บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป...

286
() สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย ดร. นรินทร สังขรักษา รองศาสตราจารย ดร. ทรงศรี สรณะสถาพร รองศาสตราจารย รัตนา วัฒนแพทย อาจารยณัฎฐพงศ จันทรอยู บทคัดยอ งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค ประการ คือ ศึกษาเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง การคาดการณประมาณการของคนพิการระดับรุนแรงและแนวโนมในอนาคต และสวัสดิการสังคมทีเหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน การวิจัยครั้งนี้เปนการ วิจัยแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุมตัวอยางที่ศึกษาเปนผูบริหาร นักวิชาการและ เจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานดานการจัดสวัสดิการใหแกคนพิการ ตัวแทน คนพิการทุกประเภทๆละ ๒๕ คน จาก ภาคและกรุงเทพมหานคร รวมจํานวน ๒๓๙ คน เก็บรวบรวมขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ ระดับลึก การสนทนากลุและแบบเก็บขอมูล ผลการวิจัย พบวา เกณฑการวัดระดับความพิการรุนแรง แมวาจะมีเกณฑในเชิงการแพทย และเชิงสังคม แตเกณฑเชิงสังคมมีปญหาอุปสรรคในความเปนมาตรฐานและการยอมรับ จึงตองอิง เกณฑเชิงประจักษของกระทรวงสาธารณสุขเปนหลัก ปญหาของคนพิการระดับรุนแรงมีความแตกตาง ตามบริบทของสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงประเภทของความพิการ ความจําเปนที่ตองมีการจัด สวัสดิการใหคนพิการระดับรุนแรง ที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได หรือไดเพียงบางสวน คนพิการ ระดับรุนแรงตองการเบี้ยยังชีพมีพิสัยรวมอยูระหวาง , ๒๐๐-, ๐๐๐ บาทตอคน เฉลี่ย , ๕๔๙. ๔๕ บาทตอคน ทั้งนี้ผูเสนอเบี้ยยังชีพนอย แตตองการสวัสดิการอื่นๆที่ไมใชเงิน ทั้งในดานของสุขภาพ การศึกษา อาชีพ นันทนาการ และความมั่นคงทางสังคมและการยอมรับในสังคม ขณะที่คนพิการใน ประเทศไทย มีแนวโนมลดลงในคนพิการระดับไมรุนแรง แตอัตราการเพิ่มของคนพิการระดับรุนแรง จะมากกวาอัตราการเพิ่มของประชากร โดยความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวและความพิการทาง จิตใจหรือพฤติกรรมจะมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม และการเปลี่ยนผานทางระบาดวิทยาจากโรคติดตอไปสูโรคไมติดตอ (โรคไรเชื้อ) และโรคทางสังคม (Social Disease) เมื่อคาดคะเนจํานวนคนพิการระดับรุนแรงใน ๑๐ ปขางหนาจะมีคนพิการระดับรุนแรง ถึง ๒๕๗,๖๒๒ คน (คิดตามอัตราการเพิ่มจากปฐาน) รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมมี รูปแบบคือ ) รูปแบบเชิงสถาบัน (Institutional Welfare Model) เปนรูปแบบสวัสดิการสังคมของภาครัฐ ) รูปแบบทวิลักษณ (Double Welfare Model) เปน รูปแบบภาคีสวัสดิการระหวางรัฐกับเอกชน ) รูปแบบพหุลักษณ (Multiple Sectors Welfare Model) เปนรูปแบบผสมผสานระหวางสหวิชาชีพ /สหสาขา ไดแก รูปแบบการดูแล ()

Upload: others

Post on 15-Oct-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๑)

สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย ดร. นรินทร สังขรักษา รองศาสตราจารย ดร. ทรงศรี สรณะสถาพร

รองศาสตราจารย รัตนา วัฒนแพทย อาจารยณัฎฐพงศ จันทรอยู บทคัดยอ งานวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค ๓ ประการ คือ ศึกษาเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง การคาดการณประมาณการของคนพิการระดับรุนแรงและแนวโนมในอนาคต และสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุมตัวอยางที่ศึกษาเปนผูบริหาร นักวิชาการและเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานดานการจัดสวัสดิการใหแกคนพิการ ตัวแทน คนพิการทุกประเภทๆละ ๒๕ คน จาก ๔ ภาคและกรุงเทพมหานคร รวมจํานวน ๒๓๙ คน เก็บรวบรวมขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณระดับลึก การสนทนากลุม และแบบเก็บขอมูล

ผลการวิจัย พบวา เกณฑการวัดระดับความพิการรุนแรง แมวาจะมีเกณฑในเชิงการแพทยและเชิงสังคม แตเกณฑเชิงสังคมมีปญหาอุปสรรคในความเปนมาตรฐานและการยอมรับ จึงตองอิงเกณฑเชิงประจักษของกระทรวงสาธารณสุขเปนหลัก ปญหาของคนพิการระดับรุนแรงมีความแตกตางตามบริบทของสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงประเภทของความพิการ ความจําเปนที่ตองมีการจัดสวัสดิการใหคนพิการระดับรุนแรง ที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได หรือไดเพียงบางสวน คนพิการระดับรุนแรงตองการเบี้ยยังชีพมีพิสัยรวมอยูระหวาง ๑,๒๐๐-๘,๐๐๐ บาทตอคน เฉลี่ย ๓,๕๔๙.๔๕ บาทตอคน ทั้งนี้ผูเสนอเบี้ยยังชีพนอย แตตองการสวัสดิการอื่นๆที่ไมใชเงิน ทั้งในดานของสุขภาพ การศึกษา อาชีพ นันทนาการ และความมั่นคงทางสังคมและการยอมรับในสังคม ขณะที่คนพิการในประเทศไทย มีแนวโนมลดลงในคนพิการระดับไมรุนแรง แตอัตราการเพิ่มของคนพิการระดับรุนแรงจะมากกวาอัตราการเพิ่มของประชากร โดยความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวและความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมจะมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้น ซ่ึงสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม และการเปลี่ยนผานทางระบาดวิทยาจากโรคติดตอไปสูโรคไมติดตอ (โรคไรเชื้อ) และโรคทางสังคม (Social Disease) เมื่อคาดคะเนจํานวนคนพิการระดับรุนแรงใน ๑๐ ปขางหนาจะมีคนพิการระดบัรุนแรงถึง ๒๕๗,๖๒๒ คน (คิดตามอัตราการเพิ่มจากปฐาน) รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมมี ๓ รูปแบบคือ ๑) รูปแบบเชิงสถาบัน (Institutional Welfare Model) เปนรูปแบบสวัสดิการสังคมของภาครัฐ ๒) รูปแบบทวิลักษณ (Double Welfare Model) เปนรูปแบบภาคีสวัสดิการระหวางรัฐกับเอกชน ๓) รูปแบบพหุลักษณ (Multiple Sectors Welfare Model) เปนรูปแบบผสมผสานระหวางสหวิชาชีพ /สหสาขา ไดแก รูปแบบการดูแล (๒)

Page 2: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

สุขภาพแบบไมเปนทางการ (Informal Care) การดูแลคนพิการระดับรุนแรงโดยชุมชน (Day Care Model) การจัดสวัสดิการชุมชน เปนตน ดังนั้นการจัดสวัสดิการสังคมของไทยควรใชรูปแบบทั้งโดยสถาบัน (Institutional-based) และรูปแบบการลดการพึ่งพาสถาบันของรัฐลง (Deinstitutional-based) มาเปนรูปแบบสวัสดิการแบบผสม (Mixed Model) ที่เนนใหทองถ่ินมีสวัสดิการชุมชนสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ขอเสนอแนะจากการศึกษา รัฐควรปรับปรุงเกณฑการประเมินระดับความพิการโดยใชเกณฑแบบยืดหยุนทั้งเชิงการแพทยและเชิงสังคม เพื่อรองรับคนพิการระดับรุนแรงที่เพิ่มขึ้น รัฐควรพัฒนาคุณภาพชีวิตในระยะยาว ซ่ึงเนนระบบการคุมครองสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการ ควรขยายและกระจายบริการสวัสดิการสังคม ทั้งในสวนกลางและทองถ่ินที่ตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานใหคนพิการระดับรุนแรง รัฐควรเตรียมความพรอมรองรับคนพิการระดับรุนแรงที่เพิ่มขึ้นและจัดทําฐานขอมูลคนพิการระดับรุนแรง การจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในรูปแบบของการสงเสริมสวัสดิการขั้นพื้นฐาน การทบทวนกระบวนการจายเบี้ยยังชีพสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดวยการเพิ่มเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมใหคนพิการระดับรุนแรง สงเสริมการอาชีพที่สรางรายไดใหมั่นคงแกคนพิการระดับรุนแรงอยางเหมาะสม และสอดคลองกับประเภทของคนพิการ ควรสงเสริมการจัดตั้งกองทุนเพื่อคนพิการระดับรุนแรง และการจัดสวัสดิการในชุมชน ดวยรูปแบบตางๆ แกครอบครัวที่ประสบปญหาความเดือดรอน โดยเฉพาะคนพิการระดับรุนแรงที่มีความพิการซ้ําซอน ควรมีมาตรการที่ชัดเจนในการสงเสริมใหครอบครัวและชุมชนมีความเขมแข็ง เพื่อเปนกลไกหลักในการดูแลคนพิการระดับรุนแรง สนับสนุนใหมีระบบการดูแลคนพิการระดับรุนแรงที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได พรอมกับใหชุมชนมีสวนรวมในการดูแลคนพิการระดับรุนแรง และพัฒนาระบบการดูแลคนพิการระดับรุนแรงในชุมชนใหมีประสิทธิภาพ ตามแนวคิดของการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน ควรทบทวนการเพิ่มสถานสงเคราะหคนพิการใหเหมาะสมกับคนพิการที่ตองใหการสงเคราะห ใน “กลุมที่สุดยากลําบาก” ขณะที่สถานศึกษาในระดับตางๆ ควรสงเสริมใหลูกหลานไดตระหนัก เห็นคุณคาและความสําคัญของคนพิการ และควรสนับสนุนใหมีการจัดตั้ง “สภาคนพิการแหงชาติ” ที่เปนหนวยประสานกลางเพื่อดูแลเร่ืองสิทธิมนุษยชน และผลประโยชนใหกับคนพิการระดับรุนแรง โดยเฉพาะสวัสดิการและการบริการสังคม ตลอดจนทําหนาที่เปนศูนยพันธมิตรในการรวมกลุมคนพิการระดับรุนแรงจากสมาคม องคกร และหนวยงานสาธารณะประโยชนตางๆที่เกี่ยวของกับคนพิการ และเปนศูนยรวมของสถาบันแรงงานแหงชาติเพื่อคนพิการระดับรุนแรง

Page 3: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๓) The Proper Welfare for Persons with Severe Disabilities in Thailand Dr. Narin Sungrugsa and others

Abstract This research was aimed to study the proper criteria to measure the levels of severe disabilities and forecast the numbers of severe disabled persons in the present and future trends. Besides it was investigated the proper social welfare services and their estimated budgets per head. By using of quantitative and qualitative approaches, in-depth interview mixed with focus group discussion and structured questionnaire were employed to collect the data. In this study administrators, academicians, twenty five representatives of each the five disabled groups from four regions and Bangkok and the officers who perform the welfare services for them as the studied groups were purposively selected. And the amounts were accounted to 239 persons. From the research it was revealed that event though there had both of the social and medical criteria employed to measure the levels of severe disabilities, the first was facing with some problems and obscures of its social standards and acceptances. In contrast to the former, the medical measure was mainly approved and endorsed by Ministry of Public Health. The problems of persons with severe disabilities were differentiated according to its social and cultural contexts and classifications. To consider the welfare services, it was found that they wanted the monthly sustenance allowance ranged from 1,200-8,000 Bath/head or its average was 3,549.45 Bath/head. For the reasons, they still requested more of the non-monetary services such as health services, special educational services, job placement services and recreational services in addition to social security and acceptances.

The numbers of mild disabled persons were diminishing, but the increasing rate of its severe cases was more than the increasing rate of Thai population. More over the disabled with physical disabilities or difficulty mobilizations, and mental or behavioral disabilities were also increasing too. These were associated with the changes of social, economic and epidemiological transitions from communicable to non-communicable diseases so called non-infectious or social disease. To calculate the estimated numbers of person with severe disabilities for the next 10 years, they were forecasted to 257,622 persons. The provision of social welfare services were 3 models as to the institutional welfare model totally performed by government sector, the double welfare model collaborated from two alliances (government and private sectors) and the multiple sectors welfare model integrated on

Page 4: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๔) multidisciplinary disciplines and multi-sectoral collaborations. The third was thus mobilized in many forms of informal care, day care model, and arrangements of community welfare services . The Thai social welfare services should be implemented on the mixed models based on self-managed community welfare services for severe disabled persons. For the recommendations, the government should improve or modify the standardized criteria to diagnose and assess the levels of severity among the disabled persons. It should employ or integrate both of the medical and social criteria to support the increasing trends of persons with severe disabilities. The government should develop the quality of life for the disabled with various dimensions and sustainability. The protection system of long-term social welfare for disabled persons should be recognized and settled up and the services should be expanded and allocated to cover all the regions both in central, regional and local areas. To respond the basic requirements of the disabled with severity, the government should prepare its readiness to their increasing trends. And this should be firstly started from establishment of the data base system for them. Furthermore the basic services should be arranged and provided for them in forms of the new improved sustenance allowance, the proper occupational promotions for generating their sustainable incomes and the occupations should be suitable modified or adapted to the classifications and levels of their disabilities. The government should support and endorse the welfare service funds for the disabled persons and their family especially for the severity cases and poor family. The government should have clear measures to strengthen the mechanisms of family and community to carry out many activities to take care the severe disabled persons especially for the persons with fully impairments or can not help themselves completely. Such as the children should be risen up their values and concerns toward the importance of severe disabled persons living in community. And the rehabilitation service centers should be suitable improved for the disabled who really want the services. Significantly the service system should be developed under the concept of Community-based Rehabilitation Program. Finally the society must establish the collaborating center namely the National Disability Council to take its responsibilities for protections of human rights and interests especially in the welfare services for severe disabled persons. The council must plays the function roles to invite alliances from many different disabilities-related civic groups, non-profitable organizations, and government organizations to co-work for the interests. The council should be also manipulated to the center of National Labor Institute for Severe Disabled Persons too.

Page 5: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๕) คํานํา

ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๔๖ ใหกระทรวงการพัฒนา

สังคมและความมั่นคงของมนุษย ดําเนินงานแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายและแผนแมบทของประเทศไทยและพันธสัญญาที่ประเทศไทยไดตกลงรวมกับนานาประเทศ และเพื่อใหการดําเนินงานแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเปนรูปธรรมที่ชัดเจนขึ้น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย จึงไดกําหนดยุทธศาสตรดานการวิจัยและพัฒนาเปนหนึ่งในยุทธศาสตรที่สําคัญ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ทั้งนี้เพื่อศึกษาขอมูลในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการดานตางๆอยางเปนองครวม จากยุทธศาสตรดังกลาวจึงไดมีการดําเนินการศึกษาวิจัยในรูปของชุดโครงการ เร่ือง “โครงการวิจัยยุทธศาสตรบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ” ประกอบดวยงานวิจัย ๓ เร่ือง ไดแก ๑) ระบบการเฝาระวังและปองกันความพิการ ๒) ส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการและเพื่อทุกคนในสังคม ๓) สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย

งานวิจัยเร่ือง “สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย”นี้มุงศึกษาเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง การคาดประมาณแนวโนมของจํานวนคนพิการระดับรุนแรงในอนาคต และสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการและประมาณการใชงบประมาณตอคน โดยใชวิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการเก็บขอมูล วิเคราะห และสังเคราะหผลการวิจัย

คณะผูวิจัยขอขอบคุณคนพิการและผูเกี่ยวของที่มีสวนรวมในการใหขอมูล รวมทั้งที่ปรึกษาโครงการ ดร.จิตประภา ศรีออน และผูบริหาร บุคลากรของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย คุณออมพร นิตยสุทธิ คุณสุนีย สายสุพัฒนผล คุณมยุรี ผิวสุวรรณ คุณวิสิทธิ์ สนามชวด คุณเทพวัลย ภรณวลัย คุณอาภรณ กุลกุศล คุณวิจิตา รชตะนันทิกุล คุณณฐอร อินทรดีศรี คุณเสาวลักษณ วิจิตร คุณชลลดา ชนะศรีรัตนกุล คุณวิษฐิดา พงษเผือก และคุณพัฒน วัฒนสินธุ ที่ใหคําแนะนํา ปรับปรุง แกไขรายงานใหมีความถูกตองชัดเจน และขอขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิ รองศาสตราจารย ดร.สุรพล ปธานวนิช และอาจารยกมลพรรณ พันพึ่ง ที่ชวยเติมเต็มใหงานวิจัยมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น คุณคาและประโยชนอันพึงเกิดจากการวิจัยเร่ืองนี้ คณะผูวิจัยขอมอบแดคนพิการที่เปนบุคคลสําคัญในการวิจัยเร่ืองนี้ และหวังวาผลการวิจัยจะเปนขอมูลพื้นฐานในการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับสวัสดิการที่เหมาะสม และนําไปใชประโยชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแกหนวยงานที่เกี่ยวของตอไป คณะผูวิจัย กันยายน ๒๕๔๙

Page 6: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๖) สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย (๑) บทคัดยอภาษาอังกฤษ (๓) คํานํา (๕) สารบัญ (๖) สารบัญตาราง (๑๐) สารบัญแผนภูมิ (๑๕) บทท่ี ๑ บทนํา ๑

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ๑ วัตถุประสงคการวิจยั ๖

คําถามการวิจยั ๖ ขอบเขตการวจิัย ๖ วธีิการวิจยั ๖ นิยามศัพท ๗ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ๑๐ บทท่ี ๒ วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ๑๑ ตอนที่ ๑ เกณฑการวัดความพิการระดับรุนแรง ๑๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับความพิการ ๑๑ สาเหตุของความพิการ ๑๔ ประเภทของความพิการ ๑๖ เกณฑการวดัความพิการ ๑๘ ตอนที่ ๒ การคาดการณแนวโนมการเปลี่ยนแปลงประชากร ๓๒

การเปลี่ยนแปลงประชากร ๓๒ การคาดประมาณแนวโนมคนพิการ ๓๒ สถิติที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงทางประชากร ๓๖ ตอนที่ ๓ แนวคิดเกี่ยวกับสวสัดิการสังคม ๔๓ แนวคดิเกีย่วกบัสวัสดิการสังคม ๔๓

ความหมายของสวัสดิการสังคม ๔๓พัฒนาการของการจัดสวัสดกิารสังคม ๔๔

แนวคดิเกีย่วกบัสวัสดิการสังคมในปจจุบนั ๔๕

Page 7: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๗) สารบัญ(ตอ)

หนา แนวคดิเกีย่วกบัสวัสดิการสังคมของตางประเทศ ๔๗ แนวคดิเกีย่วกบัสวัสดิการสังคมในประเทศไทย ๔๙ รูปแบบการจดัสวัสดิการสังคม ๕๑ ขอบขายของงานสวัสดิการสังคม ๕๒ การจัดสวัสดกิารสังคมสําหรับคนจนและคนพิการ ๕๔ แนวทางการวดัความยากจนที่เปนคนพิการและคนดอยโอกาส ๕๖ แนวคดิความมั่นคงของมนุษย ๖๐ แนวคดิการพฒันาคุณภาพชวีิตคนพกิาร ๖๐ ความหมายของคุณภาพชวีิต ๖๐ องคประกอบของคุณภาพชวีิต ๖๑ แผนพัฒนาคณุภาพชวีิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ ๖๒ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ๖๔ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน ๖๔

การดํารงชีวิตอิสระ ๖๗ งานวิจยัที่เกี่ยวของในประเทศ ๗๐ งานวิจยัที่เกี่ยวของกับสวัสดกิาร ๗๐ งานวิจยัที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิต ๗๗ งานวิจยัที่เกี่ยวของกับการพืน้ฟูสมรรถภาพคนพิการ ๗๘ งานวิจยัที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิตอิสระ ๘๓ งานวิจยัที่เกี่ยวของของตางประเทศ ๘๔ ฐานคิดในการวิจัยสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ๘๖ กรอบแนวคิดการวิจยัสวัสดกิารสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ๘๗

บทท่ี ๓ วิธีดําเนินการวิจัย ๘๘ วิธีการวิจยั ๘๘ การคัดเลือกพืน้ที่และประชากรที่ศึกษา ๘๙ พื้นที่การวจิัย ๘๙ ประชากร ๘๙ กลุมตัวอยาง ๙๐

Page 8: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๘) สารบัญ(ตอ) หนา

ขั้นตอนการสุมตัวอยาง ๙๑ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ๙๖ การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ๙๖ การตรวจสอบขอมูล ๙๗ วิธีการเก็บขอมูล ๙๗ การรวบรวมขอมูล ๙๗ การวิเคราะหขอมูล ๙๘ การเขียนรายงานการวจิัย ๙๘

บทท่ี ๔ ผลการวิเคราะหขอมูล ๙๙ ตอนที่ ๑ เกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง ๙๙ องคประกอบของการประเมิน ๙๙ เกณฑในการตดัสินความพกิารระดับรุนแรง ๑๐๗ ตอนที่ ๒ การคาดประมาณการของคนพกิาระดับรุนแรงและแนวโนมในอนาคต๑๐๘ สถิติการจดทะเบียนคนพิการ ๑๐๘ การวิเคราะหแนวโนมคนพิการ ๑๐๙ ตอนที่ ๓ การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการ ๑๑๓ ผลการจัดเก็บและรวบรวมขอมูล ๑๑๓ จุดเดนของปรากฏการณทางสังคมในพื้นทีศ่ึกษา ๑๑๔ ความหมายของการใหคําจํากดัความคนพกิารระดับรุนแรง ๑๑๖ ความจําเปนและการไดรับบริการสังคมของคนพิการระดบัรุนแรง ๑๑๗ คนพิการระดบัรุนแรงทางการมองเห็น ๑๑๗ คนพิการระดบัรุนแรงทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย ๑๔๑ คนพิการระดบัรุนแรงทางกาย หรือการเคลื่อนไหว ๑๕๕ คนพิการระดบัรุนแรงทางจติใจ หรือพฤตกิรรม ๑๗๓ คนพิการระดบัรุนแรงทางสติปญญา หรือการเรียนรู ๑๘๘ รูปแบบของการจัดสวัสดิการสังคม ๒๑๐ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดบัรุนแรง ๒๑๐ รูปแบบการจัดสวัสดิการในชุมชน ๒๑๙ รูปแบบการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ๒๒๓

Page 9: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๙) สารบัญ(ตอ) หนา

รูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน(CBR) ๒๒๓ รูปแบบการฝกอาชีพบานสมานใจ ๒๒๖

รูปแบบการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ ๒๒๘รูปแบบการดแูลสุขภาพโดยชุมชนแบบไมเปนทางการ( Informal Care) ๒๓๐

รูปแบบการดแูลคนพิการโดยชุมชน (Day Care) ๒๓๐ รูปแบบการดแูลสุขภาพที่บาน (Home Health Care)/การดูแลตนเอง (Self-care) ๒๓๒

บทท่ี ๕ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ๒๓๔ สรุปผลการวิจัย ๒๓๔ อภิปรายผล ๒๔๐ ขอเสนอจากการวิจัย ๒๔๖ ขอเสนอแนะเพื่อการวิจยัคร้ังตอไป ๒๕๓

บรรณานุกรม ๒๕๕ ภาคผนวก ๒๖๙ -รายช่ือผูทรงคุณวุฒ ิ ๒๗๐

Page 10: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๑๐) สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา ๒.๑ แสดงเกณฑการจําแนกความพิการทางการแพทยตามลักษณะความพิการและ ระดับความพกิาร ๑๙ ๒.๒ ภาพรวมของ International Classification of Functioning -ICF ๒๓ ๒.๓ สรุปสาระสําคัญของแนวคดิตางๆเกี่ยวกบัเกณฑในการประเมินความพิการ ระดับรุนแรง ๒๗ ๒.๔ จํานวนคนพกิารทั้งหมดของออสเตรเลียตะวันตกในป ๒๕๕๐ และ

๒๕๗๐ ๓๕ ๒.๕ จํานวนและรอยละของคนพิการ พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๔๕ ๓๗ ๒.๖ จํานวนและรอยละของคนพิการจําแนกตามภาค พ.ศ. ๒๕๓๔ ,๒๕๓๙ และ๒๕๔๔ ๓๘ ๒.๗ จํานวนและรอยละจําแนกตามลักษณะความพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔,๒๕๓๙ และ๒๕๔๔ ๓๙ ๒.๘ แสดงปริมาณคนจนจําแนกตามระดับรายได ๕๗ ๒.๙ เปรียบเทียบแนวคิดระหวางการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการและการดํารง ชีวิตอิสระของคนพิการ ๖๙ ๓.๑ ขนาดของกลุมตัวอยางผูใหขอมูลในพื้นที ่ ๙๒ ๔.๑ เกณฑการวดัความพิการระดบัรุนแรงตามขอเสนอของคณะนักวิจัย ๑๐๓ ๔.๒ แสดงองคประกอบของคะแนนต่ําสุดของการตัดสินความพิการระดับรุนแรง ๑๐๗ ๔.๓ แสดงจาํนวนประชากรและจํานวนคนพิการ ตั้งแต ป ๒๕๑๙-๒๕๔๔ ๑๐๙ ๔.๔ แสดงอตัราเพิ่มทุก ๕ ปและอัตราการเพิ่มทุก ๑๐ ป ตั้งแต ป ๒๕๑๙-๒๕๔๔ ๑๐๙ ๔.๕ แสดงจาํนวนผูใหขอมูลและประชมุสนทนากลุมในแตละภูมภิาค ๑๑๓ ๔.๖ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นของ กทม. ๑๒๘ ๔. ๗ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางการมองเห็นเสนอขอของ กทม. ๑๓๐ ๔.๘ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นของจังหวดั นครปฐม ๑๓๐ ๔.๙ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการทางการมองเหน็เสนอขอของจังหวดั นครปฐม ๑๓๑ ๔.๑๐ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเหน็ของจังหวัด เชียงใหม ๑๓๒

Page 11: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๑๑) สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา ๔.๑๑ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางการมองเหน็เสนอขอของจังหวดั เชียงใหม ๑๓๓ ๔.๑๒ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเหน็ของจังหวัด อุบลราชธานี ๑๓๓ ๔.๑๓ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการทางการมองเห็นเสนอขอของจังหวัด อุบลราชธานี ๑๓๕ ๔.๑๔ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเหน็ของจังหวัด สงขลา ๑๓๖ ๔.๑๕ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการทางการมองเห็นเสนอขอของจังหวัดสงขลา ๑๓๗ ๔.๑๖ สรุปการไดรับสวัสดกิารสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น ๑๔๐ ๔.๑๗ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยนิของ กทม. ๑๔๕ ๔.๑๘ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการทางการไดยนิเสนอขอของ กทม. ๑๔๕ ๔.๑๙ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยนิของจังหวดั นครปฐม ๑๔๖ ๔.๒๐ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการทางการไดยินทีเ่สนอขอของจังหวัดนครปฐม ๑๔๗ ๔.๒๑ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยนิของจังหวดั เชียงใหม ๑๔๘ ๔.๒๒ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการทางการไดยินทีเ่สนอขอของเชียงใหม ๑๔๘ ๔.๒๓ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยนิของจังหวดั อุบลราชธาน ี ๑๕๐ ๔.๒๔ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการทางการไดยินทีเ่สนอขอของจังหวัดอุบลราชธานี ๑๕๐ ๔.๒๕ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยนิของจังหวดั สงขลา ๑๕๑ ๔.๒๖ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการทางการไดยินทีเ่สนอขอของจังหวัดสงขลา ๑๕๒ ๔.๒๗ สรุปการไดรับสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยนิ ๑๕๔ ๔.๒๘ แสดงรายรบั-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว ของ กทม. ๑๖๐ ๔.๒๙ แสดงเบีย้ยังชีพที่คนพกิารระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหวที่เสนอขอ ของ กทม. ๑๖๑

Page 12: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๑๒) สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา ๔.๓๐ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว ของจังหวดันครปฐม ๑๖๓

๔.๓๑ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหวที่เสนอขอของ จังหวดันครปฐม ๑๖๓ ๔.๓๒ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหวของ จังหวดัเชยีงใหม ๑๖๔ ๔.๓๓ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหวที่เสนอขอของ จังหวดัเชยีงใหม ๑๖๕ ๔.๓๔ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหวของ จังหวดัอบุลราชธานี ๑๖๖ ๔.๓๕ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหวที่เสนอขอของ จังหวดัอบุลราชธานี ๑๖๖ ๔.๓๖ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหวของ จังหวดัสงขลา ๑๖๘ ๔.๓๗ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดบัรุนแรงทางการเคลื่อนไหวที่เสนอขอของ จังหวดัสงขลา ๑๖๘ ๔.๓๘ สรุปการไดรับสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทาง การเคลื่อนไหว ๑๗๒ ๔.๓๙ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ของ กทม. ๑๗๙ ๔.๔๐ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ของ กทม. ๑๘๐ ๔.๔๑ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรอื พฤติกรรมของจังหวดันครปฐม ๑๘๑ ๔.๔๒ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมที่ เสนอขอของจังหวดันครปฐม ๑๘๑ ๔.๔๓ แสดงเบี้ยยังชพีที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรอื พฤติกรรมที่เสนอขอของจังหวดัอุบลราชธานี ๑๘๒

Page 13: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๑๓) สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา ๔.๔๔ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมที่ เสนอขอของจังหวดัอุบลราชธานี ๑๘๓ ๔.๔๕ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับทางจิตใจหรือพฤติกรรม ของจังหวดัสงขลา ๑๘๔ ๔.๔๖ แสดงเบี้ยยังชีพทีเ่หมาะสมสําหรับคนพิการระดบัรุนแรงทางจติใจหรือ พฤติกรรมที่เสนอขอของจังหวัดสงขลา ๑๘๔ ๔.๔๗ สรุปการไดรับสวัสดิการสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือ พฤติกรรม ๑๘๗ ๔.๔๘ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูของ กทม. ๑๙๕ ๔.๔๙ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู เสนอขอของจังหวัด กทม. ๑๙๖ ๔.๕๐ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูของจังหวัดนครปฐม ๑๙๗ ๔.๕๑ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูเสนอขอของจังหวดันครปฐม ๑๙๘ ๔.๕๒ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูของจังหวัดเชียงใหม ๑๙๙ ๔.๕๓ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูเสนอขอของจังหวดัเชยีงใหม ๑๙๙ ๔.๕๔ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูของจังหวัดอบุลราชธานี ๒๐๐ ๔.๕๕ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูเสนอขอของจังหวดัอุบลราชธานี ๒๐๑ ๔.๕๖ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูของจังหวัดสงขลา ๒๐๒ ๔.๕๗ แสดงเบี้ยยังชพีที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรูเสนอขอของจังหวดัสงขลา ๒๐๒

Page 14: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๑๔) สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา ๔.๕๘ สรุปการไดรับสวัสดิการสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือ การเรียนรู ๒๐๖ ๔.๕๙ แสดงสรุปเบี้ยยังชีพที่เสนอขอแยกตามจังหวัดและแยกตามประเภท ความพิการ ๒๐๗ ๔.๖๐ สรุปสวัสดิการสังคมที่จําเปนและการไดรับสวัสดิการสังคมของคนพิการ ระดับรุนแรงตามประเภทตางๆ ๒๐๘ ๔.๖๑ สรุปความตองการบริการสวสัดิการสงัคมของคนพิการระดับรุนแรง แตละประเภท ๒๐๙ ๔.๖๒ แสดงจํานวนสถานที่จัดการศึกษาใหกับคนพิการแยกตามประเภท ความพิการในประเทศ ๒๑๑ ๔.๖๓ แสดงจํานวนสถานพยาบาลที่ใหบริการสําหรับคนพิการสังกัด หนวยงานตางๆที่ใหบริการ ๒๑๓ ๔.๖๔ แสดงจํานวนสถานฝกอาชีพของศูนยฝกอาชีพคนพิการจําแนก ตามอาชีพตางๆ ๒๑๔ ๔.๖๕ แสดงจํานวนองคกรเอกชนที่ใหบริการแกคนพิการประเภทตางๆ ๒๑๖ ๕.๑ แสดงอัตราการเพิ่มทุก ๕ ปและอตัราการเพิ่มทกุ ๑๐ ป ตั้งแตป ๒๕๑๙-๒๕๔๔ ๒๓๕ ๕.๒ สรุปสวัสดิการสังคมที่จําเปนและการไดรับสวัสดกิารสังคมของคนพิการ ระดับรุนแรงประเภทตางๆ ๒๓๗ ๕.๓ สรุปเบี้ยยังชีพที่คนพิการประเภทตางๆเสนอขอ ๒๓๘

Page 15: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

(๑๕) สารบัญแผนภมิู

แผนภูม ิ หนา ๒.๑ ปฏิกิริยารวมกันระหวางองคประกอบของ International Classification of Functioning -ICF ๒๔ ๒.๒ แสดงแนวโนมอัตราผูมีความพิการ (รอยละ) ๓๘ ๒.๓ องคประกอบของคุณภาพชีวิต ๖๑

๒.๔ ฐานคิดในการวิจัยสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดบั รุนแรงในประเทศไทย ๘๕ ๒.๕ กรอบแนวคิดการวจิัยสวัสดกิารที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ๘๖ ๓.๑ การคัดเลือกพื้นที่และกลุมประชากรที่ศึกษา ๙๐ ๓.๒ แสดงการดําเนินการวิจยัตามขั้นตอน ๙๕ ๔.๑ แสดงการจดทะเบียนคนพกิารตั้งแต ป ๒๕๓๘-๒๕๔๙ ๑๐๘ ๔.๒ แสดงอัตราการเพิ่มของคนพิการทุก ๕ ป ตั้งแตป ๒๕๑๙-๒๕๔๔ ๑๑๐ ๔.๓ แสดงแนวโนมอัตราผูมีความพิการ (รอยละ) ๑๑๑ ๔.๔ แสดงแนวโนมดัชนสุีขภาพจิตในสังคมไทย ๑๑๒ ๔.๕ แสดงการจัดเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางในพื้นที ่ ๑๑๔ ๔.๖ แสดงการดําเนินงานกองทนุหมูบานและชุมชนเมือง ๒๑๘ ๔.๗ ผังแสดงองคประกอบวิธีการสงเสริมการตลาด ๔ P ๒๒๐ ๔.๘ แสดงปจจยัแหงความสําเร็จและปจจัยแหงความลมเหลว ๒๒๑ ๔.๙ แสดงการบรูณาการสวสัดกิารชุมชนใหกับคนพิการในชุมชน

ของกลุมตางๆ ๒๒๑ ๔.๑๐ แสดงรูปแบบความเชี่ยมโยงสวัสดกิารสังคมของคนพิการระดบัรุนแรง ๒๒๒ ๔.๑๑ แสดงความเชื่อมโยงการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน ๒๒๖ ๔.๑๒ แสดงรูปแบบการฝกอาชีพบานสมานใจ ๒๒๘ ๔.๑๓ แสดงรูปแบบการดํารงชีวิตอิสระคนพิการในสังคมไทย ๒๓๐ ๔.๑๔ แสดงรูปแบบการพฒันาสุขภาวะโดยชุมชนแบบองครวม ๒๓๑ ๔.๑๕ แสดงรูปแบบการดแูลสุขภาพที่บานและการดูแลตนเอง ๒๓๓ ๕.๑ แสดงรูปแบบความเชื่อมโยงสวัสดิการสังคมของคนพิการระดบัรุนแรง ๒๓๙

Page 16: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

บทที่ ๑ บทนํา

๑. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

คนพิการนับวาเปนบุคคลที่สําคัญของสังคม คนเหลานี้ไดทําประโยชนใหกับประเทศชาติและสังคมตามโอกาสและศักยภาพของคนพิการ แตก็มีบางสวนที่อาจเปนภาระของสังคม โดยไมสามารถชวยเหลือตัวเองได จากอดีตที่ผานมาคนพิการสวนใหญถูกปลอยปละละเลย และตองเผชิญกับปญหาทัศนคติทางลบของสังคมตลอดมา ทําใหถูกกักขัง ปดบัง ซอนเรน ไมไดรับการศึกษา ไมมีอาชีพ ไรสิทธิขั้นพื้นฐาน เรียกไดวาเปน “ผูดอยโอกาสทางสังคม” ซ่ึงคนพิการเหลานี้มักไมไดรับการเอาใจใสจากสังคมเทาที่ควร (สํานักงานสถิติแหงชาติ, ๒๕๔๒) จนกระทั่งรัฐบาลไดประกาศใชพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ เพื่อสงเสริมใหคนพิการไดรับสิทธิในการสงเคราะห การพัฒนา และฟนฟูสมรรถภาพ ทําใหเร่ืองคนพิการไดรับความสนใจจากสังคมพรอมทั้งเปดโอกาสใหคนพิการไดเขามามีสวนรวมในสังคมมากขึ้น

จากการประมาณขององคการอนามัยโลกพบวา มีคนพิการประมาณรอยละ ๑๐ ของประชากรทั่วโลก และสวนใหญอาศัยอยูในเขตชนบทของประเทศกําลังพัฒนา (สํานักงานสถิติแหงชาติ, ๒๕๔๗) สําหรับประเทศไทยจํานวนคนพิการมีความแตกตางกันตามสถิติและขอมูล ซ่ึงมีวิธีการที่แตกตางกันของแตละหนวยงาน ทําใหขอมูลที่ไดแตกตางกัน อยางเชน สํานักงานสถิติแหงชาติ ไดสํามะโนและสํารวจความพิการ ตั้งแตป ๒๕๑๗ มีจํานวนคนพิการ ๒๐๙,๐๐๐ คน คิดเปนรอยละ ๐.๕ ในป ๒๕๒๙ มีจํานวนคนพิการ ๓๘๕,๖๐๐ คน คิดเปนรอยละ ๐.๗ และ ป ๒๕๔๕ มีคนพิการจํานวน ๑,๐๙๘,๐๐๐ คน คิดเปนรอยละ ๑.๗ ของประชากร ขณะที่สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทยและมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ ไดสุมตัวอยางครัวเรือนในป ๒๕๓๙ โดยใชการตรวจรางกาย พบวา มีคนพิการประมาณรอยละ ๘.๑ ของประชากรทั้งหมด แตมีคนพิการที่ไดรับการจดทะเบียนคนพิการแลว ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ มีจํานวน ๕๗๕,๓๙๑ คน (สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ, ๒๕๔๙) และคนพิการระดับ ๓-๕ ที่ไดจดทะเบียนคนพิการ ตั้งแต พฤศจิกายน ๒๕๓๗-กันยายน ๒๕๔๘ จํานวน ๒๒๕,๔๒๐ คน เทานั้น (สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ, ๒๕๔๘) แสดงใหเห็นถึงจํานวนคนพิการมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามสัดสวนของจํานวนประชากร แตการจดทะเบียนยังมีจํานวนนอย

จากการศึกษาของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (๒๕๔๖ : ๑๐) พบวา ปญหาของคนพิการไทยนั้นเกิดจาก ๑) ขาดการศึกษา วิจัย คนหาสาเหตุ การเฝาระวังเกี่ยวกับความพิการอยางตอเนื่อง ๒) ขาดการใหบริการ การสงเสริม การพัฒนา และการฟนฟูสมรรถภาพ

Page 17: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

เด็กพิการตั้งแตแรกเกิดจนถึงวัยกอนเขาเรียน ๓) ขาดโอกาสและความเปนธรรมในการไดรับการศึกษาทุกระดับและทุกระบบ ๔) มีกฎหมายที่กีดกัน จํากัดสิทธิและเลือกปฏิบัติตอคนพิการ ๕) เจตคติตอความพิการและสังคม และเจตคติของสังคมตอคนพิการยังไมเหมาะสม ๖) ความไมพรอมของบริการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย การศึกษา อาชีพ และสังคม รวมท้ังบุคลากรที่ทํางานดานการฟนฟูสมรรถภาพ ๗) บริการสาธารณะและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่รัฐเปนผูจดัใหไมเพียงพอ

ประเทศไทยนั้นไดมีรัฐธรรมนูญที่ใหสิทธิของคนไทยทุกคนบนแนวทางแหงสิทธิมนุษยชนที่คํานึงถึงความเทาเทียมกันในสังคม ซ่ึงรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันที่ประกาศใชเมื่อป ๒๕๔๐ นั้นไดใหความสําคัญดานสิทธิมนุษยชน และที่สําคัญเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่มีบทบัญญัติสําหรับ คนพิการโดยเฉพาะ ประกอบดวยจุดมุงหมาย เพื่อการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ใน ๔ ดาน คือ การฟนฟูสมรรถภาพดานการแพทย การฟนฟูสมรรถภาพดานการศึกษา การฟนฟูสมรรถภาพดานอาชีพ และการฟนฟูสมรรถภาพดานสังคม ซ่ึงตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๔๐ มีเนื้อหาที่เกี่ยวของโดยตรงกับคนพิการ ดังนี้ (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ อางใน สถาบันพระปกเกลา, ๒๕๔๘ : ๑๒-๒๘)

...มาตรา ๓๐ บัญญัติไววา บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตาม กฎหมายเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความ แตกตางในเรื่องสภาพทางกายหรือสุขภาพจะกระทํามิได มาตรา ๕๕ บัญญัติไววา บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพมีสิทธิไดรับสิ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะและความชวยเหลืออ่ืนจากรัฐ ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ และมาตรา ๘๐ บัญญัติไววา รัฐตองสงเคราะหผูพิการหรือทุพพลภาพใหมีคุณภาพชีวติที่ดีและพึ่งตนเองได... จากสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดกําหนดใหรัฐตองจัดสวัสดิการ

สาธารณะแกทุกคนในสังคม จัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะและความชวยเหลืออ่ืนๆ แกผูดอยโอกาสในสังคมตาง ๆ ทั้งยังตองคํานึงถึงความเสมอภาคในทางกฎหมาย และไดรับการคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิไดรับสิ่งอํานวยความสะดวก อันเปนสาธารณะ และความชวยเหลืออ่ืนๆจากรัฐ โดยที่แนวนโยบายแหงรัฐ ตองสงเคราะหคนพิการหรือทุพพลภาพใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, ๒๕๔๕ : ๑๕)

Page 18: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

ขณะที่องคการสหประชาชาติ ไดใหความสําคัญกับกลุมผูดอยโอกาส คนยากจน และ คนพิการ โดยไดประกาศ “ทศวรรษคนพิการแหงเอเชียและแปซิฟก พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๔๕” กําหนดใหทุกประเทศในเอเชียและแปซิฟก เนนการพัฒนาความเปนอยูและคุณภาพชีวิตของ คนพิการใหดีขึ้น ทั้งยังไดขยายผลจากเดิม ออกไปอีกหนึ่งทศวรรษ คือ พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๕ ในทศวรรษนี้สหประชาชาติไดกําหนด เปนกรอบการปฏิบัติงานแหงสหัสวรรษจากทะเลสาบบิวา สูสังคมบูรณาการ ปลอดจากอุปสรรค และตั้งอยูบนพื้นฐานของสิทธิสําหรับคนพิการ ซ่ึงมีนโยบายที่สําคัญ คือสงเสริมความเขมแข็งของการดําเนินงานที่ใชชุมชนเปนฐานในการปองกันสาเหตุ ความพิการ การฟนฟูสมรรถภาพและสรางความเสมอภาคทางโอกาสใหแกคนพิการ นอกจากนี้ยังใหการรองรับแนวคิดการออกแบบที่ เปนสากลและมีลักษณะบูรณาการสําหรับพลเมืองทุกคน (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, ๒๕๔๕ : ๓-๑๔)

งานสวัสดิการสังคมดานคนพิการของประเทศไทยในชวงสิบกวาปที่ผานมา หลังจากการประกาศใชพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ มีพัฒนาการกาวหนาอยางรวดเร็ว นําไปสูการพัฒนาบริการที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น จัดใหมีบริการสวัสดิการใหม ที่มีเนื้อหากวางขวางครอบคลุมกิจกรรมในการดํารงชีวิตของคนพิการรอบดานขึ้น รวมทั้งเกิดโครงสรางการทํางานที่เปดใหกลุมคนพิการ เจาหนาที่รัฐ และเอกชน รวมกันดําเนินการในระดับตัดสินใจและกําหนดกฎระเบียบไดตามกฎหมาย ตอมากลุมเคลื่อนไหวดานคนพิการไดทํางานตอเนื่องในระดับการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของสังคม คือเขารวมในกระบวนการจัดทํากฎหมาย เกิดเปนพระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ซ่ึงถือเปนกฎหมายแมบทที่จัดระบบสวัสดิการสังคมของประเทศ โดยใหการคุมครองและจัดสวัสดิการแกผูดอยโอกาสและสงเสริมสนับสนุนประสานการดําเนินการสวัสดิการสังคมของภาครัฐและเอกชน รัฐไดปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดสวัสดิการใหม โดยใชโครงการเพื่อสังคม กําหนดพื้นที่ กลุมเปาหมายใหชัดเจน รวมทั้งปรับเปลี่ยนรูปแบบเชิงสงเคราะหมาเปนสวัสดิการกลุม (Group Welfare) สวัสดิการชุมชน (Community Welfare) และสวัสดิการทองถ่ิน (Local Welfare) ซ่ึงรูปแบบสวัสดิการที่กลาว อาจเรียกวาเปน “สวัสดิการแบบรวม (Collective Welfare)” (คณะสังคมสงเคราะหศาสตร, ๒๕๔๗ : ๑)

อยางไรก็ดีเมื่อพิจารณาถึงแนวทางการจัดบริการสวัสดิการสังคมที่มีอยูแลวนั้น ปรากฏวามีการกลาวถึง การจัดสวัสดิการสังคมใหแกกลุมคนพิการระดับรุนแรงอยูในระดับนอย (กมลพรรณ พันพึ่ง, ๒๕๔๘) ซ่ึงอาจจะมีสาเหตุมาจากการขาดคํานิยามของความพิการระดับรุนแรงที่มีการกําหนดกฎเกณฑที่ชัดเจน เมื่อพิจารณาถึงความพิการระดับรุนแรงในแงมุมตาง ๆ เชน นิยาม ความพิการระดับรุนแรงเชิงการแพทย หมายถึง ภาวการณสูญเสียอวัยวะหรืออวัยวะที่มีอยูขาดประสิทธิภาพในการใชงาน หรือทําใหไมสามารถประกอบกิจกรรมพื้นฐานในชีวิตประจําวันไดดวยตนเอง (กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๓๘ : ๒) จากการอางอิงระดับความพิการตามคํานิยามความพิการ

Page 19: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

ระดับรุนแรงเชิงการแพทย มีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้น ซ่ึงสงผลกระทบตอสังคมโดยรวมมากขึ้นหากไมมีการเยียวยาหรือปองกัน

ในขณะที่คํานิยามความพิการระดับรุนแรงเชิงสังคม นิยามไววา การขาดความสามารถในการชวยเหลือตนเอง ทําใหเกิดภาวะพึ่งพิงผูอ่ืน (กระทรวงสาธารณสุข,อางแลว ; Wikipedia the free encyclopedia www., ๒๕๔๙ : ๑-๕) ในขณะเดียวกัน ถึงแมวาจะมีคํานิยามที่เปนรูปธรรมสามารถจะประเมินได แตปญหาในการประเมินความพิการระดับรุนแรงก็ยังเกิดขึ้น เชน มีความคาบเกี่ยวกันระหวางประเภทความพิการ บางคนเปนอัมพาตขั้นรุนแรง ออทิสติกขั้นรุนแรง คนพิการจิตเภท ขั้นรุนแรง บางคนมีความพิการซ้ําซอนทั้งดานการมองเห็น และทางกายหรือการเคลื่อนไหว บางคนเปนคนที่มีความพิการซ้ําซอนดานสติปญญาและการเคลื่อนไหว เปนตน หรือแมแตบุคคลที่ไดรับการวินิจฉัยทางการแพทยวา เปนคนพิการในระดับไมรุนแรง แตถามีปญหาในการดําเนินกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ตองใชอุปกรณชวยเหลือความพิการ เปนภาระพึ่งพิง หรือมีพฤติกรรมรบกวนผูดูแลหรือผูใกลชิด ก็ยังขาดโอกาสในการเขาถึงสวัสดิการของรัฐที่มุงประเด็นความรุนแรงของความพิการทางรางกายเปนหลัก ดังนั้นจึงควรมีการสรางเกณฑการประเมินความพิการระดับรุนแรงที่มีองคประกอบครอบคลุมทั้งทางดานความเจ็บปวยทางรางกายหรือจิตใจ ความสามารถในการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความตองการใชอุปกรณชวยเหลือความพิการในการทํากิจกรรมตาง ๆ และความตองการผูชวยเหลือดูแล เปนตน ทั้งนี้เพื่อใหคนพิการระดับรุนแรงเหลานี้ไดมีโอกาสเขาถึงสวัสดิการของรัฐอยางเหมาะสมและเพียงพอตามที่รัฐพึงจัดใหประชาชน ตามที่ จดทะเบียนไวกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเพียง ๒๒๕,๔๒๐ คน จํานวนตัวเลขทางสถิติอาจเปนตัวเลขที่ไมมาก แตผลกระทบของความพิการรุนแรงตอสังคมโดยรวมอาจมากขึ้นไดเร่ือย ๆ หากไมมีการเยียวยาหรือปองกัน เพราะสาเหตุของความพิการระดับรุนแรงปจจุบันมาจากสิ่งแวดลอมใกลตัวในชุมชน ไดแก อุบัติเหตุ มลพิษ และหาสาเหตุไมได ดังตัวอยางของคนพิการอัมพาต ซ่ึงสวนใหญเกิดภายหลังถึงรอยละ ๙๐ (สุวิทย วิบุลผลประเสริฐและคณะ, ๒๕๓๙ : ๒๕) นั่นหมายถึงวา ภาวะความพิการรุนแรงมีโอกาส เกิดขึ้นกับคนในสังคมไดงาย คร้ันเมื่อเกิดเหตุขึ้นแลวการใชทรัพยากร เพื่อฟนฟูสมรรถภาพหรือพัฒนาคุณภาพชีวิตคนที่มีความพิการระดับรุนแรงตองอาศัยทรัพยากรจํานวนมาก และใชระยะเวลานานกวาเมื่อเทียบกับบุคคลทั่วไปที่เจ็บปวยเหมือนกัน

ความพิการระดับรุนแรงเปนอุปสรรคสําคัญ ที่ขัดขวางคนพิการในการเขาถึงและเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมในสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งประเด็นทางเศรษฐกิจ ไดแก การเขาสูตลาดแรงงาน ซ่ึงเปนผลมาจากอุปสรรคทางดานรางกายของคนพิการเอง ความจํากัดเกี่ยวกับสิ่งอํานวยความสะดวกในสถานประกอบการและเจตคติของบุคคลทั่วไป รวมทั้งนายจางที่ประเมินความสามารถของคนพิการวาไมสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพเปนสาเหตุหลักของความยากลําบากในการเขาสูตลาดแรงงาน (สุภธรรม มงคลสวัสดิ์, ๒๕๔๔ : ๑๒๘-๑๓๐) ซ่ึงสอดคลองกับการรายงานของ

Page 20: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

สํานักงานบัญชีแหงสหรัฐอเมริกา (United States General Accounting Office: GAO, ๑๙๙๙) ระบุวาผูใหญ (อายุ ๑๘-๖๔ ป) ที่มีความพิการระดับรุนแรงรอยละ ๘๔ รายงานวาตนไมมีงานทําหรือไมไดเขาสูวงจรแหงตลาดแรงงาน

นอกจากการขาดโอกาสในการเขาสูตลาดแรงงานแลว คนพิการระดับรุนแรงยังขาดโอกาสทางการศึกษาและมีรายไดต่ําอีกดวย ขอมูลจากการสํารวจสถิติคนพิการ โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ ในป ๒๕๔๗ พบวา ระดับการศึกษาของคนพิการสวนใหญอยูที่ระดับต่ํากวาการศึกษาขั้นพืน้ฐาน ถึงรอยละ ๔๖.๖๒ (เทียบจากคนพิการที่จดทะเบียน ป ๒๕๔๖) ซ่ึงสอดคลองกับการรายงานของ GAO (๑๙๙๙) ระบุวา คนพิการระดับรุนแรงของประเทศสหรัฐอเมริการอยละ ๔๓ มีระดับการศึกษาต่ํากวามัธยมศึกษา รอยละ ๑๘ มีรายไดต่ํากวาเสนความยากจนของสหรัฐอเมริกา ทั้งหมดนี้เปนเหตุผลหลักที่ทําใหคนพิการระดับรุนแรงวัยผูใหญรอยละ ๓๓ ตองเปนภาระพึ่งพิงครอบครัว จากจํานวน คนพิการระดับรุนแรงวัยผูใหญของอเมริกาประมาณ ๒.๓ ลานคน

ปจจุบันคนพิการระดับรุนแรงไดรับสวัสดิการจากรัฐเปนเบี้ยยังชีพเพียงเดือนละ ๕๐๐ บาทขณะที่คนพิการเหลานี้ตองไดรับการดูแลเปนพิเศษจากครอบครัวหรือญาติพี่นอง หลายคนก็ถูกทอดทิ้งใหอยูตามลําพัง หรือครอบครัวไมสามารถอุปการะเลี้ยงดูอยางมีประสิทธิภาพ คนพิการอีกจํานวนหนึ่งถูกสงเขาไปอยูในสถานสงเคราะห ทําใหเกิดเปนภาระของรัฐดานการจัดสรรงบประมาณ การที่คนพิการเหลานี้ถูกปลอยละเลย ไมมีโอกาสเขาถึงบริการของรัฐ ทําใหเกิด ความพิการรุนแรง ซํ้าซอน จนถึงกระทั่งตองเสียชีวิต ขณะเดียวกันระบบสวัสดิการสังคมดังที่เปนอยู ยังคงมีลักษณะการใหบริการแบบตั้งรับมากกวาเชิงรุก ทําใหการจัดหาและจัดใหบริการฟนฟูสมรรถภาพแบบเดิม ไมสามารถดําเนินการไดครอบคลุมและไมทั่วถึงตอกลุมเปาหมาย ซ่ึงเห็นไดจากตัวเลขจํานวนคนพิการเพียงประมาณรอยละ ๒๐ ที่ไดรับการจดทะเบียนและไดรับบริการสวัสดิการสังคม (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, ๒๕๔๖: ๑๐)

ความไมทั่วถึงของโอกาสในการไดรับสวัสดิการสังคมที่เปนเงินชวยเหลือ ซ่ึงเปนผลมาจากการขาดเกณฑเชิงประจักษที่ชัดเจนในการระบุความพิการระดับรุนแรงเปนอีกปญหาหนึ่งที่พบในสังคมปจจุบัน ซ่ึงทําใหการสรางเกณฑมาตรฐานในการประเมินความพิการระดับรุนแรง ตองคํานึงถึงความจําเปนและความตองการของคนพิการในทุกองคประกอบ เชน ภาวะความเจ็บปวยหรือสูญเสียอวัยวะ การดําเนินกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความตองการใชอุปกรณชวยเหลือความพิการ การเปนภาระพึ่งพิง หรือปจจัยส่ิงแวดลอมอื่น ๆ ที่ทําใหคนพิการขาดโอกาสในการเขามามีกิจกรรมในสังคม และมีความจําเปนตองไดรับการจัดสวัสดิการชวยเหลือ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการใหดีขึ้นสอดคลองกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยที่ตองการใหเกิดความเสมอภาคกันและเปนที่มาสําคัญของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีความประสงคที่จะศึกษาเกณฑมาตรฐานสําหรับประเมินความพิการระดับรุนแรง การคาดประมาณการคนพิการระดับรุนแรงเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการใหโอกาสคนพิการระดับรุนแรงไดเขาถึงสวัสดิการที่เหมาะสมของรัฐ และประมาณ

Page 21: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

การใชงบประมาณการจัดสวัสดิการตอคน รวมถึงศึกษาสวัสดิการภายในชุมชน เพื่อใหคนพิการระดับรุนแรง สามารถดํารงชีวิตตามความจําเปนขั้นพื้นฐาน ตามสิทธิมนุษยชน (Human Right) ไดอยางยั่งยืนและเกิดโครงขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net)

๒. คําถามการวิจัย

๑) เกณฑในวัดความพิการระดบัรุนแรงควรมกีารกําหนดอยางไรบาง ๒) การคาดประมาณการของคนพกิารระดับความรุนแรงและแนวโนมในอนาคตควร

เปนอยางไร ๓) การจัดสวัสดกิารสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดบัรุนแรงและประมาณการ

ใชงบประมาณตอคน ควรเปนอยางไรในการดํารงชีวิตขั้นพื้นฐานของคนพิการระดบัรุนแรง ๓.วัตถุประสงคของการวิจัย ๑) เพื่อศึกษาเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง ๒) เพื่อศึกษาการคาดประมาณการของคนพิการระดับความรุนแรงและแนวโนมในอนาคต ๓) เพื่อศึกษาการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน ๔. ขอจํากัดของการวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีขอจํากัดในการเก็บขอมูลคนพิการในพื้นที่ ๔ ภาคและกรุงเทพฯ ที่คนพิการระดับรุนแรงบางคนไมสามารถมาใหขอมูลระดับลึกในจุดที่ทางผูประสานงานจังหวัดกําหนดสถานที่จัดเก็บขอมูล แตคณะผูวิจัยก็พยายามใชวิธีการอื่นๆในการเขาถึงขอมูลที่สําคัญและจําเปน ตามวัตถุประสงคและวิธีวิทยาการวิจัยแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เพื่อใหเขาใจสถานการณ และอธิบายปรากฏการณทางสังคมไดอยางลุมลึก ๕. วิธีการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ ไดมีการดําเนินการวิจยั มีรายละเอียดดังนี้ ๑. การศึกษาจากเอกสาร (Documentary Study) ไดแก หนังสือ บทความ ตํารา งานวิจัย วิทยานิพนธ และเอกสารที่เกี่ยวของ เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎี เพื่อกอรูปแนวคิด องคความรูการวิจัย และทําการศึกษารายงานผลการดําเนินงานของหนวยงานราชการและเอกสารขอมูลราชการ เพื่อ ทําใหทราบยุทธศาสตร แผนการดําเนินงาน จัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

Page 22: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒. การศึกษาภาคสนาม (Field Study) วิธีการเก็บขอมูลประกอบดวย ๒.๑ การสัมภาษณโดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการสัมภาษณคนพิการและผูเกี่ยวของในเรื่องตนทุนและประมาณการใชจายในครอบครัวของคนพิการ และความตองการในการจัดสวัสดิการในดานตางๆ ๒.๒ การสัมภาษณระดับลึก (In-depth Interview) ทําการสัมภาษณเชิงลึกกับกลุมเปาหมายที่เปนนักวิชาการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน และคนพิการ ครอบครัวและชุมชน โดยใชแนวทางการสัมภาษณที่มีรางแนวคําถาม (Guide Line) สอบถามตนทุนและประมาณการใชจายและการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

๒.๓ การสนทนากลุม (Focus Group Discussions) กับผูเกี่ยวของ นักวิชาการ เจาหนาที่ คนพิการ ครอบครัว และชุมชน จํานวน ๓๐ คนและสังเกตแบบไมมีสวนรวมพรอมกับจัดเวทีการประชุมสัมมนากับผูเกี่ยวของ อภิปรายและแลกเปลี่ยนกับคนพิการและผูเกี่ยวของ เพื่อใหขอเสนอจากประสบการณจริง (Evidence Based) สอบถามตนทุนและประมาณการใชจาย รวมถึงการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ๒.๔ การจัดประชุมนําเสนอผลการศึกษา (Presentation Processing) เพื่อรับฟง ความคิดเห็น ผลการศึกษาและขอเสนอเชิงนโยบาย (Policy Meeting) ของผูเกี่ยวของในกรุงเทพฯ ผูเขารวมประชุม จํานวน ๑๐๐ คน จากภาคสวนตางๆที่เกี่ยวของกับคนพิการและกลุมเปาหมายที่สนใจ ๖. นิยามศัพท

ความพิการ ตามนิยามของ International Classification of Functioning -ICF กลาวถึงปรากฏการณที่เกิดจากมิติที่หลากหลาย อันเกิดจากปฏิกิริยาระหวางบุคคล (ที่มีเงื่อนไขทางสุขภาพ) กับปจจัยแวดลอมทางกายภาพ และทางสังคมจากเหตุผลหลายๆอยาง คนพิการเปนคําที่ใชครอบคลุมความบกพรอง ขอจํากัดในการทํากิจกรรมและขอจํากัดในการมีสวนรวม ( International Classification of Functioning :ICF, ๒๐๐๑ : ๒๑๓ ,๒๔๒)

คนพิการ หมายถึง คนที่มีความบกพรองทางรางกาย ทางสติปญญา หรือทางจิตใจ ตามประเภทหรือหลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง (กระทรวงสาธารณสุข) ฉบับที่ ๒ (๒๕๓๗) ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุข ไดกําหนดประเภทและหลักเกณฑของคนพิการไว ๕ ประเภท คือ ๑. คนพิการทางการมองเห็น ๒. คนพิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย ๓. คนพิการทางกาย หรือการเคลื่อนไหว ๔. คนพิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม ๕. คนพิการทางสติปญญา หรือการเรียนรู

Page 23: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

คนพิการระดับรุนแรง หมายถึง การที่บุคคลมีภาวะจํากัด หรือขาดความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันอยางใดอยางหนึ่งและตองมีผูใหการชวยเหลือตอไปนี้ คือ การกินอาหาร การอาบน้ํา การลางหนา แปรงฟน การแตงตัว การขับถาย รวมทั้งการทําความสะอาดหลังการขับถาย เปนตน

เกณฑวัดระดับความพิการ หมายถึง หลักเกณฑที่กําหนดหรือบงชี้วาคนพิการมีระดับ ความพิการเปนอยางไร ทั้งเกณฑในทางการแพทยและเกณฑในทางสังคมของคนพิการ

การคาดการณคนพิการระดับรุนแรง หมายถึง การคาดคะเนแนวโนมที่คนพิการระดับรุนแรงในอนาคตวาจะมีทิศทางเปนอยางไร และจํานวนเทาใด

สวัสดิการสังคม (Social Welfare) หมายถึง ระบบการจัดบริการสังคม ซ่ึงเกี่ยวของกับการปองกัน การแกไขปญหา การพัฒนาและการสงเสริมความมั่นคงทางสังคม เพื่อตอบสนอง ความจําเปนขั้นพื้นฐานของประชาชนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีและพ่ึงตนเองไดอยางทั่วถึง เหมาะสม เปนธรรมและเปนไปตามมาตรฐาน ทั้งทางดานการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยูอาศัย การทํางานและการมีรายได นันทนาการ กระบวนการยุติธรรม และบริการสังคมทั่วไป โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรี ความเปนมนุษย สิทธิที่ประชาชนจะตองไดรับ และการมีสวนรวมในการจัดสวัสดิการสังคม ทุกระดับ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, ๒๕๔๗ : ๒๐๑-๒๐๒)

การจัดสวสัดิการสังคมแกคนพิการ หมายถึง การจัดบริการใหแกคนพิการใน ๗ ดานไดแก ๑. ดานสุขภาพอนามัย เชน การไดรับบัตรทอง เขาถึงบริการสุขภาพในดาน ตางๆ

การสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และการรักษาพยาบาลเปนตน ๒. ดานการศึกษา เชน การสงเสริมดานการศึกษา การสนับสนุนดานอาหารเสริมและ

อุปกรณการศึกษา เปนตน ๓. ดานการมีอาชีพและมีรายได เชน การสงเสริมอาชีพ การสนับสนุนเงินทุนประกอบ

อาชีพ เปนตน ๔. ดานความมั่นคงทางสังคม ไดแก ความมั่นคงเปนสวนหนึ่งในสังคม และการยอมรับจาก

ชุมชน เปนตน ๕. ดานที่อยูอาศัย เชน การจัดหา/ปรับปรุงที่อยูอาศัย เปนตน ๖. ดานนันทนาการ เชน การจัดใหมีสวนสาธารณะเพื่อพักผอนหยอนใจ การสงเสริมกีฬา

เปนตน ๗. ดานบริการทางสังคม เชน การสงเคราะหครอบครัวเปนเงิน เบี้ยยังชีพ เครื่องอุปโภค

บริโภค เครื่องชวยความพิการ เปนตน การจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง หมายถึง การจัดระบบบริการสังคมเพื่อชวยใหคนพิการระดับรุนแรงที่ไมสามารถชวยตนเองได ใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดและมีความมั่นคงในชีวิต ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตความเปนอยูที่ดีใหกับคนพิการ

Page 24: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

รูปแบบสวัสดิการสังคม หมายถึง รูปแบบสวัสดิการจากการจัดสวัสดิการมากกวา ๑ รูปแบบขึ้นไป ถือเปนรูปแบบใหมที่เกิดจากการจัดระเบียบโลก (New World Order Model) การจัดสวัสดิการรูปแบบนี้จึงใหความสําคัญกับมนุษยทุกคน (Welfare for Alls) ภายใตหลักสิทธิ ความเทาเทียม ความเปนธรรม การมีสวนรวมและความตองการของประชาชน ในที่นี้หมายถึง

๑. สวัสดิการจากภาครัฐ หมายถึง สวัสดิการภาคบังคับของรัฐที่จัดใหกับประชาชน โดยคํานึงถึงความครอบคลุม ทั่วถึง เปนธรรม ครบถวน รูปแบบที่จัดให เชน การจัดบริการในรูปแบบของสถาบัน การจัดบริการโดยองคการปกครองสวนทองถ่ิน

๒. สวัสดิการจากภาคประชาชน หมายถึง สวัสดิการทางเลือกที่เกิดขึ้นจากศักยภาพ ความเขมแข็งของภาคชุมชน ภาคประชาชนและภาคพื้นถ่ิน สวัสดิการในรูปแบบนี้เกิดขึ้นจากความสนใจ ความสมัครใจรวมกันของกลุมเปาหมายในรูปแบบที่ไมเปนทางการ ไดแก

๒.๑ สวัสดิการพื้นถิ่น หมายถึง การสรางหลักประกันผานชองทางของวัฒนธรรมใหกับคนในชุมชน เปนสวัสดิการที่เกิดจากฐานคิดดานประเพณี วัฒนธรรมเฉพาะถิ่น เชน กองบุญขาว กองทุนชากาดในศาสนาอิสลาม เปนตน

๒.๒ สวัสดิการชุมชน สถาบันพัฒนาองคกรชุมชนไดใหความหมายของสวัสดิการชุมชนวา หมายถึง การสรางหลักประกันเพื่อความมั่นคงของคนในชุมชน รวมถึงทุกอยางที่จะทําใหคนในชุมชนมีความเปนอยูที่ดีขึ้น เชน กองทุนสัจจะ ออมทรัพย กองทุนสวัสดิการผูนําชุมชน กองทุนสวัสดิการผูสูงอายุในชุมชน เปนตน

๓. สวัสดิการแบบพหุลักษณ หมายถึง สวัสดิการโดยรัฐที่เกิดจากการกระจายอํานาจจากสวนกลางสูทองถ่ิน เปนรูปแบบการจัดสวัสดิการรวมระหวางรัฐบาลกลางรวมกับรัฐบาลทองถ่ิน โดยใชแผนโครงการ กิจกรรมดานสวัสดิการที่หลากหลายในชุมชน

ตนทุนตอหนวยท่ีจําเปนสําหรับคนพิการระดับรุนแรง หมายถึง การประมาณการในรูปตัวเงินที่จําเปนเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมตอบสนองตอความจําเปนขั้นพื้นฐานของคนพิการระดับรุนแรง

เสนความยากจน (Poverty line) หมายถึง เครื่องมือในการกําหนดเกณฑความตองการพื้นฐานขั้นต่ําของบุคคล ถาบุคคลใดมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ก็พิจารณาไดวาบุคคลนั้นเปนคนจน การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ หมายถึง การเสริมสรางสมรรถภาพหรือการเสริมสรางความสามารถของคนพิการใหมีสภาพดีขึ้น โดยอาศัยวิธีการทางการแพทย ทางการศึกษา ทางสังคม และการฝกอาชีพเพื่อใหคนพิการไดมีโอกาสทํางาน หรือดํารงชีวิตในสังคมทัดเทียมคนทั่วไป

การดํารงชีวิตอิสระคนพิการ หมายถึง การที่คนพิการสามารถกําหนดแนวทางการดํารงชีวิตของตนเองไดอยางสมศักดิ์ศรีความเปนมนุษยในสังคม โดยไมขึ้นอยูกับความพิการวาจะรุนแรงมาก

Page 25: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐

นอยเพียงไร ทั้งนี้อาศัยบริการความชวยเหลือเทาที่จําเปน กรณีคนพิการรุนแรงจนไมสามารถชวยเหลือตัวเองได จําเปนตองไดรับบริการผูชวยเหลือสวนตัว คุณภาพชีวิตคนพิการ หมายถึง การที่คนพิการระดับรุนแรง สามารถมีความเปนอยูที่ดี ตามความจําเปนขั้นพื้นฐาน ซ่ึงไดรับการตอบสนองเพื่อการดํารงชีพ ความเปนอยู และมีความมั่นคงทางสังคม จากปจจัยส่ิงแวดลอม ๘. ประโยชนคาดวาจะไดรับ ๑. มีเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรงทั้งจากเกณฑทางการแพทย และทางสังคมในการเปนทางเลือก เพื่อการตัดสินใจวัดความพิการระดับรุนแรง ๒. เกิดรูปแบบหรือแนวทางการจัดระบบสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ทั้งระดับหนวยงาน องคกรและชุมชน และมีการนํารูปแบบที่เหมาะสมไปปรับใชในสวนที่เกี่ยวของ เชน หนวยใหบริการทางสวัสดิการสังคม ครอบครัว และองคกรคนพิการ ๓. ไดทราบถึงประมาณการใชงบประมาณตอคน ในการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับ คนพิการระดับรุนแรง และสามารถใชเปนขอมูลในการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับคนพิการ ๔. นําผลการศึกษาไปจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนางานสวัสดิการสังคม และขับเคลื่อนนโยบายสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงใหเปนรูปธรรม

Page 26: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑

บทที่ ๒

วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

การศึกษาเรื่องสวัสดิการที่ เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย คณะผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎี จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อเปนพื้นฐานและแนวทางการวิจัยในลักษณะของการบูรณาการแบบองครวม (Holistically Integration) ดวยการผสมผสานแนวคิด (Concept) หลักการ (Principle) และทฤษฎี (Theory) แบงเปน ๓ ตอน ดังนี้

ตอนที่ ๑ เกณฑการวัดความพิการระดับรุนแรงของคนพิการในประเทศไทย ประกอบดวย ๑) ความรูทั่วไปเกี่ยวกับความพิการ ๒) เกณฑการวัดความพิการ ประกอบดวย เกณฑการวัดความพิการทางการแพทย เกณฑการวัดความพิการทางสังคม กรอบแนวคิดของบัญชีสากลเพื่อ การจําแนกการทํางาน ความพิการและสุขภาพ และเกณฑการวัดความพิการแนวคิดอื่น ๆ

ตอนที่ ๒ การคาดประมาณแนวโนมการเปลี่ยนแปลงประชากร วิธีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงประชากร และสถิติที่เกี่ยวของในการเปลี่ยนแปลงของประชากรคนพิการจากหนวยงานระดับชาติ

ตอนท่ี ๓ แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม ประกอบดวย แนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม แนวทางการวัดความยากจนที่เปนคนพิการและคนดอยโอกาส แนวคิดความมั่นคงของมนุษย แนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ตอนที่ ๑ เกณฑการวัดความพิการระดับรุนแรงของคนพิการในประเทศไทย ๑. ความรูท่ัวไปเก่ียวกับความพิการ ๑.๑ ความหมายของความพิการ เนื่องดวยคําจํากัดความของความพิการ ในแตละสังคมมีความแตกตางกัน ขึ้นอยูกับความเชื่อ ทัศนคติและประสบการณของแตละสังคม นอกจากสังคมแลว หนวยงานที่ทํางานเกี่ยวของกับ คนพิการก็กําหนดความหมายของความพิการหรือคนพิการแตกตางกัน เพื่อประโยชนในการดําเนินงานใหบริการแกคนพิการ (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๗ เลม ๓ : ๑๖-๑๙) โดยที่ในชีวิตประจําวันของคนเรา จะพบบุคคลอีกกลุมหนึ่งซึ่งมีลักษณะที่เห็นจากภายนอกวาแตกตางจากบุคคลทั่วไป อันเนื่องมาจากความบกพรองของอวัยวะ เชน ไมมีแขน ขา หรือมีแตใชการไดไมเต็มที่ เปนตน เรามักเรียกคนเหลานี้วา “คนพิการ (Disabled People)” ปจจุบันความหมายของคนพิการไดมีผูใหความหมายหรือกลาวถึงในทางวิชาการและทางกฎหมายในลักษณะที่แตกตางกันของหนวยงานตางๆทั้งภายในประเทศและองคการระหวางประเทศ ดังนี้

Page 27: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒

กระทรวงศึกษาธิการ (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี , อางแลว: ๒๕-๓๔) สนใจในเรื่องความตองการจําเปนพิเศษ (Special Needs) ของนักเรียนคนพิการ จึงใหความหมายวา นักเรียนพิการ คือ นักเรียนที่มีความตองการจําเปนพิเศษที่โรงเรียนจะตองตอบสนองใหเปนเฉพาะบุคคล เชน นักเรียนตาบอด จําเปนตองเรียนรูอักษรเบรลล เชนเดียวกับนักเรียนทั่วไปที่ตองเรียนรูอักษรตัวพิมพปกติ นักเรียนหูหนวกตองเรียนรูภาษามือ เพื่อใชในการสื่อสาร เปนตน กระทรวงสาธารณสุข (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี , อางแลว : ๓๔-๓๕) ใหความสําคัญกับการรักษาและฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ฉะนั้นในทางการแพทย ความพิการ หมายถึง สถานะทางสุขภาพที่บุคคลสูญเสียความสามารถในการทํากิจกรรมตางๆ ในการดํารงชีวิตในสังคม อันเปนผลมาจากมีความสามารถจํากัดดานรางกาย จิตใจ และสติปญญา ตลอดจนสิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพและทางสังคม จึงตองใชกระบวนการทางการแพทยฟนฟูความสามารถในการดํารงชีวิต เชน ความสามารถในการทํากิจวัตรประจําวัน การเคลื่อนยายตัว การเคลื่อนที่จากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง การสื่อสารและการปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (๒๕๔๑) สํารวจขอมูลพื้นฐาน คนพิการในวัยเรียนและกอนวัยเรียน (อายุ ๐-๑๙ ป) พ.ศ. ๒๕๔๑ และไดใหคําจํากัดความของลักษณะความพิการแตละประเภทดังนี้

๑. ความพิการทางการไดยิน หูหนวก หมายถึง หูทั้งสองขางไมไดยินเสียงพูดเลย โดยปกติถาหูหนวกมาตั้งแตกําเนิด

จะเปนใบดวย หูหนวกผสมหูตึง หมายถึง หูขางหนึ่งไมไดยินเสียงพูดเลย อีกขางหนึ่งไดยินเสียงพูด

เล็กนอยแตไมเขาใจ และพูดไมไดหรือพูดไมชัดมาก หูตึง หมายถึง ยังมีการไดยินหลงเหลืออยูในหูขางใดขางหนึ่ง หรือทั้งสองขาง ลักษณะที่

เห็นชัดคือ เวลาเราพูดเบาๆหรือไกลๆเขาจะไมไดยิน หรือไดยินเฉพาะขางที่ไดยินหลงเหลืออยูเทานั้น

๒. ความพิการทางการสื่อความหมาย ผูรับฟงเขาใจคําพูดหรือไม ถาเขาใจไดก็ถือวา ส่ือความได หรือฟงแลวไมรูเร่ืองเลย หรือตองใชทาทางประกอบถือวาสื่อความหมายไมได ดังนั้น ความพิการทางการสื่อความหมาย จึงแบงเปน ใบ พูดไมรูเร่ือง และพูดไมชัด

๓. ความพิการทางการมองเห็น ตาบอด หมายถึง มองไมเห็นเลย หรือถามองเห็นก็จะเห็นแตแสง ตาเห็นเลือนราง หมายถึง มองระยะไกลไมเห็น แตถาใกลๆมากๆประมาณ ๒ ฟุต

จะมองเห็น แตเปนการมองเห็นเพียงรูปรางเทานั้น ตาเห็นวงแคบ หมายถึง มองเห็นภาพเฉพาะมุมแคบไมเห็นดานขาง ดานลางหรือดานบน

Page 28: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓

๔. ความพิการทางกาย หมายถึง มีความผิดปกติของศีรษะ ตา จมูก เชน ศีรษะเล็กเกินไปหรือใหญเกินไป ตาดานซายหรือดานขวาเล็กเกินไปหรือใหญเกินไป จมูก ปากผิดปกติ หรือ ปากแหวง เพดานโหว ล้ินคับปาก ใบหนาบิดเบี้ยว ลําคอสั้น คอโกง กระดูกสันหลังคด โกง คอม หรือมีความพิการในสวนที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว

๕. ความพิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม หมายถึง มีความบกพรองทางจิตใจหรือสมอง และมีพฤติกรรมผิดปกติ มีอารมณ ความคิดผิดปกติ ไมสามารถอยูรวมกับคนทั่วไปได ทํารายตนเอง ทําลายขาวของ ทํารายคนอื่น เชน โรคจิต เปนบา

๖. ความพิการทางสติปญญา หรือการเรียนรู เชน ดาวนซินโดรม (Down’s Syndrome) มีลักษณะทางรางกายที่เห็นไดชัด คือ มีตาเล็ก หางตาชี้ขึ้นเล็กนอย คิ้วโกงสวยงาม บางคนมีล้ิน คับปาก ตาทั้งสองขางอยูหางกัน ทําใหสันจมูกกวาง

๗. ความพิการซ้ําซอน หมายถึง บุคคลพิการที่มีความพิการหลายอยาง พูนพิศ อมาตยกุล (๒๕๓๔) ไดใหความหมายของ คนพิการ ไววา “คนพิการ” หมายถึง ผูมีลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังตอไปนี้ ๑. พิการทางการมองเห็น หมายถึง ผูมีความผิดปกติ หรือมีความลําบากในการมองเห็น

ตัวอักษรขนาดปกติ ถึงแมวาจะใสแวนตาหรือคอนแทคเลนสแลวยังไมสามารถมองเห็นไดชัดเจน เชน คนตาบอด คนสายตาเลือนราง คนที่มีสายตาแคบกวาปกติ

๒ . พิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย หมายถึง ผูที่มีความผิดปกติหรือมี ความลําบากในการไดยินเสียงที่พูดในลักษณะปกติ ซ่ึงอาจเนื่องจากหูตึงหรือหูหนวก บุคคลเหลานี้จําเปนตองใชอุปกรณพิเศษ เชน เครื่องชวยฟง เปนตน

๓. พิการทางกาย หรือการเคลื่อนไหว หมายถึง ผูที่ลําบากในการเดิน/เคลื่อนไหวรางกาย ไดแก ผูมีความผิดปกติหรือความบกพรองทางรางกายที่ เห็นไดชัดเจน และผูที่มีการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวมือ แขน ขา หรือลําตัว

๔. พิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม หมายถึง ผูที่มีความผิดปกติหรือความบกพรองทางจิตใจ ผูที่มีความผิดปกติทางอารมณและความคิด จนไมสามารถควบคุมพฤติกรรมที่จําเปนในการดูแลตนเองหรืออยูรวมกับผูอ่ืน

๕. พิการทางสติปญญา หรือการเรียนรู หมายถึง ผูที่มีความผิดปกติหรือความบกพรองทางสติปญญา หรือสมองจนไมสามารถเรียนรูดวยวิธีการศึกษาปกติได หรือมีความจํากัดในการเรียนรูเร่ืองตางๆ เมื่อเปรียบเทียบกับคนทั่วไป

องคการสหประชาชาติ (United Nation, ๑๙๗๕) ระบุไวในปฏิญญาสากล วาดวยคนปญญาออนและคนพิการ พ.ศ. ๒๕๑๘ วาคนพิการ (Disabled Person) หมายถึง คนที่ไมสามารถดูแลตัวเอง

Page 29: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔

ไดทั้งหมดหรือบางสวน ที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิต หรือการใชชีวิตในสังคมอยางปกติทั่วไป ซ่ึงเปนผลมาจากความบกพรองทางกาย หรือจิตใจ ไมวาจะเปนมาแตกําเนิดหรือไมก็ตาม

องคการอนามัยโลก (World Health Organization, ๑๙๘๐) กลาวถึงความพิการไว เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ วาเปนความเสียเปรียบของบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่เกิดจากความบกพรอง หรือสูญเสียความสามารถ เปนผลใหบุคคลนั้นไมอาจแสดงบทบาทหรือกระทําการใด ใหถึงเกณฑหรือสอดคลองกับวัย เพศ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม โดยสรุปแลว “ความพิการ” หมายถึง สภาวะทางสุขภาพที่บุคคลสูญเสียความสามารถในการ ทํากิจกรรมตาง ๆ ทําใหขาดความสามารถในการดูแลตนเองหรือการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ในสังคมซึ่งสงผลใหบุคคลตองการความชวยเหลือ การดูแล อุปกรณชวยเหลือความพิการ การพึ่งพิงบุคคลอื่น รวมไปถึงการจัดสรรทรัพยากรเปนพิเศษ เพื่อใหคนพิการสามารถเรียนหรือทํางานที่มีประสิทธิภาพทัดเทียมกับคนทั่วไป

ผลจากการใหความหมายหรือนิยามของคําวา ความพิการ มีความหลากหลาย กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, อางแลว) จึงไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเมื่อ ป ๒๕๔๖ เพื่อกําหนดนิยามของคําวาคนพิการขึ้น โดยเชิญผูแทนจากสวนราชการและองคกรภาคเอกชนดานคนพิการทุกประเภทและทุกกลุมมารวมพิจารณา เพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงบริการไดทั่วถึง นําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการอยางแทจริง และกําหนดคํานิยาม คนพิการซึ่งเปนคําจํากัดความเกี่ยวกับความพิการที่ใชเปนแนวคิดหลักในการวิจัยคร้ังนี้ ไวดังนี้ “คนพิการ คือ บุคคลซึ่งความสามารถถูกจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวัน และการมีสวนรวมทางสังคมไดโดยวิธีการทั่วไป เนื่องจากมีความบกพรองทางการมองเห็น ทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย ทางกาย หรือการเคลื่อนไหว ทางจิตใจ หรือพฤติกรรม ทางสติปญญา หรือการเรียนรู และมีความตองการจําเปนพิเศษดานตางๆ เพื่อใหสามารถดําเนินชีวิต และมีสวนรวมในสังคมไดอยางบุคคลทั่วไป” (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, อางแลว : ๒๐) ๑.๒ สาเหตุของความพิการ

แบงไดเปน ๒ ประเภท คือ สาเหตุทางสังคมและสาเหตุทางการแพทย รายละเอียดดังนี้

๑.๒.๑ สาเหตุทางสังคม นับแตหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนตนมา โลกมีคนพิการเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก และ

จากการพัฒนาประเทศ หลังจากสงครามโลก คร้ังที่ ๑ และ ๒ เชน การพัฒนาดานอุตสาหกรรม การปรับปรุงระบบคมนาคม การใชยวนยานพาหนะที่ทันสมัย ตลอดจนความกาวหนาทางวิทยาศาสตรการแพทยและดานอื่นๆ ส่ิงตางๆเหลานี้เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหคนพิการมีจํานวนมากขึ้น ซ่ึงอาจสรุปสาเหตุได ดังนี้ (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, อางแลว)

Page 30: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕

๑) สภาพภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ ทําใหเกิดภาวการณบาดเจ็บ อดอยาก สูญเสีย ไรที่พึ่ง ลมตาย และพิการ เพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก

๒) การพัฒนาประเทศหลังสงครามแตละครั้ง โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังสงครามโลกคร้ังที่ ๒ มีความตื่นตัวดานอุตสาหกรรม ประชาชนจากชนบทเขาสูเมืองเพื่อทํางานเปนจํานวนมาก คนงานไดรับอุบัติเหตุ จากการคมนาคมและยวนยานพาหนะที่ทันสมัยตางๆ ทําใหมีคนพิการเพิม่ขึน้จากคนพิการโดยกําเนิด

๓) ความเจริญกาวหนาทางการแพทย วิชาการรักษาพยาบาลแผนใหม ทําใหมีผูรอดชีวิตจากอุบัติเหตุ จากโรคภัยไขเจ็บตางๆ จากการคลอดที่ทําใหกําเนิดทารกผิดปกติ จึงเปนผลใหคงสภาพความพิการไว รวมทั้งระบบสาธารณสุขที่ดี ทําใหผูคนมีอายุยืนขึ้นเปนผลใหมีบุคคลพิการที่เกิดจากความชราภาพเพิ่มขึ้นดวย

๑.๒.๒ สาเหตุทางการแพทย สาเหตุและลักษณะของความพิการทางการแพทย ซ่ึงคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญของ

องคการอนามัยโลก (WHO Expert Committee) ไดศึกษาและจําแนกสาเหตุของความพิการมี ๕ ประการ (สุชีรา พลราชม, ๒๕๔๖: ๑๐-๑๒ อางถึงในพูนพิศ อมาตยกุลและคณะ, ๒๕๔๖ ; สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, อางแลว : ๒๔) ดังนี้

๑) ความพิการที่เปนเหตุมาแตกําเนิด (Congenital Disorder) หมายถึง ความพิการนั้นเกิดมาขณะที่เด็กอยูในครรภมารดา ความพิการนั้นอาจจะมองเห็นไดชัดทันทีเมื่อเกิดมา เชน ตาบอด รางกายพิการแตกําเนิด หรือมาแสดงวาพิการหลังจากที่เกิดมาแลว เชน หูหนวก เปนใบ เปนโรคจิต ซ่ึงแบงไดเปนความพิการแตกําเนิดที่เปนกรรมพันธุ (Hereditary Congenital Disorder) และความพิการแตกําเนิดที่ไมใชกรรมพันธุ (Non Hereditary Congenital Disorder) เปนความพิการที่เกิดขณะตั้งครรภและไมมีการถายทอดทางพันธุกรรม

๒) ความพิการที่เหตุมาจากการติดเชื้อ (Infection) หมายถึง การที่รางกายเกิดอาการติดเชื้อ โดยเชื้อโรคไดเขามาสูรางกายแลวแพรขยายหรือทําลายอวัยวะตาง ๆ จนเกิด ความพิการขึ้นอยางถาวร ไมกลับคืนสูสภาพเดิมหรือเสียไปโดยสิ้นเชิง เชื้อโรคที่มาทําใหเกิด ความพิการไดแก เชื้อแบคทีเรีย (Bacteria) เชน เชื้อซิฟลิส บาดทะยัก วัณโรค โรคเยื่อหุมสมองอักเสบบางชนิด ทําใหเกิดอาการอักเสบรุนแรงจนถึงมีไข เชื้อไวรัสก็เปนตัวการสําคัญที่ทําใหเกิดความพิการบอยมาก เชน ไขสันหลังอักเสบ ไขกาฬนกนางแอน ไขสมองอักเสบจากเชื้อไวรัส หัดธรรมดา หัดเยอรมัน ฯลฯ บางชนิดเปนเชื้อประเภทกาฝาก (Parasite) อาศัยรางกายเจริญเติบโต แลวทําลายรางกายดวย เชน มาเลเรีย เปนตน

๓) ความพิการเพราะอุบัติเหตุ (Trauma) แลวมีความพิการอยางถาวรตามมา เปนเหตุแหงความพิการที่พบไดบอยที่สุดในผูใหญ เชน อุบัติเหตุจากการเดินทาง การจราจร การขนสง ความพิการที่เกิดจากไฟไหม น้ํารอนลวก ถูกกรดดาง การถูกทุบตีหรือการกระแทก

Page 31: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖

อยางแรง การถูกทํารายรางกาย เชน ถูกยิง ถูกแทง หรือการที่อวัยวะถูกตัดขาด และเหตุแหงสงคราม การปองกันประเทศ การตอสูกับขาศึก การปองกันภัยและสาธารณภัย เปนตน อวัยวะที่ไดรับอันตราย เชน ศีรษะ สมอง ไขสันหลัง หู ตา หรือการทําใหแขน ขา ขาด เหลานี้มีผลใหเกิดความผิดปกติตามมาเปนความพิการอยางถาวร

๔) ความพิการที่เกิดจากเหตุของเนื้องอก เปนเนื้องอกที่เกิดขึ้นในที่สําคัญเชน สมอง ไขสันหลัง กระดูก ทําใหอวัยวะเหลานั้นพิการถาวรหรือตองไดรับการผาตัดเอาอวัยวะเหลานั้นทิ้งไปทําใหเกิดความพิการ

๕) ความพิการแบบที่ไมทราบสาเหตุ ไดแก ความพิการที่ไมทราบสาเหตุมักเปนความพิการ ผสมหรือเกิดจากการแพหรือถูกสารพิษที่ไมทราบสาเหตุได

โดยสรุปแลว สาเหตุของความพิการเกิดจากสาเหตุสําคัญ ๒ ประการคือ ๑) สาเหตุทางสังคม เชน การเกิดสงคราม การจางงานที่มีภาวะเสี่ยงตอการสูญเสียอวัยวะ รวมไปถึงความเจริญกาวหนาดานการแพทยที่สามารถชวยรักษาชีวิตของผูปวยไวได แตอาจจะสูญเสียอวัยวะหรือการทําหนาที่ของอวัยวะบางอยางไปซึ่งเปนเหตุของความพิการ และ ๒) สาเหตุทางการแพทย ซ่ึงเปนความพิการที่อาจจะไดรับมาตั้งแตกําเนิด เชน ปญญาออน หรือโรคจิตบางประเภท และ ความพิการที่ไดรับมาภายหลัง เชน หูตึงเนื่องจากอยูในสภาพแวดลอมที่มีเสียงดังเปนเวลานาน การเกิดอุบัติเหตุที่ทําใหสูญเสียอวัยวะ เปนตน

๑.๓ ประเภทของความพิการ นอกเหนือจากสังคมและหนวยงานที่ทํางานดานคนพิการไดใหความหมายของ ความพิการ

หรือ คนพิการ แตกตางกันแลว ในการกําหนดประเภทของความพิการ หรือคนพิการ ก็มีความแตกตางหลากหลาย ทั้งนี้เพราะประโยชนในการกําหนดภารกิจและการใหบริการแกคนพิการ ๑.๓.๑ กระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการ โดยคณะอนุกรรมการคัดเลือกและจําแนกความตองการเพื่อการศึกษา (พ.ศ.๒๕๔๓) ไดกําหนดประเภทของ นักเรียนพิการ หรือนักเรียนที่มีความบกพรองไว ๙ ประเภท ดังนี้ (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ๒๕๔๗ : ๒๕-๓๔)

๑) บุคคลท่ีมีความบกพรองทางการมองเห็น หมายถึงบุคคลที่สูญเสียการเห็นตั้งแตระดับเล็กนอยจนถึงตาบอดสนิท แบงได ๒ กลุม คือ คนตาบอดและคนเห็นเลือนราง

๒) บุคคลท่ีมีความบกพรองทางการไดยิน หมายถึง คนที่สูญเสียการไดยิน ตั้งแตระดับรุนแรงถึงระดับนอย แบงได ๒ กลุม คือ คนหูหนวก และคนหูตึง

๓) บุคคลท่ีมีความบกพรองทางสติปญญา หมายถึง คนที่มีพัฒนาการชากวาคนทั่วไป เมื่อวัดระดับเชาวปญญา โดยใชแบบทดสอบมาตรฐานแลว ระดับเชาวปญญาต่ํากวาคนทั่วไป และสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่ํากวาเกณฑทั่วไปอยางนอย ๒ ทักษะ หรือมากกวา คือ ทักษะการสื่อความหมาย ทักษะทางสังคม ทักษะการใชสาธารณะสมบัติ การดูแลตนเอง การดํารงชีวิตใน

Page 32: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗

บาน การควบคุมตนเอง สุขอนามัยและความปลอดภัย การเรียนทักษะวิชาการเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน การใชเวลาวางและการทํางาน ซ่ึงจะพบลักษณะความบกพรองทางสติปญญาตั้งแตแรกเกิดจนถึงกอนอายุ ๑๘ ป แบงเปน ๔ ระดับคือ บกพรองระดับเล็กนอย บกพรองระดับปานกลาง บกพรองระดับรุนแรง และบกพรองระดับรุนแรงมาก

๔) บุคคลท่ีมีความบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ หมายถึง คนที่มีอวัยวะไมสมสวน อวัยวะสวนใดสวนหนึ่งหรือหลายสวนขาดหายไป กระดูกและกลามเนื้อพิการ เจ็บปวยเรื้อรังรุนแรง มีความพิการของระบบประสาท มีความลําบากในการเคลื่อนไหว ซ่ึงเปนอุปสรรคตอการศึกษาในสภาพทั่วไป ทั้งนี้ไมรวมคนที่มีความบกพรองทางประสาทสัมผัส ไดแก ตาบอด หูหนวก แบงเปน ๔ กลุม คือ โรคของระบบประสาท โรคของระบบกลามเนื้อและกระดูก การไมสมประกอบมาแตกําเนิด สภาพความพิการและความบกพรองทางสุขภาพอื่นๆ แบงเปน สภาพความพิการ อันเนื่องมาจากอุบัติเหตุและโรคติดตอ และความบกพรองทางสุขภาพ

๕) บุคคลท่ีมีปญหาทางการเรียนรู หมายถึง คนที่มีความบกพรองอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางในกระบวนการพื้นฐานทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับความเขาใจหรือการใชภาษาอาจเปนภาษาพูดหรือภาษาเขียน ซ่ึงมีผลทําใหมีปญหาในการฟง การพูด การคิด การอาน การเขียน การสะกด หรือการคิดคํานวณ รวมทั้งสภาพความบกพรองในการรับรู สมองไดรับบาดเจ็บ การปฏิบัติของสมองสูญเสียไป ซ่ึงทําใหมีปญหาในการอานและปญหาในการเขาใจภาษา

๖) บุคคลท่ีมีความบกพรองทางการพูดและภาษา หมายถึง คนที่มีความบกพรองในเรื่องของการออกเสียง เชน เสียงผิดปกติ อัตราความเร็ว และจังหวะการพูดผิดปกติ หรือคนที่มี ความบกพรองในเรื่องความเขาใจและ/หรือการใชภาษาพูด การเขียน และหรือระบบสัญลักษณอ่ืนที่ใชในการติดตอส่ือสาร ซ่ึงอาจเกี่ยวกับรูปแบบของภาษา เนื้อหาของภาษาและหนาที่ของภาษา

๗) บุคคลท่ีมีปญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ หมายถึง คนที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติเปนอยางมาก และปญหาทางพฤติกรรมนั้นเปนไปอยางตอเนื่องไมเปนที่ยอมรับทางสังคมหรือวัฒนธรรม

๘) บุคคลออทิสติก หมายถึง บุคคลที่มีความบกพรองทางการพัฒนาดานสังคม ภาษา และการสื่อความหมาย พฤติกรรม อารมณ และจินตนาการ ซ่ึงมีสาเหตุเนื่องมาจากสมองบางสวนทําหนาที่ผิดปกติไป และความคิดปกตินี้พบไดกอนวัย ๓๐ เดือน

๙) บุคคลพิการซอน หมายถึง คนที่มีสภาพความบกพรองหรือความพิการมากกวาหนึ่ง ประเภทในบุคคลเดียวกัน เชน คนปญญาออนที่สูญเสียการไดยินเปนตน

๑.๓.๒ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงมีหนาที่โดยตรงตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติการฟนฟู

สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ไดออกกฎกระทรวง (กระทรวงสาธารณสุข) ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) กําหนดประเภทและหลักเกณฑของคนพิการไว ๕ ประเภท คือ (สํานักเลขาธิการ

Page 33: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘

นายกรัฐมนตรี, อางแลว : ๓๔-๓๕ ; กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, ม.ป.ป. : ๓ ; เอกสารรับรองความพิการ ตามแบบทายกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ : ๒)

๑) คนพิการทางการมองเห็น คือ คนที่มีสายตาขางที่ดีกวาเมื่อใชแวนสายตาธรรมดาแลวมองเห็นนอยกวา ๖/๑๘ หรือ ๒๐/๗๐ ลงไปจนมองไมเห็นแมแตแสงสวาง หรือมีลานสายตาแคบกวา ๓๐ องศา

๒) คนพิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย คือ คนที่ไดยินเสียงที่ความถี่ ๕๐๐ เฮิรตซ ๑,๐๐๐ เฮิรตซ ๒,๐๐๐ เฮิรตซ ในหูขางที่ดีกวา โดยกําหนดไววาเด็กอายุไมเกิน ๗ ป จะตอง ไดยินเสียงตั้งแต ๔๐ เดซิเบล จนไมไดยินเสียง สวนคนทั่วไปไดยินเสียง ๕๕ เดซิเบล จนไมได ยินเสียง หรือคนที่บกพรองในการเขาใจหรือการใชภาษาพูดจนไมสามารถสื่อความหมายได

๓) คนพิการทางกาย หรือการเคลื่อนไหว คือ คนที่มีความบกพรองทางกายที่เห็นไดชัด และไมสามารถประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันได หรือสูญเสียการเคลื่อนไหวมือ แขน ขาหรือลําตัว เนื่องจากแขนหรือขาขาด อัมพาต หรือออนแรงจนไมสามารถทํากิจวัตรประจําวันได

๔) คนพิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม คือ คนที่มีความผิดปกติทางจิตใจหรือสมองในสวนของการรับรู อารมณ ความคิดจนไมสามารถควบคุมพฤติกรรมที่จําเปนในการดูแลตนเองหรืออยูรวมกับผูอ่ืนได

๕) คนพิการทางสติปญญา หรือการเรียนรู คือ คนที่บกพรองทางสติปญญาหรือสมอง จนไมสามารถเรียนรูดวยวิธีการศึกษาปกติได

จากการที่ไดทบทวน นิยาม ความหมายของคนพิการ หรือความพิการของหนวยงาน องคกรตางๆ ไดบงบอกถึงการกําหนดประเภทของความพิการ ในการวิจัยคร้ังนี้คณะผูวิจัยไดใชการแบงประเภทความพิการ ตามการกําหนดของกระทรวงสาธารณสุขเปนหลัก

๒. เกณฑการวัดความพิการ ๒.๑ เกณฑการวัดความพิการทางการแพทย (Medical Model of Disability) เกณฑการวัดความพิการทางการแพทย (Medical Model of Disability) เปนเกณฑที่เปนที่รูจักกันมากที่สุดสําหรับบุคคลทั่วไปและเปนที่ยอมรับอยางแพรหลายและมีอิทธิพลสูงเนื่องจากเกณฑนี้ไดสรางขึ้นจากบุคคลในวิชาชีพแพทย (Smart & Smart, ๒๐๐๖) เกณฑการวัดความพิการรูปแบบนี้มีรากฐานมาจากการสรางเกณฑเชิงวิทยาศาสตร (Scientific Method) สมมติฐานพื้นฐานของรูปแบบนี้คือ การปรากฏอาการเจ็บปวย (Pathology) และความพิการเปนผลตอเนื่องมาจาก การเจ็บปวยนั้นซึ่งเปนเรื่องของบุคคล (Individual) โดยตรง เนื่องจากความพิการถูกตัดสินเนื่องมาจากความเจ็บปวยทางดานรางกาย ทําใหคนพิการในแนวคิดทางการแพทยมักจะถูกมองวาเปนบุคคลในกลุมของความดอยทางชีววิทยา (Biological Inferiority) การทํางานของรางกายที่

Page 34: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙

ผิดพลาด (Malfunction) บุคคลที่เจ็บปวย (Pathology) และบุคคลที่ไมปกติ (Deviance) เมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลทั่วไป (Pfeiffer, ๒๐๐๑ ; Mitra, ๒๐๐๖ ; Smart & Smart, ๒๐๐๖) อยางไรก็ตาม เกณฑการวัดความพิการทางการแพทยไดรับการยอมรับวาเปนเกณฑเชิงประจักษเนื่องจากสามารถตัดสินไดดวยตัวเลข จึงเปนเกณฑสําคัญในการวินิจฉัยของแพทยเพื่อออกเอกสารรับรองความพิการใหแกคนพิการที่ตองการจะจดทะเบียนคนพิการของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย โดยแบงลักษณะของความพิการออกเปน ๕ ประเภท ซ่ึงมีระดับความพิการรุนแรงที่แตกตางกัน (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, อางแลว) ดังแสดงในตารางที่ ๒.๑ ตารางที่ ๒.๑ แสดงเกณฑการจําแนกความพิการทางการแพทยตามลักษณะความพิการและระดับความพิการ ประเภทความพิการ ระดับความ

พิการ หัวขอพิจารณา ลักษณะความ

พิการ ๑ การมองเห็นของสายตา ๖/

๑๘ ลงไปถึง ๖/๖๐

๒ สายตานอยกวา ๖/๖๐ ลงไปจนถึง ๓/๖๐

ลานสายตาแคบกวา ๓๐ องศาจนถึง ๑๐ องศา

สายตาเลือนราง (ผิดปกติที่สายตา) สายตาพิการ (ผิดปกติที่ลานสายตา

๓ สายตานอยกวา ๓/๖๐ ลงไปถึง ๑/๖๐

ลานสายตาแคบกวา ๑๐ องศาจนถึ ง ๕ องศา

ตาบอดชั้นหนึ่ง

๔ สายตานอยกวา ๑/๖๐ ลงไปถึงเห็นเพียงแสงสวาง

ลานสายตาแคบกวา ๕ องศาลงไป

ตาบอดชั้นสอง

๑.พิการทางการมองเห็น

๕ มองไมเห็นแมแตแสงสวาง ตาบอดชั้นสาม ๑ ไดยินเสียงที่ความดังเฉลี่ย ๒๖-๔๐ เดซิเบล หูตึงนอย ๒ ไดยินเสียงที่ความดังเฉลี่ย ๔๑-๕๕ เดซิเบล หูตึงปานกลาง ๓ ไดยินเสียงที่ความดังเฉลี่ย ๕๖-๗๐ เดซิเบล หูตึงมาก ๔ ไดยินเสียงที่ความดังเฉลี่ย ๗๑-๙๐ เดซิเบล หูตึงรุนแรง

๒ . พิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

๕ ไดยินเสียงที่ความดังมากกวา ๙๐ เดซิเบล หูหนวก ๑ สื่อความหายในเนื้อหาที่มากกวาการใชในกิจวัตร

ประจํ า วันหลักไดบ างและมีปญหาในการสื่อความคิดที่ซับซอน

๒ . พิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย (ตอ)

๒ สื่อความหมายไดเฉพาะที่ใชในกิจวัตรประจําวัน

พูดไมได พูดไมชัด พูดไมรูเรื่อง

Page 35: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐

๓ สื่อความหมายที่ใชในกิจวัตรประจําวันหลักไดรูเรื่องบางไมรูเรื่องบาง

๔ สื่อความหมายไดเพียงตอบรับหรือปฏิเสธ

๕ สื่อความหมายไมไดเลย

๑ ความผิดปกติหรือความบกพรองของรางกายที่ปรากฏใหเห็นชัดเจน แตยังสามารถประกอบกิจวัตรประจําวันหลักได

๒ ความผิดปกติ หรือความบกพรองในการเคลื่อนไหวลําตัว มือ แขน หรือขา แตยังสามารถประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันได

๓ การสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว มือ แขน ลําตัว ซึ่งจําเปนในการประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันนอยกวาครึ่งตัว หรือแขน ขา นอยกวา ๒ ขาง

๔ การสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว มือ แขน ลําตัว ซึ่งจําเปนในการประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันครึ่งตัว หรือ แขน ขา เพียง ๒ ขาง

๓. พิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว

๕ การสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว มือ แขน ลําตัว ซึ่งจําเปนในการประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันมากกวาครึ่งตัว หรือแขน ขา มากกวา ๒ ขาง

ความผิดปกติของ ศีรษะ/ใบหนา คอ หลัง ลําตัว มือ ขา เทา

๑ ผูที่ชวยเหลือตัวเองไมได และรบกวนความสงบของผูอื่น (๐-๑.๕)

๒ ผูที่อยูตามลําพังไมยุงกับใคร และชวยเหลือตัวเองไมได (๑.๕ – ๒.๕)

๓ ผูที่ชวยเหลือตัวเองไดบางและอยูรวมกับผูอื่นไดบาง (มากกวา ๒.๕-๓.๕)

๔ ผูที่ไมตองพึ่งผูอื่น ประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได (มากกวา ๓.๕-๔.๕)

๔. พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม

๕ ผูที่เลี้ยงตัวเองได และชวยเหลือผูอื่นได

โรคจิต สมองผิดปกติ หรือสมองเสื่อมที่ ทําใหพฤติกรรมผิดปกติ

๑ ความสามารถทางปญญา I.Q. = ๘๐-๙๐ ปญญาทึบ ๒ ความสามารถทางปญญา I.Q. = ๗๐-๗๙ ปญญาออนคาบ

เสน

๕. พิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู

๓ ความสามารถทางปญญา I.Q. = ๕๐-๖๙ ปญญาออนระดับนอย

Page 36: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑

๔ ความสามารถทางปญญา I.Q. = ๓๕-๔๙ ปญญาออนระดับปานกลาง

๕ ความสามารถทางปญญา I.Q. นอยกวา ๓๕ ปญญาออนระดับรุนแรง

ที่มา: เอกสารรับรองความพิการ ตามแบบทายกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๗ (กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๓๔ : ๑-๒ )

๒.๒ เกณฑการวัดความพิการทางสังคม (Social Model of Disability) เกณฑการวัดความพิการทางสังคม (Social Model of Disability) เปนเกณฑการวัด ความพิการที่มีเนื้อหาระบุแตกตางโดยส้ินเชิงกับเกณฑการวัดความพิการทางการแพทย (Pfeiffer, ๒๐๐๑) กลาวคือ แนวคิดความพิการทางสังคมใหนิยามความพิการวาเปนโครงสรางของสังคม (Social Construct) ที่ความพิการไมไดเกิดมาจากบุคคล (Individual) แตความพิการเกิดมาจากบุคคล ที่มีปฏิสัมพันธกับการทํางานของสภาพแวดลอมทางสังคม (Social Environment) ความยากลําบาก (Difficulties) ของบุคคลหลายประการเกิดขึ้นมาจากเหตุผลนอกเหนือจากขอจํากัดของบุคคล แตเนื่องมาจากสภาพแวดลอมทางสังคมไมเอื้อใหบุคคลสามารถทํากิจกรรมตาง ๆ ได สภาพสังคมเปนตัวการสําคัญที่สรางภาวะพิการ (Disability) และตองมีการปรับเปลี่ยนสังคม (Thomason, Burton, & Hyatt, ๑๙๙๘; Mitra, ๒๐๐๖; Smart & Smart, ๒๐๐๖) นอกจากนี้ สมารท (Smart, ๒๐๐๔) ไดแสดงความคิดเห็นวา บุคคลที่มีความพิการตองเผชิญกับปญหาสองประการดวยกัน คือ ๑) สภาพรางกายทําใหไมสามารถเขาถึงสภาพแวดลอมได (The Physical Inaccessibility to the Environment) และ ๒) เจตคติของบุคคลทั่วไปที่มีตอความพิการและคนพิการ (The Attitudes of the People without Disabilities toward Disability and People with Disabilities.) แนวคิดนี้สงผลถึง ความจําเปนและความตองการของบุคคลที่ตองใชอุปกรณชวยเหลือความพิการและสิ่งอํานวย ความสะดวกในการทํากิจกรรมตาง ๆ (Thomason, Burton, & Hyatt, ๑๙๙๘)

๒.๓ แนวความคิดหลักของบัญชีสากลเพื่อการจําแนกการทํางาน ความพิการและสุขภาพ

(International Classification of Functioning, Disability and Health) แนวความคิดหลักของบัญชีสากล เพื่อการจําแนกการทํางาน ความพิการและสุขภาพ

(International Classification of Functioning, Disability and Health) หรือที่เรียกวา ICF หรือบางครั้งเรียกวา รูปแบบทางจิตชีววิทยาเชิงสังคมที่เกี่ยวของกับความพิการ (The Biopsychosocial Model of Disability) (Bickensack, Chatterji, Badley, & Ustun, ๑๙๙๙) ICF ใหนิยามในการอธิบายสุขภาพและองคประกอบของการกินดีอยูดีที่เกี่ยวของกับสุขภาพ โดยพิจารณาจากรางกายตัวบุคคลและสังคม ๒ ประการ คือ (World Health Organization, ๒๐๐๑)

Page 37: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒

๑. การทํางานของรางกายและโครงสราง ๒. กิจกรรมและการมีสวนรวม ดังนั้น ความพิการในความหมายของ ICF มีความหมายครอบคลุมถึงความบกพรองของ

รางกาย การจํากัดในการทํากิจกรรม และขอจํากัดในการมีสวนรวม และยังครอบคลุมไปถึงปจจัยส่ิงแวดลอมที่มีความเชื่อมโยงกับสภาวะกรณีตาง ๆ ที่ทําใหบุคคลไมสามารถที่จะใชการทํางานของรางกายและโครงสรางในการทํากิจกรรมและมีสวนรวมได (องคการอนามัยโลก, ๒๕๔๗)

นอกจากนี้บัญชีสากลเพื่อการจําแนกการทํางาน ความพิการและสุขภาพ จัดกลุมบุคคลตามการทําหนาที่ของรางกายและความพิการที่เกี่ยวของกับภาวะสุขภาพ ซ่ึงจะใชประกอบกับ ICD-๑๐ ที่ใหขอมูลดานการวินิจฉัยโรค ความผิดปกติ หรือภาวะสุขภาพ ซ่ึงทําใหเห็นภาพรวมทางดานสุขภาพของบุคคล และเปนประโยชนในการสรางเกณฑ ดังนั้น เมื่อใชเกณฑของ ICF และ ICD-๑๐ แลว คนสองคนที่เปนโรคเดียวกันมีความสามารถในการทํางานที่แตกตางกันได และคนสองคนที่ทํางานไดเทาเทียมกันไมจําเปนตองมีภาวะสุขภาพเดียวกัน (องคการอนามัยโลก, ๒๕๔๗)

