุภาพ สามารถแสดงปาฏิหาริยตาง ๆ ซึ่งจัดวาเปนหนึ่งในกระบวนการสั่งสอนธรรม และปราบมารตามลักษณะบุคคล กวีนําเรื่องปาฏิหาริยมาใชในการประพันธเพื่อเสริมคุณลักษณะของพระพุทธเจาอันเปนที่เลื่อมใสศรัทธายิ่งของกวีและชาวพุทธใหเปนผูที่ประเสริฐมีบุญบารมีเหนือบุคคลธรรมดาทั่วไป จึงตองนํา 78

ประภักสรหงสิบบาท (ปาก) = ประภัสสรหงสบาท

Page 15: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๘

เร่ืองปาฏิหาริยมาใชประพันธใหเนื้อเร่ืองวิจิตรพิสดาร มิใหยิ่งหยอนไปกวาเทพเจาผูเปนใหญในศาสนาหรือลัทธิอ่ืน ๆ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, ๒๕๓๙, หนา ๔๒) วรรณกรรมพุทธศาสนาสวนใหญที่อางวาเปนพุทธประวัติ มักนําเรื่องปาฏิหาริยมาเสริมใหพระพุทธเจาและพุทธสาวกนาเคารพเลื่อมใสศรัทธามากยิ่งขึ้น เชน ในพระนิพนธของสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (สังวร ยุตฺตสงฺวโร, ๒๕๑๖, หนา ๑๖๖ – ๑๘๐) เรื่องปฐมสมโพธิกถา ปริเฉทที่ ๑๕ อุรุเวลคมนปริวรรต พระพุทธเจาทรงแสดงปาฏิหาริยปราบอุรุเวลกัสสปะ หัวหนาชฎิล ผูสําคัญตนผิดวาเปนพระอรหันต พระพุทธเจาแสดงฤทธิ์สูพญานาค รูจิตใจของอุรุเวลกัสสปะ นําผลหวามาจากตนหวาประจําทวีป นําดอกปาริฉัตรมาจากดาวดึงส แสดงปาฏิหาริยฝาฟน ๕๐๐ ดุน ทําใหไฟ ๕๐๐ กอง ลุกไหมพรอมกัน และเนรมิตเตาไฟ เปนตน ทําใหอุรุเวลกัสสปะและ บริวารยอมเปนสาวกและหันมานับถือพระพุทธเจา สวนในทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร (บรรจบ บรรณรุจิ, ๒๕๓๘, หนา ๕๔ – ๕๖) กลาวถึงพระพุทธเจาแสดงปาฏิหาริยหายตัวขามแมน้ํา คร้ังเมื่อเดินทางกลับจากฉันพระกระยาหารที่สุนิธะและวัสสการะอํามาตยผูใหญของแควนมคธ จัดถวาย นอกจากนี้พระพุทธเจายังทรงแสดงพุทธานุภาพทําน้ําขุนใหกลายเปนน้ําใสอีกดวย หรือ ในเรื่อง นันโทปนันทสูตรคําหลวง นันโทปนันทะนาคราชก็หันมายอมรับนับถือพระพุทธศาสนา หลังจากถูกพระโมคคัลลานะเถระทรมานและไดฟงธรรมเทศนาจากพระพุทธเจาแลว เปนตน ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กวีสรางเรื่องใหพระพุทธเจาทรงแสดงปาฏิหาริยทั้ง ๓ ประการ ดังนี้ ๑.๒.๑ อิทธิปาฏิหาริย เปนการแสดงปาฏิหาริยดวยการนิมิตตัว ลองหน หรือเหาะเหิน เปนตน พระพุทธเจาทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริย โดยทรงเนรมิตพระองคเองเปน พระมหากษัตริย เนรมิตบานเมือง ครุฑ พุทธจักร เขาฌานเตโช ฌานปถวีวาโย เพื่อเปดนรกและสวรรค ดังตัวอยาง เมื่อพระพุทธเจาทราบวาพระยาชมภูบดีจะเดินทางมาเขาเฝา พระองคจึงแสดงอิทธิปาฏิหาริยเนรมิตพระองคเองเปนพระมหากษัตริย เนรมิตวัดเวฬุวันใหเปนนครที่งดงามและ ยิ่งใหญ ประดับดวยมณีมีคาหลายหลาก แมแตเมืองสวรรคก็ไมงดงามเทา ดังคําประพันธวา ...กาลในขณะนั้น สมเด็จพระอนันตนุคุณ เลิศลอยบุญราศิทธิ์ ทรงฤทธิ

