คํานํา · โรคเบาหวาน...

152

Upload: others

Post on 25-Jan-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง
Page 2: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

คํานํา

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงาน หนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอ และจัดลําดับ

หนวยงาน (Ranking) ฉบับนี้ จัดทําข้ึนเพ่ือเปนเครื่องมือในการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอ และจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวัดยโสธร เนื้อหาประกอบดวย ตัวชี้วัดท่ีใชในการประเมินผลการดําเนินงานดานสาธารณสุข ท้ังสิ้น จํานวน 13 ประเด็นหลัก ๓๒ ตัวช้ีวัด แตละตัวชี้วัดจะแสดงใหเห็นถึงขอบเขต เนื้อหา รายละเอียด วิธีการในการจัดเก็บขอมูลเพ่ือวัดและประเมิน การดําเนินงานแกไขปญหาสาธารณสุขในพ้ืนท่ี อันเปนผลมาจาก การดําเนินกิจกรรมทางการแพทย และสาธารณสุขท่ีอยูในความรับผิดชอบของหนวยงาน และสถานบริการสาธารณสุขในสังกัด

คณะผูจัดทําคาดหวังวา เอกสารฉบับนี้ จะเปนสวนหนึ่งของการประเมินประสิทธิผลการ ปฏิบัติงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอ และจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวัดยโสธร ซ่ึงหากเอกสารฉบับนี้ มีขอผิดพลาดและขาดความสมบูรณของเนื้อหา คณะผูจัดทําขอนอมรบัขอเสนอแนะ เพ่ือปรับปรุงใหสมบูรณยิ่งข้ึนตอไป

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร พฤษภาคม ๒๕๕๗

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 3: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

สารบัญ หนา คํานํา ก สารบัญฯ ข ตัวช้ีวัดเพ่ือการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงาน เพ่ือจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗

๑ – ๓

ประเด็นหลักท่ี ๑ งานควบคุมโรคติดตอ ๕ – ๓๗ ประเด็นหลักท่ี ๒ งานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน ๓๙ – ๔๕ ประเด็นหลักท่ี ๓ งานสงเสริมสุขภาพและสุขภาพจิต ๔๗ – ๖๒ ประเด็นหลักท่ี ๔ งานควบคุมโรคไมติดตอ ๖๓ – ๖๗ ประเด็นหลักท่ี ๕ งานยาเสพติด ๖๙ – ๗๔ ประเด็นหลักท่ี ๖ งานการแพทยฉุกเฉินและพัฒนาระบบสงตอ ๗๕ – ๗๗ ประเด็นหลักท่ี ๗ งานทันตสาธารณสุขและหนวยบริการ ๗๙ – ๘๒ ประเด็นหลักท่ี ๘ งานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม ๘๓ – ๙๑ ประเด็นหลักท่ี ๙ งานคุมครองผูบริโภค ๙๓ – ๑๐๓ ประเด็นหลักท่ี ๑๐ งานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข ๑๐๕ – ๑๒๑ ประเด็นหลักท่ี ๑๑ งานประกันสุขภาพ ๑๒๓ – ๑๒๘ ประเด็นหลักท่ี ๑๒ งานบริหารท่ัวไป ๑๒๙ – ๑๓๗ ประเด็นหลักท่ี ๑๓ Service Plan ๑๓๙ – ๑๔๔

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 4: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ตัวชี้วัดเพ่ือการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

เพ่ือจัดลําดับหนวยงาน (Ranking)

ป ๒๕๕๗ จังหวัดยโสธร

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 5: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

1

ตัวช้ีวัดเพ่ือการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงาน เพ่ือจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ปงบประมาณ 255๗ จงัหวัดยโสธร

เครื่องมือท่ีใชในการประเมินผลประสิทธิผลการปฏิบัติงานของหนวยงานสาธารณสุข เพ่ือจัดลําดับ (Ranking) เครือขายบริการ เปนตัวชี้วัดท่ีใชในการประเมินผลการดําเนินงาน ท้ังสิ้นจํานวน 13 ประเด็นหลัก ๓๒ ตัวช้ีวัด จําแนก ดังนี้

ตัวชี้วัด (Ranking) ป 255๗ จังหวัดยโสธร

ประเด็นหลัก ลําดับ ตัวช้ีวัด น้ําหนัก

คะแนน

๑. งานควบคุม

โรคติดตอ

๑ ระดับความสําเร็จของหนวยงานดําเนินงานผานเกณฑ

มาตรฐานอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ๑๐

๒. งานพัฒนาคุณภาพ

ทรัพยากรบุคคล และ

สุขภาพภาคประชาชน

รอยละของอําเภอท่ีมี District Health System (DHS) ท่ี

เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและทองถ่ินอยางมี

คุณภาพใช SRM หรือเครื่องมืออ่ืนๆในการทําแผนพัฒนา

สุขภาพ

๑๐

๓. งานสงเสริมสุขภาพ

และสุขภาพจิต

๓ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพ

งานอนามัยแมและเด็ก ๔

๔ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไข

ปญหาวัยเรียนและวัยรุน ๔

๕ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหา

สุขภาพจิต ๔

๔. งานควบคุมโรคไม

ติดตอ

ระดับความสําเร็จในการควบคุมระดับน้ําตาลในผูปวย

โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผูปวยความดัน

โลหิตสูง ใหอยูในเกณฑท่ีควบคุมได ตามเกณฑท่ีกําหนด

๗ ระดับความสําเร็จการปองกัน ควบคุม และรักษามะเร็งตับ

และมะเร็งทอน้ําดี ๔

๕. งานยาเสพติด ๘ ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานโครงการปองกันและแกไข

ปญหายาเสพติดระดับอําเภอ ๕

๖. งานการแพทยฉุกเฉิน

และพัฒนาระบบ

สงตอ

๙ ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานการแพทยฉุกเฉิน และ

งานพัฒนาระบบสงตอ ๕

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 6: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

2

ประเด็นหลัก ลําดับ ตัวช้ีวัด น้ําหนัก

คะแนน

๗. งานทันตสาธารณสุข

และหนวยบริการ

๑๐ รอยละของ รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปากท่ีมี

คุณภาพ (≥ รอยละ 45) ๑.๕

๑๑ รอยละของนักเรียนชั้น ป.1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก

(≥ รอยละ 85) ๑

๑๒ รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับการทาฟลูออไรด

วารนิช (≥ รอยละ 50) ๑

๑๓ รอยละของเด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟนน้ํานมผุ

( ≤ รอยละ 57 หรือลดลงรอยละ 1 ตอป) ๑

๑๔ ระดับความสําเร็จของการจัดทําขอมูลทันตสาธารณสุข ๐.๕

๘. งานสุขาภิบาลอาหาร

และอนามัยสิ่งแวดลอม ๑๕ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานเมืองนาอยูระดับอําเภอ ๕

๙. งานคุมครองผูบริโภค

๑๖

การเกิดทีม Primary GMP ระดับอําเภอ ในอําเภอท่ีมีสถาน

ประกอบการอาหาร แปรรูปท่ี บรรจุในภาชนะพรอม

จําหนายของจังหวัด (100 %)

๑๗

ลดตนทุนของยา เวชภัณฑ และเวชภัณฑท่ีไมใชยา

1. ตนทุนคาเวชภัณฑฯของหนวยงาน (รอยละ 10 เม่ือ

เทียบกับปงบประมาณ 2555 )

2. มูลคาการจัดซ้ือรวมยาและเวชภัณฑฯ ของหนวยงาน

(≥ รอยละ 20 ของมูลคาการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑฯ

ท้ังหมด)

๑๘ ผูปวยนอกไดรับบริการการแพทยแผนไทยและการแพทย

ทางเลือกท่ีไดมาตรฐาน (≥ รอยละ 16) ๒

๑๐. งานพัฒนา

ยุทธศาสตรสาธารณสุข

๑๙ ระดับความสําเร็จของระบบฐานขอมูลของหนวยบริการ ๗

๒๐ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติ

ราชการ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 7: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

3

ประเด็นหลัก ลําดับ ตัวช้ีวัด น้ําหนัก

คะแนน

๑๑. งานประกันสุขภาพ

๒๑ หนวยบริการมีแผนการเงินการคลัง และดําเนินการตามแผนฯ ๒

๒๒ หนวยบริการมีประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุม ใหหนวยบริการไมมีปญหาการเงินในระดับ 7

๒๓ หนวยบริการในพ้ืนท่ีมีตนทุนตอหนวยไมเกินเกณฑเฉลี่ยกลุมระดับบริการ

๒๔ หนวยบริการมีการเฝาระวังสถานการณการเงินการคลังหนวยบริการ ตามโปรแกรมเฝาระวังสถานการณการเงินการคลังของจังหวัด

๒๕ ดัชนีผูปวยใน (CMI ) ของแตละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service Plan ผานเกณฑท่ีกําหนด

๑๒. งานบริหารท่ัวไป

๒๖ ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายใน ๓

๒๗ ระดับคุณภาพบัญชีเกณฑคงคางหนวยบริการและการจัดสงรายงาน ทางการเงิน

๑๓. Service Plan

๒๘ ระดับความสําเร็จของการลดอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ๐.๖

๒๙ ระดับความสําเร็จของการดูแลผูปวยมะเร็ง ๐.๖

๓๐ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานลดอัตราตายผูปวยบาดเจ็บ ตอสมอง

๐.๖

๓๑ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงาน การดูแลทารกแรกเกิด ๐.๖

๓๒ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานคลินิก DPAC ๐.๖

รวม

๑๐๐

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 8: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๑

งานควบคุมโรคติดตอ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 9: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๑ : งานควบคุมโรคติดตอ

ตัวช้ีวัดท่ี ๑ ระดับความสําเร็จของหนวยงานดําเนินงานผานเกณฑมาตรฐานอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง

แบบยั่งยืน น้ําหนักคะแนน ๑๐

คาเปาหมาย (Target) รอยละ ๑๐๐ หนวยวัด รอยละ คําอธิบาย มาตรฐานอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน หมายถึง การดําเนินงานอําเภอควบคุมโรค

เขมแข็ง ตามประเด็นดังนี้

๑) มีคณะกรรมการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (๑๐ คะแนน)

๒) มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ(๒๐ คะแนน)

๓) มีการวางแผน กํากับติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (๑๐ คะแนน)

๔) มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานท่ีเก่ียวของเปนรูปธรรม (๑๐

คะแนน)

๕) มีผลสําเร็จของการควบคุมปองกันโรคท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเปนปญหาในพ้ืนท่ี

อยางนอยประเด็นละ 5 เรื่องข้ึนไปดังนี้ (๕๐คะแนน)

(๑) งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (๑๐ คะแนน)

(๒) โรคมือเทาปาก (๑๐ คะแนน)

(๓) โรคไขเลือดออก (๑๐ คะแนน)

(๔) โรคเอดส (๑๐ คะแนน)

(๕) โรควัณโรค ๑๐ คะแนน)

สูตรคํานวณ คปสอ.ผานเกณฑมาตรฐานงาน เกณฑการใหคะแนน หนวยวัด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

รอยละ ๑-๑๐ ๑๑-๒๐ ๒๑-๓๐ ๓๑-๔๐ ๔๑-๕๐ ๕๐-๖๐ ๖๑-๗๐ ๗๑-๘๐ ๘๑-๙๐ ๙๑-๑๐๐

หมายเหตุ ใหคะแนนตามเกณฑและตัวชี้วัดแตละขอ (๕ ขอ) แลวนํามาเทียบเปนรอยละ

แหลงขอมูล/ วิธีการจัดเก็บขอมูล : ๑. รายงาน ๕๐๖ ๒. รายงานเหตุการณ ๓. ออกประเมินในพ้ืนท่ี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : นางสาวจรรยา ดวงแกว : นางพนมวรรณ คาดพันโน

: นายแมน แสงภักด์ิ : นายเกียรติศักดิ์ พงประเสริฐ

: นายรณรงค ผิวเรืองนนท : นายถนอม นามวงศ

: นางเพ็ญศิริ วิศิษฐผจญชัย : นางสุกัญญา คําพัฒน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 10: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

เกณฑการประเมิน

เกณฑการประเมิน : ตามคุณลักษณะ คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได

1.มีคณะกรรมการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 10 2. มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ 20 3. มีการวางแผน กํากับติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคและ

ภัยสุขภาพ 10

4. มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานท่ีเก่ียวของเปนรูปธรรม

10

5. มีผลสําเร็จของการควบคุมปองกันโรคท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข 2 เรื่อง และโรค/ภัยสุขภาพเปนปญหาในพ้ืนท่ี 3 เรื่อง

50

รวม 100

คุณลักษณะท่ี 1 มีคณะกรรมการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 10

ประเด็นการประเมิน คะแนน

1.1 มีคณะกรรมการระดับอําเภอเพ่ือดําเนินการปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ อยางนอยประกอบดวยผูบริหารจาก 3 ภาคสวน ดังนี้

(1) ราชการสวนภูมิภาค เชน อําเภอ / โรงพยาบาล / สาธารณสุขโรงเรียน หรือ หนวยงานอ่ืนๆ ในอําเภอ)โดยมีนายอําเภอเปนประธานและเขารวมประชุมฯอยางนอย 1 ครั้ง

(2) ราชการสวนทองถ่ินไดแกนายกเทศมนตรีเทศบาล/นายก อบต. ภายในอําเภอ) (3) องคกรเอกชน หรือ ภาคประชาชนเชน สมาคม,มูลนิธิ,ชมรม,ผูนําชุมชน/องคกรพัฒนาเอกชน

ตางๆ

2

1.2 มีการประชุมของคณะกรรมการฯ อยางนอย ไตรมาสละ 1 ครั้ง เพ่ือกําหนด แนวทาง วัตถุประสงค/เปาหมายการดําเนินงานและการติดตามผลในพ้ืนท่ี

2

1.3 มีการใชขอมูลจริงของพ้ืนท่ี ในการวิเคราะหสถานการณเพ่ือกําหนดปญหา เรียงลําดับความสําคัญปญหา และแนวทาง (กลยุทธ) ในการแกไขปญหา โดยมีการนําเสนอใหท่ีประชุมคณะกรรมการไดรับทราบและพิจารณาเห็นชอบแนวทางแกไข

2

1.4มีการมอบหมายผูรับผิดชอบใหดําเนินการควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ อยางนอยรอยละ 50 ของการประชุม

2

1.5 คณะกรรมการตองมีการติดตามหรือมีระบบการติดตามความกาวหนาในการดําเนินงานตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการ

2

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 11: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

คุณลักษณะท่ี 2 มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ 20

ประเด็นการประเมิน คะแนน

2.1 ทีม SRRT อําเภอและเครือขายมีความพรอมและปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 8

2.1.1 ทีม SRRT ระดับอําเภอ ผานการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT โดย สคร.