องคประกอบของ ICF ICF แบงออกเปนสองสวน ในแตละสวนประกอบดวยสวนยอย (องคการอนามัยโลก, ๒๕๔๗ : ๑๐) ดังนี้ การทําหนาที่ของรางกายและความพิการ ไดแก ๑) การทํางานของรางกายและโครงสรางของรางกาย ๒) กิจกรรมและการมีสวนรวม ปจจัยแวดลอมไดแก ๑) ปจจัยดานส่ิงแวดลอม และ๒) ปจจัยสวนบุคคล

Page 38: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓

ตารางที่ ๒.๒ ภาพรวมของ International Classification of Functioning -ICF สวนที่ ๑ การทําหนาทีข่องรางกาย

และความพิการ สวนที่ ๒ ปจจัยแวดลอม

สวนประกอบ

การทํางานของรางกายแ ล ะ โ ค ร งส ร า ง ข อ งรางกาย

กิจกรรมและการมีสวนรวม

ปจจัยส่ิงแวดลอม

ปจจัยบุคคล

ขอบเขต

การทํางานของรางกาย โครงสรางของรางกาย

ประเด็นของชีวิต (งาน,การกระทํา)

อิทธิพลภายนอกที่มีผลตอการทําหนาที่ของรางกาย และความพิการ

อิทธิพลภายในที่มีผลตอการทําหนาที่ของรางกาย และความพิการ

สวนประกอบยอย

การ เปลี่ ยนแปลงการทํางานของรางกาย (ดานสรีระวิทยา) ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล งโครงสรางของรางกาย (ดานกายวิภาค)

ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า รทํ า ง าน ในสิ่ ง แ ว ดล อ มมาตรฐาน สมรรถภาพในการทํางานในสิ่งแวดลอมปจจุบัน

ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ เ ป น ก า รเกื้อหนุนหรือเปนอุปสรรคของลักษณะดานกายวิภาค สังคม และทัศนคติ

ผลกระทบจากลักษณะของตัวบุคคล

ความสมบูรณของการทํางานของรางกายและโครงสรางของรางกาย

กิจกรรมการมีสวนรวม

ลักษณะเชิงบวก

การทํางานของรางกาย

ส่ิงเกื้อหนุน

ไมเกี่ยวของ

ความบกพรอง ก า ร จํ า กั ด ใ น ก า ร ทํ ากิจกรรมและขอจํากัดในการมีสวนรวม

ลักษณะเชิงลบ

ความพิการ

อุปสรรค/ส่ิงกีดขวาง

ไมเกี่ยวของ

ที่มา: องคการอนามัยโลก (๒๕๔๗ : ๑๑)

เมื่อพิจารณาจากภาพรวมของ ICF แลวจะเห็นวา เกณฑในการประเมินความพิการและความรุนแรงของความพิการตองพิจารณาแยกเปนรายดาน ๒ ดานประกอบกัน กลาวถือ ตองคํานึงถึง การทําหนาที่ของรางกายและความพิการ ในแงนี้จะตองคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางรางกาย การทํางานของรางกาย ความสมบูรณในการทํางานของโครงสรางของรางกายและโครงสราง รวมไปถึงความบกพรองที่เกิดขึ้น ซ่ึงทําใหมีขอจํากัดของการทํางานทางสิ่งแวดลอมมาตรฐาน สมรรถภาพในการทํางานและกิจกรรมและการมีสวนรวม อีกองคประกอบหนึ่ง คือองคประกอบดานปจจัยแวดลอม ซ่ึงตองพิจารณาถึงอุปสรรคภายในและภายนอกที่มีผลตอการทําหนาที่ของรางกาย ซ่ึงถารบกวนไมใหรางกายทําหนาที่ไดอยางเปนปกติแลวจะถือเปนความพิการ นอกจากนี้องคประกอบนี้ยังรวมไปถึงผลกระทบที่ทําใหเปนอุปสรรคดานกายวิภาค สังคม และทัศนคติ ซ่ึงสงผลเชิงลบที่ทําใหเปนอุปสรรคในการดําเนินชีวิตของบุคคล กลาวโดยสรปุแลว สวนประกอบตาง ๆ ของ ICF มีปฏิสัมพันธตอกัน เชน การทําหนาที่ของรางกาย เปนปฏิกิริยารวมกัน หรือมีความสัมพันธที่ซับซอนระหวางภาวะสุขภาพและปจจัยทั้งหมด

Page 39: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔

(ปจจัยส่ิงแวดลอมและปจจัยบุคคล) ซ่ึงมีความหลากหลายโดยไมสามารถอธิบายไดเพียงแคปฏิสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่ง (สํานักงานสถิติแหงชาติ, ๒๕๔๗) ดังแสดงในแผนภูมิที่ ๒.๑ แผนภูมิที่ ๒.๑ ปฏิกิริยารวมกันระหวางองคประกอบของ International Classification of Functioning -ICF

ที่มา : องคการอนามัยโลก, ๒๕๔๗

๒.๔ เกณฑการวัดความพิการระดับรุนแรงแนวคิดอ่ืน ๆ สํานักงานการศึกษาพิเศษของโรงเรียนเด็กพิเศษแฟรแฟกซ (The Office of Special Education, Fairfax School, ๒๐๐๕) ของประเทศสหรัฐอเมริกาไดเสนอเกณฑในการประเมินวาบุคคลใดมีความพิการระดับรุนแรง โดยพิจารณาจากเกณฑตอไปนี้

๑. ความพิการเบื้องตนซึ่งเกี่ยวของกับการขาดความสามารถอยางรุนแรงทางกระบวนการทางสติปญญา (Cognitive Abilities) ทักษะในการปรับตัว (Adaptive Skills) และกระบวนการใชชีวิต (Life Functioning)

๒. มีปญหาพฤติกรรมอยางรุนแรงรวมดวย ๓. มีแนวโนมสูงที่จะมีความพิการทางดานรางกาย (Physical) และ/หรือ ความพิการทาง

ประสาทสัมผัสรวมดวย (Sensory)

ภาวะสุขภาพ (ความผิดปกต ิหรือโรค)

กิจกรรม การทํางานของรางกายและโครงสรางของรางกาย

การมีสวนรวม

ปจจัยดานสิ่งแวดลอม ปจจัยดานบุคคล

Page 40: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕

๔. (กรณีที่เปนนักเรียน) ตองการทรัพยากรทางการศึกษา (Educational Resources) อยางมากเมื่อเทียบกับคนพิการในระดับปานกลางและนอยในโปรแกรมการศึกษาพิเศษ

โดยหลักเกณฑการประเมินเปนการประเมินในรูปแบบของคณะกรรมการ โดยพิจารณาจากการขาดความสามารถในทุกเกณฑ ซ่ึงในแตละเกณฑคณะกรรมการจะตองประเมิน “ใช” หรือ “ไมใช” และใหขอมูลที่จําเปนอื่น ๆ เพิ่มเติม และคณะกรรมการจะประชุมรวมกันเพื่อตัดสินระดับความพิการ

แผนกสุขศึกษาและบริการประชาชนของสํานักงานบัญชีกลางแหงสหรัฐอเมริกา (Health Education and Human Service Division, General Accounting Office : GAO, ๑๙๙๙) ใหคําจํากัดความของความพิการระดับรุนแรง วา ความพิการระดับรุนแรง (Severe Disabilities) หมายถึง บุคคลที่ไมสามารถจะประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวันได เชน การอาบน้ํา การแตงตัว หรือมี ความตองการการชวยเหลือทางดานการเงิน การแพทย หรืออุปกรณชวยเหลืออ่ืน ๆ อยางไรก็ตามไมมีมติอยางเอกฉันทเกี่ยวกับกฎเกณฑของความพิการระดับรุนแรง เนื่องมาจากความแตกตางระหวางบุคคลเกี่ยวกับอวัยวะที่สามารถใชการได (Functional Area) ซ่ึงเปนสิ่งที่พวกเขาตองการความชวยเหลือ และระดับความยากลําบากในการทํากิจกรรมตาง ๆ แตโดยพื้นฐานแลว การประเมินวาบุคคลใดมีความพิการระดับรุนแรงจะมุงประเด็นพื้นฐานทางความสามารถในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (Activities of Daily Living : ADL) ซ่ึงรวมไปถึง การอาบน้ํา การแตงตัว การรับประทานอาหาร การเคลื่อนยายตัวเองจากเตียงนอนไปยังเกาอี้ การใชหองสวม การเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ บาน และการใชอุปกรณในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (Instrumental Activities of Daily Living : IADL) ซ่ึงเกี่ยวกับ การเตรียมอาหาร การซื้อของ การจัดการดานการเงิน การใชโทรศัพท และการทํางานบาน ปริมาณของความตองการการชวยเหลือเปนดัชนีที่สําคัญในการบงชี้ถึงความรุนแรงของระดับความชวยเหลือ และความเขมขนของความตองการ ความชวยเหลือในระยะยาว เปนองคประกอบที่สําคัญในการบงชี้ถึงภาวะรุนแรงของ ความพิการ เมื่อพิจารณารวมกันระหวางองคประกอบความสามารถในการทํากิจกรรมประจําวัน (ADL) รวมกับการใชอุปกรณในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (IADL) แลว GAO ไดใหคํานิยามสําหรับผูพิการระดับรุนแรงวาเปนบุคคลที่มีความยากลําบากหรือไมสามารถทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (ADL) ๓ อยางหรือมากกวา หรือ ไมสามารถทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (ADL) ๒ อยางและตองใชอุปกรณในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (IADL) ๔ อยาง (GAO, ๑๙๙๙: ๘) สถาบันวิจัยความพิการและการฟนฟูสมรรถภาพแหงชาติของสหรัฐอเมริกา (The National Institute on Disability and Rehabilitation Research, ๑๙๙๖) ไดจัดทําโครงการสํารวจรายไดกับ การเขารวมโครงการ (The Survey of Income and Program Participation : SIPP) ซ่ึงเปนการศึกษาวิจัยระยะยาว (Longitudinal Survey) โดยมีการเก็บขอมูลตั้งแตป ๑๙๙๐-๑๙๙๒ ไดใหคําจํากัดความของคนพิการระดับรุนแรงวา เปนบุคคลที่มีอายุตั้งแต ๑๕ ปขึ้นไปที่ ๑) ไมสามารถจะทํา

Page 41: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖

กิจกรรมในชีวิตประจําวันไดหนึ่งอยางหรือมากกวา ๒) มีความตองการความชวยเหลือจากบุคคลอืน่ทั้งในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันและการใชอุปกรณในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน ๓) ใชวีลแชร ๔) ตองใชไมเทา (Cane) ไมค้ํายัน (Crutch) หรือวอลกเกอร (Walker) เปนระยะเวลานาน ๕) มพีัฒนาการลาชาหรือเปนโรคความจําระยะสั้นเสื่อม (Alzheimer’s Disease) ๖) ไมสามารถทํางานบานได ๗) ไดรับเงินสงเคราะหจากรัฐ และ ๘) อายุระหวาง ๑๖-๖๗ ปที่ไมสามารถทํางานหรือกิจการใด ๆ ได

องคการบริหารแหงรัฐโอกลาโฮมา (Oklahoma Administrative Office, ๒๐๐๖) ใหความหมายของความพิการระดับรุนแรงวา หมายถึง ความพิการเรื้อรังของความบกพรองทางรางกายหรือจิตใจ ซ่ึงสงผลใหบุคคลมีขอจํากัดในกิจกรรมหลักของการดําเนินชีวิตในหัวขอตอไปนี้ ๓ หัวขอ หรือมากกวา

๑. การดูแลตัวเอง (Self-care) ๒. การใชภาษาทั้งการรับและสงสาร (Receptive and Expressive Language) ๓. การเรียนรู (Learning) ๔. การเคลื่อนที่ (Mobility) ๕. การควบคุมกํากับตนเอง (Self-direction) ๖. ความสามารถในการดํารงชีวิตดวยตนเอง (Capacity Independent Living) ๗. ความสามารถในการหาเลี้ยงตนเอง (Economic Self-sufficiency) จากแนวคิดทีห่ลากหลายในการประเมินความพิการระดบัรุนแรงสามารถสรุปสาระสําคัญ

ของแนวคดิตาง ๆ ดังแสดงในตารางที่ ๒.๓

Page 42: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๗

ตารางที่ ๒.๓ สรุปสาระสําคัญของแนวคิดตาง ๆ เกี่ยวกับเกณฑในการประเมินความพิการระดับรุนแรง แหลงขอมูล ปที่เผยแพร เกณฑ ดัชนีชี้วดั

การทําหนาที่ของรางกายและโครงสรางทางรางกาย

จําแนกเปน ๓๑ ลักษณะ ครอบคลุมความพิการทั้ง ๕ ประเภท

กิจกรรมและการมีสวนรวม ๑. การดูแลตนเอง -ลางหนา/แปรงฟน -การแตงตัว ๒. การเคลื่อนไหว -การเดินหรือการเคลื่อนที่ -การยืน (ประมาณ ๒๐ นาที) -การเดินขึ้นบันไดประมาณ ๑๐-๑๔ ขั้น ๓. การสื่อสาร -การแสดงออก -การพูดจาสื่อสารกับผูอื่น

ICF ๒๕๔๗

ปจจัยดานสิ่งแวดลอม ๑. ขอมูลของผูดูแลหรือชวยเหลือผูทุพพลภาพ ๒. ความตองการความชวยเหลือหรือสวัสดิการจากรัฐบาล ๓. การใชอุปกรณหรืออวัยวะเทียมหรือเครื่องชวยคนพิการ

Page 43: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๘

แหลงขอมูล ปที่เผยแพร เกณฑ ดัชนีชี้วดั The Office of Special Education Fairfax School

๒๐๐๕ เนนปจจัยสวนบุคคลเปนหลัก รวมกับการประเมินดานกิจกรรม โดยมีเกณฑการประเมิน ๒ ระดับ คือใชกับไมใชในทุกเกณฑยอย

๑. การขาดความสามารถอยางรุนแรงทางกระบวนการทางสติปญญา (Cognitive Abilities)

๒. ขาดทักษะในการปรับตัว (Adaptive Abilities) ๓. ขาดความสามารถในการใชชีวิต (Life Functioning) ๔. มีปญหาพฤติกรรมอยางรุนแรงรวมดวย ๕. มีแนวโนมที่จะมีความพิการทางดานรางกายและประสาทสัมผัส (Sensory)

รวมดวย ๖. ตองการทรัพยากรทางการศึกษา (Educational Resources) ในกรณีที่เปน

นักเรียน

Page 44: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๙

แหลงขอมูล ปที่เผยแพร เกณฑ ดัชนีชี้วดั พื้นฐานความสามารถในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (Activities of Daily Living: ADL) ๑. การอาบน้ํา ๒. การแตงตัว ๓. การรับประทานอาหาร ๔. การเคลื่อนยายตัวเองจากเตียงนอนไปยังเกาอี้ ๕. การใชหองสวม ๖. การเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ บาน

Health Education and Human Service Divisions, US General Accounting Office (GAO)

๑๙๙๙ พิจารณาความพิการระดับรุนแรงจาก (๑) ปริมาณของความตองการความชวยเหลือ(ความเขมขน) เปนดัชนีที่สําคัญ (๒)ระยะเวลาที่ตองใหความชวยเหลือ โดยสรุปถามีความยากลําบากของ ADL ๓ อยางหรือมากกวา หรือ ADL ๒ อย า งประกอบกับต องใช อุปกรณชวยเหลือสําหรับ IADL ๔ อยาง ถือวาเปนระดับรุนแรง

การใช อุปกรณชวยเหลือความพิการในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (Instrumental Activities of Daily Living: IADL) ๑. การเตรียมอาหาร ๒. การซื้อของ ๓. การจัดการดานการเงิน ๔. การใชโทรศัพท ๕. การทํางานบาน

Page 45: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๐

แหลงขอมูล ปที่เผยแพร เกณฑ ดัชนีชี้วดั The National Institute on Disability and Rehabilitation Research Project of the Survey of Income and Program Participation: SIPP

๑๙๙๖ เนน ความตองการทางดานเศรษฐกิจเปนหลัก รวมดวยพัฒนาการ/หรือความบกพรองทางรางกายที่ทําใหไมสามารถทํางานเพื่อสรางรายไดเปนสําคัญ

๑. อายุ ๑๕ ปหรือมากกวา ๒. ไมสามารถทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันไดหนึ่งอยางหรือมากกวา ๓. มีความตองการความชวยเหลือจากบุคคลอื่นทั้งในการทํากิจกรรมใน

ชีวิตประจําวันและการใชอุปกรณในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน ๔. ใชวีลแชร ๕. ตองใชไมเทา ไมค้ํายัน หรือวอลกเกอรเปนระยะเวลานาน ๖. มีพัฒนาการลาชาหรือเปนโรคความจําระยะสั้นเสื่อม (Alzheimer’s

Disease) ๗. ไมสามารถทํางานบานได ๘. ไดรับเงินสงเคราะหจากรัฐมากอน ๙. อายุระหวาง ๑๖-๖๗ ปที่ไมสามารถทํางานหรือกิจการใด ๆ ได

Page 46: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๑

แหลงขอมูล ปที่เผยแพร เกณฑ ดัชนีชี้วดั Oklahoma Administrative Office

๒๐๐๖ บุคคลที่มีขอจํากัดในกิจกรรมหลักของการดําเนินชีวิต ๓ หัวขอ หรือมากกวา ถือวาเปนคนพิการระดับรุนแรง

๑. การดูแลตัวเอง (Self-care) ๒. การใชภาษาทั้งการรับและสงสาร (Receptive and Expressive Language) ๓. การเรียนรู (Learning) ๔. การเคลื่อนที่ (Mobility) ๕. การควบคุมกํากับตนเอง (Self-direction) ๖. ความสามารถในการดํารงชีวิตดวยตนเอง (Capacity Independent Living) ๗. ความสามารถในการหาเลี้ยงตนเอง (Economic Self-sufficiency)

Page 47: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๒

จากการประมวลวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับรูปแบบและเกณฑการตัดสินระดับของความพิการทั้งในและตางประเทศแลว สามารถสรุปไดวา เกณฑในการประเมินความพิการระดับรุนแรงควรอางอิงเกี่ยวกับเกณฑในการประเมินระดับความบกพรองทางรางกาย กิจกรรมและการมีสวนรวม และปจจัยส่ิงแวดลอม โดยอาศัยกรอบแนวคิดของ ICF รวมดวยแนวคิดอื่น ๆ เปนหลักซึ่งสามารถสรุปไดวาแนวโนมของการประเมินความพิการระดับรุนแรงในปจจุบันครอบคลุมเกณฑตาง ๆ ไดแก เกณฑ ความบกพรองทางกาย การประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความตองการการชวยเหลือจากอุปกรณสําหรับความพิการและบุคคล ความสามารถในการพึ่งพาตนเองรวมไปถึงความสามารถในการหาเลี้ยงชีพตนเองโดยผูวิจัยจะนําเสนอผลการวิเคราะหรูปแบบของเกณฑการประเมินความพิการระดับรุนแรงใน บทที่ ๔ ตอนที่ ๒ การคาดประมาณแนวโนมการเปลี่ยนแปลงประชากร

๒.๑ การเปล่ียนแปลงประชากร

การเปลี่ยนแปลงของประชากรโลกรวมทั้งประชากรไทยที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกปนั้น เปนปรากฏการณที่เกิดจากปจจัยหลักเพียง ๒ ประการคือ การเกิดและการตาย (สํานักงานสถิติแหงชาติ, ๒๕๔๗) การเปลี่ยนแปลงประชากรอาจเปนการเปลี่ยนแปลงขนาด โครงสราง หรือการกระจายตัว

การเปลี่ยนแปลงประชากรประกอบไปดวย ๓ องคประกอบคือ การเกิด การตาย และการยายถ่ิน มาตรวัดการเปลี่ยนแปลงประชากรพื้นฐาน คืออัตราการเพิ่มธรรมชาติ (Rate of Natural Increase) ในรอบ ๑ ป โดยพิจารณาจากจํานวนคนเกิดและคนตายเทานั้น

การเปลี่ยนแปลงประชากรมีผลตอการเปลี่ยนแปลงประชากรคนพิการ เนื่องจากคนพิการเปนสมาชิกกลุมหนึ่งของประชากรทั้งหมด การคาดประมาณแนวโนมจํานวนคนพิการในอนาคตเปนสวนหนึ่งที่สําคัญของการดําเนินงานทางสังคมแบบเชิงรุก เนื่องจากหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถวางแผนระยะสั้นและระยะยาวไดอยางแมนยําในทางทรัพยากร เชน บุคคล ส่ิงของที่เปนกายภาพ และในทางสังคมสงเคราะห เชน ส่ิงอํานวยความสะดวก การจัดสวัสดิการ รวมทั้งการจัดงบประมาณดวย ดังนั้น จึงจําเปนตองมีการศึกษาวิจัยแนวโนมและการคาดประมาณการเปลี่ยนแปลงประชากรคนพิการ

๒.๒ การคาดประมาณแนวโนมคนพิการ

ในประเทศไทยยังไมมีงานวิจัยเกี่ยวกับ (การคาดประมาณ) แนวโนมคนพิการ มีเฉพาะสํานักงานสถิติแหงชาติที่สํารวจจํานวนคนพิการในป ๒๕๑๗ – ๒๕๔๕ (ตารางที่ ๒.๕) สวนการศึกษาแนวโนมคนพิการในตางประเทศมี ๒ รายงาน คือศึกษาแนวโนมคนพิการในประเทศสหรัฐอเมริกา (Kaye,

Page 48: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๓

LaPlante, Carlson, และ Wenger [๑๙๙๖]) และในประเทศออสเตรเลีย (Disability Services Commission [๑๙๙๘]) รายละเอียดมีดังนี้

แนวโนมคนพิการในประเทศสหรัฐอเมริการะหวางป ๒๕๑๓- ๒๕๓๗ (1970-1994) Kaye, LaPlante, Carlson, และ Wenger (๑๙๙๖) ไดศึกษาจากขอมูลการสํารวจสุขภาพระดับชาติ (National Health Interview Survey [NHIS]) ซ่ึงดําเนินการสํารวจโดย The Census Bureau for the National Center for Health Statistics ขอมูลไดมีการเก็บรวบรวมตั้งแตป ๒๕๑๓ จนถึงป ๒๕๓๗ สวนป ๒๕๒๕ (1982)ไมมีการเก็บรวบรวมขอมูล ซ่ึงใน ป ๒๕๒๕ NHISไดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแบบสํารวจและสงผลใหจํานวนคนพิการตั้งแตป ๒๕๒๖ (1983) เพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด ดังนั้น จึงตองคิดไวดวยวาจํานวน คนพิการที่เพิ่มขึ้นนี้เปนเพราะแบบสํารวจที่ถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมากกวาจะเปนเพราะจํานวนตัวเลขคนพิการที่เพิ่มขึ้นจริง

จะเห็นวา ป ๒๕๑๓ จํานวนคนพิการเพิ่มขึ้นปละนอยๆ (๑๔.๔ % ในป พ.ศ. ๒๕๒๔ (1983)] ในชวงระยะ ๑๐ ปแรกที่มีการสํารวจ ตอมาในป ๒๕๒๓-๒๕๓๒ [1980s]) จํานวนคนพิการยังคงที่คือประมาณ ๑๔.๐ % ตอมาจํานวนคนพิการเพิ่มขึ้นจาก ๑๓.๗ % ในป ๒๕๓๓ (1990) เปน ๑๕.๐ % ในป ๒๕๓๗

จํานวนคนพิการชายและหญิงใกลเคียงกันมาก ใน ป ๒๕๒๕ NHISไดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแบบสํารวจสงผลใหมีการวัดเพศคนพิการชายและหญิงที่สมดุลมากขึ้น หลังจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแบบสํารวจนี้ มีรายงานวาจํานวนคนพิการชายนอยกวาจํานวนคนพิการหญิง ดวยเหตผุลหลักคือผูหญิงมีชวงของอายุขัยยืนยาวกวาผูชาย กอนป ๒๕๒๕ (1982) แบบสํารวจไดสอบถามผูชายถึง ความจํากัดในการทํากิจกรรมขณะประกอบงานอาชีพ ในขณะที่แบบสํารวจถามผูหญิงถึงความจํากัดในการทํากิจกรรมขณะทํางานบาน ผลการสํารวจจึงแสดงใหเห็นวา จํานวนคนพิการหญิงต่ําทั้งกลุมที่กําลังทํางานและกลุมสูงอายุ

แนวโนมของกลุมคนพิการแบงตามอายุ (Age-Specific Disability Trends) หลังป ๒๕๒๕ (1982) เมื่อวิเคราะห จํานวนคนพิการชายและหญิงแยกตามอายุพบวาไมมีความแตกตางกัน แตมคีวามแตกตางกนัมากในกลุมที่ใชแบบสํารวจแบบเดิม เมื่อวิเคราะหจํานวนคนพิการแยกตามอายุในระยะยาวพบวามีสัดสวนของการเพิ่มขึ้นนอย

กลุมคนพิการสูงอายุ (๖๕+ ป) มีอัตราการเพิ่มคอนขางคงที่ระหวางป ๒๕๑๓-๒๕๒๒ (1970s) คือ จํานวนคนพิการชาย ๔๘.๐ % และหญิง ๔๒.๐ %

ระหวางป ๒๕๒๓-๒๕๓๒ (1980s) และ ป ๒๕๓๓-๒๕๔๒ (1990s) ใชแบบสํารวจที่ไดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแลว พบวา จํานวนคนพิการชาย ๓๘.๐ % และหญิง ๓๙.๐ % อัตราการเพิ่มจํานวน

Page 49: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๔

คนพิการกลุมสูงอายุ (๖๕+ ป) มากกวาจํานวนคนพิการกลุมสูงอายุวัยทํางาน (๔๕-๖๔ ป) สองเทา และเปน ส่ีเทาของจํานวนคนพิการกลุมวัยทํางาน (๑๘-๔๔ ป) สวนเด็กเล็กมีจํานวนคนพิการนอยมาก ดังนั้นอิทธิพลที่ทําใหจํานวนประชากรคนพิการมีมากคือกลุมคนพิการสูงอายุ (๖๕+ ป) และจํานวนประชากรสูงอายุเพิ่มสูงมาก

กลุมคนพิการอายุต่ํากวา ๔๕ ป มีอัตราการเปลี่ยนแปลงคอนขางมากระหวางป ๒๕๓๓-๒๕๔๒ (1990s) คือ ป ๒๕๓๗ (1994) จํานวนคนพิการหนุมสาว (๑๘-๔๔ ป) ชาย เพิ่มจาก ๘.๗ % เปน๑๐.๒ % และหญิง เพิ่มจาก ๘.๙ % เปน ๑๐.๓ %

สวนกลุมคนพิการอายุต่ํากวา ๑๘ ปมีอัตราการเพิ่มขึ้นคอนขางมากเชนกันระหวางป๒๕๓๓-๒๕๓๗ (1990 และ 1994) คือ ชาย เพิ่มจาก ๕.๖ % เปน ๗.๙ % และหญิง เพิ่มจาก ๔.๒ % เปน ๕.๖ % สาเหตุที่ทําใหมีจํานวนคนพิการอายุต่ํากวา ๑๘ ปเพิ่มขึ้นนี้อาจมาจากการเปนโรคหอบหืด จิตผิดปกติ สมองเสื่อม และดอยสติปญญาการเรียนรู โรคกระดูก จิตประสาท

คนพิการจํานวน ๗๐ % อยูในกลุมอายุต่ํากวา ๔๕ ป พบวาป ๒๕๓๓ (1990) มีจํานวนคนพิการเด็ก ๑.๕ ลาน และคนพิการจํานวนวัยทํางาน ๓.๑ ลาน แตก็พบวา มีจํานวนคนพิการเด็กที่ไดรับการประกันความพิการทางสังคมและการประกันการชดเชย (The Social Disability Insurance [SSDI] และ Supplemental Security Insurance [SSI]) มีเพียง .๖ ลานคน สวนคนพิการจํานวนวัยทํางานไดรับการจัด สวัสดิการทางสังคมมีเพียง ๑.๗ ลานคน

การพิการในการทํางาน (Work Disability) ในกลุมสูงอายุวัยทํางานไมมีแนวโนมที่เปนนัยสําคัญ แตเร่ิมจากป ๒๕๓๓ (1990) กลุมคนพิการหนุมสาววัยทํางานมีจํานวนเพิ่มขึ้นจาก ๒.๙ % เปน ๓.๗ % ในป ๒๕๓๗ (1994)

ความตองการผูชวยเหลือสวนบุคคล (Personal Assistant Needs) ผลการสํารวจพบวามีแนวโนมคนพิการมีความตองการผูชวยเหลือสวนบุคคลเพิ่มขึ้นเพื่อชวยใหคนพิการสามารถทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันพื้นฐานได (Activities of Daily Living [ADL]) เชน การอาบน้ํา แตงตัว รับประทานอาหารเอง และชวยในการทํากิจกรรมอื่น (Instrumental Activities of Daily Living [IADL]) เชน งานบาน ไปธนาคาร ไปซื้อของ เปนตน ซ่ึงกลุมนี้จัดวาเปนคนพิการคอนขางรุนแรง (Fairly Severe Disability) สวนกลุมคนพิการสูงอายุที่ตองการผูชวยเหลือสวนบุคคลไมมีแนวโนมที่เปนนัยสําคัญ แตคํานวณคราวๆไดวามีประมาณ ๑๖ % ที่ตองการผูชวยเหลือสวนบุคคล

จํานวนคนพิการกลุมวัยทํางาน (๑๘-๖๔ ป) มีความตองการผูชวยเหลือสวนบุคคลเพิ่มขึ้นจาก ๒.๐ % ระหวางป ๒๕๒๓-๒๕๓๒ (1980s) เปน ๒.๗ % ในป ๒๕๓๖ (1993) นอกจากนี้จํานวน

Page 50: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๕

คนพิการเด็กและวัยรุน (๕-๑๗ ป) มีความตองการผูชวยเหลือสวนบุคคลเพิ่มขึ้นจาก ๐.๓ % ในป ๒๕๓๓ (1990) เปน ๐.๕ % ในป ๒๕๓๗ (1994)

ดังนั้นจะเห็นวาความตองการผูชวยเหลือสวนบุคคลเปนตัวบงชี้ตัวหนึ่งที่แสดงใหเห็นวาจํานวนคนพิการเพิ่มขึ้น

แนวโนมคนพิการในประเทศออสเตรเลียระหวางป ๒๕๔๑- ๒๕๔๖ (1998-2003) Disability Services Commission, Government of Western Australia (๑๙๙๘) รายงานวาสํานักงานสถิติแหงชาติ ประเทศออสเตรเลียไดทําการสํารวจสถานการณคนพิการในประเทศออสเตรเลียทางดานตะวันตกอยางสม่ําเสมอทุก ๕ ป เพื่อรายงานจํานวนคนพิการที่เพิ่มขึ้น ความจําเปนและความพอเพียงที่ตองให การชวยเหลือสนับสนุน รวมทั้งการดําเนินการใหการดูแลอยางไมเปนทางการ (Informal Care) ผลการสํารวจพบวา

กลุมคนพิการแบงตามอายุ (Age-Specific Rates) ไมมีการเพิ่มจํานวนขึ้นอยางมีนัยสําคัญของกลุมคนพิการที่แบงตามอายุในชวงระหวางเวลา ๕ ป (พ.ศ. ๒๕๔๑- ๒๕๔๖ [1998-2003])นี้ สวนจํานวน คนพิการที่เพิ่มขึ้นนั้นเปนเพราะจํานวนประชากรเพิ่มขึ้นและกลุมคนสูงอายุเพิ่มขึ้น

ประมาณการจํานวนคนพิการทั้งหมดของออสเตรเลียตะวันตก พบวาเพิ่มขึ้นจาก ๓๓๕,๕๐๐ คนใน ป ๒๕๔๑ (1998) เปน ๔๐๕,๕๐๐ คนใน ป ๒๕๔๖ (2003) ประมาณการจํานวนคนพิการรุนแรงเพิ่มขึ้นจาก ๑๐๑,๔๐๐ คนใน ป ๒๕๔๑ (1998) เปน ๑๑๕,๘๐๐ คนใน ป ๒๕๔๖ (2003)

ประมาณการจํานวนคนพิการอายุต่ํากวา ๖๕ ปเพิ่มขึ้นจาก ๒๔๙,๐๐๐ คนใน ป ๒๕๔๑ (1998) เปน ๒๘๓,๒๐๐ คนใน ป ๒๕๔๖ (2003) ประมาณการจํานวนคนพิการรุนแรงเพิ่มขึ้นจาก ๖๒,๔๐๐ คนในป ๒๕๔๑ (1998) เปน ๗๑,๖๐๐ คนใน ป ๒๕๔๖ (2003)

การคาดการณของจํานวนคนพิการใน ๒๐ ปขางหนา คือ ระหวางป ๒๕๕๐-๒๕๗๐ (2006-2026) แสดงในตารางที่ ๒.๔

ตารางที่ ๒.๔ จํานวนคนพิการทั้งหมดของออสเตรเลียตะวันตกในป ๒๕๕๐ และ ๒๕๗๐ (2006 และ 2026)

กลุมคนพิการแบงตามอายุ ๒๕๕๐(2006) ๒๕๗๐(2026) เพิ่มรอยละ เพิ่มรอยละ/ป

อายุต่ํากวา ๖๕ ป ๒๙๗,๖๐๐ ๓๕๑,๒๐๐ ๑๘.๐ ๐.๘

อายุ ๖๕ ปขึ้นไป ๑๓๖,๗๐๐ ๒๙๔,๘๐๐ ๑๑๕.๗ ๓.๙

จํานวนประชากร ๒,๐๓๒,๘๐๐ ๒,๕๒๒,๓๐๐ ๒๔.๐ ๑.๑

Page 51: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๖

ผลการคาดการณของจํานวนคนพิการใน ๒๐ ปขางหนา พบวา คนพิการกลุมใหญเปนผูสูงอายุ ซ่ึงเปนผลจากกลุม Baby Boomer ไดผานเขาสูวัยชรา สวนจํานวนคนพิการอายุต่ํากวา ๖๕ ปเพิ่มขึ้นเล็กนอย (๐.๘) และอัตราที่เพิ่มตอปใกลเคียงกับอัตราการเพิ่มของประชากร (๑.๑)

การพิจารณาขอมูลนี้ ไดจากการสํารวจและประมาณคาจากจํานวนจริงซึ่งหมายถึง จํานวนตัวเลขที่อาจจะไดจากจํานวนประชากร (Population) ไมใชจํานวนกลุมตัวอยาง (Sample) ดังนั้นการประมาณคาจึงเปนตัวแทนของคาที่แทจริง (True Value)

จากแผนภูมิที่ ๒.๒ แสดงใหเห็นวาจํานวนคนพิการในแตละกลุมอายุเพิ่มขึ้นคงที่ เหมือนในอดตีที่ผานมา แตปจจัยที่จะทําใหการคาดการณของจํานวนคนพิการใน ๒๐ ปขางหนาเปลี่ยนแปลงคือ

- ความกาวหนาทางดานการแพทยที่จะมีผลตอคนพิการในแตละกลุมอายุและภาวะสุขภาพ ทําใหลดภาวการณความพิการจากโรคตางๆ และทําใหอัตราการรอดชีวิตสูงขึ้น

- มีหลักฐานยืนยันวาคนพิการสูงอายุมีภาวะสุขภาพดีขึ้น ซ่ึงหมายถึง จํานวนคนพิการสูงอายุอาจลดลง รวมทั้งความตองการการชวยเหลืออาจลดลงดวย

๒.๓ สถิติท่ีเก่ียวของกับการเปลี่ยนแปลงของประชากรคนพิการจากหนวยงานระดับชาต ิ

สถิติคนพิการจากสํามะโนและสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาต ิ

สํานักงานสถิติแหงชาติ (๒๕๔๗) ไดเสนอสถิติคนพิการจากการสํารวจอยางตอเนื่องโดยครอบคลุมกลุมเปาหมายคนพิการ ๓ กลุมตามคํานิยามขององคการอนามัยโลกที่เรียกวา The International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) ดังนี้

๑. ประชากรที่มีปญหาสุขภาพหรือความเจ็บปวยที่เปนตอเนื่องตั้งแต ๖ เดือนขึ้นไป หรือ มีความพิการ

๒. ประชากรที่มีภาวะทุพพลภาพ (Disability) ในการทํากิจวัตรประจําวัน (Activity of Daily Living, ADL)

๓. ประชากรที่มีความพิการลักษณะตางๆ

ผลการสํารวจดังในตารางที่ ๒.๕-๒.๗

Page 52: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๗

ตารางที่ ๒.๕ จํานวนและรอยละของคนพิการ พ.ศ. ๒๕๑๗ - ๒๕๔๕

(จํานวน : พันคน) ปสํารวจ จํานวนประชากร จํานวนคนพิการ รอยละของคนพิการตอ

ประชากรทั่วประเทศ ๒๕๑๗ ๒๕๑๙ ๒๕๒๐ ๒๕๒๑ ๒๕๒๔ ๒๕๒๙

๒๕๓๓(๑) ๒๕๓๔ ๒๔๓๙ ๒๕๔๔

๒๕๔๕(๒)

๓๙,๗๙๖.๙ ๔๒,๐๖๖.๙ ๔๔,๒๑๑.๕ ๔๕,๓๔๔.๒ ๔๗.๖๒๑.๔ ๕๑,๙๖๐.๐ ๕๔,๕๓๒.๔ ๕๗,๐๔๖.๕ ๕๙,๙๐๒.๘ ๖๒,๘๗๑.๐ ๖๓,๓๐๓.๐

๒๐๙.๐ ๒๔๕.๐ ๒๙๖.๒ ๔๒๔.๖ ๓๖๗.๕ ๓๘๕.๖ ๒๗๕.๔ ๑,๐๕๗.๐ ๑,๐๒๔.๑ ๑,๑๐๐.๘ ๑,๐๙๘.๐

๐.๕ ๐.๖ ๐.๗ ๐.๗ ๐.๘ ๐.๗ ๐.๕ ๑.๘ ๑.๗ ๑.๘ ๑.๗

ที่มา โครงการสํารวจเกี่ยวกับอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๔๔ สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (๒๕๔๗ : ๒๑) (๑) โครงการสํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. ๒๕๓๓ สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (๒) โครงการสํารวจความพิการและภาวะทุพพลภาพ พ.ศ. ๒๕๔๕ สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 53: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๘

แผนภูมิท่ี ๒.๒ แสดงแนวโนมอัตราผูมีความพิการ(รอยละ)

0.50 0.60 0.70 0.70 0.80 0.70

1.80 1.70 1.80 1.70

0.00

0.50

1.00

1.50

2.00

2517 2519 2520 2521 2524 2529 2534 2539 2544 2545

ป พ.ศ.

อตัราผูมีความพิการ

สุวิทย วิบุลผลประเสริฐและคณะ(๒๕๔๐) ไดคาดการณวา อัตราการเพิ่มของคนพิการจะมากกวา

อัตราการเพิ่มของประชากร โดยความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวจะพบไดมาก ซ่ึงสัมพันธกบั การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม และการเปลี่ยนผานทางระบาดวิทยาจากโรคติดตอไปสูโรค ไมติดตอ (โรคไรเชื้อ) ของประเทศไทย

ตารางที่ ๒.๖ จํานวนและรอยละของคนพิการ จําแนกตามภาค พ.ศ. ๒๕๓๔ , ๒๕๓๙ และ ๒๕๔๔ (จํานวน : พันคน)

พ.ศ.๒๕๓๔ พ.ศ.๒๕๓๙ พ.ศ.๒๕๔๔ เพศและภาค รวม จํานวน

คนพิการ

รอยละ

รวม จํานวนคนพิการ

รอยละ

รวม จํานวนคนพิการ

รอยละ

ทั่วราชอาณาจักร ๕๗,๐๓๖.๕ ๑,๐๕๗. ๑.๙ ๕๙,๙๐๒.๘ ๑,๐๒๔.๑ ๑.๗ ๖๒,๕๗๑.๐ ๑,๑๐๐.๘ ๑.๘ ชาย ๒๘,๕๔๖.๗ ๖๔๗.๖ ๒.๓ ๒๙,๙๑๕.๘ ๕๙๖.๖ ๒.๐ ๓๑,๓๒๘.๔ ๖๕๗.๘ ๒.๑ หญิง ๒๘,๔๙๙.๘ ๔๐๙.๕ ๑.๔ ๒๙,๙๘๗.๐ ๔๒๗.๕ ๑.๔ ๓๑,๕๔๒.๖ ๔๔๓.๐ ๑.๔

กรุงเทพมหานคร ๖,๕๐๓.๘ ๘๓.๒ ๑.๓ ๗,๐๓๗.๙ ๔๘.๓ ๐.๗ ๗,๗๕๐.๕ ๗๗.๔ ๑.๐ กลาง (ไมรวม กทม.) ๑๒,๑๙๔.๐ ๒๐๖.๓ ๑.๗ ๑๓,๓๙๙.๐ ๒๐๕.๗ ๑.๕ ๑๔,๒๒๕.๑ ๒๒๙.๑ ๑.๖

เหนือ ๑๑,๐๑๖.๐ ๒๔๘.๑ ๒.๓ ๑๑,๑๔๓.๙ ๒๓๒.๑ ๒.๑ ๑๑,๓๐๓.๕ ๒๕๗.๕ ๒.๓ ตะวันออกเฉยีงเหนอื ๑๙,๖๔๘.๖ ๔๐๘.๕ ๒.๑ ๒๐,๒๗๘.๙ ๓๘๖.๘ ๑.๙ ๒๑,๑๗๙.๘ ๔๐๙.๒ ๑.๙

ใต ๗,๖๘๔.๖ ๑๑๐.๙ ๑.๔ ๗,๙๔๓.๑ ๑๕๑.๓ ๑.๙ ๘,๔๑๒.๑ ๑๒๗.๖ ๑.๕

ที่มา : โครงการสํารวจเกี่ยวกับอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๓๔ , ๒๕๓๙ และ ๒๕๔๔ สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี (๒๕๔๗ : ๒๒)

Page 54: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๓๙

ตารางที่ ๒.๗ จํานวนและรอยละของคนพิการ จําแนกตามลักษณะความพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔, ๒๕๓๙ และ ๒๕๔๔

(จํานวน : พันคน) พ.ศ.๒๕๓๔ พ.ศ.๒๕๓๙ พ.ศ.๒๕๔๔

ลักษณะความพิการ(๑) รวม รอยละ รวม รอยละ รวม รอยละ พิการทางการมองเห็น ๑๔๘.๕ ๑๔.๐ ๑๑๘.๓ ๑๑.๖ ๑๒๓.๒ ๑๑.๒ พิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย

๒๑๗.๒ ๒๐.๕ ๒๒๓.๐ ๒๑.๗ ๒๔๐.๙ ๒๑.๙

พิการทางกาย หรือการเคลื่อนไหว ๔๗๐.๙ ๔๔.๗ ๔๖๓.๒ ๔๕.๒ ๕๑๓.๐ ๔๖.๖ พิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม ๕๐.๗ ๔.๘ ๖๒.๔ ๖.๑ ๘๑.๓ ๗.๔ พิการทางสติปญญา หรือการเรียนรู

๒๑๔.๖ ๒๐.๓ ๒๓๑.๑ ๒๒.๕ ๒๒๒.๐ ๒๐.๒

(๑) ลักษณะความพิการตอบไดมากกวา ๑ คําตอบ ที่มา : โครงการสํารวจเกี่ยวกับอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๓๔ , ๒๕๓๙ และ ๒๕๔๔ สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (๒๕๔๗ : ๒๒)

๒. ๓ ขอมูลสถิติจํานวนคนพิการที่ไดจากการสํารวจของหนวยงานที่เก่ียวของ สถิติคนพิการไดมีการสํารวจชัดเจน มาตั้งแตป ๒๕๒๔ ซ่ึงเปนปคนพิการสากลไดมีหนวยงาน

ของรัฐบาลหลายแหงสนใจและทําการสํารวจคนพิการในประเทศไทยที่สําคัญ ไดแกสํานักงานสถิติแหงชาติ กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ และสถาบันวิจัยประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล โดยใชฐานประชากร กลุมอายุ จํานวนจังหวัด และประเภทของความพิการในแตละลักษณะ รวมถึงแหลงขอมูลที่ตางกันทั้งในเมืองและชนบท ทําใหสถิติและขอมูลที่ไดแตกตางกันไปในแตละหนวยงาน จึงมิอาจที่จะเปรียบเทียบเชิงปริมาณดวยกันได สวนรายละเอียด มีดังนี้

๒.๓.๑ สํานักงานสถิติแหงชาติ

สํานักงานสถิติแหงชาติไดทําการสํารวจคนพิการโดยสุมตัวอยางจากครัวเรือนจํานวน ๒๑,๖๘๐ ครัวเรือนใน ๕๐ จังหวัดและไดคาดคะเนจํานวนคนพิการทั่วปะเทศมีทั้งสิ้นประมาณ ๓๖๗,๕๔๐ คน จําแนกตามลักษณะของความพิการ ไดดังนี้ (สํานักงานสถิติแหงชาติ ๒๕๒๖)

ตาบอดทั้งสองขาง จํานวน ๔๙,๒๑๐ คน หูหนวก(ไมไดยินเสยีง)หรือเปนใบดวย จํานวน ๖๓,๔๕๐ คน อัมพาต (รวมเปนงอย) จํานวน ๘๗,๕๙๐ คน แขนขาขาด จํานวน ๒๕,๕๔๐ คน จิตเจริญลาชา จํานวน ๖๐,๖๓๐ คน

Page 55: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๐

นอกจากนี้ยังมีคนพิการที่จัดอยูในประเภทอื่นๆ ซ่ึงไมอยูในลักษณะของความพิการตามที่กลาวขางตนมีจํานวน ๑๐๔,๑๒๐ คน จํานวนคนพิการทั้งหมดเมื่อแยกตามประเภทความพิการจะมากกวาจํานวนยอดรวมที่แสดงไว เนื่องจากมีลักษณะความพิการมากกวา หนึ่งอยางในคนเดียวกันอยูจํานวนหนึ่ง

๒.๓.๒ กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย สํานักงานพัฒนาทองถ่ิน กรมการพัฒนาชุมชนไดทําการสํารวจเด็กที่มีความบกพรองทาง

รางกายและปญญาที่มีอายุระดับ ๕-๑๔ ป ใน ๗๐ จังหวัดของประเทศ (ยกเวนในเขตเมือง) การสํารวจผลปรากฏ ดังนี้ (ศูนยพัฒนาศึกษาแหงชาติ, ๒๕๒๔ : ๑๑๗)

๑) ปญญาออน มีจํานวน ๑๑,๑๑๐ คน คิดเปนรอยละ .๐๒๗ ของประชากรทั้งหมดของประเทศ

๒) พิการทางรางกาย มีจํานวน ๙,๖๔๑ คน คิดเปนรอยละ .๐๒๓ ของประชากรทั้งหมด ๓) บกพรองทางการไดยิน มีจํานวน ๕,๙๙๔ คน คิดเปนรอยละ .๐๑๔ ของประชากรทั้งหมด ๔) บกพรองทางการเห็น มีจํานวน ๓,๐๔๙ คน คิดเปนรอยละ .๐๐๗ ของประชากรทั้งหมด

๒.๓.๓ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขไดสํารวจเด็กที่มีความบกพรองทางรางกายและปญญาตั้งแตแรกเกิดจนถึงอายุ ๑๐ ป ในพื้นที่ ๗๑ จังหวัด ทั่วประเทศ (ยกเวนในเมืองหลวง) แตขอมูลที่ไดแสดงไวเพียง ๔๓ จังหวัด สรุปผลการสํารวจดังนี้ (ศูนยพัฒนาศึกษาแหงชาติ ๒๕๒๔ : ๑๘-๑๙)

๑) พิการทางรางกาย มีจํานวน ๕,๙๒๖ คน คิดเปนรอยละ .๐๒๓ ของประชากรทั้งหมด ๒) ปญญาออน มีจํานวน ๒,๖๑๐ คน คิดเปนรอยละ .๐๑๐ คน ของประชากรทั้งหมด ๓) บกพรองทางการเห็น มีจํานวน ๑,๐๐๖ คน คิดเปนรอยละ .๐๐๔ ของประชากรทั้งหมด ๔) บกพรองทางการไดยิน มีจํานวน ๘๐๒ คน คิดเปนรอยละ .๐๐๓ ของประชากรทั้งหมด

งานวิจัยของบรรลุ ศิริพานิชและคณะ บรรลุ ศิริพานิชและคณะ (๒๕๒๕) ไดทําการสํารวจคนพิการและผูสูงอายุ ใชกลุมตัวอยางเปนประชากรในหมูบานที่สุมมาจากจังหวัดตางๆของทุกภาคของประเทศจํานวน ๓๐๐ หมูบาน รวมทั้งประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน ๔,๘๐๐ หลังคาเรือน ผลการสํารวจ พบวา อัตราคนพิการ ทั่วประเทศมีประมาณ ๑,๒๕๑ คน ตอประชากรที่สํารวจ ๑๐๐,๐๐ คน หรือประมาณ รอยละ ๑.๒๕ ในจํานวนนี้มีทั้งผูที่ติดยาเสพติด ติดเหลา และประเภทอื่นๆ ซ่ึงไมไดจัดอยูในกลุมลักษณะความพิการทั้ง ๔ ประเภท คือ ตาบอด หูหนวก หูตึง รางกายพิการ และปญญาออน การสํารวจคนพิการตามที่กลาวขางตน เปนการศึกษากับคนพิการในกลุมอายุที่แตกตางกัน การใหนิยามของคนพิการก็แตกตางกันไป ตลอดจนวิธีการเก็บขอมูลก็แตกตางกัน แมจะแตกตางในดาน

Page 56: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๑

วิธีการสํารวจ แตอัตราคนพิการที่พบจะไมเกินรอยละ ๑.๒๕ ซ่ึงต่ํากวา อัตราที่มักจะอางอิง คือ ขององคการอนามัยโลกที่เปนรอยละ ๕ และของยูเนสโก รอยละ ๑๐ อยูเปนอันมาก

- สถิติคนพิการไดจากระบบการจดทะเบียนและการจดบันทึก หนวยงาน ขอบขาย ป พ.ศ. จํานวนคนพกิาร(คน)

๑.สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและ พิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ

คนพิการที่มาจดทะเบียนกับสํานักงานทั่วประเทศ

๒๕๔๖ ๒๕๔๗ ๒๕๔๙

๓๔๘,๑๐๑ ๓๗๘,๑๘๕ ๕๒๐,๗๖๖

๒. สํานักงานประกันสังคม ผูประกันตนที่มาใชบริการกรณีทุพพลภาพ ของสํานักงานประกันสังคม

๒๕๔๕ ๒๕๔๖

๖๑๔ ๕๐๔

๓. กระทรวงศึกษาธิการ -สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน -สํานักงานบริหารงานการศึกษาพิเศษ -สํานักงานบริหารคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

นักเรียนของโรงเรียนในสังกัด นักเรียนของโรงเรียนในสังกัด นักเรียนของโรงเรียนในสังกัด

๒๕๔๕

๒๕๔๕ ๒๕๔๕

๑๓๙,๖๙๓

๑๖๒,๓๐๘ ๑๒,๒๒๖

๔. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ผูปวยที่เขารับรักษาทางจิต โดยมีแพทยเปนผูวินิจฉัย

๒๕๔๕ ผูปวยโรคจิต ๕๒๐,๐๑๓ ปญญาออน ๓๙,๑๒๙

Page 57: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๒

-ขอมูลสถิติท่ีไดจากการสํารวจ หนวยงาน ช่ือโครงการ ขอบขาย ปพ.ศ. จํานวนคนพิการ(คน) รอย

ละ ๑.มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุข

สํารวจสาธารณสุขประชากรไทย

ประชากรไทย อายุ ๕ ปขึ้นไป

๒๕๓๙-๒๕๔๐

๔,๘๒๕,๖๘๑ ๘.๑

๒.สํานักนโยบายและแผนสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข

สํารวจสภาวะสุขภาพของประชาชนระดับจังหวัด

ครัวเรือนทั้งในและนอกเขตเทศบาล

๒๕๓๘

๒๕๓๙

คนพิการ คนปญญาออน

คนพิการ คนปญญาออน

๑.๓๑ ๐.๓๘ ๐.๘๑ ๐.๒๖

๓. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

สํารวจขอมูลพ้ืนฐาน คนพิการในวัยเรียน

ผูมีความพิการที่มีอายุ ๐-๑๙ ป

๒๕๔๑ ๖๖,๕๘๕ ๐.๓๘

๔. กรมการพัฒนาชุมชน ขอมูล กชช. ๒ ค

หมูบานนอกเขตเทศบาลทั่วประเทศ

๒๕๔๖ พิการทางตา ๓๕,๔๒๒ พิการทางหู ๔๒,๖๑๔ พิการทางกาย ๘๙,๔๒๗ พิการทางจิต ๓๑,๔๒๘ พิการทางปญญา ๕๑,๒๔๒

จากการทบทวนรายงานและสถิติของจํานวนคนพิการจากแหลงขอมูลตางๆ พบวา ในชวงที่ผาน

มานั้นยังไมมีการดําเนินการสํารวจจํานวนคนพิการ แตไดใชตัวเลขขอมูลจาก ๒ แหลงดวยกัน คือ จากการสุมตัวอยางสํารวจอนามัยและสวัสดิการครัวเรือนตัวอยางทั่วประเทศ ของสํานักงานสถิติแหงชาติ ป ๒๕๓๔ คนพิการมีจํานวนรอยละ ๑.๘ หรือประมาณ ๑.๗ ลานคน สวนขอมูลเปนของสถาบันสาธารณสุขไทย มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ ไดสุมตัวอยางครัวเรือนใน ป ๒๕๓๙ พบวา คนพิการ ทั่วประเทศมีรอยละ ๘.๑ หรือประมาณ ๔.๘ ลานคนของประชากรทั่วประเทศ ความแตกตางของตัวเลขนี้ ทําใหมีปญหาในการวางแผนปฏิบัติการ หากใชตัวเลขทั้ง ๒ แหลงเปนพื้นฐานจะพบวา คนพิการที่เขารับการจดทะเบียนคนพิการระดับ ๓-๕ ตามพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่ จดทะเบียน ตั้งแต พฤศจิกายน ๒๕๓๗-กันยายน ๒๕๔๘ จํานวน ๒๒๕,๔๒๐ คน (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, อางแลว) คิดเปนรอยละ ๒๘.๐๔ จากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ และรอยละ ๖.๑๗ จากขอมูลของสถาบันสาธารณสุขไทย ซ่ึงหากคิดรวมทั้งหมดโดยการประมาณการแลว คนพิการจะมีความชุกเทากับรอยละ ๘.๑ ของประชากรทั้งหมด จะเห็นไดวาอัตราความชุกของคนพิการของประเทศไทยจะอยูระหวาง ๑.๘ – ๘.๑ ขึ้นอยูกับวิธีการสํารวจและใหคําจํากัดความตอ “ความพิการ”

Page 58: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๓

ตอนที่ ๓ แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม ๑. แนวคดิเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม คําวา “สวัสดิการ” ดูเหมือนเปนที่นิยมและนํามาพูดคุยกันมากในกระแสสังคมไทยโดยเฉพาะรัฐบาลชุดที่แลว ไดมีโครงการดานสวัสดิการสังคม ในรูปแบบโครงการเอื้ออาทรเกิดขึ้นหลายโครงการ และมีโครงการสวัสดิการขนาดใหญ เชน โครงการหลักประกันสุขภาพทั่วหนา (๓๐ บาทรักษาทุกโรค) โครงการแกปญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ โครงการบานเอื้ออาทร การขยายขอบขายการประกันสังคมไปสูการประกันการวางงาน โครงการเรื่องทุนการศึกษา รวมทั้งมีการจัดตั้งกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เพื่อเปนกระทรวงหลักในการดูแลงานดานสวัสดิการสังคมในภาพรวม โดยเฉพาะอยางยิ่งไดมีพระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่มีผลบังคับใชแลว ในเรื่องสวัสดิการสังคมจึงไดรับความสนใจ ดังนั้นจึงขอนําเสนอความหมายของสวัสดิการสังคม พัฒนาการของการจัดสวัสดิการ และแนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมของตางประเทศ และในประเทศไทย รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคม และขอบขายของงานสวัสดิการสังคม ๑. ความหมายของสวัสดิการสังคม ความหมายของคําวา “สวัสดิการสังคม” มีนักวิชาการและหนวยงานที่เกี่ยวของไดใหความหมายไวดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหความหมายของ “สวัสดิการ” วาหมายถึง การใหส่ิงเอื้ออํานวยใหผูทํางานมีชีวิตและสภาพความเปนอยูที่ดีและสะดวกสบาย Encyclopedia Britanica อางถึงใน ณรงค เพ็ชรประเสริฐ ๒๕๔๔ : ๕ กลาวถึง สวัสดิการสังคม วา หมายถึง การปฏิบัติจัดทําทั้งหลายไมวา โดยสวนราชการหรือเอกชนเปนการปฏิบัติจัดทําเพื่อชวยเหลือบุคคล ครอบครัว กลุมชน และชุมชนใหมีมาตรฐานการครองชีพอันดี สุขภาพและฐานะทางสังคมที่นาพอใจ โดยมุงใหสามารถชวยเหลือตนเองได และชวยเหลือผูอ่ืนในสังคมเดียวกันไดตอไป

Encyclopedia of Social Work (๑๙๗๑ : ๑๔๔๖) ใหความหมายของ สวัสดิการสังคม วาเปน กิจกรรมตางๆที่จัดขึ้นโดยหนวยงานทั้งของรัฐและอาสาสมัคร เพื่อมุงปองกันและขจัดปญหา หรือปรับปรุงความเปนอยูที่ดีของบุคคล กลุม และชุมชน กิจกรรมดังกลาวนี้ใชบุคลากร นักวิชาชีพที่เกี่ยวของอยางมากมาย อาทิ แพทย พยาบาล นักกฎหมาย นักการศึกษา วิศวกร นักบริหาร นักสังคมสงเคราะห ตลอดจนผูชวย นักวิชาชีพในสายงานตางๆ

องคการสหประชาชาติ ใหความหมายของสวัสดิการสังคมวา คือ ระบบการจัดการเกี่ยวกับบริการสังคมตางๆ ของสถาบันทางสังคมที่กําเนิดขึ้น เพื่อชวยเหลือบุคคลและกลุมใหบรรลุซ่ึงความพอใจในมาตรฐานของชีวิตและสุขภาพอนามัยและความพอใจในความสัมพันธทางสังคม ซ่ึงสิ่งเหลานี้จะเปนพื้นฐานที่จะพัฒนาบุคคลเหลานั้นใหมีความสามารถอยางเต็มที่และสงเสริมใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น สอดคลองกับความตองการของครอบครัวและชุมชน

Page 59: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๔

ไพรดแลนเดอร และแอพท อางถึงใน วันทนีย วาสิกะสินและคณะ (๒๕๔๑ : ๕๗) กลาวถึงสวัสดิการสังคม วาหมายถึง ระเบียบนโยบาย ผลประโยชน และบริการ ซ่ึงจะทําใหการดําเนินการจัดบริการตางๆ เปนไปโดยสอดคลองกับความตองการของสังคม เปนที่ยอมรับกันวาสวัสดิการสังคม เปนบริการพื้นฐานที่มีความสําคัญทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและถาวร เปลี่ยนแปลงจากสภาวะที่เคยยากลําบากไปสูส่ิงที่คาดหวังวาดีกวา รวมไปถึงความอุดมสมบูรณในที่สุด

พระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔ ไดกลาวถึงสวัสดิการสังคม วาเปนระบบการจัดบริการทางสังคม ซ่ึงเกี่ยวของกับการปองกัน การแกไขปญหา การพัฒนา และการสงเสริมความมั่นคงทางสังคม เพื่อตอบสนองความจําเปนขั้นพื้นฐานของประชาชนใหมีคุณภาพชีวิตและพึ่งตนเองไดอยางทั่วถึง เหมาะสม เปนธรรมและใหเปนไปตามมาตรฐานทั้งทางดานการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยูอาศัย การทํางานและการมีรายได นันทนาการ กระบวนการยุติธรรม และบริการทางสังคมทั่วไป โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิที่ประชาชนจะตองไดรับ และการมีสวนรวมในการจัดสวัสดิการสังคมทุกระดับ รพีพรรณ คําหอม (๒๕๔๕ : ๑๔-๑๕) ไดกลาวถึงสวัสดิการสังคม วาเปนระบบการจัดสรรและจัดบริการสังคมในลักษณะของโครงการหรือบริการตางๆ ใหกับคนทุกคนในสังคม โดยเนนสิทธิ ความเทาเทียมที่จะไดรับบริการอยางเปนธรรมและเสมอภาค เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในสังคม การพัฒนาสังคมโดยรวม รวมทั้งระบบความมั่นคงทางสังคมของคนทุกคนในสังคม สรุปไดวา “ความหมายของสวัสดิการสังคม” หมายถึง ระบบการจัดบริการสังคมเพื่อปองกัน แกไขและพัฒนาสังคม โดยการจัดบริการดังกลาวจะตองตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานของประชาชนและความมั่นคงสังคมในระดับมาตรฐาน เปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่คํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและความเปนธรรมในสังคม โดยประชาชนสามารถเขามามีสวนรวมในการจัดบริการสวัสดิการสังคม ๒. พัฒนาการของการจัดสวัสดิการสงัคม พัฒนาการและแนวคิดของการจัดสวัสดิการสังคม เร่ิมกอเกิดมาในสังคมยุโรป จนมาถึงประเทศไทย ซ่ึงสามารถลําดับพัฒนาการการจัดสวัสดิการสังคม ไดดังนี้ (อภิญญา เวชยชัย และศิริพร ยอดกมลศาสตร, ๒๕๔๗ : ๑๙- ๕๔) ๒.๑ พัฒนาการของการจัดสวัสดิการสังคมในยุโรป ความคิดเรื่องสวัสดิการสงัคม เปนความคิดที่มีอยูในสังคมชุมชน มาตั้งแตดั้งเดิม เชน การมีลูกมาก คือหลักประกันที่ดีในยามแกชรา เด็กกําพรามีลุงปาหรือนาคอยดูแล ฯลฯ เมื่อประเทศตางๆในยุโรปพัฒนาวิถีการผลิตเขาสูระบบทุนนิยม ในชวงคริสตศตวรรษที่ ๑๙ ไดทําใหเกิดการลมสลายในสังคมชนบท ทําลายระบบการชวยเหลือซ่ึงกันและกันของชุมชนดั้งเดิม และ

Page 60: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๕

การทํางานในภาคอุตสาหกรรมทําใหเกิดความเสี่ยง (New Risks) การสรางระบบสวัสดิการเพื่อปกปองคุมครองประชาชน จึงเปนภาระหนาที่ของรัฐบาล ๒.๑.๑ ตนกําเนิดการจัดสวัสดิการโดยรัฐ อังกฤษ เปนประเทศแรกที่พยายามแกปญหาความยากจนอยางเปนระบบ โดยการออก กฎหมายเกี่ยวกับคนจน (Poor Law Act) ใน ค.ศ.๑๖๐๑ เพื่อกําหนดใหประชาชนทุกคนมีสิทธิไดรับ ความชวยเหลือ จะตองทํางานอยางใดอยางหนึ่ง ถาไมไดทํางานตามที่ไดรับมอบหมายก็จะถูกจับดําเนินคดีและขังคุก เยอรมัน ออกกฎหมายวาดวยนโยบายสวัสดิการสังคมแหงสหพันธรัฐเยอรมัน (Social Laws of the Federal Republic) ใหสวัสดิการผานโครงการที่เรียกวา “ความมั่นคงทางสังคม (Social Security Scheme)” มีการประกันสังคมเต็มรูปแบบ ครอบคลุมถึงการประกันสุขภาพ อุบัติเหตุ ชราภาพ คลอดบุตร สงเคราะหบุตร การเสียชีวิต ทุพพลภาพ และการวางงาน ๒.๑.๒ การจัดสวัสดิการในรูปแบบรัฐสวัสดิการ รัฐสวัสดิการ ถือกําเนิดมาจากแนวคิดของลัทธิสังคมนิยม ซ่ึงถือวาสวัสดิการสังคมเปนส่ิงที่รัฐจะตองจัดใหแกประชาชนทุกคน เชนเดียวกับการจัดการดานอื่นๆ สวนรัฐสวัสดิการที่ยอมรับกันทั่วโลกวามีความสมบูรณแบบที่สุด คือ รัฐสวัสดิการของกลุมประเทศสแกนดิเนเวีย ไดแก สวีเดน นอรเวย เดนมารก และฟนแลนด ประเทศเหลานี้ถือวา รัฐตองสงเสริมบริการประชาชนทุกกลุมคนและชนชั้นในทุกๆดาน ทั้งรายได การศึกษา สาธารณสุข ส่ิงอํานวยความสะดวก สิทธิเสรีภาพ ความปลอดภัย และความมั่นคงในชีวิตและทรัพยสิน เพื่อใหประชาชนทุกคนที่มีความกินดีอยูดี มีคุณภาพชีวิตและคุณภาพสังคมที่ไมแตกตางกัน ๒. แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมในปจจุบัน แนวคิดและทฤษฎีการจัดสวัสดิการสังคมมีอยูหลากหลาย ทั้งแตกตางและคลายคลึง แตโดยรวมก็สามารถจัดแบงไดเปน ๓ กลุมใหญๆ คือ ๒.๑ แนวคิดปฏิรูปท่ัวดาน กลุมที่ตองการใหมีการเปลี่ยนแปลงอยางทั่วดาน คือ กลุมที่มีแนวคิดสังคมนิยม ไดแก กลุมมารกซิสตและกลุมเฟเบี้ยน กลุมมารกซิส เห็นวา การเปลี่ยนแปลงที่จะทําใหคนยากจนสวนใหญไดอยูดีกินดี อยางยั่งยืน มีเพียงหนทางเดียวคือ การเปลี่ยนระบบกรรมสิทธิ์และระบบสังคม จากระบบทุนนิยมมาสูระบบสังคมนิยม กลุมเฟเบี้ยน เห็นวา รัฐตองแทรกแซงและควบคุมกลไกตลาด เพื่อทําใหคนชั้นลางมีสิทธิมีเสียงมีอํานาจตอรองสูงขึ้น โดยคิดวาการคอยๆเปลี่ยนความคิดและจิตสํานึกของประชาชนทีละขั้นละตอนจะ

Page 61: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๖

นําไปสูการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยางทั่วดานในที่สุด แนวคิดนี้เปนตนกําเนิดของระบบรัฐสวัสดิการที่เนนเรื่องความเสมอภาคของทุกกลุมคนและชนชั้น ๒.๒ แนวคิดเสรีนิยม แนวคิดเสรีนิยม หรือสํานักเศรษฐศาสตรคลาสสิคตามแนวคิดของ อดัม สมิธ เชื่อมั่นในกลไกตลาดเสรีและเสรีภาพสวนบุคคล เห็นวา การสรางระบบสวัสดิการเพื่อชวยเหลือคนจน จึงเปนเรื่องที่ขัดตอกลไกการแขงขันอยางเสรีในตลาด โดยคิดวาสวัสดิการสังคม เปนเรื่องของคนใจบุญสุนทาน ๒.๓ แนวคิดเสรีนิยมใหมและโครงขายความปลอดภัย (Social Safety Net) เมื่อรัฐประสบปญหาทางการคลัง การใหความสําคัญกับกลไกตลาดและการลดบทบาทของรัฐตามแนวคิดเสรีนิยมก็หวนกลับมาอีกครั้ง พรอมกับการลดบทบาทของแนวคิดเศรษฐศาสตรแบบเคนสและนโยบายรัฐสวัสดิการ ของพวกเฟเบี้ยน ในชื่อที่เรียกขานกันทั่วไปวา แนวคิดเสรีนิยมใหม แนวคิดนี้ไดเปลี่ยนรูปแบบการจัดสวัสดิการ จากรัฐสวัสดิการ เพื่อทุกกลุมคนและชนชั้น มาเปนสวัสดิการขั้นพื้นฐาน สําหรับกลุมคนจน คนดอยโอกาส โดยเพิ่มบทบาทใหภาคเอกชนเขามารวมรับผิดชอบการจัดสวัสดิการมากขึ้น แลวตั้งชื่อรูปแบบสวัสดิการใหมนี้วา “โครงขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net)” “โครงขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net)” เปนสวัสดิการสังคมเฉพาะเจาะจงสําหรับคนจนบางกลุม คนพิการที่เห็นวาจําเปนตองมีสวัสดิการสังคม และสวัสดิการสังคมที่ใหนั้น ก็เปนเพียงสวัสดิการขั้นต่ํา ที่รูจักกันในนามของโครงขายความปลอดภัยทางสังคม คือ เปนสวัสดิการในระดับที่พอทําใหคนยากจน คนพิการอยูรอดปลอดภัย ไมลมหายตายจากไป ดวยการเจ็บปวยและขาดอาหาร ขณะที่องคการแรงงานระหวางประเทศ (International Labor Organization) ใชคําวา Social Protection และ Social Safety Net ในความหมายเดียวกัน คือ เนนไปที่การคุมครองผูที่มีความจําเปนมากที่สุดใหสามารถดํารงชีวิตอยูได เหมือนกับเยอรมันไดกําหนดไวใน The Federal Social Support Act ๑๙๖๑ ตองใหความชวยเหลือแกผูที่ตองการความชวยเหลือและชวยเหลือตนเองไมได (Neuhaus, ๑๙๗๙ อางใน ณรงค เพ็ชรประเสริฐ, ๒๕๔๖ : ๑๘) โครงขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net) ตามความหมายของธนาคารโลก หมายถึง การบริการของรัฐดานการศึกษา ดานสุขภาพ การชวยเหลือของรัฐที่ใหแกคนจน คนดอยโอกาส โครงการประกันสังคมที่รัฐจัดขึ้นโดยความรวมมือของลูกจางและนายจาง และยังรวมถึงโครงการตางๆที่เอกชนและกลุมประชาชนตางๆ จัดขึ้นมาเพื่อชวยเหลือซ่ึงกันและกัน (World Bank ๑๙๙๗ : ๒๐ อางใน ณรงค เพ็ชรประเสริฐ, ๒๕๔๖ : ๑๙) ตามความหมายนี้จําแนกโครงขายความปลอดภัยทางสังคม เปนประเภทตางๆ ไดแก

๑. บริการสังคม (Social Services) เชน การศึกษา การสาธารณสุข การเคหะ การมีงานทํา การคุมครองรายได การคุมครองชีวิตและทรัพยสิน และการบริการขาวสาร

Page 62: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๗

๒. การสงเคราะหสังคม (Social Assistance) หรือการประชาสงเคราะห (Public Assistance) หมายถึง การบริการชวยเหลือประชาชนที่มีปญหาความเดือดรอนและอยูในภาวะที่ชวยเหลือตัวเองไมได ผูใหความชวยเหลือมีทั้งภาครัฐและเอกชน

๓. การประกันสังคม (Social Insurance) หรือโครงการความมั่นคงทางสังคม (Social Security Schemes) เปนโครงการที่รัฐเปนผูจัดระบบและดําเนินงานเพื่อคุมครองปองกันไมใหประชาชนที่มีรายไดประจําไดรับความเดือนรอนในการดํารงชีพ เนื่องจากประสบปญหาทําใหไมสามารถทํางานเลี้ยงชีพไดตามปกติ โดยผูมีรายไดตองออกเงินสมทบ (Contribution) เขากองทุนกลางและไดรับประโยชนทดแทน (Benefits)

๔. โครงการชวยเหลือและบริการสังคมที่จัดโดยเอกชน เชน โครงการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพของบริษัทเอกชน การทํางานสาธารณสุขของมูลนิธิเอกชน กิจกรรมชวยเหลือและพัฒนาสังคมขององคกรพัฒนาเอกชน และรวมไปถึงการชวยเหลือกันเชิงวัฒนธรรมผานเครือขายของครอบครัวและญาติมิตร เรียกรวมๆกันวา “โครงขายความปลอดภัยแบบไมเปนทางการ (Informal Safety Net)” ๒.๔ แนวคิดพวกโพสตโมเดิรน กลุมโพสตโมเดิรน ตั้งคําถามตอวิธีการมองสรรพสิ่งในโลก คลายๆกับปรัชญาพุทธศาสนาเรื่องความมีอยูจริงของสรรพสิ่งเปนเพียงภาพลวงตา เปนมายาคติ เพราะสรรพสิ่งลวนเปน “อนัตตา” เร่ืองการจัดสวัสดิการสังคม แนวคิดกลุมนี้ใกลเคียงกับพวกเสรีนิยมใหม คือ รัฐไมควรเขาไปจัดระบบสวัสดิการสังคมมากนัก ควรปลอยใหเปนเรื่องปจเจกบุคคล ภาคเอกชน ภาคกลุมชนเปนสําคัญ ซ่ึงแนวคิดและขอเสนอดังกลาวขัดกับพวกเฟเบี้ยนและพวกที่ตองการใหมีสวัสดิการทั่วหนา เพราะกลุมเหลานี้เห็นวา สวัสดิการสังคมโดยรัฐเปนสิทธิพื้นฐานทางสังคมที่ประชาชนในรัฐหนึ่งๆควรจะไดรับ ๓. แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมของตางประเทศ การวิจัยคร้ังนี้ขอยกแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม ใน ๓ ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา ประเทศออสเตรเลีย และประเทศเกาหลีใต ดังนี้ (คณะสังคมสงเคราะหศาสตร, ๒๕๔๗ : ๖๔-๘๙) ๓.๑ ประเทศแคนนาดา กฎหมายที่เปนรากฐานของระบบสวัสดิการสังคม คือ The British North America Act ๑๘๖๗ ที่ใหรัฐบาลกลางและรัฐบาลมลรัฐจัดการเรื่องสวัสดิการสังคมสําหรับประชาชนในรัฐของตนเปนหลัก การบริการดานสังคมและดานสุขภาพควรจะไดครอบคลุมประชาชนชาวแคนนาเดียนทุกคน รัฐบาลกลางไดใชวิธีการตางๆที่จะเขาไปแทรกแซง เปนผูนําของระบบสวัสดิการสังคมอยางกวางขวาง นอกจากนี้ยังมีแนวคิดการเปดภาคีรวมเพื่อสรางสรรครัฐสวัสดิการ (Partnerships) รวมถึง การมีสวนรวม

Page 63: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๘

ของชุมชนตางๆมากขึ้น มีมาตรการทางสังคมที่เกี่ยวของ เชน นโยบายการสรางการจางงานเต็มที่ (Full-empowerment Policies) มาตรฐานรายไดขั้นต่ํา (Minimum Wage Standard) การยกเวนภาษี การจัดใหประชาชนไดรับสินคาและบริการโดยตรงโดยไมตองใชเงินซื้อ ขบวนการทางสังคมและโครงสรางอํานาจในสังคมแคนนาดาที่มีอิทธิพลอยางสําคัญตอการพัฒนานโยบายสวัสดิการสังคมของประเทศ สหภาพแรงงานใหการสนับสนุนอยางเขมแข็งตอแผนงานโครงการดานสวัสดิการสังคม อาทิ การประกันการวางงาน การดูแลดานสุขภาพ การจายเงินชดเชยใหแกคนงาน และแผนการสงเคราะหประชาชนทางสังคม ๓.๒ ประเทศออสเตรเลีย นโยบายแรงงานและสวัสดิการสังคมของออสเตรเลีย เปนนโยบายแบบรัฐสวัสดิการ ที่มีรูปแบบของการจัดบริการดานแรงงานและสวัสดิการในเชิงสถาบัน (Institutional Model of Social Welfare) เชนเดียวกับนโยบายของประเทศในแถบสแกนดิเนเวีย ทวารูปแบบของนโยบายรัฐสวัสดิการในแบบสถาบันของออสเตรเลียมีเอกลักษณที่แตกตางไปจากประเทศในกลุมสแกนดิเนเวีย การที่นโยบายเปนระบบสถาบัน มีการออกแบบใหระบบยอยตางๆที่เกี่ยวของมีการดําเนินงานอยางสอดคลอง และสงเสริมซึ่งกันและกันไดอยางดี ขณะที่นโยบายแรงงานและสวัสดิการของออสเตรเลียมีลักษณะยืดหยุน และสามารถปรับตัวในสภาวะการทางสังคม เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปไดดีกวา สวนการขจัดความยากจนไดใชการใหบริการสังคมแบบเลือกสรร (Selective Approach) โดยผานการตรวจสอบคุณสมบัติ (Means Tests) การใหสวัสดิการสังคมตามแนวทางนี้ เรียกไดวาเปนแบบบรรเทาทุกข (Residual Model) สรุป ออสเตรเลียมีการพัฒนานโยบายดานแรงงานและสวัสดิการสังคม ที่เปนเอกลักษณแตกตางไปจากประเทศในกลุมสแกนดิเนเวียน โครงสรางรัฐสวัสดิการเปนเสมือนปลายยอดเล็กๆของภูเขาน้ําแข็งกอนมหึมา ที่สอดคลองกับการบรรลุวัตถุประสงคของนโยบายสังคม อาจเรียกไดวา ออสเตรเลียเปนรัฐสวัสดิการแบบลาหลัง (Welfare Laggard) ๓.๓ ประเทศเกาหลีใต ประเทศเกาหลีใตใชรูปแบบของ “รัฐสวัสดิการ” กับการจัดสวัสดิการสังคม โดยมองวารัฐสวัสดิการนี้เกิดจากพื้นฐานสําคัญ ๒ ประการ คือ ๑) แผนงานความมั่นคงทางสังคม ประกอบดวย แผนงานการประกันเงินชดเชยอุบัติเหตุในการอุตสาหกรรม แผนงานการประกันสุขภาพแหงชาติ แผนงานการประกันเงินบํานาญแหงชาติ แผนงานการประกันการทํางานแหงชาติ และ ๒) แผนงานดานการสงเคราะหชวยเหลือประชาชน ประกอบดวย แผนงานใหการสงเคราะหดานการดํารงชีพประชาชน แผนงานการสงเคราะหผูประสบภัย และแผนงานการสงเคราะหดานการแพทย แผนงานการสงเคราะหชวยเหลือการดํารงชีพของประชาชน (Livelihood Assistance) เปนแผนที่ใชการทดสอบคุณสมบัติ (Mean Test) เปนเครื่องมือโดยเนนการตอบสนองความจําเปนพิเศษดานตางๆ อาทิ การศึกษา ที่อยูอาศัย การสงเคราะหมารดา และการฌาปนกิจสงเคราะห แผนงานการสงเคราะห

Page 64: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๔๙

ชวยเหลือประชาชนในการดํารงชีวิตเปนแผนงานที่รางขึ้นมา เพื่อชวยเหลือประชาชนที่ไมสามารถทํางานหารายไดเล้ียงตนเอง ทั้งเนื่องจากความชราภาพและความพิการทุพพลภาพ ชวยเหลือคนทํางานได แตมีรายไดนอย และชวยเหลือคนที่ดอยโอกาส คนสูงอายุ คนพิการเด็กไรบานและผูหญิงที่เผชิญกับภาวะยากไร

๔. แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมในประเทศไทย แมวาสวัสดิการสังคม จะเปนคําใหมในสังคมไทย แตความคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม ก็ปรากฏอยูในสังคมมานานแลว นับตั้งแตการชวยเหลือเกื้อกูลในหมูเครือญาติ เพื่อนสนิท และชุมชน รวมทั้งหนวยงานสงเคราะหของภาคเอกชนตางๆ สวัสดิการสังคมแบบใหม มีปรากฏใหเห็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ ๕ พรอมๆกับการปฏิรูประบบราชการ โดยจัดใหมีสวัสดิการสังคมที่เรียกวา การบริการสังคมและการสงเคราะหทางสังคม จวบจนกระทั่งป ๒๕๓๓ สังคมไทยจึงเริ่มจัดสวัสดิการที่เรียกวา การประกันสังคม ทําใหการจัดสวัสดิการครอบคลุมทุกประเทศ ๔.๑ พัฒนาการของแนวคิดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย การจัดสวัสดิการสังคมสมัยใหม เ ร่ิมขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ รัฐไดจัดบริการดานการศึกษา และดานสาธารณสุขใหกับประชาชน สวนการสังคมสงเคราะห ไดมีการจัดตั้งองคกรสังคมสงเคราะหแหงแรกขึ้นในประเทศสยาม ช่ือวา สภาอุณาโลมแดง เมื่อพ.ศ. ๒๔๓๖ นโยบายสวัสดิการสังคมของไทยเปนนโยบายการประชาสงเคราะหมาโดยตลอด ตอเมื่อมีการประกาศใช พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ซ่ึงสรางระบบสวัสดิการสังคมรูปแบบใหมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กรมประชาสงเคราะห (ช่ือเดิมขณะนั้น) จึงเริ่มปรับเปลี่ยนแนวคิดใหม ขยายความหมายและขอบขายงานเปนนโยบายสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะหแหงชาติ นโยบายสังคมเปนนโยบายที่ จะตองใหบริการครอบคลุมทั้ งการประกันสังคม การประชาสงเคราะห และการบริการสังคม สวนการจัดสวัสดิการสังคมตองดําเนินการทั้งโดยภาครัฐและภาคเอกชน ๔.๒ สวัสดิการชุมชน สวัสดิการชุมชนเปนคําใหมที่เพิ่งมีการกลาวถึงในชวงหลังจากที่ประเทศไทยตองเผชิญกับวิกฤติการณทางเศรษฐกิจ เมื่อกลางป ๒๕๔๐ ในอดีตกอนหนานั้นมีระบบสวัสดิการชุมชนอยูในสังคมไทยมาเปนเวลานานแลว แตไมไดมีการรับรูกันอยางกวางขวาง มีการกลาวถึงเพียงสวัสดิการสังคม ซ่ึงเปนระบบใหญที่ใชในระดับประเทศ ปจจุบัน ระบบการจัดสวัสดิการชุมชนเริ่มมีการขยายตัวไปในชุมชนตางๆ อันเปนผลมาจากการคิดเอง ทําเองของชุมชน และจากการสนับสนุนของภาคราชการ ในบาง

Page 65: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๐

ชุมชนที่มีการจัดระบบสวัสดิการชุมชนของตนเองกําลังพัฒนาใหเขมแข็งยิ่งขึ้น (จตุรงค บุณยรัตนสุนทร ๒๕๔๗ : ๑-๙) แนวคิดในการจัดสวัสดิการชุมชน คือ แนวคิดที่ตองการสรางหลักประกันเพื่อความมั่นใจแก คนในชุมชน ซ่ึงหมายถึงทุกสิ่งทุกอยางที่ทําใหคนในชุมชนดีขึ้น อาจอยูในรูปของสิ่งของ เงินทอง น้ําใจ การชวยเหลือเกื้อกูลกัน เปนเรื่องเกี่ยวของกับวิถีชีวิตตั้งแตเกิดจนตาย ผลของการจัดสวัสดิการชุมชน ทําใหเกิดรายได ลดรายจาย เกิดความสัมพันธ มิตรไมตรีที่ดีตอกันของคนในชุมชน และทําใหคนในชุมชนรูสึกมั่นคง ภาคภูมิใจอยูอยางมีศักดิ์ศรีและมีความสุข สวัสดิการชุมชนมิไดมุงไปสูการสรางรายไดที่มั่นคงใหกับคนในชุมชน เงินเปนเพียงเครื่องมือไมใชเปาหมาย ชุมชนใชเงินเพื่อสรางเงื่อนไขใหคนอยากทํางาน อยากทําความดี ส่ิงสําคัญคือการทําใหคนในชุมชนคิดที่จะพึ่งตนเองมากกวาการหวังพึ่งผูอ่ืน สําหรับแนวคิดสวัสดิการชุมชน สรุปได ๓ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะของการระดมทุนเพื่อใชในการสรางอาชีพและพัฒนาอาชีพของสมาชิกภายในชุมชน โดยใชระบบการสะสมทุนรวมกัน ๒. ลักษณะของการพัฒนา โดยการอาศัยศักยภาพของชุมชนในการรวมตัวกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อลดการเอาเปรียบจากบุคคลภายนอก ๓. ลักษณะของการนําเอาแนวคิดการจัดตั้งองคกร เพื่อใหความชวยเหลือหรือเปนทุนใน การสรางกิจกรรม เพื่อการแกไขปญหาของชุมชนอยางครบวงจร จุดประสงคของการจัดตั้งกลุมรวมกัน จึงเกิดขึ้น เพื่อที่จะชวยเหลือผูอ่ืนที่ประสบความเดือดรอนในขั้นแรก ตอมาเมื่อมีผลกําไรงอกเงยขึ้นก็สามารถนํามาใชในการจัดสวัสดิการชุมชน เชน การรักษาพยาบาล การชวยเหลือผูประสบภัย คนพิการ ผูสูงอายุ เปนตน การระดมทรัพยากรทั้งจากภายในชุมชนและภายนอกชุมชนมาใชในการดําเนินการ โดยทั่วไปการจัดสวัสดิการชุมชนจัดจากฐานของชุมชน ๔ ฐาน คือ ๑) ฐานองคกรการเงินภายในชุมชน ไดแก กลุมออมทรัพย หรือกลุมสัจจะออมทรัพยที่มีการนําผลกําไรมาจัดสรรใหกับคณะกรรมการ สมาชิกและเพื่อสาธารณะประโยชนในชุมชน ๒) ฐานการผลิตในชุมชน ไดแก ธุรกิจชุมชนตางๆ ที่ดําเนินการโดยคนในชุมชนรวมกลุมกันทําการผลิตสินคาของชุมชนออกขาย เมื่อมีกําไรก็นํามาจัดสรรเชนเดียวกันกับกลุม ออมทรัพย หรือกลุมสัจจะออมทรัพย ๓) ฐานกองทุนหมุนเวียนในชุมชน ไดแก การนําเอาผลกําไรจากกองทุนหมุนเวียนตางๆในชุมชน เชน กองทุนโอง กองทุนบอน้ํา กองทุนพัฒนาอาชีพมารวมกัน ลวนจัดตั้งเปนกองทุนเพื่อการศึกษาของเด็กในชุมชน ๔) ฐานอุดมการณ/ศาสนา หมายถึง การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการกองทุนสวัสดิการของชุมชนที่มีพื้นฐานจากอุดมการณหรือศาสนา เชน ในชนบทมีการจัดตั้งกลุมฌาปนกิจสงเคราะห การระดมเงินจากสมาชิกเปนรายเดือนเพื่อชวยเหลือคาใชจายในการทําพิธีทางศาสนาใหกับสมาชิกที่เสียชีวิต

Page 66: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๑

ตัวอยางของชุมชนที่มีการจัดสวัสดิการไดดีและเปนแบบอยางแกชุมชนอื่นๆ โดยการใชฐานองคกรการเงินภายในชุมชน คือ ชุมชนบานน้ําขาว อ.จะนะ จ.สงขลา ชุมชนที่จัดสวัสดิการชุมชนไดดีโดยใชฐานของธุรกิจชุมชน ไดแก ชุมชนนาโส อ.กุดชุม จ.ยโสธร ชุมชนที่มีการจัดสวัสดิการชุมชน โดยใชฐานกองทุนตางๆในชุมชน คือ บานดงขวาง อ.บานเผือ จ.อุดรธานี การจัดสวัสดิการชุมชนโดยใชอุดมการณและศาสนาของพระอธิการทอง เตชะปญญา เจาอาวาสวัดอูตะเภา ตั้งธนาคารชีวิต คือ การเปนอยูรวมกันอยางปลอดภัย การชวยเหลือเกื้อกูลกัน เปนตน ๕. รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคม รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศใด ขึ้นอยูกับแนวคิดการจัดสวัสดิการที่นํามาใช เชน หากนําแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมแบบเก็บตก ก็เปนเพียงการชวยเหลือแบบชั่วคราว บรรเทาปญหาเฉพาะหนามากกวาเปนการเอาจริงเอาจังในการตอบสนองความตองการหรือแกไขปญหาในภาพกวาง หากนําแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมแบบสถาบันมาใชก็จะถือเปนหนาที่ความรับผิดชอบของสถาบันตางๆ โดยเฉพาะรัฐในการจัดการกับปญหาและตอบสนองความตองการของสังคมในภาพกวาง ซ่ึงเปนหนาที่ของทุกสวนที่จะตองมาชวยกัน แนวคิดสวัสดิการสังคมประชาธิปไตย เชื่อวากลไกการตลาดทําหนาที่จัดสวัสดิการสังคมใหกับคนในสังคม แตรัฐยังจําเปนตองแทรกแซงและทําหนาที่จัดสรรทรัพยากรใหกับคนจนที่ขาดโอกาสในสังคม เนื่องจากสังคมจะมีชองวางระหวางคนรวยและคนจน ความไมเปนธรรมและการเอารัดเอาเปรียบในสังคม รัฐจึงเปนสถาบันทางสังคมที่จัดสวัสดิการใหแกประชาชน โดยมีการนําเรื่องรัฐสวัสดิการมากลาวถึงในแนวคิดนี้ แนวคิดสวัสดิการสังคมเสรีนิยมใหม เนนความเปนปจเจกบุคคลเปนหลัก คนที่มีความสามารถรัฐไมจําเปนตองเขาไปแทรกแซง ในการดูแลและจัดสวัสดิการใหกับคนจน ควรใหคนจนชวยเหลือตนเองโดยหางานทํา บริการสวัสดิการสังคม ไมใชเปนสิทธิของประชาชนที่พึงไดรับจากรัฐ เพราะเปนการใชทรัพยากรมากเกินไป ทรัพยากรที่อยูจํากัด รัฐจําเปนตองใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด หามาตรการจูงใจใหคนในสังคมทํางาน รวมทั้งสรางระบบโครงขายการคุมครองทางสังคม และปรับเปลี่ยนวิธีการลงทุนในแบบตางๆ โดยทั่วไปรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมทั้งในสวนของภาครัฐหรือองคการเอกชนจะมี ๓ รูปแบบ ไดแก ๑. การจัดสวัสดิการรูปแบบสิทธิที่ประชาชนพึงไดรับ เชน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. การจัดสวัสดิการในรูปแบบการตรวจสอบ เชน การแกไขปญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ ๓. การจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบการมีสวนรวม เชน การประกันสังคม การประกันสุขภาพ และการประกันเอื้ออาทร เปนตน

Page 67: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๒

ประเทศไทยมีการนําระบบสวัสดิการสังคมมาใช ตั้งแตสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี ไดกอตั้งกรมประชาสงเคราะห สังกัดกระทรวงมหาดไทย ในป ๒๔๘๓ หลังจากนั้น กรมประชาสงเคราะหไดมาขึ้นกับกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และเมื่อ ป ๒๕๔๕ ไดมีการปฏิรูประบบราชการ ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ดังนั้นกรมประชาสงเคราะหจึงถูกปรับเปลี่ยนใหเปนกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เพื่อดูแลงานดานสวัสดิการสังคมในภาพรวม

ประกอบกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ที่ใหสิทธิดานสวัสดิการแกประชาชน รวมทั้งมีพระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ เปนกฎหมายแมบท ในการจัดระบบสงเสริมและสนับสนุนการจัดสวัสดิการสังคม ไดแก หนวยงานของรัฐและองคกรสาธารณะประโยชน ตลอดจนผูปฏิบัติงานดานการจัดสวัสดิการสังคม ไดแก นักสังคมสงเคราะห และอาสาสมัคร ทําใหงานสวัสดิการสังคมของประเทศไทย ในปจจุบันเปนเรื่องที่ทุกภาคสวนตองเขามามีสวนรวมดําเนินการ บนพื้นฐานของการคํานึงถึงสิทธิและสวัสดิการที่ประชาชนทั่วไป พึงไดรับและการตอบสนองความจําเปนพื้นฐานของประชาชนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได ทิศทางงานสวัสดิการสังคมไทย ในอนาคตมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริม สนับสนุนและขยายขอบเขตการดําเนินงานที่กวางขวางขึ้น เพราะรัฐบาลตางสนใจในความทุกขสุขของประชาชน ผานนโยบายสวัสดิการสังคม ส่ิงสําคัญ คือ การนําแนวคิดรูปแบบสวัสดิการตางๆซึ่งพื้นฐานสังคมไทยที่เปนสังคมแหงการเอื้ออาทร นาจะมีความเหมาะสมในการดูแลสวัสดิการสังคมของประชาชนไดเปนอยางดี ๖. ขอบขายของงานสวัสดิการสังคม งานสวัสดิการสังคมเกี่ยวของกับการพัฒนาสภาพความเปนอยูที่ดีของประชาชนในสังคมใหมีความเปนอยูที่ดีและมีคุณภาพชีวิต ๗ ดาน ดังนี้ (แผนพัฒนาสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙)) ๖.๑ การมีสุขภาพอนามัยท่ีดี หมายความถึง ประชาชนพึงไดรับการปองกันโรคภัยไขเจ็บ การรักษาพยาบาล การสงเสริมและพัฒนาสุขภาพรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคมอยางทั่วถึงและ เทาเทียมกัน โดยประชาชนไทย ไมวาเพศใด อายุวัยใด เชื้อชาติใด ศาสนาใด อยูในภูมิภาคใด หรืออยูในวัฒนธรรมใด มีความสนใจในทางการเมือง มีแบบแผนการดํารงชีวิตเชนใด หรือมีสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมในระดับชั้นใดก็ตาม พึงได รับบริการสวัสดิการสังคมดานสุขภาพอนามัยที่ได มาตรฐานอยางทั่วถึง เสมอภาค เปนธรรมสอดคลองกับความตองการและสถานการณปญหาของบุคคล กลุมบุคคล และประชาชน ๖.๒ การมีการศึกษาที่ดี หมายความถึง ประชาชนพึงไดรับบริการที่สงเสริมและพัฒนาตนเองใหมีความรู ทักษะ ตลอดจนปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดี และคุณลักษณะอันพึงประสงคเพื่อ

Page 68: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๓

นําไปสูการดําเนินชีวิตอยางมีคุณภาพตอไป และแมวาประชาชนจะมีขอบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคม หรือดอยโอกาสทางการศึกษา ก็จะไดรับบริการการศึกษาพิเศษและจัดรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสมสอดคลองกับความตองการของประชาชนที่มีขอจํากัดเหลานั้น ทั้งนี้ประชาชนทุกคนตองไดรับการศึกษาอยางนอยที่สุด คือ การศึกษาในระดับขั้นพื้นฐาน ความพิการ ความบกพรองดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคม การเปนประชาชนผูดอยโอกาส ชนกลุมนอย คนตางวัฒนธรรม ตางศาสนา ตางความเชื่อ ตางความสนใจทางการเมือง ตางแบบแผนการดําเนินชีวิต ผูอยูในภูมิภาคทองถ่ินหางไกล เปนผูดอยโอกาส หรือแมตางเพศ วัย ผิวพรรณ ตองไมเปนเหตุใหประชาชน ผูใดขาดโอกาสทางการศึกษา หรือไดรับบริการทางการศึกษานอยกวาหรือดอยกวา ไมเปนธรรมหรือไมเทาเทียมกันประชาชนโดยทั่วไป ๖.๓ การมีท่ีอยูอาศัย หมายความถึง การที่ประชาชนมีที่อยูอาศัยตามควรแกอัตภาพ ชวยเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่ดีในทํานองเดียวกัน ประชาชนทุกคนควรจะไดมีที่อยูอาศัยตามแตกําลังความสามารถของบุคคลที่จะไดมา อยางนอยที่สุดที่อยูอาศัยตองใหความปลอดภัย ความมั่นคง อยูในสภาพแวดลอมที่ดี ไมมีสภาพเสื่อมโทรมแออัด แวดลอมดวยมลพิษหรือเสี่ยงภัยพิบัติ เสี่ยงตอความเสื่อมเสียทั้งรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม ๖.๔ การมีงานทํา การมีรายไดและการมีสวัสดิการแรงงาน หมายความถึง ประชาชนมีงานทําที่ทําใหมีรายไดอยางนอยเพียงพอแกการดํารงชีพ งานที่ทํามีสวัสดิการที่ดีหรืออยางนอยตามที่กฎหมายกําหนดงานที่ทําตองไมเสี่ยงตอการเจ็บปวย อุบัติเหตุและอุบัติภัยตางๆ ไมเปนงานที่สราง ความเสื่อมเสียแกศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ไมผิดศีลธรรมหรือผิดกฎหมาย ประชาชนมีความภาคภูมิใจในงานที่ทําและมีโอกาสกาวหนาในการทํางานนั้นๆ ประชาชนตองไดรับรายได และสวัสดิการการทํางานอยางเสมอภาค เทาเทียมและยุติธรรม ประชาชนสามารถรวมกลุมรวมตัวกันปกปองผลประโยชนของตนในรูปของสหภาพแรงงาน เมื่อมีการเลือกปฏิบัติหรือประชาชนทราบวาไมไดรับความยุติธรรมในเรื่องรายได สภาพการทํางาน การจางงานและสวัสดิการแรงงาน ประชาชนตองไดรับความคุมครองจากหนวยงานหรือองคกรที่มีอํานาจหนาที่ที่เกี่ยวของ กระบวนการและกลไกดานแรงงานสัมพันธตองสามารถรองรับปญหาและความตองการของประชาชนดานนี้ได ๖.๕ การมีความมั่นคงทางรายได หมายความถึง ประชาชนทุกคนที่มีรายไดเพียงพอแกการยังชีพไดรับการคุมครองในเรื่องความมั่นคงในการดําเนินชีวิตของตนและครอบครัว ในรูปของ การประกันสังคมซึ่งครอบคลุมเรื่องผลประโยชนจากการประกันสุขภาพ การสงเคราะหบุตร การชดเชย การขาดรายได จากการเจ็บปวย พิการทุพพลภาพ ชราภาพ และการวางงาน การประกันสังคมเปนมาตรการหนึ่งที่จะสรางความมั่นคงทางสังคม โดยเฉพาะกับประชาชนผูมีรายไดประจํา ไมใหไดรับ ความเดือดรอนเมื่อมีเหตุใหสูญเสียรายไดทั้งหมด บางสวนหรือไมเพียงพอกับการยังชีพ

Page 69: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๔

๖.๖ นันทนาการ หมายความถึง ประชาชนมีกิจกรรมนันทนาการเพื่อการบันเทิง และ การพักผอนใจอยางมีคุณภาพ โดยกิจกรรมนันทนาการนั้นๆ ไมเปนการทําใหเสื่อมเสียศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ไมผิดศีลธรรม ผิดกฎหมายไมเปนการเอารัดเอาเปรียบ กดขี่ขมเหง หรือละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนในกลุมอื่นๆ ๖.๗ การบริการสังคมท่ัวไป หมายความถึง การใหบริการแกประชาชนโดยเฉพาะกลุมคนยากจน ผูดอยโอกาส และกลุมเปาหมายพิเศษ เพื่อชวยสรางเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชวยพัฒนาชีวิตความเปนอยูใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางเปนสุขตามควรแกอัตภาพ ๗. การจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนจนและคนพิการ ประเทศไทยมีวิธีการจัดสวัสดิการของภาครัฐเปนสวนใหญ รัฐสวนกลางมีบทบาทในการจัดสวัสดิการแยกตามสาขา เชน กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบการจัดบริการ อุดหนุนและชวยเหลือดานสาธารณสุข กระทรวงศึกษารับผิดชอบดานการศึกษา เปนตน โดยที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินมีบทบาทนอย ซ่ึงจะเห็นไดจากการใชงบประมาณ แตจากขอจํากัดดานบุคลากร งบประมาณ ตลอดจน การเขาถึงบริการของกลุมผูดอยโอกาส ไดมีแนวคิดการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนโดยพยายามจัดสรรงบประมาณผานหนวยงาน เพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดบริการตางๆ เชน ศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) ของกระทรวงสาธารณสุขและศูนยสงเคราะหราษฎรประจําหมูบานของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม (ช่ือในขณะนั้น) เปนตน อยางไรก็ตาม การดาํเนนิงานดังกลาวมีลักษณะจัดตั้งมากกวาการมีสวนรวมอยางแทจริง ปจจุบันไดมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนไปสูการกระจายอํานาจและการใหภาคประชาสังคมมีสวนในการกําหนด กํากับและดําเนินการจัดบริการ ทําใหมีการขยายวงเงินงบประมาณ ที่จัดสรรตรงสูรัฐทองถ่ิน (อบต.) และเริ่มจัดสรรงบประมาณตรงสูองคกรชุมชน เชน กองทุนหมูบานเปนตน (ดวงกมล วิมลกิจ, ๒๕๔๗ : ๓๒-๓๕) สําหรับคาใชจายงบประมาณเพื่อการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศในปงบประมาณ ๒๕๔๕ มีการใชจายรอยละ ๗.๖ ของผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ และรอยละ ๔๑.๗ ของงบประมาณรวม โดยเปนดานการศึกษาสูงสุด คือรอยละ ๒๑.๘ ของงบประมาณรวม รองลงมา ไดแกดานสาธารณสุข การสังคมสงเคราะห การเคหะชุมชนและการศาสนา วัฒนธรรมและนันทนาการ เปนรอยละ ๗.๒ ,๖.๙ ,๕.๒ และ ๐.๖ ตามลําดับ ช้ีใหเห็นวางบประมาณของรัฐมุงเนนในเรื่องการจัดบริการที่จําเปน เมื่อจําแนกรายจายการประกันสังคมออกจากสวัสดิการสังคม พบวา งบประมาณที่รัฐตองจายดานการประกันสังคมมีอัตราเพิ่มขึ้นจาก ๔๘,๓๘๙.๔ ลานบาท ในป ๒๕๔๔ เปน ๕๕,๘๘๕.๘ ลานบาทในป ๒๕๔๕ (รอยละ ๑๕.๕) คิดเปนสัดสวนรอยละ ๕.๔๖ ของงบประมาณรวม ในขณะที่รายจายดานสวัสดิการ ซ่ึงเปนการจัดใหแกผูยากจนกลับเพิ่มในอัตราที่ลดลงโดยมีสัดสวนเปนรอยละ ๐.๓ และการสงเคราะหอ่ืน เชน ภัยพิบัติ

Page 70: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๕

คิดเปนรอยละ ๑.๑๔ ของงบประมาณรวมเทานั้น สวนงบประมาณของรัฐสวนทองถ่ินยังขาดการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการใชจายดานสวัสดิการสังคม สําหรับบทบาทของภาคเอกชนในการจัดสวัสดิการสังคมนั้น พบวา มีองคกรเอกชนที่ดําเนินงานดานบริการสังคมจํานวนมาก จากขอมูลการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติ (๒๕๔๔ : ๑๑-๑๒) พบวามีองคกรเอกชนไมแสวงหากําไรทั้งสิ้น ๑๐,๘๗๗ แหง แบงเปนองคกรที่ดําเนินงานบริการสังคมสงเคราะห จํานวน ๖,๔๔๙ แหง สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห ๒,๗๗๑ แหง และสมาคมการคา นายจาง สหภาพแรงงานและสมาคมรัฐวิสาหกิจ ๑,๖๕๗ แหง เมื่อพิจารณาประเภทของการบริการ/การสงเคราะห พบวา องคกรเอกชนสวนใหญ (รอยละ ๖๕.๗) ใหบริการ/การสงเคราะหที่เกี่ยวกับการสงเสริมการศึกษาวิจัย โดยใหทุนการศึกษาและอุปกรณการเรียน รองลงมา คือ องคกรที่ใหการสงเสริมศาสนา ศีลธรรม ประเพณี การศึกษาของภิกษุ และรวมมือในสาธารณกุศล และโดยเสด็จพระราชกุศล ประมาณรอยละ ๓๗.๖ และ ๓๔.๕ ตามลําดับ องคกรเอกชนที่ใหบริการชุมชน สงเสริมการกีฬาสามัคคี มีรอยละ ๒๘.๗ องคกรเอกชนที่ชวยเหลือผูตกทุกขไดยากหรือผูประสบภัยมีรอยละ ๒๖.๒ สําหรับองคกรเอกชนที่ใหบริการสงเคราะหเกี่ยวกับสวัสดิการเด็กและใหบริการกิจการเยาวชนรอยละ ๒๔.๒ และ ๑๕.๘ ตามลําดับ เมื่อพิจารณาคาใชจายในป ๒๕๓๙ ตามประเภทขององคกรเอกชน พบวา สมาคมฌาปนกิจสงเคราะหมีคาใชจายเฉลี่ยตอแหงมากที่สุดประมาณ ๒.๘ ลานบาท รองลงมา คือ องคกรที่ดําเนินกิจการหลักเกี่ยวกับบริการสังคมสงเคราะหมีคาใชจายประมาณ ๑.๔ ลานบาทตอแหง สมาคมการคาเอกชน พนักงานรัฐวิสาหกิจและนายจาง มีคาใชจายเฉลี่ยประมาณ ๑.๒ ,๐.๖ และ ๐.๔ ลานบาทตอแหงตามลําดับ สําหรับวิธีการใหความชวยเหลือองคการที่ดําเนินกิจการหลักเกี่ยวกับการบริการสังคมสงเคราะห พบวา องคการเอกชนสวนใหญ (รอยละ ๘๒.๕)ใหความชวยเหลือโดยใหเงินสด รองลงมาคือใหคําแนะนําปรึกษาประมาณรอยละ ๓๔.๔ ใหการบําบัดรักษาประมาณ ๘.๕ องคกรเอกชนที่ใหความชวยเหลือโดยใหที่พักอาศัยช่ัวคราว ใหเงินยืมในการประกอบอาชีพ ใหบริการจัดหางาน มีประมาณรอยละ ๖.๒ ,๔.๒ และ ๓.๗ ตามลําดับ สําหรับองคกรชุมชนหรือภาคประชาชน (กนกศักดิ์ แกวเทพ,๒๕๔๒ : ๒๑๖-๒๑๗)แบงเปน ๒ รูปแบบใหญๆ คือ ๑) ในรูปของปจเจกและ ๒) ในรูปขององคกรประชาชนที่มีการรวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ ไมวาจะเปนกลุมออมทรัพย กลุมขาวหรือกลุมควาย และไดใชสวนแบงจากดอกผลการดําเนินงานสวนหนึ่งมาจัดสรรเปนสวัสดิการดานตางๆ แกสมาชิกกลุมและสมาชิกของชุมชน ในปจจุบันมีงานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษาการรวมตัวชวยเหลือกันของชาวบานทางเศรษฐกิจเปนพื้นฐาน เพื่อ การพึ่งตนเองหรือความเขมแข็งของชุมชนจํานวนพอสมควร ซ่ึงไดพบวามีกิจกรรมที่หลากหลาย เชน กลุมขาว กลุมปุย กลุมสัจจะออมทรัพย กองทุนสวัสดิการ เปนตน ผลลัพธที่สําคัญและนาสนใจเกี่ยวกับกิจกรรม คือ สวนหนึ่งกลายเปนฐานรองรับการพัฒนาและมีหมูบานนับรอยที่สามารถพึ่งตนเอง ตลอดจน

Page 71: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๖

สามารถสรางสวัสดิการของชีวิตของกลุมใหดีขึ้น อาจกลาวไดวา สวัสดิการชุมชนเปนการระดมทุน ทางสังคมหรือการสะสมทุนรูปแบบหนึ่งของชุมชนหรือกลุม โดยมีวัตถุประสงคนําดอกผลที่ไดจากกิจกรรมมาใชประโยชนในการรักษาพยาบาล ชวยเหลือสมาชิกดวยการแบงดอกผล ตลอดจนเงินปนผล สวัสดิการชีวิตนี้ ไดแก ฌาปนกิจสงเคราะห กองทุนยา ธนาคารชีวิต ธนาคารเพื่อสุขภาพ เปนตน อยางไรก็ตาม การดําเนินงานของชุมชนหรือภาคประชาสังคมยังขาดการรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบ จากแนวทางการจัดสวัสดิการสังคมในประเทศ จะเห็นวามีรูปแบบการดําเนินงานและใชงบประมาณจากทั้งภาครัฐ เอกชน และองคกรชุมชน ที่หลากหลายและเปลี่ยนไปตามสภาพและแนวคิดในแตละชวง เพื่อใหคนยากจน คนพิการและผูดอยโอกาสสามารถเขาถึงบริการไดทั่วถึงมากขึ้น ๒. แนวทางการวัดความยากจนที่เปนคนพิการและคนดอยโอกาส สํานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (www. poverty.nesdb.go.th) ไดนิยาม “คนจน” ตามกรอบยุทธศาสตรการแกไขปญหาความยากจนแบบยั่งยืน รวมถึงคนดอยโอกาสวามิไดจํากัดเฉพาะ “คนจน” ที่ขัดสนทางเศรษฐกิจหรือดานรายไดในการยังชีพเทานั้น แตยังครอบคลุมถึงความยากจนเชิงโครงสรางที่เกิดจากความขัดสนในหลายๆดานที่มีผลทําใหขาดศักยภาพในการดํารงชีวิต ทั้งขาดการศึกษาหรือไดรับการศึกษานอย การขาดทรัพยากรขาดที่ดินทํากินหรือที่ดินทํากินมีขนาดเล็ก การขาดการรวมกลุมและการมีสวนรวมทางการเมือง การขาดขอมูลขาวสารความรูในการประกอบอาชีพ รวมทั้งการมีภาระพึ่งพาสูงและไมสามารถเขาถึงบริการของรัฐและความชวยเหลือตางๆ ของรัฐอันนําไปสู ความไมเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๘ ไดกําหนดกลุมผูดอยโอกาสไว ดังนี้ ๑) กลุมเด็กในภาวะยากลําบาก ซ่ึงประกอบดวยเด็กที่ไดรับผลกระทบจากโรคเอดส เด็กเรรอน และเด็กที่ยากจนและไมมีโอกาสศึกษาตอ ๒) กลุมเด็กและสตรีในธุรกิจบริการทางเพศและผูถูกประทุษรายตางๆ ๓) กลุมคนพิการ ๔) กลุมผูสูงอายุที่ยากจนไมมีญาติหรือผูเล้ียงดู ๕) กลุมคนยากจนในเมืองและชนบท ๖) กลุมผูถูกควบคุมประพฤติและผูตองขัง และ ๗) กลุมคนไทยตางวัฒนธรรม เชน ชาวเขา ชาวเล เปนตน(สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๔๐ : ๔๐) วิธีการวัดความยากจน แบงออกเปน ๒ กลุมหลัก คือ การวัดความยากจนสัมบูรณ (Absolute Poverty) และการวัดความยากจนสัมพทัธ (Relative Poverty) (ความยากจนเชิงเปรียบเทียบ) ในสวนของความยากจนสัมบูรณนั้น คือ การวัดความยากจนโดยคํานวณความตองการ ขั้นพื้นฐานในการดํารงชีวิตของครัวเรือนเปนตัวเงิน เพื่อใชเสนความยากจน (Poverty Line) ในการเปรียบเทียบกับรายไดของครัวเรือน (ทั้งที่เปนตัวเงินและไมเปนตัวเงิน) เพื่อนําไปหาจํานวนครัวเรือนยากจนที่อยูใตเสนความยากจนตอไป ในขณะที่การวัดความยากจนสัมพัทธเปนการวัดความยากจนโดยใช

