safety electrical green school hand outการใช สายไฟฟ าต อจากจ...

81

Upload: others

Post on 21-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว
Page 2: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

1. ความปลอดภัย

ในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟ้า

Page 3: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

1. หลักความปลอดภัยทั่วไป

Page 4: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

หลักความปลอดภัยทัว่ไป

ความปลอดภัย

อุบัติเหตุ

VS

Page 5: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ไม่เกิดความสูญเสีย

เนื่องจากอุบัติเหตุ

ไม่เกิดโรคจากการทํางาน

ความปลอดภัย

Page 6: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

อุบัติเหตุ

เหตุการณ์ที่ไม่ได้คาดคิดไว้ก่อน และเมื่อเกิด

ขึ้นแล้วก่อให้เกิดความเสียหายต่อ คน ทรัพย์สิน

ระบบการผลิต โอกาสธุรกิจ

Page 7: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ค่าใช้จ่ายในการป้องกันอุบัติเหตุนั้นน้อยมากเมื่อ

เปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายอย่างอื่น

Page 8: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ความสูญเสีย

คน

ทรัพย์สิน

ขบวนการผลติ

สิ่งแวดล้อม

Loss Causation Model

สาเหตุขณะนั้น

การปฏิบัติ

ตํา่กว่ามาตรฐาน

&

สภาพการณ์

ตํา่กว่ามาตรฐาน

สาเหตุพืน้ฐาน

ปัจจัยคน

ปัจจัยงาน

อุบัตกิารณ์

สัมผสักบั

สสาร

หรือ

พลงังาน

ขาดการควบคุม

ไม่เพยีงพอ

-โปรแกรม

-มาตรฐาน

-ปฏิบัตติาม

มาตรฐาน

ทฤษฏีความสูญเสีย

สาเหตุขณะนั้น

การปฏิบัติ

ตํา่กว่ามาตรฐาน

&

สภาพการณ์

ตํา่กว่ามาตรฐาน

สาเหตุ พืน้ฐาน

ปัจจัยคน

ปัจจัยงาน

ขาดการควบคุม

ไม่เพยีงพอ

-โปรแกรม

-มาตรฐาน

-ปฏิบัตติาม

มาตรฐาน

ควบคุมก่อนการสัมผสั ควบคุมขณะสัมผสั ควบคุมหลงัสัมผสั

Page 9: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2. ความปลอดภัยในการ

ทํางานเกี่ยวกับไฟฟ้า

Page 10: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2.1 นิยามเกี่ยวกับไฟฟ้า ( 1 )

• กระแสไฟฟ้า (Electric Current)

กระแสไฟฟ้า หมายถึง ปริมาณของอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนทีผ่า่นจุดที่กําหนด ให้ภายในช่วงเวลา 1 วินาที หน่วยวัดกระแสเป็นแอมแปร์ (Ampare)

• แรงดันไฟฟ้า (Electric Voltage)

แรงดันไฟฟ้า หมายถึง แรงเคลื่อนไฟฟา้ตกคร่อม (Potential Voltage Drop)

ซึ่งเป็นความแตกต่างของแรงเคลือ่นไฟฟา้ ระหว่างปลายทั้งสองของตัวนําที่มี กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน แรงดันไฟฟ้านี้มีหน่วยเป็นโวลต์ (Volt)

• ความต้านไฟฟ้า (Electric Resistance)

ความต้านทานไฟฟ้า หมายถึง คุณสมบัติของสสารในการต้านทานการไหล ของกระแสไฟฟ้าให้ผ่านตัวมัน ความต้านทานไฟฟ้านี้มีหน่วยเป็น โอห์ม(Ohm)

Page 11: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

• ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current หรือ D.C.)

ไฟฟ้ากระแสตรง หมายถึง กระแสไฟฟ้าทีม่ีทศิทางการไหลหรือขั้ว

ของแหล่งจ่ายออกมาอย่างแน่นอน ไม่มีการสลับขั้วบวก ขั้วลบแต่อย่างใด

• ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current หรือ A.C.)