Page 16: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๘๙

เดชศักดา โดยพระมหาการุณภาพ ทราบทุกสิ่งกระแสญาณ ทรงบันดาลรังสรรค พระเวฬุวันเปนนคร งามบวรเลิศแลว ลวนดวยแกวแกมสุวรรณ ชั้นเทวามหาพรหม ลวนบรมทิพยเลิศ ไมประเสริฐเทียมเทา องคสมเด็จพระมหากรุณาเจา แสรงสรรค บันดาล ... แทพุทธองคทรงตรอง แลวปูนปองแจงจัด พระอรหัตบันดาลองค ทรงอลงกุกุพัน ตาง ๆ กันชั้นละแสน อเนกแนนนาสยด ชั้นโสฬสฤๅปาน ทรงบันดาลแลวเสร็จ สวนสมเด็จอิศราช องคพระจอมนาถมุนินทร ผูโมลินเกลา โลก ประกอบโชคชัยยา เปนพระเจาราชาธิราช สถิตอาสนลอยองค ทรงจํารัส รัศมี พรรณรังสีสวางภพ กระจางจบแจมฟา เสด็จในพระราชมหา เวฬุวัน บันดาล... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๒๘๗ – ๒๘๘) พระพุทธเจาทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริยเนรมิตพุทธจักรไปสูรบกับวิษศร ในตอนที่พระยา ชมภูบดีสงวิษศรมาทํารายพระเจาพิมพิสาร ดังคําประพันธวา ...๐ โนนแนศัตรูตรงมา นักงานตถา คตนี้จะชวยชูชนม ๐ ตรัสพลางบันดาลโดยกล เปนพุทธจักรรณ ณรงคตอฤทธิ์วิษศร... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๒๗๖) พระพุทธเจาแสดงอิทธิปาฏิหาริยเนรมิตครุฑไปตอสูกับนาค ในตอนที่พระยาชมภูบดีสงนาคหรือฉลองพระบาทแปลงมาทํารายพระเจาพิมพิสาร ดังคําประพันธวา ...๐ นักงานพระตถาคตเอง เสียงอันครึกเครง คือพวกศัตรูตรงตาม ๐ ตรัสพลางบันดาลโดยงาม เปนครุฑทรงนาม มีเศียรกําหนดนับพัน... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๒๗๙) พระพุทธเจาแสดงอิทธิปาฏิหาริยเขาฌานเตโชและฌานปถวีวาโย เพื่อเปดนรกและสวรรคใหพระยาชมภูบดีไดเห็น ดังคําประพันธวา

Page 17: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๐

...๐ ปางนั้นสมเด็จพระทศพล ญาณทราบอนุสนธิ กษัตริยชมภูภูธร ๐ หวังเห็นนรกราญรอน ทรงพระอนุสรณ สังเกตเขาฌานเตโช ๐ สูฌานปถวีวาโย ตําริพุทโธ ใหทาวเธอทราบแสนเข็ญ ๐ กระบัดพุทธบันดาลเปน แหวกปตพีเห็น ซึ่งปลองแลเปลวควันเพลิง ๐ นรกรอนแรงดําเกิง ลนกายทาวเริง ทั้งรอนทั้งควันบดบัง... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๑) ๑.๒.๒ อาเทศนาปาฏิหาริย เปนการแสดงปาฏิหาริยดวยการดักใจ ทายใจคนไดถูกตอง พระพุทธเจาทรงแสดงอาเทศนาปาฏิหาริยในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ โดยทรงรูจิตใจและรูความนึกคิดของพระยาชมภูบดี ดังตัวอยาง พระพุทธเจาทรงรูจิตใจและความนึกคิดของพระยาชมภูบดี ในตอนที่พระยาชมภูบดีเขาเฝาพระเจาราชาธิราช พระยาชมภูบดีคิดในใจวาพระเจาราชาธิราชงามประเสริฐจริง ๆ พระเจาราชาธิราชลวงรูความในใจพระยาชมภูบดี และตรัสวากอนที่พระยาชมภูบดีจะเดินทางมาพระยา ชมภูบดีคิดในใจวาจะเดินทางมาดวยวิธีใดดี และหากรบชนะพระเจาราชาธิราชแลวจะไปรบกับ พระอาทิตยพระจันทรตอไป นอกจากนี้พระองคยังกลาววาทรงรูจิตใจของมนุษยทุกคนอีกดวยไมใชแครูจิตใจพระยาชมภูบดีเทานั้น ซึ่งการกลาวลักษณะนี้นับเปนกุศโลบายใชส่ังสอนพุทธศาสนิกชน ผูอานและฟงกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตรไมใหกระทําความผิดแมเปนเพียงแคความนึกคิดไดอีกทางหนึ่ง ดังคําประพันธวา ...๐ ปางบรมกษัตริย สดับตรัสโปรดปราน พระอาการซอนแกม เลิศหลักแหลมล้ําลึก แตเรานึกคะนึงใน ไฉนไททาวเธอรู ปางพระผูทรงญาณ แยมโองการวาบพิตร ไยมีจิตฉงนงง วาแตองคนึกนี้ แตเดิมทีจะมา จากพาราทาวคิด จะตอฤทธิ์เกรียงไกร แมนมีชัยเหมือนมาตร องคธิราชพายแพ จะรีบแรเร็วรัด ชิงสมบัติพระสุริยา ทั้งจันทราเทวบุตร ถาแมนสุดฤทธิ์เรา แพพระเจาราชาธิราช ควรที่อาตมาหมาย จะถวายกษัตรา องคพญารอยเอ็ด หนึ่งเสด็จโดยเวหา เห็นฤทธายอหยอน จําจะจรทรงชาง ทางสุธาทุกที่