• ระดับพ้ืนฐาน

• ระดับดี

• ระดับดีเยี่ยม

4 5 6

2.1.2 ทีม SRRT ระดับอําเภอติดตามและสรุปผลการดําเนินงานของทีม SRRT ตําบล 2 ครั้ง/ตอป 2

2.2 ทีม SRRT ระดับตําบลมีการดําเนินงานดังนี้ 5

2.2.1 รับแจงขาวจากอสม.หรือเครือขายในเขตรับผิดชอบอยางนอย 1 ครั้ง/เดือน 1

2.2.2 แจงขาวใหเครือขายภายใน 24 ชม. หลังตรวจสอบขาว 1

2.2.3 แจงขาวในโปรแกรมออนไลนถูกตอง (1 ปยอนหลัง) 0.5

2.2.4 สรุปเหตุการณผิดปกติและแจงใหเครือขายในพ้ืนท่ีทราบอยางนอย เดือนละ ๑ ครั้ง 1

2.2.5 ควบคุมการเกิดโรค/เหตุการณเบื้องตน 1

2.2.6 มีการประชุมทีม SRRT เครือขายระดับตําบลอยางนอยปละ 2 ครั้ง 0.5

2.3 มีระบบขอมูลและการเฝาระวังโรคและภัยสุขภาพ 7

2.3.1 ระบบขอมูลและการเฝาระวังโรคติดตอมีคุณลักษณะดังนี้ 3

2.3.1.1 มีความครอบคลุมของสถานบริการท่ีสงรายงาน * 0.5

2.3.1.2 ขอมูลมีความทันเวลาเปนปจจุบัน * 0.5

2.3.1.3 ดําเนินการตรวจจับการระบาดจากขอมูลในระบบเฝาระวังโรคอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง(ยอนหลัง ๑๒ เดือน)

1

2.3.1.4 มีการจัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณทุกเดือน * 1

2.3.2.ระบบขอมูลและการเฝาระวังโรคไมติดตอ 2.5

2.3.2.1 มีฐานขอมูลผูปวยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง

0.5

2.3.2.2มีขอมูลอยางนอย 5 ปยอนหลัง * 1

2.3.2.3จัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณ ทุก 6 เดือน * 1

2.3.3 ระบบขอมูลและการเฝาระวังโรค/ปจจัยเส่ียงอ่ืนๆมีคุณลักษณะดังนี้ 1.5

2.3.3.1 มีขอมูลเฝาระวังหรือการสํารวจดานปจจัยเสี่ยง หรือพฤติกรรมเสี่ยง (การสูบบุหรี่, การดื่มสุรา, Behavior, Risk factor)สําหรับโรคและภัยสุขภาพตามคุณลักษณะท่ี 5

0.5

2.3.3.2 มีการจัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณเฝาระวัง/การสํารวจอยางนอย 1 ฉบับ 1

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 12: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

หมายเหตุ ขอ 2.2.1-2.2.6การประเมินตนเองตองประเมินทุก รพ.สต. คะแนนท่ีไดในแตละขอเกิดจากการนําคะแนนของแตละ รพ.สต. ในขอนั้นๆ มารวมกัน แลวหาคาเฉลี่ย

* = คิดตามสัดสวน

คุณลักษณะท่ี 3 มีการวางแผน กํากับติดตามและประเมินผลการควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ

คะแนนเต็ม

10

ประเด็นการประเมิน คะแนน

3.1 มีเปาหมายและแผนปฏิบัติการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพท่ีเปนนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ีโดยการมีสวนรวมจากภาคสวนตางๆในการจัดทําแผนฯ อยางนอย 5 ปญหาและสามารถวัดความสําเร็จไดตามคุณลักษณะท่ี 5

2

3.2 มีผังปฏิบัติการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพและมีผูรับผิดชอบตามแผนฯท่ีกําหนดในขอ3.1 1

3.3 มีแผนกํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานปองกันควบคุมโรค ท่ี สอดคลองกับแผนงานท่ีกําหนดในขอ 3.1 และมีการกําหนดผูรับผิดชอบทําหนาท่ีติดตามประเมินผล

1

3.4 มีการปฏิบัติการรวมกับทองถ่ินและภาคประชาชนในการปองกันควบคุมโรค/ปญหาสุขภาพตามแผนฯ ท่ีกําหนดในขอ 3.1

2

3.5 มีรายงานการติดตามความกาวหนา และประเมินผลความสําเร็จ ปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะจากการดําเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ท่ีกําหนดในขอ 3.1 เสนอตอคณะกรรมการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอยางนอย 1 ครั้งตอป

2

3.6 มีการประเมินความเสี่ยงโรคหรือภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี และจัดทําแผนปฏิบัติการรองรับการควบคุมโรค/ ภัยฉุกเฉินทางดานสาธารณสุขระดับอําเภออยางนอย 1 แผน

1

3.7 มีการซอมแผนรองรับการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉินดานสาธารณสุข ตามท่ีไดมีการประเมินความเสี่ยงโรคหรือภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ีตามขอ 3.6 ระดับอําเภออยางนอยปละ 1 ครั้ง

1

คุณลักษณะท่ี 4 มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจาก หนวยงานท่ีเกี่ยวของเปนรูปธรรม

คะแนนเต็ม

10

ประเด็นการประเมิน คะแนน

4.1 องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เชน อบจ.,เทศบาล , อบต. มีการจัดสรรทรัพยากรเพ่ือการควบคุมโรคอยางเปนรูปธรรม

2

4.2 กองทุนสุขภาพชุมชนจัดสรรทรัพยากรเพ่ือการควบคุมโรคอยางเปนรูปธรรม 4

4.3 โรงพยาบาลคูสัญญาหลัก (CUP) ท่ีดูแลหลักประกันสุขภาพของประชาชนสวนใหญในอําเภอ จัดสรรทรัพยากรเพ่ือการควบคุมโรคอยางเปนรูปธรรม

2

4.4 หนวยอ่ืนๆ เชน องคกรเอกชน วัด ประชาชน จัดสรรทรัพยากรเพ่ือการควบคุมโรคโดยคณะกรรมการฯอําเภอมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรเปนรูปธรรมสามารถตรวจสอบได

2

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 13: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

คุณลักษณะท่ี 5มีผลสําเร็จของการควบคุมโรคท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวง สาธารณสุข 2 เรื่องและโรค/ภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี 3เรื่อง

คะแนนเต็ม

50

5.1 โรคและภัยสุขภาพท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข

1) โรคท่ีปองกันไดดวยวัคซีน(งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค)

ตัวชี้วัดท่ี 1: ผลการประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของหนวยบริการในระดับอําเภอผานเกณฑท่ีกําหนด

7

ตัวชี้วัดท่ี 2 :- ไมมีผูปวยโปลิโอ - ไมมีผูปวยคอตีบหรือมีผูปวยลดลงตามเกณฑ - อัตราปวยดวยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ไมเกิน 1 : 1000 เด็กเกิดมีชีพ

3

2) โรคมือ เทา ปาก ตัวชี้วัดท่ี 1: อัตราปวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ระดับอําเภอ ลดลง (เม่ือเทียบกับปท่ีผานมา)

10

5.2 โรคและภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี

โรคท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี ช่ือตัวช้ีวัด คะแนน

1) โรคเอดส ตัวชี้วัดท่ี 1:องคกรปกครองสวนทองถ่ินสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการดําเนินงานปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธเพ่ิมข้ึนจากปท่ีผานมารอยละ 5

5

ตัวชี้วัดท่ี 2:อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ไมเกินคาเฉลี่ยของอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธยอนหลัง 5 ป

5

2) โรคไขเลือดออก

ตัวชี้วัดท่ี 1: อัตราการติดเชื้อซํ้าของโรคไขเลือดออก (Generation 2) ในพ้ืนท่ีไมเกินรอยละ 50 ของหมูบาน

5

ตัวชี้วัดท่ี 2: อัตราปวยลดลงเม่ือเทียบกับคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป(51-55) มากกวารอยละ4

5

3) วัณโรค ตัวชี้วัด: รอยละของคลินิกวัณโรคผานมาตรฐานคุณภาพ(Quality TB Clinic) 10

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 14: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐

1. โรคติดตอท่ีปองกันไดดวยวัคซีน

1. ช่ือตัวช้ีวัด 1 ผลการประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของหนวยบริการในระดับอําเภอผานเกณฑท่ีกําหนด

2. เกณฑ ทุกหนวยบริการท่ีประเมินผานเกณฑท่ีกําหนดมากกวาหรือเทากับรอยละ 80 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล การประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ในระดับหนวยบริการผาน

เกณฑท่ีกรมควบคุมโรคกําหนด 3.2 นิยาม 1.หนวยบริการ คือ หนวยงานของรัฐท่ีใหบริการวัคซีนตามแผนงาน สรางเสริม

ภูมิคุมกันโรค ท้ังท่ีสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและนอกกระทรวงสาธารณสุข เชน โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต.และศูนยบริการสาธารณสุขเทศบาลเปนตน 2.มาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของหนวยบริการ คือมาตรฐานฯ ท่ีสํานักโรคติดตอท่ัวไป กรมควบคุมโรค จัดทําข้ึน ประกอบดวย การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น การใหบริการวัคซีน และ การบริหารจัดการขอมูล 3. การประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคคือ การตรวจสอบการปฏิบัติงาน โดยใชแบบประเมินการปฏิบัติงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดับหนวยบริการ (โรงพยาบาล/โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล/ศูนยสุขภาพชุมชน (PCU)/สถานีอนามัย) ของสํานักโรคติดตอท่ัวไป กรมควบคุมโรค

3.3 มาตรการ - สถานบริการท่ีอยูในเครือขายหลักประกันสุขภาพทุกแหง ใหบริการวัคซีนข้ันพ้ืนฐาน แกประชากรกลุมเปาหมายทุกคนท่ีมาขอรับบริการ ท้ังท่ีอยูในและนอกพ้ืนท่ีรับผิดชอบบริการ ตามมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (ประกอบดวย มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น มาตรฐานคุณภาพการใหบริการวัคซีนและมาตรฐานการบันทึกขอมูลในแฟมขอมูลงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค) - สถานบริการรายงานผลการใหบริการท่ีสถานบริการแตละแหงสงไปยังสํานักนโยบายและยุทธศาสตร ตามระบบการสงขอมูลเขาสูสวนกลาง (43 แฟมมาตรฐาน) ทุกเดือน - สถานบริการรายงานความครอบคลุมของการไดรับวัคซีนในพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบทุกเดือน - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด/อําเภอติดตาม ควบคุมกํากับขอมูลความครอบคลุมของการไดรับวัคซีนในพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบรายไตรมาส - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอและคลังวัคซีนระดับอําเภอ ตรวจสอบควบคุมกํากับการเบิก-จายวัคซีนท่ีใชในงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของสถานบริการในเครือขายหลักประกันสุขภาพ เพ่ือใหการเบิก-จายวัคซีนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด/อําเภอ/โรงพยาบาลแมขาย สุมประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในหนวยบริการของโรงพยาบาลศูนย/ท่ัวไป/ชุมชน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 15: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑

และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลในอําเภอนั้น - สํานักงานปองกันควบคุมโรค สุมประเมินผลการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในหนวยบริการของโรงพยาบาลศูนย/ท่ัวไป/ชุมชน 1 แหง และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลอยางนอย 2 ตําบล รวมเปน 3 แหงในอําเภอนั้น

3.4 วิธีรายงาน สํานักงานปองกันควบคุมโรค ประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของหนวยบริการในระดับอําเภอ โดยสุมหนวยบริการดังนี้

- กรณีท่ีอําเภอเขมแข็งเปนอําเภอท่ีมีโรงพยาบาลศูนย หรือโรงพยาบาลท่ัวไป ใหเลือกโรงพยาบาลศูนยหรือโรงพยาบาลท่ัวไป จํานวน 1 แหง และ สุมเลือกโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลในอําเภอนั้นอีก 2 ตําบล รวมเปน 3 แหง - กรณีท่ีอําเภอเขมแข็งไมมีโรงพยาบาลศูนยหรือโรงพยาบาลท่ัวไป ใหเลือกโรงพยาบาลชุมชน จํานวน 1 แหง และสุมเลือกโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลในอําเภอนั้นอีก 2 ตําบล รวมเปน 3 แหง

3.5 แหลงขอมูล หนวยบริการท่ีไดรับการสุมประเมิน 4. กลุมเปาหมาย 4.1 รายการขอมูล หนวยบริการของรัฐท่ีใหบริการวัคซีนตามแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 4.2 นิยาม หนวยบริการ คือ หนวยงานของรัฐท่ีใหบริการวัคซีนตามแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกัน

โรค ท้ังท่ีสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและนอกกระทรวงสาธารณสุข เชนโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต.และศูนยบริการสาธารณสุขเทศบาเปนตน

4.3 วธิีรายงาน เหมือนขอ 3.3 4.4 แหลงขอมูล เหมือนขอ 3.4 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)

คะแนนท่ีไดจากการประเมินมาตรฐานการดําเนนิงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของแตละหนวยบริการ (คิดเปนรอยละเม่ือเทียบกับคะแนนรวมท้ังหมด)

6. เกณฑการใหคะแนน • มีหนวยบริการท่ีประเมินผานเกณฑท่ีกําหนด < รอยละ 80 ได 0 คะแนน • ทุกหนวยบริการท่ีประเมินผานเกณฑท่ีกําหนด ≥รอยละ 80 ได 7 คะแนน การผานเกณฑประเมิน ตองไดคะแนนไมต่ํากวารอยละ 80 ของคะแนนรวมโดย

- หนวยบริการโรงพยาบาลท่ัวไปหรือโรงพยาบาลชุมชน คะแนนรวม 104 คะแนน (ตองไดคะแนนไมนอยกวา 84 คะแนน)

- หนวยบริการ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล คะแนนรวม 102 คะแนน (ตองไดคะแนนไมนอยกวา 82 คะแนน)

7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด

ชื่อ นายรณรงค ผิวเรืองนนท

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 16: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๒

เอกสารแนบ

แบบประเมินการปฏิบัติงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดับหนวยบริการ (โรงพยาบาล / โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล/ ศูนยสุขภาพชุมชน (PCU))

------------------------------------------------- สถานบริการ.....................................อําเภอ.........................................จงัหวัด........................................ โรงพยาบาลแมขาย ..................................................................................................................................................... ผูรับการประเมิน 1. ช่ือ...........................................ตําแหนง..........................................โทรศัพท............................................ 2. ช่ือ...........................................ตําแหนง..........................................โทรศัพท............................................ ผูประเมิน........................................ตําแหนง........................................หนวยงาน........................................... วันท่ีประเมิน............................................................. คําช้ีแจง

1. สอบถามผูรับผิดชอบการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น ผูใหบริการ และผูจัดทําทะเบียนรายงาน

2. บันทึกผลการตรวจสอบในชอง คะแนนท่ีได 3. การคํานวณคะแนนถวงน้ําหนัก = คะแนนท่ีได x น้ําหนักคะแนน 4. เนื้อหาประกอบดวย 3 ตอน

ตอนท่ี 1 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น ตอนท่ี 2การใหบริการวัคซีน ตอนท่ี 3การบริหารจัดการขอมูล

แบบประเมินระดับสถานบริการ (ฉบับปรับปรุง วันท่ี 23 มีนาคม 2555)

รุปคะแนน เนื้อหา หนวยบริการ รพ. รพ.สต./PCU/ สอ.

