รูปที่ 1...

11
1 บรษัท ถ่าน (ประเทศไทย) จากัด โครงการเหมองหนอุตสาหกรรม ชนดหนปูน หนแกรนต และ นกรวดเหล่ยม เพ่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง ตาบลบ้านปน อาเภอลอง จังหวัดแพร่ ประทานบัตร 32164/15551 ่ตั้งโครงการ พนท่ประทานบัตรท่ 32164/15551 ตังอยูบรเวณทศตะวันตกเฉยงเหนอของดอยโงม ทองท่ ตาบลบานปน อาเภอลอง จังหวัดแพร อยูในแผนท่ภูมประเทศของกรมแผนท่ทหารมาตราสวน 1:50,000 ลาดับชุดท่ L7018 ระวาง 4945II (อาเภอลอง) คาพกัด UTM กรดตังท่ 589020-589800 ตะวันออก และกรดนอนท่ 2004870-2006120 เหนอ พนท่โครงการมพนท่รวม 288 ไร 0 งาน 57 ตารางวา (รูปท่ 1) การเดนทางเขาสูพนท่โครงการ จากอาเภอเมองจังหวัดแพร ใชทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1023 ( แพร-วังช) ไปทางทศตะวันตกเฉยงใต ระยะทางประมาณ 36 กโลเมตร ถงตาบลบานปนแลวเลยวขวา ตรงปายทางเขาบรษัท ถาน (ประเทศไทย) จากัด ไปตามถนนในหมูบานและถนนลูกรังอกประมาณ 6 กโลเมตร จะถงท่ตั งของโครงการ ลักษณะภูมประเทศ พนท่โครงการแปลงนตังอยูบรเวณปาเศรษฐกจในเขตปาสงวนแหงชาตแมลานและปาแมกาง ความสูงของยอดเขาในพนท่โครงการ 420 เมตร จากระดับนาทะเลปานกลาง โดยมความสูงเฉล่ย ประมาณ 300 เมตร จากระดับนาทะเลปานกลาง ทศเหนอของพนท่เป็นภูเขาสูง ทศตะวันออกเฉยงใต มเขาสูงช่อดอยโงม ซ่งเป็นเขาสูงวางตัวในแนวตะวันออกเฉยงเหนอ-ตะวันตกเฉยงใต ทศตะวันตกเป็น ท่ลาดเขาจากพนท่โครงการไปถงลานาหวยแมกางท่อยูหางออกไปประมาณ 1.2 กโลเมตร และมอาง เก็บนาแมกางอยูทางทศตะวันตกเฉยงใตหางออกไปประมาณ 1.2 กโลเมตร โดยลักษณะของสภาพ นท่แสดงดังรูปท่ 1 และรูปท่ 2

Upload: others

Post on 29-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

1

บริษัท ถ่าน (ประเทศไทย) จ ากัด โครงการเหมืองหินอุตสาหกรรม ชนิดหินปูน หินแกรนิต และ

หนิกรวดเหลี่ยม เพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง ต าบลบ้านปิน อ าเภอลอง จังหวัดแพร่ ประทานบัตร

ที่ 32164/15551

ที่ตั้งโครงการ

พื้นที่ประทานบัตรที่ 32164/15551 ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันตกเฉียงเหนือของดอยโง้ม ท้องที่

ต าบลบ้านปิน อ าเภอลอง จังหวัดแพร่ อยู่ในแผนที่ภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหารมาตราส่วน

1:50,000 ล าดับชุดที่ L7018 ระวาง 4945II (อ าเภอลอง) ค่าพิกัด UTM กริดตั้งที่ 589020-589800

ตะวันออก และกริดนอนที่ 2004870-2006120 เหนือ พื้นที่โครงการมีพื้นที่รวม 288 ไร่ 0 งาน 57

ตารางวา (รูปที ่1)

การเดินทางเข้าสู่พื้นที่โครงการ จากอ าเภอเมืองจังหวัดแพร่ ใช้ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1023

(แพร่-วังชิ้น) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ 36 กิโลเมตร ถึงต าบลบ้านปินแล้วเลี้ยวขวา

ตรงป้ายทางเข้าบริษัท ถ่าน (ประเทศไทย) จ ากัด ไปตามถนนในหมู่บ้านและถนนลูกรังอีกประมาณ 6