Page 72: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๗

การเปรียบเทียบมาตรฐานการดํารงชีวิตของครัวเรือน กับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของสังคมโดยเฉลี่ยซ่ึงก็คือ การวัดความไมเทาเทียมของการกระจายรายไดนั่นเอง การกําหนดเสนความยากจนประกอบดวยหลายหนวยงาน ดังนี้ ๑. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คํานวณเสนความยากจนปริมาณความตองการบริโภคขั้นพื้นฐาน ทั้งที่เปนอาหารและมิใชอาหารและประเมินเปนเงิน เพื่อเปรียบเทียบวามีเงินเพียงพอบริโภคในระดับพื้นฐานหรือไม โดยมีการกําหนดเสนความยากจนของกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลในป ๒๕๔๗ (มกราคม-มิถุนายน) ๑,๒๓๐ บาทตอคนตอเดือน หรือ ๑๔,๗๖๐ บาทตอเดือน โดยรายไดในเขตเทศบาลเปน ๑,๔๖๖ บาทตอคนตอเดือน ขณะที่นอกเขตเทศบาล เปน ๑,๑๑๙ บาทตอคนตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๔๘) ๒. กระทรวงมหาดไทย ไดกําหนดรายไดที่เพียงพอตอการดํารงชีวิต (เกณฑช้ีวัดความจําเปนขั้นพื้นฐาน- จปฐ.) โดยนําคาใชจายเฉลี่ยตอคนตอป รวมกับอัตราเงินเฟอในแตละป ปจจุบันไดมีการกําหนดรายไดที่เพียงพอตอการดํารงชีวิตที่ ๒๐,๐๐๐ บาท ตอคนตอป ๓. กระทรวงสาธารณสุข มีการกําหนดเกณฑรายไดขั้นต่ําในการแจกบัตรสงเคราะหผูมีรายไดนอย โดยกําหนดคนโสดตองมีรายไดต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน และกรณีที่มีครอบครัวตองมี รายไดรวมทั้งครอบครัวไมเกิน ๒,๘๐๐ บาทตอเดือน ๔. เกณฑความยากจนโดยหนวยงานดานชุมชนแออัด สํานักงานพัฒนาชุมชนเมือง (สมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางใน ประภาส ปนตบแตง ๒๕๔๔ ,www.welfaerforall.org) ไดใหความหมายของคนจนในเมืองวา คือ ผูที่มีรายไดในระดับสามารถที่จะจายเฉพาะคาอุปโภคที่จําเปนหรือต่ํากวาจนถึงผูที่มีความสามารถในการจายคาอุปโภคที่จําเปนและสามารถซื้อ/เชาที่อยูในราคาถูกได เกณฑในการพิจารณาคนจนในเมืองของสํานักงานพัฒนาชุมชนเมือง (พชม.) ประกอบดวย ๔ ประการ คือ ๑) อาชีพ สวนใหญประกอบอาชีพไมมั่นคง ทํางานหนัก คาแรงนอย มักเปนอาชีพที่ไมเปนทางการ ๒) รายไดนอยและไมแนนอน โดยใชฐานการหาคาใชจายมาตรฐานต่ําสุดของคนจนในกรุงเทพมหานคร ไดจัดประมาณระดับความยากจนตามลักษณะรายจายไว ดังนี้

Page 73: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๘

ตารางที่ ๒.๘ แสดงปริมาณคนจนจําแนกตามระดับรายได

ระดับความยากจน ระดับรายได (บาท/ครอบครัว/เดือน)

ปริมาณคนจน (รอยละ)

ระดับที่ ๑ จายเฉพาะคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ ๖.๑ ระดับที่ ๒ จายคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน มีที่อยูอาศัยเปนบานเชาหรือหองเชาในชุมชนแออัด

๗,๐๐๐-๘,๐๐๐ ๓๐.๖

ระดับที่ ๓ จายคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนสามารถซ้ือ/เชาที่อยูอาศัยราคาถูกในตลาดได

๙,๐๐๐ บาทขึ้นไป ๖๓.๓

๓) สภาพการอยูอาศัยทรุดโทรมแออัด ไมถูกสุขลักษณะไมมั่นคง ๔) ไดรับการบริการทางสังคมนอยเมื่อเปรียบเทียบกับคนทั่วไป จะเห็นไดวาการกําหนดเสนความยากจนมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับเงื่อนไขและการกําหนดมาตรฐานการดํารงชีวิตของแตละหนวยงาน เชน กระทรวงสาธารณสุข กําหนดรายไดที่คอนขางสูงเพราะเห็นวาแมจะไมใชคนจนแตมีรายไดระดับนี้ยังมีปญหาเรื่องคาใชจายในการรักษาพยาบาล สํานักงานพัฒนาชุมชนเมือง (ปจจุบันเปนสถาบันพัฒนาองคกรชุมชนเมือง) ไดรวมคาใชจายที่อยูอาศัยทําให เสนความยากจนสูงกวาที่สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) กําหนด เนื่องจากพื้นที่ศึกษาอยูในเขตกรุงเทพมหานคร มีคาครองชีพคอนขางสูง และรายจายเกี่ยวกับที่อยูอาศัยเปนสิ่งจําเปน รวมทั้งการสํารวจรายได ป ๒๕๔๐ ของผูอยูอาศัยในชุมชนแออัด ชุมชนสวนใหญมีรายไดเกินเกณฑความยากจนระดับที่ ๑ แตยังมีความยากลําบากในการดํารงชีวิตซึ่งใกลเคียงกับเสนความยากจนที่ สศช.กําหนด กรณีศึกษานี้จึงเห็นวาเสนความยากจน ที่ใชการกําหนดเกณฑรายไดขั้นต่ําในการแจกบตัรสงเคราะหผูมีรายไดนอย ของกระทรวงสาธารณสุขโดยกําหนดคนโสดตองมีรายไดต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน และกรณีที่มีครอบครัวตองมี รายไดรวมทั้งครอบครัวไมเกิน ๒,๘๐๐ บาทตอเดือน นาจะมีความเหมาะสมมากกวา การศึกษาครั้งนี้จึงกําหนดใหคนจนที่เปนคนพิการ ที่มีรายไดต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน รวมทั้งการมีคนพิการระดับรุนแรง และเจ็บปวยเรื้อรังไมสามารถทํางานได อยูในระดับใกลเคียงกับ เสนความยากจน ทําใหครัวเรือนเสี่ยงตอการประสบความยากลําบากและตกจากเสนความยากจนได

Page 74: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๕๙

๓. แนวคิดความมั่นคงของมนุษย (Human Security) ความมั่นคงของมนุษย เปนแนวคิดใหมที่เสนอเปนระเบียบวาระโลกมาไมนานนัก ขณะที่มี

แนวคิดอื่นๆคลายคลึงกันไดนําเสนอมากอนหนาหรือใกลเคียงกัน ดังนั้น เพื่อความกระจางจําตองจัดความสัมพันธระหวางความคิดเหลานี้ วาแตกตางและเกื้อกูลกันอยางไร ซ่ึงจะเปนการเสริมพลังหรือสรางมูลคาเพิ่มใหแกแนวคิดความมั่นคงของมนุษย อาจจัดกลุมความคิดที่เกี่ยวเนื่องกันเปน ๓ กลุมไดแก (คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๗ : ๓๐-๓๔)

๑. กลุมความคิดเรื่องความมั่นคงของมนุษย สิทธิมนุษยชน และการพัฒนามนุษย กลุมแนวคิดนี้ใหความสําคัญกับแนวคิดสิทธิมนุษยชนตามปฎิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และคําประกาศอ่ืนทํานองเดียวกัน เชน สิทธิสตรี สิทธิเด็กนั้นเปนสิ่งพื้นฐานวา นั่นคือ สิทธิมนุษยชนถือเปนหนาที่ที่จะตองประกันสิ่งพื้นฐาน ไดแก อาหาร สุขภาพ การศึกษา ที่อยูอาศัย การคุมครองครอบครัว ประชาธิปไตย การมีสวนรวม การปกครองของกฎหมาย การปองกันการคาทาส การทรมาน การปฏิบัติและการลงโทษที่ผิดความเปนมนุษย สวนความมั่นคงของมนุษยไมไดบังคับใหตองปฏิบัติมากเทาการนําความมั่นคงมาอยูในบริบทของสิทธิมนุษยชน จึงเปนการเรียกรองใหมีการปฏิบัติมากขึ้น โดยทําใหเห็นวา ความมั่นคงของบุคคล ประเทศ และระหวางประเทศ ตองการการคุมครองสิทธิมนุษยชน การพัฒนาตองการความนับถือในสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนชวยแกไขความขัดแยงและสันติภาพ ในขณะเดียวกันความมั่นคงของมนุษย ก็ชวยเสริมสรางความเขมแข็งแกสิทธิมนุษยชนในหลายดาน เชน ชวยลดแรงกดดันที่มากเกินไปของรัฐ ตอสิทธิตางๆ ความมั่นคงของมนุษยยังชวยแกปญหาความขัดแยงระหวางสิทธิมนุษยชนที่แตกตางกัน สวนการพัฒนามนุษย ซ่ึงมีแกนแกนอยูที่ความยั่งยืนและ การพึ่งตนเองได เปนสิ่งที่จะตองยึดถือเปนใจกลางในการสรางความมั่นคงของมนุษย เชน การชวยเหลือ ผูอดอยากควรเกิดขึ้น เพื่อการสรางใหชุมชนนั้นสามารถพึ่งตนเองไดอยางยั่งยืน ไมใชเพื่อใหรอดตายไปเฉพาะหนา รวมความแลว การสรางความมั่นคงของมนุษยควรกระทําใหรวมไปกับเรื่องสิทธิมนุษยชน การพัฒนามนุษยและความมั่นคงของชาติ

๒. กลุมความคิดเรื่องของการพัฒนา มีนักวิชาการจํานวนหนึ่งเห็นวาความคิดเรื่อง การพัฒนานั้น ไมอาจใชทํ าความเขาใจความเปนไปของโลกปจจุบันที่มีความซับซอนและ มีลักษณะเฉพาะของประเทศและภูมิภาคได ควรจะใชแนวคิดใหม ไดแก การแปลงรูป (Transformation) ซ่ึงเสนอวา แนวคิดเรื่องการพัฒนานั้นสืบเนื่องจากความคิดของแสงสวางทางปญญา (Enlightenment) ที่เชื่อในเรื่องความกาวหนาในยุคของโลกาภิวัฒน ไดสงผลใหสังคมมีการเปลี่ยนแปลงเร็ว แตละประเทศตองปรับตัว การใชแนวคิดเรื่องการแปลงรูปทางสังคมจึงนาจะเหมาะกวา แนวคิดเรื่องการพัฒนาคลายกับวามีเปาหมายหรือแบบอยางแนนอนอยูขางหนา แตการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนั้นไมแนนอนวาสังคม จะแปลงรูปไปทางใด เรียกรองใหมีการระดมความคิดสรางสรรค เพื่อสรางความพองหรือความสมานฉันทในการกาวเดินไป

Page 75: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๐

๓. กลุมความคิดเรื่องการเรียกรองขั้นต่ํา ผูมีแนวคิดนี้ เชน เจนิเฟอร ลีนัง และแซมแอรี เสนอวา ความมั่นคงของมนุษยเปนแนวนโยบายขั้นต่ําสุดของการพัฒนามนุษย โดยการพัฒนามนุษยในทางอุดมคติจะยกระดับมนุษยขั้นสูงสุด แตความมั่นคงของมนุษยเปนความเรียกรองของการอยูรอดและความตองการทางจิตใจของมนุษย ๔. แนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

๔.๑ ความหมายของคุณภาพชีวิต

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๓๘ ใหความหมายของคําวา คุณภาพชีวิตวา ประกอบดวย ๒ คํา คือ คุณภาพ หมายถึง ลักษณะความดี ลักษณะประจําตัวบุคคล สวนชีวิต หมายถึง ความเปนอยู ดังนั้น คุณภาพชีวิต จึงหมายถึง ลักษณะความเปนอยูที่ดีของบุคคล

ซินเจอร (Singer ๑๙๗๑ quoted in Booz & Allen, ๑๙๗๓ : ๑-๕) ไดอธิบายเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตไววา ในแงเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตเปนเรื่องผูคนสวนใหญมีความสุขและมีความสะดวกสบายทางดานวัตถุ คุณภาพชีวิตจึงหมายถึง การที่ผูมีความสามารถที่จะทํามาหากิน มีรายได

ชารมา (Sharma, ๑๙๗๕ : ๑๐๙-๑๑๓) ไดเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตไววา คุณภาพชีวิตเปนความคิดรวบยอดที่สลับซับซอน (Complex) ทั้งที่ เปนความพอใจที่ เกิดจากการไดรับการตอบสนองความตองการในดานจิตใจและในดานสังคมนั้น ในระดับจุลภาคและระดับมหภาคและยังเปนเร่ืองที่เกี่ยวกับความสามารถของสังคมในการตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานของสมาชิกในสังคม

ลิว (Liu,๑๙๗๕ : ๑) ไดกลาวถึงคุณภาพชีวิตวา “ คุณภาพชีวิต “ เปนชื่อใหมของความคิดเดิม (Old Notion) ซ่ึงถาเรียกเปนชื่อทางดานจิตวิสัย (Subjective) ก็จะใชคําวา อยูดี กินดี มีสุข (Well Being) คือ การอยูดีของคนและสิ่งแวดลอมตามสภาพทั่วๆไป สวนในดานบุคคลคุณภาพชีวิตจะแสดงออกในรูปของความตองการ (Wants) เมื่อไดรับการตอบสนองแลว จะทําใหบุคคลนั้นๆ มีความสุขหรือความพอใจ

องคการอนามัยโลก (WHO, ๑๙๙๕ อางใน UNDP, ๒๐๐๓) ไดใหความหมายของคุณภาพชีวิตไววา เปนการรับรูของแตละบุคคลตอสถานะของชีวิตของพวกเขา ภายใตบริบทของวัฒนธรรม และความหมายของระบบสังคมที่พวกเขาอาศัยอยูและจะสัมพันธกับเปาหมาย ความคาดหวัง มาตรฐานของสังคมและสิ่งอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับพวกเขา เปนแนวความคิดที่กวาง เต็มไปดวยความสลับซับซอน ครอบคลุมในแงของสุขภาพรางกายของแตละคน สภาพจิตใจ ระดับความเปนอิสระ สัมพันธภาพทางสังคม ความเชื่อและสัมพันธที่มีตอสภาพแวดลอม จุดเดนของความหมายคุณภาพ ที่ WHO มองก็คือ “คุณภาพชีวิต” เปนนามธรรม โดยจะรวมเอาหัวขอที่เปนจริงทั้งในสวนที่ดี และไมดีของชีวิตเอาไว นอกจากนี้ ยังมองไดวามีหลายมิติ ไมวาจะเปนทางดานรางกาย จิตใจ สังคมและสิ่งแวดลอม

Page 76: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๑

สรุปไดวา “คุณภาพชีวิต” หมายถึง การมีความรูสึกเปนสุข และพึงพอใจในชีวิตความเปนอยูของแตละบุคคล ในองคประกอบ ๔ ดาน ไดแก ดานรางกาย ดานจิตใจ ดานสัมพันธภาพทางสังคม และดานส่ิงแวดลอม โดยแตละบุคคลจะรับรูแตกตางกันตามประสบการณ การเรียนรูและสภาพแวดลอม

๔.๒ องคประกอบของคุณภาพชีวิต

การที่บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดีนั้นจะตองประกอบดวยองคประกอบหลายๆดาน ซ่ึงตองประกอบกันอยางกลมกลืน และเหมาะสมในแตละบุคคล เวลา สถานที่ และความเปลี่ยนแปลงของสังคม ซ่ึงแตละองคประกอบมีความสําคัญมากนอยแตกตางกันออกไปตามทัศนะของแตละบุคคลและสังคม ไดมีนักวิชาการตางๆ เสนอไววาองคประกอบที่สําคัญของการมีคุณภาพชีวิตของมนุษย จะตองประกอบดวยอะไรบาง ซ่ึงก็มีสวนแตกตางกันไปบางในรายละเอียด คอนโด (Kondo, ๑๙๘๕ : ๖๖) ไดกลาวถึงองคประกอบของคุณภาพชีวิตควร ประกอบดวยองคประกอบตางๆ ดังแผนภูมิที่ ๒.๓

ที่มา : Kondo (๑๙๘๕) Population and the Quality of life : Bangkok and UNESCO office for the Pacific and Asia, ๖๖ แผนภูมิที่ ๒.๓ องคประกอบของคุณภาพชีวิต

องคประกอบของคุณภาพชวีิต

มาตรฐานความเปนอยู(รางกาย) (Physical Standard of Living)

จิ ต ใจหรื ออ ารมณ (Mental Emotional)

ความรูสึกนึกคิด (Spiritual)

อาหารหรือโภชนาการ สุขภาพ ที่อยูอาศัย /ส่ิงแวดลอม ส่ิงอํานวยความสะดวก โรงเรียน โรงพยาบาล การรักษาพยาบาล

ความพึงพอใจในงาน และความมัน่คง ความมั่นคงในวัยชรา ความรักความเปนเพื่อน นันทนาการหรือการใช เวลาวาง

มีอิสระตอความเชื่อ มีอิสระตอการปฏิบัติตามความเชื่อ

Page 77: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๒

แคมปเบล (Campbell,๑๙๗๒: ๕๑) ไดเสนอองคประกอบที่บงชี้ถึงคุณภาพชีวิตตองมี ๓ ดาน คือ ๑) องคประกอบดานกายภาพ ซ่ึงประกอบดวยปจจัยมลภาวะ ความหนาแนนของประชากรและสภาพที่อยูอาศัย ๒) ดานสังคมประกอบดวยปจจัยดานการศึกษา สุขภาพอนามัย ความมั่นคงของครอบครัว ๓) ดานจิตวิทยา ประกอบดวยปจจัยทางดานความพอใจ ความสําเร็จ ความผิดหวัง และความคับของใจในชีวิต

องคการสหประชาชาติ(United Nation :UN, ๒๕๔๕ ) ไดใหการรับรองขยายทศวรรษคนพิการแหงเอเชียและแปซิฟก จากเดิมป ๒๕๓๖-๒๕๔๕ ออกไปหนึ่งทศวรรษ คือ พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๕ รวมทั้งรับรอง “กรอบการปฏิบัติงานแหงสหัสวรรษจากทะเลสาบบิวา สูสังคมบูรณาการ ปลอดจากอุปสรรค และตั้งอยูบนฐานของสิทธิ สําหรับคนพิการ ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก โดยใหแตละประเทศนําไปขยายผล เพื่อสงเสริมใหบรรลุวัตถุประสงคของสังคมบูรณาการดังกลาว กรอบการปฏิบัติงาน ไดกําหนดหลักการและนโยบาย (สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ, ๒๕๔๖ : ๑๒-๑๔)

การดําเนินงานดานคนพิการประเทศไทย ที่ผานมาในอดีตนั้น นโยบายเริ่มตนจากการชวยเหลือเบื้องตนแกคนพิการ ในรูปแบบใหการสงเคราะหโดยสถาบันตางๆไดพัฒนากาวหนาไปสูการฟนฟูสมรรถภาพ และใหการศึกษาแกคนพิการ การเปลี่ยนแปลงดังกลาว ทําใหเกิดการผลักดันอยางตอเนื่องในนโยบายและการดําเนินงานดานคนพิการในหลายมิติในเวลาตอมา นับตั้งแตปคนพิการสากล ในป ๒๕๒๔ ไดใหความสําคัญกับแนวทางการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการเพิ่มมากขึ้น ตอมาสหประชาชาติไดประกาศ “แผนปฏิบัติการระดับโลกวาดวยเรื่องคนพิการ” เพื่อใชเปนคูมือปฏิบัติงานในทศวรรษคนพิการแหงสหประชาชาติ พ.ศ. ๒๕๒๖-๒๕๓๕ ในป ๒๔๓๔ ไดประกาศใชพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และไดมีการจัดทําแผนการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการแหงชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๔) ที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๔ จนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๙ พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ ในชวงนี้จึงมี การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ ที่มีความสําคัญและสอดคลองกันเปนอยางยิ่ง โดยมุงเนนการพัฒนาแบบองครวม ดวยการยึดคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา เพื่อใหคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสวนรวมในสังคมอยางยุติธรรม เสมอภาคและสรางสรรค รวมถึงเปนพลังแผนดินในการพัฒนาสังคมและเทศชาติ (คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ, ๒๕๔๖ : บทนํา)

๔.๓ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๔๙ สืบเนื่องดังกลาว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (๒๕๔๖ : ๑๕-๑๖)ได

จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔-๒๕๔๙ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) สงเสริมให คนพิการ ครอบครัวคนพิการ ชุมชนและสังคมมีเจตคติเชิงสรางสรรคตอคนพิการ และมีสวนรวมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ๒) เรงเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ โดยเฉพาะการจัดบริการฟนฟูสมรรถภาพ ส่ิงอํานวยความสะดวก เครื่องชวยความพิการ ส่ือและความชวยเหลือ

Page 78: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๓

ใหสอดคลองกับความตองการจําเปนของคนพิการแตละบุคคล ๓) สงเสริมการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งสนับสนุนใชผลการวิจัยเปนเครื่องมือกําหนดแนวทาง การดําเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ๔) สงเสริมสรางความเขมแข็งขององคกรของคนพิการ และองคกรเพื่อคนพิการ พรอมทั้งจัดระบบการสนับสนุนการประสานงานแบบเครือขายขององคกรภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวของกับคนพิการทั้งในดานการแพทย การศึกษา สังคมและการประกอบอาชีพ เพื่อใหเกิดการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแบบบูรณาการ และ๕) พัฒนากองทุนเพื่อสนับสนุนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในทุกดาน

จากแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ ไดกําหนดยุทธศาสตรดานการจัดระบบสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการ เพื่อสรางหลักประกันพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ดังนี้ (คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ, ๒๕๔๖ : ๑๘-๒๘)

๑ . ปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงาน ระบบการจัดสวัสดิการสังคมแกคนพิการใหมีประสิทธิภาพ นําไปสูการพึ่งตนเอง มีความมั่นคงในชีวิต โดยเนนครอบครัวและชุมชนเปนหลักในการดําเนินงาน

๒. จัดสวัสดิการดานรายไดใหแกคนพิการที่มีความพิการมาก และครอบครัวที่ตองดูแลคนพิการ ๓. สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีสวนรวมในการรับผิดชอบ การจัดบริการทางสังคม

และหลักประกันทางสังคมสําหรับคนพิการ และครอบครัว ๔. สรางเครือขายความรวมมือ ในการระดมทุนของรัฐ เอกชน และชุมชนใหครอบครัวคนพิการ

และคนพิการมีหลักประกันเขาถึงสวัสดิการสังคมตางๆอยางทั่วถึงและมีมาตรฐาน ๕. สงเสริมใหสถาบันครอบครัวมีความเขมแข็ง เปนสถาบันหลักในการดูแลและพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตคนพิการในครอบครัว ๖. สงเสริมการจัดตั้งกลุมอาสาสมัครและองคกรของคนพิการ เพื่อเฝาระวังติดตาม และ

สนับสนุนการคุมครองทางสังคมคนพิการ ๗. เพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนฟนฟูสมรรถภาพคนพิการใหเปนกลไกสําคัญในการฟนฟู

สมรรถภาพคนพิการ และจัดระบบสวัสดิการสังคมแกคนพิการและครอบครัว ๘. จัดตั้งและสนับสนุนองคกรเอกชนจัดบานพักสําหรับดูแลเด็กพิการหรือคนพิการที่ขาดหรือ

ไมมีผูปกครอง ๙. จัดใหมีกลไกและระบบที่ดําเนินงานดานใหคําปรึกษาแนะแนว และการสงตอไปสูการบริการ

แกคนพิการในทุกชวยของวัย ๑๐. ปฏิรูปและพัฒนาสถานสงเคราะหใหเปนกลไกในการพัฒนาศักยภาพของคนพิการทุกชวงวัย

รวมทั้งการดูแลคนพิการที่ไมมีผูอุปการะ ๑๑. จัดเงินประกันการมีงานทําใหคนพิการเปนรายบุคคล ๑๒. ใหดําเนินการเพื่อใหคนพิการทุกคนสามารถจดทะเบียนได

Page 79: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๔

แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จึงมีความสําคัญและสอดคลองกันเปนอยางยิ่ง โดยมุงเนนการพัฒนาแบบองครวมที่ยึดคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา เพื่อใหคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสวนรวมในสังคมอยางยุติธรรม เสมอภาคและสรางสรรค เปนพลังแผนดินในการพัฒนาสังคมและเทศชาติ (คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ, ๒๕๔๖ : คํานํา) นอกจากนี้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ยังไดจัดทํา (ราง) แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ ที่ไดกําหนดยุทธศาสตร ๔ ประการ ไดแก ๑) การบริหารจัดการระบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ๒) การสงเสริม สนับสนุนความเขมแข็งขององคกรดานคนพิการและเครือขายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ๓) เสริมสรางเจตคติที่ดีของคนพิการ ครอบครัว และสังคมที่มีตอความพิการและคนพิการ ๔) การสงเสริมการจัดสภาพแวดลอมที่ปราศจากอุปสรรคตอการมีสวนรวมของคนพิการ (คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ, ๒๕๔๙) ๕. การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ

๕.๑ การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน (Community Based Rehabilitation : CBR) ๕.๑.๑ ความหมายการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน องคการอนามัยโลก(WHO อางใน สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์, ๒๕๔๔ : ๒๖)ไดใหคําจํากัดความของคําวา การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน วาเปนยุทธวิธีของกระบวนการพัฒนาชุมชนในเรื่องการฟนฟูสมรรถภาพ โอกาส สิทธิ เสมอภาพและการเขารวมในสังคมของคนพิการ การฟนฟูสมรรถภาพ คนพิการโดยชุมชนสามารถดําเนินการไดจากความพยายามของคนพิการเอง โดยรวมกับครอบครัวและชุมชนในเรื่องการจัดบริการที่เหมาะสมใหแกคนพิการไมวาจะเปนดานสาธารณสุข การศึกษา การอาชีพ และบริการดานสังคม

องคการสหประชาชาติ (UN อางใน Maleolm Peat, ๑๙๙๗: ๓๐) ไดกลาววา การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการใหโอกาสเทาเทียมกัน และการทําใหคนพิการทุกคนสามารถอยูในชุมชนไดอยางปกติสุขสามารถดําเนินการไดโดยความพยายามรวมกันของคนพิการ ครอบครัว และชุมชน รวมกันบริการสาธารณสุข การศึกษา การอาชีพ และสังคมที่เหมาะสมและการพัฒนาจะยั่งยืนถาวรไดโดยปจจัย ๓ อยางรวมกัน คือ การเชื่อมโยงความตองการของคนพิการ ครอบครัว และชุมชน การตอบสนองภายในชุมชน และการสนับสนุนจากภายนอกชุมชน จึงถือไดวาเปนกลวิธีที่เหมาะสมที่ชวยในการแกปญหาใหคนพิการไดรับการฟนฟูสมรรถภาพใหมีการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตในแตละพื้นที่อยางทั่วถึง

องคการสหประชาชาติ ไดใหความหมายของการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนวา หมายถึง การเสริมสรางความสามารถของคนพิการใหมีสมรรถภาพดีขึ้น ทั้งทางรางกาย จิตใจและสติปญญา สามารถชวยเหลือตัวเองได มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถอยูในสังคมไดอยางมีความสุข โดย

Page 80: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๕

อาศัยวิธีทางการแพทย การศึกษา การอาชีพ และสังคม ความรวมมือของคนพิการ ครอบครัว ชุมชน ไดรับความชวยเหลือสนับสนุนจากองคกรของรัฐและเอกชน ที่มีการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน

ขนิษฐา เทวินทรภักติ (ม.ป.ป.) ใหความหมายของการฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชนไววา คือรูปแบบหรือวิธีการอยางหนึ่งที่ใชชุมชนเปนฐานในการปฏิบัติการใหบริการดานการฟนฟูสมรรถภาพ คนพิการที่ดําเนินการโดยชุมชนเอง ซ่ึงตองอาศัยการมีสวนรวมของประชาชนทุกฝายในชุมชนรวมมือ ประสานงาน และประสานทรัพยากร รวมทั้งการประสานใจระหวางครอบครัว คนพิการ เครือญาติ เพื่อนบาน ชุมชนที่อยูในชุมชนหรือนอกชุมชน เพื่อใชทรัพยากรตางๆเหลานี้เปนเครื่องมือการคนหาและพัฒนาทางเลือกที่เหมาะสมใหคนพิการในชุมชนไดรับโอกาสในการฟนฟูสมรรถภาพแทนการตองถูกแยกตัวออกจากครอบครัว ชุมชน เขาไปใชชีวิตรวมกับผูพิการอื่นๆในสถาบัน อังคณา สาลาด (๒๕๔๑: ๑๗) กลาววา การฟนฟูสมรรถภาพในชุมชน หมายถึง การเสริมสรางความสามารถของคนพิการใหมีสมรรถภาพดีขึ้น ทั้งทางรางกาย จิตใจ และสติปญญา สามารถชวยเหลือตัวเองได มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถอยูในสังคมไดอยางมีความสุขโดยอาศัยวิ ธีทางการแพทย การศึกษา การอาชีพ และความรวมมือของคนพิการ ครอบครัว ชุมชนไดรับการชวยเหลือสนับสนุนจากองคกรภาครัฐ และเอกชนซึ่งมีการฟนฟูสมรรถภาพในชุมชน ๕.๑.๒ แนวคิดเกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน

ดวงกมล พรชํานิ (ม.ป.ป.) กลาววาในชวงทศวรรษที่ ๑๙๖๐ เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการจากลักษณะของสถานสงเคราะหหรือศูนยฝกอาชีพเปนการฟนฟูสมรรถภาพโดยอาศัยชุมชน โดยใชชุมชนเปนฐานในการฟนฟูคนพิการครบวงจรทุกดาน เนนการเปดโอกาสใหคนพิการครอบครัวและชุมชนมีสวนรวมในการจัดโครงการ

อังคณา สาลาด (๒๕๔๑: ๔๕-๔๖) ไดกลาวถึงแนวคิดในการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวามีจุดเริ่มตนมาตั้งแตสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ และ ๒ เนื่องจากมีจํานวนคนพิการเกิดขึ้นมากมายภายหลังสงครามและมีการพัฒนาประเทศในภายหลังสงครามอยางรวดเร็ว ภายใตกระแสของการเปลี่ยนแปลงที่เนนเทคโนโลยีในการบําบัดฟนฟู และใชโรงพยาบาลสมัยใหมในแนวทางตะวันตกเปนสถาบันหลักในการบําบัดรักษาโรคตางๆ กลยุทธในการพัฒนาประเทศและพัฒนาระบบการรักษาในแนวใหมจึงมีขอจํากัดในประเทศกําลังพัฒนาหรือประเทศโลกที่ ๓ จํานวนมากประสบปญหาความไมเสมอภาคทางสังคมและการกระจายทรัพยากรไมทั่วถึง ซ่ึงคนพิการจํานวนมากอาศัยอยูในชนบท ยังขาดโอกาสที่จะไดรับการบําบัดและการฟนฟูสมรรถภาพที่ถูกตองและเทาเทียม จึงเกิดแนวคิดการพึ่งตนเอง และการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจตางๆ ของประเทศทั่วโลก กระแสดานแนวคิดที่เปนการพึ่งตนเอง และการมีสวนรวมของประชาชน เร่ิมมีผลกระทบและมีอิทธิพลกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายตางๆ โดยเฉพาะประเทศที่กําลังพัฒนาและผลกระทบโดยตรงตอการเกิดแนวคิดเกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยใชชุมชน

Page 81: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๖

เปนฐาน และเปาหมายในการดําเนินงาน โดยใชช่ือยอวา CBR หรือที่เรียกวา การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน

พูนพิศ อมาตยกุล (อางใน อังคณา สาลาด, ๒๕๔๑: ๔๙) ไดเสนอแนวคิดการใหบริการ พื้นฐานแกคนพิการในชุมชน โดยเนนใหมีการสํารวจจํานวนคนพิการในชุมชนเปนอันดับแรก จากนั้นคณะกรรมการของชุมชนจะตองมีบทบาทที่สําคัญในการรณรงคการสรางความเขาใจเกี่ยวกับคนพิการในชุมชน เพื่อใหชุมชนมีบทบาทรวมมือชวยเหลือคนพิการตามลําดับคือ

๑. ชุมชนยอมรับสภาพคนพิการ ยอมรับคนพิการเปนสมาชิกของชุมชน ๒. ชุมชนใหโอกาสคนพิการในการบําบัดรักษา แกไขความพิการตลอดจนการฟนฟูสมรรถภาพ ๓. ชุมชนมีสวนรวมในการใหความชวยเหลือในการศึกษา การเรียน การฝกชวยตนเองของ

คนพิการ ๔. ชุมชนมีสวนชวยสนับสนุนผลผลิตการทํางานของคนพิการ โดยสรุป การชวยเหลือคนพิการในชุมชน ควรดําเนินการโดยชุมชนเปนหลัก จากความหมาย

และแนวคิดในการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการในชุมชน แสดงใหเห็นถึงแนวคิดพื้นฐานในการใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการไดทั่วถึงตามความตองการของคนพิการ ตามจํานวนคนพิการที่เพิ่มมากขึ้น ซ่ึงกระจายอยูในชนบทที่หางไกล ขณะที่ประเทศกําลังพัฒนาควรมีการถายทอดความรูเกี่ยวกับความพิการอยางกวางขวาง และทักษะในดานการฟนฟูสมรรถภาพแกคนพิการ ครอบครัว และสมาชิกในชุมชน มีเจาหนาที่ที่เกี่ยวของใหการสนับสนุนในบริการดานตางๆ รวมถึงระบบการสงตอ แตส่ิงที่ตองคํานึงถึงจากแนวคิดที่กลาวมาแลวขางตนและความตองการของคนพิการอยางแทจริง เพื่อใหเกิดความรวมมือในการฟนฟูสมรรถภาพและตระหนักถึงความสําคัญในการพึ่งตนเอง ตามแนวคิดในการฟนฟูสมรรถภาพในชุมชน รวมกับครอบครัวและชุมชนเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน หมายถึง กลวิธีที่เกิดขึ้นภายในชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนในเรื่องเกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพ ความเทาเทียมในโอกาสและการอยูรวมกันในสังคมของคนพิการ โดยดําเนินการผานการทํางานรวมกันของคนพิการ ครอบครัวคนพิการและชุมชน เพื่อใหคนพิการเหลานั้นมีสุขภาพที่ดี ไดรับการศึกษา การอาชีพ และบริการทางสังคมที่เหมาะสม (ทวี เชื้อสุวรรณทวี, มปป.:๓) หลักการของการฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน (CBR) ประกอบดวย ๑) การมีสวนรวมของคนพิการและครอบครัว ๒) ความเทาเทียมกันทางโอกาส ๓) ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของชุมชน ๔) การใชภูมิปญญาในทองถ่ินและเพิ่มความรู ทักษะที่จําเปนในการฟนฟูสมรรถภาพ ผนวกในแผนหรือโครงสรางเดิมที่มีอยูแลว ๕) มีผูประสานงานที่ชัดเจน

องคการสหประชาชาติ ไดเสนอการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน โดยมีหลักการของการฟนฟูสรรถภาพโดยชุมชน ดังนี้ ๑) คนพิการมีศักยภาพ พัฒนาได ๒) การใชทรัพยากรทองถ่ิน บูรณาการ ฟนฟูคนพิการ ๓) การมีสวนรวมหลายฝาย (มยุรี ผิวสุวรรณ, มปป. : ๖)

Page 82: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๗

การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน( CBR) เปนวิธีการที่ดีและเหมาะสม สําหรับแกปญหาเรื่อง ความพิการในประเทศที่ยังไมสามารถจัดบริการใหแกคนพิการไดอยางทั่วถึง โดยเฉพาะคนพิการ สวนใหญที่อาศัยอยูในชนบทหางไกล (Training Materials for Community Based Rehabilitation Workers, CBR Development & Training Center, Solo, Indonesia. อางถึงใน ดวงกมล พรชํานิ, ๒๕๔๒: ๑๕) ๕.๑.๓ องคประกอบของการฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน (Community Based Rehabilitation) มีองคประกอบ ที่สําคัญ ดังนี้ (ดวงกมล พรชํานิ, ๒๕๔๒: ๑๔-๑๗) ๑. การสนับสนุนการดําเนินการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการทุกดาน (Multi Sectored Approach) ทั้งดานการแพทย การศึกษา การอาชีพและสังคม เพื่อใหคนพิการเกิดการพึ่งตนเอง ๒. การสนับสนุนการดําเนินการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการนั้น จําเปนอยางมากที่จะตองใหชุมชน ครู พระ เพื่อนบาน ญาติพี่นองคนพิการ หรือแมกระทั่งตัวคนพิการเอง มีสวนรวมในการดําเนินโครงการทุกขั้นตอน เร่ิมตั้งแตการวางแผน การดําเนินการ และการติดตามประเมินผล ๓. การใชทรัพยากรที่มีอยูแลวในชุมชนใหเกิดประโยชนสูงสุด (Mobilizing of the Existing Local Resources) ทรัพยากรที่มีอยูนี้ หมายถึง วัสดุพื้นบานที่นํามาปรับใชในการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ภูมิปญญาชาวบาน อาคารสถานที่ตางๆ ในชุมชน หนวยงานราชการที่เขาไปดําเนินการในพื้นที่อยูแลว ๔. การดําเนินการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนนี้ หนวยงานภายนอกไมวาจะเปนหนวยงานราชการหรือหนวยงานพัฒนาเอกชนอาจจะเปนผูเร่ิมนําแนวคิดไปใหชุมชนได แตมิใชเจาของโครงการเนื่องจากวาในที่สุดแลวโครงการนี้จะตองดําเนินการโดยชุมชนเอง หนวยงานภายนอกมีบทบาทเปนเพียงผูใหความรูสนับสนุนการอบรม ประสานงานและผูรับจากการสงตอคนพิการ ๕. การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนนี้เปนเรื่องที่ตองดําเนินการบนพื้นฐานของการใหโอกาส สิทธิ และความเสมอภาค (Opportunities, Rights and Equalization) แกคนพิการ ๖. การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน มิไดเปนโครงการที่ตองพึ่งผูเชี่ยวชาญแตละสาขา แตพึ่งผูมีประสบการณ (Non-Professionals) เชน ผูปกครอง คนพิการเอง หรือญาติคนพิการ หรือสนับสนุนใหสมาชิกในชุมชนมีความรูความสามารถในการดําเนินโครงการเอง

๕.๒ การดํารงชีวิตอิสระ (Independent Living : IL) การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการนั้นมีเปาหมายสําคัญคือ ใหคนพิการสามารถดํารงชีวิตอยูใน

สังคมไดเฉกเชนคนอื่นๆในสังคม การดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ จึงหมายถึง การที่คนพิการสามารถกําหนดแนวทางการดํารงชีวิตของตนเองไดอยางสมศักดิ์ศรีความเปนมนุษย โดยไมขึ้นอยูกับความพิการ

Page 83: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๘

วาจะรุนแรงมากนอยเพียงไร ทั้งนี้อาศัยบริการความชวยเหลือเทาที่จําเปน กรณีคนพิการรุนแรงจนไมสามารถชวยเหลือตัวเองได จําเปนตองไดรับบริการผูชวยเหลือสวนตัว

๕.๒.๑ ความเปนมาในการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการในประเทศไทย การดํารงชีวิตอิสระของคนพิการในประเทศไทย เร่ิมใน ป ๒๕๓๑ ภายหลังจากที่ผูนํา

คนพิการในประเทศไทย ไดมีโอกาสเดินทางไปศึกษาดูงานการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการยังประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศญี่ปุน จากนั้นในป ๒๕๓๕ จึงไดนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการตอที่ประชุมสมัชชาคนพิการแหงชาติคร้ังที่ ๕ ที่จังหวัดเชียงใหม เปนครั้งแรกในประเทศไทย ซ่ึงขณะนั้นมีผูไมเห็นดวยเปนจํานวนมากโดยเฉพาะในประเด็นการใหความสําคัญกับความตองการ และกําหนดการบริการของผูรับบริการ (Consumerism)

ในป ๒๕๔๔ องคการความรวมมือระหวางประเทศญี่ปุน (JICA) ไดบรรจุหลักสูตรการฝกทักษะการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการไวในหลักสูตรการฝกอบรมของศูนยพัฒนาคนพิการแหงเอเชียและ แปซิฟค (Asia-Pacific Center on Development of People with Disabilities หรือ APCD) และไดสนับสนุนโครงการเสริมสรางความเขมแข็งในชุมชน : การดํารงชีวิตอิสระของคนพิการในพื้นที่นํารอง ๓ จังหวัดไดแก นครปฐม ชลบุรี และ นนทบุรี ระยะเวลา ๓ ป (พ.ศ.๒๕๔๕ - ๒๕๔๗) ซ่ึงถือเปนสวนหนึ่งในการเตรียมการกอตั้งศูนยพัฒนาคนพิการแหงเอเชียและแปซิฟก เนื่องจากทั้ง ๓ จังหวัด มีความพรอมในดานบุคลากร และมีองคกรคนพิการที่เขมแข็งรองรับการทํางาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนไปไดในการนําแนวคิดในการดํารงชีวิตอิสระ มาปรับใชในประเทศไทย และเปนกรณีศึกษาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (กมลพรรณ พันพึ่ง, ๒๕๔๗ : ๔๓-๔๕)

๕.๒.๒ การดํารงชีวิตอิสระ : ศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการระดับรุนแรง การดํารงชีวิตอิสระ เปนคําที่กลาวถึงทั้งปรัชญา (Philosophy) แนวคิดการเคลื่อนไหว

ทางสังคม (Independent Living Movement) และการจัดใหบริการสําหรับคนพิการ (Independent Living Program) การดําเนินโครงการนํารองแสดงใหเห็นถึงศักยภาพในการใหบริการตามแนวคิดการดํารงชีวิตอิสระที่สามารถเสริมพลัง สรางความเชื่อมั่น (Empowerment) ใหแกคนพิการระดับรุนแรง จนสามารถจัดการเลือกและตัดสินใจในการดําเนินชีวิตของตนเอง คนพิการระดับรุนแรงสามารถเปลี่ยนแปลงความคิด เกิดการตระหนักถึงคุณคาของตนเอง มีความหวังในชีวิต ซ่ึงในการพัฒนาคนพิการที่ผานมาในประเทศไทยสวนใหญยังไมมีการจัดบริการสําหรับคนพิการที่มีระดับความพิการรุนแรงชัดเจน รวมทั้งมีกรอบความคิดของสังคมสวนใหญวา คนพิการระดับรุนแรงไมสามารถทํากิจกรรมที่เปนประโยชนได จําเปนตองพักผอน หรือรับบริการฟนฟูสมรรถภาพในบานหรือโรงพยาบาลเทานั้น

สมาชิกคณะทํางานโครงการฯ ซ่ึงเปนคนพิการที่มีความรุนแรงไดมีประสบการณในเรื่องการรับบริการของรัฐ และพยายามหาทางในการชวยเหลือเพื่อนที่พิการระดับรุนแรง และยังเห็นวาการดํารงชีวิตอิสระสามารถเปนคําตอบที่ดีในการใหบริการคนพิการระดับรุนแรง และกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงใน

Page 84: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๖๙

ชีวิตของคนพิการที่เขารวมในโครงการ แมวาการบริหารหรือการดําเนินการโครงการนํารองจะมีขอบกพรองในหลายสวนก็ตาม

นอกจากนี้ การดํารงชีวิตอิสระของคนพิการสามารถเปนบริการดานสังคม ที่เติมเต็มใหระบบ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประเทศไทยมีความครอบคลุมเปนระบบเชื่อมโยง ระหวางบริการการแพทย การศึกษา การอาชีพ และสังคม ไดเชนเดียวกับระบบที่มีการใหบริการในตางประเทศ (กมลพรรณ พันพึ่งและคณะ , ๒๕๔๗)

ตารางที่ ๒.๙ เปรียบเทียบแนวคิดระหวางการฟนฟูสมรรถภาพและการดํารงชีวิตอิสระของ คนพิการ

รายการ การฟนฟูสมรรถภาพ การดํารงชีวิตอิสระ นิยามปญหา การสูญเสียสมรรถภาพ ขาดทักษะอาชีพ

ไมสามารถปรับตัว ขาดความกระตือรือรน และความรวมมือในการทํากิจกรรม

การพึ่งพิงผูเชี่ยวชาญและผูอ่ืนในการบริการการสนับสนุนที่ไมเพียงพอ อุปสรรคทางกายภาพ อุปสรรคดานเศรษฐกิจ

จุดของปญหา อยูที่ตัวบุคคล อยูในสภาพแวดลอมและกระบวนการฟนฟูสมรรถภาพ

บทบาท ผูปวย ผูขอรับบริการ ผูบริโภค การแกปญหา การบําบัดรักษาของผูเชี่ยวชาญ การใหคําปรึกษาฉันทเพื่อน

กลุมชวยเหลือกันเอง การพิทักษสิทธิ ผูบริโภคควบคุมบริการ การขจัดอุปสรรคกายภาพ

ผูควบคุม ผูเชี่ยวชาญ ผูบริโภค ผลที่ตองการ ทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันใหไดเต็ม

ความสามารถ ทํางานได การปรับตัวดานจิตใจ มีความกระตือรือรนมากขึ้น การปฏิบัติตามแผนที่วางไวอยางสมบูรณ

การตัดสินใจดวยตนเอง สภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยผลผลิตทางเศรษฐกิจและสังคม

ที่มา : De Jong (๒๐๐๑ อางถึงใน กมลพรรณ พันพึ่ง, ๒๕๔๗ : ๙)

จะเห็นไดวาปรัชญาของแนวคิดการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ ตั้งอยูบนพื้นฐานของการปกปองคุมครองสิทธิมนุษยชนของผูที่อยูในฐานะผูใชบริการทางสวัสดิการสังคมและการสังคม

Page 85: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๐

สงเคราะห ซ่ึงตามหลักการนั้น “มนุษยทุกคนเปนผูที่มีคุณคาและมนุษยทุกคนควรจะไดรับความเปนอยูที่ดีและเหมาะสม” การเคารพในความเปนมนุษย และการคุมครองสิทธิมนุษยชนนั้น ถือเปนแนวความคิดดั้งเดิมของงานสังคมสงเคราะหอยูกอนแลว

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

-งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับสวัสดิการสังคม สุนันท โพธ์ิทอง. (๒๕๔๓ : บทคัดยอ) ไดศึกษาวาระแหงนโยบายสวัสดิการสังคมไทยในสหัสวรรษใหม : ทิศทางสําหรับกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ผลการศึกษาพบวา การพัฒนาสังคมเปนทางออกจากวิกฤติปลายสหัสวรรษที่ ๒ การใหความสําคัญกับทุนทางสังคม สงเสริมความสัมพันธของวิถีชีวิตไทย รวมถึงพลังของสถาบันครอบครัว ชุมชน และการพัฒนาตาขายนิรภัยทางสังคมใหแข็งแกรง และใชรองรับปญหาไดจริง มีความยืดหยุน ออนตัว ปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณทางสังคมที่มีความออนไหวสูง แกไขความไมเปนธรรมและลดชองวางของสังคมใหแคบอยางมีจิตสํานึก และแสดงออกชัดเจน จัดการทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงเปนทรัพยสินสวนกลางใหเปนปจจัยที่ยั่งยืนของชุมชน สวัสดิการสังคมจําเปนตองทบทวนและจัดเปนวาระแหงชาติในสหัสวรรษใหม โดยมีการจัดสวัสดิการสังคม สําหรับทุกคนในสังคม เนนเปาหมายใหตรงกับความตองการแทจริงของตน ออกกฎหมายสวัสดิการสังคม ที่มีความชัดเจน ในเรื่องการจัดสรรแบงปนทรัพยากร สูประชาชนอยางไรใหเปนธรรมทั่วถึง มีโครงสรางเงินเดือนและคาจางแรงงานที่สอดคลองกับความเปนจริงของสภาพเศรษฐกิจและสังคม จัดเก็บภาษีอยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรม จัดงบประมาณสําหรับบริการทางดานสวัสดิการสังคม ปฏิรูปการบริหารงานสวัสดิการสังคม กระจายอํานาจ สรางความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ใหกับสถาบันครอบครัว ชุมชนและทองถ่ินทั้งในภาคชนบทและเมือง รวมทั้งการสรางกระบวนการเรียนรูลงไปถึงระดับครัวเรือน ในเรื่องสวัสดิการสังคม ขอเสนอแนะสําหรับทิศทางใหมของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ที่ตองไมหลงทิศทางอีกตอไป ขอมูลทางดานสวัสดิการสังคมตองพัฒนาใหเปนที่ยอมรับอยางกวางขวางทุกวงการ สวัสดิการสังคมตองเปนเรื่องของทุกคนรัฐ และประชาชนจะตองมีความเชื่อมั่นที่แข็งแกรงที่จะสรางระบบสวัสดิการที่เปนธรรมจะตองสนับสนุนใหประชาชนรวมกันสรางสิ่งดีๆ พัฒนาศักยภาพ การพึ่งพาตนเองและภูมิปญญาทองถ่ิน สรางการมีสวนรวมแกปญหาของตนเองในระดับลางเสียกอน ทิศทางของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมในการดําเนินการประสานความรวมมือระหวางหนวยงานที่กระจายกันรับบทบาทงานสวัสดิการอยางแยกสวนในปจจุบัน การแสวงหาความเขาใจและความรวมมือในการปฏิบัติตอกันอยางเทาเทียม กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมในสหัสวรรษใหม ระบบราชการตองไมทุจริตจนทําใหสังคมมีปญหา

Page 86: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๑

ณรงค เพ็ชรประเสริฐ. (๒๕๔๔ : ๑๖-๔๐) ไดศึกษารูปแบบและความเปนไปไดในการจัดสวัสดิการโดยภาคชุมชน จาก ๑๑ กรณีศึกษา ไดแก นาหวา คลองเปรียะ น้ําขาว กลุมพระสุบิน รมเกลา ออมนอย-ออมใหญ โรงสีกุดชุม กลุมแมหญิง ชุมชนศีรษะอโศก กลุมครูมุกดาและกลุมผาปาขาว โดยจําแนกแบบแผนการจัดสวัสดิการแบงเปน ๓ ลักษณะ คือ ๑. เร่ิมตนจากกลุมออมทรัพยแลวไปสูการจัดสวัสดิการ แบบแผนนี้แพรหลายในภาคใต โดยมีเงื่อนไข คือ ระดับการครองชีพของประชาชนเพียงพอที่จะทําใหมีเงินออมไดอยางสม่ําเสมอ การมีผูนําที่กลาคิดกลาริเร่ิม ไมติดอยูกับแบบแผนที่เคยทํากันมา การทําใหเกิดผลตามเปาหมายและความตองการของสมาชิก ๒. เร่ิมตนจากหนวยผลิตแลวนําไปสูการจัดสวัสดิการ เกิดจากชุมชนมีรายไดไมเพียงพอจึงทําอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายไดใหแกสมาชิกในชุมชน เมื่อเกิดกิจกรรมการรวมกลุมที่แนนอนและมีรายไดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ก็สามารถจัดสรรกําไรไปจัดสวัสดิการใหสมาชิก เงื่อนไขแนวนี้ตองมีผูกลาคิดกลาริเร่ิมแลวตองมีปจจัยการผลิตและมีทักษะการผลิตในชุมชน เงื่อนไขตอมา คือ การมีตลาดรองรับ เร่ิมจากแนวทางนี้มีความซับซอนและยากลําบากกวาแนวทางออมทรัพย แตเกิดผลดีตอเศรษฐกิจโดยรวมมากกวา จุดออนของธุรกิจชุมชน คือ มาตรฐานของคุณภาพ ผลิตภัณฑและระบบตลาดที่ตองแขงกับธุรกิจเอกชน ๓. เร่ิมตนจากความเชื่อและอุดมการณแลวนําไปสูการจัดสวัสดิการ มีลักษณะเฉพาะที่เปน การสรางสรรคสังคมใหมตามอุดมคติ ความเชื่อและศรัทธา ซ่ึงมีผลตอการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนชีวิตการใชชีวิต การบริโภค การผลิตและการคา รวมไปถึงความคิด จิตสํานึกและความเชื่อเกี่ยวกับชีวิต อยางไรก็ตามแนวทางนี้ไมอาจประยุกตใชไดกับชุมชนทั่วไป องคประกอบที่สําคัญของการเกิดขึ้น คงอยูและพัฒนา คือ ๑) การนําความคิดจากองคกรหรือหนวยงานภายนอกมาใช ๒) จิตวิญญาณที่มีความเชื่อมั่น ความเสียสละ การทุมเทแรงกายแรงใจของผูนํา ๓) การบริหารจัดการที่เนนผลประโยชนของสมาชิกเปนแรงจูงใจใหเกิดการรวมมือรวมใจจากการศึกษา ผูวิจัยเห็นวาองคกรเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนไมสามารถจัดสวัสดิการใหแกชุมชนไดเพียงพอ อยางไรก็ตามการจัดสวัสดิการในภาคชุมชนมีความสําคัญตอชุมชนในแงของชุมชนพยายามชวยเหลือตนเองระดับหนึ่ง แตการจัดสวัสดิการที่จําเปนใหแกประชาชนยังตองเปนภาระหลักของรัฐอยางเลี่ยงไมได สําหรับความแตกตางระหวางสวัสดิการในชุมชนเมืองกับชนบท คือ ชุมชนเมืองไมเนนสวัสดิการรักษาพยาบาล อาจเปนเพราะคนสวนหนึ่งเปนลูกจางจึงไดสวัสดิการจากระบบประกันสังคม สวนชุมชนชนบทสวนใหญเปนภาคเกษตรกรรม ไมมีระบบประกันสังคมจึงตองการสวัสดิการสังคมการรักษาพยาบาล นอกจากนี้ยังเห็นวาองคกรชุมชนสามารถเปนองคประกอบหลักของการจัดสวัสดิการ กลาวคือ จําเปนตองอาศัยงบประมาณจากรัฐ แตในการจัดสวัสดิการสูชุมชน องคกรเหลานี้ทําหนาที่ไดดีกวาภาครัฐ เพราะใกลชิดชุมชนและเห็นวาบทบาทของรัฐในการใหความชวยเหลือโดยตรงแกประชาชนยังต่ําอยูมาก

Page 87: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๒

โดยสรุป สังคมไทยยังตองการสวัสดิการโดยรัฐอีกมาก ทั้งดานความครอบคลุมและระดับสวัสดิการ สวนสวัสดิการที่จัดโดยเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) และชุมชนเปนเพียงสวนเสริมหรือเปนความพยายามทามกลางความขาดแคลน วรวิทย เจริญเลิศและนภาพร อติวานิชยพงศ. (๒๕๔๖ : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องการพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสกลุมแรงงานในภาคอุตสาหกรรม วัตถุประสงคเพื่อศึกษาและจําแนกกลุมลูกจางในภาคอุตสาหกรรมตามลักษณะความจนและความดอยโอกาสดวยเกณฑทางเศรษฐกิจสังคม ศึกษาสถานภาพชีวิตของลูกจางในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งสาเหตุแหงความจนและความดอยโอกาสของกลุมลูกจางในภาคอุตสาหกรรมรวมถึงรูปแบบการชวยเหลือขององคกรพัฒนาเอกชนและองคการอื่นๆรวมไปถึงศึกษาปญหาในการเขาถึงระบบบริการของรัฐ โอกาส ชองทางและรูปแบบใน การใหความชวยเหลือดานสวัสดิการสังคมแกลูกจางในภาคอุตสาหกรรม และเพื่อพัฒนาขอมูลและขยายองคความรูเกี่ยวกับปญหาความยากจนและดอยโอกาสของลูกจางในภาคอุตสาหกรรมเพื่อใชเปนขอมลูในการวางแผนและบริการความชวยเหลือดานสวัสดิการสังคมแกลูกจางในภาคอุตสาหกรรมจากการศึกษาพบวาคนงานเหลานี้มีลักษณะรวม คือ เปนแรงงานที่หลุดออกจากภาคเกษตรมีครอบครัวขนาดใหญ มีฐานะยากจนเพราะขนาดปจจัยการผลิต จึงตองอพยพเขามาหางานทําในเขตเมือง กลายเปนแรงงานอพยพถาวร หลังจากการปรับโครงสรางภายหลังวิกฤต นายจางนําเอาระบบจางงานแบบยืดหยุนเขามาใช ทําใหลูกจางบางคนตองถูกเลิกจาง สูญเสียสถานภาพของการเปนลูกจางประจํา ซ่ึงมักประสบกับปญหาการถูกเลือกปฏิบัติในเรื่องของคาจางและสวัสดิการหลายคนขาดขอมูลความรูในเรื่องสิทธิและกฎหมายแรงงาน จึงไมสามารถเขาถึงสวัสดิการของรัฐ สามารถถูกเลิกจางไดงาย เพราะขาดการรวมกลุมหรือความชวยเหลือจากสหภาพแรงงานทําใหขาดอํานาจตอรองโดยส้ินเชิง ขอเสนอแนะจากงานวิจัยในการพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับกลุมลูกจางในภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากในปจจุบันรูปแบบการจางงานมีความหลากหลายขึ้น ทําใหกลุมลูกจางซึ่งประกอบดวยแรงงานหลายกลุมที่ไดรับสวัสดิการทางสังคมไมเทาเทียมกัน จึงควรพัฒนาระบบสวัสดิการที่มีอยูแลวใหตอบสนองตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของลูกจางใหดียิ่งขึ้น โดยคํานึงถึงประเด็นสําคัญคือ การสรางหลักประกันและความมั่นใจในชีวิตใหแกคนงานในดานตางๆ เชน หลักประกันดานสุขภาพ การประกันการวางงาน เปนตน ขัตติยา กรรณสูตและจตุรงค บุณยรัตนสุนทร.(๒๕๔๖ : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาส : กลุมนอกกําลังแรงงาน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพความยากจนและสาเหตุแหงปญหาของกลุมคนนอกกําลังแรงงาน รูปแบบในการแกปญหา ขอจํากัดในการเขาระบบบริการของรัฐ เพื่อเสนอนโยบายและแนวปฏิบัติในการใหความชวยเหลือที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อพัฒนาระบบขอมูลและขยายองคความรูเกี่ยวกับคนจนและคนดอยโอกาส ในกลุมนอกกําลังแรงงาน ผลการศึกษา พบวา กลุมนอกกําลังแรงงานมีภูมิหลังคลายกัน กลาวคือ

Page 88: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๓

เปนกลุมที่มีอาชีพไมมั่นคงแนนอน มีความสามารถในการเขาถึงปจจัยการผลิตไดคอนขางจํากัด การประกอบอาชีพสวนใหญเปนไปตามเงื่อนไขของแตละกลุม กลาวคือ คนยากจนที่อยูในชนบทยังคงตองใชทรัพยากรในทองถ่ิน เพื่อการประกอบอาชีพ สวนผูที่อยูในกรุงเทพมหานครและเมืองตองใชทรัพยากรในทองถ่ินเพื่อการประกอบอาชีพ สวนผูอยูในกรุงเทพมหานครและเมืองใหญ ตองใชเงินเพื่อการลงทุนเปนหลัก สวนใหญจึงประกอบอาชีพที่ใชทุนนอย แตใชแรงงานมาก เชน รับจางกอสราง คาขายเล็กๆนอยๆ สวนใหญจึงประกอบอาชีพที่ใชทุนนอย เปนตน ในดานการเขาถึงระบบสวัสดิการของรัฐ กลุมนอกกําลังแรงงานยังเขาถึงไดนอยมาก และไมไดรับความเสมอภาคในสิทธิสวัสดิการ โดยมีการเลือกปฏิบัติในการใหสวัสดิการรวมไปถึงขอจํากัดตางๆในการขอรับสวัสดิการ และความไมครอบคลุมและไมเพียงพอของสวัสดิการที่มีอยูในปจจุบัน วิทยากร เชียงกูล. (๒๕๔๖ : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสกลุมผูประกอบอาชีพอิสระรายยอย ผลการศึกษา พบวา กลุมผูประกอบอาชีพอิสระรายยอยแตละกลุมอาชีพ ในแตละทองที่ไดรับสวัสดิการทางสังคมของรัฐ เชน การศึกษา การสาธารณสุข โครงการฝกอบรมอาชีพ สวัสดิการเด็ก เงินสงเคราะห คนชรา เงินกู ฯลฯ ในระดับที่แตกตางออกไป คนที่พยายามไปทํางานเฉพาะตัวและใหครอบครัวยังอยูในชนบท ครอบครัวพอไดรับสวัสดิการดานการศึกษา การสาธารณสุข การสงเคราะหคนชรา ฯลฯ เทาที่รัฐพอจัดใหไดอยูบาง แตสวัสดิการเหลานั้นมักจะไมทั่วถึง ในสวนคนที่อพยพโยกยายไปอยูชุมชนแออัด ในที่ตางๆไมมั่นคงจะมีปญหาไมสามารถไดรับสวัสดิการจากรัฐได เพราะระเบียบราชการ จะใหสวัสดิการตามทะเบียนบาน แมแตสวัสดิการใหมๆที่รัฐพยายามใหบริการอยางกวางขวาง เชน รักษาโรค ๓๐ บาท รัฐก็จะออกบัตรใหตามทะเบียนบานเดิม ซ่ึง ผูประกอบอาชีพอิสระที่ยายไปทํางานในเมืองอื่น ไมสะดวกที่จะเดินทางไปเพื่อใชบริการ จึงจะเห็นไดวาการใหสวัสดิการของรัฐมักจะไปถึงกลุมคนประกอบอิสระรายยอย สวนที่จนที่สุดนอยกวากลุมที่จนปานกลาง เนื่องจากปญหาหลายอยาง ทั้งการศึกษาต่ําและความรูสึกต่ําตอย ไมกลา การขาดการรับรูขาวสาร ขาดเสนสายคนรูจัก ขอเสนอแนะ คือใหรัฐบาลปรับปรุงแหลงชุมชนแออัดใหอยูในสภาพที่ดีขึ้น โดยใหอยูอาศัยเดิมไดอยางมั่นคง และออกเอกสารสิทธิ์ใหกับผูอยูอาศัย รัฐควรชวยเหลือเร่ืองคาใชจายประกอบการศึกษา เชน เครื่องแตงกาย หนังสือ สมุด สําหรับบุตรหลานในรูปการชวยทั้งหมดหรือเงินกูดอกเบี้ยต่ํา ในสวนของโครงการบัตรรักษาพยาบาล ๓๐ บาท ควรเลือกใหประชาชนขึ้นทะเบียนกับโรงพยาบาลที่อยูใกลเคียงกับที่อยูปจจุบันไมวาจะมีทะเบียนบานที่อยูหรือไมก็ตาม นอกจากนี้รัฐควรจัดใหมีการจัดระบบประกันสังคม สําหรับผูประกอบอาชีพอิสระรายยอยดวย และรัฐควรใชแนวทางการเขาไปสนับสนุนและเรียนรูรวมกันที่จะชวยทําใหประชาชน ครอบครัว และชุมชน มีความเขมแข็ง ทั้งทางเศรษฐกิจ การรวมพลังกัน การมีความรู จิตสํานึก เพื่อที่จะชวยเหลือกันและกันในลักษณะรวมหมู ซ่ึงจะชวยใหสามารถแกไข หรือลดปญหาความยากจนไดดียิ่งขึ้น

Page 89: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๔

อภิญญา เวชยชัยและกิติพัฒน นนทปทมะดุลย. (๒๕๔๖: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาส : กลุมคนจนผูดอยโอกาสและกลุมเสี่ยงที่ประสบปญหาทางสังคม จากการศึกษา พบวา กลุมผูดอยโอกาสและผูประสบปญหาทางสังคม ซ่ึงเปนกลุมคนที่ถูกตีตราจากสังคม ดูถูกเหยียดหยาม รังเกียจ มีพลังในตนเองในการที่จะดิ้นรนเอาชีวิตรอดในวิถีทางที่หลากหลาย ซ่ึงเปนดานกลับของความไรพลังอํานาจ ไมสามารถมีสวนรวมในการพัฒนาใดๆได ปจจัยที่นําไปสู ความจนมีหลายสาเหตุ ไดแก ปจจัยพื้นฐาน ประกอบดวย ปจจัยทางเศรษฐกิจ ความลมเหลวของการผลิต ผลกระทบของการพัฒนา ฯลฯ ซ่ึงทําใหเกิดความยากจนขัดสน จนโอกาส ไรอํานาจ และขาดศักดิ์ศรีในตัวเองในที่สุดโดยมีความสัมพันธกับปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม เชน วัฒนธรรมอํานาจนิยมระบบชายเปนใหญๆ ซ่ึงปจจัยตางๆเหลานี้มีความซับซอนหลายมิติ ขอเสนอตอนโยบายหลักในการจัดสวัสดิการสําหรับคนจนผูดอยโอกาสและกลุมเสี่ยงที่ประสบปญหาทางสังคม ดังนี้ ๑. จะตองเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศนใหม เกี่ยวกับความยากจนและคนจน ทั้งนี้เพราะสถานการณปญหามีความสลับซับซอนจนไมสามารถที่จะใชความรูและกําหนดนโยบายเกี่ยวกับความยากจนของ คนทุกกลุมไดและจะตองปรับเปลี่ยนแนวคิดจากความยากจนเปนปญหาเชิงโครงสราง ๒. สงเสริมและผลักดันใหกลุมผูดอยโอกาสไดขยายพื้นที่ทางสังคม โดยขยายการมีสวนรวมของคนจนในกิจกรรมชุมชนและการตัดสินใจแกปญหาของกลุม ๓. สงเสริมใหชุมชนรวมกันจัดสวัสดิการชุมชน ใหแกผูยากลําบากโดยคนหาคุณคาศักยภาพและเปดโอกาสใหเขาถึงแหลงทุนในรูปแบบตางๆมากขึ้น ๔. สงเสริมใหชุมชนสามารถคนหาศักยภาพเดิม ดวยการฟนฟูขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญญาดั้งเดิม อันนําไปสูกระบวนการชวยเหลือเกื้อกูลกันเองที่ชุมชนมีอยูแลว ๕. สงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในกระบวนการกําหนดกฎเกณฑกล่ันกรองผูประสบปญหาที่ควรไดรับผลประโยชนจากชุมชน ควรใหชุมชนรวมกันคิดเกณฑช้ีวัดของกลุมบุคคลที่ประสบปญหาและ ควรไดรับการชวยเหลือเรงดวน เพื่อใหเกิดการดูแลกันและกันที่เปนมาตรฐาน กอนที่ความชวยเหลือของรัฐจะมาถึง ๖. สงเสริมใหมีกองทุนสวัสดิการชุมชน จะไดมีกําลังและปจจัยในการชวยเหลือกันและกัน ๗. ผลักดันใหประชาชนกลุมผูทุกขยากที่มีศักยภาพ ไดมีสวนรวมในการบริหาร จัดการเงินทุนสวนนี้ตามความเหมาะสม วราภรณ ศรีปาน. (๒๕๔๖ : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง ความพรอมในการจัดสวัสดิการคนพิการขององคการบริหารสวนตําบล : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดสมุทรสงคราม ผลการศึกษาพบวา ผูที่มีการศึกษาระดับอนุปริญญาขึ้นไปจะมีความรูในการจัดสวัสดิการอยูในระดับมาก สวนผูที่มีการศึกษาระดับประถมศึกษาจะมีความรูในการจัดสวัสดิการอยูในระดับนอย ซ่ึงผูที่มีระดับการศึกษาและอายุ

Page 90: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๕

ตางกันมีความคิดเห็นตอวิธีการใหบริการแกคนพิการที่แตกตางกัน คือ ผูที่มีอายุ ระหวาง ๕๐-๕๙ ป จะมีความคิดเห็นตอวิธีการใหบริการแกคนพิการทั้งดานการรับเรื่อง วิเคราะหปญหา การใหความชวยเหลือ และการติดตามผลในระดับมากที่สุด สวนดานการบริหารจัดการ พบวา ผูที่มีอายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงและระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่แตกตางกัน มีความสามารถในการบริหารจัดการดานบุคลากรตางกัน ซ่ึงผูศึกษาไดขอเสนอแนะวา ภาครัฐควรจัดอบรมใหความรูกับผูปฏิบัติงานในเรื่องการจัดสวัสดิการดานตางๆ แกคนพิการ เพื่อเตรียมความพรอมกอนที่จะมีการถายโอนใหองคการบริหารสวนตําบลดําเนินการ ณรงค เพ็ชรประเสริฐ. (๒๕๔๖ : บทคัดยอ) ไดสังเคราะห ภาพรวมการพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาส การศึกษานี้สรุปวา สาเหตุแหงความยากจนมีหลายปจจัย หลายมิติเมื่อพิจารณาแลวจะเห็นวาควรจัดกลุมปจจัยแหงความยากจน ๔ กลุม คือ ๑) ทาทีตอชีวิตเปนทัศนะในการมองตน มองโลก ความตั้งใจและความมุงมั่นที่จะเอาชนะอุปสรรค วามีมากนอยแคไหน ๒) การขาดปจจัยการผลิต ๓) ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองเปนประเด็นปญหาเชิงโครงสรางที่นําไปสูความสัมพันธไมเสมอภาค ๔) การขาดสวัสดิการ จะทําใหคนจนดํารงชีพดวยความลําบาก ในการแกปญหาคนจน งานวิจัยนี้พบวา คนจนจํานวนหนึ่งตกอยูในภาวะเสี่ยงที่จะดํารงชีพอยูไมได เชน คนชรา ผูติดเชื้อเอชไอวี ฯลฯ คนเหลานี้จําเปนตองไดรับการชวยเหลือดานสวัสดิการสังคม ในสวนคนจนกลุมอ่ืนๆที่นอกเหนือจากกลุมดังกลาว พบวา ส่ิงที่ตองการคือ อาชีพ แหลงทํามาหากิน การใหบุตรหลานไดมีโอกาสไดรับการศึกษา และระบบการเอื้ออาทรผอนภาระใหแกครอบครัวที่ตองดูแลพอแมที่แกชรา ดานนโยบายของรัฐบาลงานวิจัยนี้เห็นวา รัฐบาลไดเดินมาถูกทางแลว โดยเฉพาะดานปจจัยการผลิตและดานสวัสดิการ เห็นวามากกวารัฐบาลชุดกอนๆ แตทางดานทาทีตอชีวิต และดานความสัมพันธทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองยังทําไดนอย รูปธรรมที่กําลังดําเนินงานคือ การดําเนินงานแกไขปรับปรุงกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวกับคนจน ขอเสนอแนะการวิจัย เสนอวาการจัดสวัสดิการใหมีประสิทธิผลนั้น จําเปนจะใหความสําคัญกับสวัสดิการที่จําเปนใหกับคนยากไรกอน ซ่ึงในบางครั้งไมจําเปนตองเปนเรื่องของขวัญของวัตถุปจจัยเสมอไป สําหรับคนบางกลุม การจัดสวัสดิการดานสิทธิและการคุมครอง ก็เพียงพอแลว เชน แรงงานนอกระบบ แรงงานตางดาว กลุมชาติพันธุฯลฯ การจัดสวัสดิการควรจะเปนลักษณะของหุนสวนทางสังคม สวนหนึ่งเปนรัฐบาล อีกสวนหนึ่งเปนสวนที่ไมใชรัฐบาลมีตั้งแตธุรกิจ ชุมชนและครอบครัวเรียกวาใหมี และใชทุนทางสังคมเปนเครื่องมือสําคัญในสวนของชุมชนและครอบครัว ดวงกมล วิมลกิจ. (๒๕๔๗: บทคัดยอ) ไดศึกษาการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนยากจนและผูดอยโอกาส : ศึกษากรณีประชาชนที่อาศัยในชุมชนเคหะรมเกลา โซน ๘ กรุงเทพมหานคร โดยใชแบบสอบถามจํานวน ๑๔๓ รายและสัมภาษณเชิงลึก จํานวน ๙ ราย ผลการศึกษาพบวา คนยากจนและผูดอยโอกาสมีรายไดหลักมาจากอาชีพรับจางทั่วไป มีรายไดอยูในระดับพอดีกับรายจายหรือต่ํากวา

Page 91: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๖

สวนใหญมีหนี้สิน สัดสวนผูทํางานตอสมาชิกในครัวเรือนต่ํา สมาชิกในครัวเรือนมีอัตราการเปนผูปวยเร้ือรัง ผูพิการและผูวางงานสูง สวัสดิการที่ไดรับมากที่สุด คือดานสุขภาพ สวนใหญพึงพอใจกับสวัสดิการที่ไดรับและสวัสดิการที่ตองการมากที่สุด คือการประกอบอาชีพและที่อยูอาศัย ปญหาของการไดรับสวัสดิการที่สําคัญ คือ เงื่อนไขการจัดบริการไมเอื้อตอการไดรับบริการ การไมมีทะเบียนบานและไมทราบขอมูลขาวสารการใหบริการ รูปแบบการจัดสวัสดิการ สวนใหญดําเนินงานและใชงบประมาณภาครัฐ โดยสวัสดิการชุมชนที่ใชงบประมาณภาครัฐมีแนวโนมเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามการจัดสวัสดิการสังคมยังไมสามารถครอบคลุมกลุมคนยากจนและผูดอยโอกาสไดอยางทั่วถึง สวนปจจัยที่เกื้อหนุนใหไดรับสวัสดิการ คือ การมีนโยบายเรงดวนในการจัดสวัสดิการสังคม การประชาสัมพันธ รวมทั้งการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกใหชุมชนเขามามีบทบาทเพิ่มมากขึ้น ปญหาในการจัดสวัสดิการ คือ วิธีการปฏิบัติยังไมมีประสิทธิภาพหรือเกิดการทําลายฐานชุมชน และวัฒนธรรมชุมชนไมเอื้อตอการจัดสวัสดิการ ขอเสนอแนะจากการวิจัย ไดแก ภาครัฐควรจัดลําดับความสําคัญของสวัสดิการและสงเสริมใหชุมชนเขามามีสวนรวมโดยยึดฐานชุมชนเดิม การแกไขปญหาสิทธิสนับสนุนบทบาทองคกรพัฒนาเอกชน เสริมสรางธรรมาภิบาลในหนวยจัดสวัสดิการ ตลอดจนสรางวินัยและปรับพฤติกรรมผูรับบริการ

ศรีสวาง พั่ววงศแพทย. (๒๕๔๗ : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง กระบวนทัศนการใหบริการสวัสดิการสังคมเชิงคุณภาพดานเด็ก กับความมั่นคงของมนุษยไดกลาวถึง การใหบริการสวัสดิการสังคมเชิงคุณภาพดานเด็กวา ตองคํานึงถึงทั้งคุณภาพและมาตรฐานควบคูกันไป ซ่ึงจําเปนตองมีเกณฑที่วัดไดเปรียบเทียบเสมือนเปนเครื่องชี้วัดที่ตองชวยควบคุมกํากับดูแลใหเปนไปตามเกณฑนั้น บริการสวัสดิการสังคมเชิงคุณภาพดานเด็กตองตระหนักถึง ๑. ระบบสวัสดิการสังคมมิใชบริการแสวงหากําไรเชิงธุรกิจหรือผลประโยชนแอบแฝงใดๆและไมใชการผลิตสินคาหรือบริการที่มุงเอื้ออํานวยความสนุก สะดวกสบาย สนองกิเลสที่ไมมี “ความพอ” แตบริการจําเปนตองมีคุณภาพที่มีนัยใหผูใหบริการตองมีจิตสํานึก อาสาสมัครหรือจิตวิญญาณที่ทํางานดวยใจรักและมุงมั่นปรารถนาที่จะเห็นสังคมที่รมเย็นเปนสุขถวนหนา ๒. บริการสวัสดิการสังคมเชิงคุณภาพดานเด็กแลวก็ยิ่งเปนเรื่องที่ละเอียดออน จะตองใชเวลาพัฒนาไปใหทันการและพอเหมาะพอดีกับเงื่อนไข สถานการณตลอดจนบริบทตางๆในสังคมไทย ควรจะบริหารจัดการใหเกิดกระบวนการขับเคลื่อนทางสังคมที่คํานึงถึงประโยชนสูงสุด แกเด็กๆไดอยางเปนรูปธรรม และในขณะเดียวกันก็ตองไมขึงดวยกฎระเบียบมาตรฐานใหบริการเปนหลักเปนตัวตั้ง จนไมคํานึงถึงวาเรากําลังทํางานกับคน ไมใช ผลผลิต ตามโรงงานอุตสาหกรรม ที่มีเครื่องมือวัดมาตรฐานตางๆไดตามกําหนด และในขณะเดียวกันก็ตองไมละเลยทอดทิ้งหรือลวงละเมิดเด็กดวยรูปแบบวิธีการนานาประการเสียเอง

Page 92: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๗

๓. การผสมผสานบริการดานตางๆ ดวยบทบาทการมีสวนรวมจากตัวเด็ก พอแม ผูปกครอง ญาติพี่นอง ชุมชน สังคม ตลอดจนองคกรดานเด็กที่อาจเปนหนวยงานของรัฐหรือองคกรเอกชนสาธารณะประโยชนก็ตามเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง ๔. ระบบสวัสดิการเชิงคุณภาพดานเด็กเปนทุนทางสังคม ที่เร่ิมตนและสงผลสืบทอดใหแกกระบวนการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต จากวัยเด็ก สูวัยรุนวัยเรียน สูวัยผูใหญทํางานจนถึงวัยสูงอายุและกระบวนการพึ่งตนเองจะตองเร่ิมตนทีละเล็กทีละนอย ตั้งแตวัยเด็กไปจนถึงวัยสูงอายุที่ตองพึ่งตนเองใหยืนยาวที่สุดและไดรับการชวยเหลือที่เหมาะสมตามสภาพความจําเปนในบางชวงเวลา ทั้งนี้เพื่อให แตละชีวิตที่เกิดมานั้นไดอยูอยางมีคุณคา -งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับคุณภาพชีวิต

การศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิตในชวงที่ผานมา เร่ิมตนใหความสําคัญกับการศึกษาเชิงปริมาณ เชน ตัวช้ีวัดที่องคการอนามัยโลก (WHO) พัฒนาขึ้น การใชเครื่องชี้วัดทางสังคม ประเมินคุณภาพชีวิตวาบุคคลกลุมใดมีคุณภาพชีวิตสูง-ต่ําเทาใด อนึ่งยังมีการศึกษาเกี่ยวกับวาปจจัยอะไรบางที่กําหนดระดับของคุณภาพชีวิตของประชากรกลุมตางๆ การศึกษาลักษณะนี้กําหนดใหคุณภาพชีวิตเปนตัวแปรตามในงานวิจัย การศึกษาลักษณะนี้เปนสัดสวนคอนขางมาก เชน งานศึกษาของ Sirinan Kittsuksathit & How Jones (๒๕๔๕) งานศึกษาของสมพร ชัยอยุทธ (๒๕๔๒) ศึกษาความแตกตางของคุณลักษณะสวนบุคคล ที่ทําใหมีระดับคุณภาพชีวิตแตกตางกัน และการศึกษาของ รณยุทธ บุตรแสนคม (๒๕๔๐) ซ่ึงอธิบายคุณภาพชีวิตเปนคารอยละจากแตละขอ (Items) นอกจากนี้ยังมีการศึกษา โดยมองคุณภาพชีวิตเปน ตัวแปรอิสระนําไปสูการมีพฤติกรรม หรือตัดสินใจในเรื่องหนึ่งเรื่องใด เชน การตัดสินใจยายถ่ิน ไดแก งานการศึกษาของ วิภาวี ศรีเพียร (๒๕๔๔) ศึกษาคุณภาพชีวิตการทํางานกับการยายถ่ินระยะสั้น และ งานศึกษาของสํานักวิจัยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (๒๕๔๑) ศึกษาคุณภาพชีวิตของประชากรเขตเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีทั้งศึกษาคุณภาพชีวิตในประชากรเฉพาะกลุม เชน กลุมผูสูงอายุ กลุมแรงงานยายถ่ินไปทํางานตางประเทศ และกลุมสตรี

การศึกษาในลักษณะเชิงปริมาณ มักถูกมองวามีจุดออน คือ เอาสิ่ งที่นักวิชาการหรือบุคคลภายนอกคิดหรือพัฒนาขึ้นไปวัดกับบุคคลกลุมใดๆ ซ่ึงสิ่งที่วัดอาจไมตรงกับพื้นฐานความคิดของบุคคลกลุมที่ถูกศึกษาก็ได ประกอบกับตัวช้ีวัดของคุณภาพชีวิตบางสวนมีความเปนอัตวิสัย เชนเปนเรื่องของความพึงพอใจ ความมั่นคงของชีวิต จึงทําใหรูสึกวาการวัดในเชิงปริมาณยังมีจุดดอยในเรื่องความนาเชื่อถือ

ดังนั้นจึงนํามาสูการพัฒนาระเบียบวิธีวิจัยที่ใช เชิงคุณภาพ มีนักวิชาการที่เสนอใหศึกษาคุณภาพชีวิตจากมุมมองที่เปนภูมิปญญาชาวบาน (กาญจนา แกวเทพ, ๒๕๓๘) การศึกษาโดยใชวิธีวิจัยนี ้เชือ่วาแกจุดออนของการศึกษาเชิงปริมาณ โดยเฉพาะการศึกษาตัวช้ีวัดคุณภาพชีวิตที่มีลักษณะเปนอัตวิสัย

Page 93: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๘

ขณะเดียวกันทําใหความหมายของคุณภาพชีวิตของเฉพาะกลุมบุคคล เพราะบุคคลเหลานั้นควรจะเปนผูกําหนดความหมายจากการรับรูของเขาเอง ซ่ึงความนาเชื่อถือมากกวาเพราะเปนมุมมองหรือทัศนะคนใน ดังนั้นงานศึกษาในระยะหลังไดนําแนวคิดเชิงคุณภาพมาใชประกอบการศึกษาเชิงปริมาณ โดยเฉพาะความหมายของคําวา คุณภาพชีวิตหรือชีวิตเปนสุข หรือความผาสุกของชีวิต ซ่ึงเปนความหมายที่ชาวบานนิยาม ความสุขในชีวิต แลวจึงศึกษาวิจัยในเชิงปริมาณ เชน การศึกษาของ สุพัฒน สุระดนัย (๒๕๔๔) ใชการศึกษาขอมูลเชิงคุณภาพของครอบครัวในชนบทเพื่อคนหาเครื่องชี้วัดความผาสุก ซ่ึงมีความหมาย เทาเทียมกับ คําวาคุณภาพชีวิต แลวใชการศึกษาเชิงปริมาณดวยแบบสัมภาษณ เพื่อยืนยันผลการศึกษาในกลุมตัวอยางจํานวนมากเพื่อเพิ่มความนาเชื่อถือ เชนเดียวกับ การศึกษาของ พนิษฐา พานิชชีวะกุล (๒๕๓๗) ที่ใชการสนทนากลุมกับผูสูงอายุแลวใชแบบสัมภาษณรวมกับแบบประเมินสภาพรางกาย อารมณ ที่สะทอนถึงสถานะทางรางกายของผูสูงอายุ การศึกษาของ Sirinan Kittisuksathi & Huw Jones (๒๕๔๕) ศึกษาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนแรงงานที่ยายถ่ินไปทํางานตางประเทศ

ธันดนัย สิทธิศาสตร. (๒๕๓๘) ไดทําการศึกษาวิถีการดําเนินชีวิตของแรงงานกอสรางอีสานในกรุงเทพฯ และเกื้อ วงศบุญสิน (๒๕๓๘) ไดทําการศึกษาปญหาทางสังคมและสาธารณสุขของแรงงานกอสรางในเขตเทศบาลแหลมฉบัง พบวา ในแตละวันแรงงานกอสรางตองใชเวลาในการทํางานไมต่ํากวา ๑๐ ช่ัวโมง อาจกลาวไดวาการทํางานเปนเสี้ยวชีวิตที่มากกวากิจกรรมอื่นใดของชีวิตแรงงาน กรอส (Gross ๑๙๕๘ : ๓-๔) กลาววามนุษยใชเวลาโดยเฉลี่ยประมาณหนึ่งในสามของชีวิต ESCAP ไดกําหนดชีวิตการทํางานเปนสวนหนึ่งขององคประกอบคุณภาพชีวิต

-งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ

รัชติกร แสงศร. (๒๕๓๑ : บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง การศึกษาการฟนฟูเด็กพิการในชุมชน ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการฟนฟูเด็กพิการในชุมชน อําเภอบัวใหญ จังหวัดนครราชสีมา ในกลุมเกี่ยวของกับเด็กพิการ ๔ กลุม คือ ผูปกครองเด็กพิการ ผูปกครองเด็กปกติ เจาหนาที่สาธารณสุข และครู-อาจารยใหญ ในโรงเรียนชุมชนในเขตอําเภอบัวใหญ ผลการวิจัยพบวา ไมพบความแตกตางในดานความรูความเขาใจในการฟนฟูเด็กพิการและความคิดเห็นระหวางกลุมผูปกครองของเด็กปกติและเด็กพิการ สําหรับกลุมเจาหนาที่สาธารณสุข และกลุมครู-อาจารยนั้น พบความแตกตางในดานความรู ซ่ึงครู-อาจารยยังมีความเขาใจผิดหลายประการ โดยเฉพาะความรู ความเขาใจในการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ สวนความคิดเห็นไมพบความแตกตาง สําหรับความคิดเห็นเรื่องการเรียนรวม พบวา ความคิดเห็นวาเด็กพิการสามารถเรียนรวมในโรงเรียนปกติได โดยมีเงื่อนไขวา ควรมีการอบรมครูสอนเด็กพิการแตละประเภท พรอมทั้งอุปกรณในการสนับสนุนและการติดตามอยางตอเนื่อง กนิษฐา ถาวรกิจ. (๒๕๓๘ : บทคัดยอ) ไดวิจัยเร่ือง การศึกษาทัศนคติและการปฏิบัติดานการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณีเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานคนพิการ ในที่ทําการ

Page 94: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๗๙

ประชาสงเคราะหจังหวัด จํานวน ๗๕ จังหวัดผลการวิจัยพบวา เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานคนพิการมีความรู เขาใจ และทัศนคติที่ดีตอคนพิการ โดยมองวา การยอมรับการใหกําลังใจและการสนับสนุนจากครอบครัวคนพิการที่มีตอคนพิการ เปนการลดหรือบรรเทาปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นกับคนพิการ ในดานทัศนคติของเจาหนาที่ตอการปฏิบัติงานและการเตรียมงานดานการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน พบวา เจาหนาที่สวนใหญมีทัศนะตอความพรอมในการปฏิบัติงานในระดับดี แตยังมีเจาหนาที่สวนที่ยังไมแนใจในการทํางาน เห็นดวยวาควรมีการนําคําสั่งมาใชในการดําเนินงาน ในสวนปญหาและอุปสรรค พบปญหาสวนใหญในดานงบประมาณ บุคลากรและปญหาที่สําคัญ คือ การดําเนินงานไมตอเนื่องของกิจกรรมและทักษะของผูปฏิบัติงานไมเพียงพอในการปอนขอมูลขาวสารตางๆใหแกคนพิการ

ทวี เชื้อสุวรรณทวี. (๒๕๔๗ : บทคัดยอ) ไดศึกษาการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยใชชุมชนเปนฐานในอําเภอพุทธมณฑล : ความเปนไปไดจุดออนจุดแข็งของชุมชน ผลการวิจัยพบวา ๑) จุดแข็งคือ คณะทํางานการสรางเครือขายชวยเหลือผูพิการในชุมชนไดปฏิบัติงานชวยเหลือและเยี่ยมคนพิการในชุมชน จํานวน ๑๐๘ คน แบงเปนคนพิการ ๕ ประเภท คือ ปญญาออน แขนขาพิการ อัมพาตครึ่งทอน หูหนวก ตาบอด โรคจิต และความพิการซ้ําซอน การชวยเหลือดังกลาว สามารถจัดประเภทเปนการฟนฟูทางจิตใจ สังคม อาชีพและการแพทย รวมทั้งการชวยเหลือแบบ “สงเคราะห” ยกเวนการชวยเหลือฟนฟูทางการศึกษาเทานั้นที่คณะทํางานไมไดกระทํา และการชวยเหลือ สวนใหญเปนการใหกําลังใจคนพิการและครอบครัว คณะทํางานก็ยังมีความภาคภูมิใจที่ไดทํางานนี้ เห็นความสําเร็จในงานที่ทําใหคนพิการ ครอบครัวคนพิการมีชีวิตที่ดีขึ้น เห็นการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาทักษะในการทํางานของตนเองอยางตอเนื่อง ๒) จุดออน คือ การทํางานของคณะทํางานเริ่มคลอนแคลน เนื่องจากภายหลังสิ้นสุดเหลือคณะทํางานเพียง ๕ คน โดยใหเหตุผลวา ตองทํางานอื่นและประชาชนหรือหัวหนากลุมคณะทํางานมีทาทีวาจะขอถอนตัวออกจากกลุมและขอความชวยเหลืออยูหางๆ โดยใหเหตุผลสําคัญ คือ ตองไปดูแลงานอื่นที่หนวยงานตนสังกัดมอบหมาย รูสึกตองทํางานคนเดียว ขาดคนทํางานที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังพบวามีปญหาอุปสรรคในการทํางาน คือ ๑) มีความยากลําบากในการเดินทาง เนื่องจากความกันดาร ไมมีรถประจําทาง บางแหงรถไมสามารถเขาถึงได ประกอบกับขอจํากัดของคณะทํางานที่พิการขาเดินไมสะดวก ๒) ความสามารถทักษะ ความรูในการชวยเหลือคนพิการยังมีนอย ๓) ความตระหนัก การมีสวนรวมของสมาชิกในครอบครัวตอคนพิการยังมีนอย ทอดทิ้ง ไมใสใจ รูสึกเปนภาระของครอบครัว ๔) เชนเดียวกับความตระหนัก การมีสวนรวม ของฝายปกครองทองถ่ิน ผูนําชุมชนตลอดจนชาวบาน ตอคนพิการยังมีนอย ๕) ความไมสามารถเพิ่มจํานวนคนทํางานใหมากขึ้น จากจุดแข็งและจุดออน ทําใหมองเห็นความเปนไปไดในการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยใชชุมชนเปนฐานในอําเภอพุทธมณฑล แตทั้งนี้ตองเนนกระบวนการสรางการมีสวนรวมของชุมชน โดยใชมาตรการเชิงรุกในการแสวงหาบุคคล ทรัพยากร แหลงทุนในชุมชนเขามาชวยเหลือมากขึ้น การหาแหลงทุนจากภายนอกเขาสูชุมชน อันจะ

Page 95: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๐

ทําใหการชวยเหลือคนพิการกวา ๑๐๘ ครอบครัวของชุมชนนี้บรรลุเปาหมายอยางตอเนื่องและยั่งยืนตอไป

ทวี เชื้อสุวรรณทวี. (๒๕๔๗ : บทคัดยอ) ไดศึกษาการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนในเมืองไทย : สถานการณและการพัฒนา ผลการวิจัยพบวา ๑) โครงการวิจัยที่เรียกวา CBR มีเพียงสวนนอย ประมาณ ๓๓ % ของโครงการเทานั้นที่มีลักษณะเปน CBR ตามคํานิยามขององคการอนามัยโลก (WHO) กลาวคือ โครงการสวนใหญมีลักษณะเปนการใหบริการจากกลุมนักวิชาชีพในสถาบันตางๆ ไปสูชุมชนคนพิการ หรือคนในชุมชนยังมีสวนรวมนอยมาก และผูเขาโครงการสวนใหญยังขาดความรูและทักษะเกี่ยวกับ CBR และตองการพัฒนาองคความรูในดานนี้ ๒) สัดสวนและจํานวนของผูเขารวมโครงการเปนไปตามขอเสนอแนะขององคการอนามัยโลก (WHO) โดยเฉพาะมีสัดสวนของคนพิการจํานวนมาก ประมาณ ๒๐.๑ คนตอโครงการ แตคุณภาพของการเขารวมโครงการยังอยูในเกณฑต่ํา กลาวคือคนพิการที่เขารวมโครงการยังมีบทบาทเพียงเปนสมาชิกกลุม หรือเปนผูรับบริการ มากกวาผูจัดโครงการหรือเปนบุคคลสําคัญในการแสดงขอคิดเห็นและชี้นําโครงการ ๓) การขาดแคลนงบประมาณและแหลงทุนยังเปนปญหาสําคัญของ CBR งบประมาณสวนใหญมาจากภาคเอกชนมิใชมาจากการระดมทุนในชุมชน ทั้งนี้เนื่องจากคนในชุมชนสวนใหญยังยากจน ประกอบกับคนในชุมชนยังขาดทักษะในดานการระดมทุนและการแสวงหางบประมาณ แมวาผูที่ทํางาน CBR สวนใหญมีความตระหนักวาตองการจะชวยเหลือคนพิการ แตกลุมคนเหลานี้ไมสามารถจะทํางานไดอยางยั่งยืน ตอเนื่องได หากปราศจากสิ่งตอบแทนไมวาจะเปนคาจาง เงินตอบแทน ความกาวหนาไดอยางยั่งยืน ตอเนื่องได หากปราศจากสิ่งตอบแทนไมวาจะเปนคาจาง เงินตอบแทนความกาวหนาในการงาน ความมีหนามีตาในสังคมและการเมืองเปนตน ดังนั้นในเบื้องลึกแลว การทํางาน CBR มิใชการทํางานแบบอาสาสมัคร แตเปนการทํางานแบบผูมีสวนไดเสีย ๔) ประเภทของกิจกรรมและการใหบริการชวยเหลือของโครงการ CBR คอนขางจะครอบคลุมทั้งการชวยเหลือฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย (๗๘.๘ %) การสํารวจและจดทะเบียนคนพิการ (๗๒.๗ %) การฟนฟูทางดานสังคม (๖๖.๗ %) อาชีพ (๖๖.๗ %) และการใหกําลังใจแกคนพิการและครอบครัว (๕๔.๕ %) นอกจากนี้ ๖๙.๗ % ของโครงการมีการอบรมและฝกทักษะทางดานการชวยเหลือคนพิการแกผูปฏิบัติงานกอนการปฏิบัติงานจริง ๕) กลุมตัวอยางระบุจุดดีของ CBR ที่สําคัญกวา CBR สามารถกระตุนใหสังคมและชุมชนมีเจตคติทางบวกตอคนพิการ (๕๐.๐ %) เปนกลวิธีชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ (๓๐.๖ %) เขาใจปญหาของคนพิการและใหการชวยเหลือได (๒๒.๒ %) ตลอดจนเปนการสรางเครือขายชวยเหลือคนพิการภายในชุมชน (๑๙.๔ %) สวนจุดดอยหรือปญหาอุปสรรคของCBR ที่สําคัญ คือ ชุมชนสวนใหญยังขาดการตระหนักถึงคนพิการ (๖๑.๑ %) ขาดงบประมาณและแหลงทุน (๔๑.๗ %) มีความยากลําบากของการเดินทางในการใหบริการ (๒๕.๐ %) ขาดความตอเนื่องและการประเมินผลที่เปนระบบ (๑๖.๗ %) ขาดทักษะและความรูในการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ (๑๖.๑ %) ๖) โครงการ

Page 96: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๑

CBR ในเมืองไทยสามารถที่จะมีความยั่งยืนและตอเนื่องไปได แมวาจะมีจุดออนหรือปญหาอุปสรรคที่ตองแกไข ทั้งนี้มีปจจัยที่สําคัญ คือ CBR เปนวิธีการที่สอดคลองกับบริบทของสังคมและภูมิศาสตรของไทยอยู โดยเฉพาะปญหาการเขาไมถึงงานบริการฟนฟูสมรรถภาพของคนพิการในชนบท ดังนั้น CBR ยังจําเปนตอคนพิการอีกประการหนึ่ง คือ กระแสทางดานความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน การสรางโอกาส ความเทาเทียมทางสังคม หลักการกระจายอํานาจไปสูทองถ่ินและการมีสวนรวมของบุคคลเกี่ยวกับชีวิตและความเปนอยู ทั้งระดับสากล ระดับชาติ และทองถ่ินมีทิศทางที่ชัดเจนและความเขมขน แนวคิดทางดาน CBR จึงมีความสอดคลองกับกระแสดังกลาว

สถาพร มงคลศรีสวัสดิ์ สันติศักดิ์ มะเริงสิทธิ์และบัวบาน จันทราษี. (๒๕๔๗ : บทคัดยอ) ไดศึกษาการสรางความเขมแข็งใหคนพิการและชุมชน ในชุมชนชนบท จังหวัดรอยเอ็ด โดยใชกระบวนการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนริเร่ิม ผลการวิจัยเปน สองระยะ ระยะแรกเปนการสํารวจทั้ง เชิงปริมาณและคุณภาพในพื้นที่ ๔ ตําบลพบวาทุกครัวเรือนในพื้นที่พบผูพิการทั้งสิ้น ๑๖๐ คน ชุมชนมีอัตราชุกของความพิการตอหนึ่งพันประชากรสูงที่สุด คือตําบลดูนอย ๗.๘๓ และตําบลโคกลามมีอัตราชุกต่ําที่สุด คือ ๖.๐๓ ผูพิการสวนใหญอยูในวัยทํางานถึงรอยละ ๗๐ ที่เหลือเปนคนพิการสูงอายุและเด็กพิการ ในจํานวนผูพิการทั้งหมดมีเพียงรอยละ ๕๒.๕ เทานั้นที่ไดขึ้นทะเบียนคนพิการ สาเหตุของความพิการนั้นสวนใหญพิการโดยกําเนิดรอยละ ๔๓.๘ เกิดจากอุบัติเหตุรอยละ ๒๐.๖ พิการเนื่องจากการเจ็บปวยรอยละ ๒๐ ที่เหลือรอยละ ๑๕.๖ พิการเนื่องจากสาเหตุอ่ืนๆ ดานการศึกษาคนพิการสวนใหญ รอยละ ๖๘.๑ ไมไดรับการศึกษา มีเพียงสวนนอยเพียงรอยละ ๓๑.๙ เทานั้นที่ไดรับการศึกษาดานการประกอบอาชีพและมีรายไดเล้ียงตัวเอง สวนใหญรอยละ ๘๑.๘ ไมมีอาชีพหรือรายไดเล้ียงตนเอง สอดคลองกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ซ่ึงสรุปวาคนพิการสวนใหญถูกกีดกันออกจากสังคม ขาดโอกาสที่เทาเทียมในทุกๆดาน เนื่องจากสภาพความแตกตางทางดานรางกายและจิตใจ รวมทั้งเจตคติของชุมชนสวนใหญยังไมเอื้อตอการพัฒนาศักยภาพของคนพิการ ชุมชนยังขาดความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับความพิการ ในระยะที่สอง เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการมีสวนรวม ใน ๓ ตําบล โดยองคการบริหารสวนตําบลทั้งสามเขารวมโครงการดวย และไดบรรจุแผนการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนริเร่ิมเขาไวเปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาตําบล เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ตอเนื่องและยั่งยืน ปจจุบันกลุมพัฒนา คนพิการทั้งสามแหงไดดําเนินการรวมกลุมประกอบอาชีพ โดยการทําฟารมเพาะเห็ดนางรมและนางฟา เล้ียงไกพื้นเมือง เล้ียงปลา จําหนายผลิตผลการเกษตร รวมทั้งการเก็บเห็ดปาจําหนายในชุมชน คนพิการสวนหนึ่งไดมีการประสานสงตอเขารับบริการกายภาพบําบัดในโรงพยาบาลชุมชน คนพิการไดมีโอกาสเขารวมกิจกรรมทางสังคม และกิจกรรมชุมชนมากขึ้น สามารถพึ่งตนเองได มีสภาพความเปนอยูที่ดีขึ้นในระดับหนึ่ง และอยูรวมกับชุมชนดวยความสมานฉันท

Page 97: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๒

โดยสรุปรูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนไดริเร่ิมสรางกระบวนการเรียนรูใหเกิดขึ้นในชุมชนทั้งสามแหง ชุมชนมีความเขมแข็ง เกิดองคความรูที่ยั่งยืนในชุมชน เกิดกลุมพัฒนา คนพิการและครอบครัว เพื่อพัฒนาคนพิการอยางตอเนื่อง มีการระดมทรัพยากรในชุมชนมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และทายที่สุดคนพิการในชุมชนไดรับการพัฒนาศักยภาพใหสามารถพึ่งพาตนเองเปลี่ยนสภาพจากการเปนภาระกลายเปนพลังอยูรวมกับชุมชนอยางมีความสุขและความสมานฉันท

สุมล ศรีใจ. (๒๕๔๗ : บทคัดยอ) บทบาทของกลุมคนพิการและครอบครัวในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในชุมชน ผลการวิจัยพบวา ปญหาและความตองการของครอบครัวคนพิการมี ๔ ดาน คือ การศึกษา การรักษาพยาบาล การฝกอาชีพและการยอมรับคนพิการของสังคม ปญหาดานการศึกษา สวนใหญ คือ การขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับคนพิการของครอบครัวเปนอยางมาก ดาน การรักษาพยาบาลทุกครอบครัวประสบปญหาเหมือนกัน คือไมไดรับความสะดวกเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล เนื่องจากสถานบริการขาดบุคลากรที่มีความรูดานความพิการและขาดอุปกรณในการบําบัดรักษาที่เหมาะสมกับสภาพความพิการ ครอบครัวของคนพิการตองการความพรอมของสถานบริการรักษาคนพิการ เชน การมีบุคลากรและอุปกรณที่พอเพียง ดานการฝกอาชีพ โดยทั่วไปคนพิการมีปญหาเกี่ยวกับเงินลงทุนในการประกอบอาชีพ และขอจํากัดดานสภาพความพิการในการฝกอาชีพ คนพิการบางคนไมสามารถอยูรวมกับคนอื่นๆ ได จึงไมสามารถฝกอาชีพเพื่อเล้ียงดูตนเองได ในกรณีนี้ครอบครัวคนพิการจึงตองการอาชีพเสริมรายได เพื่อใหมีรายไดเพียงพอในการดูแลคนพิการ ดานการยอมรับคนพิการ โดยทั่วไปสังคมยอมรับคนพิการไมไดรังเกียจคนพิการ โดยมีการสนทนาพูดคุยกันตามปกติ ยกเวน คนพิการที่มีปญหาดานพฤติกรรมบางอยางและคนพิการที่รางกายไมสะอาดเทานั้น ไมสามารถอยูรวมกับคนอื่นได โดยทั่วไปสังคมตองการใหสถานบริการมีส่ิงอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการตามสภาพความพิการอยางพอเพียง

บทบาทของกลุมคนพิการและครอบครัวในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในชุมชนนั้น ครอบครัวสวนใหญดูแลและพัฒนาคนพิการที่เปนสมาชิกในครอบครัวของตนเองเปนอยางดี กลุมคนพิการดูแลและพัฒนาสมาชิกกลุม ตามความสามารถที่ตนเองมีอยู ครอบครัวของคนพิการประเภทเดียวกันจะใหความชวยเหลือตอกันมากกวาคนพิการตางประเภทกัน ถึงแมวาสมาชิกกลุมคนพิการและครอบครัวของคนพิการแตละครอบครัวใหความชวยเหลือกันในการดูแลและพัฒนาคนพิการ แตการชวยเหลือยังไมมากพอ จึงไมเกิดเปนเครือขายความชวยเหลือกันอยางจริงจัง ครอบครัวของคนพิการที่มีอาชีพรับราชการใหความรวมมือในการดูแลชวยเหลือคนพิการนอย แตสามารถดูแลและพัฒนาคนพิการในครอบครัวของตนเองไดเปนอยางดี

Page 98: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๓

-งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการดาํรงชีวิตอิสระ สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์. (๒๕๔๕ : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การดํารงชีวิตอิสระของคนพิการในประเทศไทย การทบทวน ๓ จังหวัดนํารอง ไดรับทุนวิจัยจาก JICA โดยจัดอบรมครั้งแรกใน ป ๒๕๔๕ มุงที่แนวคิดการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ คร้ังที่ ๒ ป ๒๕๔๖ เนนเรื่องการใหคําปรึกษาฉันทเพื่อน สวนการอบรมครั้งที่ ๓ จัดในป ๒๕๔๗ เนนที่การบริหารงานของศูนยการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ ขอคนพบที่นาเปนหวง คือ ๑) คนพิการภายหลังในระดับรุนแรงหลายคนอาจคิดฆาตัวตาย ๒) การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการยังไมมีคุณภาพดีพอใหคนพิการมีชีวิตอิสระได หลังการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับรุนแรงยังคงอยูในสภาวะพึ่งพิง ๓) คนพิการยังคงถูกทอดทิ้งใหดําเนินชีวิตตามยถากรรม ตองทนทุกขทรมานทั้งรางกายและจิตใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งคนพิการระดับรุนแรง ๔) คนพิการระดับรุนแรงสามารถดํารงชีวิตอิสระไดหากไดรับการฝกทักษะ และมีผูชวยเหลือสวนตัวตามความจําเปน ๕) การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการตองทําใหการใหบริการตางๆ มีการวางแผนและดําเนินการอยางเปนระบบ

กมลพรรณ พันพึ่ง. (๒๕๔๗ : บทคัดยอ) ไดศึกษา เร่ืองการดํารงชีวิตอิสระคนพิการเสนทางและกาวตอไปในอนาคต เปนงานวิจัยที่เปนสวนหนึ่งภายใตโครงการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน : การดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ ระยะเวลานํารอง ๓ ป มุงศึกษาแนวคิดและประยุกตใชแนวคิดสูการปฏิบัติจริงในสภาพแวดลอมของไทย ปแรกเนนที่กระบวนการเรียนรูของบุคคลในคณะทํางาน การพัฒนาองคกรโดยอาศัยการวิจัยเปนเครื่องมือ ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหา ประกอบแนวคิด วาทกรรมการพัฒนา การเสริมพลังกลุมผูดอยโอกาส และพัฒนาโดยชุมชนเปนฐาน การพิทักษสิทธิผูบริโภค ปที่ ๒ กลุมผูเกี่ยวของและจํานวนผูเขารวมโครงการ ประกอบดวย คนพิการ ๗๐ คน ครอบครัวของคนพิการ ๒๑๐ คน ผูชวยเหลือสวนตัวคนพิการ ๓๕ คน คณะทํางาน ๓๐ คน เจาหนาที่รัฐเอกชน และนักวิชาการ ๒๐๐ คน งานวิจัยปแรกพบวา คนพิการเห็นพองกันวา คนพิการดวยกันเขาใจกันเองไดดีที่สุด ทัศนคติเชิงลบที่สังคมมีตอเร่ืองความพิการ ระดับความรุนแรงของความพิการมีนัยยะสําคัญในการจัดบริการ การจัดบริการเพื่อการดํารงชีวิตอิสระเกี่ยวพันกับนโยบายสังคม เร่ืองระบบสวัสดิการของประเทศ คนพิการนําเรื่องความพิการเขาสูเร่ืองสิทธิมนุษยชน ขอเสนอเชิงนโยบาย โครงการนํารองฯ ไดพิสูจนใหเห็นศักยภาพของปรัชญา แนวคิด รวมถึงเทคนิควิธีการที่คนพิการสามารถสรางสรรคงานพัฒนาคนพิการดวยกันเองได สามารถทํางานเสริมเขากับบริการที่หนวยงานรัฐสามารถรับผิดชอบอยูเดิมได เพื่อใหการดําเนินงานของคนพิการตอเนื่องไปได จําตองอาศัยรัฐที่มีความเขาใจในปรัชญาแนวคิด เปดโอกาสใหกลุมคนพิการมีสวนรวมในกระบวนการกําหนดนโยบาย ตั้งแตขั้นเริ่มตนออกแบบจนกระทั่งการปฏิบัติการ และถึงเวลาที่รัฐใหความสนใจอยางจริงจังกับกลุมที่มีความพิการรุนแรง

Page 99: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๔

-งานวิจัยของตางประเทศ เบอหรแมนและเจอโรมีน. (Behrmann และ Jerome , ๒๐๐๒) กลาววามกีารใชเทคโนโลยีเปน

เครื่องมือของผูสอนและผูเรียนที่พกิารอยางแพรหลาย หลังจากสหรัฐอเมริกาไดออกพระราชบัญญัติ The Technology-Related Assistance for Individuals with Disabilities Act of ๑๙๘๘ (Tech Act) เพื่อใหมีการจัดและบริการเทคโนโลยีเพื่อชวยเหลือคนพิการ [Assistive Technology (AT)] ทุกคนและครอบครัวทั่วสหรัฐอเมรกิา กฎหมายสาธารณะ (Public Law ๑๐๕-๑๗) ช่ือ The Individuals with Disabilities Education Act (IDEA) ใชขอกฎหมายเดยีวกับ Tech Act และบังคับใหมีการพจิารณาใชเทคโนโลยีเพื่อชวยเหลือคนพกิาร (Assistive Technology) ในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ช่ือ Individualized Education Programs (IEPs) ซ่ึงเปนหลักสูตรสําหรับนักเรียนทีพ่ิการ และเนนใหมกีารเรียนตามหลักสูตรปกติสําหรับนกัเรียนทีพ่ิการทุกคน ประเทศสหรัฐอเมริกามีจํานวนของนักเรียนที่พิการเขาเรียนและสําเร็จการศึกษาในระดับสูงกวาชัน้มัธยมศึกษา (Post-secondary Education) เพิ่มขึ้น (Adelman &Vogel, ๑๙๙๒; Fairweather & Shaver, ๑๙๙๑; Henderson, ๑๙๙๒). ในป ๑๙๙๑ มจีํานวนผูเรียนเต็มเวลาปที่ ๑ เปนคนพิการ ๘.๘% เปรียบเทียบกบัป ๑๙๗๘ ซ่ึงมีเพียง ๒.๖ % นักเรยีนทีพ่ิการ ๘.๘% นี้พบวาเปนพวกความพิการทางการเรียนรูมากที่สุดโดยเพิ่มจาก ๑๕% เปน ๒๕ %ของผูเรียนพิการทั้งหมดในชวง ๑๓ ปที่ผานมา (Henderson, ๑๙๙๒)