Page 18: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๑

ทานคิดจริงดังนี้ หรือประการใด ๐ ปางนั้นไททาวสดับ รับพระพุทธฎีกา เดิมจะมาคิดจริง ดุจส่ิงตรัสตรง ไฉนจึงพระองค อาจลวงรูเห็น ๐ ปางพระเปนปนโลก ประกอบโยคยอดญาณ แยมปริหารตรัสมา อยาพึงวาแตบพิตร คิดผูเดียวดังนั้น ถึงรอยพันหมื่นแสน แมนจะคิดฉันใด ๆ โดยนึกในกําหนด พระตถาคตทราบเสร็จ ซึ่งสมเด็จหมายมี ศักดาดีผาดแผลง หวังตอแยงยุทธยง โดยอาจองคอิศรา เชิญแสดงเดชเดชา จะขอเชยชม... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๒๙๕ – ๒๙๖) ๑.๒.๓ อนุศาสนปาฏิหาริย เปนการแสดงปาฏิหาริยดวยการแสดงธรรมเทศนา ใชคําสอนชักจูงใจคนใหเห็นดีตาม พระพุทธเจาทรงแสดงอนุศาสนปาฏิหาริยเทศนาสั่งสอนธรรมแกพระยาชมภูบดี พระยารอยเอ็ด พวกพลทหาร นางกาญจนเทวี และสุคคตกุมาร จนเกิดเลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนา ขอบวชเปนพุทธสาวก ดังตัวอยาง พระพุทธเจาแสดงอนุศาสนปาฏิหาริยส่ังสอนธรรมเทศนา จนพระยาชมภูบดีไดดวงตาเห็นธรรมขอบวชเปนพุทธสาวก ดังคําประพันธวา ...ปางกษัตริยสดับทราบ ยอกรกราบทูลองค ขอไดทรงโปรดเกศ กระหมอมเจตนานัก รักจะตามเสด็จดอม ขอพระจอมจุฬาโลก ประทานโชคชัยยัง กระหมอมต้ังปฏิพัทธ ในสมบัติบพชา โปรดอนุญายอยก สรรพมรดกโดยบุญ ศีลคุณเลิศคา ขอพระองคทรงบรรพชา แกขาทูลละออง... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๘) พระยารอยเอ็ดพระองคเมื่อไดฟงพระธรรมเทศนาตางก็สําเร็จอรหันต ดังคําประพันธวา ...๐ พญารอยเอ็ด พลทั้งหลายเสร็จ อรหัตถวนตน เมืองพุทธนิมิต กลับกลายบัดดล เปนพระเชตุพน เวฬุวันนาราม... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๙) เมื่อนางกาญจนเทวีไดฟงธรรมเทศนาก็เกิดเลื่อมใสศรัทธาไดดวงตาเห็นธรรม จนกระทั่งขอบวชเปนพุทธสาวก ดังคําประพันธวา ...๐ ปางนั้นจอมนุช สดับวรพุทธ ฎีกาสั่งสอน ปติบังเกิด นอมเกศยอกร มัสการทูลวอน ขอบรรพชา... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๑๘)