กิโลเมตร จะถึงที่ตัง้ของโครงการ

ลักษณะภูมิประเทศ

พื้นที่โครงการแปลงนี้ตั้งอยู่บริเวณป่าเศรษฐกิจในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่ลานและป่าแม่กาง

ความสูงของยอดเขาในพื้นที่โครงการ 420 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง โดยมีความสูงเฉลี่ย

ประมาณ 300 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง ทิศเหนือของพื้นที่เป็นภูเขาสูง ทิศตะวันออกเฉียงใต้

มีเขาสูงช่ือดอยโง้ม ซึ่งเป็นเขาสูงวางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเป็น

ที่ลาดเขาจากพื้นที่โครงการไปถึงล าน้ าห้วยแม่กางที่อยู่ห่างออกไปประมาณ 1.2 กิโลเมตร และมีอ่าง

เก็บน้ าแม่กางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ห่างออกไปประมาณ 1.2 กิโลเมตร โดยลักษณะของสภาพ

พืน้ที่แสดงดังรูปที่ 1 และรูปที่ 2

Page 2: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

2

รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตัง้พืน้ที่ศึกษา

Page 3: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

3

รูปที่

2 ภา

พถ่าย

ทางอ

ากาศ

แสดง

ภูมิปร

ะเทศ

บริเวณพื้น

ที่ศึกษ

Page 4: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

4

จากข้อมูลแผนทีธรณีวิทยาจังหวัดแพร่ของกรมทรัพยากรธรรีและข้อมูลธรณีวิทยาแหล่งแร่ใน

รายงานประกอบการพิจารณาก าหนดแหล่งหินอุตสาหกรรม ชนิดหินปูน หินแกรนิต และหินกรวด

เหลีย่ม เพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง ส าหรับประทานบัตรที่ 32164/15551 ของบริษัท ถ่าน (ประเทศไทย)

จ ากัด สามารถสรุปลักษณะธรณีวิทยาของพื้นที่โครงการได้ดังนี้

ลักษณะธรณีวทิยาท่ัวไป

ธรณีวิทยาจังหวัดแพร่ ประกอบด้วยตะกอนและหินชนิดตา่งๆ กระจายอยู่ทั่วไปในพืน้ที่ โดยมี

อายุตั้งแต่ยุคคารบ์อนิเฟอร์รัส (360 ล้านปี) ถึงตะกอนยุคควอเทอร์นารีปัจจุบัน (รูปที่ 3)

รูปที่ 3(ก) แผนที่หน่วยหนิจังหวัดแพร่

Page 5: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

5

รูปที่ 3(ข) แผนที่หนว่ยหินจังหวัดแพร่ (ขยายบริเวณพืน้ที่โครงการ)

Page 6: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

6

รูปที่ 3(ค) แผนที่หน่วยหินจังหวัดแพร่ (ขยายค าอธิบาย)

Page 7: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

7

ล าดับชั้นหนิ

ล าดับช้ันหินต่างๆ ในจังหวัดแพร่ เรียงล าดับจากหินอายุแก่ไปยังหินที่มีอายุอ่อนกว่า

ตามล าดับได้ดังนี ้

หมวดหินคาร์บอนิเฟอรัส (C) พบบริเวณตะวันออกของอ าเภอร้องกวางต่อเนื่องไปจังหวัด

น่าน ลักษณะโดยทั่วไปเป็นหินกรวดมน หินทราย หินดินดาน หินชนวน หินเชิร์ต และหินปูนหิน

กรวดมน

หินยุคเพอร์เมียน (P) กระจายตัวบริเวณภาคเหนือในกลุ่มหินงาว พื้นที่จังหวัดแพร่สามารถ

แบ่งออกเป็น 3 หนว่ยหิน คอื หมวดหินกิ่วลม (Png1, Pkl) พบแผ่กระจายอย่างกว้างขวางบริเวณทาง

ตอนเหนอืของจังหวัดบริเวณอ าเภอสอง อ าเภอร้องกวาง และทางตอนใต้ของจังหวัดบริเวณ อ าเภอสูง

เม่น อ าเภอเด่นชัย ติดต่อกับจังหวัดอุตรดิตถ์ และบริเวณอ าเภอวังชิ้นต่อเนื่องลงไปยังจังหวัดสุโขทัย

ประกอบด้วยหินทรายเนื้อภูเขาไฟ หินทราย หินดินดานสีเทาถึงสีเขียวเทา หินปูนในตอนบนของการ