ตอนท่ี 1 /40 คะแนน /40คะแนน ตอนท่ี 2 /50คะแนน /50คะแนน ตอนท่ี 3 /14คะแนน /12คะแนน รวมท้ังหมด /104คะแนน /102 คะแนน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 17: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓

ตอนท่ี 1 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนักคะแนน

คะแนน ถวง

น้ําหนัก เกณฑใหคะแนน

1. กําหนดผูรับผิดชอบงานบริหารจัดการวัคซีนเปนลายลักษณอักษร(ดูแบบมอบหมายงาน คําสั่ง หรือหลักฐานอ่ืนประกอบ)

1 - มีผูรับผิดชอบเปนลายลักษณอักษร = 1

- ไมมีผูรับผิดชอบ หรือ มีผูรับผิดชอบ แตไมเปนลายลักษณอักษร =0

2. ผูรับผิดชอบงานบริหารจัดการวัคซีนผานการอบรมเรื่อง การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น (ดูเอกสารประกอบการอบรม หรือหลักฐานอ่ืนๆ เชน หนังสือเชิญประชุม ประกาศนียบัตร เปนตน )

1 - ผูรับผิดชอบผานการอบรม = 1

- ผูรับผิดชอบไมผานการอบรม = 0

3. มีคูมือ/ตํารา ดังนี้ คูมือการบริหารจัดการวัคซีนและระบบ

ลูกโซความเย็น คูมือการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

(หนังสือหรืออิเล็กทรอนิกสไฟลท่ีสามารถเปดไดภายใน 30 นาที)

1 - มีท้ัง 2 เลม = 1 - มีไมครบถวน / ไมมี = 0

4. การจัดทําใบเบิกวัคซีน 4.1 ใชใบเบิก ว.3/1 ท่ีกรมควบคุมโรคกําหนดหรือ

แบบฟอรมท่ีคลายคลึงกัน 1 - ใช = 1

- ไมใช = 0 4.2 กรอกขอมูลในใบเบิก ว. 3/1 ครบถวนทุก

ชอง(ตรวจสอบยอนหลัง 3 เดือน) 1 - กรอกครบทุกชองท้ัง

3 เดือน = 1 - กรอกไมครบทุกชอง หรือตรวจสอบไดไมครบ 3 เดือน = 0

4.3 ความสอดคลองของปริมาณการเบิกและการใชวัคซีน โดยพิจารณาจากจํานวนเปาหมายการเบิกวัคซีนใกลเคียงกับจํานวน

1 - สอดคลองกัน = 1 - ไมสอดคลองกัน =0

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 18: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๔

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนักคะแนน

คะแนน ถวง

น้ําหนัก เกณฑใหคะแนน

ผูรับบริการ (ดูใบเบิกยอนหลัง 3 เดือน และใหคะแนนใบเบิกเดือนลาสุด)

4.4 คํานวณจํานวนท่ีขอเบิก และอัตราสูญเสียไดถูกตอง (ดูใบเบิกในเดือนลาสุด)

1 - คํานวณถูกตอง = 1 - คํานวณไม ถูกตอง =0

5. การจัดทําทะเบียนรับ-จายหรือ Stock card(ดูยอนหลัง 3 เดือน ตรวจสอบวัคซีนทุกชนิด ) 5.1 แยกเปนรายวัคซีน 1 - แยก = 1

- ไมแยก = 0 5.2 บันทึก เลขท่ีวัคซีน ทุกครั้งท่ี รับ วัคซีน 1 - บันทึกทุกครั้ง =1

- บันทึกบางครั้ง =0 5.3 บันทึก วันหมดอายุ ทุกครั้งท่ี รับ วัคซีน 1 - บันทึกทุกครั้ง =1

- บันทึกบางครั้ง =0 5.4 บันทึก เลขท่ีวัคซีน ทุกครั้งท่ี จาย วัคซีน 1 - บันทึกทุกครั้ง =1

- บันทึกบางครั้ง =0 5.5 บันทึก วันหมดอายุ ทุกครั้งท่ี จาย วัคซีน 1 - บันทึกทุกครั้ง =1

- บันทึกบางครั้ง =0 5.6 จายวัคซีนแบบ First Expire First Out

(FEFO) 2 - ใช = 1

- ไมใช = 0 5.7 วัคซีนท่ีมีอยูในตูเย็นมี ยอดคงเหลือเปน

ปจจุบัน(จํานวนวัคซีนในตูเย็นตรงกันกับทะเบียนรับ-จาย)

1 - เปนปจจุบันทุกชนิด = 1

- ไมเปนปจจุบันบางชนิด/ทุกชนิด = 0

5.8 ปริมาณวัคซีนในตูเย็นมี ไมเกิน 1 เดือนหลังวันใหบริการ (ดูอัตราการใชเฉลี่ยยอนหลัง 3 เดือนจากทะเบียนรับ-จายหรือ Stock card)

2 - ปริมาณวัคซีนไมเกิน 1 เดือน ทุกชนิด = 1

- ปริมาณวัคซีนเกิน 1 เดือน = 0

5.9ไมมีวัคซีนหรือตัวทําละลายท่ีหมดอายุในตูเย็น 1 - ใช = 1 - ไมใช =0

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 19: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๕

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนักคะแนน

คะแนน ถวง

น้ําหนัก เกณฑใหคะแนน

6. ตูเย็นมีคุณสมบัติ ดังนี้ ตูเย็นท่ีมีฝาประตูทึบแสงขนาดความจุ

เหมาะสมไดมาตรฐาน (ไมต่ํากวา 5 คิว)หรือ ในพ้ืนท่ีพิเศษมีตูเย็นใชพลังงาน 3 ระบบ (ไฟฟา, แกส, น้ํามันกาด)

อุณหภูมิในตูเย็นอยูในระหวาง +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส

2 - ใช = 1 - ไมใช = 0

7. กระติกวัคซีนมีคุณสมบัติครบถวน ดังนี้ มีความหนาของฉนวนไมต่ํากวา 30 มม. ปริมาตรความจุท่ีเก็บวัคซีน (Vaccine

Storage Capacity) ไมต่ํากวา 1.7 ลิตร ไมมีรอยแตกท้ังดานในและดานนอก

สะอาด ฝากระติกปดล็อกไดสนิท สามารถบรรจุซองน้ําแข็ง ไดพอดีครบ 4 ดาน

1 - ไดมาตรฐาน = 1 - ไมไดมาตรฐาน = 0

8. Ice pack อยางนอย 4 อัน มีคุณสมบัติ ดังนี้ ขนาดพอดีกับกระติก บรรจุน้ําอยูในชองแชแข็ง สภาพพรอมใชงาน

1 - ไดมาตรฐาน = 1 - ไมไดมาตรฐาน = 0

9. การจัดเก็บวัคซีนในตูเย็นตามมาตรฐาน 9.1 เก็บวัคซีนแยกเปนสัดสวนแตละชนิด 1 - ใช= 1- ไมใช = 0 9.2 มีปายแสดงชื่อของวัคซีนแตละชนิด 1 - ใช = 1

- ไมใช = 0 9.3เก็บวัคซีนมีชองวางใหความเย็นไหลเวียนได

ท่ัวถึง 1 - ใช = 1

- ไมใช = 0 9.4เก็บวัคซีนชนิดผงแหง (BCG, MMR, M) ไวใน

กลองทึบแสง เชน กลองวัคซีน/กลองกระดาษ หรือซองยาสีชาท่ีปองกันแสง

1 - ใช = 1 - ไมใช = 0

9.5 การจัดเรียงวัคซีนในแตละชั้น ชองแชแข็งระบุ.......................................... 1 - เก็บ OPV= 1

- ไมเก็บ OPV= 0 ชอง +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส(ไมรวมชองแชผัก) ถาดใตชองแชแข็ง ระบุ............................... 1 - ไมเก็บวัคซีนในชั้นนี้

= 1

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 20: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๖

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนักคะแนน

คะแนน ถวง

น้ําหนัก เกณฑใหคะแนน

- เก็บวัคซีนในชั้นนี้ = 0

ชั้นท่ี 1 ระบุ................................................. ....................................................................

1 - เก็บวัคซีนผงแหง (MMR, M, BCG) = 1 - เก็บวัคซีน DTP-HB, DTP, JE ชนิดน้ํา, dT ,TT และ OPV= 0

ชั้นท่ี 2 ระบุ............................................ ..............................................................

1

- เ ก็บวัคซีนทุกชนิดยกเวน OPV = 1 - เก็บ OPV =0

ชั้นท่ี 3 ระบุ............................................ ..............................................................

ชั้นท่ี 4 ระบุ............................................ ..............................................................

10.

การดูแลรักษาตูเย็นเก็บวัคซีน

10.1 ในชองแชแข็งไมมีน้ําแข็งเกาะหนาเกิน 5มม. 1 -ไมมี = 1 - มี = 0

10.2 ใสขวดน้ําท่ีมีฝาปด (ปริมาณน้ําไมต่ํากวา 3 ใน 4 ของขวด) หรือCool Pack ไวใหเต็มในชองแชผัก หรือ ฝาประตูตูเย็น เพ่ือเก็บรักษาอุณหภูมิตูเย็น

1 - ถูกตอง = 1 - ไมถูกตอง = 0

10.3 ตั้งตูเย็นใหมีระยะหางจากฝาผนัง ท้ัง 3 ดานไมต่ํากวา 6 นิ้ว

1 - ถูกตอง = 1 - ไมถูกตอง = 0

10.4 ปลั๊กตูเย็นมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ มี Breaker เฉพาะของตูเย็นหรือ ตูเย็นใชเตาเสียบชนิดเดี่ยว (ไมใชปลั๊ก

ตอพวง) พันเทปกาวปดทับใหแนนหรือ ตูเย็นใชหลายเตาเสียบ (ไมใชปลั๊กตอ

พวง) ใหใชเทปกาวปดชองท่ีเหลือ

1 - ใช =1 - ไมใช = 0

10.5 เทอรโมมิเตอร อยางนอย 1 อัน อยูในชอง +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส

1 - ใช =1 - ไมใช = 0

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 21: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๗

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนักคะแนน

คะแนน ถวง

น้ําหนัก เกณฑใหคะแนน

10.6 เทอรโมมิเตอรไดรับการสอบเทียบ/เทียบเคียง อยางนอยปละ 1 ครั้ง

1 - ใช =1 - ไมใช = 0

10.7 การบันทึกอุณหภูมิ เชา-เย็น ทุกวัน ไมเวนวันหยุดราชการ (ดูยอนหลังอยางนอย 3 เดือน)

2 - ใช =1 - ไมใช = 0

11.

การจัดทําแผนเตรียมความพรอมกรณีฉุกเฉินในระบบลูกโซความเย็น

1 - มี = 1 - ไมมี = 0

12.

การจัดทําผังควบคุมกํากับการปฏิบัติงานกรณีฉุกเฉินในระบบลูกโซความเย็น ติดไวในท่ีมองเห็นชัด

1 - มี = 1 - ไมมี = 0

ตอนท่ี 1 _______________________________/ 40คะแนน

ขอสังเกตของผูประเมิน (เชน ระบุการปฏิบัติท่ีไมถูกตอง ขอคําถาม ขอจํากัดหรือปญหาในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีปญหาของผูประเมินเปนตน)........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ตอนท่ี 2 การใหบริการวัคซีน

ก. ขอความรูในการใหวัคซีน

1. ทานมีวิธีการใหบริการวัคซีนเหลานี้อยางไร (ใน รพ. สอบถามหนวยท่ีใหบริการวัคซีน )

ชนิดวัคซีน อายุท่ีรับวัคซีน

(1 คะแนน)

หลังเปดขวด/ ผสมแลวใหใชภายในเวลากี่

ช่ัวโมง (ตามมาตรฐาน)

(1คะแนน)

วิธีการใหวัคซีน

(1 คะแนน)

ขนาด วัคซีนตอโดส (1 คะแนน)

คะแนน

เด็กกอนวัยเรียน BCG

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 22: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๘

HB DTP-HB OPV MMR (Jeryl-Lynn)

DTP JE สายพันธุ Nakayama

เด็ก เล็ ก (อายุ.....) ........... เ ด็ ก โต (อายุ......) ...........

JE สายพันธุ Beijing

เด็ก เล็ ก (อายุ......) .......... เ ด็ ก โต (อายุ......) ...........

เด็กวัยเรียน MMR (Urabe) dT 2. ในกรณีท่ีหญิงมีครรภมาฝากครรภท่ีสถานบริการของทาน หญิงรายนี้มีประวัติไดรับวัคซีนปองกันบาดทะยักในอดีตมาแลว 1 ครั้ง ครั้งสุดทายเม่ือ 3 ปท่ีแลว ทานจะใหวัคซีน dT หรือไมอยางไร (ถูกตอง = 1, ไมถูกตอง = 0) .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. ในกรณีท่ีหญิงมีครรภอายุ 25 ป ทองแรกมาฝากครรภ มีหลักฐานการไดรับวัคซีน DTP ครบ 5 ครั้ง และไดรับวัคซีน dT เม่ือเรียนอยูชั้น ป.6 ทานจะใหวัคซีน dTหรือไม อยางไร (ถูกตอง = 1, ไมถูกตอง = 0) .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 4. ในการใหบริการอนามัยโรงเรียนในเด็กชั้น ป.1 ด.ญ. โอ เคยไดรับวัคซีน DTP มาแลว 1 ครั้ง ทานจะใหวัคซีน dTหรือไมอยางไร (ถูกตอง = 1, ไมถูกตอง = 0) ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 23: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๙

ข. กระบวนการใหบริการ

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนักคะแนน

คะแนน ถวงน้ําหนัก

เกณฑการใหคะแนน

5.