Page 19: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๒

การแสดงปาฏิหาริยของพระพุทธเจานี้จะเปนลําดับข้ัน เร่ิมจากการแสดงอิทธิปาฏิหาริย เปนการแสดงปาฏิหาริยอยางหยาบประกอบดวยฤทธิ์อํานาจ เพื่อใหมารยําเกรงบุญบารมีของ พระองค จากนั้นไดแสดงอาเทศนาปาฏิหาริย เพื่อใหมารหรือบุคคลที่พระองคตองการสั่งสอนเกิดความเลื่อมใสบุญบารมีของพระองคมากยิ่งขึ้น สุดทายไดแสดงอนุศาสนปาฏิหาริย เปนการสั่งสอนธรรมใหมารหรือบุคคลนั้น ๆ เขาใจและหลุดพนจากกิเลสตัณหาไดงายข้ึน เหตุที่กวีสรางใหพระพุทธเจาแสดงอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยปราบมารนั้น เกิดจากความเชื่อและเลื่อมใสศรัทธาที่ชาวพุทธมีตอพระพุทธเจาวาเปนผูมีบุญบารมีมาก สามารถเล็งเห็นพฤติกรรม ตลอดจนความรูสึกนึกคิดของบุคคลตาง ๆ ได พระองคมีวิธีสอนบุคคลตาง ๆ เหลานี้แตกตางกัน ตามลักษณะของบุคคล ดวยเหตุนี้พระองคจึงตองปราบผูมีอิทธิฤทธิ์อยางพระยาชมภูบดีดวย อิทธิฤทธิ์เชนกัน ๒. ความเชื่อ ความเชื่อ หมายถึง การเห็นตาม มั่นใจ หรือไวใจ ซึ่งเห็นจริงตามกันดวยความรูสึก หรือดวยความไตรตรองโดยเหตุผล (พจนีย เพ็งเปลี่ยน, ๒๕๓๒, หนา ๑๕๐) ความเชื่อตาง ๆ ที่มีปรากฏในวรรณกรรมกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ นี้ สวนใหญเปนความเชื่อตามคติพุทธศาสนาที่มีอยูในสังคมไทยมาชานานแลว มีปรากฏหลักฐานชัดเจนในหนังสือไตรภูมิพระรวงสมัยสุโขทัย เชน ความเชื่อเร่ืองกรรม การเวียนวายตายเกิด นรก สวรรค กัปหรือ กัลป เทพเจา และสัตวหิมพานต เปนตน ความเชื่อเหลานี้กวีผูประพันธกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ไดนํามาสอดแทรกไวในเนื้อเร่ือง ทําใหเนื้อเร่ืองศักดิ์สิทธิ์ เปนเหตุเปนผลนาเลื่อมใสศรัทธา และเปนการเนนย้ําบุญบารมีของพระพุทธเจาโดยนําคติความเชื่อที่ชาวพุทธรูจักกันดีมาเปนสื่อกลาง ๒.๑ ความเชื่อเร่ืองกรรม กรรม คือ การกระทําที่ประกอบดวยเจตนา จะเปนกระทําดีหรือชั่วก็ได ซึ่งจะสงผลตอปจจุบันและอนาคต กรรมดีหรือกุศลกรรมจะใหผลดีแกผูกระทํา กรรมชั่วหรืออกุศลกรรมจะใหผลในทางทุกขยากลําบากเดือดรอนแกผูกระทํา ๒.๑.๑ กรรมดีหรือกุศลกรรม ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ได