ไฟฟ้ากระแสสลับ หมายถึง กระแสไฟฟ้าทีไ่ด้จากเครื่องกําเนิด

กระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้ามีการเปลี่ยนทศิทางการไหลอยู่ตลอดเวลา

โดยขั้วหรือประจุทางไฟฟ้าจะสลับบวก-ลบ อยู่ตลอดเวลา

2.1 นิยามเกี่ยวกับไฟฟ้า ( 2 )

Page 12: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2.2 แหล่งกําเนิดพลังงานไฟฟ้า

พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากปฏิกิริยาเคมี (พลังงานเคมี)

พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากพลังงานแสง

พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากพลังงานกล

Page 13: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2.3 อันตรายจากไฟฟา้

1. ไฟฟ้าดูด (Electric Shock)

2. ไฟฟ้าช๊อต/ไฟฟ้าลัดวงจร

(Short Circuit)

Page 14: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2.3 อันตรายจากไฟฟา้

1. ไฟฟ้าดูด (Electric Shock)

ไฟฟ้าดูด คือ การที่มีกระแสไฟฟ้า

ไหลผ่านร่างกาย

Page 15: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ความรุนแรงของอันตรายขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอันตรายขึ้นอยู่กับ

• ขนาดของกระแสไฟฟ้า

• ระยะเวลาที่สัมผัส

• เส้นทางที่กระแสไหลผ่าน

• แรงดันไฟฟ้า

• ความต้านทานร่างกาย

• ขนาดของกระแสไฟฟ้า

• ระยะเวลาที่สัมผัส

• เส้นทางที่กระแสไหลผ่าน

• แรงดันไฟฟ้า

• ความต้านทานร่างกาย

Page 16: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

คนเราถูกไฟฟ้าดูดไดอ้ยา่งไร?คนเราถูกไฟฟ้าดูดไดอ้ยา่งไร?

• ร่างกายสัมผัสส่วนที่มีไฟฟา้ 2 จุด พร้อมกัน

• 2 จุดมีแรงดันไฟฟ้า ไม่เท่ากัน

• ร่างกายจึงเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า

• ร่างกายสัมผัสส่วนที่มีไฟฟา้ 2 จุด พร้อมกัน

• 2 จุดมีแรงดันไฟฟ้า ไม่เท่ากัน

• ร่างกายจึงเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า

Page 17: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

เงื่อนไขของการถูกไฟฟา้ดูด

แหล่งจ่ายไฟ

กระแส

สายไฟฟ้า

Page 18: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

จุดไฟออก

จุดไฟเข้า

Page 19: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

จุดไฟเข้า

จุดไฟออก

Page 20: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ไฟดูดมีผลตอ่

ร่างกายมนุษย์อย่างไร ?

Page 21: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

• ขนาดของกระแสไฟฟ้า/แรงดันไฟฟ้า• ขนาดของกระแสไฟฟ้า/แรงดันไฟฟ้า

ขนาดกระแส อาการ

ไม่ถึง 1 mA 1 – 3 mA

10 mA 30 mA 75 mA

250 mA 4 A เกิน 5 A

ไม่รู้สึกถึงกระแสไหลไฟฟ้า รู้สึกถึงอาการเจ็บ รู้สึกถึงการเกร็งของกล้ามเนื้อ รู้สึกถึงการขัดข้องทางระบบหายใจ รู้สึกถึงการขัดข้องของหัวใจ มีโอกาสถึง 99.5 % ที่หัวใจจะสั่นกระตุก หัวใจอาจหยุดเต้นได้ เนื้อไหม้

การตอบสนองต่อกระแสไฟฟ้าของมนุษย์ (สําหรับบุคคลที่มีน้ําหนัก 68 กิโลกรัม)