การตรวจสอบผูรับวัคซีนในกลุมเด็กกอนวัยเรียน แตละรายวาไดรับวัคซีนรวมขวด/รวม Lot no. ตรวจสอบไดท้ังรวม Lot no. และรวม

ขวด ทุกวัคซีน ตรวจสอบไดเฉพาะรวม Lotno.ทุก

วัคซีน กรณีอ่ืนๆ (ใหเลือกขอใดขอหนึ่ง)

2

- ตรวจสอบไดท้ังรวม Lot no. และรวมขวด ทุกวัคซีน = 1

- ตรวจสอบไดเฉพาะรวม Lotno.

ทุกวัคซีน = 0.5 - กรณีอ่ืนๆ = 0

6.

ผูฉีดวัคซีนไดรับการอบรมวิธีการกูชีพเบื้องตนไมเกิน 3 ป(ดูหลักฐานประกอบ)

2

- ใช = 1 - ไมใช = 0

7.

มีอุปกรณการกูชีพเบื้องตนกรณีฉุกเฉินครบถวน 1. Ambu bag สําหรับเด็ก และผูใหญ 2. Oxygen face mask สําหรับเด็ก

และผูใหญ 3. Set IV fluid 4. Normal saline หรือ Ringer’s

lactate 5. Adrenaline (กอนฉีดทุกครั้งตอง

ไดรับความเห็นชอบจากแพทยกอน) 6. Endotracheal tube (ทอชวย

หายใจ)สําหรับเด็ก และผูใหญอยางนอยควรมีเบอร 3.5 และเบอร 4 ไวสําหรับเด็ก

7. Laryngoscope สําหรับเด็กและผูใหญ

1

- มีครบทุกรายการ = 1

- มีครบตั้งแต รายการท่ี 1- 5 = 0.5

- ไมครบถวน หรือ ไมมี = 0

8.

มีแผน/ผังชวยเหลือเบื้องตนแกผูรับวัคซีนกรณีเกิด anaphylaxis หรือมีอาการภายหลังไดรับวัคซีนท่ีรุนแรง

1

- มี = 1 - ไมมี = 0

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 24: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๐

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนักคะแนน

คะแนน ถวงน้ําหนัก

เกณฑการใหคะแนน

9.

มีแผน/ผังกํากับการสงผูปวยไปรับการรักษาตอ และสามารถสงตอผูปวยไดภายใน 15 นาทีหลังเริ่มมีอาการ

1

- มี = 1 - ไมมี = 0

คะแนนตอนท่ี 2 ( ก.+ ข.) ______________________________ คะแนน (50 คะแนน)

ตอนท่ี 3 การบริหารจัดการขอมูล

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนัก

คะแนน

คะแนน ถวงน้ําหนัก

เกณฑการใหคะแนน

1. การบันทึกขอมูลการใหบริการวัคซีนเปนรายบุคคลผานฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส ตามมาตรฐานของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร ดังตอไปนี ้

BCG ในเด็กแรกเกิด* 1 - บันทึก = 1 - ไมบันทึก = 0 *ตรวจสอบเฉพาะสถาน

บริ ก า ร ท่ี ทํ า คลอ ด แล ะ ไม คิ ด คะแน นสําหรับสถานบริการท่ีไมมีการคลอด

** ตรวจสอบเฉพาะสถานบริการท่ีใหdTในหญิงมีครรภ

HB ในเด็กแรกเกิด* 1 DTP-HB, OPV, MMR, DTP และJEใน

เด็กกอนวัยเรียน

1

MMR, dT, OPV, BCG ในเด็ก ป. 1 1 dTในเด็ก ป. 6 1 dTในหญิงมีครรภ**

1

2. การบันทึกชนิดของวัคซีนท่ีใหตามรหัสวัคซีน (ตัวเลข 3 หลัก) ท่ีสํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุขกําหนด

2 - ถูกตอง = 1- ไมถูกตอง = 0 (ระบุชื่อวัคซีนท่ีไมถูกตอง....................)

3. การตรวจสอบความครบถวนถูกตองในการบันทึกขอมูล (key in) การใหบริการวัคซีน

1 - ตรวจสอบ = 1 - ไมตรวจสอบ = 0

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 25: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๑

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนัก

คะแนน

คะแนน ถวงน้ําหนัก

เกณฑการใหคะแนน

(ในโรงพยาบาลสอบถามท่ีคลินิกวัคซีนเด็กกอนวัยเรียน)

4. การ print out ทะเบียนการใหวัคซีนในกลุมเด็กกอนวัยเรียน

1 - มี print out รายงานและเก็บไวเปนหลักฐาน = 1

- สามารถ print out รายงานไดแตไมไดเก็บไวเปนหลักฐาน =0.5

- ไมสามารถ print out รายงานได= 0

5. การบันทึกขอมูลผูรับวัคซีนเปนรายบุคคลผานฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามมาตรฐานของสํานักนโยบายและยุทธศาสตรครบถวนถูกตองตรงกับความเปนจริง (สุมกลุมเปาหมายเด็กอายุต่ํากวา 5 ปท้ังในและนอกพ้ืนท่ีรับผิดชอบ จากแหลงขอมูลท่ีนํามา key in จํานวน 5 ราย แลวตรวจสอบ การไดรับวัคซีนครั้งลาสุดของเด็กแตละราย วาไดบันทึกขอมูลในคอมพิวเตอรอยางครบถวนถูกตองหรือไม)

2 - ครบถวนถูกตองทุกราย= 1 - ไมครบถวน/ไมถูกตอง= 0

6. การจัดทําทะเบียนติดตามการไดรับวัคซีนของกลุมเปาหมายครบถวนถูกตองและเปนปจจุบนั (ใหเจาหนาท่ีเลือกทะเบียนติดตามท่ีจัดทําสมบูรณท่ีสุด แลวสุมเด็กท่ีอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ จากทะเบียนดังกลาวจําแนกเปน เด็กอายุครบ 1-2 ป2-3 ป 3-4 ป และ 5-6 ป กลุมละ 3 คน รวม 12 คน แลวตรวจสอบเด็กแตละคนวา ไดรับวัคซีนครบถวนตามเกณฑกําหนด

2 - มีบันทึกครบถวนตามเกณฑ จํานวน 9-12 ราย = 1 - มีบันทึกครบถวนตามเกณฑ จํานวน 5 - 8 ราย = 0.5 - มีบันทึกครบถวนตามเกณฑ นอยกวา 5 ราย = 0

(กลุมอายุครบ 1-2 ป นับจาก

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 26: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๒

รายการประเมิน คะแนนท่ีได

น้ําหนัก

คะแนน

คะแนน ถวงน้ําหนัก

เกณฑการใหคะแนน

หรือไม) วัน/เดือน/ป ท่ีประเมิน ตรวจสอบเด็กท่ีเกิด วันท่ี......เดือน.............พ.ศ............ถึงวันท่ี....เดือน..........พ.ศ........... กลุมอายุครบ 2-3 ป นับจากวัน/เดือน/ปท่ีประเมิน ตรวจสอบเด็กท่ีเกิด วันท่ี....เดือน............พ.ศ..........ถึงวันท่ี....เดือน............พ.ศ.............. กลุมอายุครบ 3-4 ป นับจากวัน/เดือน/ปท่ีประเมิน ตรวจสอบเด็กท่ีเกิด วันท่ี.....เดือน...........พ.ศ..............ถึงวันท่ี.......เดือน.........พ.ศ.......... กลุมอายุครบ 5-6 ป นับจากวัน/เดือน/ปท่ีประเมิน ตรวจสอบเด็กท่ีเกิด วันท่ี.......เดือน..........พ.ศ...........ถึงวันท่ี....เดือน.........พ.ศ..........)

คะแนนตอนท่ี 3 หนวยบริการ รพ. ________คะแนน (14 คะแนน) รพ.สต./PCU/ สอ. ________คะแนน (12 คะแนน)

ขอสังเกตของผูประเมิน (เชน ระบุการปฏิบัติท่ีไมถูกตอง ขอคําถาม ขอจํากัดหรือปญหาในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี ปญหาของผูประเมินเปนตน) .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 27: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๓

แบบ Check list ระดับสถานบริการ (ใชประกอบการประเมิน)

ตารางท่ี 1 วัคซีนท่ีมียอดคงเหลือในสมุด

วัคซีน จํานวน (กลอง/

ขวด) Lot/ Exp Lot/ Exp Lot/ Exp หมายเหตุ

1. BCG 2. HB 3. DTP-HB 4. DTP 5. OPV 6. MMR Jeryl Lynn 7. MMR Urabe (ป.1) 8. JE 9. dTหญิงมีครรภ 10. dTป.1 11. dTป.6 12. OPV ป.1 13. BCG ป.1

ตารางท่ี 2 การจายวัคซีน(อัตราการใชโดยเฉล่ีย)

วัคซีน

เดือนท่ี 1…... เดือนท่ี 2…... เดือนท่ี 3…...

เฉล่ีย จํานวน (กลอง/ขวด)

Lot/Exp จํานวน (กลอง/ขวด)

Lot/Exp จํานวน (กลอง/ขวด)

Lot/Exp

1. BCG 2. HB 3. DTP-HB 4. DTP 5. OPV 6. MMR Jeryl Lynn

7. MMR Urabe (ป.1)

8. JE 9. dTหญิงมีครรภ 10. dTป.1

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 28: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๔

11. dTป.6 12. OPV ป.1 13. BCG ป.1

ตารางท่ี 3 วัคซีนคงเหลือในตูเย็น

วัคซีน จํานวน (กลอง/

ขวด) Lot/ Exp Lot/ Exp Lot/ Exp หมายเหตุ

1. BCG 2. HB 3. DTP-HB 4. DTP 5. OPV 6. MMR Jeryl Lynn 7. MMR Urabe 8. JE 9. dTหญิงมีครรภ 10. dTป.1 11. dTป.6 12. OPV ป.1 13. BCG ป.1

1. ช่ือตัวช้ีวัด 2 - ไมมีผูปวยโปลิโอ - ไมมีผูปวยคอตีบหรือมีผูปวยลดลงตามเกณฑ - อัตราปวยดวยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ไมเกิน 1 : 1000 เด็กเกิดมีชีพ

2. เกณฑ ผานเกณฑท้ัง 3 โรค 3. ผลงาน 3.1รายการขอมูล จํานวนผูปวยท่ีปวยเปนโรคโปลิโอ คอตีบ บาดทะยักในทารกแรกเกิด 3.2 นิยาม โรคโปลิโอ เปนโรคท่ีมีความสําคัญมากโรคหนึ่ง ท้ังนี้เพราะเชื้อ ไวรัสโปลิโอ จะทําใหมีการ

อักเสบของไขสันหลังทําใหมีอัมพาตของกลามเนื้อแขนขา ซ่ึงในรายท่ีอาการรุนแรงจะทําใหมีความพิการตลอดชีวิต และบางรายอาจถึงเสียชีวิตได ในปจจุบันอุบัติการณของโรคโปลิโอไดลดลงอยางมาก เปนผลจากการใหวัคซีนโปลิโอครอบคลุมไดในระดับสูง โรคคอตีบ เปนโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ ซ่ึงทําใหเกิดการอักเสบ มีแผนเยื่อเกิดข้ึนในลําคอ ในรายท่ีรุนแรงจะมีการตีบตันของทางเดินหายใจ จึงไดชื่อวาโรคคอตีบ ซ่ึงอาจทําใหถึงตายได และจากพิษ (exotoxin) ของเชื้อจะทําใหมีอันตรายตอกลามเนื้อหัวใจ และเสนประสาทสวนปลาย

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 29: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๕

โรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด เปนโรคติดเชื้อท่ีจัดอยูในกลุมของโรคทางประสาทและกลามเนื้อ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetaniซ่ึงผลิต exotoxin ท่ีมีพิษตอเสนประสาทท่ีควบคุมการทํางานของกลามเนื้อ ทําใหมีการหดเกร็งตัวอยูตลอดเวลา เริ่มแรกกลามเนื้อขากรรไกรจะเกร็ง ทําใหอาปากไมได โรคนี้จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา โรคขากรรไกรแข็ง (lockjaw) ผูปวยจะมีคอแข็ง หลังแข็ง ตอไปจะมีอาการเกร็งของกลามเนื้อท่ัวตัว ทําใหมีอาการชักไดกรณีบาดทะยักในทารกแรกเกิดมีอาการไมดูดนม คอแข็ง หลังแข็ง ชักเกร็ง เม่ือมีส่ิงมากระตุน รวมกับประวัติระหวางอายุ 2 วัน ตองรองและดูดนมไดปกติ และเริ่มปวยเม่ืออายุได 3-28 วัน

3.4 มาตรการ โรคโปลิโอ - ใหวัคซีนโปลิโอตามระบบปกติ อยางนอย 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ป ไมนอยกวารอยละ 90 ในทุกตําบล(OPV3) - เฝาระวังคนหาผูปวย AFP ใหไดไมนอยกวา 2 ตอแสนประชากรเด็กอายุต่ํากวา 15 ป รายจังหวัด และเก็บอุจจาระสงตรวจตามเกณฑ 14 วันหลังวันเกิดอาการอัมพาต - สอบสวนและควบคุมโรคผูปวย AFP กลุมเสี่ยงสูงตามเกณฑ ไมนอยกวารอยละ 90 (สอบสวนทุกรายภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคในรายท่ีกําหนดภายใน 72 ชั่วโมงหลังพบผูปวย) - ใหวัคซีนโปลิโอเสริมแกเด็กในพ้ืนท่ีเสี่ยง (SIA) โรคคอตีบ กรณีปกติ - ใหวัคซีนท่ีมีสวนประกอบของโรคคอตีบ (DTP-HB/DTP/dT) ตามเกณฑท่ีกรมควบคุมโรคกําหนด - ตรวจสอบและควบคุมกํากับระดับความครอบคลุมการไดรับวัคซีนท่ีมีสวนประกอบของโรคคอตีบ (DTP-HB/DTP/dT) ใหไดตามเกณฑท่ีกรมควบคุมโรคกําหนด กรณีพบผูปวยสงสัย (ดําเนินตามแนวทางการดําเนินงานเม่ือพบผูปวยสงสัยโรคคอตีบและการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กรมควบคุมโรคฉบับ ตุลาคม 2556) - เฝาระวังโรคคอตีบเพ่ือคนพบผูปวยโรคคอตีบโดยเร็ว เพ่ือใหสามารถบําบัดรักษาผูปวยโดยรวดเร็วและปองกันควบคุมโรคไดอยางทันเวลา - การสอบสวนควบคุมโรคและการดูแลผูสัมผัสใกลชิด (ในโรงพยาบาล โดยการสัมภาษณผูปวยและผูสัมผัส สําหรับการดําเนินการสอบสวนโรคในชุมชนใหดําเนินการคลายกับท่ีทําในโรงพยาบาล และเพ่ิมการคนหาผูสัมผัสท้ัง 4 กลุมตามนิยามผูสัมผัสใกลชิด และคนหาผูปวยเพ่ิมเติมในชุมชนเม่ือเปนผูปวยเขาขายหรือผูปวยยืนยันตามนิยามการคนหาผูมีอาการสงสัย) - การสรางเสริมภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีน โดยใหทุกพ้ืนท่ีเนนการตรวจสอบประวัติรับวัคซีนปองกันโรคคอตีบในเด็กอายุต่ํากวา 12 ป แลวใหวัคซีนจนครบตามเกณฑ โดยเฉพาะในตําบลท่ีพบผูปวยสงสัยโรคคอตีบหรือตําบลท่ีมีอาณาเขตติดกับตําบลท่ีมีผูปวยยืนยันโรคคอตีบใหรีบดําเนินการใหเสร็จสิ้นโดยเร็ว ในกรณีท่ีผูปวยสงสัยไดรับการยืนยันวาเปนโรคคอตีบใหขยายการใหวัคซีน dTแกประชากรกลุมอายุมากกวา 12 ป ทุกคน ๆ ละ 1 ครั้ง โดยเร็ว