ฮาเกนโพเลและคณะ. ( Hagen-Foley, Debra L.; Rosenthal, David A.; Thomas, Dale F. ,๒๐๐๕) ไดศึกษาการรับรูของผูบริโภคและเจาหนาที่เกี่ยวกับตัวเลือกในการบริโภคและการมีสวนรวมในโครงการฟนฟูโดยมีชุมชนเปนฐาน [Community-based Rehabilitation Programs (CRPs)] และความสัมพันธระหวางองคประกอบเหลานี้กับความพึงพอใจและผลลัพธ ผูบริโภครายงานวาตัวเลือกในการบริการและเปาหมายของการจางงานอยูในระดับปานกลางถึงสูง และผูที่มีความจํากัดในการทํางานมากมีความรูสึกวาตนเองไดรับการแจงขาวนอย การรับรูของผูบริโภคการไดรับทราบตัวเลือกมีความสัมพันธอยางชัดเจนความพึงพอใจในบริการที่ไดรับและรายไดที่มี ผูบริโภคที่บอกวาไดรับทราบตัวเลือกในการบริการมากจะใชบริการมากอยางชัดเจน มีความแตกตางอยางชัดเจนของการไดรับทราบตัวเลือกในการบริการขึ้นกับชนิดของความพิการ International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) เปนหนวยงานใหมขององคการอนามัยโลก เปนหนวยงานที่รับผิดชอบในการแบงกลุมการดํารงชีวิตอยูและสภาวะสุขภาพของคน โดยใชหนาที่ของรางกาย โครงสราง กิจกรรม และการมีสวนรวมเปนหลัก เกณฑที่ใชคือ รางกาย (Body) บุคคลแตละบุคคล (Individual) และมุมมองของสังคม (Social Perspective) เนื่องจากการทํางานของรางกายและความพิการของแตละบุคคลขึ้นกับบริบท ดังนั้น สภาวะแวดลอมจึงเปนองคประกอบสําคัญ ดวยเหตุนี้ ICF จึงทําให ICD ๑๐ (The International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems) สมบูรณขึ้น และมองสภาวะสุขภาพ นอกเหนือจากความตายและโรค

Page 100: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๕

ICF ระบุใหมีการจัดทําหรือจัดหาผลิตภัณฑ อุปกรณ เครื่องมือ และระบบเทคโนโลยีสําหรับ คนพิการ เพื่อใชในการปองกัน (Preventing) ชดเชย (Compensating) ควบคุม (Monitoring) บรรเทา (Relieving) หรือ แกความพิการ (Neutralizing) ซ่ึง การจัดทําหรือจัดหาผลิตภัณฑ อุปกรณ เครื่องมือ และระบบเทคโนโลยีเหลานี้จะตองคํานึงถึงสภาวะแวดลอมของคนพิการดวย หรืออาจจะตองออกแบบเฉพาะเพื่อใหเหมาะสมกับการฟนฟูปรับสมรรถภาพของคนพิการดวย ICF ระบุใหมีการบริการสนับสนุนทางสังคมทั่วๆไป (General Social Support Services) ดังนี้ จะตองจัดใหมีการชวยเหลือคนพิการในที่สาธารณะ เชน บริเวณศูนยการคา บริเวณที่อยูอาศัย ขนสง การชวยตนเอง และการดูแลผูอ่ืน เพื่อใหคนพิการใชบริการไดเหมือนคนปกติ (e๕๗๕๐) จะตองจัดใหมีหนวยงานที่ควบคุม ดูแลใหการจัดระบบขางตนดําเนินไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว (e๕๗๕๑) จะตองจัดใหมีการออกกฎหมาย ที่มีมาตรฐานครอบคลุมการจัดระบบขางตน (e๕๗๕๒) ICF ระบุใหมีการบริการความมั่นคงทางสังคม (Social Security Services) ดังนี้จะตองจัดใหมีการสนับสนุนทางดานรายได เชน การลดหยอนภาษี ใหเงินชวยเหลือ ชดเชย ใหเงินประกันอุบัติเหตุหรือการวางงาน (e๕๗๐๐) จะตองจัดใหมีหนวยงานที่ควบคุม ดูแลใหการจัดระบบขางตนดําเนินไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎีและการศึกษาเกี่ยวของกับสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง มีองคประกอบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ไดแก เกณฑการวัดความพิการระดับรุนแรง การคาดประมาณประชากรคนพิการระดับรุนแรงและแนวโนม และการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง และประมาณการคาใชจายตอคนของคนพิการ ประกอบดวยสวัสดิการ ๖ ดาน คือ สวัสดิการดานสุขภาพ ดานการศึกษา ดานรายไดและอาชีพ ดานนันทนาการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และความมั่นคงทางสังคม รวมถึงสวัสดิการที่เปนเงิน เชน เบี้ยยังชีพ คูปองการศึกษา กองทุนการกูยืมที่เปนกองทุนสวัสดิการเพื่อคนพิการ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยหนวยงานรัฐ และการฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ดวยการสนับสนุนทางสังคม และการเสริมสรางพลังอํานาจ รวมถึงการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการระดับรุนแรง สามารถสรุปเปนฐานคิดการวิจัย ดังแผนภูมิที่ ๒.๓และกรอบแนวคิดในการวิจัยสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ที่เปนกลไกการดําเนินงานของภาคสวนตางๆ ความจําเปนตอการจัดสวัสดิการ สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง รูปแบบสวัสดิการในสังคม และขอเสนอในการจัดสวัสดิการสังคม รวมถึงปจจัยเกื้อหนุนและขอจํากัด ที่มีผลตอการขับเคลื่อนเชิงนโยบายคุณภาพชีวิตคนพิการระดับรุนแรง ดังแผนภูมิที่ ๒.๔

Page 101: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๖

แผนภูมิท่ี ๒.๔ ฐานคิดในการวิจัยสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย

การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน

การดํารงชีวิตอิสระ (Independent Living)

การฟนฟูสมรรถภาพโดยหนวยงานของรัฐ

สุขภาพ

คนพิการ สถานการณคนพิการ ความชุกคนพิการ ประเภทคนพิการ

การพัฒนาคุณภาพชีวิต

การคาดการณคนพิการระดับรุนแรง

สุขภาพดี

การจัดสวัสดิการคนพิการระดับรุนแรง

ประเภทสวัสดิการสังคม ที่เปนเงิน เชน เบี้ยยังชีพ

ประเภทสวัสดิการสังคมอื่นๆ

การศึกษา อาชีพและรายได

นันทนาการ สิ่งอํานวย ความสะดวก

ความมั่นคงทางสังคม

การฟนฟูสมรรถภาพ

การสนับสนุนทางสังคม การเสริมสรางพลังอํานาจ

เกณฑแบงประเภทความพิการ

กองทุนสวัสดิการเพื่อคนพิการ

Page 102: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๗

แผนภูมิท่ี ๒.๕ กรอบแนวคิดการวิจัยสวสัดิการสังคมท่ีเหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

กลไกการดําเนิน งานของภาคสวน ตางๆ

ปจจัยเกื้อ หนุนและขอจํากัด

ประเภทของบริการสวัสดิการสังคม

การขับเคลื่อนนโยบาย

คุณภาพชีวิตคนพิการระดับรุนแรง

ความจําเปนตอการจัดสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรง

บริการการศึกษา

บริการสุขภาพอนามัย

บริการการมีอาชีพและรายได

บริการสิ่งอํานวยความสะดวก

บริการสังคม

บริการนันทนาการ

สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการะดับรุนแรง

รูปแบบสวัสดิการในสังคม

ขอเสนอในการจัดสวัสดิการสังคม

Page 103: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๘

บทที ่๓

วธิีดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้ใชวิธีวิทยาการวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) เพื่อนําไปสูการสรางนโยบาย ที่มีความเหมาะสมสอดคลองกับบริบทของปรากฏการณในสภาพจริง คณะผูวิจัยจึงใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เปนหลักที่สะทอนขอเท็จจริงไดครอบคลุม และสะทอนภาพความเปนจริงรวมกับขอมูลเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง การคาดประมาณการของคนพิการระดับความรุนแรงและแนวโนมในอนาคต และการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน

๑. วิธีการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ ไดมีการดําเนินการวิจยั มีรายละเอียดดังนี้ ๑ การศึกษาจากเอกสาร(Documentary Study) ไดแก หนังสือ บทความ ตํารา งานวิจัย วิทยานิพนธ และเอกสารที่เกี่ยวของ เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎี เพื่อกอรูปแนวคิด องคความรูการวิจัย และทําการศึกษารายงานผลการดําเนินงานของหนวยงานราชการและเอกสารขอมูลราชการ เพื่อทําใหทราบยุทธศาสตร แผนการดําเนินงาน จัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ๒. การศึกษาภาคสนาม (Field Study) วิธีการเก็บขอมูลประกอบดวย ๒.๑ การสัมภาษณโดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการสัมภาษณคนพิการและผูเกี่ยวของในเรื่องตนทุนและประมาณการใชจายในครอบครัวของคนพิการและความตองการในการจัดสวัสดิการในดานตางๆ ๒.๒ การสัมภาษณระดับลึก (In-depth Interview)จะทําการสัมภาษณเชิงลึกกับกลุมเปาหมายที่เปนนักวิชาการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน และคนพิการ ครอบครัวและชุมชน โดยใชแนวทางการสัมภาษณที่มีรางแนวคําถาม (Guide Line) และการสอบถามตนทุนและประมาณการใชจายและการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

๒.๓ การสนทนากลุม (Focus Group Discussions) กับผูเกี่ยวของ นักวิชาการ เจาหนาที่ คนพิการ ครอบครัว และชุมชน จํานวน ๓๐ คนและสังเกตแบบมีสวนรวมพรอมกับจัดเวทีการประชุมสัมมนากับผู เกี่ยวของอภิปรายและแลกเปลี่ยนระหวางคนพิการและผู เกี่ยวของ เพื่อใหขอเสนอแนะจากประสบการณจริง (Evidence Based) และสอบถามตนทุนและประมาณการใชจายและการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

Page 104: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๘๙

๒.๔ การจัดประชุมนําเสนอผลการศึกษา (Presentation Processing) เพื่อรับฟงความคิดเห็นผลการศึกษา และขอเสนอเชิงนโยบาย (Policy Meeting) ของผูเกี่ยวของในกรุงเทพมหานคร ผูเขารวมประชุม จํานวน ๑๐๐ คน จากภาคสวนตางๆที่เกี่ยวของกับคนพิการและกลุมเปาหมายที่สนใจ ๒. การคัดเลือกพื้นท่ีและประชากรที่ศึกษา รูปแบบและกรอบแนวคิดในการศึกษา มดีังตอไปนี ้ คณะผูวิจัยและคณะติดตามของสํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดประชุมเพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับการคัดเลือกกลุมตัวอยางในการศึกษา เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ซ่ึงมีขอจํากัดในเรื่องของระยะเวลา จึงทําใหคณะผูวิจัยไมสามารถศึกษาครอบคลุมทุกจังหวัดที่มีอยูได จึงเลือกดําเนินการเพียงภาคละ ๑ จังหวัดเปนจังหวัดที่มีลักษณะประชากร สภาพทางภูมิศาสตร สภาพเศรษฐกิจ สังคมใกลเคียงกัน และมีความหลากหลายของภาคสวนตางๆ ทั้งภาครัฐ ภาคองคกรเอกชน ภาคประชาชนและคนพิการที่แตกตางกัน ตามประเภท ตามลักษะ ความพิการ ซ่ึงลักษณะดังกลาวสามารถสะทอน ลักษณะภาพรวมของการเปนตัวแทนของการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมใหกับคนพิการระดับรุนแรงของประเทศไทยได เมื่อระบุจังหวัดที่จะดําเนินการวิจัยไดแลว จึงคัดเลือกตัวอยางในการสัมภาษณระดับลึก (In-depth Interview) และสนทนากลุม ตามภาคตางๆ

๒.๑ พื้นท่ีการวิจัย ภาคเหนือ : จังหวัดเชียงใหม ภาคกลาง : จังหวัดนครปฐม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : จังหวัดอุบลราชธานี ภาคใต : จังหวัดสงขลา กรุงเทพมหานคร

๒.๒ ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยมี ๓ กลุม ประกอบดวย

๑) คนพกิาร ประเภทตางๆ ๕ ประเภท ไดแก คนพิการทางการมองเห็น คนพิการทางการไดยนิหรือการสื่อความหมาย คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม และคนพกิารทางสติปญญาหรือการเรียนรู

๒) ผูบริหาร นักวิชาการ หรือเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับคนพิการ ๓) ครอบครัวและชุมชนของคนพิการ

Page 105: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๐

๒.๓ กลุมตัวอยางในการวิจัย เพื่อใหไดขอมูลระดับลึก เกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและตนทุนตอ

หนวยในการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับดํารงชีวิต ที่ใชวิธีการสัมภาษณแบบเจาะลึก สุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) และเลือกผูใหขอมูลหลัก (Key Informants) ที่ประกอบดวยกลุมตัวอยาง ๑) ตัวแทนคนพิการ ๕ ประเภท รวมจํานวน ๑๐๗ คน ครอบครัวและ ผูชวยเหลือ ๔๐ คน รวมสัมภาษณระดับลึก ๑๔๗ คน ๒) ผูบริหาร นักวิชาการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับคนพิการ ครอบครัวและชุมชนของคนพิการ จํานวน รวม ๙๒ คน รวมกลุมตัวอยางที่ใชในการเก็บขอมูลทั้งสิ้น ๒๓๙ คน

แผนภูมิที่ ๓.๑ การคัดเลือกพื้นที่และกลุมประชากรที่ศึกษา

คัดเลือกจังหวัดที่เปนพื้นที่การศึกษารายภาคและกรุงเทพมหานคร

จังหวัดตัวแทนที่เปนพื้นที่วิจัย ๕ จังหวัด

คัดเลือกกลุมตัวอยางคนพิการ ๕ ประเภท

คัดเลือกกลุมตัวอยางผูบริหาร นักวิชาการ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ ตัวแทนคนพิการ ครอบครัวและผูชวยเหลือ

การสัมภาษณระดับลึก คนพิการ ๑๔๗ คน

การสนทนากลุม หัวหนาหนวย นักวิชาการ และผูปฏิบัติ คนพิการ และครอบครัว ๑๘๓ คน

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

ประชุมขอเสนอเชิงนโยบาย( Policy Meeting) ๗๓ คน

คัดเลือกหนวยงาน องคกร สมาคมคนพิการที่เกี่ยวของ

Page 106: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๑

ขั้นตอนการสุมตัวอยาง ผูวิจัยไดสุมตัวอยางโดยใชวิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) ดังมี

ขั้นตอนการสุม ดังนี้ ๑) การสุมตัวอยางที่เปนตวัแทนการวจิัย คณะผูวิจัยไดสุมเลือกตัวอยางทั่วประเทศ โดยการเลือกตัวอยางที่เปนตัวแทนของประชากรใน

เมืองหลวงและภาคต าง ๆ ของประเทศไทย ไดแก กรุงเทพมหานคร ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

-กรุงเทพมหานคร สุมเลือกกลุมตัวอยางดังนี้ ๑) ตัวแทนคนพิการ ๕ ประเภท ๆ ละ ๕ คน ๒) ผูบริหาร นักวิชาการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับคนพิการ ๓) ผูชวยเหลือและผูปกครอง รวมจํานวนที่สัมภาษณระดับลึก ๒๘ คน สนทนากลุม ๓๒ คน

-ภาคเหนือ จังหวัดที่เปนตัวแทนการวิจัย คือ จังหวัดเชียงใหม สุมเลือกกลุมตัวอยางดังนี้ ๑) ตัวแทนคนพิการ ๕ ประเภท ๆ ละ ๕ คน ๒) ผูบริหาร นักวิชาการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับคนพิการ ๓) ผูชวยเหลือและผูปกครอง รวมจํานวนที่สัมภาษณระดับลึก ๒๙ คน สนทนากลุม ๓๙ คน

-ภาคกลาง จังหวัดที่เปนตัวแทนการวิจัย คือ จังหวัดนครปฐม สุมเลือกกลุมตัวอยางดังนี ้ ๑) ตัวแทนคนพิการ ๕ ประเภท ๆ ละ ๕ คน ๒) ผูบริหาร นักวิชาการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับคนพิการ ๓) ผูชวยเหลือและผูปกครอง รวมจํานวนที่สัมภาษณระดับลึก ๒๙ คน สนทนากลุม ๓๔ คน

-ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดที่เปนตัวแทนการวิจัย คือ จังหวัดอุบลราชธานี สุมเลือกกลุมตัวอยางดังนี้ ๑) ตัวแทนคนพิการ ๕ ประเภท ๆ ละ ๕ คน ๒) ผูบริหาร นักวิชาการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับคนพิการ ๓) ผูชวยเหลือและผูปกครอง รวมจํานวนที่สัมภาษณระดับลึก ๒๙ คน สนทนากลุม ๔๐ คน

-ภาคใต จังหวัดที่เปนตัวแทนการวิจัย คือ จังหวัดสงขลา สุมเลือกกลุมตัวอยางดังนี้ ๑) ตัวแทน คนพิการ ๕ ประเภท ๆ ละ ๕ คน ๒) ผูบริหาร นักวิชาการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับ คนพิการ ๓) ผูชวยเหลือและผูปกครอง รวมจํานวนที่สัมภาษณระดับลึก ๓๒ คน สนทนากลุม ๓๘ คน

สรุปการสุมตัวอยางดังตารางที่ ๓.๑

Page 107: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๒

ตารางที่ ๓.๑ ขนาดของกลุมตัวอยางผูใหขอมลูในพื้นที่

จังหวัด

ประเภท จํานวนผูสัมภาษณระดับลึก

จํานวนผูเขารวม

สนทนากลุม

จํานวนกลุมตัวอยาง

๑. กรุงเทพมหานคร ผูบริหาร นักวชิาการ

และเจาหนาทีป่ฏิบัติงาน

๑๓ คนพิการ ๕ ประเภท ๑๘ ครอบครัวและชุมชน ๒๘ ๓๒ ๘ ๒. จังหวัดเชยีงใหม ผูบริหาร นักวชิาการ

และเจาหนาทีป่ฏิบัติงาน ๒๔

คนพิการ ๕ ประเภท ๑๘ ครอบครัวและชุมชน ๒๙ ๓๙ ๑๐ ๓. จังหวดันครปฐม ผูบริหาร นักวชิาการ

และเจาหนาทีป่ฏิบัติงาน

๑๔ คนพิการ ๕ ประเภท ๒๓ ครอบครัวและชุมชน ๒๙ ๓๔ ๖ ๔. จังหวัดอุบลราชธานี

ผูบริหาร นักวชิาการ และเจาหนาทีป่ฏิบัติงาน

๒๒

คนพิการ ๕ ประเภท ๒๔ ครอบครัวและชุมชน ๒๙ ๔๐ ๔ ๕. จังหวัดสงขลา ผูบริหาร นักวชิาการ

และเจาหนาทีป่ฏิบัติงาน

๒๓ คนพิการ ๕ ประเภท ๒๔ ครอบครัวและชุมชน ๓๒ ๓๘ ๘

รวม ๕ จังหวัด ๑๔๗ ๑๘๓ ๒๓๙

Page 108: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๓

ทั้งนี้ในการดําเนินโครงการดังกลาว มีบุคลากรของสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ (สท.) ไดมีสวนรวมในกระบวนการดําเนินโครงการในทุกขั้นตอน เพื่อใหเกิดกระบวนการเรียนรูและพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่จะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการตอไปในอนาคต

กระบวนการวิจัยคร้ังนี้แบงเปน ๒ ระยะ ดังนี้

ระยะท่ี ๑ การศึกษาสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

ขั้นตอนที่ ๑ การสังเคราะหแนวคิดและทฤษฎี จากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการวิจัย

โดยการศึกษาภูมิหลังเกี่ยวกับความหมายและประเภทของคนพิการ แนวคิดทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับสวัสดิการ คุณภาพชีวิต และการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ เพื่อวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลเปนฐานคิดกําหนดประเด็นสําหรับการเก็บขอมูลการวิจัยตอไป

ขั้นตอนที่ ๒ การศึกษาการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง โดยเก็บรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพจากกลุมตัวอยาง ไดแก คนพิการประเภทตาง ๆ นักวิชาการและเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานดานคนพิการ ครอบครัวและชุมชนของคนพิการ โดยมีรายละเอียดการใชระเบียบวิธีการวิจัย ดังตอไปนี้

๑. การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) คนพิการประเภทตาง ๆ นักวิชาการและเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานดานการจัดสวัสดิการ ครอบครัวและชุมชนของคนพิการ ใน ๕ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน ประเด็นที่ ๒ ความจําเปนในการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรง ประเด็นที่ ๓ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในสังคมไทย ประเด็นที ่ ๔ ขอเสนอการจัดสวัสดกิารสังคมใหกับคนพิการระดบัรุนแรง

๒. การสนทนากลุม (Focus Group Discussions) การสังเกตแบบมีสวนรวม และการจัดประชุมสัมมนาเสนอขอคิดเห็นเกี่ยวกับสวัสดิการคนพิการระดับรุนแรง ประเภทตาง ๆ ประกอบดวยนักวิชาการและเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานดานการจัดสวัสดิการ ครอบครัวและชุมชนของคนพิการ ใน ๕ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน

Page 109: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๔

ประเด็นที่ ๒ ความจําเปนในการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรง ประเด็นที่ ๓ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในสังคมไทย ประเด็นที ่๔ ขอเสนอการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดบัรุนแรง

๓. การจัดประชุมสัมมนา เพื่อศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายและแนวทางการปฏิบัติเก่ียวกับสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรนุแรง

เปนการศึกษาขอเสนอเชิงนโยบาย (Policy Meeting) ในขั้นตอนนี้คณะผูวิจัยดําเนินการเสนอผลการวิจัย ตอที่ประชุมวิชาการ เพื่อรับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะดานนโยบายจากผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญ และผูที่มีบทบาทดานการจัดสวัสดิการสําหรับคนพิการและทุกคนในสังคม พรอมทั้งขอใหที่ประชุมเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกในประเทศไทยตอไป

ระยะท่ี ๒ การวิเคราะห/สังเคราะห เนื้อหาท่ีเก่ียวกับเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรงการ

คาดประมาณการของคนพิการระดับรุนแรงและแนวโนมในอนาคต รวมถึงการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) จากขอมูลที่ไดในระยะที่ ๑ และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวของ เพื่อสรุปผลการศึกษา ใน ๔ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน ประเด็นที่ ๒ ความจําเปนในการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรง ประเด็นที่ ๓ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในสังคมไทย ประเด็นที ่๔ ขอเสนอการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดบัรุนแรง

การดําเนินการวิจัยตามขั้นตอน ในแตละระยะสรุปดัง แผนภูมิที่ ๓. ๒

Page 110: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๕

แผนภูมิที่ ๓.๒ แสดงการดําเนินการวิจัยตามขั้นตอน

ระยะที่ ๑ การศึกษาสวสัดกิารทีเ่หมาะสมสําหรับคนพกิารระดับรุนแรง

สังเคราะห ทฤษฎี - แนวคิด

ศึกษาความจําเปน สภาพการไดรับ ความตองการในการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการและการฟนฟสูมรรถภาพคนพิการ

ผล : การจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการบนฐานของความตองการและความจาํเปนในการดาํรงชีวิตของคนพิการในสังคม

: ตนทุนและคาใชจายในการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการ

ศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายและแนวทางการปฏิบัติเกีย่วกับ การจัดสวัสดกิารที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

ผล : การจัดสวัสดิการสําหรับคนพิการระดับรุนแรงพรอมขอเสนอเชิงนโยบายและแนวทางการปฏิบตัิในประเทศไทย

ระดมความคิดเห็นจากผูทรงคุณวุฒิ ผูเช่ียวชาญ และผูที่มีบทบาทดานการจัดสวัสดิการสําหรับคนพกิารและทุกคนในสงัคม

เพ่ิมเติมและปรับปรุง

ระยะที่ ๒ การวิเคราะห/สังเคราะห เนื้อหาที่เ ก่ียวกับการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

Page 111: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๖

๓. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

เคร่ืองมือท่ีใช เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนีป้ระกอบดวยการสัมภาษณระดับลึก (In-dept Interview) การสนทนากลุม (Focus Group Discussions) การจัดประชมุสัมมนา (Policy Meeting) การสังเกตแบบไมมีสวนรวม และแบบสอบถาม (Questionnaires)

แบบสัมภาษณ แบบสัมภาษณในการวิจัยเปนแบบกึ่งมีโครงสราง (Semi-structured Interview) ซ่ึงสรางขึ้นโดยอิงขอมูลจากการสังเคราะหแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ คือ แบบสัมภาษณสําหรับคนพิการระดับรุนแรงประเภทตาง ๆ นักวิชาการและเจ าหนาที ่ที่ปฏิบัติงานดานการการจัดสวัสดิการ ครอบครัวและชุมชนของคนพิการระดับรุนแรง ประเด็นที่ ๑ การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน ประเด็นที่ ๒ ความจําเปนในการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรง ประเด็นที่ ๓ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในสังคมไทย ประเด็นที่ ๔ ขอเสนอการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรง

แบบสนทนากลุม สรางขึ้นจากการสังเคราะหแนวคิดและทฤษฎี และวัตถุประสงคและฐานคิดการวิจัย ตามแนวทางการสัมภาษณ ๔ ประเด็น พรอมกับขอเสนอการจัดสวัสดิการสังคม

แบบสอบถาม ไดจากการพัฒนาแนวคําถามเชิงคุณภาพ ที่อิงขอมูลจากวัตถุประสงคและฐานคิดในการวิจัย ประกอบดวย รายได คาใชจาย ความพอเพียงของรายได และความตองการสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง

๔. การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

คณะผูวิจัยรางแนวคําถามของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวยแนวคําถามการสัมภาษณระดับลึก การสนทนากลุมพรอมกับประเด็นหัวขอการจัดเวทีแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย แบบสอบถามประกอบดวยตนทุนและประมาณคาใชจาย และความตองการสวัสดิการของผูการ ทั้งหมด ๓ ชุด

Page 112: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๗

๕. การตรวจสอบขอมูล การตรวจสอบขอมูลเชิงคณุภาพ คณะผูวิจัยไดดําเนินการตรวจสอบขอมูล เพื่อใหเกิดความเชื่อถือไดของขอมูล ความสมบูรณของขอมูลดวยการใชการตรวจสอบขอมูลแบบสามเสา (Triangulation) ทั้งนี้คณะผูวิจัยเปนผูดําเนินการสนทนากลุมดวยตนเอง โดยนําขอมูลที่ไดจากการสนทนากลุม นําไปตรวจสอบขอมูลจากแหลงขอมูลบุคคลที่ตางกัน เพื่อตรวจสอบความสอดคลองความขัดแยงกันของขอมูลและเพิ่มเติมบทที่ขาดหายไปจนกระทั่งขอมูลที่ไดมานั้นอิ่มตัว คือ ไมมีขอมูลที่ตางไปจากการเก็บขอมูลที่ไดมา

การตรวจสอบขอมูลเชิงปริมาณ คณะผูวิจัยดําเนินการตรวจสอบขอมูลเชิงปริมาณ โดยเก็บขอมูลเพื่อสนับสนุนขอมูล

เชิงคุณภาพ ในเรื่องของตนทุนและประมาณการคาใชจายของคนพิการใหไดขอมูลที่ครอบคลุมและรัดกุมยิ่งขึ้น ตามจํานวนผูใหขอมูลที่สัมภาษณระดับลึก

๖. วิธีการเก็บขอมูล

วิธีการเก็บขอมูล มีดังนี้ ๑ คณะผูวิจัยประสานกับสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ (สท.) และทําหนังสือถึงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดและหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดเตรียมพื้นที่ สถานที่จัดเก็บขอมูล และประสานคัดเลือกกลุมตัวอยางผูใหขอมูลตามที่กําหนดในแนวทางการวิจัย

๒. การจัดเก็บขอมูล คณะผูวิจัยไดประสานงานกับผูเกี่ยวของในพื้นที่เปาหมาย ๓. คณะผูวิจัยเก็บรวบรวมและตรวจสอบความสมบูรณครบถวนจากการสัมภาษณระดับลึก

การสนทนากลุม และการจัดเวทีความคิดเห็น เก็บรวบรวมขอมูลที่ได โดยการบันทึกเทปและจดบันทึกขอมูล

๗. การรวบรวมขอมูล คณะผูวิจัยเก็บรวมรวมขอมูล จากการสัมภาษณระดับลึก การสนทนากลุม และแบบสอบถาม

ดวยตนเอง ตามแนวคําถาม การบันทึกเทป รวบรวมเทป ถอดเทป และนํามาวิเคราะห ๑. นําผลการศึกษาและวิเคราะหที่ไดจากการสํารวจและสัมภาษณระดับลึก มาสรางแบบบันทึกการสนทนากลุม และรวบรวมขอมูล ๒. นําผลการศึกษาและวิเคราะหที่ไดจากการระดมความคิดเฉพาะเรื่อง มากําหนดประเด็นการสัมมนาและสรุปผลจากการสัมมนา

Page 113: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๘

๓..รวบรวมขอมูลและสรุปผล

๘. การวิเคราะหขอมูล

๘.๑ การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ คณะผูวิจัยไดวิเคราะหเอกสารที่เกี่ยวของกับเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง และวิเคราะหการคาดประมาณการของคนพิการระดับรุนแรงและแนวโนมในอนาคต เปนขอมูลและสถิติเพื่อสนับสนุนการจัดสวัสดิการสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน

๘.๒ การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ หลังจากการสัมภาษณระดับลึก โดยใชแบบสัมภาษณกึ่งมีโครงสรางกับกลุมตัวอยาง และการสนทนากลุมตามประเด็นที่ไดอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางคนพิการและผูเกี่ยวของ คณะผูวิจัยทําการถอดบทสัมภาษณและบทสนทนาจากแถบบันทึกเสียง และการบันทึกขอมูลในภาคสนาม (Field Note) โดยละเอียด วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ที่ไดจากการสัมภาษณระดับลึกและการสนทนากลุม โดยการจัดกลุมตามแนวคิด จัดประเด็น (Categorizing) และขอเสนอเชิงทฤษฎีทั้งนี้การวิเคราะหขอมูล ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป และรายงานผลการศึกษา ๘.๓ การสังเคราะหขอมูล คณะผูวิจัยทําการสังเคราะหขอมูลที่ไดจากการศึกษาวิจัยในระยะที่ ๑ รวมกับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ และจัดทํารายงานผลการวิจัยตามวัตถุประสงคที่ไดกําหนดไว เพื่อนําเสนอตอผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญ และผูที่มีบทบาทดานการจัดสวัสดิการสังคมคนพิการระดับรุนแรง ๙. การเขียนรายงานการวิจัย คณะผูวจิัยสรุปรายงานวจิัย ประกอบดวย บทที่ ๑ บทนํา บทที่ ๒ วรรณกรรมและงานวิจยัที่เกีย่วของ บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจยั บทที่ ๔ ผลการวิจยั

บทที่ ๕ สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ

Page 114: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๙๙

บทที่ ๔

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลการวิจัย เร่ือง สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย โดยใชการวิจัยแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงคุณภาพใชการสัมภาษณระดับลึกการสนทนากลุม การสังเกตแบบไมมีสวนรวม และใชแบบสอบถามประกอบในการวิจัย เชิงปริมาณ คณะผูวิจัยไดสัมภาษณและสอบถามผูใหขอมูล ๔ ภาคและกรุงเทพมหานคร จํานวน ๒๓๙ คน นํามาวิเคราะหประมวลผลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป ซ่ึงคณะผูวิจัย ขอนําเสนอผลการวิจัย กําหนดเปน ๓ ตอน เพื่อตอบ วัตถุประสงค ทั้ง ๓ ขอ ดังนี้ ตอนที่ ๑ เกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง

๑.๑ องคประกอบของแบบการประเมิน โดยมีองคประกอบหลักอิงแนวคิดของบัญชีสากล เพื่อการจําแนกการทํางาน ความพิการและ

สุขภาพ (ICF) รวมกับแนวคิดอื่น ๆ แบงเปน ๓ ดาน ดังนี้ ๑. องคประกอบดานการทําหนาที่ของรางกายและโครงสรางของรางกาย ประกอบดวยแบบวัด

รายการลักษณะความพิการจํานวนทั้งสิ้น ๓๑ ลักษณะโดยใชเกณฑลักษณะความพิการของบัญชีสากล เพื่อการจําแนกการทํางาน ความพิการและสุขภาพ (ICF) ใชหลักเกณฑในการประเมินตามสภาพ ความพิการที่ปรากฏ น้ําหนักคะแนนมีพิสัยตั้งแต ๐-๑๐ คะแนนตามระดับความรุนแรงของความพิการซึ่งอางอิงจากเอกสารรับรองความพิการตามแบบทายกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยจําแนกลักษณะความพิการตามน้ําหนักคะแนนดังนี้ น้ําหนักคะแนน ๑ คะแนน ไดแก การเกิดความพิการ การสูญเสียอวัยวะที่ลักษณะความพิการสงผลตอการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง หรืออุปสรรคตอการดํารงชีวิตในสังคมนอยมาก ไดแก สายตาเลือนรางขางเดยีวและหูตึงขางเดียว น้ําหนักคะแนน ๒ คะแนน ไดแก การเกิดความพิการ การสูญเสียอวัยวะที่ลักษณะความพิการสงผลตอการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง หรืออุปสรรคตอการดํารงชีวิตในสังคมบาง ไดแก ตาบอดขางเดียว หูหนวกขางเดียว นิ้วมือขาด/ดวน และนิ้วเทาขาด/ดวน

Page 115: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๐

น้ําหนักคะแนน ๓ คะแนน ไดแก การเกิดความพิการ การสูญเสียอวัยวะท่ีลักษณะความพิการสงผลตอการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง หรืออุปสรรคตอการดํารงชีวิตในสังคมปานกลาง ไดแก พูดผิดปกติ น้ําหนักคะแนน ๔ คะแนน ไดแก การเกิดความพิการ การสูญเสียอวัยวะท่ีลักษณะความพิการสงผลตอการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความสามารถในการพึ่งพาตนเองหรืออุปสรรคตอการดํารงชีวิตในสังคมคอนขางมาก ไดแก สายตาเลือนรางสองขาง หูตึงสองขาง ใบ แขนขาด/ดวน ขาขาด/ดวน มือขาด/ดวน แขน ขา ลีบ/เหยียด งอไมได แขน ขา มือ ลําตัว คดงอ เกร็ง โกง กระตุก ส่ัน เทาปุก เทาตะแคง เทากลับ และอัมพฤกษ น้ําหนักคะแนน ๕ คะแนน ไดแก การเกิดความพิการ การสูญเสียอวัยวะท่ีลักษณะความพิการสงผลตอการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง หรืออุปสรรคตอการดํารงชีวิตในสังคมมาก ไดแก ตาบอดสองขาง หูหนวกสองขาง ส่ือความหมายดวยการพูดและการฟงไมได ส่ือความหมายไมไดเพราะสมองพิการ อัมพาต โรคจิต/วิกลจริต ออทิสติก สมองพิการ สมองพิการจนสื่อความหมายไมได ปญญาออน พิการทางการเรียนรู ปากแหวงและ/หรือ เพดานโหว ศีรษะใหญเกินปกติ น้ําหนักคะแนน ๑๐ คะแนน ไดแก การเกิดความพิการซ้ําซอนซึ่งทําใหเกิดอุปสรรคมากที่สุดในการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง หรืออุปสรรคตอการดํารงชีวิตในสังคม ๒. องคประกอบดานกิจกรรมและการมีสวนรวม เปนแบบประเมินที่สรางขึ้นเพื่อประเมินความสามารถของบุคคลในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (Activities in Daily Living: ADL) และ ความจําเปนในการใชอุปกรณเพื่อชวยเหลือความพิการในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (Instrumental Activities of Daily Living: IADL) ซ่ึงพัฒนามาจากแนวคิดรวมของ ICF โดยผูประเมินสอบถามขอมูลจากการสังเกตหรือการสัมภาษณ องคประกอบดานนี้ประกอบดวย ๒ สวนยอย ไดแก ๒.๑ แบบประเมินเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ประกอบดวยรายการประเมินตอไปนี้ ๑) การลางหนาหรือแปรงฟน ๒) การอาบน้าํ ๓) การแตงตวั ๔) การรับประทานอาหาร ๕) การเคลื่อนยายตัวเองจากเตียงนอนไปเกาอี ้ ๖) การเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ บาน ๗) การยนืประมาณ ๒๐ นาที

Page 116: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๑

๘) การขึ้นบนัได ๑๐-๑๔ ขั้น ๙) การใชหองสวม เกณฑการประเมินสําหรับแบบประเมินสวนนี้เปนการใหน้ําหนักคะแนน ๔ ระดับ ดังนี้ น้ําหนักคะแนน ๓ คะแนน คือ รายการประเมินที่คนพิการมีความยากลําบากมากในการทํากิจกรรมนั้น ๆ โดยตองมีผูชวยเหลือดูแลตลอดเวลา น้ําหนักคะแนน ๒ คะแนน คือ รายการประเมินที่คนพิการมีความยากลําบากในการทํากิจกรรมนั้น โดยตองอาศัยการชวยเหลือดูแลบาง น้ําหนักคะแนน ๑ คะแนน คือ รายการประเมินที่คนพิการมีความยากลําบากนอยในการทํากิจกรรม โดยคนพิการสามารถทํากิจกรรมนั้น ๆ ไดเอง โดยผิดพลาดเพียงเล็กนอย น้ําหนักคะแนน ๐ คะแนน คือ รายการประเมินที่คนพิการสามารถทํากิจกรรมนั้น ๆ ดวยตัวเองไดดี หรือไมตองการผูชวยเหลือดูแล ๒.๒ แบบประเมินเกี่ยวกับความจําเปนในการใชอุปกรณชวยเหลือความพิการในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน ประกอบดวยรายการประเมิน ตอไปนี้ ๑) การเตรียมอาหาร ๒) การซื้อของ ๓) การจัดการดานการเงิน ๔) การใชโทรศัพท ๕) การทํางานบาน ๖) การเรียนหรือการทํางาน เกณฑการประเมินสําหรับแบบประเมินสวนนี้เปนการใหน้ําหนักคะแนน ๒ ระดับ ดังนี้ น้ําหนักคะแนน ๑ คะแนน คือ กิจกรรมที่คนพิการมีความจําเปนตองใชอุปกรณชวยเหลือ ความพิการเพื่อใหทํากิจกรรมนั้น ๆ ไดสําเร็จ น้ําหนักคะแนน ๐ คะแนน คือ กิจกรรมที่คนพิการไมมีความจําเปนตองใชอุปกรณชวยเหลือความพิการเพื่อใหทํากิจกรรมนั้น ๆ ไดสําเร็จ ๒.๓ องคประกอบดานปจจัยส่ิงแวดลอม เปนแบบประเมินที่สรางขึ้นเพื่อประเมินความตองการความชวยเหลือทางสังคมของคนพิการอันเนื่องมาจากสภาพจํากัดของตัวบุคคลและสังคม รวมไปถึงการใชชีวิตรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางปกติสุข พิสัยของคะแนนของแตละแบบประเมินมีน้ําหนักคะแนนตั้งแต ๐-๒ คะแนนตามระดับความรุนแรงของความจําเปน ความตองการ หรือ ความรุนแรง ประกอบดวยรายการประเมิน ตอไปนี้ ๑) การใชอุปกรณหรืออวัยวะเทียมหรือเครื่องชวยคนพิการ ๒) ความตองการความชวยเหลือสวัสดิการจากรัฐบาล

Page 117: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๒

๓) ความยากลําบากในการใหการอภิบาลของผูดูแลหรือผูชวยเหลือ ๔) ความตองการทรัพยากรทางการศึกษา/การทํางานเฉพาะทางเปนพิเศษ ๕) ทักษะในการปรับตัว ๖) ความสามารถในการหาเลี้ยงตนเองหรือการหารายได ๗) การควบคุมอารมณ ๘) ความสามารถในการเรียนรู ๙) ความสามารถในการสื่อความหมายกับผูอ่ืน ๑๐) การมีพฤติกรรมรบกวนความสงบของบุคคลอื่น ๑๑) การทํางานรวมกับบุคคลอื่น ผูประเมิน ในการประเมินความพิการระดับรุนแรง ผูวิจัยเสนอใหมีผูประเมนิรวมกัน ๓ คน ซ่ึงควรจะมาจากองคประกอบหลัก ๓ ดานคือ

๑) ผูประเมินที่ทํางานหรือเปนผูเชี่ยวชาญดานการแพทย กายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด หรือสาธารณสุข เปนตน

๒) ผูประเมินที่ทํางานหรือเปนผูเชี่ยวชาญในการดูแล หรือจัดการศึกษา เชน ครู อาจารย นักวิชาการ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห พี่เล้ียงหรือผูปกครองสถานสงเคราะหตาง ๆ

๓) ผูประเมินที่เปนผูใกลชิดหรือดูแลคนพิการ ไดแก ผูปกครอง ญาติ หรือพี่เล้ียง เปนตน จากการศึกษา International Classification of Functioning ,ICF เกณฑการวัดทางการแพทย และเกณฑการวัดเชิงสังคม คณะผูวิจัยไดวิเคราะห และสังเคราะหเกณฑการวัดคนพิการระดับรุนแรงในบรบิทของสังคมไทย ที่พิจารณาความเปนไปไดในรูปแบบของการบูรณาการใหเหมาะสม โดยมีผูประเมินที่เปนลักษณะสหวิชาชีพ ๓ คน ดังตารางที่ ๔.๑

Page 118: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๓

ตารางที่ ๔.๑ เกณฑการวัดความพิการระดับรุนแรงตามขอเสนอของคณะวิจัย

องคประกอบ (Domain) รายการประเมิน เกณฑ ผูประเมินคน

ที่ ๑ ผูประเมินคน

ที่ ๒ ผูประเมินคนที่ ๓

ก. การทําหนาที่ของรางกายและโครงสรางของรางกาย ลักษณะความพกิารที่ประเมิน น้ําหนักคะแนนถาปรากฏอาการ

ตาบอดขางเดียว ๒

ตาบอดสองขาง ๕

สายตาเลือนรางขางเดียว ๑

สายตาเลือนรางสองขาง ๔

หูหนวกขางเดียว ๒

หูหนวกสองขาง ๕

หูตึงขางเดียว ๑

หูตึงสองขาง ๔

สื่อความหมายดวยการพูดและการฟงไมได ๕

ใบ ๔

พูดผิดปกติ ๓

สื่อความหมายไมไดเพราะสมองพิการ ๕

แขนขาด/ดวน ๔

ขาขาด/ดวน ๔

มือขาด/ดวน ๔

นิ้วมือขาด/ดวน ๒

นิ้วเทาขาด/ดวน ๒

แขน ขา ลีบ/เหยยีดงอไมได ๔

แขน ขา มือ ลําตัว คดงอ เกร็ง โกง กระตุก สั่น ๔

เทาปุก เทาตะแคง เทากลับ (ใชหลังเทาแทนฝาเทา) ๔

อัมพาต ๕

Page 119: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๔

อัมพฤกษ ๔

โรคจิต/วิกลจริต ๕

ออทิสติก (Autistics) ๕

สมองพิการ (Cerebral Palsy) ๕

สมองพิการจนสื่อความหมายไมได (Aphasia) ๕

ปญญาออน ๕

พิการทางการเรียนรู ๕

ปากแหวง และ/หรือเพดานโหว ๕

ศีรษะใหญเกินปกติ ๕

พิการซ้ําซอน ๑๐

รวมคะแนนดานการทําหนาที่ของรางกายและโครงสรางของรางกาย

ก. คะแนนเฉลี่ยของผูประเมิน

ข. กิจกรรมและการมีสวนรวม กิจกรรมในชีวติประจําวัน (Activities in Daily Living: ADL) ใหคะแนนจากการสังเกตหรือการสัมภาษณ

การลางหนา หรือ แปรงฟน ประเมินความยากลําบากในการทํากิจกรรมโดยใหคะแนนดังนี้

การอาบน้ํา ตองมีผูชวยเหลือดแูลตลอดเวลา = ๓

การแตงตัว ตองมีผูชวยเหลือดแูลบาง = ๒

การรับประทานอาหาร สามารถทําเองไดโดยผิดพลาดเพียงเล็กนอย = ๑

การเคลื่อนยายตัวเองจากเตียงนอนไปเกาอี้ สามารถทําเองไดด=ี ๐

การเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ บาน

การยืน (ประมาณ ๒๐ นาที)

การขึ้นบันได ๑๐-๑๔ ขั้น

การใชหองสวม

Page 120: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๕

การใชอุปกรณในการทํากิจกรรมในชีวติประจําวัน ประเมินความจําเปนในการใชอุปกรณชวยเหลือความพิการ

(Instrumental Activities of Daily Living: IADL) ตองใชอุปกรณชวยเหลือ = ๑

การเตรียมอาหาร ไมตองใชอุปกรณชวยเหลือ = ๐

การซื้อของ

การจัดการดานการเงิน

การใชโทรศัพท

การทํางานบาน

การเรียน/การทํางาน

รวมคะแนนดานกิจกรรมและการมีสวนรวม

ข. คะแนนเฉลี่ยของผูประเมิน

ค. ปจจัยสิ่งแวดลอม ใหคะแนนจากการสังเกตหรือการสัมภาษณ

การใชอุปกรณหรืออวัยวะเทียมหรือเครื่องชวยคนพิการ ใชอุปกรณ อวัยวะเทียม หรือ เครื่องชวยคนพิการ = ๒ ไมใช =๐

ความตองการความชวยเหลือสวัสดิการจากรัฐบาล ตองการมาก = ๒ ตองการบาง = ๑ ไมตองการ = ๐

ความยากลําบากใหการใหการอภิบาลของผูดูแลหรือผูชวยเหลือ

ลําบากมาก = ๒ ลําบากเล็กนอย = ๑ ไมลําบาก = ๐

ตองการทรัพยากรทางการศึกษา/การทํางานเฉพาะทางเปนพิเศษ

ตองการมาก = ๒ ตองการบาง = ๑ ไมตองการ = ๐

ทักษะในการปรับตัว (Adaptive Abilities) ปรับตัวไมไดเลย = ๒ ปรับตัวไดบาง = ๑ ปรับตัวไดดี = ๐

ความสามารถในการหาเลี้ยงตนเอง/รายได ไมเพียงพอ = ๒ เพียงพอ = ๐

การควบคุมอารมณ แปรปรวนมาก= ๒ แปรปรวนบาง = ๑ ไมแปรปรวน = ๐

Page 121: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๖

ความสามารถในการเรียนรู เรียนรูไดนอย =๒ เรียนรูไดบาง = ๑ เรียนรูไดดี = ๐

ความสามารถในการสื่อความหมายกับผูอื่น สื่อสารไมไดเลย= ๒ สื่อสารไดบาง = ๑ สื่อสารไดดี = ๐

การมีพฤติกรรมรบกวนความสงบของบุคคลอื่น รบกวนมาก = ๒ รบกวนบาง = ๑ ไมรบกวน = ๐

การทํางานรวมกับบุคลอื่น ทํางานรวมกับคนอื่น ไมไดเลย = ๒ ไดบาง = ๑ ไดดี = ๐

รวมคะแนนดานปจจัยสิ่งแวดลอม

ค. คะแนนเฉลี่ยของผูประเมิน

รวมคะแนนทั้งหมด (ก+ข+ค)

ระดับความพิการ ( ) รุนแรง ( 22 คะแนนหรือมากกวา) ( ) ไมรุนแรง

หมายเหตุ

ลงชื่อ ผูประเมินคนที่ ๑ ผูประเมินควรประกอบดวย

( ) ๑. แพทยหรือผูทํางานดานสาธารณสุข

ตําแหนง .............................................................................. ๒. ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพหรือบุคคลที่ดูแลโดยใชทักษะเชิงวิชาชีพ เชน ครู อาจารย หรือผูปกครองสถานสงเคราะห

ลงชื่อ ผูประเมินคนที่ ๒

( ) ๓. ผูปกครอง ญาติ คนใกลชิดหรือผูดูแล

ตําแหนง .............................................................................. ๔. ถาผูประเมินมีความเห็นขัดแยงในขอรายการใดใหใชเกณฑ ๒/๓

ลงชื่อ ผูประเมินคนที่ ๒ ของผูประเมินที่มีความเห็นตรงกันแลวเฉลี่ยเฉพาะคะแนนของผูประเมินที่มีความเห็นตรงกัน

( )

ตําแหนง ..............................................................................

Page 122: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๗

๒.๒ เกณฑในการตัดสนิความพิการระดบัรุนแรง เมื่อผูประเมินแตละคนใหคะแนนในแตละองคประกอบของแบบประเมินแลว คะแนนที่ผูประเมินทั้งสามคนใหคะแนนจะถูกนํามาเฉลี่ยรวมกัน ถามีแบบประเมินใดที่ผูประเมินมีความเห็นขัดแยงกัน ใหยึดถือเกณฑคาดัชนีความสอดคลองของผูประเมิน (Index of item Objective Congruence , IOC) ที่ ๖๗ % หรือ ความคิดเห็นของผูประเมินที่เห็นตรงกัน ๒ ใน ๓ สําหรับเกณฑในการตัดสินความพิการระดับรุนแรงใชเกณฑเสนตัดที่จุดต่ําสุด (Threshold) ของความพิการจําแนกจากคาคะแนนต่ําสุดของความพิการระดับรุนแรงแตละองคประกอบ ดังแสดงในตารางที่ ๔.๒ ตารางที่ ๔.๒ แสดงองคประกอบของคะแนนต่ําสุดของการตัดสินความพิการระดับรุนแรง

องคประกอบ (Domain)

คะแนนต่ําสุดของการตัดสินความพิการระดับรุนแรง (Threshold)

เกณฑการพิจารณา (Rubrics)

ก. การทําหนาที่ของรางกายและโครงสรางของรางกาย

๑ คะแนน ปรากฏลักษณะความพิการ

ข. กิจกรรมและการมีสวนรวม ๙ คะแนน ความยากลําบากในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันอยางนอย ๓ รายการ หรือ ความยากลําบากในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันอยางนอย ๒ รายการรวมกับความตองการอุปกรณชวยเหลือความพิการอยางนอย ๔ รายการโดยใชเกณฑการตัดสินของ GAO

ค. ปจจัยสิ่งแวดลอม ๑๒ คะแนน มีคะแนนความตองการความชวยเหลือทางสังคม หรือมีพฤติกรรมที่มีปญหาตอการเขาสังคมอยางนอย ๖ รายการ (ครึ่งหนึ่งของความตองการความชวยเหลือ)

คะแนนตัดสินความพิการระดับรุนแรงทุกองคประกอบ

(ก+ข+ค)

๒๒ คะแนน

Page 123: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๘

จากที่กลาวมาสรุปไดวา เกณฑการประเมินความพิการระดับรุนแรง ที่ไดนําเสนอดังกลาว เปนเพียงรูปแบบบูรณาการที่เปนจริงในบริบทของสังคมไทย แตยังไมไดนําไปใชจริง ซ่ึงจะตองมีการทดลองใชจริง (Try Out) และใหเกิดการยอมรับของผูเกี่ยวของ แตเกณฑที่นําเสนอดังกลาวสามารถที่จะชวยใหการประเมินมีความเปนมาตรฐาน (Standardization) เพราะสามารถที่จะวัดออกมาไดเปนขอมูล เชิงประจักษ (Empirical Data) ขณะเดียวกันก็ตอบวัตถุประสงคการวิจัยขอที่ ๑ ตอนที่ ๒ การคาดประมาณการของคนพิการระดับรุนแรงและแนวโนมในอนาคต ๒.๑ สถิติการจดทะเบียนคนพิการ จากขอมูลของสํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ(สทก.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย ไดมีการจดทะเบียนใหกับคนพิการ จากสํานักงานพัฒนาสังคมและความมัน่คงของมนุษยจังหวัดไดรายงานเขาศูนยขอมูล ของ สทก. ตั้งป ๒๕๓๘ ถึงป ๒๕๔๙ มีสถิติการจดทะเบียนมีแนวโนมขึ้นลงในชวงป ๒๕๓๙-๒๕๔๖ แตในป ๒๕๔๗ ถึงปจจุบันมีแนวโนมการจดทะเบียนเพิ่มขึ้น โดยในป ๒๕๔๙ มีคนพิการที่จดทะเบียนถึง ๙๒,๘๓๘ คน รวมตั้งแต ๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ ถึงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ จาํนวน ๕๗๕,๓๙๑ คน ดังแผนภูมิที่ ๔.๑

แผนภูมิที่ ๔.๑ แสดงการจดทะเบียนคนพิการตั้งแต ป ๒๕๓๘-๒๕๔๙ จํานวนคน

72,431

34,46942,279

41,61948,794

43,38832,179

24,82619,908

40,121

82,539

92,838

010,00020,00030,00040,00050,00060,00070,00080,00090,000

100,000253825392540254125422543254425452546254725482549

ป 2538 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 ที่มา : ศูนยขอมูล ขอมูลสถิติการรายงานผลการดําเนินงานจดทะเบียนคนพิการป ๒๕๔๙

สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ

Page 124: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๐๙

๒.๒ การวิเคราะหแนวโนมคนพิการ สถิติคนพิการที่นํามาใชในการวิเคราะหมาจากฐานขอมูลคนพิการโครงการสํารวจเกี่ยวกับ

อนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๒๔-๒๕๔๔ ชวงหางทุก ๕ ปและ ๑๐ ป ของสํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ตารางที่ ๔. ๓ แสดงจํานวนประชากรและจํานวนคนพกิาร ตั้งแตป ๒๕๑๙-๒๕๔๔

(จํานวน:พันคน) ปท่ีสํารวจ จํานวนประชากร จํานวนคนพิการ ๒๕๑๙ ๔๒,๐๖๖.๙ ๒๔๕ ๒๕๒๔ ๔๗,๖๒๑.๔ ๓๖๗.๕ ๒๕๒๙ ๕๑,๙๖๐ ๓๘๕.๖ ๒๕๓๔ ๕๗,๐๔๖.๕ ๑,๐๕๗ ๒๕๓๙ ๕๙,๙๐๒.๘ ๑,๐๒๔.๑๐ ๒๕๔๔ ๖๒,๘๗๑ ๑,๑๐๐.๘

โดยใชสูตรคํานวณอัตราการเพิ่มอยางหยาบ r = loge x d t

r = อัตราการเพิ่ม d = อัตราสวนจํานวนประชากรระหวางชวงป t = ระยะหางของเวลา

ตารางที่ ๔.๔ แสดงอตัราการเพิ่มทกุ ๕ ปและอัตราการเพิ่มทุก ๑๐ ป ตั้งแตป ๒๕๑๙-๒๕๔๔ (จํานวน:พันคน)

ปท่ีสํารวจ อัตราการเพิ่มทุก ๕ ป(รอยละ) อัตราการเพิ่มทุก ๑๐ ป (รอยละ)

๒๕๑๙-๒๕๒๔ ๓.๕๒ ๒๕๒๔-๒๕๒๙ ๐.๔๑ ๒๕๒๙-๒๕๓๔ ๘.๗๔

๔.๕๘

๒๕๓๔-๒๕๓๙ -๐.๒๘ ๒๕๓๙-๒๕๔๔ ๐.๕๘

๐.๑๗๔

Page 125: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๐

แผนภูมิที่ ๔.๒ แสดงอัตราการเพิ่มของคนพิการทุก ๕ ป ตั้งแต ป ๒๕๑๙-๒๕๔๔

3.52

0.41

8.74

-0.28 0.58

-2.00

0.00

2.00

4.00

6.00

8.00

10.00

อัตราการเพิ่มทุก 5 ป(รอยละ)

2519-25242524-25292529-25342534-25392539-2544

ที่มา : ขอมูลโครงการสํารวจเกี่ยวกับอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๑๙-๒๕๔๔ สํานักงานสถิติแหงชาติ ๒๕๔๕ จากตารางที่ ๔.๔ และแผนภูมิที่ ๔.๒ พบวา อัตราการเพิ่มทุก ๕ ปและอัตราการเพิ่มทุก ๑๐ ป

หลังจากป ๒๕๓๔ คนพิการในประเทศไทย มีแนวโนมคนพิการระดับไมรุนแรงลดลง อันเปนผลมาจากการแพทยและสาธารณสุขที่ไดดําเนินการรณรงคปองกันอุบัติเหตุทุกประเภท โดยเฉพาะอุบัติเหตุทางการจราจรและอุบัติเหตุจากทํางานในสถานประกอบการ อุบัติภัยตางๆ รวมทั้งความเจริญกาวหนาและความครอบคลุมในการอนามัยแมและเด็ก การฝากครรภ การคลอด และหลังคลอด การใหวัคซีนในเด็ก รวมถึงการจัดสวัสดิการที่มีการบริการทางการแพทยและสาธารณสุข การเฝาระวังโรค และการปองกันโรค รวมถึงการสงเสริมสุขภาพที่ทุกคนสามารถเขาถึงและครอบคลุมทุกระดับ ตลอดจนการมีระบบการสงตอ (Referral System) ของสถานพยาบาลระดับตางๆ แตอัตราการเพิ่มของคนพิการระดับรุนแรงจะมากกวาอัตราการเพิ่มของประชากร โดยความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวและความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมจะมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้น ซ่ึงสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม และ การเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยาจากโรคติดตอไปสูโรคไมติดตอ (โรคไรเชื้อ) และโรคทางสังคม (Social Disease) ของประเทศไทย

Page 126: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๑

แผนภูมิที่ ๔.๓ แสดงแนวโนมอัตราผูมีความพิการ(รอยละ)

0.50 0.60 0.70 0.70 0.80 0.70

1.80 1.70 1.80 1.70

0.00

0.50

1.00

1.50

2.00

2517 2519 2520 2521 2524 2529 2534 2539 2544 2545

ป พ.ศ.

อตัราผูมีความพิการ

จากแผนภูมิที่ ๔.๓ สุวิทย วิบุลผลประเสริฐและคณะ(๒๕๔๐) ไดศึกษาแนวโนมอัตราคนพิการ

พบวา อัตราผูมีความพิการ ตั้งแตป ๒๕๑๗ ถึงป ๒๕๔๔ มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นในอัตราคงที่ (๐.๕-๐.๘) แตใน ป ๒๕๓๔ เปนตนไปมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้นในอัตราคงที่ (๑.๗๐-๑.๘๐) และไดคาดการณวา อัตราการเพิ่มของคนพิการจะมากกวาอัตราการเพิ่มของประชากร โดยความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวจะมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น และขณะที่การศึกษาของเนตรนภา วัลลภ ขุมทอง, (๒๕๔๔) ไดคาดการณแนวโนมของคนพิการวาจะมีสัดสวนเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจาก ๑)โครงสรางของประชากรที่เปลีย่นแปลงไป (สัดสวนของผูสูงอายุจะเพิ่มมากขึ้น) ๒) การเปลี่ยนผานทางระบาดวิทยาความเจ็บปวยจากโรคติดเชื้อเปนโรคไรเชื้อหรือโรคเรื้อรังที่นําไปสูความพิการเพิ่มมากขึ้น เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจและ หลอดเลือด และโรคเหลานี้จะสัมพันธกับพฤติกรรมเสี่ยง ไดแก การบริโภคแอลกอฮอล การสูบบุหร่ี การบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง การจัดการความเครียดที่ไมเหมาะสม ๓) การขยายตัวของอุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมการทองเที่ยว นําไปสูการเกิดอุบัติเหตุการทํางาน อุบัติเหตุการจราจร ๔) วิถีชีวิตของสังคม ชุมชน เรงรีบ แขงขันนําไปสูความพิการทางจิต จากเหตุปจจัยดังกลาวขางตน สอดคลองกับสงวน นิตยารัมพงศ ไดกลาวถึงดัชนีสุขภาพจิตของคนในสังคม ตั้งแต ป ๒๕๔๑-๒๕๔๕ พบวา คนเปนโรคจิตมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ตั้งแต ป ๒๕๔๒ เปนตนไป และเพิ่มสูงขึ้น สุดในป ๒๕๔๕ เทียบกับป ๒๕๔๑ ถึง ๒ เทา (ป ๒๕๔๑ เทากับ ๔๓๕.๔ ป ๒๕๔๕ เทากับ ๘๒๘.๑ ตอประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน) และแนวโนมในปจจุบันเพิ่มสูงขึ้นมาก อันเนื่องจากสาเหตุมาจากปญหาสังคม ความบีบคั้นทางเศรษฐกิจ ความเครียด ความขัดแยงในสังคมและภาวะความแปรปรวนทางจิต อันเปนผลมาจากความวิตกกังวลของประชาชนมีอัตราอยูในอันดับสูงทุกป และการติดสารเสพติดก็เชนเดียวกัน ดังแผนภูมิที่ ๔.๔

Page 127: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๒

0 100 200 300 400 500 600 700 800 900

1000

1 2 3 4 5

ติดสารเสพติด วิตกกังวล ฆาตัวตาย โรคจิต

แผนภูมิที่ ๔.๔ แสดงแนวโนมดัชนีสุขภาพจิตในสังคมไทย (อัตรา ตอ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร)

ป 2541 2542 2543 2544 2545 ที่มา : สงวน นิตยารัมภพงศ เหลียวหลัง-แลหนา ระบบสุขภาพไทย มปป.: ๕ หากวิเคราะหในภาพรวมจะเห็นวา สถิติคนพิการในแตละชวงปมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ตามจํานวน

การเกิดของประชากร ปจจุบันจํานวนคนพิการระดับรุนแรงจากการจดทะเบียนคนพิการ ตั้งแต พฤศจิกายน ๒๕๓๗-กันยายน ๒๕๔๘ มีคนพิการระดับ ๓-๕ จํานวน ๒๒๕,๔๒๐ คน จากคนพิการที่ จดทะเบียนป ๒๕๔๙ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ จํานวน ๕๗๕,๓๙๑ คน ประมาณการไดวามีคนพิการระดับรุนแรงที่จดทะเบียน ถึง ๓๙.๑๘ % หรือ ๑ ใน ๓ ของจํานวนคนพิการที่จดทะเบียนทั้งหมด แตเมื่อคาดคะเนแนวโนมคนพิการระดับรุนแรงใน ๑๐ ปขางหนาจะมีคนพิการระดับรุนแรงถึง ๒๕๗,๖๒๒ คน (ตามอัตราการเพิ่มคิดจากปฐาน)

จากที่กลาวมาสรุปไดวา คนพิการระดับรุนแรงมีแนวโนมของอัตราคนพิการ เพิ่มสูงขึ้นในอัตรา

คงที่ (๐.๕-๐.๘) ตั้งแต ป ๒๕๓๔ เปนตนไป มีอัตราการเพิ่มสูงขึ้นในอัตราคงที่ (๑.๗๐-๑.๘๐) และไดคาดการณวา อัตราการเพิ่มของคนพิการจะมากกวาอัตราการเพิ่มของประชากร โดยความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวจะพบสูงขึ้น เนื่องจาก ๑)โครงสรางของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไป(สัดสวนของผูสูงอายุจะเพิ่มมากขึ้น) ๒) การเปลี่ยนผานทางระบาดวิทยาความเจ็บปวยจากโรคติดเชื้อเปนโรคไรเชื้อ หรือโรคเรื้อรังที่นําไปสูความพิการเพิ่มมากขึ้น เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ขณะที่โรคเหลานี้จะสัมพันธกับพฤติกรรมเสี่ยง ไดแก การบริโภคแอลกอฮอล การสูบบุหร่ี การบริโภคอาหารที่มี

Page 128: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๓

ไขมันสูง การจัดการความเครียดที่ไมเหมาะสม ๓) การขยายตัวของอุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมการทองเที่ยว นําไปสูการเกิดอุบัติเหตุการทํางาน อุบัติเหตุการจราจร ๔) วิถีชีวิตของสังคม ชุมชน เรงรีบ แขงขัน นําไปสูความพิการทางจิต ขณะที่ดัชนีสุขภาพจิตของคนในสังคม ตั้งแต ป ๒๕๔๑-๒๕๔๕ พบวา มีคนเปนโรคจิตมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ตั้งแต ป ๒๕๔๒ เปนตนไป และเพิ่มสูงขึ้นสูงสุดในป ๒๕๔๕ เทียบกับป ๒๕๔๑ ถึง ๒ เทา ขณะที่การจดทะเบียนคนพิการใน ป ๒๕๔๙ มีจํานวนเพิ่มขึ้นถึง ๒ เทาเทียบกับป ๒๕๔๐ ประมาณการไดวามีคนพิการระดับรุนแรงที่จดทะเบียน ถึง ๓๙.๑๘ % หรือ ๑ ใน ๓ ของจํานวนคนพิการที่จดทะเบียนทั้งหมด แตเมื่อคาดประมาณการแนวโนมคนพิการระดับรุนแรงใน ๑๐ ปขางหนาจะมีคนพิการระดับรุนแรงเพิ่มสูงขึ้น จึงตอบวัตถุประสงคขอที่ ๒ ที่กําหนดไว วา การคาดประมาณการคนพิการระดับรุนแรงและแนวโนมในอนาคตเปนอยางไร ตอนที่ ๓ การจัดสวัสดิการสังคมที่ เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน ๓.๑ ผลการจัดเก็บขอมูลในพื้นท่ี

-ขอมูลพื้นฐาน กลุมตัวอยางในการวิจัยคร้ังนี้ ประกอบดวยผูใหขอมูลหลักในการสัมภาษณระดับลึก ไดแก

คนพิการประเภทตางๆ จําแนกตามประเภทความพิการ คือ คนพิการทางการมองเห็น คนพิการทางการ ไดยินหรือการสื่อความหมาย คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรูแตละภาค รวมจํานวน ๑๐๗ คน ครอบครัว ผูปกครอง ผูชวยเหลือ จํานวน ๓๖ คน รวมถึง ผูบริหาร นักวิชาการ ผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับคนพิการ ซ่ึงเปนตัวแทนแตละภาค จํานวน ๑๐๘ คน รวมกลุมตัวอยางทั้งสิ้น ๒๓๙ คน ดังตารางที่ ๔.๕

ตารางที่ ๔.๕ แสดงจํานวนผูใหขอมูลและประชุมสนทนากลุมในแตละภูมิภาค

ตัวแทนภาค สัมภาษณระดบัลึก สนทนากลุม กลุมตัวอยางทีใ่หขอมูล กรุงเทพมหานคร ๒๘ ๓๒ ๓๙ จังหวดันครปฐม ๒๙ ๓๔ ๔๓ จังหวดัเชยีงใหม ๒๙ ๓๙ ๕๒ จังหวดัอุบลราชธานี ๒๙ ๔๐ ๕๐ จังหวดัสงขลา ๓๒ ๓๘ ๕๕

๕ จังหวัด ๑๔๗ ๑๘๓ ๒๓๙

Page 129: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๔

ดังนั้นสามารถสรุปการจัดเก็บขอมูล ดังนี้ แผนภูมิที่ ๔.๕ แสดงการจัดเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางในพื้นที่ สําหรับการนําเสนอผลการวิจัย คณะผูวิจัยจะขอนําเสนอตามประเภทของความพิการ ที่มีขอมูล

ของความเปนตัวตน (Identity) และอัตลักษณทางสังคม (Social Identity) รวมถึงบริบทของการดํารงชีวิตในสังคมของคนพิการระดับรุนแรงที่แตกตางกัน ตามประเด็นตางๆ ดังตอไปนี้

๓.๒ จุดเดนของปรากฏการณทางสังคมในพื้นท่ีศึกษา จากการเก็บขอมูลในพื้นที่พบวา คนพิการระดับรุนแรงสวนใหญ อาศัยในเขตชนบท และมี คนพิการทุกประเภท สภาพการดํารงชีวิตที่แตกตางกัน ตามประเภทในแตละชวงวัย ทั้งระดับการศึกษา รายได ที่อยูอาศัย สภาพของบาน สมาชิกในครอบครัว การดูแลตนเอง มีทั้งที่มีอาชีพเปนของตนเองซึ่งมีเพียงจํานวนนอย และทํางานกับสมาคมคนพิการ เชน สมาคมคนพิการตาบอดแหงประเทศไทย สมาคมคนหูหนวกแหงประเทศไทย เปนตน สวนใหญตองพึ่งพึงผูชวยเหลือจากบุคคลในครอบครัว หรือสถานสงเคราะหตางๆ โดยเฉพาะคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงคนพิการทางสติปญญาหรือ การเรียนรู ที่กลุมนี้สวนใหญเปนชวงวัยเด็ก จึงมีความจําเปนและความตองการสวัสดิการสังคม เพื่อการดํารงชีวิตที่เหมาะสม

กลุมตัวอยาง การวิจัย

คนพิการ ๕ ประเภท ๑๐๗ คน

ผูบริหารนักวิชาการ เจาหนาที่ผูเกี่ยวของ ๙๖ คน

ครอบครัว ชุมชน ผูปกครอง และลาม ๓๖ คน

เก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีสัมภาษณระดับลึก สุมแบบเจาะจง ๑๔๗ คน

เก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีสนทนากลุม และสัมมนาแสดงความคิดเห็น ๑๘๓ คน

จัดเวทีประชุมขอเสนอเชิงนโยบาย ( Policy Meeting) แบบเจาะจง ๗๓ คน

Page 130: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๕

ในแตละภูมิภาคนั้นมีบริบททางสังคมและวัฒนธรรมแตกตางกัน บางภูมิภาคมีจุดแข็ง และจุดออนแตกตางกันไปตามสังคมและวัฒนธรรมของทองถ่ิน ทําใหไดขอมูลที่หลากหลายไปตามสภาพของทองถ่ิน นอกจากนี้บริบทของประเภทคนพิการทั้ง ๕ ประเภทก็มีสังคมความเปนอยูและวิถีชีวิตที่แตกตางกัน ดังเชน

๑. กรุงเทพมหานคร มีจุดเดนที่เปนเมืองหลวงของประเทศ มีการปกครองในรูปแบบพิเศษ เปนสังคมเมือง แตผูบริหารกรุงเทพมหานครไดใหความสําคัญในการกําหนดยุทธศาสตรคนพิการทั้งในดานการศึกษา ส่ิงอํานวยความสะดวก แตดานสวัสดิการยังปรากฏ ไมเปนรูปธรรมที่ชัดเจนมากนัก เร่ิมมีการตื่นตัวโดยจัดตั้งคณะอนุกรรมการสาขาคนพิการ คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคที่มีสมาคมคนพิการและหนวยงานรัฐจากภาคสวนตางๆเขารวม มีแนวคิดของการจัดศูนยการดูแลรวม “National Center” หรือ “Day Care” ดูแลเด็กพิการที่ชวยตัวเองไมได

๒. จังหวัดนครปฐม มีสังคมเปนเขตปริมณฑล เปนสังคมกึ่งเมืองกึ่งชนบท แตสามารถมีการรวมกลุมสรางเครือขายคนพิการที่มีความเขมแข็ง จากผูนําคนพิการ ที่มีการดําเนินการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ และการดํารงชีวิตอิสระ ซ่ึงมีลักษณะของเพื่อนชวยเพื่อน (Peer Groups) นับเปนอีกกาวหนึง่ของการพัฒนาศักยภาพคนพิการ รวมถึงมีรูปแบบของศูนยเครือขายบริการ (Service Link) ในองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) จํานวน ๑๔ แหง

๓. จังหวัดเชียงใหม เปนจังหวัดที่มีความเจริญและสังคมภาคเหนือมีจุดเดนในดานของ ความรวมมือของผูนําและชุมชนคนพิการ และมีการจัดตั้งเปน “มูลนิธิบานสมานใจ” ที่มีชาวญี่ปุนมาใหความรู นับเปนการสรางอาชีพ และการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการทางสติปญญาหรือเรียนรู กลุมคนพิการของจังหวัดเชียงใหมมีความเขมแข็งมาก แมวาจะมีพื้นที่และบริบททางสังคมที่แตกตางกันระหวางเมืองกับชนบท

๔. จังหวัดอุบลราชธานี มีบริบทของสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีความรวมมือ และมีการดําเนินกิจกรรมของคนพิการในดานจิตใจหรือพฤติกรรม รวมกับหนวยงานภาครัฐ มีรูปแบบของ “ไตรลักษณ” ความมือของรัฐ เอกชน และชุมชน ซ่ึงไดมีกิจกรรมการเดน คือ การฟนฟูสมรรถภาพ คนพิการโดยชุมชน แมวาผูนํากลุมคนพิการยังมีบทบาทตอสมาคม/ชมรมไมเดนชัด แตการมีสวนรวมของ คนพิการเปนขอมูลเชิงประจักษที่เดนชัดและเปนแบบอยางจังหวัดอื่นๆ

๕. จังหวัดสงขลา มีบริบทในวัฒนธรรมภาคใต มีกิจกรรมหลายดานแตการรวมตัวกันของชมรมคนพิการมีความเขมแข็งในระดับหนึ่งในแตละประเภทความพิการของแตละสมาคม แตก็มีความรวมมือทํากิจกรรมเพื่อคนพิการ ทั้งที่มีสภาพความเปนอยูแตกตางจากภูมิภาคอื่นๆ

จากการเก็บขอมูลในแตละพื้นที่ทั้งคนพิการ ผูปกครอง หนวยงานตางๆ ไดมีเสียงสะทอน (Voice) ใหเห็นถึงสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ตามวัตถุประสงคของการวิจัยทั้ง ๓ ประเด็นที่ช้ีใหเห็นถึงรูปแบบสวัสดิการสังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม และการไดรับ

Page 131: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๖

สวัสดิการสังคม ความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรง และขอเสนอจากพื้นที่ศึกษา อันเปนขอมูลที่แตกตางและหลากหลาย ตามโลกทัศนของคนพิการและผูเกี่ยวของ ๓.๓ ความหมายของการใหคําจํากัดความคนพิการระดับรุนแรง

ในการศึกษานี้ไดศึกษาคนพิการระดับรุนแรง จากปรากฏการณที่พบคนพิการระดับรุนแรง ตามความหมาย (Meaning) ของคนพิการระดับรุนแรงที่ใชการพิจารณาจากความสามารถ (Capacities) และการชวยเหลือตนเอง (Self-help) ในการใหความหมายของระดับความพิการระดับรุนแรง สามารถสังเคราะหได ๕ ระดับ ไดแก (การคิดรอยละเปนเพียงคาประมาณการของสัดสวนในการชวยเหลือตัวเองหรือทํากิจกรรมประจําวัน) ระดับท่ี ๑ การชวยเหลือตัวเองไมไดเลย = ๐ % “เปนกลุมยากลําบากมาก” กลุมนี้ชวยตัวเองในการประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันไมไดเลยหรือไดนอยมาก แตตองการการชวยเหลืออยางมาก มีความยากลําบากในชีวิตความเปนอยูของชีวิตที่ชวยเหลือตัวเองไมได ระดับท่ี ๒ การชวยเหลือตัวเองไดบาง = ๒๕ % “เปนกลุมลําบาก” กลุมนี้ชวยเหลือตัวเองในการประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันไดบาง ตองการการชวยเหลือคอนขางมาก จึงเปนกลุมที่ลําบากในความเปนอยู ระดับท่ี ๓ การชวยเหลือตัวเองไดปานกลาง = ๕๐ % “เปนกลุมเสี่ยง” กลุมนี้ชวยเหลือตัวเองในการประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันไดพอควร อาจตองการผูชวยเหลือคอยแนะนํา หรือคอยระวังอยูดานขางหรือใชอุปกรณเครื่องชวยคนพิการหรือการปรับปรุงสิ่งของเครื่องใชประจําตัว แตไมสามารถออกนอกบาน ศึกษาเลาเรียน ประกอบอาชีพ หรือเขาสังคมไดดวยตนเอง แมในสิ่งที่เอื้ออํานวยตอ คนพิการ ระดับท่ี ๔ การชวยเหลือตัวเองไดคอนขางดี = ๗๕ % “เปนกลุมจําเปน” กลุมนี้ชวยเหลือตัวเองในการประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันไดคอนขางดี อาจใชอุปกรณเครื่องชวยคนพิการ หรือการปรับปรุงสิ่งของเครื่องใชประจําตัว สามารถออกนอกบาน ศึกษาเลาเรียน ประกอบอาชีพหรือเขาสังคมไดดวยตนเองในสิ่งแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอคนพิการ

ระดับท่ี ๕ การชวยเหลือตัวเองไดเองหรือเกือบทั้งหมด = ๑๐๐ % “เปนกลุมเกือบปกติ” กลุมนี้ชวยเหลือตนเองในการประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวันไดเอง อาจใชอุปกรณเครื่องชวยคนพิการหรือการปรับปรุงสิ่งของเครื่องใชประจําตัว สามารถออกนอกบาน ศึกษาเลาเรียน ประกอบอาชีพ หรือเขาสังคมไดเยี่ยงคนปกติ ดังนั้นจากความหมายของผูใหขอมูลท่ีเปนคนพิการระดับรุนแรง คณะผูวิจัยจึงวิเคราะหวา คนพิการระดับรุนแรงอยูในกลุมระดับท่ี ๑-๓ คือ กลุมยากลําบากมาก กลุมยากลําบาก และกลุมเสี่ยงซึ่งท้ัง ๓ กลุมนี้สมควรไดรับการพิจารณาจัดสวัสดิการที่เหมาะสมตามความจําเปนขั้นพื้นฐานตามหัวขอท่ี ๓.๔

Page 132: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๗

๓.๔ ความจําเปนและการไดรับบริการสังคมของคนพิการระดับรุนแรงในพื้นท่ีศึกษา ผลการสัมภาษณ พบวา คนพิการและผูที่เกี่ยวของเห็นวา มีความจําเปนตอการจัดสวัสดิการสังคม

ของคนพิการระดับรุนแรงแตละประเภทและแตละระดับ ความจําเปนนี้มีความแตกตางกันไป เชน คนพิการระดับรุนแรงที่ชวยเหลือตนเองไมไดเลย คนพิการระดับรุนแรงที่ชวยเหลือตนเองไดบาง คนพิการที่ชวยเหลือตนเองไดปานกลาง คนพิการระดับรุนแรงที่ชวยเหลือตนเองไดคอนขางดี คนพิการระดับรุนแรงที่ชวยเหลือตัวเองไดเกือบทั้งหมด จึงขอนําเสนอการวิเคราะหแบงตามประเภทคนพิการ ๕ ประเภท (ตามการแบงของกระทรวงสาธารณสุข) ขณะที่ทางชมรมบุคคลสมาธิ ส้ัน (Attention Deficit/Hyperactivity Disorder-ADHD)รวมถึงปญหาบกพรองทางการเรียนรู (Learning Disabilities-LD)ตองการแยกเปนอีกกลุมตางหาก ดังนั้นคนพิการทุกประเภท จึงที่มีความจําเปนในการไดรับบริการสวัสดิการสังคมในดานตางๆ ไดแก บริการดานการศึกษา ดานสาธารณสุข ดานการสรางอาชีพและรายได ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ดานบริการสังคม ดานนันทนาการ และดานความมั่นคงและการยอมรับตามลําดับ สวนดานสิ่งอํานวยความสะดวกขอนําเสนอในรายงานการวิจัย เร่ืองสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการและเพื่อทุกคนในสังคม ดังนี้

๓.๑.๑ คนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น จากการสัมภาษณกลุมตัวอยางคนพิการทางมองเห็นในภาพรวมนั้น พบวาคนพิการประเภทนี้มี

สภาพชีวิตที่สามารถปรับตัวตอการดําเนินชีวิตได และดํารงตนอยูในสังคมไดคอนขางดี ดังเชนกรณีของสมาคมคนตาบอดแหงประเทศไทยเปนองคกรที่มีศักยภาพและความเขมแข็งเชนเดียวกับสมาคมคนพิการประเภทอื่นๆ ที่สมาชิกตางๆมีศักยภาพ และความสามารถในการดํารงชีวิตที่หลายหลายในอาชีพ ตามความถนัด เชน ฝายบริหารของสมาคม อาจารย การนวดแผนโบราณ คอมพิวเตอร ดนตรี และการขายลอตเตอรี่ เปนตน คนกลุมนี้มีศักยภาพสูงเพราะเปนผูนําของสมาคม มีฐานะ ความเปนอยูและมีรายไดพอที่จะดํารงตนอยูได แตคนพิการระดับรุนแรงนั้นทางการมองเห็น อาจมีปญหาและความจําเปนไมมากนัก เมื่อเทียบกับกลุมอื่นๆ อาจมีปญหาในเรื่องการเดินทาง การเขียน การดูโทรทัศน การออกกําลังกาย เพราะไมสามารถมองเห็นได ดังที่คุณกฤติพงษ ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา สมาคมคนตาบอดแหงประเทศไทย กลาวไววา

“ความพิการระดับรุนแรงของคนตาบอด ผมมองแคดีกรีการมองเห็น มันจะไมสงผลที่วารุนแรง

ในเชิงยากลําบาก เปนแคระดับมองเห็น อยางผมก็เปนคนพิการระดับรุนแรงแลว มองไมเห็นเลย เห็นแตแสงอยางเดียว ถาคิดเปนเปอรเซ็นต ผมก็เกือบทายสุด อาจจะมากกวาที่ตาบอดสนิท ๑๐๐% แทบนิดหนอยถือวาอยูความพิการสูงสุด กรณีของคนตาบอดจําใชคําพิการไมรุนแรงอาจจะดีกวา โดยเอาเรื่องการมองเห็นเปนที่ต้ังมันก็เปนแคแบงระดับมองเห็นแตไมไดบอกศักยภาพเทาไร เพราะตัวศักยภาพเปนตัวพัฒนาขึ้นมาทีหลังมาเพิ่มภายหลัง มันไมใชธรรมชาติผกผันของคนพิการ ซึ่งอาจจะตางกับคนพิการทาง

Page 133: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๘

เคลื่อนไหว ผมคิดวาคนหูหนวกตาบอดลักษณะเหมือนกัน คือเฉพาะหนาที่ตรงนั้น พัฒนาอยางอื่นที่พอจะทดแทนได ถาเปนเรื่องเคลื่อนไหวอยางเดียวมันอาจจะเห็นวามันมีความชัดเขาไปเกี่ยวอยูมาก เพราะฉะนั้นคนพิการทางเคลื่อนไหวที่เขาพิการนอย อาจพิการแคแขนขางเดียว ขาขางเดียวบาง กับ คนพิการทั้งตัว ขยับไมไดเลยหรือขยับไดแคล้ิน อาจจะเปรียบเทียบกับคนพิการ เฉพาะแสงมันจะมีผลกระทบตอความรุนแรงแตกตางกันมาก”

ความจําเปนที่จะตองจัดสวัสดิการที่เหมาะสมใหกับคนพิการเหลานี้ใหสามารถมีชีวิตและ

ดํารงชีวิตขั้นพื้นฐานไดอยางปกติสุข ขณะเดียวกันคนพิการเหลานี้ก็ไมสามารถที่จะชวยตนเองไดเลย และมีบางสวนจะพอชวยตัวเองไดบาง

“ทางสมาคมเองมองวาคนตาบอดที่รับการชวยเหลือ อยางใดอยางหนึ่ง หรือวาไดรับการชวยเหลือ

ตนเองมันนาจะไมถึง ๒๐% ดวยซ้ําจากคนตาบอดทั้งหมด หมายความวาอีก ๘๐ % เปนคนตาบอดที่ไมไดรับโอกาสอะไรเลย คนตาบอดที่ไมไดรับโอกาสอะไรเลย ถาเขามีความพิการในระดับไมรุนแรงนัก เขาก็จะกระเสือกกระสนชวยเหลือตนเอง การมองเห็นที่มีอยูออกมาทํามาหากินไดระดับหนึ่งกับคนตาบอดสนิทที่ไดเดินไปไหนมาไหนเองได วันนี้เหมือนกับเขา ถูกตัดกับโลกภายนอก เขาก็จะอยูในจุดแคบๆเขา ซึ่งมันก็คอยเพิ่มความตางวิถีชีวิตจากคนทั่วๆไปจากเดิมที่เขาเปนเด็ก ก็มีพอแมใหความสนใจเวลาดูเด็กอาจจะไมยากเย็นเทาไร”

๑) ดานการศึกษา คนพิการทางการมองเห็น มีความจําเปนในดานการศึกษา เพราะเปนเสมือนแสงสวางนําทางไปสูความรูในอาชีพและการดํารงชีวิตในสังคม

กระทรวงศึกษาธิการไดใหความสําคัญในเรื่องของสิ่งอํานวยความสะดวกในสถานศึกษาสําหรับคนพิการระดับรุนแรง รวมทั้งสื่อการศึกษาตางๆ บริการใหความชวยเหลือทางการศึกษาโดยออกกฎกระทรวงมาแลวป ๒๕๔๕ วาดวยหลักเกณฑวิธีการใหคนพิการไดรับสิ่งอํานวยความสะดวกและสื่อบริการและใหความสะดวกทางการศึกษา ซ่ึงทางคนพิการที่ไดรับการศึกษาในเรื่องของหนวยงานราชการไมตองเสียคาใชจายใดๆ และยังมีองคการปกครองสวนทองถ่ินรวมดําเนินงานดวย คนพิการทางการมองเห็น มีความจําเปนในดานการศึกษา เพราะการศึกษาเปนบันไดเขาสูอาชีพและการดํารงชีวิตในสังคม คนพิการทางการมองเห็นตองไดรับการศึกษา การเรียนรูสังคมในเรื่องตางๆ คนกลุมนี้จึงมีความจําเปนที่จะตองไดรับสวัสดิการดานการศึกษา แตคนพิการทางการมองเห็นที่ทํางานแลว มีความจําเปนในการเรียนรูสังคมหรือการศึกษาตอยอดเพิ่มเติม สงเสริมระบบบริการพื้นฐาน ดังที่คนพิการทางการมองเห็น กลาวถึงการศึกษาวา “ปจจุบันมี อบต./ อบจ. ที่จะมาดูแลในจังหวัด คาดวาสถานการณของคนพิการจะดีขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องของการศึกษา รัฐบาลใหการสนับสนุนอยูนะครับไมต่ํากวา ๒๐๐ ลาน”

Page 134: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๑๙

สําหรับการศึกษาระดับอุดมศึกษาเปดโอกาสใหคนพิการเรียนไดตามความสามารถของตน“ในระดับอุดมศึกษาก็มี ๒ เร่ืองดวยกันคือใหการศึกษาตรงกับคนพิการ ผมเชื่อวาตอนนี้ทุกสถาบันในระดับมหาวิทยาลัยเปดโอกาสใหอยูแลวนะครับ ไมเคยไดยินวามหาวิทยาลัยไหนกีดกันนักศึกษาที่เปนคนพิการที่มีความสามารถเรียนได อันนั้นก็ไมนาหวง คงไมมีใครปดโอกาสของทาน” เมื่อเปนเชนนี้คนพิการทางการมองเห็นยิ่งตองไดรับการศึกษา อบรม บมเพราะความรูเพื่อเปนบันไดไปสูอาชีพและการดํารงตนในสังคมของคลื่นลูกที่สาม (Third Wave) นั่นคือสังคมความรู (Knowledge Society) คนพิการทางการมองเห็นจึงตองไดรับการศึกษา เพราะสังคมตองการผูมีความรู การเรียนรูสังคมในเรื่องตางๆ คนกลุมนี้จึงมีความจําเปนที่จะตองไดรับสวัสดิการดานการศึกษา ในชวงวัยเด็กมีสถานศึกษาสงเสริมการเรียนรวมกับคนปกติ หรือเรียนในโรงเรียนสอนคนตาบอด แตคนพิการทางการมองเห็นที่ทํางานแลว มีความจําเปนในการเรียนรูสังคมหรือการศึกษาตอยอดเพิ่มเติม สงเสริมระบบบริการพื้นฐาน ดังที่คนพิการทางการมองเห็น กลาวถึงคาใชจายในการเขาถึงความรู

“ชีวิตคนพิการมีตนทุนสูง การทํากิจกรรมเดียวกันใหบรรลุเปาหมาย ตองใชเงินสูงกวา เหตุที่เปนก็คือระบบพื้นฐานบริการไมดี ไมมีครอบครัว บางครั้งเราไมไดเนนถึงฟนฟูศักยภาพคนพิการใหเขาสามารถลดคาใชจายได ขอแรก การเปนคนพิการตนทุนสูงขึ้น สาเหตุที่ ๑ คือ โครงสรางพื้นฐานบริการไมดี เชนวา คนที่ตาบอดผมอยากจะอานหนังสือพิมพรายวัน ผมไมสามารถจาย ๑๐ บาทแลวอานได ตองจาย ๑๐ บาทกอนแลวซื้อกอน แลวก็ตองจายเพิ่มใหคนอื่นอานให ผมตองซื้อตลับเทปใหเขาบันทึกเสียง คิดงายๆวาถาเปนสื่อ ๑ เลม ที่คนทั่วไปอานสัก ๒ ช่ัวโมงจบ หนังสืออะไรสักอยางที่มีความจําเปน หนังสือเลมนี้อาจ ๕๐ บาท ขั้นแรกตองซื้อกอน ๕๐ บาท ขั้น ๒ ตองซื้อตลับเทปที่อัดได ๒ ช่ัวโมง ๒ มวน ก็ ๔๐ บาท มวนละ ๒๐ บาท ผมจายเพิ่มอีก ๒๐ บาท แลวก็ตองจายคาจางที่ใหอานใหฟงอีก เขาอาจคิดช่ัวโมง ๖๐ บาท เพราะฉะนั้นถาเกิดผมตองจายทั้งหมด ผมตองจาย ๒๔๐ บาท ขณะที่คนทั่วไปจาย ๕๐ บาท” คนกลุมนี้จึงมีความจําเปนที่จะตองไดรับสวัสดิการดานการศึกษา ในการเรียนรูสังคมหรือ

การศึกษาตอยอดเพิ่มเติม สงเสริมระบบบริการพื้นฐาน เมื่อเปนเชนนี้คนพิการทางการมองเห็นยิ่งตองไดรับการศึกษา อบรมความรู ดังที่คุณวรรณา

กลาววา “อยากใหชวยเนนการศึกษาของคนพิการใหสูงๆ เพื่อที่จะไดมีสวนรวมในการออกความคิดเห็นในการพัฒนาประเทศไดคะ ชุมชนก็ควรจะมีหนวยงานไปใหความรูความเขาใจในการปองกันความพิการที่อาจจะเกิดขึ้นไดกับตัวทานหรือบุตรหลานของทาน” จากการสัมภาษณผูใหขอมูล เปนคนพิการทางการมองเห็นสวนใหญกําลังศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยในจังหวัดเชียงใหม ไดศึกษาและพกัอยูที่โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ อันบงบอกถึงคุณภาพการศึกษาของคนพิการทางการมองเห็น

สวนจังหวัดอุบลราชธานีไมมีสถานศึกษาที่สอนคนพิการทางการมองเห็น นั่นคือโรงเรียนสอนคนตาบอด แตมีศูนยการศึกษาพิเศษ เขต ๑๐ ขณะที่คนพิการทางการมองเห็นตองไดรับการศึกษา

Page 135: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๐

การเรียนรูสังคมในเรื่องตางๆ คนกลุมนี้จึงมีความจําเปนที่จะตองไดรับสวัสดิการดานการศึกษา ดังที่ คนพิการทางการมองเห็น กลาววา

“ถาใหเครื่องมือหากิน ถาคนเราเขาใจและมีความรูเรื่องเครื่องมือนั้น การที่เขาใหเครื่องมือนั้น ถามสิ

วาถนัดไหม ยังไง อยางหาปลาไดไหม ถาเขาหาไดก็ใหไป แตปลามันอยูไหน ความคิดอยากใหเขาเรียนรูวาชีวิตคุณเปนยังไง คุณตองการยังไง ตองการการประกอบอาชีพแบบไหน แลวคอยใหเครื่องมือมา สรุปไดวา ถารูดานไหน อยากใหผมชวยยังไง อยากใหถามอยางนี้”

เมื่อเปนเชนนี้คนพิการทางการมองเห็นยิ่งตองไดรับการศึกษา อบรม แตในชนบทจะแตกตางกับ

ในเมือง คนสวนใหญจะใหความสําคัญกับการศึกษา การสงบุตรหลานเขาศึกษาตอ เพื่อการประกอบอาชีพที่ดีกวา ผิดกับคนพิการที่มีโอกาสนอยในการศึกษา มีปญหาในแตละประเภทคนพิการ โดยเฉพาะชนบทจะมีความแตกตางทางดานการศึกษาจะลาหลัง เพราะตามหมูบาน ตามชุมชน จะไมใหความสําคัญเทาไร อันเปนอุปสรรคอยางมากในการพัฒนาการศึกษา คุณมนัส อาจารยจากศูนยการศึกษาพิเศษ เขต ๑๐ ไดกลาวเสริมวา “เร่ืองการศึกษาของคนพิการไมชัดเจน ผมอยากใหคนในชุมชนไดมีสวนรวมบาง ไมใชคนอื่นที่ไมมีความรูมากําหนดทิศทางให เพราะเขาไมมีความรูจริงๆ อาจมีความผิดพลาดขึ้นมาได คนที่จะทํางานใหมีความยั่งยืนหรือเขมแข็งได ก็คือคนในชุมชนนั่นเอง”

ขณะที่จังหวัดสงขลาไมมีโรงเรียนสอนคนตาบอด แตมีศูนยการศึกษาพิเศษ เขต ๓ และศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคที่ใหบริการครอบคลุม ๑๔ จังหวัด แตคนพิการทางการมองเห็นตองไดรับการศึกษา การเรียนรูสังคมในเรื่องตางๆ คนกลุมนี้จึงมีความจําเปนที่จะตองไดรับสวัสดิการดานการศกึษา ดังที่คุณปรีดาภรณ นายกสมาคมคนตาบอดจังหวัดสงขลา กลาววา “พูดถึงการศึกษา ไมคอยใหความสําคัญกับมันเทาไร เพราะหนูอยูในที่วาทํางานสรางอาชีพ แตก็อยากใหการศึกษาเขากับคนพิการมากขึ้น” ๒) ดานสาธารณสุข

สุขภาพเปนสุดยอดของความปรารถนา ดังคําที่วา “อโรคยา ปรมาลาภา” หมายถึง การไมมีโรคเปนลาภอันประเสริฐ ความจําเปนที่คนพิการทางการมองเห็นระดับรุนแรงตองมีสุขภาพดี (Well-being) เปนความประสงคของคนพิการ โดยเฉพาะคนพิการทางการมองเห็นที่ตองอยูในโลกอีกโลกหนึ่ง ยิ่งหากมีโรคแทรกซอนหรือความพิการซ้ําซอน กลับจะยิ่งทําใหคนพิการทางการมองเห็นตองยากลําบากไปอีก สุขภาพเปนสิ่งจําเปนของคนพิการระดับรุนแรง โดยเฉพาะคนพิการทางการมองเห็น สวนมากจะเกิดมาตั้งแตชวงวัยอายุนอย และมีสภาพที่มองไมเห็นอาจเกิดอุบัติเหตุ จากการเดินทางไปไหนมาไหน การทํากิจกรรมประจําวัน ขณะเดียวกันเมื่อสูงวัยข้ึน สุขภาพรางกายที่อาจมีโรคหรืออาการผิดปกติ เชนโรคประจําตัว หรืออาจเปนความพิการซ้ําซอนตามมา เชน มีความดันโลหิตสูง เบาหวานหัวใจและหลอด

Page 136: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๑

เลือดฯลฯ ขณะเดียวกันคนพิการที่อยูในกรุงเทพฯ อาจมีความเครียดจากภาวะตองดํารงชีวิตในเมือง ภาวะคาครองชีพ การทํามาหากิน จึงตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ ดังที่คนพิการทางการมองเห็น กลาววา “ผมมีความดันโลหิตสูง ตองกินยาประจํา มีคายาความดัน จายเปนเดือนๆละ ๗๕ บาท คาทําฟนอีก...”

ขอจํากัดของคนพิการทางการมองเห็นระดับรุนแรง คือไมสามารถมองเห็นสิ่งตางๆ การเดินทางไปไหนมาไหน การทํากิจกรรมประจําวัน จะมีความยากลําบากหากไมมีการเรียนรูและปรับตัวของ คนพิการประเภทนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งคนพิการทางการมองเห็นที่ เกิดขึ้นภายหลังมิใชแตกําเนิด การปรับตัวเพื่อดํารงอยูในสังคมจะมีความยากลําบากเพิ่มขึ้นอีกมาก นอกจากนี้คนพิการทางการมองเห็นอาจมีความเครียดจากภาวะตองดํารงชีวิตในสภาพกึ่งเมืองกึ่งชนบทที่มีภาวะคาครองชีพสูง จึงตองไดรับการดูแลสุขภาพเปนพิเศษ แตจังหวัดนครปฐมก็มีสถานพยาบาลในระดับจังหวัดมีโรงพยาบาลศูนย ทุกอําเภอมีโรงพยาบาลชุมชน โดยเฉพาะอําเภอนครชัยศรีมีโรงพยาบาลชุมชนถึง ๓ แหง มีสถานพยาบาลที่คนพิการเขาถึงไดสะดวก แตคนพิการกลุมนี้อาจมีปญหาการเดินทาง ดังที่คนพิการทางการมองเห็นกลาววา “พูดตรงๆ วา ส่ิงที่ผมอยากไดก็คือวาการรักษาพยาบาลขอใหมีรถรับสงคนพกิารที่เขาอยูในชุมชนที่เขามาลําบากใหจัดรถไปรับสงเขาและอยากใหมีหนวยพยาบาลเคลื่อนที่ไปดูแลเขาบางในยามที่เขาเจ็บปวยเพราะบางทีหนวยพยาบาลของอนามัยเขาไปไมถึงครับ”

แตจากขอมูลพบวา จังหวัดนครปฐม มีการขึ้นทะเบียนบัตรทอง เกือบ ๑๐๐ % ดังนั้นคนพิการทางการมองเห็นทุกคนจะไดรับบัตรทอง (ท๗๔) มีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ โดยไมเสียคาใชจาย ตามสิทธิที่ระบุไว

การดูแลสุขภาพเปนสิ่งที่ควบคูกับการศึกษาและอาชีพที่คนทั่วไปและคนพิการตองไดรับการเอาใจใสดูแลใหมีสุขภาพอนามัยที่ดี แตหมูบานที่หางไกล ควรไดรับการดูแลพิเศษ เพราะหางไกลจากสถานพยาบาล การดูแลสุขภาพอนามัยจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง อยางไรก็ตามกระทรวงสาธารณสุขไดขึ้นทะเบียนบัตรทอง (ท. ๗๔) ที่คนพิการทุกคนไดรับสิทธิในการรักษาพยาบาลโดยไมเสียคาใชจายในสถานพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข การดูแลสุขภาพเปนการปองกันไมใหเกิดความพิการ ตั้งแตการตั้งครรภ การคลอด และการเจริญเติบโตตามวัยตางๆ การไดรับวัคซีน หากพิการก็ไดรับการดูแลและการฟนฟู โดยเฉพาะคนพกิารอาจมีความพิการแตละประเภทและความพิการซ้ําซอน ดังนั้นการดูแลสุขภาพอนามัยจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ดังที่พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดนครปฐม ไดกลาวถึงการดําเนินงานที่เกีย่วกบัคนพกิาร ดังนี้

“สาธารณสุขดูแลทั้งหมดนะ เราจะตองทําตั้งแตปองกันไมใหเกิดความพิการ ต้ังแตการต้ังครรภ ปองกันความพิการตั้งแตกําเนิด เกิดและเจริญเติบโต โครงการที่เราทําอยูตอนนี้คือ หมวกกันน็อค และสายรัด เปนการลดความพิการไดระดับหนึ่ง นอกจากปองกันในเรื่องของการรักษา คือถาเปนผูพิการเราจะขึ้นทะเบียนผูพิการและมีสวัสดิการให เพราะคนพิการจะมีบัตร ทพ. ๗๔ สามารถรักษาฟรี ในเรื่องของการฟนฟูเราจะมีต้ังแตการบําบัดในเบื้องตน จะมีเจาหนาที่ดูแลเฉพาะ เรามีทั่วประเทศ และเรา

Page 137: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๒

ก็มีอาสาสมัครในสวนนี้ดวย ที่จะชวยเราดูแลคนพิการ และทางสาธารณสุขจะมีการสํารวจจํานวน ผูพิการ แยกเปนประเภทความพิการ ทําใหขอมูลที่เรามีคอนขางละเอียดและถูกตองมากที่สุด เราจะเนนใหเจาหนาที่เรารุกเขาไปในชุมชน คือไปหาผูพิการไมตองใหผูพิการมาหาเรา อาจจะไปเยี่ยมที่บานไปใหคําแนะนําในการดูแล และมีการติดตามผลการดําเนินงานของเรา” การดูแลสุขภาพเปนสิ่งที่ควบคูกับการศึกษาและการอาชีพที่คนทั่วไปและคนพิการตองไดรับการ

เอาใจใสดูแลใหมีสุขภาพอนามัยที่ดี หากพิการก็ไดรับการดูแลและการฟนฟู โดยเฉพาะคนพิการอาจมีความพิการแตละประเภทและความพิการซ้ําซอน ดังนั้นการดูแลสุขภาพอนามัยจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง

๓) ดานการสรางอาชีพและรายได การที่คนพิการมีอาชีพประจําที่จะสรางรายไดใหพออยูพอกินแกการดํารงชีวิตเปนสิ่งที่ทุกคนตองการเปนอันดับหนึ่ง เพราะการศึกษาเพื่อสรางความรูในเรื่องของการทํามาหากิน นําความรูมาใชในการประกอบอาชีพ หากมีอาชีพมั่นคงจะสงผลถึงรายไดที่สรางความมั่นคงในชีวิต นั่นหมายถึง การมีรายไดเล้ียงตัวเองและครอบครัว ทั้งยังไมเปนภาระกับคนในสังคม ชุมชนและครอบครัว ถึงแมวาเปน คนพิการระดับรุนแรงก็ตองมีงานมีอาชีพเพื่อสรางรายได มิใชเพียงเพื่อการดํารงชีวิต แตเปนการใหคุณคากับตัวเอง และแสดงศักยภาพของตัวตนออกมาสูสังคม ดังที่คนพิการทางการมองเห็น กลาววา “ผมเคยเห็นที่ญี่ปุนเขาทํา ตอนแรกผมก็ไมเขาใจวาทําไมตองใหผูพิการระดับรุนแรงตองทํางาน เรา

นาใชวิธีการเลี้ยงดูเขาใชไดเลย แตมันก็มีผลทางจิตวิทยามากทีเดียว จริงแลวถาผมมีสมมุติฐานแรกไวกอนวาคนทุกคนไมมีใครอยากอยูเฉยหรอกถึงแมคนขี้เกียจที่สุด เขาก็ไมอยากอยูเฉย แตก็อยากทําไรที่เปนวิถีของเขา ทีนี้ถาเราบอกวา เปนคนพิการระดับรุนแรงแลวเราจะดูแลเขาเพียงแตเขาไดอาหาร ๓ มื้อ ระยะเยียวยาเมื่อเจ็บปวยอยางเดียว วิถีชีวิตทั่วๆไปของเขา เราไมไดสนใจเขาเลย ไมมีอะไรรองรับ มันก็ทําใหคุณภาพชีวิตเขาแยก็ได ชีวิตคนเราตองมีเรื่องของสังคม มนุษยสัมพันธอยูดวย ตัวของการบริการชวยเหลือ ยอนกลับมาญี่ปุนเขาก็ใหคนแบบนี้ทํางานอยู จะทํางานไดมากนอยก็ไมเปนไรถาไดรับ ๑) สังคมในระยะหนึ่ง ๒) มีความภาคภูมิใจในระดับหนึ่งดวย ระบบของเราที่จะทําตองเอาสิ่งเหลานี้ไปพิจารณารวมดวย”

การที่คนพิการจะมีชีวิตที่ดี ส่ิงหนึ่งตองมีรายได มีอาชีพประจําเพื่อสรางรายไดใหพออยูพอกิน

แกการดํารงชีวิต จึงเปนสิ่งที่ทุกคนตองการ แมวาเปนคนพิการระดับรุนแรงก็ตองมีงานมีอาชีพในการดํารงชีวิตประจําวัน มิใชเพียงเพื่อการดํารงชีวิตเชนคนทั่วไป แตเปนการใหคุณคากับตัวเอง และแสดงศักยภาพของตัวตนออกมาสูสังคม แตจากขอมูลคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นมีความตองการในอาชีพและรายไดที่หลากหลาย ตามความถนัด เชน การนวดแผนโบราณ คอมพิวเตอร ดูโชคชะตาราศี ศิลปะ ดนตรี และการขายลอตเตอรรี่ เปนตน

Page 138: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๓

สํานักงานแรงงานจังหวัดเปนหนวยงานรับผิดชอบในเรื่องการสรางอาชีพ ทั้งในดานการ แนะแนว ฝกอาชีพอยางครบวงจร จัดการใหคนพิการเดินทางไปทํางาน และสงงานไปใหคนพิการทําที่บาน การฝกอาชีพที่เปนอิสระและผลิตสินคาออกมาตองมีคุณภาพและมีตลาดรองรับ หรือผลิตใหตรงกับความตองการของตลาด ดังนั้นสํานักงานแรงงานจังหวัด ตองใชวิธีการทางการตลาดดวย ดังที่นักวิชาการแรงงาน กลาววา

‘เราก็มีโครงการนี้อยูเหมือนกันนะคะแตตองบอกกอนวาขณะนี้การรับงานมาทําที่บานมันคอนขาง

นอยเพราะวานายจางจริงแลวเขาก็ไมอยากปลอยช้ินงานออกมา เราก็ประสานกับสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ถาเขาออกตรวจก็ใหเขาชวยดูๆใหดวย ซึ่งตอนนี้เราก็ประสานงานกันอยูคะคือมันหาคอนขางยากแลวตอนนี้ มันมีในเรื่องของกฎหมายแรงงานเขาไปครอบคลุมอยูดวยตองมีสวัสดิการ ตองมีอะไรอยางนี้คือถาคุณเอางานไปใหเขาทําที่บาน คุณจะตองคุมครองในดานของแรงงานดวยนายจางจึงปลอยงานออกมานอย แตเราก็จะทําจนเต็มความสามารถของเราที่มีคะกลับไปนี่เราก็จะเขาไปชวยดูในเรื่องนี้ดวย’

การฝกอาชีพเปนสิ่งจําเปนสําหรับคนพิการ เพื่อไปประกอบอาชีพจริงๆ และตองคํานึงถึงตลาดที่

จะมีชองทางการจําหนายหรือขายดวย อีกประเด็นหนึ่ง คือการรวมกลุมการประกอบอาชีพ จะเปนทางออกที่ดีใหกับคนพิการ อยางเชน การนวดแผนไทย ดังที่พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดนครปฐม กลาววา

“ การรวมกลุมในการประกอบอาชีพ นาเปนทางออกที่ดีที่ใหกับผูพิการ ซึ่งตอนนี้ผมก็ชวยตรงนี้

อยูครับ เชน คนตาบอดที่ฝกนวดแผนโบราณ ผมก็ใหทุนเปดเปนกลุม โดยใหทุนไป ๒,๐๐๐ บาท ซึ่งบางกรณีเราก็ใหฟรี บางกรณีเราก็กูแตไมมีดอกเบี้ย ผมขอย้ํา ถาจะกูขอใหกูตามความจําเปนจะดีกวาครับ เพราะเงินกองทุนมีคอนขางจํากัด”

การมีรายไดเล้ียงตัวเองและครอบครัว แมวาเปนคนพิการระดับรุนแรงก็ตองมีงานมีอาชีพในการ

ดํารงชีวิตประจําวัน มิใชเพียงเพื่อการดํารงชีวิตเชนคนทั่วไป แตเปนการใหคุณคากับตัวเอง และแสดงศักยภาพของตัวตนออกมาสูสังคม ดังที่คุณปรีดาภรณ กลาววา

“พวกน้ีหนวยงานรัฐจะตื่นตัวในการชวยเหลือ ในความคิดไมอยากใหชวยเหลือแบบสงเคราะห ใหชวยเหลือตัวเอง พัฒนาตัวเอง ถาสงเคราะหหมายถึง วากินใหอิ่ม นอนหลับ หนูคิดวาเปนการพัฒนาการสรางงาน สรางอาชีพใหแกคนพิการมากกวา ตอนนี้หนวยงานรัฐไมไดเนนในจุดนี้จะเนนดานการสงเคราะห”

Page 139: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๔

การฝกอาชีพเปนสิ่งจําเปนสําหรับคนพิการ เพื่อไปประกอบอาชีพจริงๆ และตองคํานึงถึงตลาดที่จะมีชองทางการจําหนายหรือขายดวย อีกประเด็นหนึ่ง คือการรวมกลุมการประกอบอาชีพ จะเปนทางออกที่ดีใหกับคนพิการ อยางเชน การนวดแผนไทย คอมพิวเตอร เปนตน การประกันการวางงานเปนการสรางความมั่นคงในอาชีพของคนพิการประการหนึ่ง ดังที่คุณสมคิด คนพิการทางการมองเห็นไดกลาววา “ มีการประกันการวางงานดวย วาจบออกมาแลวสามารถทํางานไดหรือมีงานทํากันทุกคน งานอาจจะไมเหมือนกับคนปกติก็ได อาจจะดูความเหมะสมของผูพิการแตละคนดวย” คุณวรรณาเสริมวา “การทํางานขอโอกาสเราบาง และมีการบังคับใชกฎหมายอยางจริงจัง” และคนพิการทางการมองเห็นอีกคนกลาววา “ถาเกิดเราไดเปนกลุมขึ้นมา ก็ทําโครงการของภาครัฐ ภาคเอกชน ของบประมาณ มาฝกอาชพีใหเขา การฝกอาชีพจะทําเปนบูรณาการเลย มีทั้งการชวยเหลือตัวเอง อาชีพ การเรียนอักษรสัมผัส” ๔) ดานบริการสังคม

การไดรับบริการสังคมในกรุงเทพฯ เปนสิ่งจําเปนที่คนพิการควรไดรับ เพราะการดํารงชีวิตในเมืองหลวง มีวิถีชีวิตที่แตกตางกับชนบท เปนสังคมเมืองที่ตางคนตางทํา ตางคนตางอยู แมวากรุงเทพฯจะมีความเจริญรุงเรืองอยางมาก แตบริการสังคมที่ใหกับคนพิการในดานตางๆ จึงมีความจําเปนรวมถึง เบี้ยยังชีพ การบริการจากสมาคมเพื่อคนพิการ การบริการขอมูลชวยเหลือเมื่อจําเปน บริการดูแลคนพิการในชุมชน ส่ิงเหลานี้คนพิการมีความจําเปนเพื่อใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น โดยเฉพาะเบี้ยยังชีพ เปนสิ่งที่ขาดไมได ดังกลาวแลววาคนที่ตองอยูในเมืองมีภาระคาใชจายหรือคาครองชีพสูงกวาที่อ่ืนๆ ดังที่คุณกฤติพงษ สะทอนวา “มีกินแตไมมีเก็บ เพียงพอรายวัน แตถามวา เดือนหนา ๒ เดือนหนา ถาเราไมมีงานทํา มันจะมีอะไรรองรับไหม ก็ไมมี”

ในภาพรวมคนพิการระดับรุนแรง สวนใหญยังไมไดรับการชวยเหลือ จากภาครัฐเทาที่ควร ในทุกดาน ซ่ึงทางคนพิการทางการมองเห็น ไดสะทอนวา “ภาพรวม ผมคิดวาในขณะนี้ยังชวยคนพิการระดับรุนแรงยังไมได สวนใหญจะชวยเหลือคนพิการ

ที่ชวยเหลือตัวเองได ที่เปนการเนนศักยภาพฟนฟู ประสานใหเขาถึงการบริการแหลงที่ชวยเหลือตัวเองได กรณีของผูพิการระดับรุนแรงเขาไมมีความพรอม ในเรื่องเหลานั้นระบบเขาเรายังไปไมถึงใหเขาสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีไดและการดํารงชีวิตได ทีนี้คนตาบอด คําวาพิการรุนแรงคนตาบอด ถาที่เปนเชิงเดี่ยวที่เปนพิการอยางเดียว ถึงแมคนตาบอดระดับสูงสุดคนตาบอด พูดกันตรงๆวา มันก็ยังเปนคนพิการที่สามารถชวยเหลือตัวเองไดถามีโอกาส การสนับสนุนหาทางตางๆ เพราะฉะนั้นในกรณีของคนตาบอดดูไมเดือดรอนเทาไรนัก เรื่องของที่จะเอาคําวาคนพิการระดับรุนแรงมาจัด ไมวาจะมองไมเห็นเลยหรือมองเห็น เปาหมายก็คือการชวยเหลือตัวเอง ระบบของรัฐหรือระบบที่มีอยูตอนนี้ สวนใหญจะเปนที่เนนประสานชวยตนเองมากกวา”

Page 140: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๕

การไดรับบริการสังคมในจังหวัดนครปฐม เปนสิ่งจําเปนที่คนพิการควรไดรับ เพราะการดํารงชีวิตในเขตปริมณฑล มีวิถีชีวิตที่แตกตางกับชนบท แตบริการสังคมที่ใหกับคนพิการในดานตางๆ จึงมีความจําเปนรวมถึงเบี้ยยังชีพ การบริการจากสมาคมเพื่อคนพิการ การบริการขอมูลชวยเหลือเมื่อจําเปน บริการดูแลคนพิการในชุมชน ส่ิงเหลานี้คนพิการมีความจําเปนเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น (Quality of Life)โดยเฉพาะเบี้ยยังชีพ เปนสิ่งจําเปนที่ขาดไมได นอกจากนี้จังหวัดนครปฐมไดมีการเชื่อมโยงเครือขายฐานขอมูลเปนศูนยบริการเครือขาย (Service Link) เชื่อมกับองคการบริหารสวนตําบลทั้ง ๑๔ แหง จัดบริการแบบ“จัดบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (0ne Stop Service)” ดังที่เจาหนาที่ พมจ. จังหวัดนครปฐม กลาววา

“เรามีเซอรวิสลิ้ง อยู ตอนนี้เรามีอยู ๑๔ อบต. นะคะ ซึ่ง อบต.เหลานี้สามารถตอสมุดคนพิการรับ

เรื่องเงินกูไดเลยทําทุกอยางแลวเขาจะรายงานผลกลับมาที่จังหวัดวาในเดือนนี้ อบต.ทุงลูกนก อยางนี่ ขอสมุดคนพิการใหไปกี่รายจดทะเบียนไดไปกี่รายและจะมีหมายเหตุวาจะมีปญหาความตองการแตละรายออกมาแลวเราก็จะเอาปญหาเหลานั้นจําแนกออกมาเอามาพิจารณาดู ซึ่ง ทาง อบต.สวนใหญจะคอนขางเขาใจงานขึ้นเยอะเดี๋ยวนี้เกือบจะทุก อบต.จะมีโครงการที่พัฒนาดานสังคมในดานของคนพิการที่เราพยายามผลักดันใหทุก อบต.”