Page 22: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

Zone of Shock โซนของความรุนแรงจากไฟดูด 50 Hz IEC 479

1 2 3 4

10000

5000

2000

1000

500

200100

50

20

100.1 0.2 0.5 1 2 5 10 20 50 100 2005001000 500010000

a b c1 c2 c3

Body current, mA

1. No reaction effect

2. No harmful physiological effect

3. No organic damage to be expected

4. Pathophysiological effect such as cardiac arrest, breathing arrest

Tim

e, m

sec

กราฟแสดงผลของกระแสไฟฟ้าทีม่ตี่อร่างกายมนุษย์

Page 23: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

• สัมผัสโดยตรง (Direct Contact)

• สัมผัสโดยอ้อม (Indirect Contact)

การสัมผัสส่วนที่มีกระแสไฟฟ้า

Page 24: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

• สัมผัสโดยตรง (Direct Contact)

การสัมผัสส่วนที่มีกระแสไฟฟ้า

Page 25: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

• สัมผัสโดยอ้อม (Indirect Contact)

การสัมผัสส่วนที่มีกระแสไฟฟ้า

Page 26: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การป้องกันอันตราย

จากไฟฟ้าดูด

Page 27: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การป้องกันอันตรายจากไฟดูด

การป้องกันอันตราย

ป้องกันการสัมผัส

โดยตรงและโดยอ้อมร่วมกัน

ป้องกันการสัมผัสโดยตรง ป้องกันการสัมผัสโดยอ้อม

Page 28: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

1. การป้องกันกรณีสัมผัสโดยตรง

• หุ้มฉนวนส่วนที่มีไฟ

• ป้องกันโดยใช้สิ่งของกั้น

• ป้องกันโดยใช้รั้วหรือสิ่งกีดขวาง

• ยกให้สูงในระยะที่เอื้อมไม่ถึง

• ใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

การป้องกันอันตรายจากไฟดูด

Page 29: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2. การป้องกันกรณีสัมผัสโดยอ้อม

• ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว

• ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดฉนวน 2 ชั้น

• ใช้ระบบไฟฟ้าที่แยกจากกัน

• ต่อลงดินเปลือกหุ้ม

• ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีแรงดันต่ําไม่เกิน 50 โวลท์

• ใช้สถานที่ที่ไม่เป็นสื่อไฟฟ้า

การป้องกันอันตรายจากไฟดูด

Page 30: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การต่อลงดินคืออะไร ?

การต่อลงดินคือ

การใช้สายไฟฟ้าต่อจากจุดที่ต้องการ

ต่อลงดินเข้ากับหลักดิน

Page 31: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

วิธีต่อลงดินของเครื่องใช้ไฟฟ้า

• เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องต่อลงดิน ต้องเดินสาย

ดินไปต่อลงดินที่เมนสวิตช์

• ที่เครื่องใช้ไฟฟ้า อาจต่อลงดินเพิ่มอีกได้ แต่

จะใช้แทนการเดินสายดินไปที่เมนสวิตช์ ไม่ได้

Page 32: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การต่อสายดนิและสายศูนย์ท ีแ่ผงเมนสวติช์

N G

สายศูนย์และสายดนิต่อถงึกันที่แผงเมนไฟฟ้านีเ้ท่านัน้

และต่อกับหลักดนิหรือแท่งสายดนิ

สายดนิและสายศูนย์ต้องไม่ต่อถงึกัน

อีกที่ไหนในอาคารนีอ้ีก

Page 33: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การต่อลงดิน

การต่อลงดินที่เมนสวิตช์

การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าลงดิน

Page 34: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การต่อลงดินต้องทําให้ถูกต้อง

การต่อที่ถกูตอ้งต่อแบบนี้ไม่ถกูตอ้ง

Page 35: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การเดินสายดิน

ต่างจากต่อลงดินที่เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไร?

กระแสไหลกลบั

เมื่อเดินสายดิน

Page 36: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

กระแสไหลกลบั

การเดินสายดิน

ต่างจากต่อลงดินที่เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไร?