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 30: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๖

โรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด - ใหวัคซีนท่ีมีสวนประกอบของโรคบาดทะยัก (DTP-HB/DTP/dT) ตามเกณฑท่ีกรมควบคุมโรคกําหนด - ตรวจสอบและควบคุมกํากับระดับความครอบคลุมการไดรับวัคซีน dTในหญิงตั้งครรภ ใหไดไมนอยกวารอยละ 90 - รณรงคใหวัคซีนdT ในหญิงเจริญพันธุอายุ 15-45 ป ในพ้ืนท่ีเสี่ยง (ในพ้ืนท่ีท่ีพบผูปวยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด หรือ พ้ืนท่ีท่ีความครอบคลุมการไดรับวัคซีน dTในหญิงตั้งครรภนอยกวารอยละ 90 หรือ พ้ืนท่ีท่ีอัตราการคลอดโดยเจาหนาท่ีสาธารณสุขนอยกวารอยละ 70)

3.3 วธิีรายงาน รายงานตามแบบเฝาระวังโรค รง. 506 , รง. 507 3.4 แหลงขอมูล สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 4. กลุมเปาหมาย 4.1 รายการขอมูล

จํานวนเด็กเกิดมีชีพ

4.2 นิยาม จํานวนเด็กเกิดมีชีพ หมายถึง จํานวนเด็กท้ังหมดท่ีเกิดมาชีวิต (มีสัญญาณชีวิต) ของอําเภอในชวง 12 เดือน ท่ีผานมานับจากเดือนท่ีประเมิน

4.3 วธิีรายงาน - 4.4 แหลงขอมูล ศูนยขอมูลของอําเภอ 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)

- จํานวนผูปวยโรคโปลิโอ* และคอตีบ* - อัตราปวยโรคบาดทะยักทารกแรกเกิด =จํานวนทารกแรกเกิดท่ีปวยเปนโรคบาดทะยัก*1,000 คน จํานวนเดก็เกิดมีชีพในอําเภอ (* ประเมินในชวง 12 เดือนท่ีผานมานับจากเดือนท่ีประเมิน เชน ประเมินเดือนพฤษภาคม 2557ใหประเมินจํานวนผูปวยในชวงเดือนพฤษภาคม ป 2556ถึง เดือนเมษายน 2557)

6. เกณฑการใหคะแนน

- ไมผานเกณฑ ท้ัง 3 โรค ได 0 คะแนน

- ผานเกณฑ ท้ัง 3 โรค ได 3 คะแนนตามเกณฑตอไปนี้ ไมมีผูปวยโรคโปลิโอ อัตราปวยโรคบาดทะยักทารกแรกเกิดไมเกิน 1 : 1,000 เด็กเกิดมีชีพ ไมมีผูปวยโรคคอตีบ หรือ มีจํานวนผูปวยลดลงเทากับหรือมากกวา รอยละ 80

เม่ือเทียบกับระยะเวลาเดียวกันของปท่ีผานมา เชน ประเมินเดือน พฤษภาคม 2557 ใหประเมินจํานวนผูปวยโรคคอตีบในชวงเดือนพฤษภาคมป 2556ถึง เดือนเมษายน 2557เทียบกับ จํานวนผูปวยโรคคอตีบในชวงเดือนพฤษภาคมป 2555ถึง เดือนเมษายน 2556วาลดลงตามเกณฑหรือไม

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 31: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๗

7.ผูรับผิดชอบ/ ผูประสานงานตัวชี้วัด

ชื่อนายรณรงค ผิวเรืองนนท

2. โรคมือ เทา ปาก 1. ช่ือตัวช้ีวัด อัตราปวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ระดับอําเภอ ลดลงกวาปท่ีผานมา

2. เกณฑ อัตราปวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ระดับอําเภอ ลดลง (เม่ือเทียบกับปท่ีผานมา)

3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล - จํานวนประชากรกลางประดับอําเภอ(ในปท่ีผานมา)

- จํานวนผูปวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป (ในปท่ีผานมา) 3.2 นิยาม โรคมือ เทา ปาก หมายถึง โรคติดเชื้อพบบอยในเด็กทารกและเด็กเล็ก มักเกิดข้ึน

ในชวงอากาศเย็นและชื้น โดยประเทศไทยพบไดต้ังแตตนฤดูฝนจนถึงฤดูหนาว คือ ตั้งแตเดือนมิถุนายน และมีแนวโนมเพ่ิมข้ึนสูงสุดในเดือนธันวาคม มีลักษณะอาการไข มีแผลเปอยหลายแผลในปาก และมีอาการเจ็บรวมกับมีตุมน้ําพองขนาดเล็กท่ีฝามือ นิ้วมือ ฝาเทา และบางครั้งอาจมีปรากฏท่ีกน หมายเหตุ :อัตราปวยโรคมือ เทา ปากในท่ีนี้ กําหนดเฉพาะในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป (เนื่องจากเปนโรคติดเชื้อท่ีพบบอยในเด็กทารกและเด็กเล็ก)

3.3 วธิีรายงาน - รายงาน 506/507 ในระบบของศูนยขอมูลระดับอําเภอหรือระดับจังหวัด 3.๔ แหลงขอมูล - ศูนยขอมูลระดับอําเภอหรือระดับจังหวัด

4. กลุมเปาหมาย 4.1 รายการขอมูล - จํานวนประชากรกลางปของกลุมอายุต่ํากวา 5 ป ในระดับอําเภอ

- จํานวนผูปวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป 4.2 นิยาม - ผูปวยโรคมือ เทา ปากในท่ีนี้ หมายถึงผูปวยโรคมือ เทา ปาก ในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป

ในอําเภอ (ในปท่ีผานมา) 4.3 วธิีรายงาน - รายงาน 506/507 ในระบบของศูนยขอมูลระดับอําเภอหรือระดับจังหวัด 4.๔ แหลงขอมูล - ศูนยขอมูลระดับอําเภอหรือระดับจังหวัด 5. การประมวลผลตัวช้ีวัด

(สูตรการคํานวณ) จํานวนผูปวยโรคมือเทาปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ปในอําเภอ x 100,000

จํานวนประชากรกลางปของกลุมอายุต่ํากวา 5 ป

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 32: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๘

6. เกณฑการใหคะแนน - อัตราปวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ตอประชากรแสนคน ต่ํากวาปท่ีผานมา ได 6 คะแนน

- อัตราปวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ตอประชากรแสนคน สูงกวาปท่ีผานมา ได 0 คะแนน

7. ผูรับผิดชอบ/ ผูประสานงาน

- นายแมน แสงภักดิ์

1. โรคเอดส

1. ช่ือตัวช้ีวัดท่ี1 องคกรปกครองสวนทองถิ่นสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการดําเนินงานปองกัน

การติดเช้ือเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 2. เกณฑ สัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการ

ดําเนินงานปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เพ่ิมข้ึนจากปท่ีผานมารอยละ 5

3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล สัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการ

ดําเนินงานปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 3.2 นิยาม องคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการดําเนินงานดานการ

ปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธหมายถึง องคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากร ดังนี้ 1. งบประมาณสนับสนุนการจัดซ้ือถุงยางอนามัย 2. งบประมาณ/กิจกรรมรณรงคในวันสําคัญ การจัดนิทรรศการ การให

ความรู/อบรม (ไมนับรวมงบประมาณดานการสงเคราะหผูปวยเอดส/ผูไดรับผลกระทบจากเอดส)

3.3 วธิีรายงาน สัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการดําเนินงานปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธในอําเภอ

3.4 แหลงขอมูล แบบรายงานโครงการและงบประมาณท่ีองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหการสนับสนุนหนวยงาน/องคกรเอกชนในพ้ืนท่ีเพ่ือดําเนินงานปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ

มาตรการการดําเนินงาน ระดมทรัพยากร/งบประมาณจากแหลงทุนตางๆในพ้ืนท่ี เพ่ือจัดซ้ือและกระจายถุงยางอนามัยใหถึงกลุมประชากรเปาหมายไดอยางเพียงพอและสนับสนุนกิจกรรมดานการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธท่ีมี

โรค/ภัยสุขภาพสําคัญที่เปนปญหาของพ้ืนที ่

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 33: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๒๙

ประสิทธิภาพโดยผานภาคี เครือขายท้ังภาครัฐและเอกชนในพ้ืนท่ี 4. กลุมเปาหมาย 4.1 รายการขอมูล องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 4.2 นิยาม องคกรปกครองสวนทองถ่ินไดแก กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการ

บริหารสวนจังหวัด เทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล 4.3 วธิีรายงาน ขอมูลจํานวนองคกรปกครองสวนทองถ่ินในอําเภอ 4.4 แหลงขอมูล รายงานสรุปโครงการขององคกรปกครองสวนทองถ่ินในอําเภอ จาก สํานักงาน

ทองถ่ินอําเภอ/จังหวัด/คณะอนุกรรมการปองกันและแกไขปญหาเอดสจังหวัด 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)

สูตรท่ี 1 สัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรฯ (รอยละ) =

จํานวนองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรฯ ณ ปท่ีประเมิน x100

จํานวนองคกรปกครองสวนทองถ่ินท้ังหมด ณ ปท่ีประเมิน สูตรท่ี 2 เปรียบเทียบสัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรฯ กับปท่ีผานมา(รอยละ) =(A – B) x 100 B หมายเหตุ: A = สัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรฯณ ป2557 B = สัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรฯณ ป2556 การแปลผล คารอยละเปนบวก หมายถึงสัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรพัยากรฯ ณ ป 2557 เพ่ิมข้ึนจากปท่ีผานมา คารอยละเปนลบ หมายถึงสัดสวนองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรฯ ณ ป 2557 ลดลงจากปท่ีผานมา คารอยละเปนศูนย หมายถึงสัดสวนองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรพัยากรฯ ณ ป 2557 เทากับปท่ีผานมา

6. เกณฑการใหคะแนน สัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรฯณ ปท่ีรายงาน เปรียบเทียบกับปท่ีผานมา

- นอยกวารอยละ 1.00 ไดคะแนน0คะแนน - รอยละ 1.00 – 1.99 ไดคะแนน1คะแนน - รอยละ 2.00 – 2.99 ไดคะแนน2คะแนน - รอยละ 3.00 – 3.99 ไดคะแนน3คะแนน -รอยละ 4.00 – 4.99 ไดคะแนน4คะแนน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 34: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๐

- ตั้งแตรอยละ 5.00 ข้ึนไป ไดคะแนน5คะแนน 7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด

1. นางพนมวรรณ คาดพันโน 2. นายเกียรติศักดิ์ พงประเสริฐ

หมายเหตุ: จากขอมูลการคาดประมาณความตองการถุงยางอนามัยจากกลุมเปาหมายท่ีควรไดรับการสนับสนุนในประเทศไทย พบวา ประชากรกลุมเปาหมายมีความตองการใชถุงยางอนามัยตอป ประมาณ 270ลานชิ้น โดยท่ีผานมา กระทรวงสาธารณสุขและสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติสามารถสนับสนุนถุงยางอนามัยไดเพียง 40 ลานชิ้น (รอยละ14.81) ซ่ึงยังคงมีจํานวนถุงยางอนามัยท่ีตองการใหสนับสนุนเพ่ิมเติมสูงถึง 230 ลานชิ้น (รอยละ 85.19) เพ่ือใหการดําเนินงานดานเอดสและโรคติดตอทางเพศสัมพันธในพ้ืนท่ีเปนไปอยางมีประสิทธิภาพนั้น การบูรณาการและระดมทรัพยากรในพ้ืนท่ีจึงมีความสําคัญ ดังนั้นมาตรการระดมทรัพยากร/งบประมาณจากแหลงทุนตางๆในพ้ืนท่ี เพ่ือจัดซ้ือและกระจายถุงยางอนามัยใหถึงกลุมประชากรเปาหมายไดอยางเพียงพอและสนับสนุนกิจกรรมดานการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธท่ีมีประสิทธิภาพโดยผานภาคี เครือขาย ท้ังภาครัฐและเอกชนในพ้ืนท่ี จึงเปนมาตรการหนึ่งท่ีสะทอนถึงการบูรณาการอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งยั่งยืน และสรางการสวนรวมในการปองกันแกไขโรคเอดสและโรคติดตอทางเพศสัมพันธท่ีเปนรูปธรรมตอไป 1. ช่ือตัวช้ีวัดท่ี 2 อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 2. เกณฑ อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ไมเกินคาเฉลี่ยของอัตราปวยดวยโรคติดตอ

ทางเพศสัมพันธยอนหลัง 5 ป 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 3.2 นิยาม โรคติดตอทางเพศสัมพันธ หมายถึง โรคติดตอทางเพศสัมพันธ 5 โรค ประกอบดวย

1. โรคซิฟลิส (Syphilis) 2. โรคหนองใน (Gonorrhea) 3. โรคหนองในเทียม (Non-gonococcal urethritis : NSU) 4. โรคฝมะมวง (LymphogranulomaVenereum : LGV ) 5. โรคแผลริมออน (Chancroid)

อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ หมายถึง จํานวนผูปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 5 โรคท้ังหมดจากรายงานในระบบเฝาระวังโรค (รายงาน 506)ในชวงเวลาท่ีกําหนดตอหนวยประชากรคงท่ีในชวงเวลาเดียวกัน (ประชากรกลางป) คาเฉลี่ยของอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธยอนหลัง 5 ป หมายถึง คามัธยฐานของอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 5 โรคตั้งแตป2552 -2556