ขณะที่จังหวัดเชียงใหม การบริการสังคมเปนสิ่งจําเปนที่ใหกับคนพิการในดานตางๆ จึงมี

ความจําเปนรวมถึง เบี้ยยังชีพ การบริการจากสมาคมเพื่อคนพิการ การบริการขอมูลชวยเหลือเมื่อจําเปน บริการดูแลคนพิการในชุมชน ส่ิงเหลานี้คนพิการมีความจําเปนเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น โดยเฉพาะ เบี้ยยังชีพ เปนสิ่งจําเปนที่ขาดไมได

ขณะที่การจัดบริการสังคม ทางคณะผูวิจัยมุงเนนในเรื่องของเบี้ยยังชีพ เพราะเปนสิ่งจําเปนของคนพิการระดับรุนแรงทุกประเภท ทุกคนในระดับท่ี ๑-๓ ซ่ึงชวยเหลือตัวเองไมได และตองพึ่งพาผูอ่ืนในการดํารงชีวิตนาจะมีโอกาสเขาถึงและไดรับการยังชีพขั้นพื้นฐาน การมีชีวิตในสังคมตามคุณภาพชีวิต และความจําเปนขั้นพื้นฐานและสอดรับกับโครงขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net) ท่ีมีจุดมุงหมายใหทุกคน โดยเฉพาะคนพิการมีความมั่นคงทางสังคมขั้นพื้นฐาน (Basic Social Security)

-เบี้ยยังชีพเพื่อการดํารงชีวิต ส่ิงจําเปนอยางหนึ่งในชีวิตประจําวันยุคทุนนิยมที่คนในสังคมตองดํารงชีวิตภายใตระบบ

เศรษฐกิจ เงินตราจึงมีความจําเปนอยางมากที่จะอํานวยใหชีวิตมีความสุขไดในระดับหนึ่ง ยิ่งผูที่อยูในเมืองหลวง การมีเงินที่พอยังชีพไดในความจําเปน จึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได โดยเฉพาะอยางยิ่งคนพิการระดับรุนแรง ที่ตองมีภาระคาใชจายมากกวาคนพิการหรือคนทั่วไปอยางมากหลายเทาตัว เพราะตองมีผูชวยเหลือดูแล ยิ่งหากมีความซ้ําซอนยิ่งตองใชเงินในการดํารงชีพ ทางรัฐไดใหความสําคัญ จึงจัด

Page 141: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๖

“เบี้ยยังชีพ ๕๐๐ บาทสําหรับคนพิการระดับรุนแรง” เปนเครื่องยังชีพตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง คือ การดํารงชีวิตตามความจําเปนขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) ๘ หมวด ๓๗ ตัวช้ีวัด ไดแก สุขภาพดี มีบานอาศัย ศึกษาถวนทั่ว ครอบครัวสุขสบาย รายไดมาก อยากรวมพัฒนา พาสูคุณธรรม และบํารุงสิ่งแวดลอม

หากวิเคราะหจะเห็นวา การจายเบี้ยยังชีพใหกับคนพิการระดับรุนแรง เปนเพียงเครื่องบรรเทาทุกขความยากลําบากในระดับหนึ่งเทานั้น แตยังมีสวัสดิการดานอื่นๆที่รัฐไดจัดใหบริการกับคนพิการระดับรุนแรงและทุกคนมีโอกาสในการเขาถึงและใชบริการ ไมวาจะเปนการบริการการศึกษา (คูปองการศึกษา) ดานสุขภาพ บัตรทอง (ท.๗๔) การอาชีพ (การอบรมอาชีพ การจัดหาอาชีพ การกูเงินกองทุนฟนฟูอาชีพ) สิ่งอํานวยความสะดวก (สิ่งอํานวยความสะดวกสวนบุคคล กายอุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวกสาธารณะ ฯลฯ)การนันทนาการ และอื่นๆ ดังกลาวมาแลว

ขณะที่การกระจายอํานาจ ตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดกําหนดใหมีการถายโอนสถานบริการดานสวัสดิการสังคมใหกับทองถ่ิน เชน สถานสงเคราะหคนพิการ สถานสงเคราะหเด็ก ฯลฯ รวมถึงเบี้ยยังชีพคนพิการ เบี้ยยังชีพผูสูงอายุ เบี้ยยังชีพผูปวยเอดส เงินสงเคราะหครอบครัว เงินสงเคราะหเด็กในครอบครัว เงินทุนประกอบอาชีพผูปวยเอดส และเงินกูยืมประกอบอาชีพสําหรับคนพิการ ปจจุบันจึงเห็นวาองคกรปกครองสวนทองถ่ิน คือ องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ) เทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ไดมีบทบาทและความรับผิดชอบมากขึ้น เนื่องจากไดรับการถายโอนงานสงเคราะหการดูแลชวยเหลือใหกับทองถ่ิน แตในทางปฏิบัติก็มีปญหามากมาย สําหรับผูบริหารเร่ืองวิสัยทัศนของผูบริหารทองถ่ินหรือ อบต.ที่แตละแหงจะใหความสําคัญ มีนโยบายในเรื่องใด โดยเฉพาะเรื่องของคนพิการ จึงขึ้นกับความรู ความเขาใจวาผูบริหารแหงนั้นใหความสนใจหรือใสใจอยางไร แตจากการสอบถามผูบริหารทองถ่ินก็ใหความเอาใจใส ดังกรณีของคุณบุญฤทธ์ิ ตําแหนงรองนายก อบต. ซ่ึงเปนคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวดวย ไดกลาวถึงบทบาทของ อบต.ที่รับผิดชอบอยู วา

“สําหรับเบี้ยยังชีพทาง อบต. ก็จัดใหกับผูพิการที่รุนแรง ชวยเหลือตัวเองไมได อยูในครอบครัวที่ยากจน ในเรื่องงบประมาณ ก็ขึ้นอยูกับผูบริหารแตละตําบลนะครับวาจะใชระเบียบไหน คือมันเปนหนาที่อยูแลว จะตองดูแลผูสูงอายุ ผูพิการ ผูดอยโอกาส เปนพิเศษ ที่ผมอยูเขาแผนแลวครับ แผนป ๒๕๕๐ คือ จัดตั้งกองทุนใหผูพิการไดกูยืม เพื่อประกอบอาชีพ ซึ่งแลวแตผูบริหารแตละตําบลมากกวาครับ”

เชนเดียวกับคุณมนัส ไดกลาวเสริมวา

“จากการประสานงานของเรา ศูนยการศึกษาพิเศษ เขต ๑๐ เราทํางานดานการศึกษา แตบางครั้งเราพวงเรื่องอาชีพ สวัสดิการและเรื่องการแพทย ที่หนวยงานเราจัดออกไป ก็มีปญหาอยูบาง อบต.ทั้ง ๒๒๙

Page 142: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๗

แหงในจังหวัดอุบลราชธานี มีหลายๆ อบต.ที่นาช่ืนชม แตปญหาที่เราประสบ อยาง อบต.ในเมือง จัดงบประมาณสําหรับคนพิการแคแสนกวาบาท จากยอดผูพิการทั้งหมด ๒๕ คน เทาที่ทราบยังไมมีตัวแทนผูพิการเขาไปอยูใน อบต. ดังนั้นพอจัดงบประมาณออกมาเลยไมเกี่ยวกับคนพิการเลย”

นอกจากนี้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ยังมีเงินสงเคราะหในครอบครัว ซ่ึงเปนเงินและสิ่งของ จัดใหในกรณีที่มีคนพิการอยูในความอุปการะหรือเปนคนพิการที่ประสบปญหาดานเศรษฐกิจ รายไดนอยไมเพียงพอแกการครองชีพ การรักษาพยาบาล การซอมแซมที่อยูอาศัยและทุนประกอบอาชีพ เปนตน แตจากการสัมภาษณคนพิการระดับรุนแรงทุกประเภททุกจังหวัด มักไมคอยกลาวถึงเพราะเปนการใหเมื่อจําเปนหรือเหมือนเกิดภาวะฉุกเฉิน (Crisis) และมีผูไดรับคอนขางนอยมีไมกี่ครอบครัว สวนใหญจะกลาวถึงเบี้ยยังชีพที่เปนเงินประจํา (Routine) มากกวา

ขณะเดียวกันการพิจารณาความพอเพียงของรายได คิดจากการประมาณการรายรับและรายจายที่คนพิการระดับรุนแรง ไดใหขอมูลกับคณะนักวิจัย ดังสูตร

ความพอเพียงของรายได = รายรับ-รายจาย

ดังนั้นการไดรับเบี้ยยังชีพจึงมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับคนพิการระดับรุนแรง จากปจจุบัน

คนพิการระดับรุนแรงที่จดที่จดทะเบียนจะไดรับเบี้ยยังชีพ ๕๐๐ บาท หากพิจารณาจะเห็นวาดัชนี คาครองชีพในการบริโภค (Consumer Index) เพิ่มขึ้นทุกป ขณะเดียวกันดังไดกลาวแลววาภาระคาใชจายที่มีมากขึ้น จึงจําเปนตองหันมาพิจารณาถึงเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม แตจากการสัมภาษณคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นของกรุงเทพฯ พบวา ปจจุบันคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น มีความพอเพียงของรายไดสวนใหญ ถึง ๔ ใน ๕ คิดเปน ๘๐ % ไมพอเพียง ๑ คน คิดเปน ๒๐ % โดยที่ ความพอเพียงนั้นหากพิจารณาแลว ไดรับเงินเดือนจากสมาคมคนพิการเปนประจํา สวนใหญเปนผูบริหารหรือมีตําแหนงในสมาคมตางๆ ที่มีรายไดประจํา และบางคนมีรายไดจากอาชีพหรือบุคคลในครอบครัวเปนหลัก ดังตารางที่ ๔.๖

Page 143: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๘

ตารางที่ ๔.๖ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ

ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ เพียงพอ/

ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางการมองเห็น ๒๕,๐๐๐ ๒๒,๐๐๐ ๓,๐๐๐ เพียงพอ ๒ คนพิการทางการมองเห็น - - - ไมเพียงพอ ๓ คนพิการทางการมองเห็น ๑๐,๐๐๐ ๒,๒๐๐ ๗,๘๐๐ เพียงพอ ๔ คนพิการทางการมองเห็น - - - เพียงพอ ๕ คนพิการทางการมองเห็น - - - เพียงพอ

หมายเหตุ การคิดคํานวณรายไดจากเงินเดือนและเงินอื่นๆที่ไดรับตอเดือน รายจายคิดจากรายจายที่จายในการดํารงชีพแตละเดือน คาอาหาร เสื้อผา คารักษา สาธารณูปโภคและเบ็ดเตล็ด

เบี้ยยังชพีถึงแมวาเปนสิ่งจําเปนพื้นฐาน เพือ่การดํารงชีพสําหรับคนพิการระดับรุนแรง แตเงินนั้น

ไมใชสูตรสําเร็จ หรือเพียงรอใหการสงเคราะหเพยีงอยางเดียว แตการรูจักใชศักยภาพของตนเองในการดํารงชีวิต การมีงานทําจะเปนการสรางคุณคาใหกับคนพกิารระดับรุนแรง ดังที่ คุณกฤติพงษ กลาววา

“คนพิการได ๕๐๐ บาท จริงแลวถามองวาเขา คือคนพิการระดับรุนแรง ตองยอมรับวาตอนนี้เงิน ๕๐๐ บาท มันเปนที่พ่ึงทางเดียวของคนพิการระดับรุนแรง เพราะมันไมมีบริการอื่น มันแทบไมมีอะไรเลยเทากับเขาไมไดลดคาใชจายดํารงอยูเลย เพราะวาถาสมมุติให ๕๐๐ บาท มีบัตรอาหารใหบัตรแลกเครื่องนุงหมให ที่อยูอาศัยฟรี คา ๕๐๐ บาท เปนตัวเสริมใหชีวิตเขามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีการพักผอน มีปฏิสัมพันธกับเพื่อน ๕๐๐ บาท อาจใชคาเดินทางติดตอสังคมในระดับหนึ่ง แตวาเงิน ๕๐๐ บาท ตองใชในการดํารงชีวิตลวนๆเลย โอกาสที่เขาเอา ๕๐๐ บาท ไปเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ก็ไมมีแลว แลวกลับมาดู ๕๐๐ บาท ที่ใชในการดํารงชีวิตลวนๆ พอไหม ถาพูดกันตรงๆ มันก็ไมพอหรอก เพราะวาอะไร คนพิการรุนแรงจริงๆ คนอื่นดูแล เขาไมไดดูแลตัวเอง คนอื่นดูแลใชเงินใชทอง ถาพูดกันตรงๆ มั่นใจไดไงแมเปนญาติดวยกัน คนดูแลดวยกันเองเขาจะทําใหฟรีทั้งหมด มันก็อาจไมไดฟรีทั้งหมด ๕๐๐ บาท และไปใหกับคนที่ยากจนอยูดวย เขาอาจมีปญหาอยูดวย มันอาจใชแค ๕-๑๐ วันแรก ๕๐๐ บาท อาจใชกระทั่งครอบครัวก็ได หรืออาจจะคนพิการไมไดใชเลย ตอนนี้วา ๕๐๐ บาท เปนที่พ่ึงอยางเดียว มันเปนเชิงคาดหวังของ คนพิการเองแลวเปนทางออกทางเดียวของรัฐที่จัดใหกับคนพิการระดับรุนแรงโดยที่มองเอางบประมาณเปนที่ต้ังวาพอชวยได ๕๐๐ บาท” ขณะที่เบี้ยยังชีพเปนการชวยใหคนพิการระดับรุนแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระดับหนึ่ง แตส่ิง

สําคัญอาจไมใชการตอบสนองความตองการที่แทจริง ถาหากวาสิ่งอํานวยความสะดวก และปจจัยพื้นฐาน

Page 144: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๒๙

ไมไดรับการตอบสนอง แตตองเปนการเพิ่มศักยภาพของคนพิการใหสามารถปรับตัวและดํารงอยูในสังคม ดวยการไดรับรูขอมูลขาวสาร นั่นคือ การมีเครื่องมือเครื่องใชในการดํารงชีพที่เปนเบ็ดตกปลามากกวาการใหเงินหรือปลาเพียงอยางเดียว เพื่อใหอยูอยางยั่งยืนไดในสังคม ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น กลาววา

“วันนี้ถาใหเงินเขามากกวา ๕๐๐ บาทเปน ๑,๐๐๐ บาท ใหเขาไปแลวมันก็ไมไดหมายความวาเขาจะ

ไปแกปญหาสูงสุดของเขา อาจใชเพื่อน เลี้ยงดูครอบครัว อาจใชเพื่อที่ยังไมตรงกับปญหาของเขาก็ได เขาไมไดตอบสนอง Need จริง อาจจะตอบสนอง Need บางสวน ที่เขาเองไมอยากจะอยูตรงนั้นเองก็ได ถือวาเรามองจาก ๕๐๐ เปน ๑,๐๐๐ บาท แลวใหเขาใชอํานาจตัดสิน มันก็เปนไปไดที่เขาตัดสินใจ เอาเขาจริงๆ มันก็แกปญหาของเขาไดหมด ปญหาคงอยู แมจายเงินเพิ่มขึ้น ฉะนั้นที่เขาตัดสินใจไดเอง ทีนี้ใหไป ๕๐๐ เพิ่มเปน ๑,๐๐๐ บาท ใหกับคนพิการ นาย ก นาย ข ไมใชเปนคนตัดสินใจใชจายเองดวย อันนี้ยิ่งแยไปใหญ ตัวเงินที่ใหไปยิ่งไมไดแกอะไรเลย จายมากขึ้น ปญหาเทาเดิม หรืออาจจะเพิ่มขึ้น คําวาปญหาเพิ่มขึ้นมันคืออะไร คือวาจากเดิมมีคนชวยเหลือ พอรัฐบาลเพิ่มเงินใหกับคนพิการ แหลงที่เคยจัดบริการฟรีใหกับคนพิการ ที่จัดราคาต่ําใหกับคนพิการอาจจะขึ้นราคา ถอนตัวจากการบริการใหกับคนพิการ ไปจัดบริการอื่นๆ มันกลายเปนภาพที่ไมตอบสนอง ถาถามผมวา เราเพิ่มจากตัวเงินไดไหม ผมเห็นดวยวาถามีการเพิ่มตัวเงิน เพิ่มงบประมาณโดยรวมใหกับคนพิการ เพื่อรวมงบประมาณไมใชวาจายใหคนพิการโดยตรงอยางเดียว มันควรจะไปรวมกับโครงสรางพื้นฐานใหกับคนพิการแลวเพิ่มศักยภาพใหเขามีศักยภาพตัดสินใจ ดูแลตัวเองได”

หากพิจารณาเบี้ยยังชีพที่ใชในการดํารงชีวิตของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นจากการ

สัมภาษณระดับลึก พบวา คนพิการทางการมองเห็นไมไดรับเบี้ยยังชีพเลยแมแตรายเดียว หากพิจารณา เบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง มีความเห็นวาควรไดเบี้ยยังชีพแตกตางกันตามฐานะความเปนอยูและคาใชจาย มีพิสัยอยูในชวง ๕๐๐-๖,๐๐๐ บาทตอเดือน คนพิการที่เสนอความจําเปนในการขอเบี้ยยังชีพสําหรับคนพิการระดับรุนแรงที่เหมาะสม เฉลี่ย ๓,๑๒๕ บาทตอเดือน สําหรับมีผูเสนอขอ ๕๐๐ บาทตอเดือนแตใหรวมการจัดสวัสดิการอื่นๆที่จําเปนและมีครบถวน ขณะเดียวกันคนพิการทางการมองเห็น ยังมีการดํารงชีวิตที่ใชแนวคิดของเศรษฐกิจพอพียง คือ “พออยูพอกินและพึ่งตนเองใหได” ทั้งนี้หากพิจารณาจะเห็นวาคนพิการทางการมองเห็น สามารถพึ่งตนเองไดและมีอาชีพที่เล้ียงตัวเองได คือ “การไดรับเงินเดือนประจําจากสมาคมคนตาบอดแหงประเทศไทย รวมถึงเงินคาวิทยากรพิเศษอ่ืนๆ ” ส่ิงดังกลาวอาจมิใชความยั่งยืน ถาตราบใดที่คนพิการเหลานี้ไมมีศักยภาพเพียงพอ รวมถึงการพึ่งตนเอง คงตองคํานึงถึงความเพียงพอตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ที่วา “ตองรูจักพอประมาณ พอเหมาะแกชีวิตและมีภูมิคุมกันใหกับตนเอง” เพื่อสรางชีวิตใหสมดุลและพอเพียง ดังตารางที่ ๔.๗

Page 145: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๐

ตารางที่ ๔ .๗ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นเสนอขอของกรุงเทพมหานคร

อันดับ ประเภทคนพิการ เบี้ยยังชีพที่ไดรับ เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๖,๐๐๐ ๒ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๕๐๐ +สวัสดิการอื่นๆ ๓ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๓,๐๐๐ ๔ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๓,๐๐๐ พิสัย ๕๐๐-๖,๐๐๐ เฉล่ีย ๓,๑๒๕

ตารางที่ ๔.๘ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นของจังหวัดนครปฐม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ เพียงพอ/

ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางการมองเห็น ๑,๕๐๐ - - เพียงพอ ๒ คนพิการทางการมองเห็น ๒๐๐ ๑๐๐ - ไมเพียงพอ ๓ ผูดูแลคนพิการ - ๗๐๐ - ไมเพียงพอ ๔ ผูดูแลผูพิการ ๕๐๐ ๑,๕๐๐ - ไมเพียงพอ

หากพิจารณาเบี้ยยังชีพที่ใชในการดํารงชีวิตของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นจากการ

สัมภาษณระดับลึก พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นไดรับเบี้ยยังชีพ เพียงรายเดียว นอกนั้นไมไดรับแมแตรายเดียว เบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง มีความเห็นวาควรไดเบี้ยยังชีพแตกตางกันตามฐานะความเปนอยูและคาใชจาย มีพิสัยอยูในชวง ๕๐๐ - ๓,๐๐๐ บาทตอเดือน คนพิการระดับรุนแรงที่เสนอความจําเปนในการขอเบี้ยยังชีพสําหรับคนพิการระดับรุนแรงที่เหมาะสม เฉลี่ย ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน คนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ ๕๐๐ บาทตอเดือนนั้นไดขอใหรวมถึง การจัดสวัสดิการอื่นๆที่จําเปนและมีครบถวน ทั้งนี้หากพิจารณาจะเห็นวา คนพิการทางการมองเห็น สามารถพึ่งตนเองได ส่ิงดังกลาวอาจมิใชความยั่งยืน ถาตราบใดที่คนพิการเหลานี้ไมมีศักยภาพเพียงพอ คงตองพิจารณาถึงความเพียงพอตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ที่ “ตองรูจักพอประมาณ พอเหมาะแกชีวิต” หากวิเคราะหคนพิการระดับรุนแรงกลุมนี้ยังมีความมั่นคงทางสังคมและความปลอดภัยในชีวิต

Page 146: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๑

อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวา เสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ทั่วประเทศ ในภาคกลาง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล และรวม จํานวน ๑,๔๐๗ , ๑,๒๕๔ และ ๑,๓๐๕ บาทตอเดือนตามลําดับ (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและ การกระจายรายได สศช. อางแลว) และเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะห ผูมีรายได ต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับเพียง ๕๐๐ บาทตอเดือน ขณะที่เสนความยากจนของภาคกลางอยูที่ ๑,๓๐๕ บาท แตกตางกันถึง ๘๐๕บาท เหตุดังกลาวนี้ดูเสมือนวา คนยากจนมีรายไดตามเสนความยากจนสูงกวาคนพิการถึง ๒.๖๑ เทา ขณะที่คนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นเสนอขอเฉลี่ยเพียง ๒ ,๐๐๐ บาท ซ่ึงสูงกวาเสนความยากจน ๑ .๕๓ เทา และ การสงเคราะหผูมีรายไดนอยของกระทรวงสาธารณสุข ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน ซ่ึงเทากับคนพิการที่เสนอขอเบี้ยยังชีพ จึงตั้งอยูบนฐานของความพอประมาณ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ดังตารางที่ ๔.๙

ตารางที่ ๔.๙ แสดงเบี้ยยังชพีที่เหมาะสม สําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นที่เสนอขอของจังหวดันครปฐม

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๑,๕๐๐

๒ คนพิการทางการมองเห็น ไดรับ ๕๐๐.- ๕๐๐

๓ ผูปกครองดูแลคนพิการ ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๔ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๕ ผูปกครองดูแลคนพิการ ไมไดรับ NA

พิสัย ๕๐๐-๓,๐๐๐ เฉล่ีย ๒,๐๐๐

นอกจากเบี้ยยังชีพแลว ในกรณีคนที่ชวยเหลือตัวเองไมไดยังมีการสงเคราะหครอบครัว ซ่ึงเปน

การใหเปลา จาก “เงินสงเคราะหครอบครัว” ที่จายใหครอบครัว เดือนละไมเกิน ๒,๐๐๐ บาท แตก็ไมมีใครไดรับ

ปจจุบันคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นมีรายไดไมเพียงพออยางมาก ๓ คน คิดเปน ๔๒.๘๕ % มีความเพียงพอ ๔ คน คิดเปน ๕๗.๑๕ % และโดยที่ความเพียงพอนั้นหากพิจารณาแลวมี

Page 147: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๒

รายไดมาจากการมีอาชีพนวดแผนโบราณ ที่ทําอยู จึงมีรายไดเพียงพอแตก็เปนรายไดที่นอยมาก ขณะที่ความไมเพียงพอถึง ๓ คนนั้นมาจากคาใชจายในครอบครัว คารักษาและอื่นๆที่บางคนไมมีรายไดเพราะไมมีอาชีพถึง ๒ คน จึงมีความจําเปนในการดํารงชีวิต ดังตารางที่ ๔.๑๐ ตารางที่ ๔.๑๐ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นของจังหวัดเชียงใหม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ เพียงพอ/ไมเพียงพอ

๑ พิการทางการมองเห็น - ๑๒,๐๐๐ -๑,๒๐๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๒ พิการทางการมองเห็น ๖,๐๐๐ ๗,๑๗๕ -๑,๑๗๕ ไมเพียงพออยางมาก ๓ พิการทางการมองเห็น ๒,๘๐๐ ๒,๓๗๕ ๔๒๕ เพียงพอ ๔ พิการทางการมองเห็น ๘,๐๐๐ ๖,๘๓๓ ๑,๑๖๗ เพียงพอ ๕ พิการทางการมองเห็น ๓,๐๐๐ ๒,๗๐๐ ๓๐๐ เพียงพอ ๖ พิการทางการมองเห็น ๓,๐๐๐ ๒,๖๐๐ ๔๐๐ เพียงพอ ๗ พิการทางการมองเห็น - ๔,๓๐๐ -๔,๓๐๐ ไมเพียงพออยางมาก

หากพิจารณาเบี้ยยังชีพที่ใชในการดํารงชีวิตของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นของ

จังหวัดเชียงใหม พบวา คนพิการทางการมองเห็นทุกคนไมไดรับเบี้ยยังชีพ สวนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง มีความเห็นวาควรไดเบี้ยยังชีพแตกตางกันตามฐานะความเปนอยูและคาใชจาย มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๕๐๐ – ๕,๐๐๐ บาทตอเดือน มีคาเฉลี่ยที่เสนอขอ =๓,๒๐๐บาทตอเดือน อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ทั่วประเทศ ในภาคเหนือ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล และรวม จํานวน ๑,๒๙๗, ๑,๑๐๙ และ ๑,๑๔๘ บาทตอเดือนตามลําดับ (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. ๒๕๔๗) และจากเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายไดนอยที่มีรายได ต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๓,๒๐๐ บาทตอเดือน เฉลี่ยวันละ ๑๐๖.๖๖ บาทขณะที่เสนความยากจนของภาคเหนือ อยูที่ ๑,๑๔๘ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) ขณะที่คนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นเสนอขอเฉลี่ย ๓,๒๐๐ บาทตอเดือน ซ่ึงสูงกวาเสนความยากจน ๒.๗๘ เทา และสูงกวา ๑.๖ เทาของการสงเคราะหผูมีรายไดนอยของกระทรวงสาธารณสุข ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน สอดคลองกับความตองการของคนพิการกลุมนี้ ดังตารางที่ ๔.๑๑

Page 148: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๓

ตารางที่ ๔.๑๑ แสดงเบีย้ยงัชีพที่เหมาะสม สําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นเสนอขอของจังหวดัเชยีงใหม

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ พิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๒,๐๐๐

๒ พิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๑,๕๐๐

๓ พิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๕,๐๐๐

๔ พิการทางการมองเห็น ไมไดรับ NA

๕ พิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๔,๐๐๐

๖ พิการทางการมองเห็น ไมไดรับ NA

๗ พิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๓.๕๐๐

พิสัย ๑,๕๐๐-๕,๐๐๐

คาเฉลี่ย ๓,๒๐๐

การไดรับเบี้ยยังชีพของจังหวัดอุบลราชธานี มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น จากปจจุบันคนพิการระดับรุนแรงที่จดทะเบียนจะไดรับเบี้ยยังชีพ ๕๐๐ บาทตอเดือน แตจากการสัมภาษณคนพิการทางการมองเห็น พบวา ปจจุบันคนพิการทางการมองเห็นมีรายไดไมเพียงพออยางมาก ๑ คน คิดเปน ๒๐ % ไมมีความเพียงพอทั้ง ๓ คน คิดเปน ๖๐ % มีความเพียงพอของรายไดเพียง ๑ คน คิดเปน ๒๐ % และโดยที่ความเพียงพอนั้นหากพิจารณาแลวมีรายไดมาจากการนวดแผนโบราณ ที่ทําอยู จึงมีรายไดเพียงพอ ดังตารางที่ ๔.๑๒

Page 149: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๔

ตารางที่ ๔.๑๒ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นของจังหวัดอุบลราชธานี

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ

๑ คนพิการทางการมองเห็น ๑,๘๐๐ ๒,๘๐๐ -๑,๐๐๐ ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางการมองเห็น ๙,๑๒๐ ๑,๒๕๐ ๗,๘๗๐ เพียงพอ ๓ คนพิการทางการมองเห็น ๑๘,๐๐๐ ๑๗,๔๐๐ ๖๐๐ เพียงพอ ๔ คนพิการทางการมองเห็น ๗,๐๐๐ ๑๓,๑๐๐ -๖,๑๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๕ คนพิการทางการมองเห็น ๒๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๓๐๐ ไมเพียงพอ

หากพิจารณาเบี้ยยังชีพที่ใชในการดํารงชีวิตของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น จากการ

สัมภาษณระดับลึกของจังหวัดอุบลราชธานี พบวา คนพิการทางการมองเห็นไดรับเบี้ยยังชีพจํานวน ๓ คน ไดรับคนละ๒๐๐ จํานวน ๒ คน และ ๕๐๐ บาท จํานวน ๑ คน ไมไดรับถึง ๒ คน สวนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง มีความเห็นวาควรไดเบี้ยยังชีพแตกตางกันตามฐานะความเปนอยูและคาใชจาย มีพิสัยอยูในชวง ๕๐๐ - ๔,๕๐๐ บาทตอเดือน คนพิการที่เสนอความจําเปนในการขอเบี้ยยังชีพสําหรับคนพิการระดับรุนแรงที่เหมาะสม เฉลี่ย ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตคนพิการระดับรุนแรงที่จะไดรับเบี้ยยังชีพขึ้นกับเงื่อนไขการจดทะเบียนผูพิการ เกณฑในการประเมินระดับความรุนแรง และผูบริหารในระดับทองถ่ินที่มีนโยบายในเรื่องของงบประมาณและการพิจารณาคนพิการ ดังที่คุณเฉลิม กลาวถึงเรื่องนี้วา “เงินชวยเหลือใหทั้งผูดอยโอกาส คนชราภาพ ปกติก็ใหทุก อบต. ปนี้ก็ใหคนนี้ ปหนาก็ใหคนโนน เล่ือนให แตไมไดใหเปนประจํา” ขณะที่คนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ ๕๐๐ บาทตอเดือนขอใหรวมถึงการจัดสวัสดิการอื่นๆที่จําเปนและมีครบถวนนั้น ยังมีการดํารงชีวิตที่ใชแนวคิดของเศรษฐกิจพอพียง คือ “พออยูพอกินและพึ่งตนเองได” หากวิเคราะหคนพิการระดับรุนแรงกลุมนี้ยังมีความมั่นคงทางสังคมและความปลอดภัยในชีวิต อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ทั่วประเทศ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล และรวม จํานวน ๑,๒๐๓, ๑,๐๔๐ และ ๑,๐๗๑บาทตอเดือนตามลําดับ (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. อางแลว) และจากเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายไดนอยที่มีรายได ต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับเพียง ๕๐๐ บาทตอเดือน ขณะที่เสนความยากจนของภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยูที่ ๑,๐๗๑ บาทตอเดือน แตกตางกันถึง ๕๗๑บาท เหตุดังกลาวนี้ดูเสมือนวา คนยากจนมีรายไดตามเสนความยากจนสูงกวาคนพิการถึง ๒.๔๑ เทา ขณะที่คนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นเสนอขอเฉลี่ยเพียง ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน ซ่ึงสูงกวาเสนความยากจน ๑.๘๖เทา และ

Page 150: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๕

การสงเคราะหผูมีรายไดนอยของกระทรวงสาธารณสุข ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน สอดคลองกับความตองการของคนพิการกลุมนี้ ดังตารางที่ ๔.๑๓

ตารางที่ ๔.๑๓ แสดงเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม สําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นเสนอขอของจังหวดัอุบลราชธานี

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๑,๕๐๐

๒ คนพิการทางการมองเห็น ไดรับ ๕๐๐ บาท ๔,๕๐๐

๓ คนพิการทางการมองเห็น ไดรับ ๒๐๐ บาท ๒,๐๐๐

๔ คนพิการทางการมองเห็น ไดรับ ๒๐๐ บาท ๑,๕๐๐

๕ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๕๐๐

พิสัย ๕๐๐-๔,๕๐๐ เฉล่ีย ๒,๐๐๐

การไดรับเบี้ยยังชีพของจังหวัดสงขลา มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น จากการสัมภาษณคนพิการทางการมองเห็น พบวา ปจจุบันคนพิการทางการมองเห็นมีรายไดไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔๐ % เพียงพอของรายได ๓ คน คิดเปน ๖๐ % และโดยที่ ความเพียงพอนั้นหากพิจารณาแลวมีรายไดมาจากการนวดแผนโบราณเพียงอยางเดียว จึงมีรายไดที่เพียงพอ และการดํารงชีวิตการใชจายมีความระมัดระวังมากเปนพิเศษ ทั้งยังตั้งอยูบนฐานคิดเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากเปนผูนํากลุมคนตาบอดและมีวิสัยทัศนในการมองโลกแมวาจะพิการทางการมองเห็น ดังที่ คุณปรีดาภรณ กลาววา “ใหความสําคัญของขั้นตอนในการหาปลา หาเงินมาได เนนการสงเคราะห เนนการแนะนํามากกวา” ดังตารางที่ ๔.๑๔

Page 151: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๖

ตารางที่ ๔.๑๔ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นของจังหวัดสงขลา

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ

๑ คนพิการทางการมองเห็น ๑๓,๐๐๐ ๘,๗๐๐ ๔,๓๐๐ เพียงพอ ๒ คนพิการทางการมองเห็น ๙,๕๐๐ ๖,๐๐๐ ๓,๕๐๐ เพียงพอ ๓ คนพิการทางการมองเห็น ๒๕,๐๐๐ ๒๖,๑๐๐ -๑,๑๐๐ ไมเพียงพอ ๔ คนพิการทางการมองเห็น ๗,๐๐๐ ๖,๘๐๐ ๒๐๐ ไมเพียงพอ ๕ คนพิการทางการมองเห็น ๓,๐๐๐ ๒,๘๐๐ ๒๐๐ เพียงพอ

หากพิจารณาเบี้ยยังชีพที่ใชในการดํารงชีวิตของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น จากการ

สัมภาษณระดับลึกของจังหวัดสงขลา พบวา คนพิการทางการมองเห็นไดรับเบี้ยยังชีพ ๑ คนปละ ๑,๕๐๐ บาทอีก ๔ คนไมไดรับเบี้ยยังชีพ สวนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง มีความเห็นวาควรไดเบี้ยยังชีพแตกตางกันตามฐานะความเปนอยูและคาใชจาย มีพิสัยอยูในชวง ๑,๐๐๐-๓,๕๐๐ บาทเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม เฉลี่ย ๑,๙๐๐ บาทตอเดือน อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ทั่วประเทศ ในภาคใต ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล และรวมจํานวน ๑,๓๓๒, ๑,๑๔๔ และ ๑,๑๙๐บาทตอเดือนตามลําดับ (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. อางแลว) และจากเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายไดนอยที่มีรายได ต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๑,๙๐๐ บาทตอเดือน ขณะที่เสนความยากจนของภาคตะวันออกเฉยีงเหนอือยูที่ ๑,๑๙๐ บาทตอเดือน แตกตางกันถึง ๗๑๐บาท เหตุดังกลาวนี้ดูเสมือนวา คนพิการระดับรุนแรงมีรายไดตามเสนความยากจนสูงกวาคนยากจนเพียง ๑.๕๙ เทา จึงสอดคลองตามเกณฑของกระทรวงสาธารณสุขและสภาวการณปจจุบันของคนพิการกลุมนี้ ดังตารางที่ ๔.๑๕

Page 152: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๗

ตารางที่ ๔.๑๕ แสดงเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม สําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นเสนอขอของจังหวดัสงขลา

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๑,๕๐๐

๒ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๓,๕๐๐

๓ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๒,๐๐๐

๔ คนพิการทางการมองเห็น ไดรับ ปละ ๑,๕๐๐- ๑,๕๐๐

๕ คนพิการทางการมองเห็น ไมไดรับ ๑,๐๐๐

พิสัย ๑,๐๐๐-๓,๕๐๐ เฉล่ีย ๑,๙๐๐

๕) ดานนันทนาการ การพักผอนหยอนใจ เปนสิ่งจําเปนสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น อาจมีปญหาในดานการนันทนาการ เชน การออกกําลังกาย แตมีความจําเปนในดานสถานที่ออกกําลังกาย ลานกีฬา สถานที่พักผอนหยอนใจที่เหมาะสมไมกอใหเกิดอันตรายจากการเดินทาง และความปลอดภัย รวมถงึนาที่จะมีกลุมผูชวยเหลือรวมออกกําลังกาย เชน การวิ่ง การขี่จักรยาน ๒ คน การจัดหาอุปกรณกีฬาประเภทตางๆ สําหรับคนพิการ อาจมีจัดกิจกรรมดนตรีในสวนที่คนพิการระดับรุนแรงสามารถรวมได ดังที่ คุณหวาเหด กลาววา “ยามวางฟงเพลง ชอบอยูสบาย ไมชอบรองเพลง ออกกําลังกายบาง” ๖) ดานความมั่นคงและการยอมรับ

ความมั่นคงทางสังคมและการไดรับการยอมรับนับถือ นับวาเปนเรื่องที่สําคัญมาก ตามหลักของ มาสโลว (Maslow’s Principle) ขั้นที่ ๕ ที่วาการไดรับการยอมรับจากสังคม ในศักดิ์ศรีของ ความเปนคน การมีความตองการในปจจัย ๔ เพื่อการดํารงชีวิตขั้นตน คืออาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหมและยารักษาโรค แมเปนเพียงในขั้นที่ ๑ เทานั้น แตการจะดํารงชีวิตอยูไดในสังคมอยางเชนคนทั่วไป นั่นหมายถึง ตองมีส่ิงที่เปนพื้นฐานที่เพียงพอและไดรับการตอบสนองกอน ที่จะพัฒนาไปสูขั้นของการมีความมั่นคง มีจิตใจที่เปนสุข มีความพอเพียงแกชีวิต

Page 153: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๘

-การยอมรับ และกําลังใจ การยอมรับในตนเอง ความเปนตัวของตนเองมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง เพราะจะทําให

คนพิการระดับรุนแรงดํารงชีวิตอยูไดดวยตนเอง ไมเปนภาระของครอบครัวและสังคมมากนัก คนพิการระดับรุนแรงตองการมีอาชีพ เพื่อจะไดดํารงชีวิตอยูไดดวยตนเอง ดังที่คนพิการทางการ

มองเห็น กลาววา

“ผมก็วาถาถามวาความนาจะเปนมันก็เปนไปไดตีเฉลี่ยเปนวันก็ได เชนคนปกติใชเงินวันละ ๑๐๐ บาทอาจจะกินนอยลงมาก็ได เชน วันละ๘๐ ซึ่งตัวพวกผมเองก็ไมอยากเปนภาระ อยากทําตัวเองใหมีคุณคา ถาผมมีเงินตรงเนี้ย ผมก็สามารถออกไปทําขางนอกได ผมอาจจะมีชองทางหรือแนวคิดที่จะสามารถทําอะไรอยางอื่นไดพูดงายๆ วา ถาผมเปนเด็กและมัวแตขอเงินจากผูใหญมันก็ไมมีวันโต เราอยากจะเดินดวยตัวของเราเองเกงดวยตัวของเราเอง”

ความมั่นคงทางสังคม นับวาเปนเรื่องที่สําคัญ เพราะวามนุษยมีความตองการในปจจัย ๔ ในการดํารงชีวิต ทั้งอาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหมและยารักษาโรค การที่จะดํารงชีวิตอยูไดในสังคมอยางเชนคนทั่วไป นั่นหมายถึงมีความมั่นคง มีจิตใจที่เปนสุข มีความพอเพียงแกชีวิต ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น กลาววา

มันไมจําเปนตองเปนเคสหมด หลายอยางที่สามารถใชไดที่มันไมกระทบ ตอการลดศักดิ์ศรีก็ได จริงแลว ผมก็ไมไดเนนบานเมืองเรามีระบบความมั่นคงเฉพาะกับคนพิการ ถาเปนอุดมคติ ผมก็บอกวาประเทศเรามีรัฐเปนสวัสดิการระดับหนึ่งบางอยาง ตองมีความมั่นคงกับคน ไมวาอยูในสถานภาพใดก็ตาม คนพิการก็เหมือนกัน เขาก็ควรไดอะไรกับสังคม เพราะฉะนั้นถาเปนอยางงั้น มันก็หมายความวา คุณจะเปนคนจน ลงทะเบียนวาคุณเปนคนจน คนพิการ แลวคุณจะไดนูนไดนี่ ควรจะออกมาวาความมั่นคงทางสังคม สวนความมั่นคงทางสังคมจะใหอะไรกับใครก็วากนัไป ตามที่วิจัยกันไปวาใครเหมาะจะไดอะไร”

คุณณัฐธิดา กลาววา “มันคงยาก เพราะวาเขาไมเขาใจ จึงควรสรางจิตสํานึกใหเขาเห็นถึง

ความสามารถของคนพิการวา คนพิการก็สามารถทําได เหมือนคนตาดี ทําใหเขายอมรับเราใหได” ขณะที่คุณปรีดาภรณ กลาววา “เขาก็ยอมรับมากขึ้น เห็นความสามารถของตัวเรา ตอนแรกก็ไม เห็นความสามารถวาคนพิการมีความสามารถอะไร แตหนูอยูนานแลว แสดงใหเขาเห็นวาหนูอยูได และไมเปนภาระใหใคร จนชุมชนยอมรับ”

-การยอมรับ และกําลังใจ

คนพิการระดับรุนแรงนั้นมีความคิดในจุดหนึ่งวาเปนคนที่มีส่ิงไมเหมือนคนทั่วไป อาจทําใหเกิดความแปลกแยกจากสังคม มีวิถีชีวิตที่แตกตางไป นั่นเปนแนวคิดเดิม แตคนที่ไดรับการพัฒนา

Page 154: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๓๙

ศักยภาพแลวจะมีความหวัง กําลังใจมีอัตลักษณในตัวตน (Identity) ที่มีความสามารถและแสดงความสามารถในสังคมใหเห็นเชิงประจักษ ดังที่เสียงสะทอนของคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็นวา

“การชวยเหลือตนเองมันนาจะไมถึง ๒๐% ดวยซ้ําจากคนตาบอดทั้งหมด หมายความวาอีก ๘๐%

เปนคนตาบอดที่ไมไดรับโอกาสอะไรเลย คนตาบอดที่ไมไดรับโอกาสอะไรเลย ถาเขามีความพิการในระดบัไมรุนแรงนัก เขาก็จะกระเสือกกระสนชวยเหลือตนเอง การมองเห็นที่มีอยูออกมาทํามาหากินไดระดับหนึ่งกับคนตาบอดสนิทที่ไดเดินไปไหนมาไหนเองได วันนี้เหมือนกับเขา ถูกตักกับโลกภายนอก เขาก็จะอยูในจุดแคบๆเขา ซึ่งมันก็คอยเพิ่มความตางวิถีชีวิตจากคนทั่วๆไปจากเดิมที่เขาเปนเด็ก ก็มีพอแมใหความสนใจเวลาดูเด็กอาจจะไมยากเย็นเทาไร ก็โตขึ้นเรื่อยๆ เด็กรุนเดียวกัน ก็ไปเรียน เด็กตาบอดคนนี้ตองอยูบาน พอพัฒนาขึ้นไปอีกระดับหนึ่งพัฒนาไปเปนวัยรุน เปนคนวัยทํางานพวกเพื่อนๆทํางานกันหมดแลว แตตัวเองตองอยูบาน ตลอด ๑๐ กวาปที่ผานมาจากเด็กเขาไปวัยรุนและพรอมที่จะทํางาน ชีวิตเขาไมไดรับการเปลี่ยนแปลงเลย ความตางมันก็หางเพิ่มมากขึ้นๆเรื่อยๆ จนในที่สุดความตางก็แยกเขา จนเหมือนคนไรศักยภาพ”

-การยอมรับของสังคม

คนพิการตองการการยอมรับของคนในสังคม เหมือนเชนคนปกติ แตสังคมเมืองหลวงที่มี ความเจริญทุกดาน มีการแขงขันกันสูง การที่ตางคนตางอยู ทําใหคนพิการระดับรุนแรงสวนหนึ่งไมสามารถแสดงศักยภาพและไมสามารถปรับตัวในสังคม เพราะมีคาใชจายในการดํารงชีวิตที่สูงกวากวาตางจังหวัด กรุงเทพฯมีความเปนสังคมตะวันตก ดังที่คนพิการทางการมองเห็นไดสะทอนวา

“ครอบครัวตองยอมรับวาความเปนครอบครัวไทยแตดั้งเดิมที่มันเอื้ออํานวยใหระบบอุปถัมภทํางานไดอยางเต็มที่ เริ่มนอยลงปจจุบันคนตองดูแลมากขึ้น แมวาจิตใจในครอบครัวยังเหมือนกังวล หวง มี ความรักความผูกพัน ตอญาติผูพิการ แตวาภาวะตางๆ ความเปนสังคมเมืองที่มีมากขึ้น ทําใหความรักหรือโอกาสในการดูแลสมาชิกหรือคนพิการรุนแรงในครอบครัวก็นอยลง ในขณะเดียวกัน ถาเราบอกวาอันนี้ใหชุมชนดูแลไดไหม ก็พูดตรงๆวาภาพชุมชนเขมแข็ง ถึงเทาไร ๒๐% ไหม ตัวนี้ก็ไมรู เทาที่รูผูพิการรุนแรงที่ไมไดรับการดูแลจากชุมชนจํานวนมาก อาจเปนไปได ๒ อยาง อยางที่ ๑) คนไมพรอมชวยจริงๆ คือชุมชนไมแข็งแรง ๒) ถึงแมชุมชนแข็งแรง แตการชวยคนพิการรุนแรงเปนการชวยจิตใจ ชวยดวยกลไกหรือชวยไดโครงสรางบังคับ ที่สรางความมั่นคงมันเปนเรื่องของจิตใจ”

Page 155: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๐

ตารางที่ ๔.๑๖ สรุปการไดรับสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น สภาพการไดรับสวัสดิการ

ประเภทสวัสดิการ ประเด็น การไดรับ แนวทางที่ควรจะเปน เหมาะสม ไมเหมาะสม

ดานการศึกษา เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อการพัฒนา

/ /

สถานศึกษาเฉพาะคนพิการบางจังหวัดไมมี

-จัดการศึกษาใหเหมาะสมกับคนพิการ สงเสริมการเรียนรู “ในแบบเขาใจ เขาถึงและพัฒนา” -จัดอบรมวิชาชีพตามความตองการของตลาด

ดานสุขภาพ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยู สุขภาพดี เพื่อการเขาถึงบริการ

/ /

ทุกจังหวัดมีแหลงบริการ เขาถึงและสะดวก

-เนนการดูแลสุขภาพและสงเสริมสุขภาพเชิงรุกมากขึ้น เชน การดูแลสุขภาพที่บาน(Home Health Care) -จัดชองทางดวนใหกับคนพิการสามารถเขาถึงไดสะดวก

ดานอาชีพและรายได

เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ

/ / /

-สงเสริมอาชีพครบวงจรใหกับคนพิการที่มีศักยภาพ สรางรายไดเสริมในรูปแบบตางๆ -การรวมกลุมอาชีพเชนการนวด การตลาด รวมกับโอท็อป(OTOP)

ดานบริการสังคม เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความสะดวกในชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/

/ /

-ควรมีบริการสังคมใหคนพิการอยางเพียงพอ -การเขาถึงขาวสาร บริการดานตางๆ ศูนยขอมูลกลาง มีขาวสารทางการผานสื่อตางๆ -การกูเงินกองทุนฟนฟูเพิ่มขึ้น

ดานนันทนาการ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/ /

-ควรมีการจัดลานกีฬาและอุปกรณที่เหมาะสมกับคนพิการ -ลานดนตรี

ดานความมั่นคง เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการยอมรับ

/

/

-สรางการยอมรับในคนทั่วไป -ใหสิทธิและโอกาสกับคนพิการไดมีสวนรวมในกิจกรรมสังคมและชุมชน

Page 156: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๑

๓.๑.๒ คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย คนพิการระดับรุนแรงกลุมนี้ จากการสัมภาษณระดับลึกและสนทนากลุม สวนใหญสามารถชวยเหลือตัวเองได เดินเหินได คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินในกรุงเทพฯ จะมีฐานะดีกวาคนพิการระดับรุนแรงที่อยูในชนบททํากิจกรรมไดทุกอยางขาดเพียงการสื่อสารกับคนที่ตองใชลามและการเขียน หรือการสงขอความทางโทรศัพท แตคนพิการระดับรุนแรงในกลุมนี้อาจดูเหมือนปกติ แตมีปญหาของระบบการสื่อสารที่พิการ การแกไขแมวาจะมีเครื่องชวยฟง ๑) ดานการศึกษา การศึกษาของคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย มีโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาของคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือ การสื่อความหมายก็ไมแตกตางจากคนพิการประเภทอื่นๆ ที่การศึกษามีความจําเปนและความสําคัญ เพราะเปนการสรางโอกาส สรางงาน สรางอาชีพ สรางความมั่นคงใหชีวิต ดังที่คุณอนุชา คนพิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมายไดกลาววา “การศึกษานี้อยากใหคิดวาคนหูหนวกใหเรียนตั้งแตอนุบาลถึงปริญญาตรีถึงอุดมศึกษา ในกรณีที่บางคนอาจจะเรียนไมไหว เรียนไมถึงขั้นสูงสุด ก็อาจจะไปเรียนสายอาชีพอันนี้ส่ิงสําคัญมากก็ควรจัดเรื่องการศึกษาใหเขา” ขณะที่คุณสุรเชษฐ กลาววา “จริงๆแลวอยากเรียนระดับปริญญาตรี แตก็สามารถเรียนระดับวิชาชีพ เขาไดเรียนตอหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) เขาจบแลว ตอนนี้ก็มีครอบครัว” และ คุณสุรศักดิ์ กลาวถึง การศึกษาวา “การศึกษาทุกอยางมีความจําเปนสําหรับคนพิการทุกประเภท ไมใชแคเฉพาะหูหนวก และก็เร่ืองของการใหบริการตางๆ การศึกษานอกระบบก็มีความจําเปน” ควรที่จะมีการปฏิรูปการศึกษา เพราะวา “ครูสวนใหญใชภาษามือไดบาง แตไมถึง ๑๐๐ % ในการเขียนก็ไมสามารถอธิบายความหมายไดชัดเจนวามันเปนอยางไร” นอกจากนี้ปญหาของการศึกษาในการสื่อความหมายของคนพิการระดับรุนแรง คุณสุรศักดิ์ ไดกลาววา “เด็กๆควรรูภาษามือกอนวาอันนี้คืออะไร เสร็จแลวเราก็สอนภาษาไทยไป กรณีเด็กอนุบาลก็เหมือนกัน เขาใจที่พูด แลวคอยมาฝกเขียน คนหูหนวกก็ตองใหรูวาอันนี้ใชทานี้” และคุณสุรเชษฐ ไดกลาวถึงสภาพของคนพิการทางการสื่อความหมายกับความเขาใจในสังคม วา

“ทุกคนจะเห็นวา คนหูหนวกมีการดํารงชีวิตคลายคนปกติ แตเขาไมรูวาคนหูหนวกมีปญหาการสื่อสารมาก ไมรูอะไรทั้งนั้นที่เปนเสียง ที่เปนสื่อภาษาไทยก็รูเพียงนิดหนอย คนตาบอดไมเห็นแตได ยินเสียง ใชเสียงได คนหูหนวกตองเรียนรูทางสายตาทั้งหมดวาเกิดอะไรขึ้น ก็รูสึกวาการที่เขาจะเขาอยูในสังคมนอยมาก กรณีคนหูหนวกกับคนหูตึง คนหูตึงเขาสามารถที่จะเรียนรูกับตัวเองได เพราะเขาจะมีหูฟงไวขยายเสียงใหไดยินเสียง เขาสะกดและอานเปนเสียงได และรวมประโยคได

Page 157: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๒

จากการสัมภาษณคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย สวนใหญไมไดเรียนที่โรงเรียนศึกษาพิเศษ เพราะอายุมากกวาที่ทางโรงเรียนจะรับเขาศึกษาได อยางไรก็ตามเด็กที่พิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมายสามารถเขาศึกษาในโรงเรียนสอนคนหูหนวกที่กรุงเทพฯ ได ส่ิงจําเปนที่คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ตองใหผูดูแล/คนใกลชิดไดเรียนรูการใชภาษามือในการติดตอส่ือสารแทนคนพิการกลุมนี้ นั่นคือการอบรมใหความรู ภาษามือ “เปนลามชุมชน (Community Translator)” อยางที่คุณสําเริง ผูพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือ การสื่อความหมาย กลาววา “ ครับอยางคนพิการทางการไดยิน ถาไปไหน โดยไมมีลามก็ลําบากใน การสื่อสารกับผู อ่ืน มีความจําเปนครับ ลามมีความจําเปน . . .” การสื่อสารที่ใชสวนใหญจะใชโทรศัพทมือถือสงขอความ (Short Massage) เฉลี่ยถึงเดือนละ ๘๐๐-๑,๐๐๐ บาท เพราะเปนผูนํากลุม คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินภาคเหนือ สวนใหญมีการศึกษาถึงระดับปริญญาตรี คุณวรวุฒิ กลาววา “ไดรับขาวสารทางหนังสือพิมพ ทีวี กับจุลสารของทางสมาคมคนพิการ” อยางที่คุณสําเริง คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย กลาววา “ ครับอยางคนพิการทางการไดยิน ถาไปไหน โดยไมมีลามหรือส่ือภาษามือไมเขาใจก็ลําบากในการสื่อสารกับผูอ่ืน มีความจําเปนครับ ...” ๒) ดานสุขภาพ คนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมาย หลายคนมองจากภายนอกอาจมีสภาพเหมือน คนทั่วไป มีวิถีชีวิตและสุขภาพแตกตางกัน หากพิจารณาใหดีจะเห็นวาคนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมาย มีปญหาจากการสื่อความ ใหกับคนทั่วไปไดเขาใจวาตนเองเปนอยางไร สุขภาพก็เชนเดียวกันคนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมายมองดูเหมือนสุขภาพปกติ แตหากมีความพิการซ้ําซอน อาจมีปญหาหลายๆอยางตามมา เพราะสาเหตุของความพิการสวนหนึ่งมาจากปญหาการใชยา การแพยาทําใหประสาทหูเสีย ส่ิงจําเปนของคนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมาย คือการเขาถึงบริการที่ตองรอนาน การสื่อสารไมเขาใจ ไมสะดวก ดังที่คุณอนุชากลาววา “เทาที่ผมยกตัวอยางคือบัตร ๓๐ บาท เทาที่เห็นตอนนี้ในกรณีบัตร ๓๐ บาท ผูบริการจะไดรับสิทธิตรงนั้น แตวาบัตร ๓๐ บาท จะเปนลักษณะเขาควิรอคิว เสียเวลามาก บางคนอาจคิดวามองเรื่องสิทธิที่ไดรับ ไมเสียคาใชจายสามารถใชบริการได แตถาผูพิการเลือกสามารถจายเองได เขาก็จะเลือกเอกชน” นอกจากนี้ปญหาในการสื่อสารระหวางแพทยกับ ผูปวยมีปญหาความเขาใจ ดังวา “อยางคนตาบอด คนพิการทางหู เขาจะคุนเคย สนิทสนมกันคอนขางนอย แตหูหนวกที่ไมรูหนังสือ เร่ืองของการแพทย สุขภาพ เขาจะคิดคลายๆวา พยาบาลจะตองเรียนรูวิธีส่ือสาร การบริการกับคนหูหนวก เพราะระบบทางการแพทยดีอยูแลว เพียงมีวิธีที่จะชวยเหลือใหเขารับรูขอมูลได” และคุณสุขสันต กลาวถึงเรื่องนี้อีกวา “เขาบอกวาหลาย ๆ คนถามองผิวเผินจะมองไมออกเลยวาเปนคนพิการ นึกวาเปนคนปกติ ในกรณีที่ไปโรงพยาบาลปญหาเรื่องเดียว คือหมอจะเขียนยาก ๆ เขาไมเขาใจ เขียนยาก ๆ ที่ไมเขาใจ บอกวาปวดหัวธรรมดาได ถาลงลึกวาตองมีการผาตัด นี่คุณเปนโรคนี้

Page 158: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๓

เกิดขึ้น เขาไมรูเร่ือง ถาปวดหัว เปนหวัดธรรมดาเขารูเร่ือง เขาสามารถสื่อสารกับหมอได ถาเปนเรื่องลงลึก เปนไขที่เปนเรื้อรังเกิดขึ้นมาตองใชบริการลาม” นอกจากนี้การมีบัตรทอง ๓๐ บาท บางสวนที่ไมไดระบุไวในสิทธิ ตองเสียคาใชจายเอง ดังที่ คนพิการทางการสื่อความหมาย กลาวถึง “คารักษาพยาบาลก็ฟรีอยูแลว มีบัตรทอง แตมีโรคหรือคาใชจายที่ไมอยูใน ๓๐ บาท ตรงนี้ลําบากเหมือนกันนะ บางทีถาเปนคําสั่งแพทย ผูปวยก็ไมตองเสียคาใชจายเอง แตถาเปนการตัดสินใจเอง ก็เสียคาใชจายเอง” ทําใหตองมีคาใชจายที่อาจเปนภาระได ๓) ดานอาชีพ คนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมายในกรุงเทพฯ ก็มีความจําเปนในการสรางอาชีพ สรางรายได และสรางความมั่นคงใหชีวิต จากการสัมภาษณระดับลึก พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางการส่ือความหมายมีรายไดคอนขางมั่นคง และมีอาชีพที่หลากหลาย ชอบการทํางานอิสระตางๆและเปนงานที่ทําคนเดียวเงียบๆ เชน การขับรถตู การพิมพคอมพิวเตอร งานวาดรูป งานศิลปะ งานฝมือ ขายล็อตเตอรร่ี ฯลฯ ดังที่คุณสุขสันตกลาววา “ การจางงานก็ไมมีปญหา เพราะขับรถตูของเขาเอง ชวงเปดเทอมเขาจะมีรายได พอชวงปดเทอมเขาจะมีรายไดจากการพาคนหูหนวกไปเที่ยว เปนมัคคุเทศก แลวก็จากการขายสลากดวย คือ มีรายไดพิเศษอยางอื่นดวย” นอกจากนี้คนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมาย ยังหางานพิเศษทํา ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมาย กลาววา “ หางานพิเศษทํา ถายากเกินความสามารถของเราก็ไมทํา แตไมใชทํางานบริษัทนะ เปนการหารายไดพิเศษ เมื่อวางงานประจําแลว เปนงานงายๆ เชน ขายพวงมาลัย ขายสลาก เปนงานอดิเรก หารายไดเสริม” แตในบางคนอาจไมประสบความสําเร็จในอาชีพ แตก็มีครอบครัวคอยใหการชวยเหลือ ดังวา “ เคยเรียนตัดเย็บเสื้อผา แตกอนเขาเคยมีรานตัดเย็บเสื้อผา ตอนนี้ปดกิจการไปแลว เขาเห็นวาปจจุบัน

มีการเย็บเสื้อผาสงคอนขางเยอะ ทําใหจํานวนเสื้อที่จะวัดจากคนนอยลงไป เขาปรึกษากับภรรยาคิดวากิจการเย็บเสื้อไมคอยดีแลวนะ ทางภรรยาจึงชวนไปชวยงานที่ปมน้ํามัน เย็บเสื้อผาสวนใหญครอบครัวชวยกันเย็บ”

นอกจากนี้ปญหาของความพิการซ้ําซอนของคนพิการระดับรุนแรงอาจยิ่งสรางปญหาใหกับ คนพิการระดับรุนแรงเปนอยางมาก ทั้งในเรื่องของอาชีพ สุขภาพและความมั่นคงในการดํารงชีวิต ดังที่คนพิการทางการสื่อความหมายกลาววา

“กรณีจะมีคนหูหนวกที่พิการซ้ําซอน คือ กลุมคนตาบอด บางสวนเกิดจากการเปนโรคดวย และบางสวนอาจจะเกิดจากผลกระทบจากการทํางาน บางคนเปนหูหนวกแลวไปทํางานเปนชางไฟฟา ชางเช่ือม ซึ่งใชสายตามาก จํานวนคนเหลานี้ที่เริ่มตาบอดก็จะมีเยอะมาก เพราะฉะนั้นควรจะมีสวัสดิการผูดูแลคนหูหนวก

Page 159: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๔

ตาบอด อาจจะเปนครอบครัวตองเสียเวลามาดูแลหรือเปนคนภายนอกก็ได แตจะตองรูวิธีดูแลคนหูหนวกตาบอดก็อยากใหมีผูดูแลในสวนนี้ดวย” ๔) ดานบริการสังคม

คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมายมีความจําเปนในการเขาถึงบรกิารสังคม เชนเดียวกับคนพิการระดับรุนแรงประเภทอื่น เพื่อความมั่นคงในชีวิต การไดรับเบี้ยยังชีพ โดยเฉพาะคนพิการระดับรุนแรง แตหากมองหูอาจเหมือนกับคนพิการระดับรุนแรงทางการมองเห็น วาสภาพเหมือนไมเปนอะไร แตความจริงก็มีปญหาในการสื่อสาร โดยเฉพาะคนพิการระดับรุนแรงที่ไมสามารถสื่อสารได และอยูในขั้นยากลําบากมากหรือชวยเหลือตัวเองได ดังคุณสุรศักดิ์ กลาววา “... ก็มีคนหูหนวกหลายคนที่จําเปน บางคนยากจนจริงๆ” ดังนั้น เบี้ยยังชีพจึงเปนสิ่งจําเปน

-เบี้ยยังชีพเพื่อการดํารงชีวิต ส่ิงจําเปนอยางหนึ่งในชีวิตประจําวันของคนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมายหรือ

การ ไดยิน การมีเงินที่พอยังชีพไดในความจําเปน จึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได การมีภาระคาใชจายมากกวา คนพิการหรือคนทั่วไปอยางมากหลายเทาตัว เพราะตองมีผูชวยเหลือ ดูแล ยิ่งหากมี ความซ้ําซอนยิ่งตองใชเงินในการดํารงชีพ ทางรัฐเห็นความสําคัญ จึงจัด “เบี้ยยังชีพ” ดังนั้นการไดรับเบี้ยยังชีพจึงมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับคนพิการระดับรุนแรง แตจากการสัมภาษณคนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมายของกรุงเทพฯ พบวา ปจจุบันคนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย มีความพอเพียงของรายไดสวนใหญ ถึง ๓ ใน ๕ คิดเปน ๖๐ % ไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔๐ % โดยที่ ความเพียงพอนั้นหากพิจารณาแลว มีรายไดจากอาชีพที่มาจากครอบครัว เชน มีปมน้ํามัน ขับรถตู และการทํางานเปนหลัก จึงมีความมั่นคงและพอเพียงกับรายได มีความระมัดระวังในการใชจาย อยางพินิจพิเคราะห ดังตารางที่ ๔.๑๗

Page 160: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๕

ตารางที่ ๔.๑๗ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมายของกรุงเทพมหานคร

ความพอเพียงของรายได/เดือน

ลําดับ

ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ ไมเพียงพอ

๑ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๖,๐๐๐ ๖,๕๐๐ -๕๐๐ ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๑๕,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๖,๐๐๐ เพียงพอ ๓ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๑๕,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ ๓,๐๐๐ เพียงพอ ๔ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๑๓,๐๐๐ ๔,๗๐๐ ๘,๓๐๐ เพียงพอ ๕ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๑๐,๐๐๐ ๑๐,๒๐๐ -๒๐๐ ไมเพียงพอ

แตจากการเก็บขอมูล พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย เห็นควร

ใหจัดสวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๑๘ ตารางที่ ๔.๑๘ แสดงการไดรับเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมายเสนอขอ

ของกรุงเทพมหานคร

อันดับ ประเภทคนพิการ เบี้ยยังชีพที่ไดรับ เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๒,๐๐๐ ๒ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๕,๐๐๐ ๓ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ NA ๔ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๖,๐๐๐ ๕ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไดรับ ๕๐๐ บาท ๕,๐๐๐ พิสัย ๒,๐๐๐-๖,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๔,๕๐๐ จากตารางที่ ๔.๑๘ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ

เบี้ยยังชีพ ถึง ๔ ใน ๕ คิดเปน ๘๐ % ไดรับเบี้ยยังชีพ ๕๐๐ บาท เพียงคนเดียว คิดเปน ๒๐ % และเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ มีพิสัยอยูระหวาง ๒,๐๐๐-๖,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมของคนพิการระดับรุนแรงเทากับ ๔,๕๐๐ บาทตอเดือน ซ่ึงบอกวาคนพิการเหลานี้มีความจําเปนและมีความเหมาะสมในการ

Page 161: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๖

ดํารงชีพ ที่สามารถพออยูไดในระดับหนึ่ง แตก็เสนอใหมีสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปนสําหรับคนพิการกลุมนี้ ขณะที่มีเพียงรายเดียว ที่ไมประสงคออกความเห็นจากปญหาสุขภาพในการใหขอมูล

จากการสัมภาษณคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมายของจังหวัดนครปฐม พบวา ปจจุบันคนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมมีความเพียงพออยางมากของรายได ถึง ๒ ใน ๕ คิดเปน ๔๐ % ไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔ % โดยที่ความเพียงพอนั้นไมมีเลย หากพิจารณาแลว จะเห็นวา คนพิการกลุมนี้ทั้งหมดไมมีอาชีพหลัก ครอบครัวทําการเกษตร คนพิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมายเหลานี้มีอาชีพรับจาง ทําการเกษตรกรรม จึงไมมีความมั่นคงและเพียงพอกับรายได ทั้งยังตองมีภาระคาใชจายที่ไมเพียงพอหรือกอใหเกิดหนี้สินได ดังตารางที่ ๔.๑๙

ตารางที่ ๔.๑๙ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ของจังหวดันครปฐม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ

๑ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

- ๒,๘๐๐ -๒,๘๐๐ ไมเพียงพออยางมาก

๒ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

๑,๘๐๐ ๖,๐๐๐ -๔,๒๐๐ ไมเพียงพออยางมาก

๓ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

- ๓,๕๐๐ - ไมเพียงพอ

๔ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

๒,๕๐๐ ๒,๘๐๐ -๓๐๐ ไมเพียงพอ

๕ ผูปกครองดูแลคนพิการหรือการสื่อความหมาย

๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ - ไมเพียงพอ

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย เห็นควรใหจัด

สวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๒๐

Page 162: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๗

ตารางที่ ๔.๒๐ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมายเสนอขอของจังหวัดนครปฐม

เบี้ยยังชีพคนพิการ

ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการไดยิน ไมไดรับ ๒,๐๐๐

๒ คนพิการทางการไดยิน ไมไดรับ ๒,๐๐๐

๓ คนพิการทางการไดยิน ไมไดรับ NA

๔ คนพิการทางการไดยิน ไดรับ ๒๐๐.- ๑,๕๐๐

๕ ผูปกครองคนพิการทางการไดยิน ไมไดรับ NA พิสัย ๑๕๐๐-๒,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๑,๘๓๓.๓๓ จากตารางที่ ๔.๒๐ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ

เบี้ยยังชีพ ถึง ๔ ใน ๕ คิดเปน ๘๐ % ไดรับเบี้ยยังชีพ ๒๐๐ บาท เพียงคนเดียว คิดเปน ๒๐ % และเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ บาทตอเดือน คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมของ คนพิการระดับรุนแรง = ๑,๘๓๓.๓๓ บาทตอเดือน อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ทั่วประเทศ ในภาคกลาง นอกเขตเทศบาล ๑,๒๕๔ บาทตอคนตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) และเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายได ต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๑,๘๓๓.๓๓ บาทตอเดือน สูงกวา เสนความยากจน ๑.๕ เทา จากขอมูลดานอาชีพรับจางทําเกษตรกรรม ซ่ึงไมมีความแนนอนในรายได เพราะตองรับจางทําเกษตรกรรมทั่วไป บางวันอาจไมมีงาน ก็ไมมีรายได จึงเสนอขอเบี้ยยังชีพที่พอประมาณไมมากนัก เพียงเพื่อใหพออยูไดเพียงวันละ ๖๐ บาทแตก็เสนอใหมีสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปน เชน การรับรูขาวสาร ส่ิงอํานวยความสะดวก และลาม เปนตนสําหรับคนพิการกลุมนี้ ขณะที่มีสองรายที่ไมออกความเห็น ตามแตรัฐจัดให

การไดรับเบี้ยยังชีพของจังหวัดเชียงใหมมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับคนพิการระดับรุนแรง จากการสัมภาษณ พบวา องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) หลายแหงไดมีการใหเบี้ยยังชีพในลกัษณะของการหมุนเวียนเปลี่ยนไปตามคนพิการแตละคน แตจากการสัมภาษณคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมมีความ

Page 163: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๘

เพียงพออยางมากของรายได ถึง ๒ ใน ๕ คิดเปน ๖๐ % ไมเพียงพอ ๑ คนคิดเปน ๒๐ % และเพียงพอ ๑ ราย คิดเปน ๒๐ % โดยที่ความเพียงพอนั้นคนพิการมีอาชีพสอนหนังสือ แตคนอื่นๆถึงแมวาจะมีรายไดแตก็มีภาระคาใชจายหลายอยาง ซ่ึงจังหวัดเชียงใหมเปนเมืองทองเที่ยว มีคาครองชีพสูงและยังทํากิจกรรมเพื่อสังคม รวมถึงภาระทางบาน จึงมีภาระคาใชจายที่ไมเพียงพอ ขณะที่เบี้ยยังชีพก็ไมไดรับ ในระยะยาวอาจมีปญหาในเรื่องคาใชจายได ดังตารางที่ ๔.๒๑

ตารางที่ ๔.๒๑ แสดงรายรบั –รายจายของคนพิการระดบัรุนแรงทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย ของจังหวดัเชียงใหม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ เพียงพอ/ไมพียงพอ ๑ คนพิการทางการสื่อความหมาย ๔,๐๐๐ ๔,๔๒๕ -๔๒๕ ไมพอเพียง ๒ คนพิการทางการสื่อความหมาย ๖,๐๐๐ ๔,๗๓๐ ๑,๒๗๐ เพียงพอ ๓ คนพิการทางการสื่อความหมาย ๔,๐๐๐ ๕,๒๐๐ -๑,๒๐๐ ไมพอเพียงอยางมาก ๔ ผูปกครองคนพิการ ๖,๐๐๐ ๙,๐๐๐ -๓,๐๐๐ ไมพอเพียงอยางมาก ๕ ผูปกครองคนพิการ ๓,๐๐๐ ๔,๓๐๐ -๑,๓๐๐ ไมพอเพียงอยางมาก

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย เห็นควรใหจัด

สวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๒๒ ตารางที่ ๔.๒๒ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางการไดยิน ฯเสนอขอของจังหวัดเชียงใหม

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๒,๐๐๐

๒ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๑,๐๐๐

๓ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๔ ผูปกครองคนพิการ ไมไดรับ ๓,๔๐๐

๕ ผูปกครองคนพิการ ไมไดรับ ๑,๕๐๐

พิสัย ๑,๐๐๐-๓,๔๐๐ คาเฉลี่ย ๒,๑๘๐

Page 164: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๔๙

จากตารางที่ ๔.๒๒ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ทกุคน ไมไดรับเบี้ยยังชีพ และเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๐๐๐-๓,๔๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่ เหมาะสมของคนพิการระดับรุนแรง = ๒ ,๑๘๐ บาทตอเดือน อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึง เสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคเหนือโดยรวม ๑,๑๔๘ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. ,อางแลว) เฉลี่ยวันละ ๗๒.๖๖ บาท ต่ํากวาคาแรงขั้นต่ํา ๑ เทา และจากเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายไดต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๒,๑๘๐ บาทตอเดือน สูงกวาเสนความยากจน ๑,๐๓๒ บาท แตก็เสนอใหมีสวัสดิการสังคมอ่ืนๆที่จําเปน เชน การรับรูขาวสาร ส่ิงอํานวยความสะดวก และลาม เปนตน สําหรับคนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

การไดรับเบี้ยยังชีพของจังหวัดอุบลราชธานี มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับคนพิการระดับรุนแรง แตอาจมิไดทุกคน ดังที่คนพิการทางการไดยิน กลาววา “ไมไดทุกคน เพราะตามหมูบานจะมีการคัดเลือก อาจจะดูความพิการของแตละคนวามากนอยแคไหนดวยคะ...”

จากการสัมภาษณ พบวา องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) หลายแหงไดมีการใหเบี้ยยังชีพในลักษณะของการหมุนเวียนเปลี่ยนไปตามคนพิการแตละคน มีการกําหนดเงื่อนไขวาถาหากคนพิการระดับรุนแรงที่ไดเบี้ยยังชีพแลวจะไมสามารถกูเงินกองทุนฟนฟูได จึงอาจเปนประเด็นที่ไมอยากไดรับเบีย้ยงัชพี บางแหงยังจัดสรรใหเพียง ๒๐๐ บาทตอเดือนกลับยิ่งนอยไปอีก ดังเสียงสะทอนของคนพิการ วา “เร่ืองเบี้ยยังชีพ ๕๐๐ บาท แตมีปญหาวาเมื่อไดเบี้ยยังชีพแลวก็ไมสามารถกูเงินจากกองทุนได บางคนก็ตองคืนเบี้ยยังชีพตรงนั้น เพื่อขอใชสิทธิกูเงิน...” “ไดเบี้ยยังชีพ ไดแค ๒๐๐ บาทคะ ไดทุกเดือน จะไดรับจาก อบต. แค ๖ เดือน ไดคร่ึงหนึ่ง” (สัมภาษณคุณอัมพร) แตจากการสัมภาษณคนพิการทางการไดยินหรือการส่ือความหมาย พบวา คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมมีความพอเพียงมากของรายได ถึง ๑ ใน ๕ คิดเปน ๒๐ % เพียงพอ ๔ ราย คิดเปน ๘๐ % โดยที่ความพอเพียงนั้นคนพิการกลุมนี้ไดรับเงินที่ทางบานสงเงินใหมาเรียนเปนรายเดือนๆละ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาทและศูนยฟนฟูอาชีพคนพิการใหเรียนฟรี ทั้งคาอาหาร คาที่พัก คาเรียน จึงไมมีคาใชจาย ตามระยะเวลาที่เรียน แตในระยะยาว หากยังไมมีอาชีพเปนของตนเอง ทางบานไมสงเงินอาจมีชีวิตที่ลําบากได ดังตารางที่ ๔.๒๓

Page 165: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๐

ตารางที่ ๔.๒๓ แสดงรายรบั –รายจายของคนพิการระดบัรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ของจังหวดัอุบลราชธานี

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ ไมเพียงพอ

๑ คนพิการทางการไดยิน ๒,๐๐๐ ๒,๒๐๐ -๒๐๐ ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางการไดยิน ๓,๐๐๐ ๑,๘๐๐ ๑,๒๐๐ เพียงพอ ๓ คนพิการทางการไดยิน ๓,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๑,๐๐๐ เพียงพอ ๔ คนพิการทางการไดยิน ๒,๐๐๐ ๒,๐๐๐ - เพียงพอ ๕ คนพิการทางการไดยิน ๒,๐๐๐ ๑,๑๐๐ ๑,๐๐๐ เพียงพอ

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย เห็นควรใหจัด

สวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๒๔ ตารางที่ ๔. ๒๔ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมายเสนอขอของ

จังหวัดอุบลราชธานี

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๑,๐๐๐

๒ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๕๐๐

๓ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๑,๕๐๐

๔ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไดรับ ๒๐๐ ๑,๐๐๐

๕ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๒,๐๐๐

พิสัย ๕๐๐-๒,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๑,๒๐๐ จากตารางที่ ๔. ๒๔ คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับเบี้ย

ยังชีพ ถึง ๔ ใน ๕ คิดเปน ๘๐ % ไดรับเบี้ยยังชีพ ๒๐๐ บาท เพียงคนเดียว คิดเปน ๒๐ % และเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ มีพิสัยอยูในชวง ๕๐๐-๒,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมของคนพิการระดับรุนแรง

Page 166: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๑

= ๑,๒๐๐ บาท อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนด ความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกเขตเทศบาลและรวม ๑,๐๔๐, ๑๐๗๑ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช., อางแลว) และเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายได ต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๑,๒๐๐ บาทตอเดือน สูงกวาเสนความยากจน ๑๒๙ บาท จากขอมูลทางบานคนพิการทุกคนมีอาชีพทํานา ซ่ึงไมมีความแนนอนในรายได เพราะขึ้นกับดินฟาอากาศ จึงเสนอขอเบี้ยยังชีพที่พอประมาณไมมากนัก เพียงเพื่อใหพออยูไดในระดับหนึ่ง เพียงวันละ ๔๐ บาท ต่ํากวาคาแรงขั้นต่ํา ๔-๕ เทา แตก็เสนอใหมีสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปน เชน การรับรูขาวสาร ส่ิงอํานวยความสะดวก และลาม เปนตนสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย อยางไรก็ตาม คนพิการกลุมนี้ยังมีความเพียงพอในการดํารงชีวิตตามแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง “พอประมาณ มีเหตุผลการใชและมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง นั่นคือ พึ่งตนเองได” จึงจะดํารงชีวิตอยูได

ขณะที่จังหวัดสงขลา คนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมายไดกลาวถึงเบี้ยยังชีพวา “คิดวาในเรื่องของสวัสดิการคนละ ๕๐๐ บาท ในความจริงก็ยังไมไดรับทุกคน จะไดรับเฉพาะคนพิการรุนแรง ก็ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได เรียกวา พิการซอนพิการเปนอันดับแรก และก็ยากจน จะเปนผูไดรับการพิจารณาเปนอันดับแรก” แตจากการสัมภาษณคนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย พบวา คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย มีความพอเพียงของรายได ถึง ๑ ใน ๔ คิดเปน ๒๕ % ไมเพียงพออยางมาก ๓ คน คิดเปน ๗๕ % โดยที่ความไมเพียงพอนั้นคนพิการกลุมนี้มีภาระคาใชจายที่ตองเล้ียงดูคนในครอบครัว คาเชาบาน และคาผอนรถจักรยานยนต ที่เพียงพอนั้นเพราะไมมีภาระคาใชจาย ดังที่คุณมงคล กลาววา “ไมพอ เพราะคาใชจายเรื่องคาเชาบาน คาใชจายแพงมาก” ดังตารางที่ ๔.๒๕ ตารางที่ ๔. ๒๕ แสดงรายรบั –รายจายของคนพิการระดบัรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมายของจังหวดัสงขลา

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๓,๗๐๐ ๕,๖๐๐ -๑,๙๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๒ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๔,๐๐๐ ๖,๒๘๐ -๒,๒๘๐ ไมเพียงพออยางมาก ๓ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๕,๐๐๐ ๔,๕๐๐ ๕๐๐ พอเพียง ๔ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๑๒,๔๐๐ ๑๓,๔๘๐ -๑,๐๘๐ ไมเพียงพออยางมาก

Page 167: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๒

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย เห็นควรใหจัดสวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๒๖

ตารางที่ ๔.๒๖ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

เสนอขอ ของจังหวัดสงขลา

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๒,๕๐๐

๒ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๓ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๑,๐๐๐

๔ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไมไดรับ ๒,๐๐๐

พิสัย ๑,๐๐๐-๓,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๒,๑๒๕ จากตารางที่ ๔.๒๖ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ทุกคน

ไมไดรับเบี้ยยังชีพ และเบี้ยยังชีพที่เสนอขอมีพิสัยอยูในชวง ๑,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมของคนพิการระดับรุนแรง = ๒ ,๑๒๕ บาทตอเดือน อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึง เสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ภาคใต ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาลและรวม ๑,๓๓๒, ๑,๑๔๔ ๑,๑๙๐บาทตอเดือนตามลําดับ (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) และจากเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะห ผูมีรายได ต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๒,๑๒๕ บาทตอเดือน สูงกวาเสนความยากจน ๙๓๕ บาท จึงเสนอขอเบี้ยยังชีพที่พอประมาณไมมากนัก เพียงเพื่อใหพออยูไดในระดับหนึ่ง เพียงวันละ ๗๐.๘๐ บาท สูงคาแรงขั้นต่ํา ๒-๓ เทา แตก็เสนอใหมีสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปน เชน การรับรูขาวสาร ส่ิงอํานวยความสะดวก และลาม เปนตน สอดคลองกับกระทรวงสาธารณสุขที่กําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายไดนอยและเหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบัน

Page 168: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๓

๕) ดานนันทนาการ คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมายจําเปนตองไดรับนันทนาการ ทั้งกีฬา

และการออกกําลังกาย เพื่อใหมีสุขภาพที่แข็งแรง รวมถึงสถานที่พักผอนหยอนใจ การแขงขันกีฬาระหวางคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมายดวยกัน แตจากการสัมภาษณ คนพิการระดับรุนแรงทางการสื่อความหมาย ตองการใหกรุงเทพฯจัดการแขงขันกีฬาสําหรับคนหูหนวก จัดสถานที่ออกกําลังกายหรือลานกีฬา เพื่อคนกลุมนี้ไดมีการออกกําลังกายรวมกัน

๖) ดานความมั่นคงและการยอมรับ

คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยิน ยอมรับรูถึงความแปลกแยกและแตกตางในสังคมทั่วไป ที่ตองใหความรูกับคนทั่วไปหรือการยอมรับ ส่ิงหนึ่งคือการเรียนที่มีการบรรจุในบทเรียนใหกับเดก็นกัเรยีน ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางการไดยิน กลาววา

“ความรูสึกแปลกแยก และแตกตางจากคนในสังคมทั่วไป ซึ่งอาจจะเปนความรูสึกของคนพิการ

รูสึกเอง หรือคนในสังคมรูสึกเองวาคนพิการเปนอะไรที่แปลกแยกอยู การที่เราจะลางความรูสึกบางอยางที่มันเปนขอบเขตระหวางคนพิการกับคนปกติทั่วไป บางทีมันอาจจะจําเปนตองใหการศึกษาสําหรับคนทั่วไปดวย อาจจะจําเปนตองบรรจุไวในบทเรียน”

Page 169: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๔

ตารางที่ ๔.๒๗ สรุปการไดรับสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

สภาพการไดรับสวัสดิการ

ประเภทสวัสดิการ ประเด็น การไดรับ แนวทางที่ควรจะเปน เหมาะสม ไมเหมาะสม

ดานการศึกษา เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อการพัฒนา

/ /

บางจังหวัดไมมี โรงเรียนเฉพาะและสวนใหญอยูในสวนกลาง

-จัดศูนยเด็กเล็กหูหนวกใหกับพอแมที่ฝากเลี้ยงเหมือนเนสเซอรี่และจัดการศึกษานอกระบบ -การศึกษาเพื่อการสื่อสาร เชน ลาม ภาษามือใหมากขึ้น -จัดลามใหกับทัวร จัดลามชมุชน

ดานสุขภาพ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยู สุขภาพดี เพื่อการเขาถึงบริการ

/ /

ทุกจังหวัดมีแหลงบริการ เขาถึงและสะดวก

-เนนการดูแลสุขภาพเชิงรุกมากขึ้น เชน Home Health Care -จัดชองทางดวนใหกับคนพิการสามารถเขาถึงไดสะดวก

ดานอาชีพและรายได

เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ

/ / /

-สงเสริมอาชีพครบวงจรใหกับคนพิการที่มีศักยภาพ สรางรายไดเสริมในรูปแบบตางๆ -การเสริมอาชีพที่เปนความ ตองการของตลาดและการจางงานมากขึ้น

ดานบริการสังคม เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความสะดวกในชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/ /

/

-ควรจัดบานพักคนชราหูหนวก -การบริการสังคมใหคนพิการอยางเพียงพอ -การเขาถึงขาวสาร บริการดานตางๆ การจัดลามภาษามือ

ดานนันทนาการ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/ /

ควรมีการจัดลานกีฬา และอุปกรณที่เหมาะสมกับคนพิการ

ดานความมั่นคง เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการยอมรับ

/ /

-สรางการยอมรับในคนรุนใหม -ใหสิทธิและโอกาสกับคนพิการในการมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม -จัดตั้งเครือขายคนพิการและสวัสดิการชุมชนใหกับคนพิการ

Page 170: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๕

๓.๑.๓ คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคล่ือนไหว ๑) ดานการศึกษา คนพิการระดับรุนแรงทางกาย หรือการเคลื่อนไหว อาจเปนสัญลักษณที่บงบอกถึงความพิการทางกายที่เห็นไดชัดเจน เหตุนี้การศึกษาอาจมีปญหาในการเดินทาง การเรียน การเคลื่อนไหว จากขอมูลไมมีโรงเรียนสอนคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวเฉพาะในกรุงเทพฯ แตมีในตางจังหวัด ๓ โรงเรียน ขณะที่โรงเรียนที่จัดบริการการศึกษาพิเศษใหกับคนพิการทุกประเภท ของศูนยการศึกษาพิเศษ ลักษณะเชนนี้จึงเห็นวาการศึกษาที่ใหกับคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวยังนอยมาก ดังที่คนพิการทางกาย หรือการเคลื่อนไหว กลาววา“สวัสดิการที่ทางภาครัฐใหกับคนพิการยังมีนอยอยู อยากใหเนนในดานการศึกษากอน เพราะการศึกษาจะชวยในการพัฒนาใหกับคนพิการในดานอื่นๆตามมา ถาเขาไดรับการพัฒนาในดานการศึกษา จะชวยพัฒนาในดานการมีงานทํา การดํารงชีวิตในสังคม หรือวาอะไรอื่นก็ตาม อยากใหทางภาครัฐเนนในดานนี้” ลักษณะเชนนี้จึงเห็นวา การศึกษาที่ใหกับคนพิการทางกาย หรือการเคลื่อนไหวที่พรอม หากสวนหนึ่งมีความจําเปนที่จะตอยอดการศึกษาเพื่อความกาวหนาในการสรางอาชีพ กรณีที่คนพิการเรียนรวมกับนักเรียนปกติ จุดหนึ่งที่การเรียนบางวิชาไมเหมาะสมกับคนพิการระดับรุนแรง เชน วิชาพละศึกษา ดังที่คุณศุภสิทธิ์ คนพิการทางการเคลื่อนไหว กลาววา

“ผมคนพิการไมเหมือนคนทั่วไป ตอนมาเรียนหนังสือ เวลามีวิชาพละก็โดด กลัวทําไมไดเหมือนเขา ก็เลย..... ผมก็เรียนหนังสือไดสองอาทิตย แตกอนเรียน ม.ศ.๑ ผมเรียนไดอาทิตยเพราะวาตัวเองไมเหมือนเขา รูสึกไมอยากไปโรงเรียน เพราะไปแลวก็เฮย ...ครูทํากายบริหารรึก็ทําแบบเขาไมได ก็กลัวจะมีความผิด อายเพื่อนมั่ง เพื่อนลอมั่ง ก็เลยไมเอา แตก็กลับมาอยูบานมาชวยพอแมทํานา แตกอนผมก็แข็งแรงกวานี้นะ”

ขณะที่จังหวัดสงขลาจากขอมูลไมมีโรงเรียนสอนคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวเฉพาะ แตมีโรงเรียนที่จัดบริการการศึกษาพิเศษใหกับคนพิการทุกประเภท ที่ศูนยการศึกษาพิเศษเขต ๓ ลักษณะเชนนี้จึงเห็นวาการศึกษาที่ใหกับคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวยังคอนขางนอยสําหรับภาคใต เหตุดังกลาวอาจทําใหคนพิการเขาถึงการศึกษาไดลําบาก จากสภาพพื้นที่และการดํารงชีวิตของคนภาคใตที่แตกตางกันทั้งวัฒนธรรมและศาสนา จึงนาที่จะสอดแทรกการศึกษาสําหรับคนพิการเขาไปในโรงเรียนสอนศาสนาในชุมชน จะเปนการชวยใหคนพิการระดับรุนแรงมีสวนรวมกับสังคมและรับรูขาวสารได

๒) ดานสาธารณสุข

ความจําเปนของคนพิการระดับรุนแรงทางกาย หรือการเคลื่อนไหว นับวามีปญหามากที่สุด ในกลุมคนพิการเพราะบางคนอาจไมสามารถเคลื่อนไหว ขยับอวัยวะสวนตางๆของรางกาย บางคนตองนอนอยูกับที่ไมสามารถเดินเหินได เมื่อนั่งหรือนอนตลอดเวลา อาจทําใหเกิดแผลกดทับ (Bedsore) ปสสาวะเอง อุจจาระเองไมได ตองใชถุงใสปสสาวะตลอดเวลา ส่ิงสําคัญตองมีผูชวยเหลือ หรือบุคคลใน

Page 171: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๖

ครอบครัวชวยดูแล คนกลุมนี้จึงมีความจําเปนอยางมากที่จะตองใหการชวยเหลือในการดูแลสุขภาพ ความเจ็บปวย ความพิการซ้ําซอน รวมถึงปญหาสุขภาพ โรคหรืออาการที่ไมพึงประสงคตามมา เชน ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เปนตน การจัดการดูแลจึงมีความสําคัญมาก ปญหาที่สําคัญ คือความไมสะดวกในการตองไปรับบริการที่โรงพยาบาล ในการตรวจรางกาย รักษา ความเจ็บปวย กลับตองเพิ่มความทุกขทรมานใหกับคนเหลานี้ การเขาถึงบริการ การรอคิว รวมถึงการทํากายภาพบําบัดในสถานพยาบาล ผูชวยเหลือจึงเปนบุคคลที่มีความสําคัญ ซ่ึงจะตองมีความเขาใจและความอดทนในการดูแลคนพิการเหลานี้ ส่ิงที่คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวประสบ จึงเปน “กลุมยากลําบากมาก” ที่สมควรจะไดรับการสงเคราะห เปนพิเศษ ดวยรูปแบบของการดูแลสุขภาพที่บาน (Home Health Care ) (จะขอนําเสนอในรูปแบบสวัสดิการสังคมคนพิการตอไป) คุณอัฐพล ผูพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว กลาววา “ตรงนี้สาธารณสุขก็ดีขึ้น แตวาเจาหนาที่สาธารณสุขที่จะออกมา เพราะวาคนพิการก็ไมสะดวกที่จะไป สถานีอนามัยนาจะมีอยางนอยนาจะมีการออกตรวจเยี่ยมบานคนพิการ อาจจะเปนระยะเวลาหรืออาจจะเปนกําหนดตาราง”

คนพิการระดับรุนแรงทุกคนก็จะไดรับบัตรทอง (ท.๗๔) ในการรักษาพยาบาลไมเสียคาใชจาย ความจําเปนของคนพิการระดับรุนแรงที่มีความพิการซ้ําซอน ดังที่คุณธีรพงษ กลาววา “ผมไปหาหมอบอย แตกอนผมเดินไมได แตพอหมอรักษาแลวก็สามารถทําไดผมเดินได ตอนที่ผมอายุ ๑๑ ป ผมเปนโรคหัวใจ หมอก็ผาตัด ผลจากการผาตัดทําใหขาของผมมีปญหา ไมมีแรงตองไดรับการฟนฟู เสียงก็มีปญหา ผาคอมาทําใหเสียงแหบ” และยังมีขอเสนอวา “การแพทยก็นาจะมีศูนยที่ดูแลคนพิการ โดยเฉพาะอยางผมตองการทํากายภาพบําบัดที่โรงพยาบาล แตคนแนนมาก เจาหนาที่ก็ทําใหเสร็จๆไป...”

คนกลุมนี้จึงมีความจําเปนอยางมากที่จะตองใหการชวยเหลือในการดูแลสุขภาพ ความเจ็บปวย ความพิการซ้ําซอน รวมถึงปญหาสุขภาพ การจัดการดูแลจึงมีความสําคัญมาก ดังที่คุณมงคล กลาววา

“ในระยะแรกที่ไดรับความพิการตองนอนอยูกับที่ตลอดเวลา ภายหลังอาการปวยดีขึ้นเรื่อยๆ แตยังมี

ปญหาเรื่องของการขับถายซึ่งตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ ปจจุบันตองไปพบแพทย ๒ ครั้งตอเดือน ในขณะเดียวกันก็ตองดูแลตัวเองตลอดเวลาควบคูไปดวย เพื่อไมใหเกิดความพิการมากกวาเดิม ซึ่งความพิการนี้มีมากกวา ๑๓ ป สาเหตุของความพิการเนื่องจากการตกจากตนไมทําใหกระดูกสันหลังหักและไขสันหลังไดรับความบาดเจ็บ จึงทําใหไดรับความพิการ ดังนั้นการดูแลตนเองจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด เพราะนอกจากจะเปนการปองกันไมใหความพิการมีมากขึ้นแลว ยังมีสวนชวยในการลดภาระของผูอื่น”

ขณะที่จังหวัดสงขลา ปญหาที่สําคัญคือความไมสะดวกในการตองไปรับบริการที่โรงพยาบาล

ซ่ึงมีพื้นที่หางไกล เปนสวนยาง โดยเฉพาะอําเภอรอบนอกที่หางไกล เหตุการณในความไมปกติในพื้นที่ การตรวจรางกาย การรักษาความเจ็บปวยและกายภาพบําบัดในสถานพยาบาลอาจมีขอจํากัดได ผูชวยเหลือในชุมชนหรือครอบครัว จึงเปนบุคคลที่มีความสําคัญ ซ่ึงจะตองมีความรูความเขาใจและ

Page 172: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๗

ความอดทนในการดูแลคนพิการเหลานี้ ดังที่คนพิการระดับรุนแรง กลาววา “กรณีคนพิการที่ตองไดรับการดูแล ตัวคนพิการเองจะมีความจําเปนในการใชเงินไมมาก แตผูดูแลจะมีคาใชจายในการดูแลคอนขางมาก” แต คนพิการระดับรุนแรงทุกคนก็จะไดรับบัตรทอง (ท.๗๔) ในการรักษาพยาบาลไมเสียคาใชจาย ขณะเดียวกันยังมีการบริการเชิงรุกของเจาหนาที่ในการเยี่ยมบาน (Home Visit) เฝาระวังติดตามแตอาจไมทั่วถึงได เพราะอาจมีปญหาเรื่องความปลอดภัย การใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการดูแลจึงเหมาะสม

๓) ดานการสรางอาชีพและรายได

การที่คนพิการระดับรุนแรงมีอาชีพประจํา ที่จะสรางรายไดใหพออยูพอกินแกการดํารงชีวิตเปนส่ิงที่ทุกคนตองการเปนอันดับที่หนึ่ง เพราะการศึกษาอาชีพเพื่อสรางความรูในการทํามาหากิน นําความรูมาใชในการประกอบอาชีพ หากมีอาชีพที่มั่นคงจะสงผลถึงรายไดที่สรางความมั่นคงในชีวิต นั่นหมายถึงการมีรายไดเล้ียงตัวเองและครอบครัว ทั้งยังไมเปนภาระกับคนในสังคม ชุมชนและครอบครัว การฝกอาชีพที่สอดคลองกับความตองการของตลาด การสรางอาชีพและรายไดใหกับคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว มีเปาหมายเพื่อใหคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดมีอาชีพและรายไดที่มั่นคง ชวยในการดํารงชีพไดสําหรับรายที่มีศักยภาพและความสามารถของอวัยวะบางอยาง เชน มือ แขน ขา หรือปาก ที่ยังใชการไดบางสวน และเปนการใชประโยชน สรางคุณคาใหกับตนเอง การฝกอาชีพที่สอดคลองกับความตองการของตลาด แมวาจะไมจําเปนตองมีรายไดที่มากมาย เชน งานศิลปะ การวาดรูป การประดิษฐ ถัก เย็บสิ่งของตางๆ แตเปนการเพิ่มมูลคาชีวิต (Life Value Add) มีรายได และเปนประโยชนตอสังคมสวนรวม บางครั้งอาจเพิ่มมูลคาเปนตัวเงินไดมาก ถาหากมีฝมือและเปนที่ตองการของตลาด

ผูปกครองคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว กลาววา “สําหรับคนพิการถาอยูในครอบครัวก็สามารถอยูได บางคนไมมีครอบครัว ไมมีคนดูแล มันไมพอ แคใชชีวิตอยูตามลําพัง คาน้ํา คาไฟ ก็หมดแลว” จากขอมูลจังหวัดนครปฐม คนพิการระดับรุนแรงในศูนยการดํารงชีวิตอิสระ ทั้งหมดเปน คนพิการทางการเคลื่อนไหว ตองนั่งรถวีลแชรตลอด แตเปนกลุมผูนําที่มีศักยภาพสูงมาก ในการเปน พี่เล้ียงคนพิการในจังหวัดนครปฐม นอกจากนี้ยังสามารถสรางอาชีพเปนรายได เชน มีอาชีพพิมพคอมพิวเตอร การดอวยพร การวาดรูปดวยปาก ซ่ึงเปนศิลปะและเอกลักษณของคนพิการกลุมนี้ แตก็ยังไมเพียงพอกับภาระคาใชจายที่จําเปนตางๆ

ดังนั้นการสงเสริมอาชีพใหกับคนพิการระดับรุนแรง จึงนาจะทําใหครบวงจร ใชหลักสวนผสมทางการตลาด ๔ P. คือเมื่อผลิตไดแลว มีตลาดรองรับ มีแหลงวางจําหนาย การประชาสัมพันธ มีตลาด กําหนดราคาที่เหมาะสม มีผลิตภัณฑที่หลากหลาย ใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม (รายละเอียดขอนําเสนอในรูปแบบสวัสดิการสังคม) ดังที่คนพิการทางการเคลื่อนไหว กลาววา

Page 173: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๘

“เรื่องอาชีพที่พูด ๆ กันบานเราก็สงเสริมกันจริง ๆ แตไมมีเวทีใหออกไปขาย ไมมีสถานที่ขาย ไมมี

ศูนยจําหนายสินคาของคนพิการ ไมมีการสงเสริมการขายอยางเปนระบบ การผลิตก็มีการอบรมทั่วประเทศ ก็มีการผลิตออกมา แตขายไมได ก็ไมมีประโยชนหรอก ละลายงบประมาณเฉย ๆ เชน ผมอยูฝายขอมูลของสมาคมคนพิการดวย เวลากรรมการเขาไปประชุมที่ไหน กลับมาเขาจะมีขอมูลกลับมา นาสงเสริมอาชีพมากขึ้น...”