ล าดับชัน้หิน หมวดหินผาหวด (Png2, Pph) พบบริเวณทางด้านตะวันออกของจังหวัดบริเวณอ าเภอ

เมืองแพร่ อ าเภอร้องกวาง และบางบริเวณของอ าเภอสอง ประกอบด้วยหินปูนแสดงช้ันและช้ันมวล

หนาหรือเป็นปื้นสีเทาด าแทรกสลับด้วยหินดินดาน และหินทราย และหมวดหินห้วยทาก (Png3,

Pht) พบบริเวณตะวันตกของจังหวัด บริเวณอ าเภอสอง อ าเภอลอง และทางด้านตะวันออกของ

จังหวัด บริเวณอ าเภอร้องกวาง ประกอบด้วยหินดนิดาน หนิโคลนสีเทาด า หนิทราย หินปูน

หินยุคเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก (PTr) พบบริเวณตะวันออกของอ าเภอร้องกวางต่อเนื่องไป

จังหวัดน่าน ประกอบด้วย หนิทราย หนิทรายเนื้อภูเขาไฟ หนิปูนเนื้อดิน หินไรโอลิติกทัฟฟ์กึ่งแปรสภาพ

หนิดินดาน หนิปูนเป็นเลนส์ หนิเชริ์ต และหนิปูนเนื้อไข่ปลา

หนิยุคไทรแอสซิก (Tr) กระจายตัวบริเวณภาคเหนือในกลุ่มหินล าปาง ได้แก่ หมวดหินพระ

ธาตุ (Trpt) พบเล็กน้อยบริเวณทางตะวันตกของจังหวัดติดต่อกับจังหวัดล าปาง ประกอบด้วย หิน

ทราย หินทรายแป้งและหินกรวดมนสีแดง หมวดหินผาก้าน (Trpk) พบบริเวณดอยผาหลักหมื่น

ประกอบด้วยหินปูนสีเทาเข้าแสดงช้ันปานกลางถึงช้ันมวลหนาหรือเป็นปื้น มีหินทรายและหินโคลน

แทรกเล็กน้อยในตอนกลางของล าดับช้ันหิน หมวดหินผาแดง (Trpd) พบบริเวณเทือกเขาสูงแผ่กว้าง

กระจายตัวอยู่ทั่วพื้นที่ของจังหวัดแพร่ ได้แก่ ทางด้านใต้ของจังหวัดบริเวณอ าเภอวังชิ้น ทางด้าน

ตะวันออกเฉียงใต้ของจังหวัดบริเวณอ าเภอเด่นชัย และทางด้านเหนือของอ าเภอร้องกวาง

ประกอบด้วยหินทราย หนิทรายแป้ง หินโคลน และหนิกรวดมนสีแดง หมวดหินก้างปลา (Trkp) พบ

บริเวณต าบลบ้านปิน อ าเภอลอง ประกอบด้วยหินปูนสีเทาแสดงช้ันบางถึงช้ันมวลหนาหรือเป็นปื้น

หมวดหินวังชิ้น (Trwc) แผ่กระจายตัวอยู่ทั่วพื้นที่ของจังหวัดแพร่ ได้แก่ ทางด้านเหนือของจังหวัด

บริเวณอ าเภอสอง ต่อเนื่องมาจากอ าเภอดอกค าใต้ จังหวัดพะเยา และอ าเภองาว จังหวัดล าปาง

ลงมาถึงอ าเภอร้องกวาง และทางด้านตะวันตกของจังหวัดบริเวณอ าเภอลอง อ าเภอวังชิ้น ทางด้าน

Page 8: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

8

ตะวันออกของจังหวัดบริเวณอ าเภอเมือง ประกอบด้วยหินโคลนสีเทาเข้มแทรกสลับด้วยทราย แสดง

ช้ันบางถึงหนา

หินยุคไทรแอสซิก-หินยุคจูแรสซิก (TrJ) พบเล็กน้อยทางตอนเหนือของจังหวัด บริเวณ

ต าบลสะเอียบ อ าเภอสอง ประกอบด้วยหินกรวดมน หินทรายสีน้ าตาลแดง แทรกสลับด้วย

หนิดินดาน และหนิโคลน

หินยุคจูแรสซิก (J) พบทางตอนเหนือของจังหวัด บริเวณอ าเภอสอง และอ าเภอร้องกวาง

ติดตอ่กับจังหวัดน่าน ประกอบด้วย หนิกรวดมนสีแดง หนิทรายสีน้ าตาลแดงแทรกสลับด้วยหินดินดาน