3.3 วธิีรายงาน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอรวบรวมขอมูลสรุปรายงานผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธจากระบบเฝาระวังโรค (รายงาน 506) ระหวางป 2552-2556 เพ่ือวิเคราะหหาคาเฉลี่ยของอัตราปวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 35: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๑

ยอนหลัง 5 ป และนําไปเปรียบเทียบอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธป 2557

3.4 แหลงขอมูล ระบบเฝาระวังโรค (รายงาน 506)ของสาํนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค มาตรการการดําเนินงาน 1. สรางกระแสสังคมโดยผานสื่อสารสาธารณะตางๆในพ้ืนท่ี เชน วิทยุชุมชน ปาย

ประชาสัมพันธ วารสารตางๆ ฯลฯเปนตน เพ่ือสรางภาพลักษณของถุงยางอนามัยใหเปนอุปกรณสุขอนามัยในการปองกันโรคเอดสและโรคติดตอทางเพศสัมพันธในกลุมประชากรเปาหมายอยางตอเนื่อง เชนในวันสําคัญตางๆ ไดแก วันวาเลนไทน วันเอดสโลก เปนตน 2. ระดมทรัพยากรและสรางความรวมมือของทุกภาคสวนในพ้ืนท่ี เพ่ือจัดซ้ือและกระจายถุงยางอนามัยใหถึงกลุมประชากรเปาหมายไดอยางเพียงพอ โดยผานภาคีเครือขายท้ังภาครัฐและเอกชนในพ้ืนท่ี 3. พัฒนาบริการใหการปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ การตรวจรักษาโรคติดตอทางเพศสัมพันธ การเชื่อมตอสูการดูแลรักษา และการรักษาท่ีมีคุณภาพตอเนื่องในโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับตําบล

4. กลุมเปาหมาย 4.1 รายการขอมูล อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 4.2 นิยาม อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ หมายถึง จํานวนผูปวยดวยโรคติดตอทาง

เพศสัมพันธ 5 โรคท้ังหมดจากรายงานในระบบเฝาระวังโรค (รายงาน 506)ในชวงเวลาท่ีกําหนดตอหนวยประชากรคงท่ีในชวงเวลาเดียวกัน (ประชากรกลางป) คาเฉลี่ยของอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธยอนหลัง 5 ป หมายถึง คามัธยฐานของอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 5 โรคตั้งแตป2552 -2556

4.3 วธิีรายงาน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอรวบรวมขอมูลสรุปรายงานผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธจากระบบเฝาระวังโรค (รายงาน 506) ระหวางป 2552-2556 เพ่ือวิเคราะหหาคาเฉลี่ยของอัตราปวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธยอนหลัง 5 ป และนําไปเปรียบเทียบอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธป 2557

4.4 แหลงขอมูล ระบบเฝาระวังโรค (รายงาน 506) ของสํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)

สูตรท่ี 1 อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ (Ai) = จํานวนผูปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ในชวงเวลาท่ีกําหนด x 100,000

ประชากรกลางปในชวงเวลาเดียวกัน หมายเหตุ:เม่ือ i คือ ชวงเวลาท่ีกําหนด สูตรท่ี 2คาเฉลี่ยของอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธยอนหลัง 5 ป(B)=คามัธยฐานของ (A2552 , A2553 , A2554 , A2555 , A2556) หมายเหตุ:เนื่องจากขอมูลอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธในแตละปมีการ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 36: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๒

กระจายแบบอ่ืนๆ จึงนําคามัธยฐานมาใชเปนตัวแทนของขอมูลในการวัดผลปท่ีผานมา

สูตรท่ี 3เปรียบเทียบอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ (รอยละ) = (A2557 – B) x 100 การแปลผล B คารอยละเปนบวก หมายถึงอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธป 2557 มากกวาคาเฉลี่ยยอนหลัง 5 ป คารอยละเปนลบ หมายถึงอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธป 2557 นอยกวาคาเฉลี่ยยอนหลัง 5 ป คารอยละเปนศูนย หมายถึงอัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธป 2557 เทากับคาเฉลี่ยยอนหลัง 5 ป

6. เกณฑการใหคะแนน ตัวช้ีวัด

หนวยวัด

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ พ.ศ.2557 1 2 3 4 5

1. อัตราปวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ

รอยละ มากกวาคาเฉลี่ยยอนหลัง

5 ป รอยละ

2

มากกวาคาเฉลี่ยยอนหลัง

5 ป รอยละ

1

เทากับคาเฉลี่ยยอนหลัง

5 ป

นอยกวาคาเฉลี่ยยอนหลัง

5 ป รอยละ

1

นอยกวาคาเฉลี่ยยอนหลัง

5 ป รอยละ

2

7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด

1. นายเกียรติศักดิ์ พงประเสริฐ 2. นางพนมวรรณ คาดพันโน

1. ช่ือตัวช้ีวัดท่ี 2

อัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกลดลง

2. เกณฑ อัตราการติดเชื้อซํ้าของโรคไขเลือดออก (Generation ท่ี 2) ในพ้ืนท่ีไมเกินรอยละ 50 ของหมูบาน 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล

จํานวนหมูบานท่ีมีผูปวยโรคไขเลือดออกติเชื้อซํ้า

3.2 นิยาม การเกิด Second Generation of Infection คือ การมีผูปวยโรคไขเลือดออกในหมูบาน/ชุมชน เดียวกันหรือสอบสวนแลวมีขอบงชี้ไดวาเกิดจากการติดเชื้อจากผูปวยรายแรก โดยนับจากวันท่ีผูปวยรายแรกเริ่มปวยหลังจากดําเนินการควบคุมโรคไปแลวภายใน ๒๘ วัน (นับจากระยะฟกตัวของเชื้อเดงก่ีในยุง คือ ๘-๑๒ วนั รวมกับระยะฟกตัวของเชื้อเดงก่ีในคน คือ ๕-๘ วัน เร็วท่ีสุด ๓ วัน นานท่ีสุด ๑๕ วัน นําระยะฟกตัวท่ีนานท่ีสุดในยุงและในคนรวมกัน คือ ๑๒+๑๕ = ๒๗ วัน)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 37: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๓

3.3 วธิีรายงาน

รายงานทุกเดือน

3.4 แหลงขอมูล

ศูนยขอมูลระบาดวิทยา สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ

4. วิธีรายงาน รายงานทุกเดือน 4.1 แหลงขอมูล

จัดทําฐานขอมูลอัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกรายเดือน และรายป ยอนหลัง 5 ปโดย 1. เก็บขอมูลผูปวยจากรายงาน 506 ท่ีสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรายงานมายังสํานักระบาด

วิทยา กรมควบคุมโรค 2. รวบรวมขอมูล Confirmed case แจกแจงเปนรายเดือนและรายป ตั้งแตปพ.ศ.2551- 2555 3. กรอกขอมูลในชองจํานวนผูปวยรายเดือนของตารางดัชนีเตือนภัยไขเลือดออกประจําป 2557

(เปน electronic file) ซ่ึงจะคํานวณคาอัตราปวยและรอยละการเปลี่ยนของอัตราปวยในป 2557 เม่ือเปรียบเทียบกับของคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป (2551- 2555)

5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรคํานวณ)

: รอยละของหมูบานท่ีเกิด Second Generation of Infection = จํานวนหมูบานท่ีเกิด Second Generation of Infectionx 100 จํานวนหมูบานท้ังหมด

6. เกณฑการใหคะแนน

1) อัตราการติดเชื้อซํ้านอยกวารอยละ 50 ได 5 คะแนน 2) อัตราการติดเชื้อซํ้าอยูระหวางรอยละ 50-60 ได 4 คะแนน 3) อัตราการติดเชื้อซํ้าอยูระหวางรอยละ 61-70 ได 3 คะแนน 4) อัตราการติดเชื้อซํ้าอยูระหวางรอยละ 71-80 ได 2 คะแนน 5)อัตราการติดเชื้อซํ้ามากกวารอยละ 80 ได 1 คะแนน

7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด

ผูรับผิดชอบ นายแมน แสงภักดิ์

1. ช่ือตัวช้ีวัดท่ี 2

อัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกลดลง

2. เกณฑ อัตราปวยลดลงเม่ือเทียบกับคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป(51-55) มากกวา รอยละ 4 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล

จํานวนผูปวยโรคไขเลือดออก(ราย)

3.2 นิยาม อัตราปวยโรคไขเลือดออกลดลง หมายถึง อัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกลดลงเม่ือเทียบกับคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป(51-55) ตามปปฏิทิน 1. โรคไขเลือดออก หมายถึง โรคท่ีไดรับการวินิจฉัยอาการตามเกณฑทางคลินิกและหรือมีผลตาม

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 38: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๔

เกณฑทางหองปฏิบัติการวาปวยดวยไขเลือดออกทุกกลุมอาการ ไดแก Dengue Fever (DF), Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) และ Dengue Shock Syndrome (DSS) 2. อัตราปวยโรคไขเลือดออก หมายถึง จํานวนผูปวย DF+DHF+DSS ในจํานวนประชากร 100,000 คน คํานวณจาก จํานวนผูปวยดวยโรคไขเลือดออก ตั้งแตเดือนมกราคม –พฤษภาคม 2557 X 100,000 / จํานวนประชากรกลางป 2556 3. คามัธยฐาน (Median) ยอนหลัง 5 ป หมายถึง คากลางท่ีไดจากการเรียงลําดับขอมูลอัตราปวยโรคไขเลือดออกเปนรายเดือน (มกราคม-พฤษภาคม) ตั้งแตป 2551 -2555 ตามปปฏิทิน โดยนําคากลางอัตราปวยท่ีไดในแตละเดือนรวมกันเปนอัตราปวยยอนหลัง 5 ป 4. อัตราปวยโรคไขเลือดออกรายเดือน หมายถึง จํานวนผูปวย DF+DHF+DSS ในจํานวนประชากร 100,000 คน คํานวณจาก จํานวนผูปวยดวยโรคไขเลือดออก 1 เดือน X 100,000 / จํานวนประชากรกลางป เดียวกัน

มาตรการ ระยะท่ี 1การปองกันโรคลวงหนากอนชวงระบาดเปนชวงท่ีสําคัญท่ีสุดในการควบคุมไขเลือดออก (มกราคม - เมษายน ) รวม 4 เดือน

- การวิเคราะหและติดตามสถานการณโรค

- การประสานความรวมมือเครือขายใหดําเนินการดานสภาพแวดลอม (5ร.)โรงเรือน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงธรรม และโรงงาน

- การกระตุนชุมชนใหใชมาตรการกําจัดแหลงเพาะพันธยุงลายในระดับครัวเรือน

- ติดตามประเมินสถานการณจากคาดัชนีลูกน้ํายุงลาย (โดยทีม SRRT)

- การคัดกรองผูปวยไขเลือดออกระดับพ้ืนท่ีและควบคุมโรคในบานและรอบบานทันทีแมในรายท่ีสงสัย

- ควบคุมโรคในกรณีตรวจพบผูปวยไมใหเกิดการแพรโรคตอเนื่อง (ปองกันการเกิด 2nd generation)

ระยะท่ี 2การควบคุมโรคชวงระบาด(พฤษภาคม-สิงหาคม) รวม 4 เดือน เปนการปองกันโรค โดยการเรงรัดในการทําลายแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลายในชุมชน โรงเรียน สถานบริการสถานสุข/โรงพยาบาล วัด มัสยิด แหลงทองเท่ียว

- การจัดตั้ง War room เพ่ือวิเคราะห ติดตามสถานการณและการแบงพ้ืนท่ี (Zoning) ตามสภาพปญหาในพ้ืนท่ี

- การกําหนดเปนนโยบายระดับจังหวัด/อําเภอ ในพ้ืนท่ีระบาด

- การประสานความรวมมือกับทองถ่ินเพ่ือกําหนดยุทธวิธีในการควบคุมการระบาด

- การควบคุมการระบาดใหเปนไปตามมาตรฐานการควบคุมการระบาด

- จัดตั้งคณะทํางานเพ่ือพัฒนาระบบท่ีปรึกษาดานการรักษาและดูแลผูปวย เพ่ือปองกันการเสียชีวิต - สื่อสารความเสี่ยงในชุมชนตามระดับความรุนแรงของการระบาดโรคในพ้ืนท่ี

- สนับสนุนการใชมาตรการเสริมดานการปองกันตนเองจากการถูกยุงกัดและการใชนวัตกรรมพ้ืนบาน ระยะท่ี 3การประเมินผลสําเร็จ (กันยายน– ธันวาคม) รวม 4 เดือน

- เฝาระวังโรคในชวงปลายป เพ่ือแจงเตือนการระบาด

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 39: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๕

การถอดบทเรียนในพ้ืนท่ีท่ีประสบผลสําเร็จ/ไมสําเร็จ 3.3 วธิีรายงาน

รายงานทุกเดือน

3.4 แหลงขอมูล

ศูนยขอมูลระบาดวิทยา สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ

4. กลุมเปาหมาย

4.1 รายการขอมูล

ประชากรกลางป 2555

4.2 นิยาม จํานวนประชากร ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2555 4.3 วธิีรายงาน

รายงานทุกเดือน

4.4 แหลงขอมูล

จัดทําฐานขอมูลอัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกรายเดือน และรายป ยอนหลัง 5 ปโดย 1. เก็บขอมูลผูปวยจากรายงาน 506 ท่ีสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรายงานมายังสํานักระบาด

วิทยา กรมควบคุมโรค 2. รวบรวมขอมูล Confirmed case แจกแจงเปนรายเดือนและรายป ตั้งแตปพ.ศ.2551- 2555 3. กรอกขอมูลในชองจํานวนผูปวยรายเดือนของตารางดัชนีเตือนภัยไขเลือดออกประจําป 2557

(เปน electronic file) ซ่ึงจะคํานวณคาอัตราปวยและรอยละการเปลี่ยนของอัตราปวยในป 2557 เม่ือเปรียบเทียบกับของคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป (2551- 2555)

5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรคํานวณ)

1. อัตราปวยโรคไขเลือดออก ป 2557 = จํานวนผูปวยไขเลือดออกเดือนมกราคม –พฤษภาคม 2557X100,000 จาํนวนประชากรกลางป 2556 2. อัตราปวยโรคไขเลือดออก (คามัธยฐานยอนหลัง 5 ป) = มัธยฐานของอัตราปวยของเดือน มกราคม 51-55 + …….+มัธยฐานอัตราปวยเดือน พฤษภาคม 51-55 3. รอยละของอัตราปวยไขเลือดออกลดลงจากคามัธยฐาน