Page 20: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๓

กลาวถึงเรื่องอานิสงสการทําบุญวาจะทําใหประสบความสุขในภพหนาหรือโลกหนา สังวร ยุตฺตสังฺวโร (๒๕๑๖, หนา ๔๐๐) กลาวถึงเรื่องการทําบุญในพุทธศาสนาวา มี ๓ ประการ คือ ทําบุญใหทาน ทําบุญรักษาศีล และทําบุญเจริญภาวนา ทําบุญใหทาน ไดแก ทําบุญแกพระภิกษุดวยขาวอาหาร น้ํา วัสดุส่ิงของ อันระบุใน พระไตรปฎก และใหทานแกพระสงฆผูมีพระคุณสูง เชน บิดามารดา และใหทานแกผูที่พึ่งตนเองไมได เชน การทําบุญตักบาตร บุญกฐิน ผาปา การสรางเสนาสนะ เรือนสงฆ โบสถ วิหาร การเปรียญ เปนตน เปนบุญที่หนักทางการกระทําดวยกาย และทรัพย ทําบุญรักษาศีล เปนเครื่องรักษากาย วาจา โดยการสมาทานศีลแลวรักษาศีล ไมมีวัตถุ ระมัดระวังกิริยา คําพูด ผูใดรักษาศีลไดนานเทาใดยอมเปนผลดีเทานั้น ศีลมีหลายระดับ เชน คนธรรมดามีศีล ๕ ศีล ๘ สามเณรรักษาศีล ๑๐ พระสงฆรักษาศีล ๒๒๗ ขอ ภิกษุณีมีศีล ๓๑๑ ขอ ทําบุญเจริญภาวนา เปนการกระทําเกี่ยวกับจิตใจ อารมณภายในของคนเรา กอปรดวย กาย วาจา ใจ มิใหฟุงซานปนปวน การเจริญภาวนามีแนวการกระทําตาง ๆ เชน วิปสสนา กัมมัฏฐาน เดินจงกลม แมแตการเขาสมาธิจิตเวลาสั้น ๆ ก็ตาม สามารถซักฟอกจิตใจใหสะอาดบริสุทธิ์ได ทําใหโลภะ โทสะ โมหะ เบาบางลง ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กวีสะทอนภาพความเชื่อเร่ืองกรรมดี โดยกลาวถึงการทําบุญทั้ง ๓ ประการในพระพุทธศาสนา คือ ทําบุญใหทาน ทําบุญรักษาศีล และ ทําบุญเจริญภาวนา กวีกลาวถึงอานิสงสการทําบุญกุศลไวในตอนที่พระเจาราชาธิราชสั่งสอนธรรมแกพระยาชมภูบดีวา คนที่ประกอบกุศลกรรม เชน หมั่นเจริญเมตตาภาวนา ฟงธรรม และรักษาศีลเปนนิตยจะไดไปเกิดบนสวรรค ดังคําประพันธวา ...๐ เปนคนควรปฏิพัทธเพียร บําเพ็ญเลาเรียน เจริญเมตตาภาวนา ๐ ฟงธรรมถือศีลรักษา มนัสสิการา กําหนดเปนนิตยเนืองนันต ๐ สองเสพยสัปรุษรูธรรม เรืองปญญาอัน จะใหบังเกิดกองบุญ ๐ บําบัดบากโทษทารุณ เพราะศีลคุณ เขาดลในขันธสันดาน

Page 21: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๔

๐ ตายไปเสวยสุขวิมาน เมืองสวรรคบริวาร อเนกผองไพบูลย... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๔) หรือจากตอนที่พระยาชมภูบดีไดเห็นประยูรญาติที่ประกอบกรรมดีไดไปเกิดอยูบนสวรรค กวีพรรณนาวา ประยูรญาติของพระยาชมภูบดีเหลานี้ไดประกอบกุศลกรรมตาง ๆ ไวตั้งแตตอนมีชีวิต เชน ทําบุญใหทาน ทํากุศล เจริญเมตตาภาวนา ฟงธรรมเทศนา รักษาศีล กุศลกรรมตาง ๆ เหลานี้จึงสงผลใหไดไปเกิดอยูบนสวรรค ดังคําประพันธวา ...เทวฤทธีบุญแท ไดสรางแตบรรพชาติ อาจไดเสวยสวรรค เทพองคนั้น พันธุมิตร วิมานทิศแถวโนน ลวนเผาโพนขัตติยา พระวงศาแหงเรา เขาทําบุญ ใหทาน การกุศลตาง ๆ บางเจริญภาวนา ฟงเทศนารักษาศีล ประนินทินทุกตน กองกุศลสงให ญาติเราใชเสวยสุข หอนมีทุกขโทมนัส... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๕) ๒.๑.๒ กรรมชั่วหรืออกุศลกรรม กลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ไดสะทอนใหเห็นความเชื่อในเรื่องกรรมชั่วและกฎแหงกรรมไวในตอนที่ตัวละครไดรับความทุกข เพราะการพลัดพรากจากสิ่งอันเปนที่รักวา เปนผลมาจากกรรมที่ไดกระทําไวในชาติปางกอน เชน ในตอน ที่นางกาญจนเทวีไมเห็นพระยาชมภูบดีเสด็จเดินทางกลับมาพรอมกับเหลากองทัพ พระนางคร่ําครวญ วาเปนเพราะกรรมที่ไดกระทําไวแตชาติปางกอน จึงทําใหนางตองพลัดพรากจากพระยาชมภูบดีพระราชสามี ดังคําประพันธวา ...๐ อาโอพระบรมจุลจอม กษัตริยแสรงมาจากเจียว ฤๅทุมทิ้งบริจากรใหเปลี่ยว เปลาสวาสดิเอองค ๐ ชะรอยเวรุใดไดสันนิจ ญาการไวคงตรง แตเบื้องบุพชาติเจาะจง ประจักษจึงใหจากจร... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๑๐)