ส่ิงหนึ่งที่จะเสริมอาชีพไดนั่นคือการกูยืมเงินจากองทุนเพื่อประกอบอาชีพสําหรับคนพิการ ซ่ึงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดใหคนพิการกูยืมนําไปใชในการประกอบอาชีพ แตปญหาที่สําคัญ คือ หากจดทะเบียนแลวไดรับเบี้ยยังชีพ จะไมสามารถกูเงินกองทุนฟนฟูเพื่อประกอบอาชีพได ดังที่คุณพงษศักดิ์ กลาววา “ไดขึ้นทะเบียนแลวครับ แตเงินชวยเหลือผมไมได เขาบอกวาผมใชสิทธิ์ในการกูเงินแลว จึงไมไดรับเงินชวยเหลือตรงนี้ครับ”

สวนจังหวัดอุบลราชธานีก็เชนเดียวกัน ตางมุงเนนการพัฒนาและสรางอาชีพใหมั่นคงเปนอันดับแรก เพราะสภาพการที่มีอาชีพทํานา ที่มีความไมแนนอนขึ้นกับปจจัยดินฟาอากาศ ราคาและรายไดที่นอยไมเพียงพอ และจากขอมูล พบวา คนพิการระดับรุนแรงใหความสําคัญกับเรื่องของอาชีพ ขณะที่ทางราชการไดใหคนพิการกูเงินเพื่อประกอบอาชีพ ประมาณ ๒,๐๐๐ ราย ซ่ึงมากกวาหลายจังหวัด (สัมภาษณ พมจ.จังหวัดอุบลราชธานี) ขณะที่การดํารงชีวิตในสังคมเมืองกับชนบทตางจังหวัดมีความแตกตางกันอยางมาก เพราะในเมืองทุกอยางจะตองใชเงินในการดํารงชีวิต ตางกับชนบทที่สังคมอาจไมจําเปนตองใชเงินอยางเดียว เพราะคาใชจาย คาครองชีพไมแพง โดยที่คนในชนบทมักมีการเอื้อเฟอเผ่ือแผกัน การแบงปนกัน การใหเงินเพื่อสรางอาชีพ จึงตองพิจารณาการใหเงินมิใชใหเปลา แตตองเอาคืน ดังที่ คุณเฉลิม ผูพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว กลาววา

“การดํารงชีวิตจากบานนอกหรืออุบล มันตางกัน ก็ดานสภาพแวดลอม เศรษฐกิจมันตางกัน ในกรุงเทพฯ มีคาหลายอยาง แตอุบลบานนอกไปไดเรื่อยๆ ไมตองใชเงินมาก็ได เพียงแตไปหาอะไรที่ทําได คอยๆพัฒนา การมีชีวิตสามัญชน ตามแบบบานนอกมันก็ไมสับสนเทาไร กินอยูยังไงก็ได ถาอยูในเมือง ถาไมมีตัง ก็อยากหนอย ชีวิตคนเราตองพึ่งพาตัวเองมากกวา การขอนี่มันก็เหมือนซื้อเที่ยว ๒ เที่ยว ซื้อมันทุกเที่ยว”

การฟนฟูคนพิการใหดีขึ้น ชุมชนจะมีสวนรวมในการใหกําลังใจ ชวยแนะนําในเรื่องการฝกอาชพี หรือชวยฝกอาชีพใหกับคนพิการระดับรุนแรง นอกจากนี้การฝกอาชีพมีความสําคัญมาก หากคนพิการระดับรุนแรงไมมีอาชีพ อาจตองไปเปนขอทาน ทั้งที่เรามีกฎหมายระบุวาถาใครขอทานสามารถจับติดคุก

Page 174: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๕๙

ไดเลย จึงเปนปญหาหากคนพิการวางงานหรือไมมีอาชีพรองรับ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับรุนแรงในดานรางกายและอาชีพนั้น ผูปกครองสถานฟนฟูได กลาววา “ การฟนฟูสมรรถภาพผูพิการมีทั้งการฟนฟูดานอารมณ จิตใจ รางกาย เราจะเปดเพลงใหกับ

คนพิการไดฟงกอนการเรียนในตอนเชา เปนเพลงเบาๆ และมีการฟนฟูทางสติปญญาดวย สวนการเรียนจะมีการเพาะเห็ด เย็บหนัง นวดแผนโบราณ หลายรุนมีงานทํามีรายไดเลี้ยงตัวเองได สวนผูพิการทางสติปญญาเราจะมีนักกายภาพเขามาดูแลเพื่อพัฒนาใหดีขึ้น”

ส่ิงหนึ่งที่จะเสริมอาชีพไดนั่นคือการกูยืมเงินจากกองทุนเพื่อประกอบอาชีพสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ซ่ึงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดใหคนพิการกูนําไปใชใน การประกอบอาชีพ แตจากการสัมภาษณ พบวา ยังมีปญหาทั้งในเรื่องของจํานวนเงิน ระยะเวลา และ การสงคืน เปนตน ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหวที่กูเงินไปแลว ไดกลาววา

“กองทุนสําหรับคนพิการใหกูยืมรายละ ๒-๔ หมื่นบาท และสงเปนรายเดือน ถาเปนไปไดอยากใหปลอดไปซักปหนึ่งกอน อยางนําไปซื้อวัวกวาที่วัวจะโตแลวขายไดก็ใชเวลา แตถากูแลวตองชําระในเดือนถัดไปเงินที่จะตองนํามาชําระเปนรายเดือนนั้น มันไมมีก็เปนปญหาสําหรับผูพิการ”

กรณีที่สอง มีปญหาที่คนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว ไดสะทอนวา “บางคนกูไปประกอบอาชีพซอมมอเตอรไซด แตก็มีสวนนอยเพราะบางทีก็ไมมั่นใจในศักยภาพของผูพิการวาจะสามารถหาเงินมาใชหนี้ตรงนี้ไดหรือไม ตองมีผูรับรอง ทําใหเกิดปญหาไมสามารถกูได”

การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการใหดีขึ้น สวนหนึ่งชุมชนจะมีสวนรวมในการใหกําลังใจ ชวยให

คําแนะนําในเรื่องการฝกอาชีพ หรือชวยฝกอาชีพใหกับคนพิการ นอกจากนี้การฝกอาชีพมีความสําคัญมาก หากคนพิการไมมีอาชีพ อาจเปนปญหาสังคมตามมา ส่ิงหนึ่งที่จะเสริมอาชีพไดนั่นคือการกูยืมเงินจากองทุนเพื่อประกอบอาชีพสําหรับคนพิการ แตความจริงเงินกองทุนเพื่อการกูยืมประกอบอาชีพ มีเปาหมายใหคนที่จําเปนจริงๆ แตคนเดือดรอนทั่วประเทศมีมาก กองทุนมีเงินไมมากการกูเงินกองทุนนี้ ไมมีการกําหนดดอกเบี้ย ระยะเวลาการผอนไมเกิน ๕ ป ดังนั้นการหมุนเวียนของเงินจึงคอนขางชา ๔) ดานบริการสังคม

การจัดบริการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวเปนสิ่งจําเปนที่ คนพิการเหลานี้สมควรไดรับการบริการ การชวยเหลือ รวมถึงการสงเคราะหที่เหมาะสมใหสามารถดํารงชีวิตขั้นพื้นฐาน นั่นคือ การไดรับเบี้ยยังชีพ

Page 175: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๐

-เบี้ยยังชีพเพื่อการดํารงชีวิต ส่ิงจําเปนที่สําคัญมากของคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว การมีเงินที่พอยัง

ชีพได เมื่อมีความจําเปนตองใชจายในชีวิตประจําวัน จึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได การมีภาระคาใชจายมากกวาคนพิการหรือคนทั่วไปอยางมากมายหลายเทาตัว เพราะตองมีผูชวยเหลือ ดูแล ยิ่งหากมี ความซ้ําซอนยิ่งจําเปนตองใชเงินในการดํารงชีพ ที่รัฐจัดใหเพียง ๕๐๐ บาท จึงอาจไมสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจในปจจุบันและผูที่อาศัยอยูในกรุงเทพฯ ควรที่จะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับสภาวการณตางๆ ทั้งของคนพิการ อยางไรก็ตามการไดรับเบี้ยยังชีพก็มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวที่มีตนทุนชีวิตที่สูงกวากลุมคนพิการอื่นๆ แมแตคนจน คนดอยโอกาส ผูสูงอายุ ยังมีชองทางในการดํารงชีพ การทํามาหากิน แตสําหรับคนพิการระดับรุนแรงแทบไมมีทางเลือกอะไรเลยสําหรับชีวิต มิใชวาเปนความสงสารแตเปนสิทธิของความเปนมนุษย แหงความเทาเทียมในโอกาสเทานั้น

แตจากการสัมภาษณคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวของกรุงเทพฯ พบวา ปจจุบันคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมมีความพอเพียงอยางมากของรายไดสวนใหญ ถึง ๒ ใน ๕ คิดเปน ๔๐ % ไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔๐ % เพียงพอแค ๑ คน คิดเปน ๒๐ %โดยที่สวนใหญไมมีความเพียงพอมีหนี้สินถึงเดือนละ ๔,๕๐๐-๕,๔๐๐ บาทที่เปนคาใชจายในการดํารงชีวิต ยังไมรวมถึงคาคนดูแลชวยเหลือคารักษาพยาบาล ฯลฯ จึงเปนภาระอยางมากสําหรับคนพิการกลุมนี้ ความเพียงพอนั้นหากพิจารณาแลว มีรายไดจากอาชีพที่มาจากสมาคมคนพิการแหงประเทศไทย มีเงินเดือนประจํา และมีอาชีพของครอบครัว ดังตารางที่ ๔.๒๘

ตารางที่ ๔.๒๘ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวของกรุงเทพมหานคร

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว - - - ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว - - - เพียงพอ ๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๖,๐๐๐ ๑๐,๕๐๐ -๔,๕๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๔ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๑๐,๐๐๐ ๑๕,๔๐๐ -๕,๔๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๕ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๘๐๐ ๑,๖๐๐ -๘๐๐ ไมเพียงพอ

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว เห็นควรใหจัด

สวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๒๙

Page 176: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๑

ตารางที่ ๔. ๒๙ แสดงการไดรับเบี้ยยังชีพของคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวเสนอขอ ของกรุงเทพมหานคร

อันดับ ประเภทคนพิการ เบี้ยยังชีพที่ไดรับ เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ NA ๒ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว NA ๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๕๐๐ แตมีสิ่งจําเปน

ครบถวน ๔ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๕,๐๐๐ ๕ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๖,๐๐๐ พิสัย ๕๐๐-๖,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๓๘๓๓.๓๓ จากตารางที่ ๔.๒๙ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวทุกคน ไมไดรับ

เบี้ยยังชีพแมแตคนเดียว และเบี้ยยังชีพที่คนพิการรุนแรงเสนอขอ มีพิสัยอยูระหวาง ๕๐๐-๖,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมของคนพิการระดับรุนแรง = ๓,๘๓๓.๓๓ บาทซึ่งบอกวาคนพิการเหลานี้มีความจําเปนและมีความเหมาะสมในการดํารงชีพ ที่สามารถพออยูไดในระดับหนึ่ง หากพิจารณาวาคนพิการระดับรุนแรงเสนอขอเพียง ๕๐๐ บาทตอเดือนแตก็ตองการใหรัฐจัดสวัสดิการสังคมอื่นๆ ที่จําเปน และตองสรางความมั่นคงใหกับคนพิการกลุมนี้ดวย หากวิเคราะหคนพิการระดับรุนแรงกลุมนี้ยังตองการยืนอยูบนฐานคิดของเศรษฐกิจพอเพียง มีความพอประมาณ ความมีเหตุผล พออยูพอกิน และ การพึ่งตนเอง (Self-reliance) แตมีความมั่นคงทางสังคมและความปลอดภัยในชีวิต (Life Safety Net) อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวา เสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในกรุงเทพมหานคร ๑,๗๗๓ บาทตอคนตอเดือน ทั่วประเทศ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล และรวมทั่วประเทศ จํานวน ๑,๔๖๖ , ๑,๑๑๙ และ ๑,๒๓๐ บาทตอคนตอเดือนตามลําดับ (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. อางแลว) และการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางในประภาส ปนตบแตง, ๒๕๔๔) คาใชจายเฉพาะคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนระดับที่ ๑ อยูที่ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท ยังไมรวมคาใชจายอื่นๆ แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับเพียง ๕๐๐ บาทตอเดือน ขณะที่เสนความยากจนของกรุงเทพฯ ถึง ๑,๗๗๓ บาท แตกตางกันถึง ๑,๒๗๓ บาท ขณะที่คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวเสนอขอเฉลี่ยเพียง ๓๘๓๓.๓๓ บาทตอเดือน ซ่ึงสูงกวาเสนความยากจน ๒ เทาเศษ และการสงเคราะหผูมีรายไดนอยของกระทรวง

Page 177: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๒

สาธารณสุข ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน ซ่ึงไมถึง ๑ เทาตัว เกณฑเฉลี่ยที่เสนอขอนี้จึงตั้งอยูบนฐานของ ความพอประมาณ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

ขณะที่มีสองรายไมประสงคออกความเห็นจากในการใหขอมูล แตขอใหมีสวัสดิการดานอื่นๆที่จําเปน เชนคาคนดูแลชวยเหลือที่เปนเงินเดือน เงินครอบครัวอยางนอยวันละ ๒๐๐ บาทกวาบาทหรือเทียบเทากับคาแรงขั้นต่ํา ๗,๐๐๐ บาทที่คนดูแลไปทํางานนอกบาน ดังที่ผูชวยเหลือคนพิการ กลาววา

“ผูปอนขาวปอนน้ํา ทํากายภาพทุกวัน ถามีคนดูแลเคา ๑ คน ฉันวาเคาดีขึ้น เคาสามารถนั่งได เคา

สามารถเรียนหนังสือไดในอนาคต ง้ันถา ๗๐๐๐ บาทเนี่ย ใหคนเลี้ยง คนดูแล หมายถึงคนตกงาน ตอนนี้เรามีคนตกงานเยอะเลยในประเทศเรา ถามวาถาจางเขา ๗,๐๐๐ บาท ไปดูแลคนพิการคนเดียว ดิฉันวางายกวาที่จะไปอยูบริษัทดวยซ้ํา แตคุณจะมีแพทเทิลเลยวาเชามาคุณอาบน้ํา อาบน้ําเสร็จปอนขาว อุมหรือพาเดิน กลับมาคุณนวดให เย็นคุณเตรียมอาหาร ๗,๐๐๐ บาทตอเดือน ดิฉนัวาคนที่ทํางานเคาก็อยูไดดวย แลวเด็กพิการคนนี้จะมีความสุข แลวก็อยูไดดวยนะ”

จากการสนทนากลุมจังหวัดนครปฐม กลาวอีกวา “สวัสดิการ ๕๐๐ บาท คนพิการสวนใหญคิดวา

จริงแลวมันไมพอ แตดีกวาไมไดเลย มันไมพอกับการยังชีพ เมื่อกอนการจายเบี้ยยังชีพ จะขึ้นอยูกับพัฒนาสังคม เขาจะมีเกณฑวัด เดี๋ยวนี้ไปอยูกับ อบต. ทางอบต.ก็อันนี้ญาติ นี่ไมใชญาติ มันเกิดการแบงญาติกันได เงิน ๕๐๐ บาท” และพบวา ปจจุบันคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมมีความพอเพียงของรายไดสวนใหญ ถึง ๖ ใน ๘ คิดเปน ๗๕ % เพียงพอ ๑ คน คิดเปน ๑๒.๕ % ไมออกความเห็น ๑ คนโดยสวนใหญไมมีความพอเพียง เพราะรายไดไมแนนอน ไมมีงานประจํา ตองพึ่งอาศัยผูปกครองทางบานที่จายใหเปนรายเดือน แมวาบางคนทางบานจะพอมีฐานะบาง สวนใหญอยูในศูนยการดํารงชีวิตอิสระในตัวจังหวัด ทําใหมีคาใชจายเพิ่มขึ้น เชน คาเชาตึก คาอาหาร คาคนดูแลชวยเหลือ คารักษาพยาบาล และคาใชจายสวนตัว ฯลฯ (ขอมูลบางคนไมออกความเห็น) ขณะที่ผูปกครองของคนพิการทางกายมาชวยดูแลและจางคนดูแล รวมถึงคนขับรถตูของศูนย ฯ จึงเปนภาระอยางมาก สําหรับคนพิการกลุมนี้ ขณะเดียวกันศูนยฯ ยังมีกิจกรรมสังคมที่เปนประโยชนสําหรับคนพิการหลายประการ ทําใหมีคาใชจายมากขึ้นไปอีก แมวาจะมีเพียงคนเดียวที่มีความพอเพียง เพราะมีรายไดแตก็ไมมากนัก ดังตารางที่ ๔.๓๐

Page 178: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๓

ตารางที่ ๔.๓๐ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวของจังหวัดนครปฐม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๑,๕๐๐ ๑,๖๐๐ -๑๐๐ ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๒,๐๐๐ ๒,๓๐๐ -๓๐๐ ไมเพียงพอ ๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๔,๐๐๐ ๔,๕๐๐ -๕๐๐ ไมเพียงพอ ๔ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๕๐๐ ๓,๖๐๐ -๓,๑๐๐ ไมเพียงพอ ๕ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว - ๔,๐๐๐ -๔๐๐๐ ไมเพียงพอ ๖ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๓,๐๐๐ ๔,๐๐๐ -๑,๐๐๐ ไมเพียงพอ ๗ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว - - - - ๘ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๔,๐๐๐ ๘๐๐ ๓,๒๐๐ เพียงพอ

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว เห็นควรใหจัด

สวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๓๑

ตารางที่ ๔.๓๑ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวเสนอขอของจังหวัดนครปฐม

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดรับ ๑,๐๐๐ ๓,๐๐๐

๒ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๖,๐๐๐

๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๔,๕๐๐-๕,๐๐๐

๔ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดรับ ๓๐๐ ๖,๐๐๐

๕ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดรับ ๕๐๐ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐

๖ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดรับ ๕๐๐ ๖,๐๐๐

๗ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดรับ ๕๐๐ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐

๘ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ -

พิสัย ๒,๐๐๐-๖,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๔๖๗๘.๕๗

Page 179: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๔

จากตารางที่ ๔.๓๑ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวทุกคนไมไดรับเบี้ยยังชีพถึง ๓ใน ๔ และเบี้ยยังชีพที่คนพิการรุนแรงเสนอขอ มีพิสัยอยูระหวาง ๒,๐๐๐-๖,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมของคนพิการระดับรุนแรง = ๔,๖๗๘.๕๗ บาทตอเดือน ซ่ึงบอกวา คนพิการเหลานี้มีความจําเปนและมีความเหมาะสมในการดํารงชีพ ที่สามารถมีคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานพออยูไดในระดับหนึ่ง หากพิจารณาจะเห็นวาคนพิการระดับรุนแรงเสนอขอ ๔๖๗๘.๕๗ บาทตอเดือน เฉลี่ยเพียงวันละ ๑๕๖ บาท ซ่ึงยังไมพอกับคาใชจาย คาอาหาร ๓ มื้อตอวัน รวมถึงตองการใหรัฐจัดสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปน และตองสรางความมั่นคงใหกับคนพิการกลุมนี้ดวย หากวิเคราะหคนพิการระดับรุนแรงกลุมนี้มีความมั่นคงทางสังคมและความปลอดภัยในชีวิต อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึง เสนความยากจน (Poverty Line) คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคกลาง รวมทั้งในและนอกเขตเทศบาล จํานวน ๑,๓๐๕ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) และการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางในประภาส ปนตบแตง, ๒๕๔๔) คาใชจายเฉพาะคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนระดับที่ ๑ อยูที่ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท ยังไมรวมคาใชจายอื่นๆ แตจะเห็นวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๔๖๗๘.๕๗ บาทตอเดือน สอดคลองกับการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ. คนพิการระดับรุนแรงมีรายไดสูงกวาเสนความยากจน ๓.๕๘ เทา จึงสอดคลองกับสภาพสังคมปจจุบัน

แตจากการสัมภาษณคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวของจังหวัดเชียงใหม พบวา ปจจุบันคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมมีความเพียงพออยางมาก ๑ คน คิดเปน ๑๖.๖๖ % ไมเพียงพอ ๓ คน คิดเปน ๕๐ % เพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๓๓.๓๒ % โดยสวนใหญไมมีความเพียงพอ เนื่องจากฐานะยากจน รายไดไมแนนอน สวนใหญมีอาชีพรับจาง ไมมีงานประจํา ทําใหมีภาระหนี้สิน และมีคาใชจายในการดํารงชีวิตที่ตองใชทุกวัน มีเพียงคนเดียวที่มีรายไดคงเหลือ คือมีอาชีพคาขาย ที่ขายของใหกับนักทองเที่ยว แตก็แทบไมมีเงินออม (Saving) เลย ดังตารางที่ ๔.๓๒ ตารางที่ ๔.๓๒ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางกายฯ ของจังหวัดเชียงใหม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๑๐,๐๐๐ - NA ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๒,๘๐๐ - NA ไมเพียงพอ ๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว - - - เพียงพอ ๔ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๓,๐๐๐ ๔,๐๐๐ -๑,๐๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๕ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๔,๐๐๐ ๔,๔๐๐ -๔๐๐ ไมเพียงพอ ๖ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๗,๐๐๐ ๖,๖๒๕ ๓๗๕ เพียงพอ

Page 180: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๕

บริการสวัสดิการสังคม อีกอยางหนึ่งคือ “บานพักผูพิการ” ที่สามารถชวยเหลือคนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ที่สามารถมีผูชวยเหลือหรือผูดูแลรวมในลักษณะของศูนยการดูแลรวม (Day Care Center) แตอยูประจํา ดังที่คุณพงษศักดิ์ กลาววา“…ควรจะมีบานพักคนพิการ ก็ควรจะฟรีนะครับ เมื่อ คนพิการสามารถทํางานไดก็อาจจะคืนตรงสวนนั้นกลับมาอาจเปนในรูปของตัวเงินหรืออยางอื่นก็ไดครับ ตองมีระบบการจัดการที่ดี เพราะบางคนเมื่อพอแมตายไปแลว ก็หาคนที่มาดูแลไมได ตองจาง แต คนพิการเหลานั้นก็ไมมีเงินจาง เพราะตัวเองก็ไมมีรายไดอะไร โครงการนาจะดําเนินตอไดนะ ถือวาเปนฝนที่นาจะเปนจริง”

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว เห็นควรใหจัดสวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๓๓

ตารางที่ ๔.๓๓ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวเสนอขอของจังหวัดเชียงใหม

เบี้ยยังชีพคนพิการ

ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ -

๒ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๖,๐๐๐

๔ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ -

๕ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๑,๐๐๐

๖ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๕,๐๐๐

พิสัย ๑,๐๐๐-๕,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๓,๗๕๐

จากตารางที่ ๔.๓๓ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวทุกคนไมไดรับ

เบี้ยยังชีพ และเบี้ยยังชีพที่คนพิการรุนแรงเสนอขอ มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่ เหมาะสม = ๓,๗๕๐ บาทตอเดือน ซ่ึงบอกวาคนพิการเหลานี้มีความจําเปนและมี ความเหมาะสมในการดํารงชีพ ที่สามารถมีคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานพออยูไดในระดับหนึ่ง หากพิจารณาจะเห็นวาคนพิการระดับรุนแรงเสนอขอ ๓,๗๕๐ บาทตอเดือน เฉลี่ยเพียงวันละ ๑๒๕บาท ใกลเคียงกับคาแรงขั้นต่ําขณะที่คนพิการรุนแรงทางการเคลื่อนไหวยังตองการใหรัฐจัดสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปน และตองสรางความมั่นคงใหกับคนพิการกลุมนี้ดวย อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน

Page 181: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๖

(Poverty Line) คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคเหนือ รวมทั้งในและนอกเขตเทศบาล จํานวน ๑,๑๔๘ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) และจากเดิมที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหคนที่มีรายไดนอย ๒,๐๐๐ บาทตอเดือนไดรับบัตรสงเคราะหรักษาพยาบาลฟรี แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๓,๗๕๐ บาทตอเดือนและคนพิการระดับรุนแรงมีรายไดสูงกวาเสนความยากจน ๓.๒๖ เทา จึงเปนความตองการที่เหมาะสมกับสภาพการณของจังหวัดเชียงใหมที่เปนเมืองทองเที่ยวและเหมาะกับความพิการรุนแรงของกลุมนี้

จากการสัมภาษณจังหวัดอุบลราชธานี พบวา ปจจุบันคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือ การเคลื่อนไหว ไมมีความพอเพียงอยางมากของรายไดสวนใหญ ถึง ๒ ใน ๕ คิดเปน ๔๐ % ไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔๐ % เพียงพอ ๑ คน คิดเปน ๒๐ % โดยสวนใหญไมมีความเพียงพอ เนื่องจาก ฐานะยากจน รายไดไมแนนอน สวนใหญมีอาชีพทํานา ไมมีงานประจํา ตองพึ่งพิงธรรมชาติที่ไมคอยจะอํานวย ทําใหมีภาระหนี้สินมาก และมีคาใชจายในการดํารงชีวิตที่ตองใชทุกวัน มีเพียงสองคนที่มีรายไดคงเหลือ คือมีอาชีพคาขาย เปนรานคาของชําในหมูบาน คือ มีอาชีพคาขาย แตก็แทบไมมีเงินออมเลย อีกคนพลิกชีวิตไปทําอารตเวิกต รับเขียนโปสเตอรในตัวเมือง แตก็มีคาใชจายสูง คาเชา อุปกรณ จึงไมมีเงินเหลือ เหตุนี้คนอีสานจึงหาหนทางทํางาน เพื่อดํารงชีพดวยวิธีการตางๆ แตคนพิการจํานวนมากขาดโอกาสที่จะออกไปทํางานในกรุงเทพฯ เนื่องจากสภาพรางกาย ดังตารางที่ ๔.๓๔

ตารางที่ ๔.๓๔ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการการเคลื่อนไหวของจังหวัดอุบลราชธานี

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ๑๖,๙๑๐ ๑๗,๐๐๐ -๙๐ ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ๙,๙๙๐ ๗,๘๕๐ ๒,๑๔๐ พอเพียง ๓ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ๒,๘๐๐ ๕,๐๐๐ -๒,๒๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๔ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ๑๒,๑๐๐ ๑๔,๐๐๐ -๑,๙๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๕ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ๑,๕๐๐ ๑,๖๐๐ -๑๐๐ ไมเพียงพอ

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว เห็นควรใหจัด

สวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๓๕

Page 182: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๗

ตารางที่ ๔.๓๕ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวเสนอขอของอุบลราชธานี

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ -

๒ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดรับ ๓๐๐ ๒,๕๐๐

๔ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๔,๐๐๐

๕ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๑,๕๐๐

พิสัย ๑,๕๐๐-๔,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๒,๗๕๐

จากตารางที่ ๔.๓๕ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๔ใน ๕ไมไดรับ

เบี้ยยังชีพ มีเพียงคนเดียวที่ไดรับเบี้ยยังชีพ ๓๐๐ บาทตอเดือน และเบี้ยยังชีพที่คนพิการรุนแรงเสนอขอ มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๕๐๐-๔,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมของคนพิการระดับรุนแรง = ๒,๗๕๐ บาทตอเดือน ซ่ึงบอกวาคนพิการเหลานี้มีความจําเปนและมีความเหมาะสมในการดํารงชีพ ที่สามารถมีคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานพออยูไดในระดับหนึ่ง หากพิจารณาจะเห็นวาคนพิการระดับรุนแรงเสนอขอ ๒,๗๕๐ บาทตอเดือน เฉลี่ยเพียงวันละ ๙๑.๖๖บาท ซ่ึงเปนคาใชจาย คาอาหารเทากับ ๓ มื้อตอวัน ขณะที่คนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว ยังตองการใหรัฐจัดสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปน และตองสรางความมั่นคงใหกับคนพิการกลุมนี้ดวย อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมท้ังในและนอกเขตเทศบาล จํานวน ๑,๐๗๑บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและ การกระจายรายได สศช. , อางแลว) และจากเดิมที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหคนที่มีรายไดนอย ๒,๐๐๐ บาทตอเดือนไดรับบัตรสงเคราะหรักษาพยาบาลฟรี แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๒,๗๕๐ บาทตอเดือนสูงกวาที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด ๗๕๐ บาท และคนพิการระดับรุนแรงมีรายไดสูงกวาเสนความยากจนถึง ๒.๕๖ เทา

จากการสัมภาษณคนพิการระดับรุนแรงในจังหวัดสงขลา พบวา ปจจุบันคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมมีความเพียงพออยางมากถึง ๓ ใน ๔ คิดเปน ๗๕ % ไมเพียงพอ ๑ คน คิดเปน ๒๕ % โดยสวนใหญไมมีความเพียงพอ เนื่องจาก ฐานะยากจน รายไดนอย และมีภาระคาใชจายในครอบครัว ทําใหมีหนี้สินมาก เชนเดียวกับภาคอื่นๆ ดังตารางที่ ๔.๓๖

Page 183: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๘

ตารางที่ ๔.๓๖ แสดงรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหวของจังหวัดสงขลา

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ๖,๐๐๐ ๗,๐๐๐ -๑๐๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๒ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ๓,๐๐๐ ๕,๐๐๐ -๒,๐๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๓ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ๙,๐๐๐ ๑๑,๐๐๐ -๒,๐๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๔ คนพิการทางการเคลื่อนไหว NA NA NA ไมเพียงพอ

แตจากการเก็บขอมูล คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว เห็นควรใหจัด

สวัสดิการสังคมที่เปนเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ดังตารางที่ ๔.๓๗ ตารางที่ ๔.๓๗ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวเสนอขอของจังหวัด

สงขลา

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๒,๐๐๐

๒ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๕,๐๐๐

๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไมไดรับ ๑,๐๐๐

๔ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดรับ ๕๐๐- ๓,๐๐๐

พิสัย ๑,๐๐๐-๕,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๒,๗๕๐

จากตารางที่ ๔.๓๗ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว เพียง ๑ คนที่ไดรับ

เบี้ยยังชีพ๕๐๐ บาท คนอื่นๆไมไดรับเบี้ยยังชีพ และเบี้ยยังชีพที่คนพิการรุนแรงเสนอขอ มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ = ๒,๗๕๐ บาทตอเดือน ซ่ึงบอกวา คนพิการเหลานี้มีความจําเปนและมีความเหมาะสมในการดํารงชีพ ที่สามารถมีคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานพออยูไดในระดับหนึ่ง หากพิจารณาจะเห็นวาคนพิการระดับรุนแรงเสนอขอ ๒,๗๕๐ บาทตอเดือน เฉลี่ยเพียงวันละ ๙๑.๖๖บาท ซ่ึงเปนคาใชจาย คาอาหารเทากับ ๓ มื้อตอวัน ขณะที่คนพิการระดับรุนแรง

Page 184: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๖๙

ทางการเคลื่อนไหวยังตองการใหรัฐจัดสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปน และตองสรางความมั่นคงใหกับ คนพิการกลุมนี้ดวย อยางไรก็ตามหากพิจารณาถึงเสนความยากจน (Poverty Line) คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคใต ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาลและรวม ๑,๓๓๒, ๑,๑๔๔ ๑,๑๙๐บาทตอเดือนตามลําดับ (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) และจากเดิมนั้นกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายได ต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาท ตอคนตอเดือน แตจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้หากไดรับ ๒,๑๒๕ บาทตอเดือน สูงกวาเสนความยากจน ๙๓๕ บาท จึงเสนอขอเบี้ยยังชีพที่พอประมาณไมมากนัก เพียงเพื่อใหพออยูไดในระดับหนึ่ง เพียงวันละ ๗๐.๘๐ บาท สูงกวาคาแรงขั้นต่ํา ๒-๓ เทา แตก็เสนอใหมีสวัสดิการสังคมอื่นๆที่จําเปน เชน การรับรูขาวสาร ส่ิงอํานวยความสะดวก และลาม เปนตน สอดคลองกับที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดผูมีรายไดนอยและเหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบัน

๕) ดานนันทนาการ การใหคนพิการไดมีการนันทนาการ เชนการออกกําลังกาย การปลูกตนไม ดนตรี รวมกัน สําหรับกีฬาคนพิการอาจมีปญหากับคนพิการระดับรุนแรงกลุมนี้ แตการนันทนาการทุกอยางโดยเฉพาะการออกกําลังกาย การสรางสุขภาพ นาจะเปนการนันทนาการเพื่อการบําบัดทางกายภาพสําหรับคนพิการระดับรุนแรง แตยังขาดการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆ องคกรปกครองสวนทองถ่ินและเอกชนที่ไมไดใหการสนับสนุนอยางเปนจริงเปนจัง ขณะเดียวกันยังขาดการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆ องคกรทองถ่ินและเอกชนโดยเฉพาะการจัดการแขงขันกีฬาคนพิการ การมีสถานที่พักผอนหยอนใจ ที่ไมไดใหการสนับสนุนอยางเพียงพอ ทําใหคนพิการกลุมนี้ไมไดรับการนันทนาการที่เหมาะสม การจัดใหมีสถานที่พักผอนหยอนใจ การรวมกลุมคนเมืองในรูปแบบตางๆ เพื่อใหคนพิการระดับรุนแรงไดออกสูสังคมและมีปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน ๖) ดานความมั่นคงและการยอมรับ

คนพิการสวนหนึ่งสามารถที่จะปรับตัวเขากับคนทั่วไปไดและสามารถที่จะอยูไดอยางมีความสุข ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว กลาววา

“พวกเราสวนมากจะปรับคนพิการใหเขากับคนปกติได แตเราไมเคยเตรียมคนปกติใหยอมรับ

สภาพของผูพิการได อยางเด็กที่มีความบกพรองทางจิต ความสามารถเขามีแคนี้ ถาผูใหญยอมรับเขาได จะอยูไดอยางมีความสุข ถาพูดแตวาทําไมทําอยางนี้ ทําไม ๆ ทําใหเด็กเกิดปญหา เปนปมดอยเขาสังคมไมได จะเกิดปญหาพฤติกรรม”

Page 185: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๐

หากคนพิการระดับรุนแรงไดมีโอกาสออกสูโลกภายนอก มีการเขาสังคม มีปฏิสัมพันธระหวางกลุม ทั้งการพักผอนหยอนใจและเกิดการยอมรับ จากเดิมที่คนพิการไมไดรับการยอมรับที่ดีพอ จึงทําใหเกิดความเครียด ความเบื่อหนายในชีวิต ถึงขนาดอยากทําอัตวิบาตรกรรมจากความกดดันในชีวิตที่ไมมีทางออก แตสวนหนึ่งสามารถที่จะปรับตัวเขากับคนทั่วไปไดและสามารถที่จะอยูไดอยางมีความสุข ดังที่คุณณรงคชัยคนพิการทางการเคลื่อนไหว ที่ประสบอุบัติเหตุรถมอเตอรไซดคว่ําได ๓ ปแลว ไดสะทอนเบื้องลึกใหเห็นวา

“ในปกวาๆ ผมคิดฆาตัวตายทั้งปเลยครับ อยางกลั้นหายใจบางแตก็ไมสําเร็จ ถึงแมเปนวิธีคิดแบบ

โงๆ แตตอนนั้นมันคิดไดเพียงแคนั้น มีความกังวลสารพัด นอนไมหลับ กินนอย หวงลูกดวย เราถือวาเราเปนภาระของเขา เพราะเราคิดวาเราเปนเพียงคนเดียว พอมาเจอคนอื่นที่เปนมากกวาเรา เขายังทํางานได ก็ทําใหเรามีกําลังใจที่จะมีชีวิตอยู”

ขณะเดียวกัน การมีพลังที่พลิกฟนขึ้นมา เนื่องจากรายการจุดประกาย ที่วา “ผมถาไมไดดูรายการ

จุดประกายผมก็ไมทราบ ปกวาๆที่อยูแตในบาน เหมือนตัดขาดโลกภายนอกไปเลย เมื่อผมดูผมก็เลยติดตอเขามาทางศูนยดํารงชีพฯ จังหวัดนครปฐม ถาผมไมออก ผมก็ยังเปนภาระของครอบครัวตอไป เมื่อผมไดออกมา ภาระทางครอบครัวก็นอยลง ครอบครัวก็สามารถไปทํางานได” นี่คือพลังที่เกิดการคิดได

การยอมรับของคนในสังคม เปนสิ่งที่คนพิการระดับรุนแรงในจังหวัดอุบลราชธานีตางใหความสําคัญเปนอันดับแรกๆ ซ่ึงคนพิการระดับรุนแรง กลาวกันวาถือเปนสิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญที่คนพิการระดับรุนแรงพงึไดรับการปฏิบัติเชนเดียวกับคนทั่วไป มิใชแตกตางไปจากสังคม มีศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย มีความเทาเทียมกัน ดังที่คุณเฉลิม ผูพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว กลาววา “คนพิการก็เหมือนคนทั่วไป แตสังคมยอมรับนอยมาก อยากจะใหสังคมหรือผูเกี่ยวของพัฒนาพวกนี้ คอยเปนคอยไป ไมตองรีบรอนทําใหเสมอตนเสมอปลาย ใหสังคมยอมรับ” และยังกลาวเสริมอีกวา “มนุษยเรานี่แหละ คุณคาของคนมันเทากัน และการปฏิบัติมันไมเทากัน ต่ําสูงในสังคม ขอใหดึงเขาขึ้นมาในสังคม ไมลําดับชั้น เลือกคนที่ตั้งใจหาความรู สวนคนที่เกเรไวที่หลัง เอาคนที่ดีมาเปนตัวอยาง”

ในดานศักยภาพของผูนําคนพิการระดับรุนแรงจะมีความพรอม และมีศักยภาพที่เหนือกวา คนพิการระดับไมรุนแรง คนพิการสวนนอยที่ยังมองในความคิดเดิมๆวาเราดอยโอกาส ไมมีศักยภาพเพียงพอ แตกรณีของคุณสามารถ ซ่ึงเปนทหารผานศึก และเปนผูนําคนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว กลับมีพลัง ดังไดสะทอนวา

“ ผมพยายามยกตัวเองใหเหมือนคนปกติ พยายามโกหกตัวเองวาเราเหมือนคนทั่วไป ๙๕ %

หรือ ๙๙ % คือไมเต็มรอยก็รูอยูในใจ แตก็พยายามทํา แลวผมอยูในชุมชนที่ผมอยูนี้สามารถ ชวยเหลือคน

Page 186: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๑

ใหคําแนะนําคนที่มีสภาพปกติรางกายไดดีพอสมควร ไมวาคําแนะนําทางดานชีวิตประจําวัน เปนกรรมการการเงินใหเขายอมรับได ในจุดนี้ผมก็คิดวาผมไดผาน ๙๐%”

การยอมรับของคนในสังคม เปนสิ่งที่คนพิการระดับรุนแรงในจังหวัดสงขลา ตางใหความสําคัญ

เปนอันดับแรกๆ การไดรับการปฏิบัติเชนเดียวกับคนทั่วไป มิใชแตกตางไปจากสังคม มีศักดิ์ศรีของ ความเปนมนุษย มีความเทาเทียมกัน ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว กลาววา “ตองการใหชุมชนมอบโอกาสใหแกคนพิการ เพราะวาคนพิการทุกคนตองการโอกาสและความเทาเทียมจากคนในสังคม เชน ถาหากคนพิการระดับรุนแรงตองการชวยเหลืองานใดในสังคม ควรยอมรับความชวยเหลือนั้น โดยไมมีการกีดกัน” ขณะเดียวกันในครอบครัวก็มีความสําคัญในการใหกําลังใจบุตรหลานคนพิการ ดังที่คุณสุนทร กลาววา “พอแมมีสวนใหกําลังใจ สวนตนเองชวยตอบแทน โดยการแบงรายไดใหพอแม โดยขณะนี้แมมีอาการปวยหลายโรค สวนพอมีอาชีพรับจางแบกของมีรายไดวันละ ๑๕๐ บาท” ในดานศักยภาพของผูนําคนพิการจะมีความพรอม และมีศักยภาพที่เหนือกวาคนพิการทั่วไป คนพิการสวนนอยที่ยังมองในความคิดเดิมๆวาเราดอยโอกาส ไมมีศักยภาพเพียงพอ

Page 187: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๒

ตารางที่ ๔.๓๘ สรุปการไดรับสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางการเคลื่อนไหว สภาพการไดรับสวัสดิการ

ประเภทสวัสดิการ ประเด็น การไดรับ แนวทางที่ควรจะเปน เหมาะสม ไมเหมาะสม

ดานการศึกษา เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อการพัฒนา

/ /

บางจังหวัดไมมีโรงเรียนเฉพาะแตมีการเรียนรวมกับเด็กปกติ

-จัดศูนยการศึกษาอบรมการดูแลคนพิการกลุมนี้ -จัดอบรมผูดูแลคนพิการ -จัดการศึกษาอาชีพตามตลาด

ดานสุขภาพ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยู สุขภาพดี เพื่อการเขาถึงบริการ

/ /

มีแหลงบริการสาธารณสุขเขาถึงและสะดวก

เนนการดูแลสุขภาพเชิงรุก เชน การดูแลสุขภาพที่บาน (Home Health Care) -การเยี่ยมบานมากขึ้น จัดชองทางดวนใหกับคนพิการสามารถเขาถึงไดสะดวก

ดานอาชีพและรายได

เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ

/ / /

-สงเสริมอาชีพเสริมใหกับคนพิการที่มีศักยภาพ สรางรายไดเสริมในรูปแบบตางๆ -การเสริมอาชีพที่เปนความตองการของตลาดและการจางงานมากขึ้น การรวมกลุมอาชีพของคนพิการ ประสานกับโอทอป

ดานบริการสังคม เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความสะดวกในชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/ / /

-ควรจัดผูชวยเหลือใหคนพิการ -การบริการสังคมใหคนพิการอยางเพียงพอ -การเขาถึงขาวสาร บริการดานตางๆ

ดานนันทนาการ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/ /

-ควรมีการจัดอุปกรณที่เหมาะสมกับคนพิการ

ดานความมั่นคง เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการยอมรับ

/

/

-สรางการยอมรับในชุมชนใหสิทธิและโอกาสกับคนพิการในการมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม -จัดตั้งเครือขายคนพิการและสวัสดิการชุมชนใหกับคนพิการ

Page 188: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๓

๓.๑.๔ คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๑) ดานการศึกษา การศึกษาถือเปนการสรางงานสรางอาชีพใหกับผูไดรับการศึกษา อันเปรียบเหมือนเครื่องมือในการหาปลา คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมสวนใหญขาดโอกาสในการศึกษา เพราะ ความไมพรอมในดานสภาพจิตใจ คาใชจาย และการถูกปฏิเสธจากสถาบันการศึกษา ขณะที่การจัดการศึกษาใหกับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ในกรุงเทพฯ ไมมีโรงเรียนเฉพาะ แตเปนโครงการสอนเด็กเรียนรูชา ปญญาออน เรียนรวมกับเด็กปกติ ในกรุงเทพฯ จํานวน ๑๙ โรงเรียน โครงการสอนเด็กเจ็บปวยเรื้อรังและปญญาออนของโรงพยาบาลในกรุงเทพฯ ๖ แหง อยางไรก็ตามความพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู มักจัดอยูในกลุมที่คลายกับคนปวยทางจิตใจหรือพฤติกรรม ที่มองเพียงดานจิตใจเพียงดานเดียว ดังที่ผูปกครองคนพิการทางจิตใจ ไดสะทอนใหเห็นความสําคัญของการศึกษาวา “สวัสดิการที่ทางภาครัฐใหกับคนพิการยังนอยอยู อยากใหเนนในดานการศึกษากอน เพราะ

การศึกษาจะชวยในการพัฒนาใหกับคนพิการในดานอื่นตามมา ถาเขาไดรับการพัฒนาในดานการศึกษา จะชวยการพัฒนาในดานการมีงานทํา การดํารงชีวิตในสังคมหรือวาอะไรอื่นตามมา อยากจะใหทางภาครัฐเนนในดานนี้”

การจัดการศึกษาใหกับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ในจังหวัดเชียงใหมมี

โรงเรียนกาวิละอนุกูล ใหการศึกษาศูนยการศึกษาพิเศษ เขต ๘ และโครงการสอนเด็กเจ็บปวยเรื้อรังและปญญาออนในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม รวมของโรงพยาบาลมหาราช คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม มีความตองการศึกษา เพราะทําใหมีความรู ไมถูกหรอก แตความจําเปนที่สําคัญหากคนในหมูบานที่อยูหางไกล ติดชายแดน คงจะมีโอกาสนอยในการเขาศึกษา เพราะการเดินทางยากลําบาก และผูปกครองสวนใหญก็มีฐานะยากจน บางครั้งเปนคนดอยหรือคนภูเขา การเขาถึงการศกึษาจึงไมใชเร่ืองงาย โดยเฉพาะคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมที่ตองมีคนดูแลตลอดเวลา จึงขาดโอกาสอยางมาก

ขณะที่การจัดการศึกษาใหกับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ในจังหวัดอุบลราชธานีมีโรงเรียนอุบลปญญานุกูล ที่ใหการศึกษาทางดานคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม และศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคครอบคลุม ๑๙ จังหวัด คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม มีความตองการศึกษา เพราะทําใหมีความรู ไมถูกหรอก ดังที่คุณอาคม กลาววา “ ยังไมเคยเลย อยากใหเขาไปศึกษาตรงนี้ อยากใหเขาเขียนได อานไดบาง เพราะวาเขาเติบโตในภายหนา ก็อยากจะไปนูนไปนี่ ไมใหเขาถูกหลอก พวกนี้ใหเขาเวลาเขาไปมา ใหแกไดรับรูวาอยางนั้นอยางนี้ ไมใหเขาถูกหลอก ใหเขาอานได เขียนได”

Page 189: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๔

แตการจัดการศึกษาใหกับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ในจังหวัดสงขลาไมมีโรงเรียนคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม แตมีศูนยการศึกษาพิเศษ เขต ๓ และศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคครอบคลุม ๑๔ จังหวัด คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม มีความตองการศึกษา เพราะทําใหมีความรู ไมถูกหลอกลวงไดงาย และดํารงตนอยูในสังคมได

๒) ดานสาธารณสุข การดูแลสุขภาพเปนสิ่งที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมตองการในเบื้องตน เพราะคนพิการกลุมนี้ตองรับประทานยาเกือบตลอดชีวิต ในการควบคุมภาวะทางจิต เหตุนี้จึงมีคาใชจายในดานสุขภาพที่ตองรับประทานยาสม่ําเสมอ คนพิการตองไดรับการเอาใจใสดูแลใหมีสุขภาพอนามัยที่ดี โดยเฉพาะคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมระดับรุนแรง รวมถึงอาจมีความพิการซ้ําซอน การควบคุมตนเองไมไดทําใหไมสามารถศึกษาเลาเรียน การประกอบอาชีพยากลําบาก เพราะไมรูวาอาการทางจิตใจในระดับรุนแรงจะมีอาการแปรปรวนเมื่อใด ถาหากไมไดรับประทานยาควบคุมไวตลอดเวลา ถาหากยังไมไดรับการบําบัด ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม สะทอนวา “ผูปวยทางจิตเองขาดการเอาใจใสของสังคมเยอะ เพราะใครเห็นจะขับไลไสสงไมดูแล ขาดความรูรักษาวากินยาตอเนื่อง บางครั้งเขาพาไปรักษาครั้งเดียว แลวเขาก็ไมทานยาตอเนื่อง ขาดความรูมากเรื่องการรักษา” ดังนั้น การดูแลสุขภาพอนามัยจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ขณะที่คารักษาพยาบาลผูที่มีความผิดปกติหรือบกพรองที่ตองมีการปรับพฤติกรรม ตองมีคาใชจายตลอดเวลา แตคนพิการทั้งหมดไดรับสิทธิ์รักษาฟรี มีบัตรทอง ดังที่ผูปกครองคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม กลาววา

“ จิตแพทยเด็กและวัยรุนตามโรงพยาบาลหลวงมีไมเพียงพอ พอแมผูปกครองตองคอยอยางนอย ๕ เดือน – ๑ ป ถึงจะไดรับคําวินิจฉัย แลวเด็กเหลานี้ตองใชคุณหมอดูแลตลอดชีวิต ลูกดิฉัน ๒๐ กวาก็ยังมีนัดกับคุณหมอทุกเดือน เพื่อดูความกาวหนา กาวหนาอยางไร คือกาวหนาทางอารมณ กาวหนาทางการดํารงชีวิต เมื่อแพทยวินิจฉัยแลวยาที่จะไดรับจะแพงมาก บางเม็ดที่สวนใหญทานกันตกเม็ดหนึ่ง ๑๐๐-๑๕๐ บาท ถาเด็กมีอารมณซึมเศรา มีโรคอารมณแปรปรวน ตองมีเฉพาะอีก เฉพาะคายาพอแมก็จะแย ถาถามวาพอแมที่มีฐานะก็ไมคอยเดือดรอน เสียงตอบรับที่เขามาจากชมรมเรา พอแมที่มีฐานะประมาณ ๒๐% เขาชวยตัวเองไดหมด แตพอแมในระดับกลางและระดับลางเดือดรอนมาก ทางพอแมระดับกลางระดับลาง ถาคอยโรงพยาบาลหลวงอยู พอดีลูกก็โตแลว เพราะฉะนั้นเราตองพยายามไปโรงพยาบาลเอกชน ซึ่งจิตแพทยเด็กและวัยรุนก็เปนของรัฐนั่นแหละ แตนอกเวลาราชการ คาใชจายตรงนั้นแพงมาก การไปหาครั้งแรกคาใชจายจะอยูประมาณ ๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ บาท ตามติดไปเรื่อย ๆ ๗๕๐-๑,๐๐๐ บาท นี้ยังไมรวมคายา และยังไมรวมการปรับพฤติกรรมในเชิงการแพทย ซึ่งคอรสในการปรับพฤติกรรมในเชิงการแพทยเปน หมื่น ๆ มิสามารถจะทําไดนอกจากพวกมีเงิน นี้คือสิ่งที่พวกเรายังไมไดรับเลย”

Page 190: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๕

ขณะที่ภาพลักษณของคนพิการทางจิตใจ แตกตางจากคนทั่วไป และคนพิการประเภทอื่นๆ จึงกอใหเกิดปญหาในการรักษาพยาบาล สิทธิการรักษาฟรี ดังที่ผูปกครองคนพิการทางจิตใจ กลาววา

“ภาพลักษณนี้จะแตกตางจากผูพิการทางอื่น สวนหนึ่งคือ ณ ตอนนี้ทางสื่อทําใหภาพลักษณของผูพิการ

ทางจิตมีแนวโนมมาก อยางมีขาววาไปทํารายใครก็เปนภาพลบแลว กลายเปนทุกคนบอกวา นี่โรคจิต นากลัว รุนแรง ตรงนี้เลยรูสึกวาสังคมจะปดกั้นผูพิการทางจิตวา ถาเปนผูพิการทางสมองบางคนจะดูนารักนาเอ็นดู เขาอยูรวมกับเราได แตถาเปนผูพิการทางจิตจะดูเหมือนกับวา เขาจะมาทํารายเราหรือเปลา ตรงนี้ก็เปนปญหา ซึ่งทางภาครัฐจริง ๆ ก็ไมไดชวยสงเสริมตรงนี้ ในเรื่องของสื่อหรืออะไรตรงนี้ก็สําคัญ และในเรื่องของการรักษาพยาบาล คือผูพิการทางจิตตองกินยาทุกเดือน ทุกวัน เดือนหนึ่งอยางต่ําเดือนละ ๓๐๐-๕๐๐ สําหรับคนที่ยากจน เดี๋ยวนี้ก็จะมี ๓๐ บาท บางคนก็จะใชสิทธิ์ตรงนี้ได แตก็มีขั้นตอนยุงยาก ตองมีใบสงตัว ตรงนี้เราแกปญหาโดยใหเขาจดทะเบียนเปนผูพิการ ซึ่งก็สามารถนําบัตรนี้ไปรักษาที่ไหนก็ได แตก็จะมีปญหาอีกวา คนไขที่ทํางานได ใชสิทธิ์ประกันสังคม ตรงนี้ประกันสังคมไมไดรวมผูที่มีความบกพรองทางจิต”

คนพิการกลุมนี้ยังไดรับผลกระทบจากฤทธิ์ของยาทําใหไมสามารถปฏิบัติภารกิจ การงานได

เพราะยาจะไปกดประสาทใหเกิดการงวงนอน ดังที่ คุณพงษศักดิ์ กลาววา

“มีมากเลย เพราะ บางทีหยุดรับยา ทานยาทําใหงวงซึม ทีนี้ทํางานหนักไมได ในอดีตที่ผานมา ผลขางเคียงทําใหทํางานไมสะดวก เปนอุปสรรคตอการทํางาน คอแหง อยากน้ําบอย ทํางานหนักเหนื่อยก็ไมไหว หายใจไมทัน มีผลขางเคียง เชน ลิ้นแข็ง ตาคาง เพราะยาโรคจิตสมัยกอนมีผลขางเคียงมาก ยาโรคจิตสมัยใหมที่รับจากตางประเทศมันก็แพงมาก เดือนๆ เสียเปนหมื่นก็มี ทั้งนี้ทางรัฐบาลหรือบัตร๓๐ บาท เราก็ยังเขาไปไมถึง เพราะคนจําเปนใชยา มีฐานะยากจน”

ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม สะทอนวา “ผูปวยทางจิตเองขาดการเอาใจใสของสังคมเยอะ เพราะใครเห็นจะขับไลไสสงไมดูแล ขาดความรูรักษาวากินยาตอเนื่อง บางครั้งเขาพาไปรักษาครั้งเดียว แลวเขาก็ไมทานยาตอเนื่อง ขาดความรูมากเรื่องการรักษา” ดังนั้นการดูแลสุขภาพอนามัยจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ขณะที่คารักษาพยาบาลผูที่มีความผิดปกติหรือบกพรองที่ตองมีการปรับพฤติกรรม ตองมีคาใชจายตลอดเวลา แตคนพิการทั้งหมดก็ไดรับสิทธิ์รักษาฟรี มีบัตรทอง แตหมูบานหางไกลจะยากลําบากมากขึ้น การทํางานเชิงรุกนาจะดีกวา อยางไรก็ตามการเขารับบริการจากโรงพยาบาลในเมืองที่ตองเดินทางมีคาใชจายมาก เชน เสียเวลา เสียคาเดินทาง คาอาหาร ตองลาหยุดงาน มีผลกระทบหลายอยาง ทั้งนี้คนกลุมนี้ตองรับประทานยาประจํา และตองพบแพทยเพื่อดูพฤติกรรมและตรวจรางกายสม่ําเสมอ

Page 191: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๖

ขณะที่จังหวัดอุบลราชธานี ผูปกครองของคุณสุวรรณี กลาววา “เดี๋ยวนี้นะคะ จากยาที่หมอจัดใหดีแลว คือ เคาไมอาละวาด เหมือนเดิมก็ยังดีคะ แตเคาจะงวงนอนไปหนอย แลวเขาจะชอบฟงเพลง” ดังนั้นการดูแลสุขภาพอนามัยจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ขณะที่คารักษาพยาบาลผูที่มีความผิดปกติหรือบกพรองที่ตองมีการปรับพฤติกรรม ตองมีคาใชจายตลอดเวลา แตคนพิการทั้งหมดไดรับสิทธิ์รักษาฟรี มีบัตรทอง แตหมูบานหางไกลจะยากลําบากมากขึ้น การทํางานเชิงรุกนาจะดีกวา ดังที่ อาสาสมัครสาธารณสุขและเปนผูปกครองคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม กลาววา “ตอนนี้กําลังทํางานเชิงรุก ทําโครงการนํารองเขาไปถึงหมูบาน ทําในลักษณะที่เกี่ยวของกับหนวยงาน สถานีอนามัยเราจะมีกิจกรรม นําจิตแพทยใหความรูมารักษา เขาอาจมีกําลังใจมากขึ้นและออกมาสูสังคมได” นอกจากนี้คุณจันที คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม กลาววา “เขาจะแบง ประเภทที่เขามองขามคือ ผูปวย ทางจิต จะไดรับการดูแลนอยมาก ที่ไดสัมผัส ตอนนี้มีทีมงาน โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์มีการวิจัยชุมชน ผมเปนคนหนึ่งที่อยูในทีมงาน สรางชุมชนเขมแข็ง ชุมชนนํารองในเรื่องสุขภาพจิต” สวนจังหวัดสงขลา คุณโกศล ไดกลาวถึงการใชบริการดานสุขภาพดวยบัตรทอง ดังวา “พูดถึงบัตรทอง ผมใชบัตรทอง อยากใหรัฐมองในแงที่วาผูปวยทางจิตตองใชเวลาในการรักษายาวมาก คนที่ไมมีเงินจะลําบาก”

๓) ดานการสรางอาชีพและรายได

การฝกอาชีพใหกับคนพิการระดับรุนแรงเพื่อสรางอาชีพและรายได มีความจําเปนที่จะชวยให คนพิการมีรายได ในการดํารงชีวิต คารักษาพยาบาลที่ตองรับประทานยาสม่ําเสมอ การฝกอาชีพในสถานฝกอาชีพ จึงเปนสิ่งจําเปนที่คนพิการมีโอกาสที่จะพัฒนาอาชีพ แตปญหายังมีไมเพียงพอ รวมถึงการจางงานยังมีปญหาไมเปนไปตามกฎหมายที่กําหนด ดังที่ผูปกครองคนพิการทางจิตใจ กลาววา

“ถึงแมเขาจะมีสถานศึกษา วิชาการเขาก็ไมไดพอที่จะเลี้ยงชีพตัวเองได สิ่งที่สําคัญที่สุดคือ ดาน

วิชาชีพ อยากใหภาครัฐขยายศูนยฝกวิชาชีพใหมากขึ้น ปจจุบันนี้พัฒนานอยมาก หายาก คิดวาวิชาชีพเปนจุดสําคัญที่สุดสําหรับคนพวกนี้”

การผลิตเพื่อสรางอาชีพใหกับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ปญหาของการ

จัดหาสถานที่จําหนาย เปนปญหาหลัก เชนเดียวกับการดําเนินงานของหนึ่งผลิตภัณฑหนึ่งตําบล (OTOP) และสินคาเกษตรอื่นๆ เพราะการผลิตเกินความตองการ ไมมีชองทางการตลาด การประชาสัมพันธ ดังที่คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมระดับรุนแรง กลาววา

Page 192: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๗

“เมื่อไรมีอาชีพไดดูแลตัวเองทําใหเราไมตองพึ่งสังคม ผมก็อยากเรียนดวย เทาที่สังเกตดูจากการฝกอาชีพมันลาสมัย ไมทันเหตุการณของโลกที่พัฒนาไปเรื่อยๆ สวนมากเปนงานศิลปะคนไทย ศิลปะมีนอย ตองเขาใจในศิลปะ นี่ครับคืออุปสรรค ที่วาคนพิการฝกอาชีพแลวไมมีที่ระบายสงขายจําหนาย เขาก็ซื้อเพราะความสงสาร”

ขณะที่คุณทิพวรรณ ผูปกครองเด็กพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม กลาววา “ถาจะไป

ทํางานจริงๆรูสึกวาจะไมได รูสึกวาเขาเคยไปทํา เจาของรานบอกวาบุคลิกภาพไมดี คือทําไงได แตคงจะไปยากเราก็พูดยาก สวนมากจะหยุดงานก็คือจะดูแลลูกไมคอยมีเวลา มีแตทํางานและหยุดพาไป” การพัฒนาอาชีพใหกับคนพิการกลุมนี้ มีความสําคัญ ดังที่คุณจันที กลาววา “อาชีพจะเนน พยายามใหผูปวยทางจิตมีงานทํา ไมรบกวนคนอื่น จะไดสบายใจ และเขาจะไดมีโอกาส วาเขาทําดวยของเขาเอง คิดเองทําเองเปนชุด อยากใหเขามีโอกาสมากที่สุด”

การฝกอาชีพใหกับคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จึงเปนการสรางโอกาสใหคนพิการกลุมนี้

ไดมีอาชีพและมีรายได จนถึงสามารถสรางตลาดมีตราสินคา (Brand Name) เปนกลุมของตนเอง อยางกรณีของประเทศญี่ปุน ดังที่ผูปกครองบุคคลสมาธิส้ัน กลาววา

“อยางเขาไปทาโคญา พาไปดูโรงงานทําขนมปง คนพิการที่เปนออทิสติกหรือพฤติกรรม

ทั้งโรงงานเลย ทําขนมปงขายทั่วเมืองทาโคญาเลย แลวเขาจะบอกวาผลิตภัณฑนี้มาจากคนพิการที่เปน ออทิสติกทั้งโรงงาน เขากลาสงเสริมกันขนาดนั้น นอกจากนี้ยังมีประกอบคอมพิวเตอร มีอะไรเยอะแยะไปหมด แลวเขาจะมี แบรนดเนมของเขาวาเปนของคนพิการ ไมใชวาเขาขายเพราะสงสารนะ แตเขาตองการบอกอะไรกับสังคมวาคนพิการก็ทําได แลวคุณจะสนับสนุน ถาคุณเห็นวาขนมปงอรอยคุณก็ซื้อ ไมใชบังคับวาคุณตองซื้อเพราะคุณสงสาร ผลิตภัณฑอื่น ๆ ก็เหมือนกันที่มีแบรนดเนมของคนพิการเขาก็โอเค ของเขาดีมีคุณภาพ ก็บริโภคไป แตมีการสงเสริมการขายอยางเปนรูปธรรมและไดมาตรฐาน”

อยางไรก็ตามคนพิการกลุมนี้โอกาสในการสรางอาชีพ มีอาชีพที่ยากลําบาก เนื่องจากพัฒนาการ

ทางสมองชา การพัฒนาใหเกิดการเรียนรูจึงมีความจําเปนอยางมาก เพียงเพื่อใหมีอาชีพที่มั่นคง จะสรางคุณคาในตนเอง และใหคนพิการไดมีศักยภาพในการพัฒนาและสงเสริมอาชีพ

๔) ดานบริการสังคม

การบริการสังคมในดานตางๆ เปนสิ่งจําเปนที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ตองไดรับการดูแล เอาใจใส ใหโอกาสที่จะรวมอยูในสังคมได ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไดสะทอนวา “ผูปวยทางจิตทุกคนตองการ แตโอกาสที่ยื่นใหมันนอย ตอนนี้มีโครงการที่วา

Page 193: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๘

ผูปวยที่มีรายไดพอประมาณใหออกไปเชาบานถาทําได โครงการนี้ทําได บางที่ผูปวยอยูในโรงพยาบาล เขาจะไมพัฒนาขึ้นเลย ถาไดอยูอิสระสังคมดีๆ จะดีมากๆเลย”

อยางไรก็ตามคนพิการกลุมนี้ ควรไดรับการคุมครองสิทธิในการดํารงชีวิตเชนคนทั่วไป ดังที่ คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมไดกลาวถึง “กฎหมายคนพิการเลยตองมีเพื่อปองกันผลประโยชนทางพิการครอบคลุมไปถึงสิทธิพื้นฐาน ที่เขาควรไดในสังคมและสิทธิอ่ืนๆมากมายที่เขาไมไดเทาเทียมกับคนปกติทั่วๆไปตองเรงทํา ในเมืองนอกเขาเทาเทียมกันแลว แตเมืองไทยยังดอยอยู”

ขณะที่รองผูอํานวยการศูนยการศึกษาพิเศษเขต ๑ ไดกลาวความเห็นวา

“สําหรับผมคิดวาเรานาจะเรียกรองใหทางรัฐบาลตั้งคณะกรรมการพิจารณาใหม ในเรื่องของสวัสดิการวาควรจะเหมาะสมอยูที่เทาไร จะใหพิการรุนแรงหรือไมรุนแรง ที่Rate ไหนจึงจะเหมาะสมในความพิการแตละประเภท ตองไปดูที่ศักยภาพของคนพิการดวย นอกจากเงิน ๕๐๐ บาท ผมวาทําอยางไรจะใหมีกองทุนสําหรับคนพิการ ดูแลเรื่องการฝกอาชีพ ผมวาเปนประโยชนมากกวา คือ เรื่องฝกอาชีพในเรื่องของเงินเทาไรก็ไมเพียงพอ แตถาคนพิการมีศักยภาพ มีอาชีพผมวามันจะเปนประโยชนมาก”

อยางไรก็ตามคนพิการกลุมนี้ ควรไดรับการคุมครองสิทธิในการดํารงชีวิตเชนคนทั่วไป ดังที่

คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไดกลาวถึง “ถาเปนไปไดอยากใหรัฐจัดสวัสดิการใหม แบบใหเขาดํารงชีวิตไดเหมือนคนปกติทั่วไป เชน เขากินขาววันละเทาไร ก็คิดจากคาครองชีพ วาวันหนึ่งจายประมาณเทาไร และเรื่องคาตอบแทนคิดวาจําเปนสําหรับผูพิการรุนแรง ส่ิงที่สําคัญที่สุด คือ เขาตองการดํารงชีวิตเหมือนคนปกติทั่วไป ทําอยางไร นั่นคือรัฐตองคิดไมใชแคเอาเงินมาให แคนี้จบ”

การดูแล เอาใจใส ใหโอกาสคนพิการประเภทนี้ที่จะรวมอยูในสังคมได อยางไรก็ตามคนพิการกลุมนี้ ควรไดรับการคุมครองสิทธิในการดํารงชีวิตเชนคนทั่วไป การจดทะเบียนเพื่อออกใบรับรอง คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมมีความยากลําบาก ดังที่คุณนิตยา กลาววา “การจดทะเบียนมันลําบาก การที่หมอออกใบพิการให คอนขางลําบาก หมออาจจะคิดวาอาจมีผลทางกฎหมาย วามีมรดกอะไรนี่ เขาอาจถูกตัดออกวา คนพิการ การเขาใจมันไมตรงใจ ระดับ ๑ , ๒ ถึงจดได ระดับ ๓ , ๔ ไมได”

-เบี้ยยังชีพเพื่อคนพิการ

คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม เปนกลุมพิเศษที่ตองไดรับการดูแล ชวยเหลือ เชนเดียวกับกลุมคนพิการประเภทอื่นๆ ที่ไมสามารถชวยตัวเองไดในกรณีที่มีอาการแปรปรวน และตองพึ่งพิงยา หรือรับประทานยาอยางสม่ําเสมอ ขาดยาไมได การบําบัดจากสถานพยาบาลจึงมีความจําเปนสูงสุด ความเพียงพอของรายรับ-รายจายที่จําเปนของคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ดังตารางที่ ๔.๓๙

Page 194: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๗๙

ตารางที่ ๔.๓๙ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมของกรุงเทพมหานคร

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ - - - ไมเพียงพอ ๒ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ๕,๐๐๐ ๑๔,๘๐๐ -๙๘๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๓ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม - ๔,๕๐๐ -๔,๕๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๔ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ๓๐,๐๐๐ ๗,๐๐๐ ไมเหลือ ไมเพียงพอ ๕ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ๑๕,๐๐๐ ๑๔,๕๐๐ ๕๐๐ เพียงพอ

จากตารางที่ ๔.๓๙ พบวารายรับ-รายจาย ของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงผูปกครอง ของกรุงเทพฯ พบวา ไมมีความเพียงพอทั้ง ๔ คน คิดเปน ๘๐ % ไมเพียงพออยางมาก ๒ คน ไมเพียงพอ ๒ คน แตเพียงพอ ๑ คน คิดเปน ๒๐ % อันบงบอกถึงภาระคาใชจายของคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ที่สําคัญคือคายาที่ตองรับประทานประจํา และคาเลี้ยงดู โดยเฉพาะผูปกครองคนหนึ่งมีหนี้สินตอเดือนเกือบหมื่นบาทเปนภาระมากเพราะตองมีรายจายในการดูแลลูกที่ตองมีคารักษาตอเดือนสูง แมวาจะมีบัตรทอง แตก็ไดใช บาง เนื่องจากตองการใหบุตรไดรับยาที่มีคุณภาพดีกวา ดังที่ผูปกครองกลาววา “ผูปวยทางจิตเนี่ย สวนหนึ่งเราจะตองทานยาตลอดชีวิต ไมมีกินยาไมได หยุดยาแลวกําเริบ คือ การที่เราจะหยุด คือ การที่เราใช ๓๐ บาทรักษาทุกโรค แตพิการทางจิตสวนหนึ่ง ไมมีบัตรประชาชน ไมมีเลข ๑๓ หลัก ...ตองจายคายาเอง จึงมีคารักษา”

Page 195: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๐

ตารางที่ ๔ .๔๐ แสดงเบี้ ยยังชีพที่คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมเสนอขอของกรุงเทพมหานคร

อันดับ ประเภทคนพิการ เบี้ยยังชีพที่ไดรับ เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม NA NA ๒ ผูปกครองคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๓,๐๐๐ ๓ ผูปกครองคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๒,๐๐๐ ๔ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม NA NA ๕ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๑,๕๐๐ พิสัย ๑,๕๐๐-๓,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๒,๑๖๖.๖๖

จากตารางที่ ๔.๔๐ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงผูปกครองตาง

ใหขอมูล ในเรื่องเบี้ยยังชีพ ไมมีครอบครัวหรือรายใดที่ไดรับเบี้ยยังชีพ ๕๐๐ บาท แมแตรายเดียว และไดเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๕๐๐-๓,๐๐๐ บาท เฉลี่ยเบี้ยยังชีพของกลุมคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม = ๒,๑๖๖.๖๖ บาทตอเดือน ซ่ึงต่ํากวาทุกประเภทคนพิการ เนื่องจากทุกคนและอีกสองคนไมมีความเห็น เพราะยังไมเคยไดรับเบี้ยยังชีพเลย แลวแตทางการจะให การสงเคราะห ขณะที่การสื่อสารกับคนกลุมนี้อาจมีความเศราหมองเนื่องจากสภาพจิตใจ ความเครียดที่ตองดูแลเด็กที่พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ซ่ึงไมสามารถที่จะรับรูไดเหมือนคนปกติ แตก็พบวาผูปกครองสวนหนึ่งมีฐานะอยูในระดับคอนขางดี อาจไมตองการเบี้ยยังชีพที่มากเหมือนกับกลุมอื่นๆ แตก็มีความจําเปนและสภาพการดํารงชีวิตไมแตกตางกัน ความพอเพียงของรายรับ-รายจายของคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ดังตารางที่ ๔.๔๒

Page 196: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๑

ตารางที่ ๔.๔๑ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมของจังหวัดนครปฐม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๕๐๐ - - ไมเพียงพอ ๒ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ๕๐๐ ๑,๕๐๐ -๑,๐๐๐ ไมเพียงพอ ๓ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๔,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๓,๐๐๐ เพียงพอ ๔ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๕๐๐ NA - ไมเพียงพอ ๕ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม - - - ไมเพียงพอ

จากตารางที่ ๔.๔๑ พบวา รายรับ-รายจาย ของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงผูปกครองของจังหวัดนครปฐม พบวาไมมีความเพียงพอทั้ง ๔ คน คิดเปน ๘๐ % แตเพียงพอ ๑ คน คิดเปน ๒๐ % อันบงบอกถึงภาระคาใชจายของคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ที่สําคัญคือคายาที่ตองรับประทานประจํา และ คาเลี้ยงดู โดยเฉพาะผูปกครองคนหนึ่งมีหนี้สินตอเดือนเกือบหมื่นบาทเปนภาระมากเพราะตองมีรายจายในการดูแลลูกที่ตองมีคารักษาตอเดือนสูง แมวาจะมีบัตรทอง แตก็ไดใช บาง เนื่องจากตองการใหบุตรไดรับยาที่มีคุณภาพดีกวา ตารางที่ ๔.๔๒ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมเสนอขอของจังหวัดนครปฐม

อันดับ ประเภทคนพิการ เบี้ยยังชีพที่ไดรับ เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไดรับ ๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๒ ผูปกครองคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ NA ๓ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๓,๕๐๐ ๔ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๓,๐๐๐ ๕ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๒,๐๐๐ พิสัย ๑,๕๐๐-๓,๕๐๐ คาเฉลี่ย ๒,๕๐๐

Page 197: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๒

จากตารางที่ ๔.๔๒ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงผูปกครองตางใหขอมูลในเรื่องเบี้ยยังชีพ ไดรับเบี้ยยังชีพ ๕๐๐ บาทเพียงรายเดียว ไมไดรับเบี้ยยังชีพ ๕๐๐ บาท ๔ ราย และไดเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๕๐๐-๓,๐๐๐ บาท เฉลี่ยเบี้ยยังชีพของกลุม คนพิการระดับรุนแรงทางจิตหรือพฤติกรรม = ๒,๑๖๖.๖๖ บาทตอเดือน ซ่ึงต่ํากวาทุกประเภทคนพิการ ขณะที่อีกคนไมไดออกความเห็น เพราะยังไมเคยไดรับเบี้ยยังชีพเลย แลวแตทางการจะใหการสงเคราะห

ตารางที่ ๔.๔๓ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมที่เสนอขอจังหวัดอุบลราชธานี

เบี้ยยังชีพคนพิการ

ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ NA

๒ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๒,๐๐๐

๓ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ไมไดรับ ๕,๐๐๐

๔ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ไมไดรับ ๖,๐๐๐

๕ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไดรับ ๒๐๐ บาท ๖,๐๐๐

พิสัย ๒,๐๐๐-๖,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๔,๗๕๐

จากตารางที่ ๔. ๔๓ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงผูปกครอง มี

เพียงรายเดียวที่ไดเบี้ยยังชีพ ๒๐๐ บาทตอเดือน แตคนอื่นไมไดรับเบี้ยยังชีพเลย และไดเสนอขอเบี้ยยงัชพีที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๒,๐๐๐-๖,๐๐๐ บาท เฉลี่ยเบี้ยยังชีพของกลุมคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๔,๗๕๐ บาทตอเดือน เฉลี่ยวันละ๑๕๘.๓๓ บาท ยังนอยกวาคาแรงขั้นต่ํา ขณะเดียวกันหากเทียบกับเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวา เสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวม ๑,๐๗๑ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) ซ่ึงมากกวาเสนความยากจน เพียง ๔.๔๓ เทา ขณะที่การศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางในประภาส ปนตบแตง,๒๕๔๔) คาใชจายเฉพาะคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนระดับที่ ๑ อยูที่ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท จึงเปนเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ

Page 198: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๓

สอดคลองกับการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะและเหมาะกับสภาพการณปจจุบันที่คนพิการกลุมนี้มีความจําเปนอยางยิ่ง

คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม เปนกลุมพิเศษที่ตองไดรับการดูแล ชวยเหลือ ที่ไมสามารถชวยตัวเองไดในกรณีที่มีอาการแปรปรวน และตองพึ่งพิงยา หรือรับประทานยาอยางสม่ําเสมอ ขาดยาไมได การบําบัดจากสถานพยาบาลจึงมีความจําเปนสูงสุด ดังที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม กลาววา “เงิน ๕๐๐ บาทไมสามารถใหคนพิการใชจายไดเพียงพอในแตละเดือน เพราะวาคาใชจายทุกวันนี้ คาครองชีพสูงขึ้น อะไรก็แพงขึ้น เสียคารถ คาเดินทาง...” อยางไรก็ตาม ความพอเพียงของรายรับ-รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ดังตารางที่ ๔.๔๔

ตารางที่ ๔.๔๔ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมของจังหวัดอุบลราชธานี

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๒,๕๐๐ - NA ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม - ๒,๔๐๐ NA ไมเพียงพอ ๓ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ๑๓,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ ๑,๐๐๐ เพียงพอ ๔ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ - - - - ๕ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม - - - เพียงพอ

จากตารางที่ ๔.๔๔ พบวา รายรับ-รายจาย ของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงผูปกครองของจังหวัดอุบลราชธานี พบวา ไมมีความเพียงพอ ๒ใน ๕ คน คิดเปน ๔๐ %ไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔๐ % ไมมีขอมูล ๑ คนแตเพียงพอ เนื่องจากทางศูนยฝกอาชีพออกคาใชจายทุกอยางใหหมด ความไมเพียงพอ เพราะทั้งสองคนไมมีรายได อีกคนทางบานเปนผูสงเงินใหทุกเดอืน ขณะที่ผูปกครองก็มีภาระคาใชจายของ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ที่สําคัญคือคายาที่ตองรับประทานประจํา และคาเลี้ยงดู หากในอนาคตคนกลุมนี้ไมมีอาชีพ ไมมีรายไดและไมมีผูปกครองกลับจะยิ่งทําใหเกิดปญหาทวีคูณ

Page 199: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๔

ตารางที่ ๔.๔๕ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมของจังหวัดสงขลา

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ

รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ ๑ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๑,๕๐๐ ๖,๒๐๐ -๔,๗๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๒ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ - ไมเพียงพอ ๓ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ๑๐,๐๐๐ ๑๑,๓๐๐ -๑,๓๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๔ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม NA NA NA ไมเพียงพอ ๕ ผูปกครองดูแลจิตใจหรือพฤติกรรม ๑๕,๐๐๐ ๑๔,๕๐๐ ๕๐๐ เพียงพอ

จากตารางที่ ๔.๔๕ พบวา รายรับ-รายจาย ของคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม

รวมถึงผูปกครองของจังหวัดสงขลา พบวา ไมมีความเพียงพออยางมากถึง ๒ใน ๕ คน คิดเปน ๔๐ %ไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔๐ % เพียงพอ ๑ คนคิดเปน ๒๐ % ขณะที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรมไมมีความเพียงพอ เพราะมีรายไดนอย มีภาระคาใชจาย โดยเฉพาะคนแรกตองดูแลคนในครอบครัวอีกดวย สวนคนที่สองทางญาติใหการชวยเหลือบาง สวนผูปกครองแมวาจะมีรายได แตมีภาระคาใชจายที่ตองดูแลบุตร ทั้งคายาที่ตองรับประทานประจํา และคาเลี้ยงดู สวนคนที่พอเพียงนั้นมีรายไดและรายจายที่สมดุล คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมเสนอขอเบี้ยยังชีพ ดังตารางที่ ๔.๔๖

ตารางที่ ๔.๔๖ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจเสนอขอของจังหวัดสงขลา

เบี้ยยังชีพคนพิการ

ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๔,๐๐๐

๒ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๓ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ไมไดรับ ๑,๕๐๐

๔ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไมไดรับ ๔,๕๐๐

๕ ผูปกครองดูแลคนพิการทางจิตใจ ไมไดรับ ๒,๐๐๐

พิสัย ๑,๕๐๐-๔,๕๐๐ คาเฉลี่ย ๓,๐๐๐

Page 200: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๕

จากตารางที่ ๔.๔๖ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงผูปกครอง ทุกคนไมไดรับเบี้ยยังชีพ และไดเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๕๐๐-๔,๕๐๐ บาท เฉลี่ยเบี้ยยังชีพของกลุมคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม =๓,๐๐๐ บาทตอเดือน เฉลี่ยวันละ๑๐๐ บาท ยังนอยกวาคาแรงขั้นต่ํา ขณะเดียวกันหากเทียบกับเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคใต รวม ๑,๑๙๐ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) ซ่ึงมากกวาเสนความยากจน เพียง ๒.๕๒ เทา ขณะที่การศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางในประภาส ปนตบแตง,๒๕๔๔) คาใชจายเฉพาะคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนระดับที่ ๑ อยูที่ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท จึงเปนเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ จึงสอดคลองกับการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ และเหมาะกับสภาพการณปจจุบันที่คนพิการกลุมนี้มีความจําเปนอยางยิ่ง

๕) ดานนันทนาการ คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม มีปญหาหรือความบกพรองทางสุขภาพจิต การดํารงชีวิตในประจําวันจึงแตกตางจากกลุมอื่นๆ ที่ไมสามารถควบคุมสภาพรางกาย และการเรียนรูไดเชนกลุมอื่นๆ เหตุนี้การบริการดานนันทนาการเชน การออกกําลังกาย แอรโรบิค งานอดิเรกปลูกตนไม ฯลฯ ดังที่คุณโกศล กลาววา “แลวงานอดิเรกทํางานบาน กวาดบานถูบาน รดน้ําตนไม เล้ียงปลา อาบน้ําแลวไปทํางานที่โรงพยาบาล” จึงอาจมีความจําเปน หรือแตกตางกับกลุมอื่นๆ ที่ตองใหมี การนันทนาการกับผูปกครองรวมดวย การจัดลานกีฬา และอุปกรณ การผอนคลายความตึงเครียด จึงเปนส่ิงจําเปนที่ตองมีบริการในดานนี้ ๖) ดานความมั่นคงและการยอมรับ

คนพิการโดยเฉพาะคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม มักถูกละเลยจากสังคม ขาดการยอมรับการเอาใจใสที่ดีพอ ขณะที่คนพิการเองอาจไมรับรูไดวาตนเองเปนอยางไร

ดังที่คุณวิวัฒน คนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม กลาววา “ก็มีบางเปนบางครั้งรูสึกเสียใจและนอยใจบางที่ไมไดรับการยอมรับทั้งทางสังคมและที่บาน ...จึงตองการใหคนอื่นยอมรับในความพิการของเรา ไมรังเกียจในความพิการของเราครับ” ขณะที่ผูปกครองคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม กลาววา

Page 201: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๖

“ถาหากสังคมใหความรัก ความเมตตา ความสงสาร ผูปวยจริง ๆ ก็จะอยูไดอยางสบายและไมมีปญหาอะไร ทุกวันที่มันมีปญหา อยางที่เราเห็นกันในหนาหนังสือพิมพที่วามีอาการกําเริบทํารายคนอื่นนั้น สาเหตุเนื่องจากการถูกย่ัวยุ ถูกกระทบกระทั่ง ถูกลอเลียน ทําใหเขากําเริบขึ้นมากออันตรายได ถาสังคมใหความรัก ความเมตตาผูพิการทางจิตก็จะไมกอปญหา” ความมั่นคงทางสังคม นับวาเปนเรื่องที่สําคัญ เพราะวามนุษยมีความตองการในปจจัย ๔ เพื่อ

การดํารงชีวิต ทั้งอาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหมและยารักษาโรค การที่จะดํารงชีวิตอยูไดในสังคมอยางเชนคนทั่วไป นั่นหมายถึง การมีความมั่นคง มีจิตใจที่เปนสุข มีความเพียงพอแกชีวิต ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังที่คุณสมพงษ กลาววา “นาจะดีขึ้นนะ ที่นี้ในสังคมเทาเทียมกัน ทําใหยอมรับในสังคม ทําใหคนพิการไปไหนมาไหนได” และกลาวเสริมอีกวา “บุคลิกภาพ การพูดจาที่สําคัญเรื่องสื่อสําคัญมาก ถาสื่อเอาคนพิการทางจิต อะไรที่ดีๆ พัฒนาที่ดีขึ้น เคยปวยที่แยๆแลวประกอบอาชีพมันดีขึ้น สังคมอาจมองคนพิการทางจิตดีขึ้น” ขณะที่คุณทิพวรรณ กลาววา“ก็ดานจิตใจก็เปนสวนหนึ่งนะคะ มันก็แรงแตก็พูดยาก คือสังคมไมยอมรับเขาคือเขา ไมเขาใจวาโลกนี้เปนอะไร”ในการยอมรับความเปนมนุษยที่มีสิทธิ์และโอกาสอยางเทาเทียมกัน

แตสังคมรอบขางเพื่อนบานก็ใหการยอมรับ ดังที่คุณโกศล กลาววา “ก็ดี เขาใจ คนในบานก็ดี กินยาหมอหาย เมื่อดีขึ้นเพื่อนบานก็ดีกับเขาดวย กอนอื่นเราตองมองตัวเรากอน ที่สําคัญเคาวาอะไรเราอยาไปถือวา ถาเราไปโกรธเขาเราจะไมหาย ยังมีอาการอยู พูดถึงทํางานโรงพยาบาลจะดี ตื่นเชาทํางานใหตรงเวลา อยูโรงพยาบาลก็กวาด ทําความสะอาด กินยาใหตรงเวลาอยางงี้ จะดี”

การสรางความเขาใจใหกับคนทั่วไป ไดรับรูและรับทราบ ใหการยอมรับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม ดังที่คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม กลาววา “อยากจะใหเขาใจมากวานี้ เคาเปนผูปวย ซํ้าเติมแลวซํ้าเติมอีก เคาทําไปโดยที่เคาไมรูตัว ถาเปนมือปนโอเค แตนี่เคาไมไดตั้งใจ”

Page 202: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๗

ตารางที่ ๔.๔๗ สรุปการไดรับสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม สภาพการไดรับสวัสดิการ

ประเภทสวัสดิการ ประเด็น การไดรับ แนวทางที่ควรจะเปน เหมาะสม ไมเหมาะสม

ดานการศึกษา เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อการพัฒนา

/ / /

บางจังหวัดไมมี โรงเรียนเฉพาะกลุมนี้แตอาจเรียนรวมกับเด็กปกติ

-จัดศูนยการศึกษาในชุมชนใหมากขึ้น -จัดอบรมคนพิการกลุมนี้ -จัดอบรมผูดูแลคนพิการ -การจัดทําประเมินผลบุคคล(IEP) -จัดเตรียมความพรอมการศึกษา -การศึกษานอกระบบ

ดานสุขภาพ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยู สุขภาพดี เพื่อการเขาถึงบริการ

/ /

ทุกจังหวัดมีแหลงบริการเขาถึงและสะดวก

เนนการดูแลสุขภาพเชิงรุก การเยี่ยมบานมากขึ้น จัด Day Care จัดชองทางดวนใหกับคนพิการสามารถเขาถึงไดสะดวก

ดานอาชีพและรายได

เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ

/ / /

-สงเสริมอาชีพเสริมใหกับคนพิการที่มีศักยภาพ สรางรายไดเสริมและการรวมกลุมกัน ประสานกับโอทอป(OTOP) -การเสริมอาชีพที่เปนความตองการของตลาดและการจางงานมากขึ้น

ดานบริการสังคม เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความสะดวกในชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/ / /

-ควรจัดผูชวยเหลือใหคนพิการ -การบริการสังคมใหคนพิการอยางเพียงพอ -การเขาถึงขาวสารดานตางๆ -การบริการสังคม จัดสวัสดิการชุมชนที่มีศักยภาพ

ดานนันทนาการ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/ /

ควรมีการจัดอุปกรณที่เหมาะสมกับคนพิการ

ดานความมั่นคง เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการยอมรับ

/ /

-สรางการยอมรับในคนทั่วไป -ใหสิทธิและโอกาสกับคนพิการในการมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม

Page 203: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๘

๓.๑. ๕ คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ขณะที่การวิจัยคร้ังนี้คณะผูวิจัยขอรวมบุคคลสมาธิส้ัน บกพรองทางการเรียนรู ออทิสซึม อาการในกลุมออทิสติก พัฒนาการชา ปญหาสติปญญาและอาการอื่นๆทางสมองไวในกลุมนี้ตามหลักเกณฑการแบงตามประเภทของกระทรวงสาธารณสุข ขณะเดียวกันคนพิการระดับรุนแรงที่ชวยเหลือตัวเองไมได โดยเฉพาะอยางยิ่งเด็ก เด็กออน บุคคลเหลานี้ขาดการรับรู สมธิส้ัน ดูปกติ ฉลาด แตมีอาการซุกซน ขาดสมาธิ เรียกกันวา “ไฮเปอร” หุนหันพลันแลน ไมคิดทํากอน ไมควบคุมตนเอง ไมยับยั้งชั่งใจ หงุดหงิดโมโหงาย อาจมีปญหาในการดํารงชีวิต จึงตองพึ่งผูปกครอง และสถานสงเคราะห มีปญหาตางๆมากมายทั้งความยากจนและอื่นๆ ดังที่ผูบริหารสถานสงเคราะหกลาววา

“ดิฉันวาอยูที่สถานสงเคราะหเด็กออนที่พิการทางสมองและปญญา รุนแรงมากถึงมากที่สุด ตอนนี้เรามีเด็กอยู ๕๐๐ คน คิดวา๓๕๐ คนนี้ก็คือรุนแรงมาก คือ ชวยเหลือตัวเองไมไดเลยแมแตอยางเดียว บางคนกลืนไมไดเลย ตองใสสายยางใหอาหาร บางคนกลืนไดอยางเดียว แตเราตองปอนตองทําทุกยางให ... โดยปกติแลวคนพิการตามสถิติที่เก็บมา ชอบมีคนมาถามวา คนรวย ๆ เขาเอาลูกมาฝากไหม เขาไมฝากหรอก แตเขาคลอดลูกคนพิการ เขาก็จางพยาบาลเลี้ยงที่บาน เพราะฉะนั้นรอยเปอรเซ็นตก็คือเปนคนที่มีฐานะคอนขางลําบาก ...ดิฉันวานอกจากสวัสดิการอันดับแรกเลย คือ หาคนเลี้ยงใหเขา คนเลี้ยงดูเด็กพิการในครอบครัวก็คือ พอแมเขา แตเราตองSupport เงินที่จะทําใหเขามีชีวิตอยูได โดยที่เขาไมตองเอาลูกไปเรรอนที่ไหน

หรือผูปกครองคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรูไดสะทอนความจริงของการศึกษาสําหรับคนพิการวา

“ภาครัฐที่จัดให ไมวาจะดานการศึกษานี้นอยมาก เด็กที่รุนแรงมากไมสามารถจะเขาไปอยูในสถานศึกษาไดเลย ถูกปฏิเสธหมด สวนเรื่องคาใชจายเรื่องเงินนี้ถึงนอยมาก เพราะวาบุคคลปญญาออน ไมมีศักยภาพพอที่จะไปตอรองวาเขาตองการอะไร ก็อาศัยผูปกครองที่จะตองเปนผูรักษาสิทธิ์ของเด็ก ตอนนี้ยังขาดมากเลย เทาที่ทํางานมา ๒๐ กวาป ผูปกครองเขาถึงอยางมาก ไมวาจะเปนดานการศึกษา ดานคาใชจาย บอกวาให ๆ แตจริง ๆ แลวไปติดตอผูปกครองบอกวาไมเคยได โดยเฉพาะผูที่พิการมาก ๆ พิการซ้ําซอนดวย ที่อยูกับบานก็ไมได เพราะเด็กพวกนี้เปนภาระกับผูปกครองมาก ผูปกครองนาจะไดรับการชวยเหลือ ในดานสถานการศึกษามีนอยมาก”

แตความพิการซ้ําซอนของคนพิการระดับรุนแรงยิ่งแสนสาหัส ดังที่คุณอมร รองผูอํานวยการศูนยการศึกษาพิเศษ เขต ๑ กลาววา “ในระดับความรุนแรงเชนคนพิการซ้ําซอนก็คอนขางสาหัส อยาง

Page 204: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๘๙

พิการซ้ําซอนภายในคนๆหนึ่ง มีความพิการหลายอยาง อยางหูหนวกดวย ตาบอดดวยหรือตาบอดแลวยงัมีปญญาออนอีก ก็ถือวารุนแรงเหมือนกัน” ๑) ดานการศึกษา

คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู มีความจําเปนในเรื่องการศึกษา เพื่อใหเกิดการเรียนรูและการปรับตัวในการดํารงชีวิตอยูในสังคม การใชการศึกษาเพื่อสรางอาชีพที่เหมาะสมและตรงกับความตองการ ตลอดจนมีคุณภาพชีวิตที่ดีในเรื่องตางๆ แตขอจํากัดทางสมองของคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรูทําใหคนพิการเหลานี้ตองไดรับการพัฒนาและสงเสริมดวยการศึกษา แตปญหาที่สําคัญคือที่เรียนมักถูกปฏิเสธ เพราะวาระดับสติปญญา ( IQ) ต่ํากวาเกณฑ การไมอยูเปนที่ ไมสามารถเรียนได ดังที่คุณอมร กลาววา

“การสงเคราะหคนพิการ คนที่สําคัญใกลชิดผูพิการ คือพอแมและคนในครอบครัวก็ตองมีความรู ดวย

การศึกษาคนควาจากผูเกี่ยวของ คือ แพทย ตอมาสถานศึกษาในเรื่องของการเตรียมความพรอม ซึ่งรัฐบาลจัดตั้ง ศูนยการศึกษาพิเศษทั่วประเทศ มีหนาที่ใหการชวยเหลือในระยะแรก เริ่มในศูนยจะมีการฟนฟู โดยนักกายภาพบําบัดมาชวยและมีการประสานความรวมมือจากโรงพยาบาล ในการเตรียมความพรอม ต้ังแตทักษะตางๆ การชวยเหลือตนเอง ทักษะชีวิตประจําวันและทักษะทางพื้นฐานทางวิชาการ ถาไมมีการเตรียมความพรอมจะเปนสิ่งยุงยากสําหรับครูผูสอน”

และคุณอมร ยังกลาวเสริมอีกวา “ในสวนของคนปญญาออน หลักสูตรการเรียนการสอนก็ใชแบบ

ปกติเพียงแตปรับลดลงมา ไมจําเปนตองใชอานออกเขียนได เพียงแตใหพึ่งพาตนเองไดเทานั้นก็พอใจแลวครับ ในการใชชีวิตประจําวัน ไมเปนภาระมากหรือมีการฝกอาชีพงายๆที่มันไมซับซอนอะไร” และยังเสริมอีกวา “บุคคลที่เปนออทิสติก มันมีความยากในการเรียนการสอนตองมีการปรับใหเขากับ ความจําเปนของเขาเลยนะ และตองใชคนเยอะ ใชอัตราเด็ก ๓ คนตอครู ๑ คน เพราะเด็กออทิสติกมักอยูในมุมเงียบๆคนเดียว ไมสุงสิงกับใคร คือมีโลกสวนตัวของเขา ...แตส่ิงที่สําคัญอันดับแรกคือ พอแม อันดับสองคือ ครู จะมีสวนชวยพัฒนาและประสบผลสําเร็จได ตอไปก็ชุมชน อาชีพก็สําคัญที่จะคอยชวยเหลือใหเขาดํารงชีวิตอยูในสังคมได” นอกจากนี้ การศึกษาในสถานศึกษาคนพิการทุกคน การทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Evaluation Personnel, IEP) ดังที่คุณอมรกลาวถึง “การทําแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) จัดทําในรูปของคณะกรรมการ ตั้งแตระดับของผูบริการ ครูผูสอนหรือครูใหคําปรึกษา พอแมของ ผูพิการและผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เพื่อประเมินความสามารถ จุดเดน จุดดอยของเด็ก คือ ถาใครทํา IPE จะไดรับคูปอง ส่ิงอํานวยความสะดวกในสื่อบริการได รายละ ๒,๐๐๐ บาทตอปการศึกษา”

Page 205: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๐

ขณะที่ผูปกครองเด็กสมาธิส้ัน กลาววา “อยางเด็กสมาธิสั้น ก็อยูในหองเรียนก็ไมสามารถที่จะเรียนไดเลย เพราะวาว่ิงไปว่ิงมา ไมสามารถ

เรียนได นี่พูดในภาพรวมนะ แลวก็เด็กดาวนนี่ก็เหมือนกันนะ ตอนนี้โรงเรียนทั่วๆไป พอเด็กดาวนเขาไปสมัครเรียน จะถูกปฏิเสธเลยวา IQ ไมถึง ประเมิน IQ มันไมถึง เราไมสามารถรับคุณได เพราะเด็กที่ถูกปฏิเสธจากโรงเรียนแลว ที่มีเงินหนอยสามารถไปเรียนเอกชนได แตถาคนยากจน บุคคลชั้นลาง เด็กก็ขาดโอกาสในการศึกษาตรงนี้ไป”

แตปญหาหนึ่งของเด็กที่บกพรองทางการเรียนรู มีความฉลาดหลักแหลม แตไมสามารถปรับตัวเหมือนเด็กปกติ การเรียนรูไมปกติมีอุปสรรคตองไดรับการดูแล ชวยเหลือ ดังที่คุณนภัทร ประธานชมรมผูปกครองเด็กบกพรองทางการเรียนรู กลาววา

“เด็กสมาธิสั้นเฉียบแหลมมาก แตเฉียบแหลมในเชิงเขากับตัวเอง นี่คือเหตุผลของแมฟงแลวไมสน แตรูหมด ใหเรียนหนังสือจับประเด็นไดหมด แตสุดวาจะจับประเด็นไหน เพราะฉะนั้นเขามีความฉลาดหลักแหลม ...ไมใชสติปญญา มิใชบกพรองทางการเรียนรู แตเปน Learning Disability” ... เขาเรียนเลขออนมาก ทําอยางไรเลขก็ตกหลนอยูเรื่อย ก็เปนอุปสรรคในการเรียนของเขา บางคนอาจออกไปเลย เพราะเปนวิชาบังคับ...” สําหรับคนพิการระดับรุนแรง การศึกษามีความจําเปนที่คนพิการระดับรุนแรงไมสามารถเรียน

รวมกับคนทั่วไปได แตจําเปนตองเรียนรู เสริมทักษะใหสามารถดํารงชีวิตอยูได หรือสามารถชวยเหลือตัวเองไดระดับหนึ่ง ดังที่ อาจารยไชยันต ผูปกครองเด็กพิการทางสติปญญา กลาวถึง

“ถึงวามีนโยบายของทางกระทรวงศึกษาฯ ของการที่มีเปนคําขวัญวา คนพิการที่ประสงคจะไดเรียนตองไดเรียนอันนี้เปนคําขวัญ แตวาในแนวทางปฏิบัติจริงๆ ทางโรงเรียนตางๆก็ไมคอยจะรับคนที่ดอยสติปญญา คนที่พิการทางสติปญญาเขาเรียน เหตุผลหลักอันหนึ่งคือวาทางโรงเรียนไมมีครูเฉพาะที่จะดู ก็เลยจะตองใหมีการสรางบุคลากร ต้ังแตการผลิตครูใหประจําอยูตามโรงเรียนตางๆ ที่จะรองรับการรับเขาเรียนรวมได คือหมายความวา การที่คําขวัญมีนโยบายที่จะใหเรียนรวมเนี่ย คือไมใชวาแยกคนพิการไปเรียนตางหาก อันนี้ก็เปนคําขวัญที่ดี แตวามันตองทําใหเกิดไดจริงในทางปฏิบัติ ที่นี้ทํายังไงที่จะใหเกิดไดจริงในทางปฏิบัติ ก็จะตองดูเรื่องบุคลากร เรื่องอํานวยความสะดวก เรื่องอะไรที่โรงเรียนใหเปนจริง ไมใชประกาศเฉยๆ

คนพิการมีความตองการในการศึกษาเพื่อใหอานออกเขียนได รูและเขาใจสังคม และไมถูกหลอกลวง และชวยในการกระตุนการพัฒนา ดังที่ อาจารยไชยันต ผูปกครองเด็กพิการสติปญญากลาววา

Page 206: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๑

“ผมคิดวาการศึกษาสําคัญมาก คือตอนนี้ลูกผมจบโรงเรียนแลว แตสมัยที่เปนโรงเรียนเนี่ย ตอนสมัยเด็กๆ ก็คือวามีปญหามากเรื่องที่จะไปโรงเรียน โรงเรียนไมรับ เพราะฉะนั้นสวัสดิการทางสังคม คือการมีโรงเรียนและการฝกกระตุนพัฒนาการ ตอนวัยเด็ก อันนี้ตองตอบวางี้ เปนชวงเปนแตละวัยๆไป ขอใหวัยเด็กมีการกระตุนพัฒนาการที่ใกลบาน”

“ถารุนแรงเนี่ยการศึกษาเคาคงมาเรียนกับเราแบบปกติไมได แตการเสริมทักษะหรือการฟนฟูอยางที่บอกใหเขาสามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยที่อาจจะเอาผูปกครองหรือผูดูแลเนี่ยมาอบรมดวยในการดูแลเคาเสริมทักษะใหเขาจะไดไมเปนภาระมาก รูจักชวยเหลือตัวเองไดบาง”

อยางกรณีผูบกพรองทางการเรียนรู ครูของโรงเรียนอนุบาลอุบล ไดกลาวเสริมวา

“คนพิการที่บกพรองทางการเรียนรู คือเขียนภาษาไทยกันไมถูกอยางที่เราไดทดลองกับกลุมเด็ก ม. ๕ ใหเขียนคําที่ไมคอยไดพบกับผสมคําไมเปน เขียนไมถูก คนพวกนี้มีอยูเยอะ ตองคัดแยกกลุมนี้ออกมาไดแลวชวยเหลือเขา จังหวัดอุบลฯ มเียอะมาก”

ครูจากทางโรงเรียนอนุบาลอีกคนหนึ่ง กลาวเสริมวา “คนพิการทางสติปญญามองดูแลวยังดอยกวาผูพิการทางตา ทางหูนะคะ เพราะวาสมองเขาไมเทาทันเพื่อน แลวอยางผูปกครองที่ไมไดรับเบี้ยยังชีพ เดือนละ ๕๐๐ บาท เพราะผูปกครองบางทานไมทราบวา ตัวเองมีสิทธิตรงนั้น จึงอยากใหมี การประชาสัมพันธใหผูปกครองไดทราบตรงนี้ดวย” คนพิการมีความตองการในการศึกษาเพื่อใหอานออกเขียนได รูและเขาใจสังคม และไมถูกหลอกจากคนที่มิหวังดีในเรื่องตางๆ ดังที่คุณอาคม สะทอนวา “อยากใหเขาไปศึกษาตรงนี้ อยากใหเขาเขียนได อานไดบาง เพราะวาเขาเติบโตในภายหลัง ก็อยากจะไปโนนไปนี่ ไมใหเขาถูกหลอก พวกนี้ใหเขาเวลาเขาไปใหเขาไดรับรูวา อยางนั้นอยางนี้ ไมใหเขาถูกหลอก ใหเขาอานไดเขียนได”

ขณะที่จังหวัดสงขลามีโรงเรียนสงขลาพัฒนาปญญา ศูนยการศึกษาพิเศษเขต ๓ และภาคเอกชนมี “ชมรมสานฝนปนรัก” และกลุมศรีตรังสัมพันธ ตลอดจนโรงเรียนอนุบาลกุลจินต ที่ชวยในการพัฒนาของเด็กเล็กใหเกิดการเรียนรู เสริมทักษะใหสามารถดํารงชีวิตอยูได หรือสามารถชวยเหลือตัวเองไดระดับหนึ่ง ทั้งยังสามารถเขาถึงการศึกษา นอกจากนี้เด็กดาวซินโดรม ก็สามารถเรียนรวมกับเด็กปกติได โดยเฉพาะเด็กไดหากมีความประสงคที่จะศึกษา การศึกษาของเด็กกลุมนี้ อาจตองปรับตามสถานการณ การเรียนที่มุงพัฒนาการเด็ก ที่ไมตองเขมเทาเด็กปกติ ดังที่อาจารยจากชมรมสานฝนปนรัก กลาววา “เด็กออทิสติกบางคนสามารถเรียนเนื้อหาของเด็กปกติทั้งหมดเลย จะแยกขอสอบออกไป เด็กออทิสติกบางคนใชขอสอบของเด็กปกติได การที่จะเรียนเต็มหนวยเหมือนเด็กปกติ เราก็จะลดเนื้อหาลงมา” ความจําเปนของเด็กกลุมนี้จึงตองใหความพิถีพิถันเปนพิเศษ และผสานใหการดูแลสุขภาพรวมดวย ขณะที่อาจารยจากชมรมสานฝนปนรัก กลาวถึง การชวยเหลือการศึกษาเด็กออทิสติกวา “ปจจุบันยังไมมีเงินชวยเหลือหรือสวัสดิการครอบคลุมยังเด็ก

Page 207: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๒

ออทิสติก แตมีการใหความชวยเหลือทางดานการศึกษา คือ การทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individual Evaluation Personnel-IEP) เปนการประเมินความสามารถ จุดเดน จุดดอยของเด็กออทิสติก แลวนํามาทําแผนการศึกษา เพื่อขอสื่อและสิ่งอํานวยความสะดวกในดานการศึกษา ซ่ึงจะไดคูปองจํานวนเงิน ๒,๐๐๐ บาทจากศูนยการศึกษาพิเศษ” ๒) ดานสาธารณสุข

คนที่พิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู จําเปนตองไดรับการเอาใจใสดูแลเปนพิเศษ เพราะเด็กเปนบุคคลสมาธิส้ัน (Attention Deficit/Hyperactivity Disorder-ADHD)ไมอยูนิ่งกับมีกิจกรรมตลอดเวลา รวมถึงปญหาบกพรองทางการเรียนรู (Learning Disabilities-LD) บางครั้งอาจประสบอันตราย หรืออุบัติเหตุ ขณะเดียวกันกลุมนี้ตองไดรับการดูแลทางสุขภาพ บางคนตองรับประทานยาอยางสม่ําเสมอ ทําใหตองมีคาใชจายอยางมาก ไมตางกับกลุมคนพิการระดับรุนแรงทางจิตใจหรือพฤติกรรม รวมถึงคนพิการระดับรุนแรงทางกายหรือการเคลื่อนไหว ดังนั้นผูปกครองจึงตองการเอาใจใสดูแลดานสุขภาพตลอดเวลา เพราะเด็กบางคนไมสามารถเรียนในโรงเรียนปกติได

นอกจากนี้จากการสอบถามจะพบวาคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูสวนใหญเปนเด็กวัยเรียน มีปญหาสุขภาพควบคูกัน ตองพบแพทยตามนัด และพบบอย ทําใหมีคาใชจายตามมามากมาย ดังที่ผูปกครองเด็กทางสติปญญาหรือการเรียนรู กลาววา

“การไปพบแพทย เด็กกลุมนี้ตองไปตามนัด และพบแพทยบอยถารักษาไดแลว ถามวาคารถอยูที่ไหน

คาใชจายในการเดินทาง แมคนหนึ่งทํางานกอสราง รายได ๑๒๐ บาทตอวัน ถาเคาพาลูกไปพบแพทย นอกจากเคาจะไมได ๑๒๐ บาทตอวันแลว เคายังติดลบไปอีก ๒๔๐ บาท เคาตองเสียคารถไปกลับ ตองไปกินอาหารตัวเอง ตองไปซื้ออาหารที่โรงพยาบาลกิน ในขณะที่เคาไปกอสราง นายจางหุงขาวใหเคาทาน เคาไดทานขาวฟรีนะ ...”

ดังที่คุณอมร กลาววา “การแพทยที่จะบําบัดฟนฟูตัวเขาและคนรอบขาง ซ่ึงจะมีแพทยหรือ

คนรอบขางอยางเดียวก็ไมได ก็ตองมีคนที่ใกลชิดมากที่สุด คือ พอแมในการชวยดูแล” ขณะเดียวกันกลุมนี้ตองการดูแลทางสุขภาพ บางคนตองรับประทานยาอยางสม่ําเสมอ ทําใหตองมีคาใชจายอยางมาก ดังนั้นผูปกครองจึงตองการเอาใจใสดูแลดานสุขภาพตลอดเวลา การสงเสริมสุขภาพคนพิการก็เปนส่ิงจําเปนที่คนพิการตองไดรับการดูแล การเยี่ยมติดตามที่บาน และพยายามคนหาติดตามใหคนพิการไดรับสวัสดิการทั้ง ๔ ดาน คือการสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟนฟู โดยเฉพาะเด็กบางคนไมสามารถเรียนในโรงเรียนปกติได ดังที่หัวหนางานประกันสุขภาพ กลาววา

Page 208: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๓

“ในสวนของดานสงเสริมสุขภาพผูพิการ ถาพูดถึงในเรื่องของสวัสดิการ เห็นดวยวาเงิน ๕๐๐ บาท นอยมาก เพราะคาอาหารก็คงไมพอแลว แตในดานการสงเสริมสุขภาพคนพิการ ในสวนของเราเจาหนาที่ทุกระดับไปติดตามเยี่ยมบาน และพยายามที่จะคนหาติดตาม ใหคนพิการทุกคนไดรับสวัสดิการดานสังคมทั้ง ๔ ดาน หรือทางดานใดดานหนึ่ง ตัวช้ีวัดของ Healthy Thailand ซึ่งกําหนดเปนวาระแหงชาติวาจะทําอะไรใหคนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง”

คนพิการที่เปนเด็กพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ที่มีความพิการซ้ําซอน ตองมีพัฒนาการในการดูแล ชวยเหลือเปนพิเศษและอยางทันทวงที ดังที่ผูปกครองเด็กพิการทางสติปญญา กลาววา

“เด็กพิการทางสติปญญา ตองไดรับการพัฒนาการไปตามขั้นตอน หากมีปญหามากตองนําเขาโรงพยาบาลราชานุกูล แตที่อุบลยังไมมีเลยอยากใหมีโรงพยาบาลแบบนี้ เมื่อพบแลวตองไดรับการรักษาไดทันทวงที ทําอยางไรถึงจะขจัดความไมรูของพอแมเด็กออกไป อยางคนพิการทางกายตองนั่งรถวีลแชรและมีในเรื่องของแผลกดทับดวย มีหนองไหลออกมาตองทําการลางแผลอยูเรื่อยๆ เมื่อมาโรงพยาบาลหมอก็ทําแผลใหพรอมบอกวา หามนั่งในทานี้นานๆ ตองมีการเปลี่ยนทานั่งดวย อาจตองใหนอน”

ขณะที่ผูปกครองจึงตองการเอาใจใสดูแลดานสุขภาพตลอดเวลา เพราะเด็กบางคนไมสามารถเรียน

ในโรงเรียนปกติได จึงตองตรวจเช็คโดยจิตแพทย กับเด็กออทิสติก สมาธิส้ัน ดังที่อาจารยชมรมสานฝนปนรัก กลาววา

“เพื่อเช็คพัฒนาการ คนที่ตัดสินจริงๆคือ แพทย อยางแพทยตองใชจิตแพทยเด็ก ก็ยังนอยมีแคคน

เดียว ซึ่งคิวของนักฝกพูดและนักกิจกรรมบําบัดจะนอยมาก นอกจากออทิสติก จะตองฝกพูดก็จะมีเด็กกิจกรรมพิเศษรวมดวย ทําใหคิวตรงนี้คอนขางยาว สาขานี้คอนขางนอยมาก กิจกรรมบําบัดก็นอยสุด ไมมีเลย เจาหนาที่ก็นอย สําหรับเด็กบางคนเชี่ยวชาญกับผูใหญ ผูที่สามารถอดทนกับเด็กออทิสติกสมาธิสั้น กาวราว ยังนอย .... ของรัฐเคามีสถานที่ฝกพูดวาคุณตองเขาคิว ปริมาณเด็กมาก คุณอาจจะไดเขาหรือไมไดเขาก็ได อาจจะอาทิตยละครั้ง ซึ่งจริงๆเด็กพวกนี้ถาไดรับการกระตุนบอยเทาไรยิ่งดี พอแมมีกําลังหนอยก็ไปตามคลินิก ครั้งหนึ่งสามสี่รอย กรุงเทพฯเปนพัน ครึ่งช่ัวโมงเจ็ดรอยของเอกชน”

นอกจากนี้ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ตองไดรับการดูแลจากแพทยหลายสาขาที่

เกี่ยวของ ไดแก แพทยดานจิตเวช นักหัตถบําบัด นักกิจกรรมบําบัด โดยเฉพาะนักกิจกรรมบําบัดมีความสําคัญมากในการชวยเหลือ เร่ืองการปรับพฤติกรรมเด็ก

Page 209: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๔

๓) ดานการสรางอาชีพและรายได จากสภาพความจําเปนในดานสุขภาพ ผูปกครองตองดูแลบุตรที่พิการทางสติปญญาหรือ

การเรียนรู ทําใหการทํางานไมอาจตอเนื่อง ยิ่งผูปกครองที่ เปนลูกจางของบริษัท อาจมีปญหาใน การทํางาน การตองพาบุตรไปโรงพยาบาลตามที่แพทยนัด การมีอาชีพอยางเหมาะสมและมั่นคงทางหนึ่งจะชวยใหคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู มีความเปนอยูที่ดี เพราะวาตัวเองไมสามารถชวยเหลือตัวเองได ตองพึ่งพิงผูปกครอง การดํารงตนในสังคมไมมีความแนนอน ดังผูปกครองเด็กปญญาออนกลาววา “...คาใชจายไมไดอยูแคคารักษา คาผาตัด มันจะรวมถึงการเคาขาดงาน ที่เคาตองลาออกจากงาน เพื่อมาดูแลบุตร ...”