= (ขอ 2 – ขอ1)x 100 ขอ 2

6. เกณฑการใหคะแนน

1) อัตราปวยเกินคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป ได 0 คะแนน 2) อัตราปวยนอยกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป รอยละ 0.01 - 2.49 ได 1 คะแนน 3) อัตราปวยนอยกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป รอยละ 2.50 - 3.99 ได 3 คะแนน 4) อัตราปวยนอยกวาคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป รอยละ 4 ข้ึนไป ได 5 คะแนน

7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด

ผูรับผิดชอบ นายแมน แสงภักดิ์

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 40: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๖

3.วัณโรค

1. ช่ือตัวช้ีวัด รอยละของคลินิกวัณโรคท่ีมีคุณภาพ 2. เกณฑ คลินิกวัณโรคผานการประเมินมาตรฐานคุณภาพระดับ A 3. ผลงาน 3.1 รายการขอมูล คลินิควัณโรคในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับรพศ./รพท./รพช. 3.2 นิยาม คลินิควัณโรคหมายถึงคลินิกวัณโรคในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐท่ีสังกัดกระทรวง

สาธารณสุขในระดับโรงพยาบาลศูนย (รพศ.) โรงพยาบาลท่ัวไป (รพท.) โรงพยาบาลอําเภอ (รพช.) มีคุณภาพ หมายถึงคลินิกวัณโรคใน สถานบริการสาธารณสุขสามารถดําเนินการครบถวนตามองคประกอบมาตรฐานคลินิกวัณโรคท่ีมีคุณภาพ 9 ดาน ดังนี้* 1. การตอบสนองเชิงนโยบาย 2. การคนหาและวินิจฉัยผูปวยวัณโรค 3. การรักษาดวยระบบยาระยะสั้นแบบมีพ่ีเลี้ยง 4. ยารักษาวัณโรคไมขาดแคลนและมีคุณภาพ 5. ทะเบียนและรายงานวัณโรค 6. การปองกันการแพรกระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล 7. การผสมผสานงานวัณโรคและโรคเอดส 8. ผลการรักษา (Treatment outcomes) ๙.การบริหารจัดการวัณโรคดื้อยา (* หมายเหตุ รายละเอียดแตละองคประกอบและเกณฑการประเมินตาม “คูมือการประเมินคลินิก วัณโรคท่ีมีคุณภาพ (Quality TB Clinic) ”)

3.3 วธิีรายงาน 1. ผูประสานงานวัณโรคระดับจังหวัดสํารวจและประเมินคลินิกวัณโรคในสถานบริการสาธารณสุขโดยใชเครื่องมือ “คูมือการประเมินคลินิกวัณโรคท่ีมีคุณภาพ (Quality TB Clinic)” 2. สรุปผลการประเมิน และรายงานผลการประเมินใหคลนิิกวัณโรคในสถานบริการสาธารณสุขท่ีไดรับการประเมินทราบ เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงานวัณโรคตอไป

3.4 แหลงขอมูล รพท./รพช. 4. กลุมเปาหมาย 4.1รายการขอมูล คลินิควัณโรคในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับรพท./รพช. 4.2 นิยาม คลินิควัณโรคหมายถึงคลินิกวัณโรคในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐท่ีสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ในระดับโรงพยาบาลท่ัวไป (รพท.) โรงพยาบาลอําเภอ (รพช.) 4.3 วธิีรายงาน 1. ผูประสานงานวัณโรคระดับจังหวัดสํารวจและประเมินคลินิกวัณโรคในสถานบริการ

สาธารณสุขโดยใชเครื่องมือ “คูมือการประเมินคลินิกวัณโรคท่ีมีคุณภาพ (Quality TB Clinic)” 2. สรุปผลการประเมิน และรายงานผลการประเมินใหคลินิกวัณโรคในสถานบริการสาธารณสุขท่ีไดรับการประเมินทราบ เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงานวัณโรคตอไป

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 41: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๗

4.4 แหลงขอมูล รพท./รพช. 5. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคํานวณ)

- คลินิกวัณโรคผานการประเมินคุณภาพระดับ A คะแนนรวม 9 ดาน ตั้งแต 90 คะแนนข้ึนไป - คลินิกวัณโรคผานการประเมินคุณภาพระดับ B คะแนนรวม9 ดาน ตั้งแต 85-89 คะแนน - คลินิกวัณโรคผานการประเมินคุณภาพระดับ C คะแนนรวม9 ดาน ต่ํากวา 85 คะแนน

6. เกณฑการใหคะแนน - คลินิกวัณโรคผานการประเมินคุณภาพระดับ A ได 10 คะแนน - คลินิกวัณโรคผานการประเมินคุณภาพระดับ B ได 8 คะแนน - คลินิกวัณโรคผานการประเมินคุณภาพระดับ C ได 5 คะแนน

7. ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด

นายเกียรติศักดิ์ พงประเสริฐ นางเพ็ญศิริวิศิษฐผจญชัย

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 42: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๒

งานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคลและสุขภาพภาคประชาชน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 43: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๓๙

ประเด็นหลักที่ ๒ : งานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน

ตัวช้ีวัดท่ี ๒ รอยละของอําเภอท่ีมี District Health System (DHS) ท่ีเชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับ

ชุมชนและทองถ่ินอยางมีคุณภาพใช SRM หรือเครื่องมืออ่ืนๆในการทําแผนพัฒนาสุขภาพ น้ําหนักคะแนน ๑๐

คาเปาหมาย (Target) รอยละ ๑๐๐ หนวยวัด รอยละ

คําอธิบาย District Health System (DHS) หมายถึงระบบสุขภาพระดับอําเภอซ่ึงมีการทํางานสุขภาพ

โดยใชอําเภอเปนฐานมองทุกสวนในอําเภอเปนเนื้อเดียวกันไมวาจะเปนสาธารณสุขสวนราชการองคการบริหาร

สวนทองถ่ินและภาคีภาคประชาชนโดยมีเปาหมายท่ีจะขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพของประชาชนท้ังอําเภอ

ผสมผสานท้ังงานสงเสริมปองกันรักษาฟนฟูเขาดวยกันระบบสุขภาพอําเภอจึงเปนการมองสุขภาพในมุมท่ีกวาง

และเนนการทางานรวมกันท้ังภาคีในเครือขายและนอกเครือขายสาธารณสุข

ระบบบริการปฐมภูมิหมายถึงระบบบริการระดับปฐมภูมิท่ีมีการใหบริการเปนแบบผสมผสานองครวมและ

ตอเนื่องท้ังบริการเชิงรุกเพ่ือสรางสุขภาพบริการควบคุมปองกันโรคและปญหาท่ีคุกคามสุขภาพบริการรักษา

พยาบาลและฟนฟูสมรรถภาพสนับสนุนระบบการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวมีระบบการดูแลสุขภาพท่ี

บานและท่ีชุมชนและเชื่อมโยงกับระบบบริการระดับทุติยภูมิตติยภูมิอยางเปนระบบมีคุณภาพและมีประสิทธิ

ภาพโดยมีประชากรท่ีเปนเปาหมายในการใหบริการ (catchment population) และผูใหบริการเปนทีมสุขภาพ

ชุมชนและทองถิ่นหมายถึงประชาชนครอบครัวหมูบานองคการบริหารสวนทองถ่ินองคกรอิสระ(NGO) ภาครัฐ

ภาคเอกชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน

ระบบหมอครอบครัว คือ ระบบท่ีมีการออกแบบเพ่ือใหประชาชนทุกคนมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพตนเอง

และม่ันใจเม่ือตองเจ็บปวยก็จะมีผูดูแลเสมือนหนึ่งญาติหรือหมอประจําตัว เพ่ือใหระบบบริการมีประสิทธิภาพ ท้ัง

ชนิดของบริการ ท้ังสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค รักษาพยาบาล พ้ืนฟูสภาพ และคุมครองผูบริโภค ท่ีประชาชน

ทุกคนมีความเทาเทียมในการเขาถึงบริการ การจัดการระบบ จึงเปนทางเลือกการจัดการระบบบริการสุขภาพ

เบื้องตน ระบบหมอครอบครวัจะมีบุคลากรดูแลถึงบานทุกครัวเรือน ซ่ึงประกอบดวย พยาบาลเวชปฏิบัต ิ

นักวิชาการสาธารณสุข เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน เจาหนาท่ีบริหารงานสาธารณสุข ทันตาภิบาล แพทย

แผนไทย ฯลฯ ซ่ึงเรียกรวมๆ วา “นักสุขภาพครอบครัว (นสค.)”ดูแลประชาชนเพ่ือใหเกิดความม่ันใจใน

คุณภาพ บริการ และความอุนใจในการประสานบริการตอยอดครบวงจร นักสุขภาพครอบครัวเหลานี้จะมีเปน

ทีมเดียวกับ อสม.ในพ้ืนท่ี ท่ีมีประชาชนท่ีรับผิดชอบท่ีชัดเจน มีการจัดแพทยเปนท่ีปรึกษา ชวยดูแลบริการทุก

ประเภทเสมือนหนึ่งเปนญาติประชาชนอีกชั้นหนึ่งท่ีหางออกมา 1 วง อันจะนําไปสู “การเขาถึงบริการครอบ

วงจรท่ีมีคุณภาพ”

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 44: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๐

ประเด็นท่ีจะประเมินมี ดังนี ้

๑. CUP Managementประเมินประเด็นODOP

๒. ระบบหมอครอบครัว

๑. CUP Managementประเมินประเด็น ODOP จํานวน ๓๐ คะแนน ดังนี้

๑) ภาคีทุกภาคสวนรวมกันวิเคราะหปญหารวมกันของพ้ืนท่ี (๕ คะแนน)

๒) วางแผนแกไขปญหารวมกันโดยบูรณาการงานทุกภาคสวน (๕ คะแนน)

๓) รวมกันดําเนินการแกไขปญหาของพ้ืนท่ี โดยภาคีมีสวนรวม (๕ คะแนน)

๔) ทีมรวมกันออกติดตาม กํากับ นิเทศประเมินผล (๕ คะแนน)

๕) ผลงานสามารถประยุกตขยายผลไปพ้ืนท่ีอ่ืนไดมีผลสําเร็จ (๕ คะแนน)

๖) มีนวตกรรมท่ีเกิดจาก ODOP (๕ คะแนน)

๒. ประเด็นหมอครอบครัว จํานวน ๗๐ คะแนน ดังนี ้๑. โครงสรางหมอครอบครัว (๕ คะแนน)

๒. การรับรูการเปนเจาของหมอครอบครัว/บทบาทหนาท่ี (๑๐ คะแนน)

๓. อสม.มีเครื่องมือในการดําเนินงานหมอครอบครัวและมีความรูความเขาใจในบทบาท

และหนาท่ี (๒๕ คะแนน)

๔. ระบบบริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชนท่ีไดจากหมอครอบครัว (๒๕ คะแนน)

๕. พ้ืนท่ีมีนวัตกรรม การพัฒนาระบบหมอครอบครัว (๕ คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน หนวยวัด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รอยละ ๑-๑๐ ๑๑-๒๐ ๒๑-๓๐ ๓๑-๔๐ ๔๑-๕๐ ๕๐-๖๐ ๖๑-๗๐ ๗๑-๘๐ ๘๑-๙๐ ๙๑-๑๐๐

หมายเหตุ ใหคะแนนตามเกณฑและตัวชี้วัดแตละขอ แลวนํามาเทียบเปนรอยละ

แหลงขอมูล/ วิธีการจัดเก็บขอมูล :

๑. สัมภาษณ/ดูหลักฐานตามเกณฑ ๒. แบบทดสอบความรู อสม. ๓. ออกประเมินในพ้ืนท่ี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : นางสุวรรณี แสนสุข : นางรักชนก นอยอาษา

: นายรัฐพล อินทรวิชัย : นางอารีรัตน เนติวัชรเวช

: นางสิริกัลยา อุปนิสากร

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 45: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๑

๑. CUP Managementประเมินประเด็นODOP

เกณฑการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได

1.ภาคีทุกภาคสวนรวมกันวิเคราะหปญหารวมกันของพ้ืนท่ี ๕ 2.วางแผนแกไขปญหารวมกันโดยบูรณาการงานทุกภาคสวน ๕ 3. รวมกันดําเนินการแกไขปญหาของพ้ืนท่ี โดยภาคีมีสวนรวม ๕

4. ทีมรวมกันออกติดตาม กํากับ นิเทศประเมินผล ๕ 5. มีผลงานสามารถประยุกตขยายผลไปพ้ืนท่ีอ่ืนไดมีผลสําเร็จ 5

๖.มีนวตกรรมท่ีเกิดจาก ODOP ๕

รวม ๓๐

ประเด็นการประเมินระบบหมอครอบครัว คะแนน

๑. โครงสรางหมอครอบครวั ๑๐

๒. การรับรูการเปนเจาของหมอครอบครัว/บทบาทหนาท่ี ๑๐

๓. อสม.มีเครื่องมือในการดําเนินงานหมอครอบครัวและมีความรูความเขาใจในบทบาทและ

หนาท่ี

๒๐

๔. ระบบบริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชนท่ีไดจากหมอครอบครัว ๒๕

๕. พ้ืนท่ีมีนวัตกรรม การพัฒนาระบบหมอครอบครัว ๕

รวม ๗๐

รายละเอียดเกณฑการประเมิน ๑. CUP Management ประเมินประเด็น ODOP

เกณฑการประเมิน

ขอมูลประกอบเกณฑ และแนวทางการประเมิน เกณฑการใหคะแนน

1.ภาคีทุกภาคสวนรวมกันวิเคราะหปญหารวมกันของพ้ืนท่ี

๑. มีการคัดเลือกปญหาสุขภาพตามกลุมวัยหรือเชิงประเด็น

อยางนอย 1 เรื่อง

ใหมีความสอดคลองกับสภาพปญหาของพ้ืนท่ี

- มาจากเจาหนาท่ีสาธารณสุข

- มาจากภาคการเมืองทองถ่ิน

๕ คะแนน

=ดําเนินการครบ๓

ขอ

๔ คะแนน

=ดําเนินการ ๒ขอ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 46: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๒

- มาจาก เวทีระดมความเห็นในชุมชนหรือมติกิจกรรม รพ.สต.