Page 22: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๕

๒.๒ ความเชื่อเร่ืองการเวียนวายตายเกิด การเกิดแกและตายนั้น เปนวงจรชีวิตของสัตวโลกทั้งหลาย เมื่อตายแลวก็เกิดใหมดวยอํานาจแหงกรรม ความเชื่อเกี่ยวกับการเวียนวายตายเกิดนับเปนความเชื่อที่ฝงแนนอยูในจิตใจชาวพุทธมาเปนเวลาชานาน เปนความเชื่อที่ไดรับอิทธิพลจากพุทธศาสนาที่เชื่อวามนุษยที่ยังไมหมดกิเลสจะตองเวียนวายตายเกิดอยูในวัฏสงสาร ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ไดกลาวถึงความเชื่อเร่ืองการเวียนวายตาย

เกิด ไวโดยพรรณนาวาพระยาชมภูบดีและมเหสีเคยกระทํากุศลไวตั้งแตชาติปางกอน เมื่อส้ินบุญจึง

ไดไปเกิดบนสวรรค ตอมาไดจุติมาเปนพระยาชมภูบดีครองเมืองปญจาลราช แสดงใหเห็นวาชาวพุทธ

เชื่อเร่ืองชาติปางกอน โลกนี้โลกหนา และการเวียนวายตายเกิด ดังคําประพันธวา ...๐ สมเด็จพระมหา สัพพัญวิจา โดยญาณยิ่งยง ทราบวาชมภู บดีเอกองค อดีตกาลทรง สรางมาบารมี ๐ คร้ังนั้นบุญเลิศ ทาวชมภูเกิด ภพองคชินสี ตัวเปนพอคา หาเลี้ยงชีวี วันหนึ่งพอดี ไดอรุณราง ๐ หุงเขาตมแกง สุกเสร็จจัดแจง ใสภาชนะวาง ที่อันหาบคอน ส่ิงของสารพางค คร้ันเสร็จแลวยาง ลงจากเคหา ๐ พอองคทศพล เสด็จมาดล ชายนั้นศรัทธา นั่งมัสการ ทูลราธนา แลวจัดกระยา สูปเพียรทั้งหลาย ๐ เครื่องบริโภคพรอม จึงประนมนอม เขาประเคนถวาย พระพุทธองครับ ภัตตาโดยดาย ผัวเมียสบาย บริบูรณเบิกบาน... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๘) ในตอนที่พระพุทธเจาทรงสั่งสอนธรรมเทศนาแกนางกาญจนเทวี พระองคกลาววานางกาญจนเทวีไดสรางกุศลมาเปนเวลาแสนกัลปแลวชาตินี้เปนชาติสุดทายที่จะสามารถสําเร็จมรรคผลได แสดงใหเห็นวาชาวพุทธเชื่อเร่ืองการเวียนวายตายเกิดอยูในสังสารวัฏ ดังคําประพันธวา ...๐ ตัวมหาอุบาสิกาเลา กุศลสรางมาอนันต ในอเนกชาติจะนับกัลป ก็แสนกัลปบริบูรณ... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๑๗)