การไมมีอาชีพและรายไดที่มั่นคงในทางกลับกันกลับตองมีภาระการเลี้ยงดูบุตรที่มีความพิการไปตลอดชีวิต ซ่ึงไมสามารถพึ่งตนเองได ในอนาคตกลับจะยิ่งมีความลําบากหากผูปกครองแกเฒา หรือเสียชีวิตไป ดังที่คุณนภัทร ประธานชมรมผูปกครองเด็กบกพรองทางการเรียนรู กลาววา

“...พอแมแกชราลง อยางฉันสูงอายุแลว ตายไปลูกดิฉันและลูกพอแมทานอื่นเปนจํานวนมาก ไมมีพ่ี

นองรับภาระไดหรอก เพราะทุกวันนี้ ดิฉันไมมีอาชีพ ใชเงินกอนที่มีอยูนิดเดียว ตัดออกไปเรื่อย หากตายโครม ลูกที่นั่งขางๆจะทําอยางไร จะเอาลูกคนไหนมาดูแลไดเปนหมื่นๆตอเดือน อยางเพื่อนฉันไดบํานาญแคเดือนละ ๑๖,๐๐๐ บาทอยางเกงเต็มที่ ๒๐,๐๐๐ บาทแตถาตองมาอุปการะนอง ซึ่งตองใชเดือนหนึ่งอยางนอย ๑๕,๐๐๐ บาท เอาตรงไหน”

ขณะที่ผูปกครองเด็กพิการ กลาววา “การดูแลก็จะแตกตางกันแตละคนครับ มีการฝกอาชีพให

สอนใหรูจักการใชอุปกรณ จนเกิดความเคยชิน…ทํางานเองไดแตเร่ืองการเดินทาง ตองไปรับไปสงอยูคะ ตองมีคนอยูดวยตลอดเวลา เราตองดูแลเรื่องของความปลอดภัย”

การมีวิธีการหาเลี้ยงชีพจึงสําคัญ อยางชุมชนพยายามรวมกลุมอาชีพ ดังที่คุณจันที กลาววา “พวก

ดอกไมพลาสติกที่เขาขาย ที่เขาประกอบ ใบ ดอก ใหเขาไปทําที่บาน เปนกลุมหรือทําเปนแจกัน ในจุดที่เขาทํา และใหเปนผูประสานงานเปนตัวหลัก ไปเก็บ เปนตัวสงลูกคาเลย ทําใหคนพิการทําอยูที่บาน ไดรายได ผูพิการก็ภูมิใจ ที่เขามีสวนรวมใหสังคมมีชีวิตชีวา…ตอนนี้มีหมูบานเขาทําเปนกระถางใบโพธิ์ ไมกระดาษ ทําเทียน ”

๔) ดานบริการสังคม

การจัดบริการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู มีความสําคัญที่สุดเพราะเด็ก จะเติบโตเปนเยาวชนของชาติ ในอนาคตแตมีภาพไมสมบูรณ การสงเสริมใหคนพิการกลุมนี้สามารถดํารงตนอยูไดในสังคมจึงเปนสิ่งจําเปน ไมวาจะเปนเบี้ยยังชีพ หรือสวัสดิการเพื่อการดํารงชีพ

Page 210: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๕

(Long Life Welfare) อาจเปนการมีสวนรวมในการดูแลของคนในชุมชน เปนศูนยการดูแลกลางในชุมชน (Camp Hill หรือ Community Care Center) เหมือนในตางประเทศใหกับเด็กกลุมนี้ มิฉะนั้นก็จะเปนภาระของสังคมตลอดไป (รายละเอียดขอนําเสนอในรูปแบบสวัสดิการสังคม)

ผูปกครองทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไดกลาววา “สําหรับผมคิดวา ๕๐๐ บาท มันไมเพียงพอสําหรับคนพิการรุนแรงและคนที่ชวยเหลือตัวเองไมได อีกทั้งคาน้ํา คาไฟ คิดแลว ถัวเฉลี่ยจะมีรายไดที่รัฐเฉลี่ยคนละ ๑๓ บาท ซ่ึงไมถึง ๒๐ บาท ผมคิดวาทางรัฐควรสงเสริมเขาสักนิด ตามคาแรงขั้นต่ํา ชวยเหลือในครอบครัวผูพิการเหลานี้”

สําหรับเบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรง เปนทางหนึ่งที่จะชวยบรรเทาความเดือดรอนอันแสน

สาหัสของผูปกครองและคนพิการกลุมนี้ จึงควรมี “โครงการพิทักษสิทธิ์” หมายถึงโครงการที่ใหความชวยเหลือเด็กออทิสติกที่ไมมีผูปกครองดูแล เปนเด็กที่ไมสามารถชวยเหลือตนเองได ซ่ึงจังหวัดสงขลายังไมมี แตมีในจังหวัดขอนแกน ดังนั้นเบี้ยยังชีพหรือกองทุนกูยืม จึงเปนการชวยผอนปรนความทุกขยากในการดํารงชีวิต ที่คนพิการมีรายรับ-รายจายไมพอเพียงทุกราย รวมถึงตัวคนพิการดวย ดังตารางที่ ๔.๔๘

ตารางที่ ๔.๔๘ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูของกรุงเทพมหานคร

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ

๑ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู - - - ไมเพียงพอ

๒ ผูปกครองคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู

- ๑๔,๐๐๐ (คารักษา เลี้ยงดู)

- ไมเพียงพอ

๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๘๐๐ ๑,๒๐๐ -๔๐๐ ไมเพียงพอ ๔ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู - - - ไมเพียงพออยางมาก ๕ ผูปกครองเด็กพิการที่บกพรองทางการเรียนรู - ๑๕,๐๐๐ -๑๕,๐๐๐ ไมเพียงพออยางมาก

จากตารางที่ ๔.๔๘ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ของกรุงเทพฯ

พบวาทุกคนที่สัมภาษณอยูในสภาพรายรับ-รายจายไมเพียงพออยางมาก ถึง ๒ คน คิดเปน ๔๐ % ไมเพียงพอ ๓ คน คิดเปน ๖๐ % ซ่ึงจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้ทุกคน มีภาระคาใชจายในดานสุขภาพ (คายา คารักษาพยาบาล) การเลี้ยงดูหรือการดํารงชีวิต จึงเปนปญหาที่สําคัญ ขณะที่สวนหนึ่งไมประสงคจะบอกรายรับ-รายจาย เนื่องจากความเปนจริงไมมีรายได มีแตรายจาย และอีกสวนหนึ่งอาศัยอยูในสถานสงเคราะหจึงไมจําเปนสําหรับการมีรายได เพราะไดรับการดูแลพอสมควรแลว

Page 211: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๖

ในขณะที่ เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ที่ เสนอขอเพื่อ การดํารงชีวิตขั้นพื้นฐาน ดังนี้

ตารางที่ ๔.๔๙ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูเสนอขอ

ของจังหวัดกรุงเทพมหานคร

อันดับ ประเภทคนพิการ เบี้ยยังชีพที่ไดรับ เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ ผูปกครองคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๐๐๐ ๒ ผูปกครองคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๑๐,๐๐๐ ๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๐๐๐ ๔ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๐๐๐ ๕ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๖,๐๐๐ พิสัย ๓,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๕,๐๐๐

จากตารางที่ ๔.๔๙ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูทุกคนไมมีใคร

ไดรับเบี้ยยังชีพ แมแตรายเดียว และไดเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๓๐๐๐-๑๐,๐๐๐ บาท โดยมีคาเฉลี่ย =๕,๐๐๐ บาทตอเดือน หากพิจารณาความจําเปนในการขอเบี้ยยังชีพ เพียงวันละ๑๖๗ บาท นอยกวาคาแรงขั้นต่ํา ขณะเดียวกันหากเทียบกับเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชใน การกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในกรุงเทพมหานคร ๑,๗๗๓ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) ซ่ึงมากกวาเสนความยากจนในกรุงเทพฯ เพียง ๒.๘๒ เทา และการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางในประภาส ปนตบแตง, ๒๕๔๔) คาใชจายเฉพาะคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนระดับที่ ๑ อยูที่ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท ยังไมรวมคาใชจายอื่นๆ จึงเห็นไดวา คาเฉลี่ยที่คนพิการระดับรุนแรงเสนอขอ สอดคลองกับการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ ซ่ึงสอดคลองกับสภาพการณปจจุบันที่คนพิการกลุมนี้มีความจําเปนและควรไดรับเบี้ยยังชีพ

สําหรับเบี้ยยังชีพสําหรับคนพิการระดับรุนแรง เปนทางหนึ่งที่จะชวยบรรเทาความเดือดรอน ดังที่คุณอมร กลาววา “ ส่ิงสําคัญสําหรับคนพิการที่เขาไมสามารถชวยเหลือตนเองไดเลย นาจะมีเบี้ยยังชีพ ตอนนี้เทาที่เห็นก็มีเดือนละ ๕๐๐ บาท ที่ อบจ. สําหรับคนที่ไปจดทะเบียนคนพิการ แตผมคิดวามันไมเพียงพอแลวสําหรับสถานการณปจจุบัน นาจะเพิ่มใหเขาอีก ...อยางต่ํานาจะ ๒,๐๐๐ บาทตอเดือนถึงจะ

Page 212: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๗

เพียงพอตอการยังชีพ แตคนพิการก็ตองหาเลี้ยงตัวเองดวย อีกอยางนาจะมีในเรื่องของกองทุนกูยืมเพื่อ การประกอบอาชีพของคนพิการ ซ่ึงตอนนี้ก็มีอยูของแตละจังหวัดอยางในหมูบานก็มี อาจจะกูไดประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาทแลวก็ผอนใชไป โดยไมมีดอกเบี้ย” ดังตารางที่ ๔.๕๐

ตารางที่ ๔.๕๐ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูของจังหวัดนครปฐม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ

๑ คนพิการทางสติปญญาฯ ๑,๕๐๐ ๑,๖๐๐ -๑๐๐ ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางสติปญญาฯ ๒,๐๐๐ ๓,๒๐๐ -๑,๒๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๓ คนพิการทางสติปญญาฯ ๕๐๐ ๔๐๐๐ -๓,๕๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๔ คนพิการทางกาย/การมองเห็น ๒๐๐ ๓๐๐๐ -๒,๘๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๕ ผูปกครองดูแลคนพิการฯ NA NA - ไมเพียงพอ

จากตารางที่ ๔.๕๐ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ของจังหวัด

นครปฐม พบวา ทุกคนที่สัมภาษณอยูในสภาพรายรับ-รายจายไมเพียงพออยางมาก ถึง ๓ คน คิดเปน ๖๐ % ไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔๐ % ซ่ึงจะเห็นไดวาคนพิการกลุมนี้ทุกคน มีภาระคาใชจายใน ดานสุขภาพ (คายา คารักษาพยาบาล) การเลี้ยงดูหรือการดํารงชีวิต จึงเปนปญหาที่สําคัญ ขณะที่สวนหนึ่งไมประสงคจะบอกรายรับ-รายจาย เนื่องจากความเปนจริงไมมีรายได มีแตรายจาย และอีกสวนหนึ่งอาศัยอยูในสถานสงเคราะหจึงไมจําเปนสําหรับการมีรายได เพราะไดรับการดูแลจากสถานสงเคราะหแลว

ในขณะที่ เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ที่ เสนอขอเพื่อ การดํารงชีวิตขั้นพื้นฐาน ดังนี้

Page 213: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๘

ตารางที่ ๔.๕๑ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูเสนอขอของจังหวัดนครปฐม

เบี้ยยังชีพคนพิการ

ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไดรับ ๕๐๐.- ๒,๐๐๐

๒ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๖,๐๐๐

๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๔ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๕ ผูปกครองดูแลผูพิการสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๐๐๐

พิสัย ๒,๐๐๐-๖.๐๐๐ คาเฉลี่ย ๓,๔๐๐

จากตารางที่ ๔.๕๑ พบวาคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ทุกคนมีเพียงราย

เดียวที่ไดรับเบี้ยยังชีพ นอกนั้นไมไดรับเบี้ยยังชีพ และไดเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๒,๐๐๐-๖,๐๐๐ บาท โดยมคีาเฉลี่ย ๓,๔๐๐ บาทตอเดือน หากพิจารณาความจําเปนในการขอเบีย้ยังชีพ เพียงวันละ ๑๑๓ บาท ยังนอยกวาคาแรงขั้นต่ําอีก ขณะเดียวกันหากเทียบกับเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ ในภาคกลาง ๑,๓๐๕บาทตอคนตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. อางแลว) ซ่ึงมากกวาเสนความยากจนในภาคกลางเพียง ๒.๖๐ เทา และการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางในประภาส ปนตบแตง, ๒๕๔๔) คาใชจายเฉพาะคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนระดับที่ ๑ อยูที่ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท ยังไมรวมคาใชจายอื่นๆ ที่ต่ํากวาคาครองชีพที่เปนคาใชจายในชีวิต คาเฉลี่ยที่ คนพิการระดับรุนแรงสอดคลองกับการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ ซ่ึงสอดคลองกับสภาพการณปจจุบันที่คนพิการกลุมนี้มีความจําเปนอยางยิ่ง

Page 214: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๑๙๙

ตารางที่ ๔.๕๒ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูของจังหวัดเช ียงใหม

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมพอเพียง

๑ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๕๐๐ ๒,๐๐๐ -๑,๕๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๒ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๓,๐๐๐ ๖,๖๐๐ -๓,๖๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๘,๐๐๐ ๗,๑๖๖ ๘๓๔ เพียงพอ ๔ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๕,๐๐๐ ๙๐๘ ๔,๐๙๒ เพียงพอ ๕ ผูปกครองคนพิการฯ ๔๐,๐๐๐ ๓๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ เพียงพอ

จากตารางที่ ๔.๕๒ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูของจังหวัด

เชียงใหม ทุกคนที่สัมภาษณอยูในสภาพรายรับ-รายจายไมเพียงพออยางมาก ๒ คน คิดเปน ๔๐ % เพียงพอ ๓ คน คิดเปน ๖๐% ความไมพอเพียงเนื่องจากคนพิการกลุมนี้ทุกคน มีรายไดไมแนนอน มีอาชีพรับจางและมีภาระคาใชจายในดานสุขภาพ การเลี้ยงดูหรือการดํารงชีวิต จึงเปนปญหาที่สําคัญ ขณะที่อีกกลุมที่มีความเพียงพอ เนื่องจากมีรายไดมั่นคงจากการรับราชการ และอีกสองคนมีรายไดจากผูปกครองไดรับบํานาญและคาขาย รวมถึงมีฐานะคอนขางดี ในขณะที่เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ที่เสนอขอเพื่อการดํารงชีวิตขั้นพื้นฐาน ดังตารางที่ ๔.๕๓

ตารางที่ ๔.๕๓ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูเสนอขอ

ของจังหวัดเชียงใหม

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๑,๕๐๐

๒ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๕๐๐

๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๔ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๑,๐๐๐

๕ ผูปกครองคนพิการ ไมไดรับ ๑,๕๐๐

พิสัย ๑,๐๐๐-๓,๕๐๐ คาเฉลี่ย ๒,๑๐๐

Page 215: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๐

จากตารางที่ ๔.๕๓ พบวาคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ทุกคนไมไดรับเบี้ยยังชีพเลย และไดเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๐๐๐-๓,๕๐๐ บาท คาเฉลี่ยของเบี้ยยังชีพ = ๒,๑๐๐ บาทตอเดือน เบี้ยยังชีพที่เสนอขอต่ํากวาจังหวัดอื่นๆ เพราะคนที่มีความพอเพียงเปนคนมีฐานะคอนขางดี เปนผูนํากลุม และมีฐานคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ พออยูและพึ่งตนเอง หากพิจารณาความจําเปนในการขอเบี้ยยังชีพ เฉลี่ยวันละ ๗๐ บาท เทียบกับคาแรงขั้นต่ําซึ่ง ต่ํากวาถึง ๓ เทา ขณะเดียวกันหากเทียบกับเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนด ความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ในภาคเหนือรวม ๑,๑๔๘บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) คนพิการเสนอขอมากกวาเสนความยากจน เพียง๑.๘๒ เทา และจากเดิมที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหการสงเคราะหผูมีรายไดนอย ใหกับผูที่มีรายไดต่ํากวา ๒,๐๐๐ บาทตอเดือน จึงเปนเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ จึงสอดคลองกับเกณฑการกําหนดของกระทรวงสาธารณสุข และสอดคลองกับสภาพการณปจจุบันที่คนพิการกลุมนี้มี ความจําเปนตองไดรับการชวยเหลือ ตารางที่ ๔.๕๔ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูของจังหวัดอุบลราชธานี

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ

๑ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๑๙,๑๒๐ ๑,๙๔๐๐ -๒๘๐ ไมเพียงพอ ๒ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๕.๐๐๐ ๖,๕๐๐ -๑,๕๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๖,๐๐๐๐/Job ๑๒,๐๐๐ NA ไมเพียงพอ ๔ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๕,๐๐๐ ๕,๒๐๐ -๒๐๐ ไมเพียงพอ ๕ ผูปกครองดูแลคนพิการทางสติปญญา ๑๓,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ ๑,๐๐๐ เพียงพอ ๖ ผูปกครองดูแลคนพิการทางสติปญญา - - - -

จากตารางที่ ๔.๕๔ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ของจังหวัด

อุบลราชธานี ทุกคนที่สัมภาษณอยูในสภาพของการมีรายรับ-รายจายไมเพียงพออยางมาก ๑ คน คิดเปน ๑๖.๖๖ % ไมเพียงพอ ๔ คน คิดเปน ๖๖.๖๔ % เพียงพอ ๑ คน คิดเปน ๑๖.๖๖% ความไมเพียงพอ เนื่องจากคนพิการกลุมนี้ทุกคน มีภาระคาใชจายในดานสุขภาพ (คายา คารักษาพยาบาล) การเลี้ยงดูหรือการดํารงชีวิต จึงเปนปญหาที่สําคัญ แมวาคนพิการคนหนึ่งจะมีอาชีพเขียนโปสเตอรมีรายไดดี แตรายจาย

Page 216: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๑

สูงก็ไมเพียงพอ และงานไมแนนอนมีงานเปนชวงๆ ขณะที่ผูปกครองคนหนึ่งมีรายไดจากเงินบํานาญ ในขณะที่เบี้ยยังชีพคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ที่เสนอขอ ดังตารางที่ ๔.๕๕

ตารางที่ ๔.๕๕ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรูเสนอขอ

ของจังหวัดอุบลราชธานี

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ

ประเภทคนพิการ

เบื้อยังชีพที่ไดรับ ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๑๒,๐๐๐

๒ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไดรับปละ ๒,๐๐๐ -

๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๕,๐๐๐

๔ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ -

๕ ผูปกครองดูแลคนพิการทางสติปญญา ไมไดรับ ๕,๐๐๐

๖ ผูปกครองดูแลคนพิการทางสติปญญา ไมไดรับ ๖,๐๐๐

พิสัย ๕,๐๐๐-๑๒,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๗,๐๐๐

จากตารางที่ ๔.๕๕ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู มีเพียงคนเดียวที่

ไดรับเบี้ยยังชีพ ปละ ๒,๐๐๐ บาทเฉลี่ยเดือนละ ๑๖๖.๖๖ บาทนอกนั้นไมไดรับเบี้ยยังชีพเลย และไดเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๕,๐๐๐-๑๒,๐๐๐ บาท คาเฉล่ียของเบี้ยยังชีพ = ๗,๐๐๐ บาทตอเดือน หากพิจารณาถึงความจําเปนในการขอเบี้ยยังชีพ เพียงวันละ๒๓๓.๓๓ บาท ใกลเคียงกับคาแรงขั้นต่ํา กรณีที่คนพิการคนหนึ่งเสนอขอเบี้ยยังชีพสูงถึงเดือนละ ๑๒,๐๐๐ บาทตอเดือนนั้น เพราะมีความตองการจายคาคนดูแลหรือคนชวยเหลือเปนเงินเดือน รวมกับเบี้ยยังชีพคนพิการยอดจึงสูง ขณะเดียวกันหากเทียบกับเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวม ๑๐๗๑ บาทตอคนตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางแลว) คนพิการเสนอขอมากกวาเสนความยากจน เพียง ๔.๔๓ เทา ขณะที่การศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางในประภาส ปนตบแตง, ๒๕๔๔) คาใชจายเฉพาะคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนระดับที่ ๑ อยูที่ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท จึงเปนเบี้ยยังชีพที่เสนอขอ

Page 217: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๒

จึงสอดคลองกับการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ ซ่ึงสอดคลองกับสภาพการณปจจุบันที่คนพิการกลุมนี้มีความจําเปนตองไดรับการชวยเหลือ

ตารางที่ ๔.๕๖ แสดงรายรับ –รายจายของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาฯของจังหวัดสงขลา

ความพอเพียงของรายได/เดือน ลําดับ ประเภทคนพิการ รายรับ รายจาย เหลือ พอเพียง/ไมเพียงพอ

๑ ผูปกครองดูแลคนพิการทางสติปญญา ๒๕,๐๐๐ ๑๘,๐๐๐ ๗,๐๐๐ เพียงพอ ๒ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๑,๕๐๐ ๖,๘๐๐ -๕,๓๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู NA NA NA ไมเพียงพอ ๔ ผูปกครองทางสติปญญาฯ ๘,๐๐๐ ๑๔,๐๐๐ -๖,๐๐๐ ไมเพียงพออยางมาก ๕ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู NA NA NA ไมเพียงพอ

จากตารางที่ ๔.๕๖ พบวา คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ของจังหวัดสงขลา

ทุกคนที่สัมภาษณอยูในสภาพของการมีรายรับ-รายจายไมเพียงพออยางมาก ๒ คน คิดเปน ๔๐ % ไมเพียงพอ ๒ คน คิดเปน ๔๐ % เพียงพอ ๑ คน คิดเปน ๒๐% ความไมเพียงพอเนื่องจากคนพิการกลุมนี้ทุกคน มีภาระคาใชจายในดานสุขภาพ (คายา คารักษาพยาบาล) การเลี้ยงดูหรือการดํารงชีวิต จึงเปนปญหาที่สําคัญ แมวาผูปกครองคนพิการคนหนึ่งจะมีฐานะดี รายไดดี จากการคาขายทําใหไมเดือดรอน ในขณะที่เบี้ยยังชีพของคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ที่เสนอขอ ดังตารางที่ ๔.๕๗

ตารางที่ ๔.๕๗ แสดงเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาฯของจังหวัดสงขลา

เบี้ยยังชีพคนพิการ ลําดับ ประเภทคนพิการ เบื้อยังชีพที่ไดรับ

ระดับรุนแรงที่เสนอขอ

๑ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓,๐๐๐

๒ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๔,๐๐๐

๓ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๑,๐๐๐

๔ ผูปกครองทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไมไดรับ ๓๐,๐๐๐

๕ ผูปกครองดูแลคนพิการทางสติปญญา ไมไดรับ ๒,๐๐๐

พิสัย ๑,๐๐๐-๓๐,๐๐๐ คาเฉลี่ย ๘,๐๐๐

Page 218: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๓

จากตารางที่ ๔.๕๗ พบวาคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู ทุกคนไมไดรับเบี้ยยังชีพ และไดเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสม มีพิสัยอยูระหวาง ๑,๐๐๐-๓๐,๐๐๐ บาท คาเฉลี่ยของ เบี้ยยังชีพ = ๘,๐๐๐ บาทตอเดือน หากพิจารณาความจําเปนในการขอเบี้ยยังชีพ เพียงวันละ ๒๖๖.๖๖ บาท มากกวาคาแรงขั้นต่ําเกือบเทาตัว การเสนอขอเบี้ยยังชีพกลุมนี้มีความแตกตางกันมาก ตั้งแต ๑,๐๐๐ บาทที่มองวาแมตัวเองจะมีรายไดไมมาก (ขอไมระบุ) ขอใหไดบางพอประมาณ จากเดิมที่กําหนดเพียง ๕๐๐ บาท ตามแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง แตผูปกครองที่เสนอขอถึง ๓๐,๐๐๐ บาทตอเดือนใหเหตุผลที่นาสนใจคือ

“ที่จะครอบคลุมคาใชจายสําหรับผูพิการระดับรุนแรง คารักษาพยาบาล คาใชจายเบ็ดเตล็ด คาเดินทาง

เฉพาะคาเดินทางเดือนหนึ่งตกเปนหมื่น เฉพาะคารถอยางเดียว ในการที่จะมาโรงเรียน สถานที่เขาอยูทุงสงแตที่ทุงสงไมมีโรงเรียนแบบนี้ ถาอยูในตัวจังหวัดคารถคาใชจายสวนนี้จะตัดออกไปได โรงพยาบาลยังไมมีการรักษาเด็กออทิสติก แตละคนก็คาใชจายไมเหมือนกันไมเทากันโดยเฉลี่ยเดือนหนึ่งประมาณ ๓,๐๐๐๐ บาท ครอบคลุมถึงคาเลี้ยงดูประจํา”

หากเทียบกับเสนความยากจน (Poverty Line) ที่ใชในการกําหนดความยากจนของคนที่

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดวา คนยากจนมีรายไดต่ํากวาเสนความยากจน ในป ๒๕๔๗ในภาคใตรวม ๑,๑๙๐ บาทตอเดือน (สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได สศช. , อางอิง) คนพิการเสนอขอมากกวาเสนความยากจน เพียง ๖.๗๒ เทา ขณะที่การศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ (๒๕๓๐ อางในประภาส ปนตบแตง, ๒๕๔๔) คาใชจายเฉพาะ คาอุปโภคบริโภคที่จําเปนระดับที่ ๑ อยูที่ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท ระดับที่ ๒ จายคาอุปโภคบริโภคที่จําเปน มีที่อยูอาศัยเปนบานเชาหรือหองเชาในชุมชนแออัดอยูที่ ๗,๐๐๐-๘,๐๐๐ บาท จึงเปนเบี้ยยังชีพที่เสนอขอสอดคลองกับการศึกษาของสมพงษ พัดปุยและคณะ และมีความเหมาะกับสภาพการณปจจุบันที่คนพิการ “กลุมยากลําบากมาก” ที่มีความจําเปนตองไดรับการดูแลชวยเหลืออยางเต็มที่

๕) ดานนันทนาการ คนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู มีปญหาหรือความบกพรองทางการเรียนรู ไมสามารถชวยตัวเองได ในการทํากิจกรรมประจําวัน ตลอดเวลามีการทํากิจกรรมไมอยูนิ่ง การดํารงชีวิตในประจําวันจึงแตกตางจากกลุมอื่นๆ ที่ไมสามารถควบคุมสภาพรางกาย และการเรียนรูไดเชนกลุมอื่นๆ เหตุนี้การบริการดานนันทนาการจึงอาจมีความจําเปน หรือแตกตางกับกลุมอื่นๆ ดังที่คุณอมร กลาววา “คนที่เปนออทิสติก อีกอยางหนึ่งคือ คนที่ไมส่ือสารกับใคร เราจะตองพาเขาไปหา นักหัตถบําบัด คือ นักฝกพูด นั่นเอง แลวก็มีดนตรีบําบัดเพื่อใหเขาคลายเครียด เพราะคนที่เปนออทิสติก สติเขาจะมีอารมณแปรปรวนอยางการเขาหองน้ํา เขายังสื่อสารไมได เราก็อาจสื่อสารเปนรูปภาพแทน เชน อยากเขาหองน้าํก็

Page 219: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๔

เอารูปหองน้ําไปแปะหรือเอามาใหดูก็จะสื่อสารกันได” จึงตองใหมีการนันทนาการกับผูปกครองรวมดวย การจัดลานกีฬา และอุปกรณ การผอนคลายความตึงเครียด จึงเปนสิ่งจําเปนที่ตองสงเสริมนันทนาการใหกับคนกลุมนี้ ขณะที่ผูปกครองคนพิการ กลาววา “ไมหวาเหว มีเพื่อนผมที่เขามาเที่ยวที่เชียงใหม มาพักที่บาน เขาบอกวาสงสัยลูกผมเนี่ย จะเปนคนที่มีความสุขที่สุดในเชียงใหม Happiness Girl in Changmai ” นอกจากนี้ควรมีกิจกรรมที่สนุกสนานใหกับเด็กพิการกลุมนี้ ดังวา

“ควรจะมีกิจกรรมที่เขาชอบ เขาสนุก ในขณะเดียวกัน ก็เปนเหมือนกับชีวิตปกติของคนทั่วไป คือตองพยายามทําอยางนี้ ผมวาหลักการนาจะเปนอยางนี้ คือ คิดถึงการใชชีวิตปกติเหมือนกับเราๆอยางนี้ เชน เขาไปทํางาน ไปสนุกสนาน ไปอะไรๆก็จัดอนันั้นใหมันมีขึ้น แลวไมจําเปนตองสําหรับไมใชวานันทนาการสําหรับคนพิการ ก็นันทนาการสําหรับคนทั่วๆไปนี่แหละครับ แตใหคนพิการไปรวม โรงเรียนก็ไมใชโรงเรียนสําหรับคนพิการ แตเปนโรงเรียนทั่วๆไป แลวคนพิการเขาไปเรียน ไมใชเปนจัดแบบเดิม ที่เปนแบบวาสถานสงเคราะห มีแตคนพิการอยางนี้ จะเสื่อมโทรมเร็วมาก แลวก็จะไมไดเอื้อตอการสงเสริมความสามารถคนพิการ

๖) ดานความมั่นคงและการยอมรับ

ครอบครัวเปนจุดที่สําคัญที่สุด ที่คนพิการประเภทตางๆ ตองดํารงชีวิต คลุกคลีกับญาติพี่นองหรือบุคคลในครอบครัว การปรับตัว การแสดงศักยภาพในการชวยเหลือ ไมวาจะเปนงานบาน หรือส่ิงอื่นใดคนพิการตางพยายามแบงเบาภาระ แตคนพิการระดับรุนแรงอาจชวยตัวเองไมได ครอบครัวจึงเปนแรงหนุนที่สําคัญ ดังที่คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู กลาววา

“ในความหลากหลายของสังคมยังมีญาติหรือครอบครัวยินดีจะดูแลเองก็มี หรือทายสุดจะมีครอบครัวที่ไม

อยากจะดูแล จะบังคับเขาดูแลทําไม คนพิการรุนแรงคนนั้นอาจจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีกวาใหอยูในแหลงที่เราจัดไวให เพราะตัวระบบใหเรายืดหยุนไดมาก ตัวคนพิการคนนั้นตองเปนตัวต้ัง เลือกได เขามีสวนรวมชะตาชีวิตเขาดวย แตวาเรามีระบบตางๆ รองรับไวเปนทางเลือกเขาได”

ขณะที่ผูปกครองคนพิการออทิสติก กลาววา “สิทธิเหลานี้มันจะเกิดอัตโนมัติเลย ถาภาครัฐจัดการใหผูพิการเปนสวนหนึ่งของสังคม เปนที่ยอมรับใหได สิทธิมันจะเกิดอัตโนมัติ ซึ่งภาครัฐตองทําใหอยูรวมกันได ความชวยเหลือก็จะเกิดขึ้นมีการผลักดันโดยอัตโนมัติ แตขณะนี้ผูพิการเหมือนไมมีสิทธิ์ในสังคม”

การยอมรับในสิทธิของคนพิการที่เกิดขึ้น เปนจุดสําคัญที่จะเกิดการอยูรวมกัน ดังวา “การยอมรบัใหกําลังใจเปนสิ่งที่สังคมควรหยิบยื่นใหกับคนพิการเปนพื้นฐาน ซ่ึงบางคนไมสามารถชวยในเรื่องของ

Page 220: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๕

เงินทองไดก็ชวยในเรื่องการใหกําลังใจการไมรังเกียจ” ขณะเดียวกันการใหกําลังใจ การสราง ความเชื่อมั่นใหกับคนพิการปรับตัวที่อาศัยคนในครอบครัว ดังวา “กําลังใจการยอมรับในตัวของเขา การปฏิบัติตอตัวเขา ส่ิงนี้สําคัญมากกวาเงิน อยางบางคนพิการแลวคนที่บานก็ไมยอมพาออกมาในชุมชน เพราะอาย ยิ่งจะทําใหสบายจิตใจ คนพิการย่ําแยกันไปใหญ เพราะฉะนั้นคนในครอบครัว ตองยอมรับตรงนี้ใหไดดวยคนรอบขางก็ตองใหกําลังใจดวย ดังนั้นการเปดโอกาสใหกับคนพิการมีสิทธิมีสวนรวมในสังคมจะชวยเปนพลังหรือกําลังใจใหคนพิการ ดังที่รองผูอํานวยการศูนยการศึกษาพิเศษ เขต ๑ กลาววา “การยอมรับของคนในสังคม การเปดโอกาสใหกับคนพิการระดับรุนแรงอยางมาก อยามองเพียงแคความสงสาร ควรถือวาเขาเปนคนในสังคมเหมือนกับเรา การใหคือเราควรใหวิธีการที่ดีกวาใหเพียงทรัพยสินเงินทอง เชนในเรื่องการศึกษา ในเรื่องการฝกอาชีพ เพื่อที่เขาจะไดชวยเหลือพึ่งพาตัวเองได อยูในสังคมไดอยางปกติสุข”

คนพิการมักมีความเขมแข็งในการตอสูกับชีวิต ตามหลักการเพื่อใหชีวิตดํารงอยู ไมทอแท

สามารถที่จะปรับตัวในสังคมได คนพิการระดับรุนแรงไมอยากเปนภาระกับใคร พยายามชวยตัวเองแตก็มีบางคนที่ไมสามารถชวยตัวเองได ดังที่คนพิการระดับรุนแรงกลาววา “คนที่ดูถูกเหยียดหยาม เราไมตองไปหรอก มันตองดี มันตองได ถาเราพยายาม แตถาเราทอแท มันก็ไมได มันก็อด ส่ิงสําคัญเลยและก็ตัวคนพิการเอง ตองชนะตัวเองใหได อยางที่ผมวา หลายคนคิด หลายคนทอแท หลายคนมีความตั้งใจ ขาดหลักวิชาการ ขาดการแนะนําที่ดี ขาดครอบครัวที่ใหการสนับสนุน” ดังนั้นการเปดโอกาสใหกับคนพิการมีสิทธิมีสวนรวมในสังคมจะชวยเปนพลังหรือกําลังใจใหคนพิการ

ดังที่คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู กลาววา “ปฏิเสธไมคอยมี แลวอีกเรื่องทางดานการใชชีวิตในสังคม อยากใหสังคมรูเรื่องออทิสติกมากขึ้น ใหเคา

เปดใจ เคายังใหอภัย เคาไมเช่ือ เคาจะไมฟงเหตุผลเลย เมืองหาดใหญเปนเมืองเปด โอกาสที่จะเห็นเด็กพวกน้ีคอนขางมาก ก็พาไปรานอาหารที่เพื่อนเขาใจ เดินๆไป ลําบากมากเลย ก็โดนปฏิเสธตลอด”

Page 221: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๖

ตารางที่ ๔.๕๘ สรุปการไดรับสวัสดิการสําหรับคนพิการระดับรุนแรงทางสติปญญาหรือการเรียนรู สภาพการไดรับสวัสดิการ

ประเภทสวัสดิการ ประเด็น การไดรับ แนวทางที่ควรจะเปน เหมาะสม ไมเหมาะสม

ดานการศึกษา เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อการพัฒนา

/ /

บางจังหวัดไมมีโรงเรียนเฉพาะ

-จัดทําแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล -จัดการเรียนเฉพาะกลุม -จัดอบรมการดูแลคนพิการกลุมนี้ -การศึกษานอกระบบ -จัดเตรียมความพรอมดานการศึกษา

ดานสุขภาพ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยู สุขภาพดี เพื่อการเขาถึงบริการ

/ /

ทุกจังหวัดมีแหลงบริการเขาถึงและสะดวก

เนนการดูแลสุขภาพ การเยี่ยมบานมากขึ้นHome Health Care จัดชองทางดวนใหกับคนพิการสามารถเขาถึงไดสะดวก

ดานอาชีพและรายได

เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ

/ / /

-สงเสริมอาชีพเสริมใหกับคนพิการที่มีศักยภาพ สรางรายไดเสริมในรูปแบบตางๆ -การเสริมอาชีพที่เปนความตองการของตลาดและการจางงานมากขึ้นใหกับผูปกครอง -จัดศูนยฝกอาชีพประจําอําเภอ

ดานบริการสังคม เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความสะดวกในชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/ / /

-ควรจัดผูชวยเหลือใหคนพิการ -การบริการสังคมใหคนพิการอยางเพียงพอ -การเขาถึงขาวสาร บริการดานตางๆ -ผูดูแลไดรับเงินเดือนจากรัฐ รวมถึงจัดสวัสดิการและเบี้ยยังชีพที่จําเปน

ดานนันทนาการ เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อความเปนอยูที่ดี

/

/

ควรมีการจัดอุปกรณที่เหมาะสมกับคนพิการ

ดานความมั่นคง เพื่อการดํารงชีวิต เพื่อการยอมรับ

/ /

-สรางการยอมรับในชุมชน -ใหสิทธิและโอกาสกับคนพิการในการมีสวนรวมในสังคม

Page 222: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๗

การประมาณการในการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ที่ชวยตัวเองไมได จากการเก็บขอมูลในพื้นที่ ๔ ภูมิภาคและกรุงเทพฯ คนพิการระดับรุนแรง ทุกประเภทเสนอขอเบี้ยยังชพีที่เหมาะสม (คาเฉลี่ยบาทตอคนตอเดือน) แยกตามประเภทความพิการ โดยมีกรุงเทพฯเสนอขอสูงสุด = ๓,๗๒๔.๘๐ บาทตอเดือน และจังหวัดเชียงใหมเสนอขอต่ําสุด = ๒,๘๙๒.๖๖ บาทตอเดือน สวนประเภทความพิการ โดยคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรูเสนอขอมากที่สุด =๕,๑๐๐ บาท ตอเดือนและคนพิการทางการมองเห็นเสนอขอต่ําสุด = ๒,๒๘๕ บาทตอเดือน เบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงเสนอขอเฉลี่ย = ๓๔๕๙.๔๕ บาทตอเดือน ดังตารางที่ ๔.๕๙

ตารางที่ ๔.๕๙ แสดงสรุปเบี้ยยังชีพที่เสนอขอแยกตามจังหวัดและแยกตามประเภทความพิการ

อัน

จังหวัด เบี้ยยังชีพที่เสนอขอแยกตามประเภทความพิการ

รวมเบี้ยยังชีพที่ ดับ ทางการมองเห็น ทางการสื่อ

ความหมาย ทางกายหรือการเคลื่อนไหว

ทางจิตใจหรือพฤติกรรม

ทางสติปญญาหรือการเรียนรู

เสนอขอ

๑ กรุงเทพฯ ๓,๑๒๕ ๔,๕๐๐ ๓,๘๓๓.๓๓ ๒,๑๖๖.๖๖ ๕,๐๐๐ ๓,๗๒๔.๘๐ ๒ นครปฐม ๒,๐๐๐ ๑,๘๓๓.๓๓ ๔,๖๗๘.๕๗ ๒,๕๐๐ ๓,๔๐๐ ๓,๕๘๔.๘๐ ๓ เชียงใหม ๓,๒๐๐ ๒,๑๘๐ ๓,๗๕๐ ๓,๒๓๓.๓๓ ๒,๑๐๐ ๒,๘๙๒.๖๖ ๔ อุบลราชธานี ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๒,๗๕๐ ๔,๗๕๐ ๗,๐๐๐ ๓,๕๔๐ ๕ สงขลา ๑๙๐๐ ๒,๑๒๕ ๒,๗๕๐ ๓,๐๐๐ ๘,๐๐๐ ๓,๕๕๕

พิสัย ๑,๒๐๐-๓,๒๐๐ ๑,๒๐๐-๔,๕๐๐ ๒,๗๕๐-๔,๖๗๘.๕๗ ๒,๑๖๖.๖๖-๔,๗๕๐ ๒,๑๐๐-๘,๐๐๐ ๒,๘๙๒.๖๖-๓,๗๒๔.๘๐

รวมเฉลี่ย ๒,๒๘๕ ๒,๓๖๗.๖๖ ๓,๕๕๒.๓๘ ๓,๑๒๙.๙๘ ๕,๑๐๐ ๓๔๕๙.๔๕ จากขอมูลในเรื่องการจัดสวัสดิการที่เหมาะสม โดยเฉพาะเบี้ยยังชีพ หากพิจารณาจะพบวา

คนพิการระดับรุนแรงที่ใหขอมูล สวนใหญไมคอยไดรับเบี้ยยังชีพ เนื่องจากการจัดเบี้ยยังชีพในปจจุบันขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน (เทศบาล และอบต.) จะเปนผูพิจารณาจัดเบี้ยยังชีพใหกับคนพิการระดับรุนแรงในลักษณะของความจําเปน ความเดือดรอนและคนที่ยากจนจริงๆ กอน ขณะเดียวกันการจัดสรรเบี้ยยังชีพยังมีปญหาและอุปสรรคในกรณีที่อาจยังไมเปนธรรมในบางพื้นที่ จึงทําใหการไดรับเบี้ยยังชีพไมครอบคลุมและทั่วถึงเพียงพอ นอกจากนี้ เกณฑในการพิจารณาตัดสินอยูที่ทางทองถ่ินวาจะจัดงบประมาณเทาใด และยังไมมีหลักประกันหรือเกณฑที่แนชัดวา คนพิการระดับรุนแรงตองไดรับทุกคน เหตุนี้แนวทางของสวัสดิการชุมชนจะเปนทางออกหนึ่งในการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมใหกับคนพิการ

การวิจัยในครั้งนี้ สามารถสรุปสวัสดิการที่จําเปนและการไดรับสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรงตามประเภทตางๆ ดังตารางที่ ๔.๖๐

Page 223: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๘

ตารางที่ ๔.๖๐ สรุปสวัสดิการสังคมที่จําเปนและการไดรับสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรงตามประเภทตางๆ

ประเภท ความจําเปนและการไดรับสวัสดิการสังคมดานตางๆ

การศึกษา สุขภาพอนามัย การมีรายไดและอาชีพ

บริการสังคม นันทนาการ

คนพิการทางการมองเห็น

-การศึกษาในระบบ -การอบรมอาชีพ

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -บริการเชิงรุก -ชองทางดวน

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -การพัฒนาอาชีพครบวงจร -ศูนยฝกอาชีพ

-เบี้ยยังชีพเสนอขอ ๒,๒๘๕ -ชุมชนรวมดูแลและบริการในชุมชน

-ลานกีฬาและอุปกรณ -ลานดนตรี

คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

-การศึกษาในระบบ -การอบรมลาม ภาษามือ

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -ชองทางดวน -การสื่อสาร ลาม ภาษามือ

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -การพัฒนาอาชีพที่ครบวงจร ๔ P -สํานักจัดหางานแหงชาติ

-เบี้ยยังชีพที่เสนอขอ ๒๓๖๗.๖๖ บาท -ชุมชนรวมดูแลและรวมบริการ

-ล า น กี ฬ า แ ล ะอุปกรณ -สถานพักผอนหยอนใจ

คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว

-การศึกษาในระบบ -การอบรมอาชีพ

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -ชองทางดวน -บริการเชิงรุก

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -อาชีพครบวงจร ประสาน OTOP -ศูนยจัดหางานประจําอําเภอ

-เบี้ยยังชีพที่เสนอขอ ๓๕๕๒.๓๘ บาท -ชุมชนรวมดูแลและรวมบริการ Home Care

-ลานกีฬาและอุปกรณ -กายภาพบําบัด -แขงขันกีฬา

คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม

-การศึกษาพิเศษ -การอบรมการดูแล

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -ชองทางดวน -ยาที่มีคุณภาพ

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -การพัฒนาอาชีพผูปกครอง

-เบี้ยยังชีพที่เสนอขอ ๓๑๒๙.๙๘ บาท -บริการในชุมชน Home care

-ล า น กี ฬ า แ ล ะอุปกรณ -ส ถ า น พั ก ผ อ นหยอนใจ

คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู

-การศึกษาพิเศษ -การอบรมการดูแล

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -บริการเชิงรุก -ชองทางดวน

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -การพัฒนาอาชีพผูปกครอง

-เบี้ยยังชีพที่เสนอขอ ๕,๑๐๐ บาท -บริการในชุมชน Informal care

-ล า น กี ฬ า แ ล ะอุปกรณ -ส ถ า น พั ก ผ อ นหยอนใจ

พิสัยรวม ๕๐๐-๑๐,๐๐๐ บาท/คน คาเฉลี่ย ๓๔๕๙.๔๕ บาท/คน

Page 224: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๐๙

จากการวิเคราะหความจําเปนและการไดรับสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรง สามารถนํามาสรุปลําดับประเภทของคนพิการระดับรุนแรงที่ตองการสวัสดิการสังคมตามลําดับ ดังตารางที่ ๔.๖๑ ตารางที่ ๔.๖๑ สรุปความตองการบริการสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรงแตละประเภท ลําดับ บริการสวัสดิการสังคม ประเภทคนพิการที่ตองการสวัสดิการสังคม

ทางการ

มองเห็น ทางการไดยิน ทางกาย ทางจิตใจ ทางสติปญญา

๑ เบี้ยยังชีพ / / / / / ๒ การจางงาน / / / / ๓ การอบรมอาชีพ / / / / / ๔ การศึกษานอกระบบ / / / / / ๕ การมีอาชีพมั่นคงและ

ประกันรายได / / / / /

๖ การศึกษาในระบบ / / / ๗ บัตรทอง / / / / / ๘ บริการเชิงรุกทางสุขภาพ

Home Health Care / / / / /

๙ ชองทางดวนสุขภาพ / / / / / ๑๐ ยาทางจิตที่มีคุณภาพ / / ๑๑ Informal Care ,

Camp Hill / / / /

๑๒ การกูยืมเงินกองทุนฟนฟู / / / / ๑๓ การกูเงินกองทุนเงินลาน / / / / ๑๔ กองทุนสวัสดิการชุมชน / / / / / ๑๕ สิ่งอํานวยความสะดวก / / / / / ๑๖ ลานกีฬา และอุปกรณ / / / / ๑๗ ศูนย Day Care / / / ๑๘ ศูนย Service Link / / / / / ๑๙ ศูนยจัดหางานประจํา

อําเภอ / / / / /

Page 225: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๐

๒๐ ความมั่นคงและการยอมรับ

/ / / / /

๒๑ ศูนยที่พักรวม (Home Center )

/ / / / /

๔. รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคม ๔.๑ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรง

จากการสัมภาษณระดับลึกและการสนทนากลุมผูใหขอมูล คณะผูวิจัยไดประมวล รูปแบบสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการที่มีการจัดขึ้นในสังคมไทย ขอวิเคราะหตามกรอบการพัฒนาตามวงจรแหงความชั่วราย (Vicious Cycle) ประกอบดวย ความไมรู (การศึกษา) ความเจ็บปวย (สุขภาพ) ความจน (การมีอาชีพและรายได) สามารถแบงตามแหลงของงบประมาณ จําแนกเปน ๓ รูปแบบ คือ ๑) รูปแบบเชิงสถาบัน ๒) รูปแบบทวิลักษณ ๓) รูปแบบพหุภาคี ดังนี้ ๑. รูปแบบเชิงสถาบัน (Institutional Welfare Model) เปน “รูปแบบภาครัฐ”

การดําเนินงานโดยงบประมาณของรัฐและดําเนินการโดยรัฐ เปนรูปแบบของการใหสวัสดิการและการสงเคราะหควบคูกันไปทั้งในดานการบริการการศึกษา ดานสุขภาพอนามัย และ การประกอบอาชีพและรายได เปนหลัก ดังนี้

๑) ดานการศึกษา

แมวาคนทั่วไปจะสามารถศึกษาโดยไมเสียคาเลาเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษา ๑๒ ป แตรัฐกใ็หความสําคัญกับเด็กพิการ ไดจัดใหมีบริการการศึกษา โดยกระทรวงศึกษาธิการ ไดระบุวา “ปการศึกษา ๒๕๔๒ คนพิการที่อยากเรียนตองไดเรียน” จะมีหนวยงาน คือ “ศูนยการศึกษาพิเศษ” สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จะดูแลเด็กที่อยูในวัยเรียน อายุตั้งแต ๐-๑๙ ป ในแตละจังหวัดเปนผูรับผิดชอบ (สํานักนายกรัฐมนตรี, อางแลว : ๙๐-๙๓) โดยเปนโรงเรียนที่จัดที่อยูฟรี ไมมีคาเลาเรียนแตอยางใด ทางรัฐบาลชวยเหลือ และมีบุคลากรดูแลเรื่องนี้โดยเฉพาะ ซ่ึงจะมีการคัดกรองเด็กที่อยูในขายพิการ การชวยเหลือ มีการสงตอไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ สําหรับดานสุขภาพสงใหโรงพยาบาล ถาอยูในเกณฑอายุมากขึ้นก็จะสงไปฝกอาชีพ ไดมีการจัดการเรียนรวมระหวางเด็กปกติกับเด็กพิการ เด็กพิการจะไดรับการดูแลเปนพิเศษ ตามกระบวนการพัฒนาใหเด็กสามารถปรับตัวและไดจัดการศึกษา ดังนี้

Page 226: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๑

ตารางที่ ๔.๖๒ แสดงจํานวนสถานที่จัดการศึกษาใหกับคนพิการ แยกตามประเภทความพิการในประเทศ

สังกัด

ลําดับ ประเภทความพิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน(สพฐ)

การศึกษาเอกชน

องคกรเอกชน

โครงการเรียนรวมเด็กปกติ

การศึกษานอกโรงเรียน(กศน.)

๑ ทุกประเภท ๑๓ ศูนย/ ๖๓ แหง

ทุกแหง

๒ พิการทางการมองเห็น ๓ ๖ ๒ ๒๑ ๓ พิการทางการไดยินหรือการ

สื่อความหมาย ๓๑ ๑ ๒ ๓

๔ พิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู

๒๒ ๑๗ ๑๑

๕ พิการทางการเคลื่อนไหว ๓ ทุกโรงเรียน

นอกจากนี้ การศึกษานอกโรงเรียน สังกัดกระทรวงศึกษา ยังไดจัดหลักสูตรการศึกษา

นอกโรงเรียนสําหรับคนพิการ ที่สามารถปรับเปลี่ยนและประยุกตใชวิธีเรียนและการสอนใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพขอจํากัดดานการเรียนรูของกลุมผูเรียน (คูมือคนพิการ สทก., ๒๕๔๘ : ๓๑-๔๖)

จากขอมูลดังกลาวบงบอกวา รัฐไดจัดการศึกษาใหกับคนทั่วไปและคนพิการในแตละระดับและชวงวัยตางๆ ตามสิทธิที่พึงไดรับบริการในรูปของสถาบัน แตขณะเดียวกันคนพิการระดับรุนแรง ไมไดระบุหรือกลาวถึงวามีการจัดการศึกษาให คงมีการผสมผสานการดูแลในสถานสงเคราะห สังกัด กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม จํานวน ๙ แหง ทั้งนี้คงขึ้นอยูกับศักยภาพของคนพิการเหลานั้นวาจะมีความสามารถหรือสนใจการเรียนอยางไร ๒) ดานสุขภาพ รัฐไดใหความสําคัญกับเรื่องสุขภาพอนามัย ถือเปนสวัสดิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะคนพิการระดับรุนแรงที่ตองดูแลรักษาสุขภาพ ความเจ็บปวย อันมีขอจํากัดในสภาพรางกายและจิตใจ การรับบริการไดจัดทั้งในสถานบริการและนอกสถานบริการทั้งการสงเสริมสุขภาพ การปองกัน การรักษาพยาบาลและการฟนฟูสภาพ จากเดิมที่มีการสงเคราะหใหกับผูมีรายไดนอย แตปจจุบัน กระทรวงสาธารณสุขไดจัดระบบและมีนโยบายการสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนา

Page 227: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๒

(โครงการ ๓๐ บาท) (Universal Coverage) โดยมีการขึ้นทะเบียนบัตรทอง ใหกับประชาชนที่เสียคาบริการครั้งละ ๓๐ บาทในแตละครั้งของการเขารับบริการ และบัตรทองรักษาฟรี (ท.๗๔)ใหกับกลุม คนพิเศษ รวมถึงคนพิการทุกประเภทตามสิทธิของผูถือบัตร ๑๕ ประการ ซ่ึงคนพิการไดรับสิทธิ ดวยการแจกบัตรใหประชาชนทุกคนที่มีช่ือในทะเบียนบาน และกําหนดการรับบริการในสถานบริการที่ใกลบาน ดังนั้นจึงตองมีการขึ้นทะเบียนเพื่อรับบัตรทองเปนการคัดกรองผูมีสวัสดิการอื่นๆออกไป การขึ้นทะเบียนขอมีบัตรทองสําหรับคนพิการ ประกอบดวย ๑) สําเนาสมุดประจําตัวคนพิการ ๒) สําเนาบัตรประจําตัว ๓) สําเนาทะเบียนบาน กรณีพักอาศัยไมตรงกับทะเบียนบานใหเจาบานรับรองและการใหผูนําชุมชนในพื้นที่รับรองผูที่อาศัยอยูในทองถ่ิน แตมีทะเบียนบานอยูที่ อ่ืน (สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ, ๒๕๔๘ : ๒๘-๓๐, ถวัลย พบลาภและนรินทร สังขรักษา, ๒๕๔๓) เพื่อลดปญหาการไมสามารถเขาถึงบริการ รวมถึงเปดโอกาสใหเลือกสถานพยาบาลไดมากขึ้น คือ เพิ่มสถานพยาบาล ศูนยสุขภาพชุมชน (Primary Care Unit : PCU) โรงพยาบาลเอกชนที่เขารวมโครงการไดอีกดวย นอกจากนี้ การบริการทางการแพทย เปนบริการฟนฟูสมรรถภาพ โดยวิธีการทางการแพทยและคาใชจายในการรักษาพยาบาล คาอุปกรณ เพื่อปรับสภาพรางกาย ทางสติปญญาหรือทางจิตใจ หรือ การเสริมสรางสมรรถภาพใหดีขึ้นตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๓๗) ซ่ึงคนพิการที่จดทะเบียนตามมาตรา ๑๔ ไดรับบริการฟนฟูสมรรถภาพโดยวิธีทางการแพทย ครอบคลุมสิทธิประโยชน ๑๓ ประการ จากสถานพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข หรือสถานพยาบาลของกระทรวง ทบวง กรม หรือราชการสวนทองถ่ิน หรือรัฐวิสาหกิจที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกําหนดไมตองเสียคาใชจายในการรักษาพยาบาล และคาอุปกรณ (สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ : อางแลว) -กองทุนประกันสังคม ของสํานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ครอบคลุมสิทธิประโยชน ๗ ประการ คือ การเจ็บปวย คลอดบุตร เสียชีวิต ทุพพลภาพ สงเคราะหบุตร ชราภาพ และวางงาน โดยครอบคลุมสถานประกอบการที่มีลูกจางตั้งแต ๑ คนขึ้นไป -สวัสดิการขาราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ครอบคลุมกลุมขาราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ และบุคคลในครอบครัว ในเรื่องของคารักษาพยาบาลและคาเลาเรียนบุตร -การบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน (Basic Health Service) ของสถานพยาบาล เชน ศูนยบริการสาธารณสุขของกรุงเทพฯ โรงพยาบาลชุมชน การบริการปฐมภูมิในศูนยสุขภาพชุมชน (PCU) และสถานีอนามัยที่ใหบริการสงเสริม ปองกันและรักษาเบื้องตน (Primary Care) เชน การรักษาพยาบาล การสงตอผูปวย การตรวจสุขภาพ การสาธารณสุขมูลฐาน การควบคุมปองกันโรค การสงเสริมสุขภาพ การณรงคการกําจัดลูกน้ํายุงลายเพื่อปองกันไขเลือดออก ไขหวัดนก การสงเสริมการออกกําลังกาย โดยการเตนแอโรบิคเปนตน รวมทั้งอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน (ถวัลย พบลาภและนรินทร สังขรักษา, ๒๕๔๓)

Page 228: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๓

ตารางที่ ๔.๖๓ แสดงจํานวนสถานพยาบาลที่ใหบริการสําหรับคนพิการสังกัดหนวยงานที่ใหบริการ

ประเภท

สถาน พยาบาล

ที่สังกัด

ความพิการ สํานักงานปลัดกระทรวง

กรมการแพทย

กระทรวงศึกษา

กระทรวง กลาโหม

กระทรวง มหาดไทย

กทม.

๑) พิการทางการมองเห็น -ร.พ.ใหบริการอุปกรณเครื่องชวยการมองเห็น

๓๔ ๕ ๕ ๓ ๑ ๑

-สถานพยาบาลใหบริการไมเทาขาว

๖๐ ๒ ๑ - - -

๒) พิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

๕๑ ๓ ๔ ๓ ๑ ๒

๓) พิการทางการเคลื่อนไหว -สถานพยาบาลใหบริการทางกายอุปกรณเสริมและเทียม

๗๖ ๓ ๕ ๑ ๑ ๑

๔) พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม

กรมสุขภาพจิต ๓๘

- - - - -

๕) พิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู

-ร.พ.ราชานุกูล -ศูนยสงเสริมพัฒนาการเด็กภาคเหนือ

- - - - -

ขอมูล ณ เดือนมกราคม ๒๕๔๖ ที่มา : สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ, ๒๕๔๘ : ๑๐-๒๘ ๓) ดานรายไดและประกอบอาชีพ รัฐไดใหความสําคัญกับการมีอาชีพและรายได เพราะถือเปนหัวใจของการดํารงชีวิต หลายๆโครงการและหลายรูปแบบ โดยเฉพาะคนพิการระดับรุนแรงมีหนวยงานที่ใหบริการฝกอาชีพ ไดแก ศูนยบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ศูนยฟนฟูอาชีพคนพิการ ๘ ศูนยกระจายตามจังหวัดตางๆ เชน สมุทรปราการ ขอนแกน อุบลราชธานี ๒ แหง เชียงใหม นครศรีธรรมราช ลพบุรี และหนองคาย สวนหนวยงานที่ใหบริการจัดหางานให คนพิการ ไดแก ศูนยบริการ ณ จุดเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว อาคาร ๑ ช้ัน ๑ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด สํานักจัดหางานจังหวัด ๗๖ จังหวัด ฝายบริการ

Page 229: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๔

จัดหางาน กองบริการจัดหางาน และสํานักงานจัดหางานกรมการจัดหางานพื้นที่ ๑-๙ (สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ, ๒๕๔๘ : ๔๗-๔๙) ตารางที่ ๔.๖๔ แสดงจํานวนสถานการฝกอาชีพของศูนยฝกอาชีพคนพิการ จําแนกตามอาชีพตางๆ

อาชีพ

ศู น ย พ ร ะประแดง ส มุ ท ร ปราการ

ศูนยขอน แกน

ศูนยทองพูนเผาพนัสอุบลราช ธานี

ศูนยหยาดฝนเชียงใหม

ศูนยนครศรี ธรรมราช

ศูนยลพบุรี

สถานฟนฟูภาคะวันออกเฉียงเหนืออุบลราชธานี

ศูนยหนอง คาย

๑) ชางตัดเย็บเสื้อผา / / / / / / ๒) ชางเย็บหนัง / / ๓) ชางอิเล็คทรอนิคส

/ / / / /

๔) ชางไฟฟาและเครื่องทําความเย็น

/ / / /

๕) คอมพิวเตอร / / ๖) ชางเสริมสวยและตัดผมชาย

/ / / / /

๗) ชางซอมจักรยานยนตและเครื่องยนตขนาดเล็ก

/ / / /

๘) วิชาชีพศิลป- หัตกรรม

/ / /

๙) นวดแผนโบราณ / / ๑๐) ชางเชื่อมโลหะและทํามุงลวด

/

๑๑) เพาะเห็ด / รวม ๕ ๔ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๗

ที่มา สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ คูมือคนพิการ ๒๕๔๘ : ๔๗-๔๘ จากการสัมภาษณระดับลึก และสนทนากลุมผูใหขอมูลหลัก พบวา มีโครงการเพื่อการอาชีพที่

หลากหลาย ไดแก

Page 230: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๕

โครงการฝกอาชีพของภาครัฐ มีหลายหนวยงานเขาไปดําเนินการ ประกอบดวย -โครงการเงินกองทุนฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ คือ สวัสดิการรายบุคคล ไดแก สวัสดิการดานอาชีพและรายได เงินกูจากกองทุนฯ ชวยขยายโอกาสใหคนพิการสามารถขยายกิจการเพื่อตอยอดกิจการที่มีอยูได ในกลุมคนพิการที่มีทักษะการประกอบอาชีพหรือมีกิจกรรมในอาชีพที่ทําอยูแลว ที่เหมือนหรือแตกตางจากศูนยฝกอาชีพทั้ง ๑๑ ชนิด กรณีนี้คนพิการมักตองการวงเงินกูที่สูงมากกวา ๒๐,๐๐๐ บาท เนื่องจากมีทักษะ ประสบการณเดิมมากพอ รวมถึงมองวาสามารถจัดการใชทรัพยากรที่มีอยูได (รายละเอียดขอนําเสนอในความตองการอาชีพ) -การสงเสริมอาชีพของสถาบันพัฒนาองคกรเอกชน ( พอช.) ดําเนินการผานกลุม ออมทรัพย โดยในชวงแรกมีการฝกอบรมการตัดเย็บเสื้อผาและการทําอาหาร อยางไรก็ตามในชวง ๒-๓ ป ที่ผานมาแมเปดโอกาสใหกลุมในชุมชนเสนอขอโครงการไปยัง พอช. แตก็ยังไมมีกลุมใดเสนอโครงการเพื่อขอฝกอบรมอาชีพ แตไดขอกูเงินจากกองทุนหมูบาน (กองทุนเงินลาน) มาตอยอดหรือสรางอาชีพ แตในสวนของการฝกอาชีพคนพิการ ไดมีศูนยฝกอาชีพคนพิการ ฝกอาชีพแตละแหง ๓-๗ อาชีพ (ตามตารางที่ ๔.๖๔) -การฝกอาชีพของสํานักงานเขตกรุงเทพมหานคร มีโครงการฝกอบรม จัดขึ้นที่ศูนยฝกของสํานักงานเขต เชน การทําดอกไม ขนม ตัดเย็บเสื้อผา หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ฯลฯ -การเคหะแหงชาติ ดําเนินการ ผานกรรมการชุมชน เฉพาะในกรุงเทพฯ โดยประสานใหคณะกรรมการชุมชน ประชาสัมพันธใหประชาชนผูสนใจเขารวมฝกอบรม -โครงการเงินกูยืม ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตามโครงการชวยลดผลกระทบทางสังคมในวิกฤติเศรษฐกิจ โดยใหเงินอุดหนุนทั่วไปแกหมูบานๆ/ชุมชนละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ดําเนินงานโดยสํานักงานเขต สังกัดกรุงเทพมหานคร เทศบาลและองคการบริหารสวนตําบล เปนโครงการที่มีเงื่อนไขใหมีการรวมกลุมอาชีพตางๆ ในชุมชน เพื่อกูเงินมาลงทุนของกลุมตางๆ -โครงการชวยเหลือคนยากจน โดยใหการสงเคราะหเบี้ยยังชีพแก คนพิการ ผูมีรายไดนอย ผูไรที่พึ่ง ผูสูงอายุที่ยากจน และผูปวยโรคเอดสที่ยากจนหรือถูกทอดทิ้ง การจัดสถานสงเคราะหสําหรับผูสูงอายุ เด็กกําพรา และเด็กเรรอน ซึ่งอยูในความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

๒. รูปแบบ ทวิลักษณ (Double Welfare Model) เปนรูปแบบภาคี การจัดสวัสดิการสังคม โดยงบประมาณของรัฐ องคกรพัฒนาเอกชน และองคกรเอกชน

จากการสัมภาษณระดับลึกและสนทนากลุมผูใหขอมูลหลัก พบวา องคกรเอกชน ไมวาจะเปนสมาคม องคกร มูลนิธิที่เกี่ยวของกับคนพิการ ที่ไดจดทะเบียนกับภาครัฐ ประกอบดวย หนวยงานทั้งหมดทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และตางจังหวัด ซ่ึงไดมีการดําเนินกิจกรรมตางๆที่เกี่ยวของกับคนพิการในบริการ

Page 231: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๖

สังคมทั้ง ๗ ดาน คือ บริการดานการศึกษา ดานสุขภาพ ดานอาชีพและรายได ดานสิ่งอํานวยความสะดวก บริการสังคม ดานนันทนาการ ดานกฎหมาย ดานใหคําปรึกษา รวมถึงการใหความชวยเหลือเพื่อ การดํารงชีวิตขั้นพื้นฐาน ดังตารางที่ ๔.๖๕

ตารางที่ ๔.๖๕ แสดงจํานวนองคกรเอกชนที่ใหบริการแกคนพกิารประเภทตางๆ

ประเภท สถานที่ต้ัง สมาคม มูลนิธิ ชมรม โรงเรียน

กทม. ตางจังหวัด ศูนย/อื่นๆ ๑) พิการทางการมองเห็น

๖ ๘ ๒ ๖ ๓ ๕

๒) พิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

๔ ๑ ๒ ๓ - -

๓) พิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว

๖ ๑๔ ๖ ๘ ๖

๔) พิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู

๓ ๑ ๑ ๓ - -

๕) พิการทางจิตใจ ๑ - ๑ - - - ทุกประเภทความพิการ

๕ ๓ ๑ ๕ - ๒

ที่มา สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ ๒๕๔๘ : ๖๐-๖๓

นอกจากนี้ยังมีองคกรเอกชนที่มีการดําเนินงานใหกับคนในชุมชนทั้งกทม. และตางจังหวัด ใน ๒ ลักษณะ คือ ๑) การใหความชวยเหลือและจัดบริการเพิ่มเติมในดานตางๆ เชน มูลนิธิศุภนิมิตแหงประเทศไทย มูลนิธิบาทหลวงโจเซฟ เอช ไมเออร มูลนิธิพัฒนาชุมชนเมือง ฯลฯ และ ๒) การสงเสริมใหเกิดการพัฒนา เชน การอบรมใหความรูเกี่ยวกับเรื่องกฎหมาย สิทธิ รณรงคใหความรูและประชาสัมพันธการปองกันโรคเอดส โดยผลิตแผนพับ การสนับสนุนอุปกรณเครื่องเสียงในการเตนแอรโรบิค อุปกรณกีฬา เพื่อแกไขปญหายาเสพติด อยางไรก็ตามการดําเนินงานขององคกรพัฒนาเอกชน มักทําควบคูกันไปทั้งการใหความชวยเหลือและการพัฒนา โดยกิจกรรมขององคกรพัฒนาเอกชนในชุมชน อาทิเชน

ดานการศึกษา การจัดตั้งศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนของบาทหลวงไมเออร ที่กรุงเทพฯ ไดเขามามีสวนรวมในการสนับสนุนงบประมาณแกศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน เปนคาอาหารกลางวัน ๑๕ บาท

Page 232: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๗

ตอคนตอวัน และสมทบคาตอบแทนครูบางสวน การใหทุนการศึกษา อุปกรณการเรียน ฯลฯ ของมูลนิธิศุภนิมิตแหงประเทศไทย ซ่ึงเริ่มดําเนินการตั้งแตป ๒๕๓๗ ปจจุบันมูลนิธิไดถอนตัวออกจากพื้นที่

ดานรายไดและประกอบอาชีพ มีการฝกอบรมอาชีพ มีองคกรพัฒนาเอกชนที่เขามาดําเนินการ ไดแก มูลนิธิศุภนิมิตแหงประเทศไทย เขามาดําเนินการเกี่ยวกับการรวมกลุมออมทรัพย การตั้งกลุมตัดเยบ็ ฯลฯ โดยเขามาศึกษาสภาพพื้นที่การทําความเขาใจกับชุมชน และมีการรวมกันคิด เพื่อใหเห็นปญหาของชุมชน เพื่อแนวทางแกไข มูลนิธิพัฒนาชุมชนเมือง มีการดําเนินงานในหลายดาน โดยเนนการฝกอาชีพ และการมีงานทํา รวมทั้งมีการใหความชวยเหลือดานการศึกษาและการสงเคราะห

๓. รูปแบบพหุลักษณ (Multiple Sectors Welfare Model) เปน “รูปแบบสหวิชาชีพ/

สหสาขา (Multidisciplinary)” การจัดสวัสดิการสังคม ระหวางรัฐ และภาคประชาชน โดยงบประมาณและดําเนินงาน

โดยองคกรพัฒนาเอกชน ภาคประชาชนที่มีความหลากหลาย ถือเปน “สวัสดิการชุมชน (Community Welfare)” จุดหลักเพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชนและพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน ไดแก

-กองทุนหมูบาน (กองทุนเงินลาน) เปนนโยบายของรัฐที่ดําเนินการ ตั้งแตป ๒๕๔๔โดยออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยคณะกรรมการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๔ ที่ตองการใหชุมชนและหมูบานมีเงินกองทุนจากรัฐที่ใชเพื่อการทํากิจกรรมในอาชีพ สรางรายไดและมีเงินทุนในครอบครัว ดวยการกูยืมเงินผานธนาคารออมสิน วิธีดําเนินงานในชุมชนตั้งแตการเรียกประชุมชาวบาน เพื่อคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน โดยจะตองมีชาวบานไมนอยกวา ๓ ใน ๔ ของครัวเรือน ที่ตองเปนไปตามเงื่อนไข และใหชาวบานคัดเลือกกรรมการกองทุน ๑๓ คน เพื่อเปนตัวแทนในการดําเนินการเกี่ยวกับการใหกูยืมกองทุน มีวาระดําเนินงาน ๒ ป โดยมีเจาหนาที่ เปนพี่ เ ล้ียงใน การดําเนินงาน ซ่ึงมีคณะกรรมการกองทุน กําหนดระเบียบเงื่อนไขการกูยืม อัตราดอกเบี้ย การผอนชําระ การติดตาม เมื่อผานการพิจารณาจากคณะกรรมการจึงนําเงินมาลงทุน และผอนชําระคืนตามสัญญา ปละคร้ังหรืองวดตามที่คณะกรรมการกําหนด แตตองจายดอกเบี้ยตามที่คณะกรรมการกําหนดในอัตราไมเกินรอยละ ๖-๑๒ ตอป (ตามแตละแหง) (สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ, ๒๕๔๔) ขณะที่ชุมชนตางๆจะมีการรวมกลุมสัจจะและกลุมออมทรัพยรวมดวย เพื่อใหคนในชุมชนไดออมทรัพย ดังแผนภูมิที่ ๔.๖

Page 233: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๘

แผนภูมิที่ ๔.๖ แสดงการดําเนินงานกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง -โครงการกูยืมผานกลุมออมทรัพยและเครือขายตางๆ ของสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน

(พอช.) แนวทางการพัฒนาองคกรชุมชนใหมีความเขมแข็งของ พอช. มีองคประกอบในเรื่อง การวางระบบบริหารจัดการ และพัฒนาชาวบาน โดยการใชการออมและสินเชื่อเปนเครื่องมือในการพัฒนากิจกรรมหลักของ พอช. คือหนุนเสริมในเรื่องความรูในชุมชน โดยการสรางกระบวนการเรียนรูในชุมชน สําหรับลักษณะกิจกรรมนั้นชุมชนเปนผูเลือกและตัดสินใจเอง การใหสินเชื่อของ พอช. ดําเนินการดังนี้ สนับสนุนใหชุมชนมีการจัดตั้งกลุมออมทรัพย และใหสินเชื่อแกกลุมออมทรัพย เพื่อเปนแหลงเงินกูแกสมาชิกของกลุม ซ่ึงมี ๒ ลักษณะ คือ กูทั่วไป เพื่อนําไปประกอบอาชีพสวนตัว ตอเติมซอมแซมบาน ฯลฯ และการกูเปนกลุม เชน การกูของกลุมตัดเย็บ เพื่อนําไปซื้อเครื่องจักร การกูของกลุมรานคา เพื่อจัดตั้งรานคาชุมชน ฯลฯ การสนับสนุนใหเกิดเครือขาย จึงมีการเชื่อมโยงระหวางกลุมออมทรัพยและกลุมอาชีพในพื้นที่ตางๆ และสงสมาชิกของกลุมเปนกรรมการเครือขาย พอช. จึงใหสินเชื่อ ผานกรรมการเครือขาย

รัฐบาล

กองทุนหมูบาน ๑ ลานบาท

กองทุนชุมชน ๑ ลานบาท

กรรมการกองทุน ๑๓ คน -กําหนดระเบียบเงื่อนไขการกูยืม -การผอนชําระ -อัตราดอกเบี้ย -การค้ําประกัน -การติดตามผล

คณะกรรมการกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง

คณะกรรมการสนับสนุนระดับจังหวัด อําเภอ

กลุมออมทรัพย /กลุมสัจจะ

ธนาคาร ออมสิน

คนในชุมชน คนพิการ

สรางและเสริมอาชีพ

สรางรายได

มีเงินลงทุน

Page 234: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๑๙

เพื่อใหกลุมอาชีพและกลุมออมทรัพยไดกูยืม เพื่อพัฒนากลุมและประกอบอาชีพ (สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน www: file //C.\Documents and Setting \Administrator\My Documents\CODI ) ๑๗/๙/๒๕๔๙)

๔.๒ รูปแบบการจัดสวัสดิการในชุมชน สวัสดิการชุมชน เปนสิ่งที่สําคัญที่คนในชุมชนมีสวนรวมรับผิดชอบในลักษณะเจาของปญหา คอื

“รวมคิด รวมทํา” เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของคนในชุมชน ไมวาจะเปน กลุมออมทรัพย และกลุมอาชีพตางๆ รวมถึงกลุมอาชีพหนึ่งผลิตภัณฑหนึ่งตําบล (OTOP)

-กลุมออมทรัพย เร่ิมมีการจัดตั้งในป ๒๕๓๗ มีสมาชิกที่รวมลงขันเปนทุนเรือนหุน และเงินปลอยกูใหกับสมาชิก กําหนดอัตราดอกเบี้ย เปนแหลงเงินกูที่สําคัญของชุมชน ชวยลดปญหาหนี้ นอกระบบที่มีอัตราดอกเบี้ยคอนขางสูง หลักเกณฑในการกูยืม ตองเปนสมาชิกกลุมออมทรัพย เดิมมี การกูยืมในลักษณะของกลุมวิชาชีพ ตอมาเมื่อมีการพัฒนาเปนเครือขายแยกตามลักษณะกลุม การกูยืมของกลุมจึงผานเครือขาย ในขณะที่กลุมออมทรัพยมีการใหกูยืมประเภทบุคคลทั่วไปและการใหกูกรณีเปนกลุม สวนใหญเปนการกูยืม เพื่อประกอบอาชีพ และการซอมแซมปรับปรุงบาน นอกจากนี้ กลุมยังมีกิจกรรมในการใหขอมูลขาวสารโดยประชาสัมพันธผานหอกระจายขาว เปนตน

-กลุมอาชีพ ไดแก กลุมตัดเย็บ กลุมแปรรูปผลิตภัณฑ กลุมปกมุก กลุมแมบานน้ําพริก ฯลฯ กลุมเหลานี้มีการรวมตัวผานกลุมแมบาน เพื่อพัฒนาอาชีพเสริมจากอาชีพเกษตรกรรมเปนหลักในชนบท แมจะปรากฏชื่อกลุมอยูในทะเบียน แตกิจกรรมและสมาชิกที่มีความเขมแข็ง เชน กลุมครูยูซบ จังหวัดสงขลา กลุมครูมุกดา จังหวัดเชียงใหม ฯลฯ แตกลุมอาชีพอ่ืนๆ มีกิจกรรมเพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชน ปจจุบันพัฒนาไปสูหนึ่งผลิตภัณฑหนึ่งตําบล (One Tambol One Product ,OTOP) ที่เกิดจาก การรวมกลุมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑในชุมชนใหเกิดมูลคาเพิ่ม (Add Value) มีการรับรองผลิตภัณฑจากสํานักงานผลิตภัณฑมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) ระดับ ๓-๕ ดาว สงขายทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยใชกระบวนการจัดการความรูจากภูมิปญญาทองถ่ิน ไมวาจะเปนอาหาร ผลผลิตการเกษตร การแปรรูปสินคา การประดิษฐ สรางสินคา ผลิตภัณฑ เสื้อผา เครื่องจักรสาน ในชุมชน ฯลฯ ภายใตกรอบการประยุกตระหวางภูมิปญญาทองถ่ินและความรูสมัยใหมที่สําคัญ คือ การใชหลักการตลาดหรือองคประกอบวิธีการสงเสริมการตลาด ๔ P คือ ๑) Price (ราคา) ๒) Place (ชองทางการจําหนาย) ๓) Product (สินคา) และ ๔) Promotion (การสงเสริมการตลาด) ที่จะนําไปสูความสําเร็จและ ความลมเหลว นั้นคือ ปจจัยการผลิต การตลาด แรงงาน การเงิน การบริหารจัดการ ปฏิสัมพันธกับภายนอก การมีสวนรวมของสมาชิก ความเปนผูนํา และระเบียบขอบังคับขององคกร ที่จะตองพัฒนา คนพิการในชุมชนใหมีความรูอยางองครวมในการเปนผูประกอบการที่สามารถดํารงตนและแขงขันกันได (นรินทร สังขรักษา, ๒๕๔๗) ดังแผนภูมิที่ ๔.๗

Page 235: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๐

-คุณภาพ -ชองทาง -ลักษณะ -ความครอบคลุม -สินคาใหเลือก -ทําเลที่ต้ัง -รูปแบบ -การขนสง -ตรายี่หอ -การคลังสินคา -การบรรจุหีบหอ -การรับประกัน -การรับคืน -ราคาสินคาในรายการ -การโฆษณา -สวนลด -การสงเสริมการขาย -สวนยอมให -การประชาสัมพันธ -ระยะเวลาการใหสินเชื่อ -นโยบายและกลยุทธราคา แผนภูมิที่ ๔.๗ ผังแสดงองคประกอบวิธีการสงเสริมการตลาด ๔ P นอกจากนี้หากพิจารณาในแงการประกอบอาชีพ หรือสรางธุรกิจในชุมชนใหมั่นคง คนพิการระดับรุนแรงยังตองคํานึงถึง ปจจัยกําหนดความสําเร็จและความลมเหลวของธุรกิจชุมชน (ณรงค เพ็ชรประเสริฐ ๒๕๔๒ : ๑๒๔) ที่กลาวถึงปจจัยกําหนดความสําเร็จและความลมเหลวมีมากมายหลายประการ ในการประกอบอาชีพ ทั้งระบบงาน ระบบการเงิน และระบบการบริหารบุคคล ดังแผนภูมิที่ ๔.๘

การสงเสริมการตลาด

สินคา (Product) การจัดจําหนาย (Place)

ราคา (Price) การสงเสริมการขาย (Promotion) ตลาดเปาหมาย

Page 236: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๑

แผนภูมิที่ ๔.๘ แสดงปจจัยแหงความสําเร็จและปจจัยแหงความลมเหลว

การจัดสวัสดิการชุมชนทั้งที่ใชฐานองคกรการเงินภายในชุมชน ฐานการผลิตในชุมชน

ฐานกองทุนหมุนเวียนในชุมชน และอุดมการณ/ศาสนา และผสมผสานหลักการตลาด ๔ P การบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) ที่นําไปสูปจจัยแหงความสําเร็จและลมเหลวในกองทุนตางๆ อันสงผลถึงคนพิการ ในรูปแบบที่แสดงถึงการบูรณาการสวัสดิการชุมชนใหกับคนพิการ ดังแผนภูมิที่ ๔.๙

แผนภูมิที่ ๔.๙ แสดงการบูรณาการสวัสดิการชุมชนใหกับคนพิการในชุมชนของกลุมตางๆ

ปจจัยแหงความสําเร็จและความลมเหลว

-ปจจัยการผลิต -ปจจัยดานการตลาด -ปจจัยดานแรงงาน -ปจจัยดานการเงิน -ปจจัยดานการบริหารจัดการ -ปจจัยดานปฏิสัมพันธกับภายนอก -ปจจัยเกี่ยวกับการมีสวนรวมของสมาชิก -ปจจัยเกี่ยวกับความเปนผูนํา -ปจจัยเกี่ยวกับระเบียบขอบังคับขององคกร

กลุมออมทรัพยเพื่อการพ่ึงตนเอง

กองทุนหมูบาน ๑ ลาน

กองทุนสวัสดิการชุมชน

กองทุนการศึกษา

แปรรูปผลผลิตการเกษตร

ปุยชีวภาพ

กองทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพ

รวมกลุมการเกษตร

ปลูกผักปลอดสารพิษ

กลุมโอท็อป (OTOP)

กลุมตางๆในชุมชน

คนพิการ

Page 237: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๒

จากที่กลาวมาทั้งหมด สามารถสรุปรูปแบบความเชื่อมโยงสวัสดิการสังคมที่สําคัญของคนพิการระดับรุนแรงในสังคมไทย ดังแผนภูมิที่ ๔.๑๐

แผนภูมิที่ ๔.๑๐ แสดงรูปแบบความเชื่อมโยงสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรง ดังจะเห็นวา สวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ควรจะเปนรูปแบบ

พหุลักษณที่มีความเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย มีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน โดยเฉพาะการสงเสริมใหเกิดสวัสดิการชุมชนในทองถ่ินที่มีความเขมแข็งของชุมชน

จากที่กลาวมาสรุปไดวา รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมดังกลาว ประกอบดวยสวัสดิการใน

รูปแบบของสถาบัน รูปแบบของทวิลักษณ และรูปแบบพหุลักษณ ที่ตองเชื่อมโยงกับคนพิการในวัฐจักรแหงความชั่วราย คือ ความไมรู สุขภาพ และการสรางอาชีพและรายได เพื่อใหคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดี แตจากประสบการณในพื้นที่ (Evidence Based) พบวา การจัดสวัสดิการในรูปแบบเชิงสถาบัน เปนของ

รูปแบบเชิงสถาบัน (ภาครัฐ)

รูปแบบเชิงทวิลักษณ (รัฐกับเอกชน)

รูปแบบพหุลักษณ คือ (สวัสดิการชุมชน) สหวิชาชีพ/สหสาขา

การดูแลในสถานสงเคราะหในกรณีที่ชวยตัวเองไมไดเกินขีดความสามารถของชุมชน

การฟนฟูสมรรถภาพ โดยชุมชน (CBR)

การดูแลในครอบครัว ชุมชน (Community Day Care , CDC)

ศูนยการดูแลระดับชาต ิ (National Day Care Center ,NDCC )

ศูนยเครือขายบริการ (Service Link Center , SLC)

การดํารงชีวิตอิสระในกรณีที่มีศักยภาพ

(Independent Living ,IL)

Page 238: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๓

ภาครัฐเปนหลักอันเปนภารกิจตามรัฐธรรมนูญและภาระหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของ อยางไรก็ตามจะเห็นไดวา ประเทศไทยยังคงใชแนวคิดแบบตะวันตกในการจัดระบบสวัสดิการสังคมมาโดยตลอด แมวาในปจจุบันไดมีนโยบายและโครงการตางๆ เพื่อคนพิการ คนจนผูมีรายไดนอย หรือคนดอยโอกาส จํานวนมาก แตไดมีนักวิชาการไทยหลายทาน เชื่อวาการจัดสวัสดิการสังคมของไทยควรใชรูปแบบทั้งโดยสถาบัน (Institutional-Based) และรูปแบบการลดการพึ่งพาสถาบันของรัฐลง (Deinstitutional-Based) มาเปนรูปแบบสวัสดิการแบบผสม (Mixed Model) ที่ใชทั้งรูปแบบทวิลักษณ และรูปแบบพหุลักษณใน ๒ ลักษณะเขาดวยกัน นั่นคือ การสรางสวัสดิการรัฐ (State Welfare) และสวัสดิการชุมชน (Community Welfare) ดวยการสรางเปนโครงขายความปลอดภัย (Social Safety Net) ใหเกิดความมั่นคงทางสังคม จึงจะสงผลใหเกิดคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนโดยรวม

๔.๓ รูปแบบการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ๑) รูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพตามโครงการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน (Community Based Rehabilitation : CBR)

รูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน (Community Based Rehabilitation :CBR) สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ (สทก.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดนําแนวคิดนี้มาใชตั้งแตป ๒๕๔๒ เพื่อใหบริการคนพิการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร เปนแนวคิดที่เหมาะสมที่สุดในสังคมไทย เพราะมีการดําเนินการดวยกระบวนการปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research : PAR) ที่เปนศูนยรวมประชาชน (People-Centered) เนนระบบขอมูลขาวสารและ การวางแผนของชุมชน (Community Information and Planning System : CIPS) ดวยการสรางเครือขาย (Network) การมีสวนรวมของชุมชน การใชศักยภาพของคนในชุมชนที่ใชการสรางพลังอํานาจ (Empowerment) และการสนับสนุนทางสังคม (Social Support)

แนวคิดดังกลาว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดดําเนินการจนนํามาขยายผลการดําเนินงานในป ๒๕๔๗ เปนตนมา ในพื้นที่เปาหมาย ปจจุบันไดดําเนินการถึง ๒๕ จังหวัด ๕๓ อําเภอ (มยุรี ผิวสุวรรณ , ๒๕๔๙ : คํานํา ) การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการเพื่อใหชุมชนสามารถจัดการประชาชนโดยประชาชน เพื่อประชาชน ไมตองพึ่งผู เชี่ยวชาญในแตละสาขา แตพึ่งผูมีประสบการณ นับตั้งแตการเตรียมชุมชน การจัดอบรมกลุมแกนนําคนพิการ แกนนําอาสาสมัครพัฒนาสังคมชวยเหลือคนพิการ (อพมก.) การจดทะเบียนคนพิการ การคนหาคนพิการ การบริการสวัสดิการสังคม เบี้ยยังชีพ การกูเงินกองทุนฟนฟูอาชีพคนพิการ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ การฝกอาชีพ คนพิการ การสงเสริมการจัดหางาน การเฝาระวัง และปองกันความพิการซ้ําซอน การใหการศึกษาเรียนรู การปรับตัว และขอมูลขาวสาร ฯลฯ

Page 239: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๔

ผลการดําเนินการใน ป ๒๕๔๗ ใชกระบวนการคัดเลือกอาสาสมัครพัฒนาสังคมฯ ในชุมชน การฝกอบรมพัฒนาทักษะในเรื่องคนพิการ การใหบริการคนพิการ การติดตามนิเทศงานอยางตอเนื่องและการประเมินผล ผลการดําเนินงานมีอาสาสมัครพัฒนาสังคมชวยเหลือคนพิการ (อพมก.) ที่ผานการอบรมและปฏิบัติงานในพื้นที่ จํานวน ๑๖๐ คน และใหการชวยเหลือดูแล ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ และพัฒนาคนพิการในพื้นที่เปาหมาย จํานวน ๕๒,๐๔๐ คน

สวนป ๒๕๔๘ มีอาสาสมัครพัฒนาสังคมชวยเหลือคนพิการ (อมพก.) จํานวน ๒๕๐ คน ที่ผานการอบรมและปฏิบัติงานใหบริการคนพิการในพื้นที่ จํานวน ๕๙,๕๒๐ คน โดยมีวัตถุประสงคของการดําเนินการเพื่อ ๑) ใหคนพิการไดรับการพัฒนาศักยภาพ และลดการพึ่งระบบสถาบัน และสถานสงเคราะห โดยการคนพบคนพิการรายใหม จดทะเบียนคนพิการ การทําแผนฟนฟูและพัฒนารายบุคคล การชวยเหลือ ดูแล ฟนฟูและพัฒนาจากรัฐ ๒) การเสริมสรางทักษะ ความรู ความเขาใจของเจาหนาที่และผูเกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ินและ อพมก. ในการฟนฟูสมรรถภาพ คนพิการในชุมชนของตนเองได ๓) การใชประโยชนจากทรัพยากรตางๆ ทั้งทรัพยากรมนุษย เครื่องมือ เครื่องใชและเทคโนโลยีของชุมชน เพื่อพัฒนาและฟนฟูสมรรถภาพคนพิการไดอยางเหมาะสม และสรางความเขมแข็งของระบบเครือขายชุมชน (มยุรี ผิวสุวรรณ, ๒๕๔๙ : ๑-๓) เมื่อดําเนินการได ๑ ปไดมีการติดตามประเมินผล และวิเคราะหจุดแข็ง-จุดออน ( SWOT Analysis) พบวา มีความกาวหนาของโครงการเปนที่พอใจ ทราบถึงจุดแหงความสําเร็จ จุดที่เปนอุปสรรคของโครงการในจังหวัดนํารองทั้ง ๕ จังหวัด ส่ิงที่กอใหเกิดความสําเร็จคือ การจัดองคกรฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ เปนศูนยประสานงานกลาง เนนการมีสวนรวมของชุมชน และการจัดการความรูโดยชุมชน (Knowledge Management, KM) ดังปรากฏการณที่นําเสนอดวยภาพ

เด็กที่เขาโครงการไดทําการฟนฟูสภาพรางกาย การทํากิจวัตรประจําวัน แปรงฟนดวยตนเอง

Page 240: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๕

กิจกรรมชวยตนเองในชีวิตประจําวัน การออกสูสังคมรวมกับคนพิการอื่นๆ

การดํารงชีวิตประจําวันในสภาพปกติ กิจกรรมการฟนฟูสมรรถภาพประจําวันที่บาน

การเปนวิทยากรอบรมโครงการฟนฟูฯ การนําเสนอผลการดําเนินการจากประสบการณจริง

Page 241: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๖

จากการสังเคราะหโครงการการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนจากเอกสารและปรากฏการณจริง สามารถนําเสนอรูปแบบการดําเนินงาน CBR ดังแผนภูมิที่ ๔.๑๑

แผนภูมิที่ ๔.๑๑ แสดงความเชื่อมโยงการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน

๒) รูปแบบการฝกอาชีพ “บานสมานใจ” เปนการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการดวย การพัฒนาอาชีพ (Career Development) โดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม เปนรูปแบบของการฟนฟูโดยชุมชนอีกแบบหนึ่ง ของจังหวัดเชียงใหมที่มีการฟนฟูแบบ CBR ที่มูลนิธิบานสมานใจ โดยเริ่มจากองคการความรวมมือระหวางประเทศญี่ปุนหรือมูลนิธิ (JICA) ให

การจัดทําแผนพัฒนาคนพิการระดับ จังหวัดและพื้นที่

หนวยงานภาครัฐในพื้นที่ องคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

การรวมกลุม สรางเครือขาย (Network)

การคัดเลือก อพมก. -สังคมมิติ -การยอมรับ -จิตสาธารณะ -ความไววางใจ

การพัฒนาสรางทีมงาน (Team Building) โดย ทีมวิทยาการ

กิจกรรมเพื่อคนพิการ

สรางอาชีพ ตลาด

งบประมาณ

การอบรมใหความรู

การจัดการดวยตนเอง

เบี้ยยังชีพ เงินสงเคราะห

เงินกูยืมประกอบอาชีพ

การดูแลไมเปนทางการ การดูแลที่บานและการดูแลตนเอง

การเฝาระวังคนพิการ

การจดทะเบียน และคนหา คนพิการ

สวัสดิการชุมชน -กลุมออมทรัพย -กองทุนหมูบาน -โอท็อป (OTOP)

สิ่งอํานวยความสะดวก

ศูนยฝกอาชีพชุมชนจัดหางาน สรางธุรกิจชุมชน

ศูนยประสานงานกลาง

เสริมพลังอํานาจ

ระบบพี่เลี้ยง (Mentor)

การติดตาม ประเมินผล

วิเคราะหจุดแข็ง-จุดออน

เสริมสวนขาด จัดการความรู

Page 242: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๗

เงินมาจํานวนหนึ่งแกประธานมูลนิธิ เพื่อกอตั้งมูลนิธิบานสมานใจ มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ไดมาอยูรวมกัน ทํากิจกรรมรวมกัน ในชวงเวลาราชการวันจันทรถึงวันศุกร โดยมีพี่เล้ียงและครูอาสาสมัครเขามาชวยดูแล มูลนิธิ JICA ไดนําวิธีการทอผาของญี่ปุนแบบหนึ่งมาสอนตัดเย็บฝกทอเปนใหคนพิการเหลานี้ โดยใหคนพิการคิดสรางสรรคลวดลายเองแลวผูดูแลไดนําผาที่ทอมาทําผาพันคอ เสื้อผา ผาปูโตะ กระดุมและจานรองแกว ฯลฯ นอกจากนี้คนพิการยังไดฝกการวาดรูปเพื่อ ทําบัตรอวยพรปใหม และใชในโอกาสตาง ๆ ทั้งยังไดมีการนําผลผลิตเหลานี้มาขายทั้งในจังหวัดเชียงใหมและกรุงเทพฯ การทํางานฝมือเชนนี้ ชวยใหเด็ก ๆ เหลานี้ไดฝกสมาธิ ทําใหการพัฒนาการของเด็กดีขึ้น สามารถอยูรวมกับสังคมได ไมมีการหวาดกลัวคนแปลกหนา ผลจากการตั้งมูลนิธินี้กอใหเกิดผลดีทั้งผูปกครองและคนพิการ นับเปนการฟนฟูสมรรถภาพของคนพิการที่ยั่งยืนและประสบความสําเร็จเปนอยางดียิ่งดวยการใชหลักการตลาด ๔ P ดังแผนภูมิที่ ๔.๑๒

Page 243: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๘

แผนภูมิที่ ๔. ๑๒ แสดงรูปแบบการฝกอาชีพบานสมานใจ

๓) รูปแบบการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ (Independent Living : IL) รูปแบบการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ เปนแนวคิดหนึ่งที่มีการพูดคุยกันตั้งแต

ป ๒๕๓๑-๒๕๓๕ จากที่คนพิการไดศึกษาดูงานจากตางประเทศ และไดมีการนํารอง (Pilot Study)ในสังคมไทย ตั้งแตป ๒๕๔๕-๒๕๔๗ใน ๓ จังหวัด คือจังหวัดนครปฐม ชลบุรีและนนทบุรี เปนการจัดองคกร (Organization Management) ภายใตหลักการของการสรางพลังคน พลังความรูและพลังทรัพยากร ดวยการบูรณาการการจัดการองคความรูของฐานคิดที่พิจารณาถึงสิทธิของคนพิการ (Civil Right)

มูลนิธิ JICA จากญี่ปุนใหเงินทุนและสอนทอผา

ครูและผูดูแล อาสาสมัคร

มูลนิธิ บานสมานใจ

เรียนรูวิชาการและการอยูรวมกัน

ฝกอาชีพ

ขายผลผลิต

คนพิการมีรายได

๑.สถานดูแลคนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ชวงกลางวันที่ปลอดภัย ๒.สถานศึกษาวิชาการเบื้องตนเพื่อคนพิการเรียนรูการดํารงชีวิต ๓.สถานที่ฝกทักษะงานฝมอืตามถนัด เชน ทอผา วาดภาพ

ผลตอคนพิการ ๑.มีเพื่อน ไมเหงา ไมวาเหว ๒.เรียนรูการปรับตัวและอยูในสังคมรวมกัน ๓.เพลิดเพลินและพัฒนาสมองและวิชาการ ๔.เกิดความภมูิใจ ๕.รูสึกวาชีวิตมีคุณคา

ผลตอผูปกครอง ๑.มีที่ฝากเลี้ยง และดแูลที่ไวใจได ๒.คลายความวิตกกังวลและความหวงใย ๓.ภูมิใจในลูกหลานของตน ๔.เกิดความสขุในครอบครัว

=

กําหนดราคา หาตลาด

การประชาสัมพันธ

Page 244: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๒๙

จุดมุงหมาย เพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชน จัดตั้งเปนองคกรการชวยเหลือ (Self-help Organization) ๔ ประการ คือ บริการขอมูลขาวสาร การใหคําปรึกษาฉันเพื่อน การฝกทักษะการดํารงชีวิต และ การพิทักษสิทธิคนพิการ เพื่อใหเกิดการรูจักความพิการตนเอง การยอมรับสภาพที่เปนอยู การชวยเหลือตนเอง ความเชื่อมั่นตนเอง และทักษะเสริมอื่นๆ ยังมีขอถกเถียงกันวาสามารถนํามาใชไดจริงในประเทศไทยไดอยางไร (กมลพรรณ พันพึ่ง, ๒๕๔๙ : ๑-๑๙) แตจากการศึกษาในพื้นที่จังหวัดนครปฐม เชียงใหม สนับสนุนขอมูลเชิงประจักษ พบวา การดําเนินโครงการการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ มีความเปนได ในบริบทของชุมชนที่มีความเขมแข็ง มีเครือขาย/แกนนํา และผูนําการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) แตจากปรากฏการณพบวาการดํารงชีวิตอิสระจะตองมีองคประกอบของความเขมแข็งของชุมชน ไดผานการพัฒนาเชิงรูปธรรม การตอยอดจากการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน (CBR) ที่อาศัยชุมชนเปนฐานในการสรางความมั่นคงและยั่งยืน และอาจตองคอยเปนคอยไป แตนาจะมุงไปสูการเสริมสรางสวัสดิการชุมชนเปนฐานรองรับการเปลี่ยนกระบวนทัศน (Paradigm Shift) จากการบริการเชิงสถาบันโดยรัฐมาสูการบริการชุมชนแบบไมเปนทางการ (Informal Care) โดยภาคประชาชน จนเปนการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ (IL)

จากการสังเคราะหเอกสารและปรากฏการณจากพื้นที่ ในเรื่องการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ สามารถ สรุปได ดังแผนภูมิที่ ๔.๑๓

Page 245: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๐

-การใหคําปรึกษา -ฝกทักษะดํารงชีพ จุดหมาย ผลที่คาดหวัง -บริการขอมูลขาวสาร -ใหคําปรึกษาฉันทเพื่อน -การฝกทักษะการดํารงชีวิต -การพิทักษสิทธิคนพิการ -การฝกทักษะการดํารงชีวิต แผนภูมิที่ ๔.๑๓ แสดงรูปแบบการดํารงชีวิตอิสระในสังคมไทย

๔) รูปแบบการดูแลสุขภาพโดยชุมชน แบบไมเปนทางการ (Informal Care)

๑. รูปแบบการดูแลคนพิการระดับรุนแรงโดยชุมชน (Day Care Model) รูปแบบนี้มีลักษณะเปนชุมชนที่มีเงื่อนไขของความเขมแข็งและมีความพรอม ซ่ึงเปนการผสมผสาน (Integration) ระหวางการดูแลสุขภาพและการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับรุนแรงในชุมชน โดยการอาศัยการเสริมสรางศักยภาพ (Capacities) และสมรรถภาพ (Competency) ของคนในชุมชน เพื่อคนหา คนพิการ การดูแลสุขภาพ การเรียนรู การเตรียมความพรอม การปรับตัวและการเสริมสรางอาชีพตามความสามารถของคนพิการแตละประเภท ที่มีผูดูแลชวยเหลือ และอาสาสมัครที่สนใจเขารวมโครงการ ภายใต ๓ ก คือ กรรมการ (คณะผูรับผิดชอบ) กองทุน (เงินทุน)และการเงิน (คาใชจาย) ทั้งนี้จํานวนและขนาดของคนดูแลขึ้นกับจํานวนคนพิการที่สามารถเดินทางไปกลับระหวางบานกับศูนยการดูแล และควรเปนเด็กพิการจะเหมาะสมวา หากเปนคนพิการที่นอนอยูกับที่เคลื่อนไหวไมได (Disabled Stroke

โครงการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน

หนวยการดํารงชีวิตอิสระ

กลุมเพื่อนชวยเพื่อน การอบรม การปรับตัว พ่ีเลี้ยง งบประมาณ

ศูนยประสานงานกลาง

เครือขาย แกนนํา สรางองคกร

การดูแลไมเปนทางการ -การดูแลตนเอง (Self-care) -การดูแลที่บาน (Home Care) -การดูแลสุขภาพที่บาน (Home Health Care) -การเขาแคมป (Camp Hill)

โอกาสในความเทาเทียม

การกําหนดชีวิตดวยตนเอง การคาดหวังในตัวตน

การเคลื่อนไหวทางสังคม

การพึ่งตนเอง

การเสริมสรางพลังอํานาจ

องคกรการชวยเหลือกัน

Page 246: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๑

Survivors ) ควรใชรูปแบบของ Home Care โดยการหมุนเวียนใหคนชวยเหลือดูแล มาที่บานคนพิการ ดังแผนภูมิที่ ๔.๑๔

แผนภูมิที่ ๔.๑๔ แสดงรูปแบบการพัฒนาสุขภาวะโดยชุมชนแบบองครวม เปดพื้นที่สูสังคม เด็กทั่วไปเขาเรียน ตรวจสุขภาพ เรียนปกติ เตรียมความพรอม สงเสริมสุขภาพ ปองกัน ดูพัฒนาการ ความพิการซ้ําซอน เชามาเย็นกลับ การเรียนรู เจ็บปวย ๓ ก. กรรมการ (ผูดูแล) สงรักษา ก. กองทุน (เงินทุน) ก. การเงิน (คาใชจาย)

๒. การดูแลตนเอง(Self-care)ทางสุขภาพ

อสม.,อพมก. ผูนําชุมชน

คนหาคนในชุมชน

อสม.,อพมก. ผูนําชุมชน

คนพิการ

หนวยคัดกรองคนพิการ

ศูนยการดูแลชุมชน(Community Care unit)

สถานีอนามัย ,ศูนยสุขภาพชุมชน (PCU)

โรงเรียน

กิจวัตรประจําวัน อาบน้ํา ขับถาย การพลิกตัว การนอนหลับ

การฝกอาชีพเสริมงานศิลปะ งานปน งานวาดตามสนใจ

นันทนาการ กิจกรรมกลุม ดนตรี กีฬา กิจกรรมเสริม ฯลฯ

นม อาหารเสริม

บาน

การเรียนรู -การอาน -การเขียน -การพูดคุย

รูปแบบการดูแลเวลากลางวัน

งานอื่นๆ ตามวัฒนธรรมทองถิ่น

เง่ือนไข -อาสาสมัครชุมชนหรือผูปกครองที่ผานการอบรมแบบบูรณาการดานสุขภาพ การศึกษา อาชีพและนันทนาการ -การสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันระหวางผูปกครอง -การจางผูดูแลที่ศูนยการดูแล (Day Care) ควรแยกประเภทการดูแลเด็กพิการ และคนพิการทางการเคลื่อนไหว -เจาหนาที่ทุกภาคีสนับสนุนติดตาม (Supervise) -ชุมชนมีความเขมแข็งและพึ่งตนเองได (Self-reliance)

Page 247: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๒

๒) รูปแบบการดูแลท่ีบาน (Home Care) และการดูแลสุขภาพที่บาน (Home Health Care)/การดูแลตนเอง (Self-care)

การดูแลที่บาน (Home Care) และการดูแลสุขภาพที่บาน (Home Health Care) เปนรูปแบบที่มักเนนการดูแลสุขภาพที่ผูปวยกลับจากโรงพยาบาลมาพักฟน หรือคนที่ปวยดวยโรคเร้ือรัง (Chronic Disease) ตองนอนอยูบานเพราะสวนใหญจะเปนผูปวยที่ไมสามารถเดินเหินได ตองนอนอยูกับที่อันเนื่องมาจากความพิการทางกาย จากสาเหตุของอุบัติเหตุ อัมพาต จากความดันโลหิตสูงและ หลอดเลือด คนเหลานี้จึงตองไดรับการดูแลและชวยเหลือจากบุคคลในครอบครัว หรืออาจเปนคนพิการประเภทอื่นๆก็ได ในการใหการดูแลกิจวัตรประจําวัน ไดแก กิจกรรมในบาน กิจกรรมในการดํารงชีวิต เชน เคล่ือนไหว อาบน้ํา แตงตัว การใหอาหาร และขับถาย ฯลฯ จากผูปวยที่กลับมาพักฟนจากโรงพยาบาล จะตองปรับตัวใหเหมาะสมกอนที่จะออกสูโลกภายนอก หรืออาจตองดูแลตลอดไปในกรณีของผูปวยหนัก (Sevier) ที่มาพักฟนที่บาน ขณะเดียวกันตัวคนพิการหรือคนปวยที่สามารถชวยตัวเองไดบางก็ตองดูแลตนเอง (Self-care) ทั้งในเรื่องสุขภาพ กิจวัตรประจําวัน รวมดวย รูปแบบนี้จะตองอาศัยความรวมมือทั้งคนพิการ และคนในครอบครัวตองเตรียมความพรอม ตลอดจนการสนับสนุนการใหกําลังใจจากบุคคลในครอบครัวเปนดานแรกที่สําคัญที่สุด เพราะเวลาสวนใหญคนพิการเหลานี้จะอยูภายใตการดูแลของบุคคลในครอบครัว รูปแบบการดูแลที่บานจะมีกิจกรรมตามตองการของคนพิการ เพื่อปรับตัวในการดํารงชีวิต การงานและอารมณที่ตองเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตที่หลากหลายและตองชวยเหลือในกิจกรรมทางกายภาพ เชน การเคลื่อนที่ การยกมือ การลุกจากเตียง เกาอี้และหองน้ํา กิจกรรมการพยาบาล การสื่อสารพูดคุย การสนับสนุนทางอารมณและจิตวิทยา และการผสมผสานการดูแลทางสังคม การออกกําลังกายที่เหมาะสม การเงิน ขอมูลขาวสาร รวมถึงการใหเวลาในการปรับตัวที่ตองออกจากโรงพยาบาล นอกจากนี้การสนับสนุนของชุมชน ภาครัฐใหคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ในรูปแบบของศูนยการดูแล กลางวัน (Day Care) หรือการสรางสถาบันการดูแล (Institution Care) ดังแผนภูมิที่ ๔.๑๕

Page 248: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๓

ภาคประชาชน ภาครัฐ แผนภูมิที่ ๔.๑๕ แสดงรูปแบบการดูแลสุขภาพที่บานและการดูแลตนเอง

จากที่กลาวมาสรุปไดวา สวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรง ประกอบดวย ๗ ดานคือ ดานการศึกษา ดานสาธารณสุข ดานการสรางอาชีพและรายได ดานบริการสังคม ดานนันทนาการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และดานความมั่นคงและการยอมรับ โดยเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับ คนพิการระดับรุนแรงที่เสนอขอ ๓,๔๕๙.๔๕ บาทตอเดือน ขณะที่รูปแบบการจัดสวัสดิการแบงไดเปน สวัสดิการแบบสถาบัน สวัสดิการแบบทวิลักษณ และสวัสดิการพหุลักษณ รวมถึงการจัดสวัสดิการชุมชน ไดแก กลุมออมทรัพย กลุมอาชีพ กองทุนหมูบาน อยางไรก็ตามรูปแบบสวัสดิการที่เหมาะสม ควรเปนรูปแบบพหุลักษณ ซ่ึงมีรูปแบบที่หลากหลาย รูปแบบการดูแลคนพิการระดับรุนแรง ไดแก รูปแบบการพัฒนาสุขภาวะโดยชุมชนแบบองครวม การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน รูปแบบการฝกอาชีพบานสมานใจ การดํารงชีวิอิสระในสังคม และการดูแลสุขภาพแบบไมเปนทางการ (Informal Care) ในสวนนี้จึงตอบโจทย วัตถุประสงคของสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการ

คนพิการในครอบครัว

การดูแลทางจิตใจ

การอบรมการดูแลที่บานคนพิการกลับจากโรงพยาบาล

การเงินและอาชีพ

การออกกําลังกาย

การสื่อสารขอมูล

หนวยการดูแลกลางวัน สถาบันการดูแล

การดูแลสุขภาพที่บาน การดูแลตนเอง การดูแลที่บาน

การปรับตัว (Adaptation)

การดูแลทางกาย การดูแลทางสังคม

กิจกรรมทางกายภาพ

กิจกรรมการพยาบาล

กําลังใจและการยอมรับ

ความมั่นคง

Page 249: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๔

บทที ่ ๕ สรุปผลการวิจัย อภปิรายผลและขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย การวิจัยสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงของประเทศไทย เก็บรวบรวมขอมูล โดยมีวัตถุประสงค ๓ ประการ คือศึกษาเกณฑในการวัดความพิการระดับรุนแรง การคาดประมาณการของคนพิการระดับความรุนแรงและแนวโนมในอนาคต การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน สําหรับการวิจัยเปนการวิจัยแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุมตัวอยางที่ศึกษาเปนผูบริหาร นักวิชาการและเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานดานการจัดสวัสดิการใหแกคนพิการ ตัวแทนคนพิการทุกประเภท จาก ๔ ภาคและกรุงเทพมหานคร รวมจํานวน ๒๓๙ คน เก็บรวบรวมขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณระดับลึก การสนทนากลุม การสังเกตแบบไมมีสวนรวม และประชุมนําเสนอผลการศึกษา ผลที่ไดรับจากการวิเคราะหขอมูล สรุปเปนประเด็นหลักๆ ไดดังนี้

๑. เกณฑการวัดความพิการระดับรุนแรง ๑.๑ องคประกอบของแบบประเมิน ประกอบดวย ๓ สวน ดังนี้ ๑) องคประกอบดานการทําหนาที่ของรางกายและโครงสรางทางรางกาย ประกอบดวยขอกระทงเกี่ยวกับลักษณะความพิการจํานวน ๓๑ ขอ โดยใชเกณฑในการประเมินตามสภาพความพิการที่ปรากฏ มีน้ําหนักคะแนนตั้งแต ๐-๑๐ คะแนนตามระดับความรุนแรงของความพิการที่อางอิงมาจากเอกสารรับรองความพิการตามแบบทายกฎกระทรวง พ.ศ. ๒๕๓๗ ๒) องคประกอบดานกิจกรรมและการมีสวนรวม ประกอบดวยขอกระทงเกี่ยวกับ การประเมินความสามารถในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (Activities of Daily Living: ADL) จํานวน ๙ รายการ มีน้ําหนักคะแนนตั้งแต ๐-๓ ตามสภาพสภาพความยากลําบากในการทํากิจกรรม และขอกระทงเกี่ยวกับความจําเปนในการใชอุปกรณเพื่อชวยเหลือในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน (Instrumental Activities of Daily Living: IADL) จํานวน ๖ รายการ มีน้ําหนักคะแนนตั้งแต ๐-๑ ตามสภาพความยากลําบากและความตองการอุปกรณ หรือผูดูแลชวยเหลือในการทํากิจกรรมตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน ๓) องคประกอบดานปจจัยส่ิงแวดลอม ประกอบดวยขอกระทงเกี่ยวกับการประเมิน ความตองการความชวยเหลือทางสังคมของคนพิการอันเนื่องมาจากสภาพจํากัดของบุคคลและสังคม รวม

Page 250: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๕

ไปถึงการใชชีวิตรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางปกติสุขจํานวน ๑๑ รายการ มีน้ําหนักคะแนนตั้งแต ๐-๒ ตามระดับความรุนแรงของความจําเปน ความตองการ หรือการกอใหเกิดสภาพปญหากับคนใกลชิด ๑.๒ ผูประเมิน ในการประเมินความพิการระดับรุนแรง ผูวิจัยเสนอใหมีผูประเมินรวมกัน ๓ คนซึ่งควรจะมาจากองคประกอบหลัก ๓ ดาน คือ

๑) ผูประเมินที่ทํางานหรือเปนผูเชี่ยวชาญดานการแพทย กายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด หรือสาธารณสุข

๒) ผูประเมินที่ทํางานหรือเปนผูเชี่ยวชาญในการดูแล หรือจัดการศึกษา เชนครู อาจารย นักวิชาการ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห พี่เล้ียงหรือผูปกครองสถานสงเคราะหตาง ๆ

๓) ผูประเมินที่เปนผูใกลชิดหรือดูแลผูพิการ ไดแก ผูปกครอง ญาติ หรือพี่เล้ียง ๑.๓ เกณฑการตัดสินความพิการระดับรุนแรง การคิดคะแนนเพื่อการตัดสินความพิการระดับรุนแรงนั้น ตัดสินจากคะแนนเฉลี่ยทุกองคประกอบของผูประเมินทั้งสามคนรวมกัน ถาบุคคลใดมีคะแนนตั้งแต ๒๒ คะแนนขึ้นไปจากแบบประเมินความพิการระดับรุนแรง ถือวาบุคคลนั้นเปนคนพิการระดับรุนแรง

๒. การคาดการณคนพิการระดับรุนแรง

๒.๑ การวิเคราะหแนวโนมคนพิการ สถิติคนพิการที่นํามาใชในการวิเคราะหมาจากฐานขอมูลคนพิการโครงการสํารวจเกี่ยวกับ

อนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๒๔-๒๕๔๔ ชวงหางทุก ๕ ปและ ๑๐ ป ของสํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ตารางที่ ๕.๑ แสดงอตัราการเพิ่มทกุ ๕ ปและอัตราการเพิ่มทุก ๑๐ ป ตั้งแตป ๒๕๑๙-๒๕๔๔

(จํานวน:พันคน) ปท่ีสํารวจ อัตราการเพิ่มทุก ๕ ป (รอยละ) อัตราการเพิ่มทุก ๑๐ ป

(รอยละ) ๒๕๑๙-๒๕๒๔ ๓.๕๒ ๒๕๒๔-๒๕๒๙ ๐.๔๑ ๒๕๒๙-๒๕๓๔ ๘.๗๔

๔.๕๘

๒๕๓๔-๒๕๓๙ -๐.๒๘ ๒๕๓๙-๒๕๔๔ ๐.๕๘

๐.๑๗๔

จากตารางที่ ๕.๑ เปนการวิเคราะหอยางหยาบ พบวา อัตราการเพิ่มทุก ๕ ปและอัตราการเพิ่มทุก

๑๐ ป อัตราการเพิ่มของคนพิการมีลักษณะเพิ่มขึ้น-ลดลงเปนชวงๆ ขณะที่อัตราการเพิ่มขึ้นสูงสุดในชวงป

Page 251: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๖

๒๕๒๙-๒๕๓๔ แตหลังจากป ๒๕๓๔ คนพิการในประเทศไทย มีแนวโนมลดลง (ต่ํากวา ๑ %) ในคนพิการระดับไมรุนแรง อันเปนผลมาจากการแพทยและสาธารณสุขที่ไดดําเนินการรณรงคปองกันอุบัติเหตุทุกประเภท รวมทั้งความเจริญกาวหนาและความครอบคลุมในการบริการทางการแพทยและสาธารณสุข แตอัตราการเพิ่มของคนพิการระดับรุนแรงจะมากกวาอัตราการเพิ่มของประชากร โดย ความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว และความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมจะมีอัตราเพิ่มสูงขึ้น ซ่ึงสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม และการเปลี่ยนผานทางระบาดวิทยาจากโรคติดตอไปสูโรคไมติดตอ (โรคไรเชื้อ) และโรคทางสังคม (Social Disease) ของประเทศไทย คนพิการระดับรุนแรงมีแนวโนมของอัตราผูพิการ เพิ่มสูงขึ้นในอัตราคงที่ (๐.๕-๐.๘) ตั้งแต ป ๒๕๓๔ เปนตนไปมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้นในอัตราคงที่ (๑.๗๐-๑.๘๐) และไดคาดการณวา อัตราการเพิ่มของคนพิการจะมากกวาอัตราการเพิ่มของประชากร โดยความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหวจะพบไดมาก เนื่องจาก ๑)โครงสรางของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไป(สัดสวนของผูสูงอายุจะเพิ่มมากขึ้น) ๒) การเปลี่ยนผานทางระบาดวิทยาความเจ็บปวยจากโรคติดเชื้อเปนโรคไรเชื้อ หรือโรคเรื้อรังที่นําไปสู ความพิการเพิ่มมากขึ้น เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคเหลานี้จะสัมพันธกับพฤติกรรมเสี่ยง ไดแก การบริโภคแอลกอฮอล การสูบบุหร่ี การบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง การจัดการความเครียดที่ไมเหมาะสม ๓) การขยายตัวของอุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมการทองเที่ยว นําไปสูการเกิดอุบัติเหตุการทํางาน อุบัติเหตุการจราจร ๔) วิถีชีวิตของสังคม ชุมชน เรงรีบ แขงขัน นําไปสูความพิการทางจิตใจ ขณะที่ดัชนีสุขภาพจิตของคนในสังคม ตั้งแต ป ๒๕๔๑-๒๕๔๕ พบวา มีคนเปนโรคจิตมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ตั้งแต ป ๒๕๔๒ เปนตนไป และเพิ่มสูงสุดในป ๒๕๔๕ เทียบกับป ๒๕๔๑ ถึง ๒ เทา ขณะที่การจดทะเบียนคนพิการใน ป ๒๕๔๙ มีจํานวนเพิ่มขึ้นถึง ๒ เทาเทียบกับป ๒๕๔๐ ประมาณการไดวามีคนพิการระดับรุนแรงที่จดทะเบียน ถึง ๓๙.๑๘ % หรือ ๑ ใน ๓ ของจํานวนคนพิการที่จดทะเบียนทั้งหมด แตเมื่อคาดคะเนแนวโนมคนพิการระดับรุนแรงใน ๑๐ ปขางหนาจะมีคนพิการระดับรุนแรงถึง ๒๕๗,๖๒๒ คน ๓. ความจําเปนและการไดรับสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ความจําเปนที่คนพิการระดับรุนแรง ซ่ึงไมสามารถชวยเหลือตัวเองได ควรไดรับการชวยเหลือดูแลจากภาครัฐ ใหสามารถดํารงชีวิต หรือมีคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐาน ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ขณะที่คนพิการบางสวนยังมีความพิการซ้ําซอนที่ยิ่งทําใหเกิดปญหา การดํารงชีวิตในทุกดาน ทั้งปจจัยพื้นฐานที่ยังไมไดรับการตอบสนอง สวัสดิการควรพิจารณาตาม “การชวยตัวเองได (กลุมเสี่ยง) ชวยเหลือตัวเองไดบาง (กลุมยากลําบาก) และชวยตัวเองไมได (กลุมยากลําบากมาก)” การไดรับการสงเคราะห มีความจําเปนควบคูกับสวัสดิการ โดยเฉพาะผูพิการระดับรุนแรง ในดานตางๆดังนี้ ดังตารางที่ ๕.๒