Page 37: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

อะไรบ้างต้องต่อลงดิน

• เปลือกโลหะของอปุกรณ์ไฟฟ้าที่บุคคล อาจสัมผัสได้

• รั้วโลหะ

ยกเว้น

- เครื่องใช้ไฟฟา้ชนิดฉนวน 2 ชั้น

Page 38: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2.3 อันตรายจากไฟฟา้

2. ไฟฟ้าช๊อต/ไฟฟ้าลัดวงจร(Short Circuit)

ไฟฟ้าช๊อต คือ การที่มี จุด 2 จุด

ในวงจรไฟฟ้าซึ่งมีศกัดาไฟฟ้าต่างกัน

มาแตะหรือสัมผัสกัน

Page 39: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

สาเหตุของไฟฟ้าช็อต

• ฉนวนไฟฟ้าชํารุด หรือเสื่อมสภาพ

• แรงดันเกินในสายไฟฟ้า

• ตัวนําไฟฟ้าในวงจรเดียวกันสัมผัสกัน

Page 40: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ผลจากไฟฟ้าช็อต

• เครื่องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าชํารุด

• ทรัพย์สินเสียหาย (เพลิงไหม้)

• บุคคลได้รับอันตราย

Page 41: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

แนวทางป้องกัน

• เลือกอุปกรณ์และติดตั้งตามมาตรฐาน

• ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าเป็นประจํา

• ดูแลรักษา ทําความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้า

• เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน

• ใช้อย่างถูกวิธี

Page 42: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

เมือ่ทาํงานกบัไฟฟ้าแรงสูง

• ถ้าไม่ดับไฟ

– ต้องอยู่ในระยะะห่างที่เหมาะสม

– ใช้เครื่องมือให้เหมาะสม

– ผู้ปฏิบัติงานต้องได้รับการฝึกฝนและมีประสบการณ์

Page 43: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

อันตรายจากไฟฟ้า

การก่อสร้างใกล้สายไฟฟ้า

Page 44: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ไม่เสียบอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายเครื่อง

จากเต้ารับเดียวกัน

ไม่ใช้สายเปลือยเสียบในเต้ารับ

อันตรายจากไฟฟ้า

Page 45: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

อันตรายจากไฟฟ้า

Page 46: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ติดตั้งเสาอากาศให้มั่นคงแข็งแรง ห่างจากแนวสายไฟ

อันตรายจากไฟฟ้า

Page 47: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ร่างกายเปียกชื้นไม่ควรแตะต้องอุปกรณ์ไฟฟ้า

อันตรายจากไฟฟ้า

Page 48: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การช่วยเหลือผู้ถูกไฟฟ้าดูดเบื้องต้น

Page 49: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูดเบื้องต้น

การปฐมพยาบาล

กรณไีม่หายใจ- ช่วยหายใจทางปาก- ช่วยหายใจทางจมูก

กรณหีวัใจหยุดเตน้

- นวดหวัใจ

ช่วยใหห้ายใจไดส้ะดวก

กรณผีูป้่วยหมดสติ

Page 50: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การดับเพลิงที่เกิดจากไฟฟ้า

การดับเพลิงที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร1. ตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกถ้าทําได้

2. แจ้งเหตุเพลิงไหม้

3. ใช้เครื่องดับ เพลิง Class C

เชื้อเพลิง

ออ๊กซิเจน

ความรอ้น

“ องค์ประกอบของการเกิดเพลิงไหม้ ”

Page 51: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2. ความปลอดภัย

ในอาคาร

Page 52: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ความปลอดภัยในอาคาร

ด้านอัคคีภัย

Page 53: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ทฤษฏีการเกิดเพลิงไหม้

การเผาไหม้ คอื “ ปฏิกริิยาเคมทีีเ่กดิจากการรวมตวัของไอเชื้อเพลงิกบัอ๊อกซิเจน โดยมคีวามร้อนเป็นตวัช่วย ซึ่งเป็นผลให้เกดิความร้อนและแสงสว่างเกดิขึน้เพยีงพอทีก่่อให้เกดิเปลวไฟและสภาพการเปลีย่นแปลง ”