และหนิโคลน

หินยุคจูแรสซิก (Jk) พบเล็กน้อยทางตะวันตกของจังหวัด ต่อเนื่องต่อเนื่องกับบริเวณอ าเภอ

แม่เมาะ จังหวัดล าปาง ประกอบด้วยหินโคลน หินปูนเนื้อดินแทรกสลับด้วยหินดินดานบ้างและหิน

ทรายแป้ง มซีากดึกด าบรรพ์พวกน้ ากร่อยมาก

หนิยุคจูแรสซิก (Jkl) พบเล็กน้อยทางตะวันออกของจังหวัด บริเวณต าบลห้วยโรง อ าเภอร้อง

กวาง ติดต่อกับจังหวัดน่าน ประกอบด้วย หินทรายอาร์โคส หินโคลน หินทรายแป้งสีน้ าตาลแดง

การวางช้ันเฉียงกับแนวระดับ หินกรวดมนและหิน ทรายในตอนบนของการล าดับช้ันหิน มีซากหอย

สองฝาของน้ าจดืและน้ ากร่อย บริเวณตอนล่างของการเรียงล าดับช้ันหิน

หินยุคจูแรสซิก-ครีเทเชียส (Jk) พบทางตอนเหนือของจังหวัด บริเวณอ าเภอสอง เช่น

ดอยค้ง ดอยยาว ดอยหลวง ดอยม่อนกงล้อ และดอยผาใต้ ประกอบด้วยหินทรายอาร์โคสสีขาว มีหิน

กรวดมน และหนิดินดานแทรกสลับบ้าง

ตะกอนยุคควอเทอร์นารี (Q)

ตะกอนทรายและดินเคลย์น้ าพา (Qa) พบบริเวณที่ราบริมแมน่้ ายม ซึ่งเป็นแอง่สะสมตะกอน

ขนาดใหญ่ ตอนกลางของจังหวัด ในเขตอ าเภอเมือง อ าเภอสูงเม่น อ าเภอหนองม่วงไข่ อ าเภอสอง

อ าเภอลอง ลักษณะเป็นตะกอนธารน้ า กรวด ทราย ทรายแป้งและดินเหนียวสะสมตัวตามร่องน้ า คัน

ดินแม่น้ าและแอง่น้ าท่วมถึง

ตะกอนตะพักระดับสูง (Qt) พบบริเวณที่ราบริมแม่น้ ายม ในบริเวณที่ติดกับเนินเขา ซึ่งเป็น

แอ่งสะสมตะกอนขนาดใหญ่ตอนกลางและด้านใต้ของจังหวัด ในเขตอ าเภอเมือง อ าเภอสูงเม่น อ าเภอ

ร้องกวาง อ าเภอสอง อ าเภอลอง และอ าเภอวังช้ิน ลักษณะเป็นตะกอนตะพักล าน้ า กรวด ทราย ทราย

แป้ง ดินเหนยีวและศลิาแลง

หนิอัคนี

หินอัคนีแทรกซอนชนิดหินแกรนิต พบกระจายเป็นหย่อมเล็กๆ ได้แก่ หินอัคนีแทรกซอนยุค

ไทรแอสซิก (Trgr) มีลักษณะเป็นภูเขาสูง พบเล็กน้อยทางตะวันตกของจังหวัดโดยอยู่ทางด้านตะวันออก

Page 9: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

9

ของบ้านผาคอ และผาคัน อ าเภอลอง ลักษณะเป็นหนิไบโอไทต์แกรนิต ทัวมารีนแกรนิต แกรโนไดโอ

ไรต์ ไบโอไทต์มัสโคไวต์แกรนิต มัสโคไวต์ทัวมารีนแกรนิต หินไบโอไทต์ทัวมารีนแกรนิต หินแกรนิตมี

ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการก าเนิดแร่เศรษฐกิจหลายชนดิ เชน่ แรด่ีบุก วุลแฟรม ฟลูออไรต์ และแบไรต์

หนิอัคนีพุ

หนิยุคเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก (PTrv) พบบริเวณเทือกเขาทางตะวันตกของจังหวัด บริเวณ