Page 23: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๖

๒.๓ ความเชื่อเร่ืองนรก – สวรรค เปนความเชื่อตามคติพระพุทธศาสนาแบบชาวบาน ซึ่งพุทธศาสนิกชนยอมรับหลักธรรมพุทธศาสนาแนวนี้มากที่สุด (พจนีย เพ็งเปลี่ยน, ๒๕๓๒, หนา ๑๕๗) ความเชื่อเร่ืองนรกสวรรคนี้ฝงแนนอยูในจิตใจชาวพุทธมาชานาน ในทัศนะของพระพุทธศาสนา นรกและสวรรคเปนสวนหนึ่งของสังสารวัฏ คือ ยังคงมีการเวียนวายตายเกิดแลวแตกรรมที่กระทํามา ตกนรกแลวถามีกรรมดีก็จะไดไปอยูบนสวรรค หรือข้ึนสวรรคแลวถามีกรรมชั่วก็ตองมาชดใชกรรมในนรก ซึ่งกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ก็ไดใหทรรศนะเดียวกันนี้ไว ดังคําประพันธวา ...๐ อันเทวสมบัติ บพิตรเห็นวางดงาม จะแจงโดยจริงความ ยอมเปนเครื่องทําลายวาย ๐ ส้ินกองกุศลสง ไปสูกรรมสําหรับกาย เวียนเกิดแลวเวียนตาย ไมรูส้ินคือสงสาร... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๖) ๒.๓.๑ นรก เปนที่อยูของผูที่ประกอบอกุศลกรรม ในไตรภูมิพระรวงแบงนรก ออกเปนขุม ๆ ตามประเภทหรือชนิดของการกระทําความผิด สวนในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กวีผูประพันธไดแสดงภาพความเชื่อเร่ืองการลงโทษหรือรับกรรมในนรกตามประเภทของอกุศลกรรมเชนกัน กวีไดแบงประเภทของอกุศลกรรมโดยใชหลักธรรมเรื่องศีล ๕ (แตเปนที่ นาสังเกตวากวีมิไดกลาวถึงศีลขอ ๒) ซึ่งชาวพุทธทุกคนรูจักกันดีมาใชเปนเกณฑในการสรางภาพลงโทษในนรก ภาพนรกในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ จึงคลายกับภาพนรกใน ไตรภูมิพระรวง แตการลงโทษความผิดในนรกแตละขุมมีรายละเอียดตาง ๆ ไมเหมือนกัน ๒.๓.๑.๑ นรกสําหรับลงโทษผูที่ฆาสัตวตัดชีวิต ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กลาวคลายกับเวตรณีนรก79และมิจฉาทิฏฐินรก80ในไตรภูมิพระรวง คือ สัตว

79

ไตรภูมิพระรวง (กรมศิลปากร, ๒๕๑๘, หนา ๑๙) กลาวถึงเวรตรณีนรกวา ...ยมบาลอยูในเวตรณีนั้น เทียรยอมถือไมคอน มีดพรา หอกดาบ หลาว เหลน เครื่องฆา เครื่องแทง เครื่องยิง เครื่องตีทั้งหลาย ฝูงนั้นยอมเหล็กแดงและมีเปลวพุงขึ้นไปดังไฟฟาลุกดังนั้นบมิวายแล ยมบาลจึงถือเครื่องทั้งนั้นไลตีฝูงคนนรกดวยส่ิงนั้น เขาก็เจ็บปวดเวทนานักหนาอดทนบมิไดเลย...

Page 24: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๗

นรกตองรับโทษดวยการมาชดใชกรรมในนรกที่เต็มไปดวยกองเพลิง ถูกยมบาลฟนแทงและบั่นตัวใหขาดเปนรอยทอนพันทอน ตายแลวเกิดใหมชดใชกรรมอยูอยางนั้น ดังคําประพันธวา ...๐ เปนคนฆาสัตวตัวเปน ใหจําตายเห็น มาเกิดในกองเพลิงกาฬ ๐ ทนทุกขนิริเยยาวนาน นายยมพบาล ตะบึงตะบันฟนแทง ๐ บัดตายบัดเกิดเร็วแรง ยมพบาลตะแบง เอาตัวมาบากบั่นกาย ๐ รอยทอนพันทอนตองตาย เกิดแลวทําลาย ดวยมือแหงหมูนายเวร... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๒) ๒.๓.๑.๒ นรกสําหรับลงโทษผูที่ประพฤติผิดในกาม ในวรรณกรรมกลอนสวด มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กลาวคลายกับโลหสิมพลีนรก81รวมกับสุนักขนรก82ในไตรภูมิพระรวง คือ สัตวนรกจะตองมาปนตนงิ้วหนามแหลมปานกรด มีแรงกาปากเหล็กคอยจิก ขางลางมียมบาล ถือหอกคอยทิ่มแทง อีกทั้งยังมีสุนัขตัวใหญเทาชางสารคอยจองขย้ํากินเปนอาหาร ตายแลวเกิดใหม ชดใชกรรมอยูอยางนั้น ดังคําประพันธวา ...๐ บางสัตวเมื่อเปนคนเจน มักมากในเกน 80

ไตรภูมิพระรวง (กรมศิลปากร, ๒๕๑๘, หนา ๒๘) กลาวถึงมิจฉาทิฏฐินรกวา ...มียมบาลนั้นใหญนักหนา เทียรยอมถือหอกดาบและหลาวเหลนและคอนเหล็กแดง เทียรยอมลุกเปนเปลวไฟอยูทุกคาบ เขาทิ่มเขาแทง เขาฆาเขาฟนและฝูงคนนรกนั้นเจ็บปวดเวทนากวาตนพนประมาณ... 81