Page 54: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

1. น้ํา2. โฟม

3. ผงเคมีแห้ง

4. ก๊าซเฉื่อย เช่น CO2,N2,Ar5. ฮาลอน/เฮลอน

Page 55: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ

1.น้ําสะสมกําลังดัน

2.โฟมสะสมกําลังดัน

3.คาร์บอนไดอ๊อกไซด์

4.ผงเคมีสะสมกําลังดัน

5.เฮลอน

Page 56: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

-ดบัเพลงิโดยปิดกั้นออกซิเจน, ตดั

ปฏิกริิยาลูกโซ่

- ใช้ดบัเพลงิประเภท A ,B,C

-ผงเคมแีห้งความดนั 195 ปอนด์/

ตารางนิว้

-ฉีดไปทีฐ่านของเพลงิ

-ระยะฉีด 2-4 เมตร

Page 57: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว
Page 58: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

*ฉีดไปทีฐ่านเพลงิ ระยะฉีด 2-4 เมตร

* ดงึสลกัออกจากคนับังคบัหัวฉีด

* จบัปลายสายฉีดสะบดัไป-มา พร้อม

บีบคนับงัคบั(ยกเว้นโฟม)

3

วธิีใช้งานเครื่องดบัเพลงิชนิดผงเคมแีห้ง

Page 59: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

1.เข้าหาไฟทางด้านเหนือลม

2.ทดลองฉีดเครื่องดบัเพลงิก่อนทีจ่ะเข้าไปใกล้เพลงิ

3.ฉีดไปทีฐ่านของเพลงิ

4. ถอยออกให้ห่างจากเพลงิก่อนทีส่ารดบัเพลงิจะหมด

ตามหลกัการนี้ สามารถดดัแปลงให้เหมาะสมตามสถานการณ์ การปฏบิัตกิาร

ดบัไฟต้องคาํนึงถงึความปลอดภยั (Safety) เป็นหลกัสําคญัในการเข้าไปดบัเพลงิ

Page 60: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

1. ตรวจมาตรวดัแรงดนั

ไม่พร้อมใช้งาน พร้อมใช้งาน

Page 61: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

2. ตรวจสอบสภาพภายนอกทัว่ไปของเครื่องดบัเพลงิ

Page 62: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

1. คน

2. อุปกรณ์

3. วสัดุ

4. สิ่งแวดล้อม

Page 63: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว
Page 64: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว
Page 65: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

1. อุปกรณ์ไฟฟ้า (Overload, Short Circuit)

2. การขดัสีของวตัถุ (Friction)

3. การสูบบุหรี่ (Smoking)

4. การตดัเชื่อมและการตดั 5. ฟ้าผ่า

6. ไฟฟ้าสถติย์

(Cutting and Welding)

(Lightning)

(Electrostatic)

7. การลอบวางเพลงิ (Incendiarism)

Page 66: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การอพยพหนีไฟ

Page 67: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การอพยพหนีไฟ

Page 68: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

การอพยพหนีไฟ

Page 69: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ความปลอดภัยในอาคาร

ด้านแผ่นดินไหว

Page 70: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

ก่อนการเกิดแผ่นดินไหว(1)

Page 71: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

ก่อนการเกิดแผ่นดินไหว(2)

Page 72: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ข้อควรปฏิบตัิเมื่อเกิดแผ่นดินไหว

ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว(1)

Page 73: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว(2)

Page 74: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว(3)

Page 75: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

หลังเกิดแผ่นดินไหว(1)

Page 76: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

หลังเกิดแผ่นดินไหว(2)

Page 77: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

หลังเกิดแผ่นดินไหว(3)

Page 78: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

3. การจัดการใน

ภาวะวิกฤติ

Page 79: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

ด้านอัคคีภัย

ด้านแผ่นดินไหว

ด้านน้ําท่วม

ด้านสารเคมีรั่วไหล

ด้านวินาศกรรม

ด้านรังสีรั่วไหล

ด้านเหตุขัดข้องในกระบวนการผลิตไฟฟ้า(Black Out)

การฝึกซ้อมรับมือกบัภาวะฉุกเฉินภายใน กฟผ.