อ าเภอสอง อ าเภอลอง ตดิต่อกับจังหวัดล าปาง บางส่วนของอ าเภอสูงเม่น อ าเภอเมือง และทางตอน

ใต้ของจังหวัด บริเวณอ าเภอเด่นชัย ติอต่อกับจังหวัดล าปาง และอ าเภอวังชิ้น ประกอบด้วยหินไร

โอไลต์ แอนดิไซต์ หินทัฟฟ์แสดงการไหล หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ หินไรโอลิติกทัฟฟ์ และหินแอนดิซิ

ติกทัฟฟ์

หินยุคจูแรสซิก (Jv) พบบริเวณเทือกเขาทางตอนเหนือของจังหวัด บริเวณอ าเภอสอง เช่น

ดอยโตน ดอยแม่กับไฟ และอ าเภอร้องกวาง ประกอบด้วย หินไรโอไรต์ หินไรโอลิติกทัฟฟ์ และหิน

แอนดซิิตกิทัฟฟ์

หินยุคควอเทอร์นารี (Qbs) พบบริเวณทางตอนใต้ของจังหวัดบริเวณห้วยแม่ปานอ าเภอเด่น

ชัย บางส่วนของอ าเภอวังชิ้น และทางทิศตะวันตกของบ้านปงหัวหาด บ้านนาต้ม อ าเภอลอง

ประกอบด้วย หนิแอลคาไลน์โอลิวีนบะซอลต์ ที่ให้แร่พลอย อาวายไอต์ มูเออร์ไรต์ หินเนฟิลีนไนต์ที่ให้

พลอย หนิบาซาไนต์ และหนิเนฟิลีนอาวานไอต์

ธรณีวทิยาโครงสร้าง

พืน้ที่จังหวัดแพร่อยู่ในกลุ่มแกนของช้ันหินคดโค้งสุโขทัย ส่วนใหญ่เป็นช้ันหินคดโค้งแบบประทุน

และประทุนหงายสลับกัน เป็นทั้งแบบมุมแหลมตลบทับ และรูปประทุนหงายตลบทับและอสมมาตร

บริเวณจังหวัดแพร่มีแกนของชัน้หนิคดโค้งอยู่ในแนวตะวันออกเฉียงเหนอื–ตะวันตกเฉียงใต้ และพบว่ามี

กลุ่มรอยเลื่อนแพร่ (Phare Fault Zone) รวมถึงรอยเลื่อนเถิน และรอยเลื่อนลอง มีแนวกระจายกว้าง

จากจังหวัดล าปางถึงจังหวัดแพร่ และมีแนวยาวจากอ าเภอเถิน จังหวัดล าปาง ไปทางทิศ

ตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านจังหวัดแพร่ และเลยไปต่อกับ Dien Phu Fault Zone บริเวณเมืองไชยบุรี

และเมืองหลวงพระบางในประเทศลาว มีความยาวประมาณ 250 กิโลเมตร กลุ่มรอยเลื่อนนี้ตัดผ่าน

หินอายุต่างๆ และเชื่อกันว่าเป็นแนวรอยเลื่อนตามระดับแบบเคลื่อนตัวไปทางซ้าย ตามทิศทางการ

เคลื่อนตัวของ Dien Phu Fault Zone ปัจจุบันพบว่า กลุ่มรอยเลื่อนนี้ยังคงเคลื่อน หรือมีพลังอยู่โดยมี

อัตราการเคลือ่นตัว 0.02-0.07 มิลลเิมตร/ปี

Page 10: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

10

ธรณีวทิยาแหล่งแร่

ลักษณะธรณีวิทยาแหล่งแร่ในเขตพื้นที่ โครงการสามารถแบ่งหน่วยหินออกได้ดังนี้ คือ หิน

ตะกอนยุคไทรแอสซิก หินกรวดเหลี่ยมซิลซิิไฟด์ยุคไทรแอสซิก และหนิแกรนิตยุคไทรแอสซิก-จูแรสซิก

โดยมีรายละเอียด ดังนี้

หนิตะกอนยุคไทรแอสซิก

หินชุดนี้คลุมพื้นที่ทางด้านตะวันตก วางตัวปิดทับอยู่บนหินลูโคเครติกแกรนิต ในบริเวณสัน

เขาและโผล่ให้เห็นต่อเนื่องไปทางด้านทิศตะวันตกของพื้นที่พื้นที่โครงการ อยู่ในหมวดหินฮ่องหอย