ไตรภูมิพระรวง (กรมศิลปากร, ๒๕๑๘, หนา ๒๗) กลาวถึงโลหสิมพลีนรกวา ...มีปาไมงิ้วปา ๑ หลายตนนัก แลตนงิ้วนั้นสูงไดแลโยชน แลหนามงิ้วนั้นเทียรยอมเหล็กแดงเปนเปลวลุกอยู แลหนามงิ้วนั้นยาวได ๑๖ นิ้วมือ เปนเปลวไฟลุกอยูบหอนจะรูดับสักคาบแล 82

ไตรภูมิพระรวง (กรมศิลปากร, ๒๕๑๘, หนา ๒๑) กลาวถึงสุนักขนรกวา ...ในสุนักขนรกนั้นมีหมา ๔ ส่ิง หมาจําพวก ๑ นั้นขาว หมาจําพวก ๑ นั้นแดง หมาจําพวก ๑ นั้นดํา หมาจําพวก ๑ นั้นเหลือง แลตัวหมา ผูนั้นใหญเทาชางสารทุกตัว ฝูงแรงและกาอันอยูในนรกนั้นใหญเทาเกวียนทุก ๆ ตัว ปากแรงและกาและตีนนั้น เทียรยอมเหล็กแดงลุกเปนเปลวไฟอยูบอมิไดเหือดสักคาบ แรงแลกาหมาฝูงนั้นเทียรยอมจิกแหกหัวอกขบตอดคน ทั้งหลายในนรกนั้น ดวยกรรมบาปของเขานั้นแล...

Page 25: บทที่ ๕ หลักธรรมและวัฒนธรรมไทยdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/00048/chapter5...บทท ๕ หล กธรรมและว

๑๙๘

กาเมสุมิจฉาจาร ๐ ปนปายขึ้นงิ้วหนามปาน กรดแหลมเหลือการ ทิ่มกายตลอดเลือดโซม ๐ แรงกาปากเหล็กจูโจม จิกสับรุกโรม ใหกายระยํายับเยิน ๐ ยมพบาลบังเกิดเผอิญ ถือหอกหอนเมิน เขมนอยูคอยทิ่มแทง ๐ สุนัขเทาชางสารแสง คอยตามยื้อแยง ขย้ําเปนภักษาหาร ๐ ตายแลวเกิดเลาลนลาน ข้ึนรุกขพิสาณฑ เสมอเปนนิรันตรา... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๒ – ๓๐๓) ๒.๓.๑.๓ นรกสําหรับลงโทษผูที่พูดจามุสา ในกลอนสวดมหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ กลาวคลายกับกาฬสุตตนรก83ในไตรภูมิโลกวินิจฉยกถาวา ยมบาลจะนําตัวสัตวนรกมานอนแลวใชเสนบรรทัดดีดตัวสัตวนรกนั้นใหขาดเปนสองซีก ตายแลวเกิดใหมชดใชกรรมอยูอยางนั้น ดังคําประพันธวา ...๐ บางสัตวเปนคนมุสา ยมพบาลนํามา เอาตัวผูนั้นนอนลง ๐ วางเสนบรรทัดดีดตรง กายสัตวบคง ก็ขาดเปนสองซีกตน ๐ ตายแลวเกิดบัดเดี๋ยวดล ยมพบาลสองคน คอยดีดบรรทัดธรรมดา... (มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗ ดูที่ภาคผนวก หนา ๓๐๓)

83

ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา (กรมศิลปากร, ๒๕๒๐, หนา ๑๐๕ – ๑๐๖) กลาวถึงกาฬสุตตนรกวา ...สัตวอันไป บังเกิดในกาฬสุตตนรกนั้น ยมบาลทั้งหลายมัดดวยพวนเหล็ก ผูกขึงลงไวกับแผนดินเหล็กอันรุงเรืองเปนเปลวเพลิง แลวก็เอาสายบรรทัดเหล็กใหญเทาลําตาลดีดลง ถาดีดบรรทัดลงขางหนา กายสัตวนรกนั้นก็แตกผาตลอดหลัง ดีดแตขางหลังก็แตกผาตลอดหนา ดีดแตขางซายก็แตกตลอดขางขวา ดีดแตขางขวาก็แตกผาตลอดขางซาย ลําบากเวทนาแสนสาหัส กายนั้นแตกออกเปนซีกนอยซีกใหญ...