Page 252: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๗

ตารางที่ ๕.๒ สรุปสวัสดิการสังคมที่จําเปนและการไดรับสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรงประเภทตางๆ

ประเภท ความจําเปนและการไดรับสวัสดิการสังคมดานตางๆ

การศึกษา สุขภาพอนามัย การมีอาชีพและรายได

บริการสังคม นันทนาการ

คนพิการทางการมองเห็น

-การศึกษาในระบบ -การอบรมอาชีพ

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -บริการเชิงรุก -ชองทางดวน

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -การพัฒนาอาชีพครบวงจร -ศูนยฝกอาชีพ

-เบี้ยยังชีพเสนอขอ ๒,๒๘๕ -ชุมชนรวมดูแลและบริการในชุมชน

-ลานกีฬาและอุปกรณ -ลานดนตรี

คนพิการทางการไดยินหรือสื่อความหมาย

-การศึกษาในระบบ -การอบรมลาม ภาษามือ

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -ชองทางดวน -การสื่อสาร ลาม ภาษามือ

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -การพัฒนาอาชีพที่ครบวงจร ๔ P -สํานักจัดหางานแหงชาติ

-เบี้ยยังชีพที่เสนอขอ ๒๓๖๗.๖๖ บาท -ชุมชนรวมดูแลและรวมบริการ

-ล า น กี ฬ า แ ล ะอุปกรณ -สถานพักผอนหยอนใจ

คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว

-การศึกษาในระบบ -การอบรมอาชีพ

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -ชองทางดวน -บริการเชิงรุก

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -อาชีพครบวงจร ประสานโอท็อป -ศูนยจัดหางานอําเภอ

-เบี้ยยังชีพที่เสนอขอ ๓๕๕๒.๓๘ บาท -ชุมชนรวมดูแลและรวมบริการ ดูแลที่บาน

-ลานกีฬาและอุปกรณ -กายภาพบําบัด -แขงขันกีฬา

คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม

-การศึกษาพิเศษ -การอบรมการดูแล

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -ชองทางดวน -ยาที่มีคุณภาพ

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -การพัฒนาอาชีพผูปกครอง

-เบี้ยยังชีพที่เสนอขอ ๓๑๒๙.๙๘ บาท -บริการในชุมชน ดูแลที่บาน

-ล า น กี ฬ า แ ล ะอุปกรณ -ส ถ า น พั ก ผ อ นหยอนใจ

คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู

-การศึกษาพิเศษ -การอบรมการดูแล

-การเขาถึงบริการสุขภาพ -บริการเชิงรุก -ชองทางดวน

-การจางงาน -มีอาชีพมั่นคง -การพัฒนาอาชีพผูปกครอง

-เบี้ยยังชีพที่เสนอขอ ๕,๑๐๐ บาท -บริการในชุมชน Informal care

-ล า น กี ฬ า แ ล ะอุปกรณ -ส ถ า น พั ก ผ อ นหยอนใจ

พิสัยรวม ๕๐๐-๑๐,๐๐๐ บาท/คน/เดือน คาเฉลี่ย ๓๔๕๙.๔๕ บาท/คน/เดือน

Page 253: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๘

การประมาณการในการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ที่ชวยตัวเองไมได จากการเก็บขอมูลในพื้นที่ ๔ ภูมิภาคและกรุงเทพฯ คนพิการทุกประเภทเสนอขอเบี้ยยังชีพที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง แยกตามประเภทความพิการโดยคนพิการทางสติปญญาหรือ การเรียนรูเสนอขอมากที่สุด =๕,๑๐๐ บาทตอเดือน และคนพิการทางการมองเห็นเสนอขอต่ําสุด = ๒,๒๘๕ บาทตอเดือน เฉลี่ยเบี้ยยังชีพที่คนพิการระดับรุนแรงเสนอขอ = ๓๔๕๙.๔๕ บาทตอเดือน ดังตารางที่ ๕.๓

ตารางที่ ๕.๓ สรุปเบี้ยยังชีพที่คนพิการประเภทตางๆเสนอขอ

ที่ ประเภทคนพกิาร คาเฉลี่ยเบี้ยยงัชีพ ๑ คนพิการทางการมองเห็น ๒,๒๘๕ ๒ คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ๒๓๖๗.๖๖ ๓ คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ๓๕๕๒.๓๘ ๔ คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ๓๑๒๙.๙๘ ๕ คนพิการทางสติปญญาหรือการเรียนรู ๕,๑๐๐ พิสัยของคาเฉลี่ย ๒,๒๘๕-๕,๑๐๐ รวม ๓๔๕๙.๔๕

๔. รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการ ๔.๑ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคม ๑) รูปแบบเชิงสถาบัน (Institutional Welfare Model) เปน “รูปแบบภาครัฐ”

การดําเนินงานโดยงบประมาณของรัฐและดําเนินการโดยรัฐ เปนรูปแบบของการใหสวัสดิการและการสงเคราะหควบคูกันไป ตามวัฐจักรแหงความชั่วราย “ความไมรู สุขภาพ และความยากจน” คือในดานการบริการการศึกษา ดานสุขภาพอนามัย และการประกอบอาชีพและรายได เปนหลัก

๒) รูปแบบทวิลักษณ (Double Welfare Model) เปนรูปแบบภาคี การจัดสวัสดิการสังคม โดยงบประมาณของรัฐ องคกรพัฒนาเอกชน และองคกรเอกชน พบวา

องคกรเอกชน ไมวาจะเปนสมาคม องคกร มูลนิธิที่เกี่ยวของกับคนพิการ ที่ไดจดทะเบียนกับภาครัฐ ประกอบดวย หนวยงานทั้งหมดทั้งในกรุงเทพฯและตางจังหวัด ซ่ึงไดมีการดําเนินกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับคนพิการในบริการสังคมทั้ง ๗ ดาน คือ บริการดานการศึกษา ดานสุขภาพ ดานอาชีพและรายได ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ดานบริการสังคม ดานนันทนาการ ดานกฎหมาย ดานใหคําปรึกษา รวมถึงการใหความชวยเหลือเพื่อการดํารงชีวิตขั้นพื้นฐาน

Page 254: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๓๙

๓) รูปแบบพหุลักษณ (Multiple Sectors Welfare Model) เปน”รูปแบบสหวิชาชีพ /สหสาขา” การจัดสวัสดิการสังคม ระหวางรัฐ และภาคประชาชน โดยงบประมาณและดําเนินงานโดย

องคกรพัฒนาเอกชน ภาคประชาชนที่มีความหลากหลาย ถือเปน “สวัสดิการชุมชน (Community Welfare)” เพื่อสรางความเขมแข็งและพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน

สวัสดิการสังคมที่ เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ควรจะเปนรูปแบบพหุลักษณ มีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน โดยเฉพาะการสงเสริมใหเกิดสวัสดิการชุมชนในทองถ่ินที่มีความเขมแข็งของชุมชน การจัดสวัสดิการชุมชนทั้งที่ใชฐานองคกรการเงินภายในชุมชน ฐานการผลิตในชุมชน ฐานกองทุนหมุนเวียนในชุมชน และอุดมการณ/ศาสนา และผสมผสานหลัก การตลาด ๔ P การบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) ที่นําไปสูปจจัยแหงความสําเร็จและลมเหลวในกองทุนตางๆ ที่สงผลถึงคนพิการ ในรูปแบบที่แสดงถึงการบูรณาการสวัสดิการชุมชนใหกับคนพิการ

จากการวิจัยสามารถสรุปรูปแบบสวัสดิการสังคมที่สําคัญของคนพิการระดับรุนแรงในสังคมไทย ดังแผนภูมิที่ ๕.๑

แผนภูมิที่ ๕.๑ แสดงรูปแบบความเชื่อมโยงสวัสดิการสังคมของคนพิการระดับรุนแรง

รูปแบบเชิงสถาบัน (ภาครัฐ)

รูปแบบเชิงทวิลักษณ (รัฐกับเอกชน)

รูปแบบพหุลักษณ คือ (สวัสดิการชุมชน) สหวิชาชีพ/สหสาขา

การดูแลในสถานสงเคราะหในกรณีที่ชวยตัวเองไมไดเกินขีดความสามารถของชุมชน

การฟนฟูสมรรถภาพ โดยชุมชน (CBR)

การดูแลในครอบครัว ชุมชน (Community Day Care , CDC)

ศูนยการดูแลระดับชาต ิ (National Day Care Center ,NDCC )

ศูนยเครือขายบริการ (Service Link Center , SLC)

การดํารงชีวิตอิสระในกรณีที่มีศักยภาพ

(Independent Living ,IL)

Page 255: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๐

๔.๒ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ๔.๒.๑ รูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพตามโครงการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน

(CBR) เปนรูปแบบที่เหมาะสมในสังคมไทย ที่คนพิการระดับรุนแรงไดพัฒนาศักยภาพและเครือขาย การมีสวนรวมของประชาชน โดยประชาชนและเพื่อประชาชนแบบองครวม นับแตการเตรียมชุมชน กลุมแกนนํา การจดทะเบียนคนพิการ การคนหาคนพิการ การบริการสวัสดิการ เบี้ยยังชีพ การกูเงินกองทุนฟนฟูอาชีพคนพิการ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ การฝกอาชีพ การสงเสริมการจัดหางาน การเฝาระวังและปองกันความพิการซ้ําซอน การใหการศึกษาเรียนรู การปรับตัวและขอมูลขาวสาร ฯลฯ ๔.๒.๒ รูปแบบการฝกอาชีพ “บานสมานใจ” เปนการพัฒนาศักยภาพคนพิการดานจิตใจหรือพฤติกรรม และดานสติปญญาหรือการเรียนรู ดวยการพัฒนาอาชีพ (Career Development) ของชุมชน จังหวัดเชียงใหม ใหมีศักยภาพในการสรางสรรคงาน หัตกรรม การออกแบบ การทอผา ปกเสื้อ การวาดรูป ฯลฯ เพื่อการอาชีพ การผลิต การจําหนาย การหาตลาดแบบครบวงจรและมั่นคง นับเปนแนวทางการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ๔.๒.๓ รูปแบบการดํารงชีวิตอิสระของคนพิการ (Independent Living, IL) เปนการพัฒนาศักยภาพคนพิการ สรางพลังคน พลังความรู และพลังทรัพยากร การจัดองคกรการชวยเหลือ การบริการขอมูลขาวสาร การใหคําปรึกษาฉันเพื่อน การฝกทักษะการดํารงชีวิต และการพิทักษสิทธิคนพิการ เพื่อการดํารงชีวิตอิสระและความเขมแข็งของชุมชนคนพิการ ๔.๒.๔ รูปแบบการดูแลสุขภาพโดยชุมชน แบบไมเปนทางการ (Informal Care) เปนรูปแบบที่ผสมผสานการดูแลสุขภาพกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับรุนแรงในชุมชน ทั้งการสรางศักยภาพและสมรรถภาพ ประกอบดวย ๑) รูปแบบการดูแลคนพิการระดับรุนแรงโดยชุมชน (Day Care Model) เปนการดูแลคนพิการระดับรุนแรงในเวลากลางวันทั้งดานกิจวัตรประจําวัน ดานสุขภาพ ดานการศึกษา ดานการอาชีพ และดานนันทนาการ ของหนวยดูแลในชุมชนที่มีเจาหนาที่และผูดูแล เพื่อใหชุมชนชวยเหลือคนพิการระดับรุนแรง และ ๒) การดูแลสุขภาพที่บาน (Home Health Care) /การดูแลตนเอง (Self-care) การดูแลสุขภาพคนพิการที่กลับจากสถานพยาบาล การพัฒนาศักยภาพ การปรับตัว การดูแลตนเองและการมีผูชวยเหลือในกิจกรรมทุกอยางตามกิจวัตรประจําวัน ทั้งในระดับครอบครัวและชุมชน (รายละเอียดดังแผนภูมิ ที่ ๔.๑๑-๔.๑๕) การอภิปรายผล ๑. พลวัตแหงความยากจนและสภาพความพิการที่นําไปสูความยากจน มูลเหตุแหงความพิการที่นําไปสูความยากจน มีทั้งที่เกิดมาแตกําเนิดและเกิดในภายหลัง แตส่ิงสําคัญคือการปรับตัวอันมีผลมาจากวัฐจักรความชั่วราย (Vicious Cycle) ที่ตองพัฒนาบูรณาการควบคูกันไปทั้งการศึกษาเพื่ออาชีพ การสรางอาชีพครบวงจร เหมาะสมตามศักยภาพ ตามความตองการของคน

Page 256: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๑

พิการ รวมถึงการมีรายไดที่มั่นคง ดังที่กฎหมายแรงงานกําหนดใหคนงาน ๒๐๐ คน ตองมีการจางงาน คนพิการ ๑ คน แตความจริงสวนใหญคนพิการมักตกอยูในวังวนของวัฐจักรดังกลาว คนพิการมักขาด ๔ มิติที่นําไปสูความยากจน คือ ๑) จนสินทรัพย คือ ขาดรายได ขาดปจจัยการผลิต ขาดปจจัยยังชีพ ๒) จนสิทธิและโอกาส มีความดอยสิทธิ ไมไดรับสิทธิ ถูกตัดสินทางสังคม ไมมีโอกาสทางการศึกษา เขาไมถึงบริการสาธารณะ เขาไมถึงหรือถูกตัดขาดจากฐานทรัพยากรที่เปนเครื่องมือยังชีพ เชน ถูกตัดขาดจากปา จากน้ํา จากทรัพยากรทองถ่ิน ถูกตัดขาดจากแหลงทํากิน ขาดการรวมกลุมกัน ๓) จนอํานาจ ขาดอํานาจตอรอง ทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง ตกอยูภายใตความสัมพันธความเสมอภาค ถูกเอารัดเอาเปรียบ ถูกขูดรีด ไรกลไกปองกันตัวและปองกันผลประโยชนแหงสิทธิที่พึงมีพึงได ๔) จนศักดิ์ศรี ถูกแบงแยกแตกตาง (Discrimination) ถูกเบียดขับทางสังคม ถูกเหยียดหยาม ถูกผลักตอนใหเขาสูมุมอับและมุมมืดของสังคม (ณรงค เพ็ชรประเสริฐ ๒๕๔๖ : ๒) ดังนั้นแนวทางที่จะชวยใหคนพิการจึงตองกําหนดเกณฑการวัดความพิการแบบองครวม (Holistic) ทั้งมิติทางการแพทยและมิติทางสังคม การสงเสริมและพัฒนาคนพิการใหมีอาชีพและรายไดที่มั่นคง ซ่ึงเปนความตองการเปนอันดับแรก จึงตองมีการเตรียมความพรอมกอนการประกอบอาชีพ เพิ่มทักษะและใหโอกาสในการประกอบอาชีพ การบรรจุลูกจางที่พิการในตําแหนงที่เหมาะสม ฝกอบรมทักษะการทํางานในรูปแบบชมรมคนหางาน (ชลลดา ชนะศรีรัตนกุล ๒๕๔๘ : บทคัดยอ) สรางเจตคติของครอบครัว ชุมชนและสังคมในทางที่ถูกตอง สรางกลไกการสงเสริมตอความตองการดานการฟนฟูสมรรถภาพทางอาชีพแกคนพิการ จัดตั้งสถาบันแรงงานคนพิการแหงชาติ เพื่อเปนกลไกหลักในการบริหารจัดการ (สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์ ๒๕๔๔ : บทคัดยอ) สอดคลองกับแนวคิด การสรางโครงขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net) ของธนาคารโลกที่จัดสวัสดิการขั้นต่ําใหแกกลุมเปาหมาย คนที่ชวยเหลือตัวเองไมได และสวัสดิการนั้นครอบคลุม ๓ ดานหลักๆ คือบริการสังคม เชน การศึกษา การรักษาพยาบาล การประชาสงเคราะห คือ การชวยเหลือแบบใหเปลาแกผูที่ชวยตัวเองไมไดใหมีความมั่นคง (Security) จึงเปรียบเสมือนตาขายที่รองรับสวนขาดที่ไมมีหลักประกันความมั่นคง และสอดคลองกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Quality of Life) จากการสํารวจความจําเปนขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่พอเพียงตอการดํารงชีวิต ๒. เกณฑการวัดความพิการระดับรุนแรง การสรางเกณฑสําหรับการประเมินความพิการระดับรุนแรงนี้เปนเกณฑที่สรางขึ้นโดยมีพื้นฐานแนวคิดที่เกี่ยวของกับรูปแบบความพิการเชิงการแพทยที่มีการสรางเกณฑเชิงวิทยาศาสตร โดยมีสมมติฐานของการปรากฏอาการเจ็บปวย (Pathology) เปนสําคัญ (Smart & Smart, ๒๐๐๖) ซ่ึงสงผลใหคนพิการเปนบุคคลที่มีความดอยทางชีววิทยา (Biological Inferiority) การทํางานของรางกายที่ผิดพลาด (Malfunction) บุคคลที่เจ็บปวย (Pathology) และบุคคลที่ไมปกติ (Deviance) เมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลทั่วไป (Pfeiffer, ๒๐๐๑; Mitra, ๒๐๐๖; Smart & Smart, ๒๐๐๖) ซ่ึงมีความขัดแยงโดยสิ้นเชิงกับรูปแบบ

Page 257: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๒

ความพิการเชิงสังคม (Pfeiffer, ๒๐๐๑) ที่ใหนิยามความพิการวาเปนโครงสรางของสังคม โดยความพิการเกิดจากการที่บุคคลมีปฏิสัมพันธกับการทํางานของสภาพแวดลอมทางสังคม (Social Environment) ความยากลําบากที่เกิดมาจากสภาพแวดลอมทางสังคมที่ไมเอื้อใหบุคคลสามารถทํากิจกรรมตาง ๆ ได ซ่ึงเปนตัวการสําคัญที่สรางภาวะพิการ (Disability) การแกปญหาจึงตองเนนที่การปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมทางสังคม ไมใชเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลที่ไดรับการประเมินวามีความพิการ (Thomason, Burton, & Hyatt, ๑๙๙๘; Mitra, ๒๐๐๖; Smart & Smart, ๒๐๐๖) ซ่ึงแนวคิดนี้กระตุนใหสังคมตระหนักถึงความจําเปนของบุคคลที่ตองไดรับอุปกรณชวยความพิการ หรือส่ิงอํานวยความสะดวกในการทํากิจกรรมตาง ๆ (Thomason, Burton, & Hyatt, ๑๙๙๘; GAO, ๑๙๙๙) องคการอนามัยโลก (WHO, ๒๐๐๑) ไดมีการประสานแนวคิดหลักเกี่ยวกับรูปแบบคําจํากัดความของความพิการทั้ง ๒ รูปแบบและสรางบัญชีสากลเพื่อการจําแนกการทํางาน ความพิการและสุขภาพ (ICF) โดยกระทรวงสาธารณสุข (๒๕๔๗) ไดดําเนินการจัดแปลเปนภาษาไทย ซ่ึงรูปแบบแนวคิดของ ICF ใหนิยามในการอธิบายสุขภาพและองคประกอบของการกินดีอยูดีที่เกี่ยวของกับสุขภาพโดยพิจารณาจากรางกายตัวบุคคลและสังคม ๒ ประการคือ ๑) การทํางานของรางกายและโครงสราง และ ๒) กิจกรรมและการมีสวนรวม นอกจากนี้ ICF ยังไดระบุถึงปจจัยสภาพแวดลอมที่สงผลตอบุคคลทําใหเกิด “ภาวะความพิการ” (สํานักงานสถิติแหงชาติ, ๒๕๔๗) เนื่องจากเกณฑการประเมินความพิการระดับรุนแรงในประเทศไทยยังยึดถือแนวคิดทางการแพทยและความสามารถในการพึ่งตนเองเปนสําคัญ คณะผูวิจัยจึงไดศึกษาคนควางานวิจัยของตางประเทศที่เกี่ยวของกับการกําหนดเกณฑในการประเมินความพิการระดับรุนแรง พบวา มีหลายหนวยงานไดมีความพยายามที่จะนําขอประเมินที่เกี่ยวกับสภาพความยากลําบากในการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน ความตองการใชอุปกรณชวยเหลือ การพึ่งพาตนเองและความสามารถในการหาเลี้ยงชีพตนเอง เปนองคประกอบในการตัดสินความพิการระดับรุนแรงเชนกัน (Fairfax School, the Office of Special Education, ๒๐๐๕; GAO, ๑๙๙๙; The National Institute on Disability and Rehabilitation Research, ๑๙๙๖; & Oklahoma Administrative Office, ๒๐๐๖) ดังนั้น มาตรประเมินที่คณะผูวิจัยไดนําเสนอจึงเปนมาตรวัดที่เกิดจากการบูรณาการความคิด ทฤษฎีที่มีความสอดคลองกับแนวคิดความพิการทั้งสองรูปแบบ แนวคิด ICF และเกณฑประเมินความพิการระดับรุนแรงของหนวยงานอื่น ๆ โดยมีพื้นฐานมาจากการสรางรายการประเมินและการกําหนดคะแนนเชิงประจักษ รวมทั้งการคํานึงถึงประสิทธิภาพของแบบประเมินโดยกําหนดคุณสมบัติของผูประเมินวาตองเปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ และผูใกลชิดกับคนพิการและมีจํานวนอยางนอย ๓ คนตอการประเมินคนพิการแตละครั้ง เพื่อใหผลการประเมินครอบคลุมและเปนที่ยอมรับเชื่อถือได อยางไรก็ตาม เกณฑการประเมินความพิการระดับรุนแรงนี้ เปนเพียงขอเสนอของคณะผูวิจัยที่เสนอจากพื้นฐานของการสังเคราะหแนวคิดทฤษฎีการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของเทานั้น

Page 258: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๓

จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองไดรับการประเมินจากผูเชี่ยวชาญและทดลองใชเพื่อปรับปรุง โดยในระยะแรกอาจจะทดลองใชนํารองและปรับปรุงแกไขเมื่อใชแบบประเมินความพิการระดับรุนแรงนี้แลว ๑ ป ๓. ประเภทของการไดรับสวัสดิการสวนใหญเปนบริการสังคมและการสงเคราะหมากกวาสวัสดิการชุมชน จากแนวคิดของรัฐที่ไดมีการจัดสวัสดิการในการสงเคราะห แบบสถาบันสวัสดิการเปนหลัก (Institution Welfare) ทําใหคนพิการระดับรุนแรงสวนประเทศไทยมักไดรับสวัสดิการที่เปน การสงเคราะหในรูปของสถานสงเคราะหตางๆในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ถึง ๙ แหง สําหรับคนพิการที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได คนพิการที่ทุพพลภาพ ไมสามารถดูแลตนเองไดสวนใหญเปนเด็กพิการทางสมองและสติปญญา และคนไขโรคจิตทุเลา แมวาจะเปนสิ่งจําเปนที่ตองใหการสงเคราะหแบบบูรณาการ จากทีมสหวิชาชีพตางๆ ที่ตองสรางเครือขายรวมกับการฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการในชุมชน การจัดทําแผนการฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการใหชัดเจน การระดมทรัพยากรจากภายนอกมาชวยสนับสนุน (ศิริรัตน ทัศนกิจ ๒๕๔๘ : บทคัดยอ ) ส่ิงที่คนพิการในสังคมสวนใหญไดรับสวัสดิการดานสาธารณสุข เชน โครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนา (บัตรทอง ท.๗๔) และสามารถเขาถึงได ดานการศึกษา เบี้ยยังชีพคนพิการ เงินสงเคราะหคนพิการในครอบครัว บริการรถสามลอมือโยกและรถกีฬาคนพิการ ส่ิงอํานวยความสะดวก คนพิการ บริการดูแลคนพิการในสถานสงเคราะห การฝกอาชีพคนพิการ บริการจัดหางานคนพิการ และบริการกูยืมเงินกองทุนฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ฯลฯ ส่ิงตางๆเหลานี้รัฐไดจัดใหกับคนพิการ แตสวัสดิการดังกลาวมิไดบงบอกถึงหลักประกันสังคม (Social Insurance) เชน การประกันการมีรายได ประกันการวางงาน การประกัน การดํารงชีพ รวมถึงการประกันชีวิต เชน เบี้ยเอื้ออาทรคนพิการ ฯลฯ ซ่ึงตองผสมผสานสวัสดิการทั่วหนา มากกวาการเปนรัฐสวัสดิการเพียงประการเดียว การสรางความมั่นคงทางสังคมอันเปนหลักประกันคงตองพิจารณาใหเกิดขึ้นในอนาคต ๔. บทบาทการจัดสวัสดิการสวนใหญยังเปนภาครัฐในขณะที่สวัสดิการชุมชนท่ีใชทรัพยากรจากภาครัฐมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ปจจุบันแนวคิดการปฏิรูปสวัสดิการในปจจุบันมีการเปลี่ยนกระบวนทัศน ในรูปแบบสวัสดิการ จากสถานสงเคราะหโดยรัฐไปสูการดํารงชีวิตขององคกรชุมชน (Shift Models of Welfare : Issues in Relocation from an Institution and the Organization of Community Living) หรือมีการปรับเปลี่ยนจากการพึ่งพิงสวัสดิการ (Welfare Dependency) ไปสูโครงขายความปลอดภัยอยางยั่งยืน (Sustainable Safety Net) (Hacker ๒๐๐๑ : ๒)

Page 259: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๔

ขณะที่สวัสดิการของคนพิการระดับรุนแรงไดรับเปนสวัสดิการที่มาจากภาครัฐเปนสวนใหญ สอดคลองกับการศึกษาของ ดวงกมล วิมลกิจ (๒๕๔๗) วิทยากร เชียงกุล (๒๕๔๖) อภิญญา เวชยชัยและกิติพัฒน นนทปทมะดุย (๒๕๔๖) ณรงค เพ็ชรประเสริฐ (๒๕๔๔ : ๓๘) ที่เห็นวาองคกรชุมชนไมสามารถจัดสวัสดิการใหแกชุมชนไดเพียงพอ การจัดสวัสดิการภาคชุมชนเปนการชวยเหลือตนเองไดระดับหนึ่ง แตการจัดสวัสดิการที่จําเปนใหประชาชนตองเปนภาระของรัฐอยางหลีกเลี่ยงไมได โดยเฉพาะที่เปนบริการโดยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางเชน บริการรักษาพยาบาล หรือการใหการศึกษา ฯลฯ โดยชุมชนอาจมีบทบาทเพิ่มในลักษณะบริการที่เปนเชิงรุก เชน การสงเสริมสุขภาพ การออกกําลังกาย การปองกันโรค ยาเสพติด การฝกอาชีพ การรวมกันชวยเหลือและดูแลคนพิการ ฯลฯ โดยการสรางกระบวนการเรียนรู เพื่อใหเกิดการตระหนักและนําไปปฏิบัติ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปนตน รวมถึงการเปนองคประกอบหลักของระบบการจัดสวัสดิการ นอกจากนี้บทบาทที่รัฐควรดําเนินการหลักเกี่ยวกับเร่ืองคุณภาพ โดยสรางหนวยงานอิสระที่ทําหนาที่ในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ

สําหรับสวัสดิการที่มีแหลงเงินจากภาครัฐ แตดําเนินงานโดยองคกรชุมชนมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากแนวทางการพัฒนาและนโยบายรัฐตองการใหภาคประชาชนเขามามีสวนรวมมากขึ้น ดวยการจัดสวัสดิการโดยชุมชนชวยใหการจัดสวัสดิการครอบคลุมมากขึ้น แตยังไมสามารถครอบคลุมกลุมคนพิการ เพราะมีการกีดกันจากสถานะทางเศรษฐกิจ เชน การไมมีรายไดมากพอที่จะออมก็ไมสามารถเปนสมาชิกของกองทุน กลุมตางๆ จึงไมสามารถกูเงินได ไมมีการจางงาน ซ่ึงคนพิการในชุมชนจึงถูกกีดกันสิทธิไปโดยปริยาย สอดคลองกับณรงค เพ็ชรประเสริฐ (อางแลว) ที่กลาวถึงคนจนขาดโอกาสทั้ง ๔ มิติ

นอกจากนี้ การที่บทบาทภาคองคกรชุมชนดําเนินการโดยใชแหลงทุนของรัฐมีเพิ่มขึ้น แต เงินออมหรือใชทรัพยากรของชุมชนมีนอยลง คนพิการสวนใหญไมมีเงินออม เพราะสวนใหญมีรายไดไมเพียงพอถึงขนาดไมเพียงพออยางมาก มีภาระหนี้สิน เพราะมีคาใชจายในการดํารงชีวิต ดังนั้นการพัฒนาตามแนวทางนี้จะเกิดประโยชน เชน การมีผูนําที่เขมแข็ง มีทักษะความรู มีพันธมิตรรวมและอาสาสมัครสนับสนุน (Hacker ๒๐๐๑ : ๓) หรือเงื่อนไขในการแปลงไปสูการปฏิบัติ ไดแก การพัฒนาโดยไมคํานงึถึงฐานคิดเดิม การรวมกลุม ผูนําและทรัพยากรที่มีอยูเดิมในชุมชน มีการสรางผูนําใหม กลุมหรือกองทุนใหม การสรางความเปนเจาของกองทุน การสรางแรงบันดาลใจในการตอสูใหกองทุนนั้นๆคงอยูและใชประโยชนไดตอไป

การผสมผสานกับสวัสดิการชุมชน (Community Welfare) ที่มีความพรอมและศักยภาพใน การใหความชวยเหลือคนพิการในอนาคตที่สรางเสริมพลังความเขมแข็งของชุมชน มีฐานขอมูลสนับสนนุสูสังคมความรู (Society Knowledge) อยางไรก็ตามการเปลี่ยนแนวคิดของกระบวนทัศน จากการสงเคราะหสูการประกันสังคมในรูปแบบของบริการสังคม การสรางโครงขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net) ที่สรางความมั่นคงในชีวิต (Living Security) ใหกับคนพิการระดับรุนแรง

Page 260: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๕

๕. ความยั่งยืนของสวัสดิการชุมชนขึ้นอยูกับความเขมแข็งของชุมชน การจัดสวัสดิการโดยใชงบประมาณและการดําเนินการโดยชุมชนในประเทศไทย ยังมีไมมากและอาจไมยั่งยืนเทาที่ควร เพราะความเขมแข็งของชุมชนเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหชุมชนสามารถจัดสวัสดิการชุมชนไดอยางยั่งยืน ซ่ึงปจจัยที่ทําใหชุมชนมีความเขมแข็งมาจากหลายๆองคประกอบ เชน ผูนํา แนวทางการดําเนินงานสนับสนุนของหนวยงานรัฐและหนวยงานอื่นๆ และภาวะกายภาพของชุมชน เปนตน ความเขมแข็งของชุมชนจึงเปนฐานพลังของการพัฒนาสังคม ที่จะเอื้อใหคนพิการไดรับการดูแล ชวยเหลือ จากผูชวยเหลือดูแลในชุมชน ขณะที่สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) เปนองคกรชุมชนที่มุงสรางความเขมแข็งของสังคมจากรากฐาน ไดสราง “เครือขายองคกรชุมชน” และ “กลไกจังหวัด” ในการรวมกลุมองคกรตางๆ ใหเกิดความเขมแข็ง ผานการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐ ถึง ๕๕๑ ลานบาทเศษ ในการพัฒนาเครือขาย กลไกจังหวัด ประชาสังคม กลไกความรวมมือหลายฝายทั้งดานสงเสริมอาชีพและธุรกิจชุมชน พัฒนาและอนุรักษส่ิงแวดลอม พัฒนาที่อยูอาศัย สงเสริมระบบสวัสดิการชุมชน พัฒนาสื่อชุมชนและประชาสัมพันธ และสงเสริมวัฒนธรรม รวมถึงโครงการสินเชื่อเพื่อการพัฒนา แกไขปญหาทางการเงิน หนี้สินนอกระบบ (www file //c:\ Documents and Setting \ Administrator \My Documents\CODI ) ๑๗ /๙/๒๕๔๙) จึงเปนหนวยงานภาคเอกชนที่เขามามีบทบาทในการสรางความเขมแข็งของชุมชน อยางไรก็ตาม ส่ิงบงบอกถึงความเขมแข็งของชุมชน นั่นคือ การมีสวัสดิการชุมชน นอกจากนี้ความเขมแข็งของชุมชน ตองตั้งอยูบนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของคนพิการ ในทางสายกลางใหมีความพอเพียง นั่นคือ “ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงการมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอ” ตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก ที่ตองอาศัยความรอบรู ความระมัดระวังเพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลง ความจริงคนพิการสวนใหญไดใชแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการดํารงชีวิต ดวยความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความระมัดระวังอยางคนพิการระดับรุนแรง บางคนขอเบี้ยยังชีพเพียง ๕๐๐ บาททั้งที่มีความจําเปนและมีภาระคาใชจายที่ไมเพียงพอ แตก็ขอเพียงเทานี้ ๖. การดูแลแบบไมเปนทางการ (Informal Care) ยังเปนแนวทางสําคัญในการคุมครองทางสังคมของกลุมคนพิการ

การชวยเหลือกันในชุมชนไมวาจะเปนรูปแบบใดๆ ที่เรียกวา การดูแลแบบไมเปนทางการ(Informal Care) ในแบบของศูนยการดูแลกลางวัน (Day Care) เชน การดูแลตนเอง (Self-care) การเยี่ยมบานผูปวย (Home visit) การดูแลสุขภาพที่บาน (Home Health Care) การพยาบาลที่บาน (Nursing Care) การดูแลชวยเหลือกันที่บาน (Home Care) การดูแลชวยเหลือกันในชุมชน (Community Care) รวมถึง การเขาแคมป (Camp Hill) ทั้งในชุมชนและโรงเรียน ส่ิงเหลานี้เปนการพัฒนาบริการชุมชน

Page 261: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๖

และขอมูลในครอบครัว อยางกรณีของประเทศอังกฤษที่มีคนพิการดวยภาวะการเกิดโรครุนแรง (Disabled Stroke Survivors) ถึงรอยละ ๐.๕ % (๒๕๐,๐๐๐ จากประชากร ๕๐ ลานคน) แตมีโครงการดูแลกันของชุมชน (Informal Care) สามารถลดอาการ Stroke ลงเหลือเพียงรอยละ ๐.๐๗ % (๓๕,๐๐๐ คน จากประชากร ๕๐ ลานคน) (Hankey, ๒๐๐๔ : ๑) รูปแบบการชวยเหลือกันในชุมชน ที่ภาครัฐสนับสนุนเปนพี่เล้ียง (Mentor) ดวยสหวิชาชีพ ภาครัฐสนับสนุนการจัดทําฐานขอมูล จัดศูนยเครือขายบริการ (Service Link Center) เชื่อมโยงระดับชาติกับชุมชน เพราะภาครัฐยังไมสามารถจัดบริการสังคมในสถาบัน คือสถานสงเคราะหไดเพียงพอ ขณะที่การใหชุมชนมีสวนรวมการดูแล ความเปนเจาของโครงการ และคนพิการไดมีโอกาส มีศักยภาพมากกวาการรอการสงเคราะหเพียงดานเดียว ภายใตแนวคิดการสนับสนุนทางสังคม สราง “สวัสดิการชุมชน (Community Welfare)” เพื่อเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมรับผิดชอบ สอดคลองกับการศึกษาของ รพีพรรณ คําหอม (๒๕๔๒) ที่กลาวถึงการจัดสวัสดิการสังคมตองมีรูปแบบที่หลากหลายยืดหยุนทางเลือก และสอดคลองกับวิยะดา ตีระแพทย, ๒๕๔๒ ที่ไดศึกษาการนํานโยบายการถายโอนงานดานสวัสดิการสังคมสูการปฏิบัติงาน จึงตองเตรียมความพรอมใหกับทองถ่ินตามภารกิจภายหลังการถายโอนงานสวัสดิการสังคม และสอดรับกับขอเสนอของอภิญญา เวชชัยและกิตติ นนทปทมะดุล (๒๕๔๖) ที่มีขอเสนอการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศนใหชุมชนมีสวนในการสนับสนุนการจัดตั้งสวัสดิการชุมชน และพัฒนาศักยภาพคนจนและคนดอยโอกาส คนหาศักยภาพและมีสวนรวมการกลั่นกรองสิทธิประโยชนของตนเอง และผลักดันใหกลุมผูทุกขยากมีสวนรวมในการบริหารจัดการดูแลชวยเหลือ รวมถึงเงินทุนในชุมชน

ขอเสนอจากการวิจัย คณะผูวิจัยขอเสนอแนะการวิจัยตามวัตถุประสงคการศึกษา ทั้ง ๓ ขอ ดังนี้ ๑. เกณฑในการวัดความพกิารระดับรุนแรง ๑.๑ ควรมีการศึกษาวจิัยอยางเปนระบบเพื่อทดลองใชแบบประเมินความพิการระดับรุนแรง ๑.๒ ควรมีการศึกษาคํานวณจุดตัด (Cut Point) ที่แทจริงจากการทดสอบภาคสนามของแบบประเมินความพิการระดับรุนแรง ๒. การคาดประมาณการคนพิการระดับรุนแรงระดับความรุนแรงและแนวโนมในอนาคต

๒.๑ การจัดทําฐานขอมูลคนพิการระดับรุนแรง ขอมูลมีความสําคัญในการบริหารจัดการในยุคปจจุบัน อีกทั้งมีการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆอยางรวดเร็ว เชนการเปลี่ยนแปลงสภาพความเปนอยู เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม วิทยาศาสตรเทคโนโลยี การแพทยและสาธารณสุข จํานวนคนพิการระดับรุนแรงในแตละปจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ฐานขอมูลคนพิการระดับรุนแรงที่มีรายละเอียดของคนพิการระดับรุนแรงในแบบสํารวจของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และมีสวนที่เพิ่มเติมดังนี้ ๑) ระดับความรุนแรงของความพิการ ๒) กายอุปกรณที่ใช ๓) จํานวนชั่วโมงที่

Page 262: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๗

ตองการผูชวยเหลือตอวัน ฐานขอมูลคนพิการระดับรุนแรงจะชวยใหการบริหารจัดการเกี่ยวกับคนพิการระดับรุนแรงมีประสิทธิภาพมากขึ้น

๒.๒ ความเปนปจจุบันของขอมูล

สํานักงานสถิติแหงชาตินาทําการสํารวจสํามะโนถ่ีขึ้นโดยใหทําการสํารวจทุก ๒ ป ขอมูล คนพิการระดับรุนแรงตองมีการสํารวจถี่ขึ้นเปนทุก ๒ ปและควรสํารวจในปเดียวกันกับการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติเพื่อใหไดขอมูลชุดเดียวกันปเดียวกัน ทําใหนํามาศึกษาวิเคราะหไดแมนยํา เนื่องจากสํานักงานสถิติแหงชาติควรทําการสํารวจสํามะโนทุก ๒ ป

๒.๓ ประชาสัมพันธ ควรมีการนําเสนอขอมูลในภาพรวมทุกครั้งที่สํารวจทั้งทางอินเตอรเน็ตและสื่อส่ิงพิมพ โดย

นําเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน เพื่อเปนการเผยแพรประชาสัมพันธใหสังคมรับรู และชักชวนใหคนในสังคมมารวมมือกันในการชวยเหลือ ดูแลคนพิการระดับรุนแรง ๓. การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและประมาณการใชงบประมาณตอคน ๓.๑ รัฐควรเนนระบบการคุมครองสวัสดิการสังคมใหกับคนพิการระดับรุนแรงในระยะยาว ควรขยายและกระจายบริการสวัสดิการสังคมทั้งในสวนกลางและทองถ่ิน ที่ตอบสนองความตองการพื้นฐานใหคนพิการระดับรุนแรงโดยเฉพาะในชนบทที่คนสวนใหญยากจน ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ อยางทั่วถึง และกระจายตัวโดยเฉพาะในองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) สําหรับเชิงคุณภาพควรปรับปรุง ลดขอจํากัดในเชิงระเบียบ เกณฑการประเมินนาเปนแบบผสมผสาน ทั้งเกณฑเชิงทางการแพทยและเกณฑเชิงสังคมใหคนพิการระดับรุนแรงสามารถการจดทะเบียนไดสะดวก และสามารถเขาถึงบริการอยางเสมอภาค

๓.๒ รัฐควรเตรียมความพรองรองรับคนพิการระดับรุนแรงที่เพิ่มขึ้น มีการจัดทําระบบฐานขอมูล (Data Based) และการจดทะเบียนในชนบทและเขตเมือง ทั้งประเทศใหครอบคลุม จากหนวยงานชุมชน ผานศูนยเครือขายบริการ (Service Link) เพื่อแยกแยะ จัดประเภท ระดับการจัดบริการใหกับคนพิการระดับรุนแรงที่มีความแตกตางในแตละประเภทความพิการ ที่มีความหลากหลาย ทั้งในระยะวิกฤต ระยะสั้น และระยะยาว ไดแก ๓.๒.๑ กลุมคนพิการระดับรุนแรงที่ดูแลและชวยเหลือตนเองได กลุมนี้อาจดํารงชีวิตไดเกือบปกติ ควรบริการสงเสริมสุขภาพ บริการการศึกษาตลอดชีวิต (Long Life Education) เนนกระบวนการเรียนรูในรูปแบบตางๆ ทั้งทางรางกาย จิตใจ อารมณและสติปญญา รวมถึงการปรับตัว บริการฝกอาชีพและการสรางงานที่ครบวงจรตามความตองการของตลาดแรงงานและตรงกับ ความตองการของคนพิการระดับรุนแรงในชนบทและเขตเมือง บริการคุมครองมีหลักประกันชีวิต

Page 263: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๘

(ภาคเอกชน) บริการขอมูลขาวสารในการดํารงชีวิตของคนพิการระดับรุนแรง จัดโปรแกรมกิจกรรมทางสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง เนนการมีสวนรวม รวมทั้งควรสงเสริมใหกลุมนี้ไดทํากิจกรรมในการเปนพี่เล้ียง (Mentors) หรือที่ปรึกษาใหกับคนพิการระดับรุนแรงในรูปแบบของกลุมเพื่อนชวยเพื่อน (Peer Groups) ๓.๒.๒ กลุมคนพิการระดับรุนแรงที่ดูแลและชวยเหลือตัวเองไดบาง เปนรูปแบบ “กลุมจําเปน” การสนับสนุนดูแลโดยครอบครัว กลุมนี้อาจดํารงชีวิตอยางยากลําบากทั้งสภาพรางกายและจิตใจ บางครั้งอาจตองพึ่งพา ผูชวยเหลือประมาณ ๒๕ % ขึ้นกับสมรรถภาพของรางกายและจิตใจ กลุมนี้สามารถที่จะปรับตัวใหเขากับการดํารงชีวิต ถาไดรับการฟนฟูและดูแลเปนอยางดีจากผูชวยเหลือหรือผูปกครอง จึงควรสงเสริม บริการความรูความเขาใจในการดูแลคนพิการระดับรุนแรงอยางถูกวิธี การสนับสนุนใหกําลังใจและการสนับสนุนทางสังคม จัดบริการศูนยดูแลคนพิการระดับรุนแรงกลางวันในระหวางครอบครัว (Family Day Care) ๓.๒.๓ กลุมคนพิการระดับรุนแรงที่ดูแลและชวยเหลือตัวเองไดปานกลาง และกลุมคนพิการระดับรุนแรงที่ดูแลและชวยเหลือตัวเองไดบาง เปนรูปแบบ “ทวิลักษณ” “เปนกลุมเสี่ยง” การสนับสนุนดูแลโดยหนวยงาน และครอบครัว กลุมนี้อาจดํารงชีวิตอยางยากลําบากแบบครึ่งๆกลางๆ ทั้งสภาพรางกายและจิตใจ ทั้งสองกลุมอาจตองพึ่งพา ผูชวยเหลือมากกวา ๕๐-๗๕ % ทั้งนี้ขึ้นกับสมรรถภาพของรางกายและจิตใจของคนพิการระดับรุนแรง ควรสงเสริมบริการความรูความเขาใจในการดูแลคนพิการระดับรุนแรงอยางถูกวิธี จัดบริการศูนยดูแลคนพิการระดับรุนแรงกลางวันในชุมชน (Community Day Care) ๓.๒.๔ กลุมคนพิการระดับรุนแรงที่ดูแลและชวยเหลือตัวเองไมไดเลย มีรูปแบบ “พหุลักษณ” เปน “กลุมยากลําบากมาก” การสนับสนุนดูแลโดยหนวยงาน ครอบครัว และชุมชน กลุมนี้อาจดํารงชีวิตอยางยากลําบากที่สุดทั้งสภาพรางกายและจิตใจ บางครั้งอาจตองพึ่งพา ผูชวยเหลือทั้งหมดหรือ ๑๐๐ % ทั้งนี้ขึ้นกับตัวของคนพิการระดับรุนแรงเอง จึงควรไดรับการดูแลจากชุมชนเปนพิเศษ การมี สวนรวมของชุมชนในการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับรุนแรง (CBR) มีหนวยชุมชน (Community Center) ในลักษณะของศูนยเครือขายบริการ (Service Link Center) มีกิจกรรมในการเฝาระวังและปองกัน การจดทะเบียนคนพิการระดับรุนแรง การบริการสุขภาพเปนแบบบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Service) มีการจัดอาสาสมัคร การดูแลจากญาติมิตร เครือญาติ เพื่อนบาน คนในชุมชนเพื่อใหการดูแล คนพิการระดับรุนแรงในศูนยดูแลรับผิดชอบคนพิการระดับรุนแรงเวลากลางวันในชุมชน (Community Responding Day Care, CRDC) การบริการกองทุนหมุนเวียนของกลุมกิจกรรมตางๆ ในชุมชน เชน กองทุนสวัสดิการสังคม เบี้ยยังชีพ กลุมออมทรัพย กลุมตางๆในชุมชน ควรเปดโอกาสใหคนพิการระดับรุนแรงสามารถเขาถึงบริการของกลุมตางๆในชุมชนไดโดยไมถูกเลือกปฏิบัติ รวมทั้งสงเสริมบริการจัดสิ่งอํานวย

Page 264: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๔๙

ความสะดวกในที่สาธารณะ เชน ทางลาด รถโดยสาร ลิฟท ที่จอดรถ ส่ือตางๆสําหรับคนพิการระดับรุนแรง เปนตน นอกจากนี้กลุมคนพิการระดับรุนแรงจึงตองไดรับการดูแลจากหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน (กลุมเสี่ยง กลุมยากลําบาก และกลุมสุดยากลําบาก) โดยบูรณาการกลุมคนพิการระดับรุนแรงใหเปน ๑ กลุมเปาหมายอื่นๆของสังคม ไมมองแยกเฉพาะกลุมคนพิการระดับรุนแรง ซ่ึงทําใหขาดพลัง การขับเคลื่อนทางสังคม ๓.๓ ควรสงเสริมการจัดบริการพื้นฐานสําหรับคนพิการระดับรุนแรงตามพระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยสงเสริมการจัดสวัสดิการทางเลือกสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในรูปแบบบูรณาการที่ครอบคลุมทั่วถึง ตอเนื่องและเปนธรรม โดยคํานึงถึงความแตกตางตามประเภทของ ความพิการทั้ง ๕ ประเภท รวมถึงกลุมที่บกพรองทางการเรียนรู (Learning Disability : LD) ทั้งเขตเมืองและเขตชนบทที่มีบริบทของวัฒนธรรมการดํารงชีวิตที่แตกตางและหลากหลาย ในดานตางๆ เชน ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม สุขภาวะ การศึกษา ชวงอายุ ปญหาและความตองการแตละวัย รวมถึงประเภทของความพิการ อาทิ

• กลุมคนพิการระดับรุนแรงที่ยากลําบากมากหรือสุดยากลําบาก รายไดนอย หรือไมมีรายได มีความพิการซ้ําซอน มีปญหาสุขภาพ เขาไมถึงทรัพยากร ควรไดรับสวัสดิการในรูปแบบใหเปลาหรือการสงเคราะห เชนเบี้ยยังชีพทั้งในรูปประจํา และรูปแบบที่สามารถดํารงชีวิตอยูได รวมถึงจัดผูชวยเหลือ จัดใหมีการดูแลรวมในชุมชน (Community Day Care) การมีสวนรวมในกองทุนสวัสดิการชุมชน คนพิการระดับรุนแรงที่สุดยากลําบากในชุมชนมีสวนรวมในกําหนดกฎเกณฑ เปนตน

• กลุมคนพิการระดับรุนแรงที่มีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม ควรจัดบริการกิจกรรมทางสังคมตางๆ รัฐควรสงเสริมภาคเอกชนรวมในการสนับสนุนกิจกรรมในรูปแบบศูนยกลางการแลกเปลี่ยน และจัดกิจกรรมนันทนาการและกีฬาในลักษณะกลุมตางๆ/ชมรมออกกําลังกายคนพิการระดับรุนแรง รวมทั้งกองทุนเงินกู/ออมทรัพยตางๆ จัดสวัสดิการและสิ่งอํานวยความสะดวกที่เหมาะสม กับประเภทคนพิการระดับรุนแรง

• กลุมคนพิการระดับรุนแรงที่มีความเสี่ยง เชน อยูคนเดียวตามลําพัง อยูหางไกลจากชุมชน คนพิการระดับรุนแรงที่มีอายุมาก มีปญหาความเสี่ยงทางสุขภาพ รัฐควรสงเสริมระบบบริการเฝาระวังทางสังคม สรางเครือขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net) หรือระบบการเยี่ยมบาน /ระบบอาสาสมัครดูแลคนพิการระดับรุนแรงในชุมชน ผูชวยเหลือ ทั้งคนในชุมชนและเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ เชน เจาหนาที่จากสถานีอนามัย ศูนยบริการสาธารณสุข อสม. , อพมก., อบต. และผูใหญบาน เปนตน

๓.๔ ควรมีการพิจารณาทบทวนกระบวนการจายเบี้ยยังชีพสําหรับคนพิการระดับรุนแรงตอป เพิ่ม เบี้ยยังชีพที่เหมาะสมใหคนพิการระดับรุนแรง ที่จดทะเบียนแลว จํานวน ๒๒๕,๔๒๐ คน คนๆละ ๓,๔๕๙.๔๕ บาทตอคนตอเดือน ขณะเดียวกันหากพิจารณาใหดีจะเห็นวา ส่ิงที่รัฐไดจัดสวัสดิการที่สรางความมั่นคงใหชีวิตไมวาจะเปนการสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนา (บัตรทอง) ดานการศึกษามีคูปองการศึกษา

Page 265: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๐

ปละ ๒๐๐๐ บาท/คน การจัดสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ และศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูทางการแพทยแหงชาติไดใหเครื่องชวยในการดํารงชีวิตประเภทตางๆ เชน กายอุปกรณ จึงมีมูลคามากกวา เบี้ยยังชีพที่รัฐใหกับคนพิการระดับรุนแรง ขณะเดียวกันจึงควรสงเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน โดยเนนการมีสวนรวมของคนพิการระดับรุนแรงและชุมชน เพื่อใหบริการถึงมือผูที่เดือดรอนจําเปนจริงๆ เพื่อใหตรงตามเจตนารมณและเกิดความเปนธรรม ในระยะยาวหากชุมชนทองถ่ินและรัฐสามารถพัฒนาบริการอื่นๆ หรือพัฒนาระบบสวัสดิการครอบครัวและชุมชนที่เขาถึงและตอบสนองตอความตองการของผูทุกขยากเดือดรอนในเขตเมืองและเขตชนบทไดอยางทั่วถึงและเปนธรรมในรูปแบบตางๆที่หลากหลายแลว สามารถที่จะปรับไปจัดบริการสังคมอื่นๆควบคูไปดวย

๓.๕ ควรมีการเตรียมความพรอมของบริการของรัฐดานตางๆ ที่สําคัญในอนาคต อาทิ ดานสุขภาพ การศึกษา ส่ิงอํานวยความสะดวก และการอาชีพ เปนตน เพื่อรองรับกับแนวโนมที่คนพิการระดับรุนแรงจะมีจํานวนมากขึ้น

๓.๖ ควรสงเสริมบริการจัดหางานที่สรางรายไดอยางมั่นคงใหแกคนพิการระดับรุนแรงที่เหมาะสมและสอดคลองกับประเภทของคนพิการระดับรุนแรง พัฒนาคนพิการระดับรุนแรงในการบริหารจัดการธุรกิจของคนพิการระดับรุนแรงในหลักการสวนผสมทางการตลาด ( ๔ P.) ที่สามารถแขงขันและคงอยูไดในสังคม การบริการจัดหางานใหกับคนพิการระดับรุนแรงในลักษณะดังกลาวยังมีนอย ไมเพียงพอตอความตองการของคนพิการระดับรุนแรงที่มีศักยภาพ และพรอมที่จะทํางานเพื่อสรางความมั่นคงไมใหเปนภาระแกสังคม จัดใหมี “ศูนยประสานการจัดหางานเฉพาะสําหรับคนพิการระดับรุนแรงแตละจังหวัด” เปนศูนยเครือขายบริการ (Service Link) เชื่อมกับกระทรวงแรงงาน จัดตั้ง “สถาบันแรงงานสําหรับคนพิการระดับรุนแรงแหงชาติ” ตั้งแตการเตรียมความพรอม การฝกอาชีพ การจัดหางาน การประกันการวางงาน และจัดหางานใหกับ คนพิการระดับรุนแรง

๓.๗ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ควรประสานและผลักดันใหหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรประชาชน โดยเฉพาะองคการบริหารสวนตําบล เทศบาล และกรุงเทพฯ ดําเนินการ ดังนี้

• ควรสรางและพัฒนาระบบการคุมครองและใหบริการคนพิการระดับรุนแรงใหมีประสิทธิภาพตาม พรบ.สงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ อยางจริงจัง โดยเฉพาะคนพิการระดับรุนแรง

• ควรจัดเตรียมความพรอมรองรับกับภาวการณเปนสังคมที่มีคนพิการระดับรุนแรงมากขึ้นในมิติตางๆ เชน การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก การเฝาระวังความพิการซ้ําซอน การจัดการดานการเงินการคลังขององคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./เทศบาล/กทม.) การจัดสรรทรัพยากรทั้งดานงบประมาณและทรัพยากรในทองถ่ิน การจางงาน การศึกษา การประกันสังคม ระบบสวัสดิการ/บริการสังคมตางๆ บริการสุขภาพ การจัดระบบใหเกิดกระบวนการดานการดํารงชีวิต (IL) การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับรุนแรงโดยชุมชน

Page 266: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๑

(CBR) การรูจักดูแลตนเอง มีผูชวยเหลือและครอบครัวอยางเหมาะสม การดูแลคนพิการระดับรุนแรง ผูปวยที่เปนคนพิการระดับรุนแรง เปนตน

• ควรประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะองคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./ เทศบาล /กทม.) จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการระดับรุนแรงจากแผนหลักของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยอยางบูรณาการ ทั้งเชิงประเด็น เชิงพื้นที่ดําเนินการ หนวยงานที่รับผิดชอบ และ สหวิชาชีพ เพื่อมิใหเกิดการจัดทําแผนแบบแยกสวนและเปนการระดมทรัพยากรมาใชอยางมีประสิทธิภาพ

๓.๘ ควรสงเสริมการจัดตั้งกองทุนเพื่อคนพิการระดับรุนแรง และการจัดสวัสดิการครอบครัวในรูปแบบตางๆ แกครอบครวัที่ประสบปญหาความเดือดรอน โดยเฉพาะคนพิการระดบัรุนแรงที่มีความพิการซํ้าซอน เนื่องจากคุณภาพชวีติของคนพิการระดับรุนแรงแยกไมออกจากคุณภาพชวีิตของครอบครัว คนพิการระดับรุนแรงจาํนวนหนึ่งยังตองทํางานดูแลครอบครัวของตน เชน การสงเสริมสวัสดิการดานกองทุนใหแกเด็กๆ ในครอบครัวที่พอแมมคีวามพิการระดับรุนแรง เชน กองทุนการศึกษา กองทุนดานสุขภาพ กองทุนดานอาชีพ กองทุนดานความมัน่คงในชีวิตในรูปแบบตางๆ และปรับปรุงเงื่อนไขของกองทุนฯใหตอบสนองปญหาและความตองการที่แทจริง เชน การใหเงนิทุนชวยเหลืออยางเพียงพอ เทาทันกับความรุนแรงของปญหาที่เกิดขึ้น

๓.๙ รัฐและองคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./ เทศบาล /กทม.) ควรมีมาตรการที่ชัดเจนในการสงเสริมใหครอบครัวและชุมชนมีความเขมแข็งเปนกลไกหลักในการดูแลคนพิการระดับรุนแรง รวมทั้งผูคนในชุมชน เชน เดก็ เยาวชน ผูหญิง ผูสูงอายุ และแกไขปญหาตางๆ ในชุมชน เชน เอดส ยาเสพติด ความเขมแข็งของครอบครัวและชุมชน นอกจากจะทําใหคนพิการระดับรุนแรงและสมาชิกคนอื่นๆ มีคุณภาพชวีิตที่ดีแลว ชุมชนที่เขมแขง็จะเปนฐานทีด่ีเชื่อมโยงสูประโยชนอ่ืนๆไดอีก เชน การจดัทําฐานขอมูล การระดมและจัดสรรทรัพยากรใหเปนธรรม เปนตน

๓.๑๐ รัฐและองคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./ เทศบาล /กทม.) ตองสนับสนุนอยางจริงจัง ใหมีระบบการดูแลคนพิการระดับรุนแรงที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได ซ่ึงปวยเร้ือรังที่ไมแยกคนพิการระดับรุนแรงออกจากชุมชน เชน อบรมใหความรูแกครอบครัวและผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับการดูแลคนพิการระดับรุนแรง จัดอบรมและสนับสนุนงบประมาณคาใชจายสําหรับอาสาสมัครในพื้นที่ผูดูแลคนพิการระดับรุนแรง จัดหาพื้นที่รวมในการตั้งศูนยดูแลคนพิการระดับรุนแรงในชุมชน (Community Day Care) ใหกวางขวางและเปนรูปธรรมมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อใหสมาชิกในครอบครัวสามารถไปทํางาน โดยไมทอดทิ้งคนพิการระดับรุนแรงใหอยูบานโดยลําพัง

๓.๑๑ รัฐควรรวมมือกับองคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./ เทศบาล /กทม.) จัดทําฐานขอมูล ในชุมชนเพื่อการเฝาระวังความพิการ จัดทําฐานขอมูลคนพิการระดับรุนแรงทุกประเภท ทุกระดับ เพื่อจําแนกกลุมปญหา จัดระบบความชวยเหลืออยางมีคุณภาพ ปรับร้ือโครงสรางและทบทวนภารกิจใหมของศูนยสงเคราะหราษฎรประจําหมูบาน ใหเปนหนวยชุมชน และ ศูนยเครือขายบริการ (Service Link Center) โดยบูรณาการ

Page 267: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๒

เชื่อมโยงกับภารกิจของศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) และศูนยสุขภาพชุมชน (PCU) ของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อใหภารกิจการดูแลคนพิการระดับรุนแรงในหมูบาน/ทองถ่ินเปนระบบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

๓.๑๒ องคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./ เทศบาล /กทม.) และองคกรในชุมชนควรสงเสริมระบบ การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการระดับรุนแรงระยะยาว โดยเรงสงเสริมความรวมมือของกลไกของชุมชน ประชาคมอยางทั่วถึงและเปดใหมีตัวแทนของคนพิการระดับรุนแรง มีสวนรวมในการจัดสวัสดิการชุมชนของตนเองมากขึ้น

๓.๑๓ องคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./ เทศบาล /กทม.) และองคกรในชุมชน ควรมีสวนรวมใน การดูแลคนพิการระดับรุนแรง และพัฒนาระบบการดูแลคนพิการระดับรุนแรงใหมีประสิทธิภาพ โดยพัฒนาระบบอาสาสมัครดูแลคนพิการระดับรุนแรงในชุมชนโดยคนในชุมชน และจัดหาทรัพยากร เชน จัดสรรงบประมาณจาก องคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./ เทศบาล /กทม.) หรือหนวยงานอื่นๆ มาหนุนเสริมใหเกิด การขับเคลื่อนงานโดยกลุมญาติมิตร เพื่อนฝูงและผูมีจิตใจอาสาสมัครในพื้นที่ (ผูมีจิตสาธารณะ)

๓.๑๔ รัฐและหนวยงานตางๆ ควรสนับสนุนสงเสริมการมีสวนรวมของครอบครัว เครือญาติ เพื่อนบาน เพื่อนคนพิการระดับรุนแรง ผูชวยเหลือในการดูแลคนพิการระดับรุนแรงในชุมชน ในแนวคิดของ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับรุนแรงโดยชุมชน (CBR) และหลักการของการสาธารณสุขมูลฐาน ที่ดําเนินการโดยประชาชนเพื่อประชาชน โดยเฉพาะความรู ความเขาใจและทักษะในการดูแลคนพิการระดับรุนแรงที่ปวยดวยโรคตางๆ เชน การออกกําลังกาย การสงเสริมสุขภาพ การปองกันความพิการซ้ําซอน แผลกดทับในกรณีของความพิการทางการเคลื่อนไหว การสนับสนุนทางสังคม เปนตน การสงเสริมใหทุกภาคสวนของสังคมควรสงเสริมคนพิการระดับรุนแรงที่มีศักยภาพ และความพรอมใหเขารวมกิจกรรมทางสังคมของชุมชน การสงเสริมความมั่นคงทางจิตใจแกคนพิการระดับรุนแรง เชน การนันทนาการ กีฬา ที่เหมาะสมกับประเภทและชวงวัยของคนพิการระดับรุนแรง การฟนฟูศิลปวัฒนธรรมพื้นบานใหคนพิการระดับรุนแรงเขารวมตามอัตภาพ

๓.๑๕ รัฐควรทบทวนการเพิ่มสถานสงเคราะหคนพิการระดับรุนแรง ที่มีความจําเปนตองมีและใหเหมาะสมกับคนพิการระดับรุนแรงที่ตองใหการสงเคราะห ใน “กลุมที่สุดยากลําบากหรือยากลําบากมาก”โดยเฉพาะเด็กพิการทางสมองหรือสติปญญา และควรจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณใหเพียงพอ เพื่อใหการดูแลใหมีประสิทธิภาพ และการบริการที่หลากหลาย รวมถึงความเปนไปไดในการผสมผสานการศึกษา การฝกอาชีพที่เหมาะสมกับคนเหลานี้เพื่อใหการดํารงชีวิตไดอยางเหมาะสม แตขณะเดียวกันการฟนฟูสมรรถภาพในชุมชนก็มีความจําเปนควบคูกันในกรณีที่คนพิการระดับรุนแรงเปนกลุมเสี่ยง กลุมพอชวยเหลือได สงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในบริการที่หลากหลายในชุมชน เชน บริการในลักษณะบานพักในเวลากลางวัน หรือศูนยรวมกิจกรรมทางสังคมที่อยูในพื้นที่ชุมชน โดยรัฐสนับสนุนดานงบประมาณใหชุมชนดําเนินการ

Page 268: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๓

๓.๑๖ สถานสงเคราะหคนพิการระดับรุนแรงที่มีอยูแลวในกรณีที่คนพิการระดับรุนแรง ชวยตัวเองไมไดในประเภทและชวงวัยตางๆ รัฐตองจัดทํามาตรฐานการจัดการ จัดใหมีระบบติดตาม นิเทศโดยใหชุมชนมีสวนรวม ชวยดูแลจัดหาอาสาสมัครที่ตองการบําเพ็ญประโยชน ชวยเหลือในสถานสงเคราะห และใชบุคลากรจากสถานศึกษา เชน สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ รวมทั้งใหการสนับสนุนดานวิชาการและทรัพยากร เพื่อใหพื้นที่สามารถดําเนินการไดอยางยั่งยืน

๓.๑๗ หนวยงานภาครัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่งสถานศึกษาในระดับตางๆ ควรสงเสริมใหลูกหลานสมัยใหมใหตระหนัก เห็นคุณคาและความสําคญัของคนพิการระดับรุนแรง โดยผานงานบุญ ประเพณี งานเชิงวัฒนธรรมชุมชน รวมทั้งสนับสนุนใหเกิดการถายทอดประสบการณคนพิการระดับรุนแรงใหแกผูเรียนในสถานศึกษา สงเสริมกิจกรรมที่สรางเสริมความสัมพันธและความเขาใจที่ดีระหวางคนพิการระดับรุนแรงกับคนรุนใหมของสังคม และบรรจุเนื้อหาดานคนพิการระดับรุนแรง การชวยเหลือ ดูแลคนพิการระดับรุนแรง รวมถึงการเฝาระวังและปองกันความพิการจากอุบัติเหตุ และอื่นๆ ในหลักสูตรตางๆ โดยเฉพาะหลักสูตรทองถ่ิน เปนตน

๓.๑๘ การจัดบริการสวัสดิการสังคม ควรสรางนโยบายที่มาจากการศึกษาวิจัย เพื่อใหสามารถเขาถึงปญหาความตองการที่เปนจริง สามารถจัดบริการไดครอบคลุมประเภท ชวงวัยของคนพิการระดับรุนแรง แตละกลุมที่แตกตางกัน เชน คนพิการระดับรุนแรงที่สุดยากลําบาก คนพิการระดับรุนแรงกลุมเสี่ยง และ คนพิการระดับรุนแรงที่ชวยตัวเองไดอยางปกติ และควรสงเสริมงานวิจัยดานคนพิการระดับรุนแรงใหสามารถเชื่อมโยงไปสูระดับนโยบายใหได รัฐตองผลักดันใหเปนวาระแหงชาติ (National Agenda) เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการระดับรุนแรงอยางเปนจริงเปนจัง ๓.๑๙ รัฐควรสนับสนุนใหมีการจัดตั้ง “สภาคนพิการระดับรุนแรงแหงชาติ” เปนลักษณะขององคกรอิสระ และหนวยประสานกลางเพื่อคนพิการระดับรุนแรง ดูแลเรื่องสิทธิมนุษยชน และผลประโยชนใหกับคนพิการระดับรุนแรง โดยเฉพาะสวัสดิการและการบริการสังคมตลอดจนทําหนาที่เปนศูนยพันธมิตรที่รวมกลุมคนพิการระดับรุนแรงจากสมาคม องคกรตางๆ หนวยงานสาธารณะประโยชนตางๆที่เกี่ยวของกับคนพิการระดับรุนแรง รวมถึงเปนศูนยรวมของสถาบันแรงงานแหงชาติเพื่อคนพิการระดับรุนแรง ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยคร้ังตอไป ๑. ควรจะมีการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (PAR) เพื่อระดมการมีสวนรวมของประชาชน ผูนําชุมชน องคกรชุมชน หนวยงานของรัฐ ดําเนินการกระบวนการวิจัยครบวงจร ตั้งแต การรวมศึกษาวิเคราะหสถานการณความพิการที่เกิดขึ้นและสาเหตุหรือปจจัยเสี่ยงตางๆที่มีอยูภายในชุมชน ทําการจัดลําดับความสําคัญของปญหา คนหาทางเลือกเพื่อการแกไขปญหา ทําการประเมินผลและสรุปผลการดําเนินงานตามโครงการ และถายถอด และขยายผลไปสูหนวยงานและชุมชนอื่นตอไป

Page 269: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๔

๒. ควรมีการศึกษาเชิงนโยบายสาธารณะ (Public Policy) เพื่อศึกษานโยบายรัฐเกี่ยวกับ การจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงและศึกษาผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรง ในรูปแบบของ Macro-Micro Linking เชื่อมโยงทั้งแผนระดับชาติ แผนกลยุทธ และแผนทองถ่ิน/ชุมชน (Agenda , Function , Area ) ๓. ควรจะมีการศึกษาตนทุน-ประสิทธิผลหรือตนทุน-ผลประโยชนทางเศรษฐศาสตร (Economical Research) ของการดําเนินงานสวัสดิการชุมชนที่เหมาะสม เพื่อจะใชเปนฐานขอมูลสําหรับผูบริหารตัดสินใจในการผลักดันใหเกิดการจัดสวัสดิการที่เหมาะสม และสอดคลองกับภาวการณของประเทศชาติอยางเปนรูปธรรม ๔. องคกรปกครองทองถ่ิน (อบต./เทศบาล/กทม.) ที่มีศักยภาพและความพรอมศึกษาแบบ นํารอง (Pilot Study) รูปแบบการจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชนเพื่อคนพิการระดับรุนแรง (Community Welfare Fund for Disability) เพื่อขยายผลเชิงนโยบาย ๕. ควรมีการศึกษาแบบนํารอง รูปแบบการจัดการสวัสดิการเชิงบูรณาการ ระหวางรัฐ เอกชน องคกรชุมชน ในรูปแบบของหนวยชุมชน (Community Unit) และการจัดตั้งศูนยเครือขายบริการ (Service Link) เชื่อมโยงกับภาครัฐในการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสม ๖. ควรมีการศึกษาการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงเปรียบเทียบกับกองทุนของรัฐและกองทุนสังคมในชุมชนตางๆที่มีกิจกรรมการดําเนินงานในปจจุบัน ตลอดจนการศึกษา การสรางพันธมิตรเครือขายคนพิการระดับรุนแรงในสังคมไทย ๗. ควรจะมีการศึกษาหารูปแบบการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการระดับรุนแรงในลักษณะของขอมูลเชิงพื้นที่ (Area Based) เปรียบเทียบกับการศึกษา แบบการเรียนรูจากปญหา (Problem Based Learning -PBL) ที่มีความแตกตางหลากหลายในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงประเภท ชวงอายุ และระดับความพิการในทุกระดับ ทั้งเขตเมืองและเขตชนบท เพื่อใหงานวิจัยเร่ืองนี้มีรายละเอียด เกิดรูปธรรมที่ชัดเจนในเชิงของการเปรียบเทียบ (Comparative Problem Based Research) ๘. ควรมีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ของปจจัยที่มีผลตอการพัฒนาศักยภาพหรือเติมเต็มศักยภาพ คนพิการระดับรุนแรง (Empowerment) และรูปแบบความสามารถของชุมชน (Community Capacity) เปรียบเทียบกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับรุนแรงในสถานสงเคราะห วาควรจะเปนอยางไร ๙. ควรมีการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาแบบประเมินเกณฑความพิการระดับรุนแรง จากแบบที่คณะผูวิจัยไดสรางขึ้นใหสมบูรณยิ่งขึ้น กอนนําไปใชจริงในสังคมตอไป

Page 270: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๕

บรรณานุกรม ภาษาไทย กชกร ศรีสัมพันธ.(๒๕๓๗).บทบาทของสมาชิกครอบครัวที่มีตอพฤติกรรมในการเผชิญปญหาของคน

พิการ วิทยานพินธปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑติ กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

กนกศกัดิ์ แกวเทพ.(๒๕๔๒). “โครงขายความปลอดภยัทางสังคมภาคประชาชน” ใน การสํารวจความรูเชิงแนวคิด ทฤษฎี บทบาท และความสําคญัตอสังคมของโครงขายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net) หนา ๑๗๓-๒๒๐ กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพสีไทย.

กมลพรรณ พันพึ่ง.(๒๕๔๗). รายงานการวิจยัการดํารงชีวิตอิสระคนพิการ เสนทางและกาวตอไปในอนาคต เสนอตอ โรงเรียนอาชีวพระมหาไถ ชลบุรี.

..............(บรรณาธิการ)(๒๕๔๘).การดํารงชีวิตอิสระของคนพิการไทย กรุงเทพฯ : เอกสารอัดสําเนา. กรมประชาสงเคราะห.(๒๕๓๘). เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการสงเสริมสวัสดิการสังคมระดับ

ครัวเรือนทั่วประเทศ (สสค.) กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากดัเพิ่มเสริมกิจ. กนิษฐา ถาวรกิจ. (๒๕๓๘). การศึกษาความรูทศันคติและการปฏิบัติดานการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ

โดยชุมชน. วิทยานิพนธปริญญาสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

กระทรวงสาธารณสุข.(๒๕๓๘). เอกสารรับรองความพิการ ตามแบบทายกฏกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสรรถภาพคนพกิาร พ.ศ. ๒๕๓๔ พิมพคร้ังที่ ๒ นนทบุรี : ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ.

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.(ม.ป.ป.) กฏกระทรวงฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔.และระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ วาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือส่ิงอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔.กรุงเทพฯ : สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ. สํานักสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ.

................(๒๕๔๕). รายงานการประชุมเชิงบูรณาการเรื่องแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ใน ยุทธศาสตรสําคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ วันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๕ ณ หองประชุมสถาบันราชภัฏสวนดุสิต. กรุงเทพฯ : สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ.

..............(๒๕๔๖). รอบรูเร่ืองคนพิการ กรุงเทพฯ : เทพเพ็ญวานิสย.

............. (๒๕๔๗). สถิติคนพิการที่จดทะเบียน ป ๒๕๔๗ กรุงเทพฯ : สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ.

Page 271: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๖

กาญจนา แกวเทพ.(๒๕๓๘). ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในการรวมกันกําหนดเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตและสังคม เอกสารการประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการวิจัยและพัฒนา เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตและสังคม. วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๓๘ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

กวี ทังสุบุตรและคณะ. (๒๕๓๓). การพัฒนาศักยภาพคนพิการในครอบครัวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมสาสตร.

กิตติ ล่ิมสกุลและคณะ.(๒๕๔๕). “สถานภาพชีวิตของกลุมคนจนและคนดอยโอกาสในสังคมไทย” เอกสารประชุมสัมมนาเรื่องการพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสในสังคมไทย ภายใตการสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย จัดโดยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,ที่โรงแรมรัตนโกสินทร กรุงเทพมหานคร ๖ มี.ค.๒๕๔๕.

กิติพัฒน นนทปทมะดุลย. ( ๒๕๓๘). พื้นฐานทฤษฎีสังคมสงเคราะห พิมพคร้ังที่ ๒ กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะห มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

กิติยา รัตนากร. (๒๕๓๑). คนพิการ: การสงเคราะหและการฟนฟูสมรรถภาพ. กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

เกื้อ วงศบุญสินและคณะ.(๒๕๓๙). คนงานกอสรางกับปญหาสาธารณสุข : ศึกษาเฉพาะเขตเทศบาลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี วารสารประชากรศาสตร ๒(๓), ๖๖-๖๗.

ขนิษฐา เทวินทรภักติ. (๒๕๓๙). การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ทางสูความสําเร็จของคนพิการ. สํานักงานคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ กรมประชาสงเคราะห.

...............(ม.ป.ป.). การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน (เอกสารอัดสําเนา). ขัตติยา กรรณสูตร และจตุรงค บุญยรัตนสุนทร.(๒๕๔๖). การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและ

คนดอยโอกาส : กลุมนอกกําลังแรงงาน กรุงเทพฯ : ศูนยเศรษฐศาสตรการเมือง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

คณะสังคมสงเคราะห มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร. (๒๕๔๗). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาทิศทางและรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย เสนอตอ สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.

...............(๒๕๔๗). รายงานวิจัยเร่ืองโครงการประเมินผลการจายเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพสําหรับผูสูงอายุ เสนอตอสํานักสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ.

คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ.(๒๕๔๖). แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ กรุงเทพฯ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.

Page 272: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๗

คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ.(๒๕๔๙).(ราง) แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ กรุงเทพฯ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.

คณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) กรุงเทพฯ : กรมประชาสงเคราะห หนา ๔.

คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแหงเอเชียและแปซิฟก สหประชาชาติ.(๒๕๒๖).ทศวรรษคนพิการแหงเอเชียและแปซิฟก พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๕ กรอบการปฏิบัติงานแหงสหัสวรรษจากทะเลสาบบิวา สูสังคมบูรณาการปลอดจากอุปสรรคและตั้งอยูบนฐานของสิทธิสําหรับคนพิการในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก กรุงเทพฯ : สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.

จตุรงค บุญยรัตนสุนทร.(๒๕๔๗). สวัสดิการชุมชน : แนวทางการสรางองคความรูและการพัฒนาชุมชนไทย ในบทความประกอบการบรรยายวิชา บส .๗๑๓ คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ภาค ๑/๒๕๔๗.

จริยาวัตร คมพยัคฆและเนตรทราย รุงเรืองธรรม .(๒๕๓๑).การรักษาพยาบาลขั้นตน กรุงเทพฯ : เทพเนรมิตการพิมพ.

ชลลดา ชนะศรีรัตนกุล.(๒๕๔๘). การเตรียมความพรอมผูพิการกอนประกอบอาชีพ วิทยานิพนธห ลักสูตรพัฒนาแรงงานและสวัสดิ การมหาบัณฑิต คณะสั งคมสง เคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ช่ืนฤทัย กาญจนะจิตราและคณะ. (๒๕๔๖). สุขภาพคนไทย ๒๕๔๖. นครปฐม: สถาบันวิจยัประชากรและสังคม มหาวิทยาลัย สํานกังานกองทนุสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ.

.............(๒๕๔๙). สุขภาพคนไทย ๒๕๔๙. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัย มหิดลและสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ.

ณรงค ปฏิบัติสรกิจ. (๒๕๓๖). สถานภาพของคนพิการในปจจุบัน. ใน สารสภาพยาบาล, ๘ (๓) หนา๙. ณรงค เพ็ชรประเสริฐ.(๒๕๔๒). ธุรกิจชุมชนเสนทางที่เปนไปได กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัย. ..............(๒๕๔๔). สวัสดิการสังคมโดยภาคชุมชน กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษาเศรษฐกิจการเมือง คณะ

เศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ...............(๒๕๔๖).บทสังเคราะหภาพรวมการพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสใน

สังคมไทย กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษาเศรษฐกิจการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. .................(๒๕๔๘). การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสใน สังคมไทย ในสาร

วจิัยเพื่อคนพิการ ๒(๒) กุมภาพันธ ๒๕๔๘ หนา ๑.

Page 273: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๘

ดวงกมล พรชํานิ. (๒๕๔๒). การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน. (Community Based Rehabilitation). ตนฉบับ.

................(๒๕๔๗). การจัดสวัสดิการสังคมสําหรับคนยากจนและผูดอยโอกาส : ศึกษากรณีประชาชนที่อาศัยในชุมชนเคหะรมเกลา วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาตรมหาบัณฑิต สาขาแรงงานและสวัสดิการ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ดุษฎี อายุวัฒน.(๒๕๔๘). “มาตรวัดคุณภาพชีวิต : ศึกษากรณีประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย”. ใน วารสารประชากรศาสตร ๒๑ (๑) มีนาคม ๒๕๔๘ หนา ๔๑- ๖๒.

ถวัลย พบลาภและนรินทร สังขรักษา.(บรรณาธิการ)(๒๕๔๓). แนวทางการดําเนินงานโครงการสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนาจังหวัดนครปฐม นครปฐม : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.

ทวี เชื้อสุวรรณทวี. (มปป.).การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยใชชุมชนเปนฐาน : ความหมาย ที่มา แนวคิดที่สําคัญ. เอกสารประกอบการสอน. วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.

................(๒๕๔๖). “การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยใชชุมชนเปนฐานในอําเภอพุทธมณฑล : ความเปนไปไดจุดออนจุดแข็งของชุมชน” ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการประจําป ๒๕๔๖ เร่ือง การวิจัยดานคนพิการและงานบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ระหวางวันที่ ๔-๕ กันยายน ๒๕๔๖ ณ วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.

................(๒๕๔๗). “การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนในเมืองไทย : สถานการณและการพัฒนา” ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการประจําป ๒๕๔๖ เร่ือง การวิจัยดานคนพิการและงานบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ระหวางวันที่ ๒๖-๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๗ ณ วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.

ธานี โภคทรัพยและคณะ. (๒๕๔๔). การมีสวนรวมในการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน เอกสารประกอบการสัมมนา, วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.

ธันดนัย สิทธิศาสตร.(๒๕๓๘). แรงงานอีสาน : ขบวนการทิ้งบานจากชนบทสูเมือง เอกสารประกอบการสัมมนา คนทิ้งบานวิกฤตการณของสังคมไทย สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท สิงหาคม.(อัดสําเนา).

นรินทร สังขรักษา.(๒๕๔๗).รายงานวิจัย “การประทะประสานการเกษตรทุนนิยมบานทุง” ใน ชุดโครงการประเมินผลกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทุนวิจัยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

นงลักษณ เอมประสิทธิ์.(๒๕๓๐). สังคมสงเคราะหทางการแพทย กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะห มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 274: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๕๙

นงลักษณ วิรัชชัย. (๒๕๔๓). สรุปรายงานผลการวิจัยรูปแบบการจัดการเรียนรวมแบบรวมพลัง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการศึกษาสําหรับเด็กพิการโดยครอบครัวและชุมชนมีสวนรวม. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวาน กราฟฟก.

นิภาพรรณ ทิพยจักร. (๒๕๓๘). การใหคําปรึกษา ผูปวยอัมพาตทั้งตัว : ระยะฟนฟูสมรรถภาพ. กลุมงานวิชาการ, ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ.

เนตรนภา วัลลภ ขุมทอง (๒๕๔๖). การสังเคราะหองคความรูเพื่อการปฏิรูประบบบริการสุขภาพและการสรางหลักประกันสุขภาพสําหรับคนพิการ กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.และมูลนิธิเพื่อเด็กพิการ.

บรรลุ ศิริพานิชและคณะ.(๒๕๒๕). “ระบาดวิทยาของคนพิการและผูสูงอายุในประเทศไทย” กระทรวงสาธารณสุข หนา ๑.

บรรณากรณ อมรพรสิน.(๒๕๔๕). ความตองการการจัดสวัสดิการและประโยชนเกื้อกูลของอาจารยวิทยาลัยพณิชการธนบุรี ตามแนวทางการปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษาของกระทรวงศึกษา ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกธุรกิจศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

ประทิน แหลงสนาม. (๒๕๓๔). การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน. กรมการแพทย กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข.

ประภาส ปนตบแตง.(๒๕๔๔). “คนจนเมืองในทศวรรษ ๒๕๓๐.” สถาบันนโยบายและการจัดการสังคม มหาวิทยาลัยเกริก. <www.welfareforall.org >.

พจนากรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. พนิษฐา พานิชาชีวะกุล.(๒๕๓๗). การพัฒนาเครื่องมือช้ีวัดคุณภาพชีวิตที่เปนสหมิติสําหรับผูสูงอายุใน

ชนบท วิทยานิพนธสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ กรุงเทพฯ : สํานักสงเสริมและพิทักษคน

พิการ สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ. พระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ กรุงเทพฯ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ

มั่นคงของมนุษย. พูนพิศ อมาตยกุล และสุมาลี ดีจงกิจและพิมพา ขจรธรรม.(๒๕๔๖). ความรูทั่วไปเรื่องความพิการและ

คนพิการ กรุงเทพฯ : วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. มธุริน คําวงศปน. (๒๕๔๓). ความเครียด วิถีการปรับแก และแรงสนับสนุนทางสังคมของบุคคลที่ฆา

ตัวตาย. วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

Page 275: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๐

มยุรี ผิวสุวรรณ.(ม.ป.ป.).แนวคิดการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน เอกสาร อัดสําเนา. ...............(๒๕๔๘).รายงานการประเมินผลการดําเนินงาน โครงการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน

(CBR) กรุงเทพฯ : สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ. ...............(๒๕๔๙).รายงานการประเมินผลการดําเนินงาน โครงการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน

(CBR) กรุงเทพฯ : สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ. มานิตย จุมปา.(๒๕๔๗). คําอธิบายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ พิมพคร้ังที่ ๒

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. มันทนา พนานิรามัยและสมชาย สุขศิริ เสรีกุล.(๒๕๔๐). การศึกษารูปแบบการจัดสรรงบประมาณเพื่อ

หลักประกันทางสังคม : อดีต ปจจุบันและอนาคต กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

รณยุทธ บุตรแสนคม.(๒๕๔๐). รายงานการวิจัยเร่ือง คุณภาพชีวิตของผูสูงอายุในเขตชนบท จังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด และกาฬสินธุ มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รพีพรรณ คําหอม.(๒๕๔๒). การประเมินโครงการบริการสวัสดิการสังคมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุในประเทศไทย กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

...............(๒๕๔๕). สวัสดิการสังคมกับประเทศไทย กรุงเทพฯ : โครงการปริญญาโทสาขาบริหารและนโยบาย สวัสดิการสังคม คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

...............(๒๕๔๗).การประเมินผลการจายเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพสําหรับผูสูงอายุ กรุงเทพฯ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุย.

วราภรณ ศรีปาน. (๒๕๔๖). ความพรอมในการจัดสวัสดิการคนพิการขององคการบริหารสวนตําบล : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดสมุทรสงคราม วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

รัชติกร แสงศร.(๒๕๓๑). การศึกษาฟนฟูเด็กพิการในชุมชนศึกษาเฉพาะกรณี : โครงการฟนฟูเด็กพิการในชุมชนบัวใหญ จังหวัดนครราชสีมา วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

วรวิทย เจริญเลิศและนภาพร อติวานิชยพงศ.(๒๕๔๖). การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสกลุมแรงงานในภาคอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ : ศูนยเศรษฐศาสตรการเมือง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วิจิตร แกวเครือวัลย.(๒๕๔๔). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาศักยภาพคนพิการ : ศึกษากรณีคนพิการทางรางกายในศูนยฟนฟูอาชีพคนพิการ กรมประชาสงเคราะห วิทยานิพนธสังคมสงเคราะห ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Page 276: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๑

วิภาวี ศรีเพียร.(๒๕๔๔). คุณภาพชีวิตการทํางานกับการยายถ่ินของแรงงาน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการประชากรศาสตรแหงชาติ โดยสมาคมนักประชากรไทย ระหวางวันที่ ๒๒-๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๔.

วิรัตน เตชะอาภรณกุล. (๒๕๓๗). การปองกันความพิการและการฟนฟู. จุลสารฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย. ฉบับรวมเลม, ๒-๓ (๓-๓), ๓๒-๓๔.

วิระมล กาสีวงศ. (๒๕๔๑). องคประกอบในการไดรับบริการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยของคนพิการทางการเคลื่อนไหวอําเภอทาอุเทน จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

วิทยากร เชียงกูล.(๒๕๔๖). การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาส : กลุมผูประกอบอาชีพอิสระรายยอย. กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษาเศรษฐศาสตรการเมือง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.(๒๕๔๖). รายงานผลการประชุมทางวิชาการประจําป ๒๕๔๖ เร่ือง งานวิจัยดานคนพิการและงานบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ระหวางวันที่ ๔-๕ กันยายน ๒๕๔๖ ณ หองประชุมใหญช้ัน ๓ อาคารอํานวยการ วิทยาลัยราชสุดา.

วิยะดา ตีระแพทย.(๒๕๔๒). การนํานโยบายถายโอนงานดานสวัสดิการสังคมสูการปฏิบัติงานขององคการบริหารส วนตํ าบล วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะสั งคมสง เคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

วันทนีย วาสิกะสินและคณะ.(๒๕๔๑). ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ศิริรัตน ทัศนกิจ.(๒๕๔๘ ).การพัฒนาการจัดบริการฟนฟูสมรรถภาพแบบบูรณาการของสถานสงเคราะห วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม) คณะสังคมสงเคราะหสาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ศรียา นิยมธรรม.(มปป.). L.D. เขาใจ & ชวยเหลือ กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. ศูนยพัฒนาศึกษาแหงชาติ.(๒๕๒๔). “การสํารวจสภาพความพิการของเด็กอายุ ๕-๑๔ ป ในประเทศไทย”

เอกสารฉบับโรเนียว หนา ๑๗. ศูนยสิรินธรเพือ่การฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ.(๒๕๔๒). คูมือปฏิบัติงานดานเวชกรรม

ฟนฟูสําหรับแพทยเกีย่วกับการปองกันและการฟนฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีความพิการ เลมที่ ๑ แนวทางปฏิบัติตอบุคคลที่มีความผิดปกตหิรือความพิการ.นนทบุรี: ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ.

ศรีสวาง พัววงศแพทย.(๒๕๔๗). กระบวนทัศนการใหบริการสวัสดิการสังคมเชิงคุณภาพดานเด็ก กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 277: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๒

สมใจ ฉัตรไทย.(๒๕๔๓). คุณภาพชีวิตของแรงงานกอสราง วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประชากรศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมพร ชัยอยุทธ.(๒๕๔๒). คุณภาพชีวิตผูสูงอายุในชุมชนแออัดเขตเทศบาลขอนแกน จังหวัดขอนแกน วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

สถาบันพระปกเกลา.(๒๕๔๘).รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พ.ศ. ๒๕๔๘ นนทบุรี : ศูนยการพิมพแกนจันทร.

สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน www: file //C.\Documents and Setting \Administrator\My Documents\CODI ) ๑๗/๙/๒๕๔๙)

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (๒๕๔๑). สํารวจขอมูลพื้นฐานคนพิการในวัยเรียนและกอนวัยเรียน (อายุ ๐-๑๙ ป) พ.ศ. ๒๕๔๑ นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล.

สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.(๒๕๔๘). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ ปจจัยที่มีผลตอความตองการบริการสวัสดิการสังคมของผูสูงอายุในเขตชนบท เสนอตอ คณะทํางานสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิต สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.

สถาพร มงคลศรีสวัสดิ์ สันติศักดิ์ มะเริงสิทธิ์และบัวบาน จันทราษี.(๒๕๔๗). “การสรางความเขมแข็งใหผูพิการ ครอบครัว และชุมชน ในชุมชนชนบทจังหวัดรอยเอ็ด โดยใชกระบวนการฟนฟูสมรรถภาพผูพิการโดยชุมชนริเร่ิม” ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการประจําป ๒๕๔๖ เร่ือง การวิจัยดานคนพิการและงานบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ระหวางวันที่ ๒๖-๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๗ ณ วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุนันท โพธ์ิทอง.(๒๕๔๓). วาระแหงนโยบายสวัสดิการสังคมไทยในสหัสวรรษใหม : ทิศทางใหมสําหรับกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

สุพัฒน สุระดนัย.(๒๕๔๔) เครื่องชี้วัดความผาสุกของครอบครัวชนบทในจังหวัดขอนแกน วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาการพัฒนา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.

สุรพล ปธานวนิช.(๒๕๔๗). นโยบายสังคม เสนทางสูรัฐสวัสดิการ กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุภางค จันทวานิช. (๒๕๔๐). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพคร้ังที่ ๗). สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์ .(๒๕๔๔). แนวทางการสงเสริมอาชีพคนพิการ วิทยานิพนธสังคมสงเคราะห ศ า สต รมห าบั ณฑิ ต ( ก า ร จั ด ก า ร โ ค ร ง ก า ร ส วั ส ดิ ก า ร สั ง ค ม ) บั ณฑิ ต วิ ท ย า ลั ยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 278: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๓

สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์ .(๒๕๔๕). การดํารงชีวิตอิสระของคนพิการในประเทศไทย การทบทวน ๓ จังหวัดนํารอง จดหมายขาวฉบับที่ ๓ http: // www. apcdproject.org/thai /publications /newsletter ๐๓ / publication.

สุวิทย วิบุลผลประเสริฐและคณะ. (๒๕๔๐). รายงานการวิจัยระบบบริการทางการแพทยเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ. สํานักนโยบายและแผนสาธารณสุข ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ.

สุมล ศรีใจ.(๒๕๔๗). “บทบาทของกลุมคนพิการและครอบครัวในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในชุมชน” ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการประจําป ๒๕๔๖ เร่ือง การวิจัยดานคนพิการและงานบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ระหวางวันที่ ๒๖-๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๗ ณ วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.

สํานักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ.(๒๕๔๓). จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาการ กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.(๒๕๒๕). การสํารวจคนพิการทางดานการศึกษา กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ.(๒๕๔๔). ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยคณะกรรมการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๔และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔.กรุงเทพฯ : สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี.

สํานักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได (๒๕๔๗) การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.(๒๕๔๔). “รายงานผลการเสวนาโครงการชวยการคุมครองทางสังคมสําหรับผูดอยโอกาสและคนยากจน” ที่โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๔.

สํานักงานสถิติแหงชาติ. (๒๕๒๔). “รายงานการสํารวจคนพิการในโครงการสํารวจอนามัยและสวัสดิการ ป ๒๔๒๔” เอกสารโรเนียว.

..............(๒๕๒๖). “รายงานการสํารวจคนพิการในโครงการสํารวจอนามัยและสวัสดิการ ป ๒๔๒๔” เอกสารโรเนียว.

...............(๒๕๔๒). สถานภาพของคนพิการไทย กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี.

...............(๒๕๔๕). รายงานการสํารวจเกี่ยวกับอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๑๙-๒๕๔๔ กรุงเทพฯ : กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี.

สํานักงานสถิติแหงชาติและกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (๒๕๔๗). คูมือการใชสถิติคนพิการของประเทศไทย กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี.

Page 279: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๔

สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี.(๒๕๔๗). เกียรติคุณของประเทศไทยในการดําเนินงานดานคนพกิาร พระมหากรุณาธิคุณตอคนพิการ เลม ๑-๓ กรุงเทพฯ : มปป.

สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.(๒๕๔๗). สรุปผลการประชุมวิพากษสาธารณะ เร่ืองยุทธศาสตรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ระหวางวันที่ ๓-๔ มีนาคม ๒๕๔๗ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนชั่น ถนนวิภาวดี-รังสิต.

สํานักสงเสริมและพิทักษคนพิการ. สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ.(๒๕๔๗). คูมือการปฏิบัติงานดานคนพิการสําหรับสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด กรุงเทพฯ : เอกสารอัดสําเนา.

.............. (๒๕๔๘). คูมือคนพิการ พิมพคร้ังที่ ๒ กรุงเทพฯ : ศรีเมืองการพิมพ.

...............(๒๕๔๘). ขอมูลการจดทะเบียนคนพิการระดับ ๓-๕ ป ๒๕๔๘ กรุงเทพฯ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.

สํานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.(๒๕๔๑). รายงานการวิจัยคุณภาพชีวิตของคนในเขตเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพฯ : ทิพยเนตรการพิมพ.

อรฉัตร โตษยานนท. (๒๕๔๒). ปญหาเด็กพิการในประเทศไทย. ใน การฟนฟูสมรรถภาพเดก็ พิการ.กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรีนพริ้นท. อภิชนา โฆวินทะ. (๒๕๓๖). สภาวะฉุกเฉินในเวชศาสตรฟนฟู. จุลสารฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย,

๒(๑), ๑๑๘. อภิญญา เวชยชัย.(๒๕๔๖). การศึกษาสภาวการณปญหา ปจจุบันของครอบครัวไทย และขอเสนอตอการ

พัฒนาสถาบันครอบครัว กรุงเทพฯ : ศูนยเศรษฐศาสตรการเมือง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อภิญญา เวชยชัยและกิตติพัฒน นนทปทมะดุลย.(๒๕๔๖). การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและ

คนดอยโอกาส : กลุมคนจนผูดอยโอกาสและกลุมเสี่ยงที่มีปญหาสังคม กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรส โปรดักซ.

อภิญญา เวชยชัยและ ศิริพร ยอดกมลศาสตร.(๒๕๔๗). สวัสดิการสังคมฉบับชาวบาน แนวคิด นโยบาย แนวทางปฏิบัติ ณรงค เพ็ชรประเสริฐ (บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษาเศรษฐศาสตรการเมือง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อังคณา สาลาด. (๒๕๔๑). ความคาดหวังในการฟนฟูสมรรถภาพชุมชนของคนพิการทางกายและ/หรือการเคลื่อนไหว : ศึกษาเฉพาะอําเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประชากรศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

เอกชัย จุลละจาริตต. (๒๕๓๑). ผูปวยอวัยวะพิการ. วารสารคลินิก ๔. (๑๐), ๗๑๐-๗๑๖.

Page 280: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๕

ภาษาอังกฤษ Adelman, P. B., & Vogel, S. A. (๑๙๙๒). Issues in program evaluation. In S. A. Vogel & P. B.

Adelman (Eds.), Success for college students with learning disabilities (pp.๓๒๓-๓๔๓). New York: Springer-Verlag.

Altman & S. Barnart (Eds.), Exploring theories and expanding methodologies: Vol. ๒. Research in social science and disability (pp. ๒๙-๕๒). Oxford, UK: Elsevier.

Asia-Paciffic Development Center on Disability (APCD) VCD ๓๐ Mins “Independent Living in Thailand ๕ Persons with Disabilities in Nakornpathom Province”. Bangkok : JICA. Saori. VCD “Hand Woven” Changmai.

Australian Institute of Health & Welfare. (๒๐๐๑). Australia’s Welfare. Canberra : AIHW. Australian Institute of Health & Welfare. (๒๐๐๒). Australia’s National Disability Services Data

Collection , Redeveloping the Commonwealth-state/Territory Disability Agreement National Minimum Data Set Canberra : AIHW.

..............(๒๐๐๓) Disability Support Services ๒๐๐๒ , National data on services provided under the Commonwealth/state Disability Agreement Canberra : AIHW.

Behrmann, M. & Jerome, K., M. (๒๐๐๒). Assistive Technology for Students with Mild Disabilities: Update ๒๐๐๒. ERIC EC Digest #E๖๒๓.

Bickensack., J. E., Chatterji, S., Badley, E. M., & Ustun, T. B. (๑๙๙๙). Models of disablement, universalism, and the international classification of impairments, disabilities and handicaps. Social Science and Medicine, ๔๘, ๑๑๗๓-๑๑๘๗.

Booz & Allen. (๑๙๗๓). The Quality of life Concept : A Potential New Tool For Decision-Makers. Washington D.C., :National Technical Information Service. Campbell,A .(๑๙๗๒). Aspirations ,Satisfaction, and Fulfillment in A. Campbell and P.E. Converse, eds. The Human Meaning of Social Change , New York : Russell Sage Foundation Cobb, S. (๑๙๗๖). Social support as a moderator of life stress. Psychosomatic Medicine, ๓๔, ๓๐๐-

๓๑๔. Cornish E. & Others. (๑๙๗๗). The study of the future: An introduction to the art and science of

understanding and shaping tomorrow’s world. Washington: World Future Society. Dimond, M. & John, S.L. (๑๙๘๓). Chronic illness across the life span. London: Prentice-Hall. Fairweather, J. S., & Shaver, D. M. (๑๙๙๑). Making the transition to postsecondary education and

training. Exceptional Children, ๓๔, ๒๖๔-๒๗๐.

Page 281: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๖

Encyclopedia of Social Work (๑๙๗๑) p. ๑๔๔๖. Gross, Edward. (๑๙๕๘). Work and Society. New York : Thomas Y. Crowell. Hagen-Foley, Debra L.; Rosenthal, David A.; Thomas, Dale F. (๒๐๐๕). Informed Consumer Choice in

Community Rehabilitation Programs. Rehabilitation Counseling Bulletin. (๔๘) ๒, pp. ๑๑๐-๑๑๗.

Hankey. (๒๐๐๔) “Informal care giving for disabled stroke survivors” in BMJ ๒๐๐๔ ; ๓๒๘ : ๑๐๘๕ -๑๐๘๖ (๘ May). www// C : \Document and settings\Administrator\Desktop\Informal care giving for disabled stroke survivors

Henderson, C. (๑๙๙๒). College freshmen with disabilities: A statistical profile. Washington, DC: American Council on Education, HEATH Resource Center (ERIC Document Reproduction No. ED ๓๕๔๗๙๒).

Kahn, R.L. (๑๙๗๙). Aging and social support. In M.W. Riley (Ed.), Aging from birth to death: Interdisciplinary perspective. Colorado : Westrew press.

Kaplan, B. H., et al. (๑๙๗๗). Social support and health. Medical Care, ๑๕(๕), ๗๖-๘๙. Kittisuksuthi, Sirinan and Jones ,Huw. (๒๕๔๕). International Labour Migration and Quality of Life.

A Case Study of Returness in Northeastern Thailand. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการประชากรศาสตรแหงชาติ โดยสมาคมนักประชากรไทย ระหวางวันที่ ๒๑-๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๕.

Kraus, L., Stoddard, S., & Gilmartin, D. (๑๙๙๖). Chartbook on Disability in the United States, ๑๙๙๖. An InfoUse Report. Washington, DC: US National Institute on Disability and Rehabilitation Research.

LaCheen, C. (๒๐๐๔). Using the Americans with Disabilities Act to Protect the Rights of Individuals with Disabilities in TANF Programs: A manual for Non-Litigation Advocacy. Welfare law Center. NY : New York. www.welfarelaw.org

Liu,Ben-Chieh. (๑๙๗๕). Quality of life : Concept ,Messure and Results. The America Journal of Econnomics and Sociology , ๓๔ (๑),๑.

Maleolm, P. (๑๙๙๗). Community Based Rehabilitation. London : Saunders. Minkler, M. “Inproving health Though Community Organization.” in Health Behavior and Health

Behavior and Health Education : Theory , Research and Practice. Edited by Glanz,K. et Sanfrancisco : Jossey-Bass Inc. ๑๙๙๐ pp. ๒๕๗-๒๘๗.

Page 282: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๗

Mitra, S. (๒๐๐๖). The capability approach and disability. Journal of Disability Policy Office of Special Education, Fairfax School. (๒๐๐๕). Operational Definitions of Disabilities and Eligibility Criteria. [online] retrieved:

Office of Special Education, Fairfax School (๒๐๐๕). Operational Definitions of Disabilities and Eligibility Criteria: Basis for the Eligibility Committee Decisions. [online] retrieved: http://www.fcps.edu/ss/SpecialEd/speddisb.htm#anchor ๘๙๔๖๖ ๐๕/๐๙/๒๐๐๖.

Oklahoma Administrative Office. (๒๐๐๖). Criterions for Disability. [online] retrieved: www.policy.okdhs.org/ch๑๐๕/๓๔๐-๑๐๕-๑๐/๓๔๐ ๑๐๕-๑๐-๓.Definitions.htm ๐๕/๐๙/๒๐๐๖.

Pfeiffer, D. (๒๐๐๑). The conceptualization of disability. In B.M. Altman & S. Barnartt (Eds.), Exploring theories and expanding methodologies: Vol.๒. Research in social science and disability (pp.๒๙-๕๒). Oxford, UK: Elsevier.

Rothstein, L. F. (๑๙๙๓). Legal issues. In S. A. Vogel & P. B. Adelman (Eds.), Success for college students with learning disabilities (pp. ๒๑-๓๕). New York: Springer-Verlag.

Schaefer, C., et al. (๑๙๘๑). The Health-related Functions of Social Support. Journal of Behavioral Medicine. ๔(๔), ๓๘๑-๔๐๖.

Sharma , R.C., (๑๙๗๕). Population and Social Economic Development. Population Trends, Resources and Environment : Hand Book on Population Education New Delhi

Shaw, S., McGuire, J., & Brinckerhoff, L. (๑๙๙๔). College and university programming. In P.J. Gerber & H.B. Reiff (eds.), Learning disabilities in adulthood: Persisting problems and evoving issues (pp. ๑๔๑-๑๕๑). Stoneham, MA: Andover Medical.

Sheryl L. Day and Barbara J. Edwards. (๑๙๙๖). Assistive Technology for Postsecondary Students with Learning Disabilities. Journal of Learning Disabilities. Volume ๒๙, Number ๕, pp. ๔๘๖-๔๙๒.

Smart, J. F. (๒๐๐๔). Model of disability: the juxtaposition of biology and social construction. In T. F. Riggar & D. R. Maki (Eds.), Handbook of rehabilitation counseling (pp. ๒๕-๔๙). New York: Springer.

Smart, J. F., & Smart, D. W. (๒๐๐๖). Model of disability: implications for the counseling profession. Journal of Counseling and Development, ๘๔, ๒๙-๔๐.

Page 283: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๘

Tilden,V.P. (๑๙๘๕) “Issues of Conceptualization and Measurement of Social Support in the Construction of Nursing Theory” Research in Nursing and Health. ๘ (๑๙๘๕) : ๙๙-๒๐๖.

Thoits, P.A. (๑๙๘๒) “Concept, Methodological and Theoretical Problems in Studing Social Support as a Buffer Against Life Stress” Journal of Health and Social Behavior. ๒๓ (๑๙๘๒), ๑๔๕-๑๕๙.

Thomason, T., Burton, J. F., Jr., & Hyatte, D. R. (Eds.). (๑๙๙๘). New approaches to disability in the workplace. Madison: University of Wisconsin Press.

United Nation Development Programme. (๒๐๐๓). Thailand Human Development Report ๒๐๐๓ Bangkok : Thailand.

U.S. Department of Education, Office of Special Education and Rehabilitation Services, National Institute on Disability and Rehabilitation Research. (๒๐๐๐). Long-range plan ๑๙๙๙-๒๐๐๓. Washington D.C.: Author.

US General Accounting Office. (๑๙๙๙). Adults with severe disabilities: Federal and State Approaches for Personal Care and Other Services in Report to Congressional Requesters. Washigton D.C.

Vogel, S.A. (๑๙๙๓). The continuum of responses to Section ๕๐๔ for students with learning disabilities. In S.A. Vogel & P. B. Adelman (Eds.), Success for college students with learning disabilities (pp. ๘๓-๑๑๓). New York: Springer-Verlag.

Wallerstein, N. and Bernstein, E. (๑๙๘๘). “ Empowerment Education Freise’s Ideas Adapte to Health Education” Health Education Quarterly ๑๕. ๑ pp. ๓๗๙-๓๙๔.

.............(๑๙๙๔). “Introduction to Communication Empowerment , Participatory Education , and Health” Health Education Quarterly ๒ (Summer) pp. ๑๔๑-๑๔๘.

Weiss, C.B. (๑๙๘๔). The provision of social relationship. Doing unto others. Philadelphia: Prentice Hall.

WHO (๑๙๙๑). Strengthening Self-care Home Regional Officer for South-East Asia , New Deli India. Wikipedia, the free encyclopedia www (๑๖/๙/๒๕๔๙) Model of deafness. World Health Organization. (๒๐๐๑). International Classification of Functioning , Disability and

Health , ICF (บัญชีสากลเพื่อการจําแนกการทํางานความพิการและสขุภาพ) พิมพโดย กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. ๒๕๔๗.

Zola, I. K. (๑๙๙๓). Disability statistics, what we count and what it tells us. Journal of Disability Policy Studies, ๔, ๙-๓๙.

Page 284: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๖๙

ภาคผนวก

Page 285: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

๒๗๐

รายชื่อผูทรงคุณวุฒ ิการประชุมขอเสนอเชิงนโยบาย “รวมรอย ตอเติม เสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ”

โครงการวิจัยยทุธศาสตรบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ” วันท่ี ๓๐ สิงหาคม ๒๕๔๙ ณ หองก่ิงเพชร โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร

ลําดับ ช่ือ-สกุล ตําแหนง หนวยงาน/ที่อยู ๑ ศาสตราจารยกําธร กุลชล ศาสตราจารย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร ๒ รองศาตราจารย ดร.สุรพล

ปธานวนิช รองศาสตราจารย คณะสังคมสงเคราะหศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๓ อาจารยกมลพรรณ พันพึ่ง อาจารย สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ

ครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ๔ อาจารยธรรม จตุนาม อาจารย วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ๕ แพทยหญิงดารณี สุวพันธ รองผูอํานวยการ ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการ

แพทยแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุข ๖ แพทยหญิงวัชรา ริ้วไพบูลย ผูจัดการแผนงาน

สงเสริมสุขภาพคนพิการ ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุข

Page 286: บทคัดย อ · 2016. 1. 26. · สุขภาพแบบไม เป นทางการ (Informal Care) การดูแลคนพ ิการระด ับรุนแรงโดยช

สวัสดิการที่เหมาะสมสาํหรับคนพิการระดับรุนแรงในประเทศไทย ในชุดโครงการศึกษาวิจัยยุทธศาสตรบรูณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ดร. นรินทร สังขรักษา หัวหนาชุดโครงการศึกษาวิจัยยุทธศาสตรบูรณาการพัฒนา

คุณภาพชีวิตคนพิการ หัวหนาโครงการวิจัยสวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับคนพิการ ระดับรุนแรงในประเทศไทย รองศาสตราจารย ดร. ทรงศรี สรณะสถาพร นักวิจัยรวม รองศาสตราจารย รัตนา วัฒนแพทย นักวิจัยรวม อาจารยณัฎฐพงศ จันทรอยู นักวิจัยรวม ลิขสิทธิ์ของ สํานักสงเสริมและพทิักษคนพิการ

สํานักงานสงเสริมและพิทกัษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพกิาร และผูสูงอาย ุ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ISBN 974-9500-68-0 พิมพครั้งที ่๑ จํานวน ๒๐๐ เลม กันยายน ๒๕๔๙ จํานวน ๒๗๐ หนา

พิมพที่ โรงพิมพ เอกพิมพไท จํากัด ๙๔-๙๘ หมูบานจิดาธานี ถนนบรมราชชนนี แขวงศาลาธรรมสพน เขตทววีัฒนา กรุงเทพ ฯ โทร ๐๒-๘๘๘๘๑๕๒ ๐๒-๘๘๘๘๔๘๖