(Hong Hoi Formation) ประกอบด้วยหินโคลน หินดินดาน หินทราย หินปูน เป็นช้ันหินที่มีการวางตัว

ต่อเนื่องกันเป็นระเบียบ คือมีโครงสร้างแบบ Homogeneous structure มีทิศทางการวางตัวของช้ันหิน

ประมาณ N25°-50°E ช้ันหินเอียงเทท ามุมประมาณ 40°-50°NW ทางด้านทิศใต้ของพื้นที่พื้นที่

โครงการ ส่วนทางด้านทิศเหนือของพื้นที่ประทานบัตรช้ันหินจะวางตัวเบนไปทางทิศตะวันออกมากขึ้น

ประมาณ N50°-60°E , 45°-60°NW

หินโคลน (Mudstone) มีสีเทา เทาเขียว เนื้อแน่น แข็ง มีลักษณะการแตกเป็นรูปกลมรี

(ellipsoidal fracture) ช้ันของหนิมตีั้งแตเ่ป็นช้ันบางจนถึงหนาประมาณ 25 เซนติเมตร

หินดินดาน (Shale) มีสเีทาเขียวถึงเทาด า เนือ้แนน่ แข็ง มีลักษณะการแตกเป็นรูปกลมรี ช้ันหิน

มีลักษณะตั้งแตเ่ป็นช้ันบางๆ มีความหนาน้อยกว่า 1 เซนติเมตร จนถึงประมาณ 20 เซนติเมตร

หนิทราย (Sandstone) มีสีน้ าตาลถึงน้ าตาลเทา เนื้อละเอียดถึงปานกลาง มีความหนาของช้ัน

หินตั้งแต่ประมาณ 2 เซนติเมตร จนถึง 15 เซนติเมตร โดยช้ันบางๆ จะเกิดสลับกับหินดินดาน ส่วนช้ัน

หนาจะเป็นช้ันหินทรายที่ตอ่เนื่องกัน หนิทรายในเขตประทานบัตรเป็นหนิ Arkosic Sandstone

หินปูน (Limestone) พบเป็นช้ันหนาโผล่ให้เห็นชัดเจนบริเวณเขาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

ของพื้นที่ก าหนดแหล่งหิน หรือบางทีพบเกิดเป็นรูปเลนส์หนาประมาณ 4-10 เมตร ขึ้นไป แทรกสลับ

อยู่กับหินโคลน หินดินดาน และหินทราย หินปูมีสีเทาอ่อนจนถึงเทาด า เนื้อละเอียด มีสายแร่แคลไซต์

สีขาวขุ่นแทรกตัดอยู่ในเนือ้หนิ

หนิกรวดเหลี่ยมซิลิซไิฟด์ยุคไทรแอสซิก

หน่วยหินนี้เป็นส่วนล่างของหินตะกอนหมวดหินฮ่องหอยยุคไทรแอสซิก ที่พบในเขตพื้นที่พื้นที่

โครงการ ซึ่งวางปิดทับอยู่บนหนิแกรนิต จะแตกหักเป็นหนิกรวดเหลี่ยม ที่เรียกว่า หินกรวดเหลี่ยมแบบ

น้ าร้อน (Hydrothermal breccia) การแตกหักของหินตะกอนดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อหินตะกอนถูกแทรกดัน

ด้วยหินแกรนิต จะเกิดการแตกหักเป็นเศษชิ้นหิน (Rock fragments) เนื่องจากการแทรกดันของของไหล

ที่มีความดันสูง หินตะกอนเดิมและเศษหินเหล่านี้เมื่อถูกเติมซิลิกาที่ได้มาจากสารละลายแบบน้ าร้อน

(Hydrothermal solution) ในรูปของควอตซ์เม็ดละเอียด คาลซิโดนี หรือโอพอล ที่อาจเข้าไปอยู่ใน

ช่องว่างหรือเข้าแทนที่หินเดิมโดยขบวนการ การเติมซิลิกาท าให้แปรสภาพไปเป็นหินซิลิซิไฟด์ และ

Page 11: รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศแสดงที่ตั้งพื้นที่ศึกษาmining.eng.cmu.ac.th/site/wp-content/uploads/2019/01/60_TPT.pdf ·