แผนการจัดการภาวะวกิฤต กฟผ.

คู่มือแนวทางการจัดทําแผนรองรับเหตุฉุกเฉินแผ่นดินไหว

Page 80: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว

โครงสร้างการจัดการภาวะวิกฤติ กฟผ.คณะกรรมการจดัการสภาวะวกิฤต

กระทรวงพลงังาน

ศนูยจ์ดัการภาวะวกิฤต กฟผ.( CMC Center)

คณะกรรมการจดัการภาวะวกิฤต กฟผ.( Crisis Management Committee CMC )

หอ้ง 411 อาคาร ท.100

-ผูว้า่การ-รองผูว้า่การสายงานทีเ่กดิภาวะวกิฤต-รองผูว้า่การสายงานทีเ่กีย่วขอ้ง-ผูช้ว่ยผูว้า่การสายงานทีเ่กดิภาวะวกิฤต-ผูช้ว่ยผูว้า่การสายงานทีเ่กีย่วขอ้ง-กรรมการและเลขานุการ(อคภ.)-ผูช้ว่ยเลขานุการ (ระดับ 11สายงานทีเ่กีย่ว ขอ้งกบัการเกดิภาวะวกิฤต)

ศนูยจ์ดัการภาวะวกิฤตสายงานทีเ่กดิภาวะวกิฤต(CMT Center)

หอ้ง 411 อาคาร ท.100

คณะทํางานจัดการภาวะวกิฤตของสายงาน (Crisis Management Team,CMT) - กลุม่ระบบสง่ - กลุม่ผลติไฟฟ้า - กลุม่บรหิาร - กลุม่เชือ้เพลงิ

ศนูยอ์ํานวยการภาวะฉุกเฉนิ/ภาวะวกิฤตในพืน้ทีข่องหนว่ยงานในสายงาน

ศนูยส์ือ่สารในภาวะวกิฤต กฟผ.(EGAT CCT Center)

หอ้งประชุม อสอ.(ช ัน้2) อาคาร ท.031

คณะทํางานสือ่สารในภาวะวกิฤต กฟผ.(EGAT Crisis Commnication Team,EGAT-CCT)

-อสอ.

ศนูยส์ือ่สารในภาวะวกิฤตสายงาน(CCT Center)

คณะทํางานสือ่สารในภาวะวกิฤตของสายงาน(Crisis Communication Team,CCT)

-ประชาสมัพันธส์ายงาน

คณะทํางานสนบัสนนุการจดัการภาวะวกิฤต กฟผ.(Crisis Support Team, CST)หอ้ง 203อาคาร ท.100

-ฝ่ายบรกิาร (อบก.)

-ฝ่ายสือ่สารองคก์าร (อสอ.)

-ฝ่ายรักษาความปลอดภัย (อรป.)

-ฝ่ายพัฒนาคณุภาพและความปลอดภัย (อคภ.)

-ฝ่ายกฎหมาย (อกม.)

-ฝ่ายการเงนิ (อกง.)

-ฝ่ายแพทยแ์ละอนามัย (อพอ.)

-ฝ่ายทรัพยากรบคุคล (อทบ.)

-ฝ่ายชมุชนสมัพันธ ์(อชส.)

-ฝ่ายสิง่แวดลอ้ม (อสล.)

-ฝ่ายระบบสือ่สาร (อรส.)

-ฝ่ายพัสดแุละจัดหา (อพจ.)

-ทมีงานของสายงานทีเ่กดิภาวะฉุกเฉนิ / ภาวะวกิฤต

-ทมีงานของสายงานทีเ่กีย่วขอ้งกบัการเกดิภาวะฉุกเฉนิ

/ภาวะวกิฤต

34

2 1

Page 81: Safety Electrical Green School Hand Outการใช สายไฟฟ าต อจากจ ดท ต องการ ต อลงด นเข าก บหล กด น ว