11

ต่อมาเมื่อเศษหินถูกประสานด้วยเนื้อประสานซิลิกา หรือน้ าแร่ที่เหลือจากของไหลเดิม หรือจากของ

ไหลชุดใหม่ก็จะกลายเป็นหนิกรวดเหลี่ยมซิลซิิไฟด์ (Silicified breccia)

หินกรวดเหลี่ยมซิลิซิไฟด์ในเขตพื้นที่โครงการส่วนใหญ่ เป็นหินที่แปรสภาพมาจาก หินโคลน

หินดินดาน หินทราย และหินกรวดเหลี่ยมแบบน้ าร้อน โดยจะพบเกิดเป็นช้ันอยู่ระหว่างหินแกรนิต

ข้างลา่ง กับหนิตะกอนหมวดหินฮ่องหอยด้านบน และโผล่ให้เห็นในหลายบริเวณ

แร่วุลแฟรม (Wolframite) หรือ แร่เฟอร์เบอร์ไรต์ (Ferberite) เป็นสินแร่หลักและเป็นเป้าหมาย

ส าคัญในการท าเหมืองเพื่อผลิตแร่นี้ ส่วนใหญ่แร่จะเกิดอยู่ในรูปของเนื้อประสานระหว่างเศษหินใน

กรวดเหลี่ยมซิลิซิไฟด์ อาจจะพบที่เกิดอยู่ในช่องว่าง (Cavity filling) หรือเกิดเป็น Veinlets/Stockwork

ในหินกรวดเหลี่ยมซิลิซิไฟด์บ้าง

แร่พลวง (Antimony) ที่พบเกิดแผ่กระจายในโซนของหินกรวดเหลี่ยมซิลิซิไฟด์ในหลายบริเวณ

ในเขตพื้นที่โครงการ คือ แร่สติบไนต์ (Stibnite) แร่นี้มีปริมาณไม่มากนักเมื่อเทียบกับแร่วุลแฟรม แร่

สติบไนต์บางส่วนจะเปลี่ยนสภาพไปเป็นแรส่ติบิโคไนต์ (Stibiconite)

แร่ฟลูออไรต์ (Fluorite) ที่พบในเขตประทานบัตรเกิดในลักษณะเป็นสายแร่ (vein) และ

กระเปาะแร่ (pocket) ขนาดเล็กในหินตะกอนและกินกรวดเหลี่ยมซิลิซิไฟด์ นอกจากนี้ยังพบเกิดเป็น

เนื้อประสานในหินกรวดเหลี่ยมซิลิซิไฟด์ แร่ฟลูออไรต์ส่วนใหญ่ได้จากแร่ที่เกิดเป็นกระเปาะใกล้ๆ กับ

หนิปูนรูปเลนส์ที่อยู่ใกล้รอยสัมผัสกับหนิลูโคเครติกแกรนติ

หนิแกรนติยุคไทรแอสซิก-จูแรสซิก ; Gr

หินแกรนิตอายุไทรแอสซิก-จูแรสซิกที่แทรกดันหินตะกอนหมวดหินฮ่องหอยขึ้นมาโผล่ให้เห็น

เกือบตลอดแนวเขตพื้นทีพ่ืน้ที่โครงการทางดา้นทิศตะวันออก เป็นชนิดหินลูโคเครติกแกรนิต มีสีขาวถึง

เทาขาว ประกอบด้วยแร่ควอตซ์ ออร์โธเคลส เพอร์ไธต์ แพลจิโอเคลส และทัวร์มาลีน ขนาดผลึก

ละเอียดถึงปานกลาง มีเนื้อหินเป็นแบบ Hypidiomorphic-granular และบางบริเวณอาจพบหินแกรนิต

ชนิดไบโอไทต์แกรนิต ซึ่งจะมีสีเข้มขึ้น หินแกรนิตที่พบส่วนใหญ่จะผุพัง แต่ในระดับลึกลงไปจากผิวดิน

ประมาณ 20 เมตร จะพบช้ันแกรนิตสด ที่มีความแข็งแกร่ง สามารถน ามาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม

ก่อสร้างได้ ซึ่งจากข้อมูลหลุมเจาะที่เคยเจาะส ารวจในเขตพื้นที่โครงการ พบว่าเป็นดานหินแกรนิต

วางตัวต่อเนื่องเป็นแนวยาวทางด้านทิศตะวันออกของพื้นที่พืน้ที่