๒. การเลือกประเด็นปญหามีการถอดบทเรียนจากระบบ

สุขภาพของทองถ่ินมีการนํา

ตนทุนของพ้ืนท่ีมาตอยอดโครงการใหเห็นการปรับปรุง

พัฒนาอยางตอเนื่องท่ีชัดเจนมากข้ึน

๓. การกําหนดแนวทางการดําเนินโครงการตองครอบคลุมการ

ดูแลท้ัง 3 ระดับ คือindividual care ,family care ,

community care

๓ คะแนน

=ดําเนินการ ๑ ขอ

๐ คะแนน

=ยังไมดําเนินการ

๒.วางแผนแกไข

ปญหารวมกัน

โดยบูรณาการ

งานทุกภาคสวน

๑. มีการวางแผนแกไขปญหาแบบมีสวนรวมบูรณาการกับภาคี

ทุกภาคสวน โดย เปาหมายและวัตถุประสงคท่ีตั้งไวมีความ

ชัดเจนและความทาทายมีตัวชี้วัด/เครื่องมือท่ีใชวัดสะทอน

ความสําเร็จ สามารถประเมินไดตามวัตถุประสงคหากเปนโครง

การท่ีทําอยูแลว ตองมีกิจกรรมท่ีมีการพัฒนาท่ีชัดเจนมากข้ึน

๒. ทีมสุขภาพอําเภอมีความเขมแข็ง พรอมรับมือปญหาสุขภาพ

ท่ีเปลี่ยนแปลงไป

๓.ประชาชนและชุมชนมีสวนรวม (Patient/community

involvement) ในวิธีการการออกแบบ/ปรับปรุง

กระบวนการพัฒนาเครือขายฯมีการดึงใหผูปวย ครอบครัว

หรือชุมชนเขามีสวนรวม ท้ังในแงรวมคิดรวมวางแผน รวมทํา

และตัดสินใจ

๔. มีระบบสนับสนนุทรัพยากรบุคคล งบประมาณ อุปกรณ

และระบบการจัดการ จากภาคีท่ีเก่ียวของอยางเปนรูปธรรม

๕ คะแนน=

ดําเนินการครบ ๔ขอ

๔ คะแนน=

ดําเนินการ ๓ขอ

๓ คะแนน=

ดําเนินการ ๒ ขอ

๒ คะแนน=

ดําเนินการ ๑ขอ

๐ คะแนน=ยังไม

ดําเนินการ

๓.รวมกัน

ดําเนินการแกไข

ปญหาของพ้ืนท่ี

โดยภาคีมีสวน

รวม

๑. มีการดําเนินงานตามแผนในรูปแบบของเครือขายสุขภาพ

ระดับอําเภออยางเปนรูปธรรม ครบทุกข้ันตอน / หรือมีการ

ปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่อง

๒. บทบาทของภาคีอ่ืนๆ (นอกเหนือจากผูรับผิดชอบโดยตรง)

มีบทบาทหนาท่ีในกระบวนการพัฒนาดําเนินการท่ีชัดเจน

๓. ดําเนินการแกไขปญหาตามโครงการ โดยภาคีเขารวม มี

ความหลากหลาย ตามประเด็นท่ีเลือกพัฒนา อยางเหมาะสม

และมีระบบสนับสนุนจากท้ังภาครัฐและเอกชน อาทิ รพ.แม

ขาย มูลนิธิ องคกรเอกชนฯ

๕ คะแนน=

ดําเนินการครบ ๕ขอ

๔ คะแนน=

ดําเนินการ ๔ขอ

๓ คะแนน=

ดําเนินการ ๓ ขอ

๒ คะแนน=

ดําเนินการ ๒ขอ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 47: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๓

๔. มีการจัดระบบบริการตามหลักเวชศาสตรครอบครัว ผาน

กระบวนการพัฒนาตางๆ อาทิ KM, CBL ฯลฯ มีเวที

แลกเปลี่ยนเรียนรูระดับ CUP เติมทักษะสวนขาดใหกับ ภาคี

ทุกภาคสวน อยางสมํ่าเสมอ

๕. มีการสรุปถอดบทเรียนการพัฒนาเปนเอกสารและเผยแพร

ในระดับอําเภอ และอ่ืนๆ

๔. ทีมรวมออก

ติดตาม กํากับ

นิเทศประเมินผล

๑. กําหนดตัวชี้วัดรวมกันตามความเหมาะสมของพ้ืนท่ี

๒. มีแผนออกประเมิน นิเทศ ติดตามความกาวหนาและ

ความสําเร็จของโครงการ

๓. ออกประเมิน นิเทศ ติดตามความกาวหนาของโครงการ

อยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอ

๔. สรุปผลการดําเนิน/ผลสําเร็จโครงการ เม่ือเปรียบเทียบกับ

เปาหมายหรือวัตถุประสงค โดยทุกภาคสวนรับทราบ

ความสําเร็จของโครงการรวมกัน

๕. มีการพิจารณาหาแนวทางรวมกันสรางมาตรการเพ่ือให

ประชาชนเกิดตระหนัก ถึงการมีสวนรวมในโครงการใหเกิด

ความยั่งยืน

๕ คะแนน=ดําเนินการ

ครบ ๕ขอ

๔ คะแนน=ดําเนินการ

๔ขอ

๓ คะแนน=ดําเนินการ

๓ ขอ

๒ คะแนน=ดําเนินการ

๒ขอ

๑ คะแนน=ดําเนินการ

๑ ขอ

๐ คะแนน=ยังไม

ดําเนินการ

๕.ผลงานสามารถ

ประยุกตขยายผล

ไปพ้ืนท่ีอ่ืนได

๑.มีการพัฒนาสอดคลองกับบริบทของแตละพ้ืนท่ี นําไปสูการ

ปรับเปลี่ยนวิธีคิดและการออกแบบวิธีทํางานใหมอยางตอเนื่อง

สูการเปลี่ยนแปลงของระบบท่ีมีความยั่งยืน

๒. ผลลัพธท่ีเกิดข้ึนเปนประโยชนกับกลุมเปาหมายในวงกวาง

(งานบริการของ รพ./รพ.สต./ ชุมชน

๓.มีการขยายเครือขายการพัฒนาไปสูกลุม ชมรม มีศูนยเรียนรู

การจัดการทรัพยากรภายในเครือขายอําเภอ / พัฒนา

เชื่อมโยงการดําเนินงานสู ศาลาสุขภาพชุมชน/ศูนยสุขภาพ

ชุมชนเมือง(ศสม.)

๔.ประชาชนมีสวนรวมในการเฝาระวัง ดูแลปญหาครอบครัว

ชุมชน และทองถ่ิน สามารถดูแลสุขภาพตนเองได (Self care)

๕. สามารถยกระดับเปนแหลงเรียนรู และถายทอดความรูไดใน

อําเภอตนเอง และขยายผลไปปฏิบัติในพ้ืนท่ีอ่ืนได

๕ คะแนน=

ดําเนินการครบ ๕ขอ

๔ คะแนน=

ดําเนินการ ๔ขอ

๓ คะแนน=

ดําเนินการ ๓ ขอ

๒ คะแนน=

ดําเนินการ ๒ขอ

๑ คะแนน=

ดําเนินการ ๑ ขอ

๐ คะแนน=ยังไม

ดําเนินการ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 48: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๔

๖.ผลงานเดน

และนวตกรรมท่ี

เกิดจาก ODOP

๑.ผลงานเดนสอดคลองกับปญหาในพ้ืนท่ี สามารถนําไปใช

แกไขปญหาภาวะสุขภาพของประชาชนไดจริง

๒.มีกระบวนการพัฒนา กลวิธีในการดําเนินงาน

๓.การมีสวนรวมของภาคีภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน

๔.มีผลลัพธ (output outcome impact)

๕.เปนศูนยแลกเปลี่ยนเรยีนรู

๕คะแนน=

ดําเนินการครบ ๕ขอ

๔ คะแนน=

ดําเนินการ ๔ขอ

๓ คะแนน=

ดําเนินการ ๓ขอ

๒ คะแนน=

ดําเนินการ ๒ขอ

๑ คะแนน=

ดําเนินการ ๑ ขอ

๐ คะแนน=ยังไม

ดําเนินการ

รวม ๓๐ คะแนน

๒. การประเมินระบบหมอครอบครัว

ประเด็นการประเมินระบบหมอครอบครัว คะแนน

๑. โครงสรางหมอครอบครัว

๑.๑ นสค.มีการออกแบบจัดระบบบริการรวมกันระหวาง รพ.กับ รพ.สต(๕คะแนน)

๑.๒ มีผังโครงสรางหมอครอบครัวระดับอําเภอ ในโครงสรางประกอบดวยแพทยท่ีปรึกษา

ท่ีดูแล นสค.นสค.ดูแล อสม.ก่ีหลังคาเรือน (๒.๕ คะแนน)

๑.๓ มีผังโครงสรางหมอครอบครัวระดับตําบล ในโครงสรางประกอบดวย ขอมูลแพทยท่ี

ปรึกษา นสค.และ อสม.(๒.๕ คะแนน)

๑๐

๒. การรับรูการเปนเจาของหมอครอบครัว/บทบาทหนาท่ี(เก็บขอมูลโดยการสัมภาษณ)

๒.๑ อสม.รับรูวามีแพทยท่ีปรึกษา มี นสค. คือใคร อสม.รับรูวามี ประชาชนรับผิดชอบก่ี

คน(๕ คะแนน)๒.๒ ประชาชน รับรูวามีแพทยท่ีปรึกษา มี นสค. มี อสม.ท่ีรับผิดชอบ คือ

ใคร (๕ คะแนน)

๑๐

๓. อสม./นสค. มีเครื่องมือในการดําเนินงานหมอครอบครัวและมีความรูความเขาใจใน

บทบาทและหนาท่ี

๓.๑ อสม.มีเครื่องมือในการดําเนินงานชุมชนตามกลุม WE CAN DO ประกอบดวย ขอมูล

ประชาชนท่ีรับผิดชอบ ขอมูลประชากรตามกลุมวัย แยกกลุมเสี่ยง กลุมปวย และกลุม

๒๐

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 49: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๕

ปกติ ตามปงปองจราจร ๗ ส ีและมีความเขาใจการใชเครื่องมือ(ประเมินจากการสัมภาษณ

ดูเอกสารประกอบ)(๕ คะแนน)

๓.๒ อสม.มีความรูในการดูแลกลุมวัย (สุมจากแบบวัดความรู อสม.) (๑๐ คะแนน)

๓.๓ นสค. มีเครื่องมือในการดูแลสุขภาพประชาชนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ รูสถานะสุขภาพของประชาชน และมีแผนการดูแลประชาชน (ประเมินจากการสัมภาษณ ดูเอกสารประกอบ) (

๕คะแนน)

๔. ระบบบริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชนท่ีไดจากหมอครอบครัว

๔.๑ กิจกรรมการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ(๕ คะแนน)

- มีกิจกรรมการคัดกรองสุขภาพตามกลุมวัยโดย นสค.และอสม..ในพ้ืนท่ีครบทุกกลุมวัย

และอสม./ประชาชน/ผูปวยเรื้อรัง รูสถานะสุขภาพตนเองอยางถูกตอง(ดูเอกสาร/

หลักฐาน/สรุปผลการดําเนินการ)

- กลุมเสี่ยง ไดรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รอยละ ๘๐ (ดูเอกสาร/การจัดกิจกรรม)

๔.๒ กลุมผูปวยเรื้อรังและผูดอยโอกาส(๑๐ คะแนน)

ไดรับการเยี่ยมบานและดูแลจากทีมหมอครอบครัวตามเกณฑท่ีกําหนด(เก็บขอมูลจากการ

สัมภาษณและแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน)

๔.๓ กลุมผูปวยเรื้อรัง และผูดอยโอกาส ไดรับการดูแลสุขภาพจากภาคีเครือขาย (๑๐ คะแนน) โดยการประสานของหมอครอบครัว(เก็บขอมูลจากการสัมภาษณและแบบประเมินผลการ

ปฏิบัติงาน)

๒๕

๕. พ้ืนท่ีมีนวัตกรรม การพัฒนาระบบหมอครอบครัว ๕

รวม ๗๐

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 50: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๓

งานสงเสริมสุขภาพและสุขภาพจติ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 51: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๗

ประเด็นหลักที่ ๓ : งานสงเสริมสุขภาพและสุขภาพจิต

ตัวช้ีวัดท่ี ๓ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแมและเด็ก

น้ําหนักคะแนน ๗

ตัวช้ีวัดท่ี ๔ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาวัยเรียนและวัยรุน

น้ําหนักคะแนน ๒

ตัวช้ีวัดท่ี ๕ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาสุขภาพจิต

น้ําหนักคะแนน ๓

ตัวช้ีวัดท่ี ๓ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแมและเด็ก

รหัสตัวช้ีวัด ช่ือตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพ งานอนามัยแมและเด็ก

ระดับตัวช้ีวัด คปสอ. หนวยวัด ระดับ น้ําหนักความสําคัญ

ผูกํากับดูแลตัวช้ีวัด : 1.นางจินตนา รอดออน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 2.นางกันตกนิษฐ ศรีวิเศษ ตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ 3.นางสาวสิริมาพร นาศพัฒน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข

คําอธิบาย : คปสอ. มีการดําเนินงานการจัดบริการอนามัยแมและเด็กใหไดตามมาตรฐานท่ีกรมอนามัยกําหนดภายใตตัวช้ีวัด 6 ตัวดังนี้ 1. ระดับความสําเร็จการดําเนินงานตําบลนมแมเพ่ือสายใยรักแหงครอบครัว 2. รอยละของหญิงตั้งครรภไดรับการฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุครรภ ≤ 12 สัปดาห (ไมนอยกวารอยละ 60) 3. รอยละของหญิงตั้งครรภไดรับบริการฝากครรภคุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ (ไมนอยกวารอยละ 60 ) 4. รอยละของเด็ก 0-5 ปมีพัฒนาการสมวัย ( ไมนอยกวารอยละ 85 ) 5. รอยละของเด็กตั้งแตทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือนแรก มีคาเฉลี่ยกินนมแมอยางเดียว ( ไมนอยกวา รอยละ 50 ) 6. รอยละของ รพ.สต.ใหบริการคลินิกเด็กดีคุณภาพ (WCC) ( ไมนอยกวารอยละ 50 )

1. ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานตําบลนมแมเพ่ือสายใยรักแหงครอบครัว คํานิยาม

ตําบลนมแม หมายถึง ตําบลท่ีมีกระบวนการ ปกปอง สงเสริม และสนับสนุนการเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางมีสวนรวมของชุมชน โดยมีภาคีเครือขายภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุน ชวยเหลือกระตุนใหเกิดการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และเปนแหลงเรียนรูแกชุมชนอ่ืนๆ

ตําบลเปาหมาย หมายถึง ตําบลท่ีนํากระบวนการเลี้ยงลูกดวยนมแม (กอด สัมผัส พูดคุย ลิ้มรส แววตา รอยยิ้มของแมใหเวลาดูแล) สรางความรัก ความอบอุน ใหเกิดสายใยรักสายใยความผูกพันในครอบครัว จะสงผลใหเด็กเติบโตเปนคนดีมีคุณภาพ โดยการมีสวนรวมของชุมชน ทองถ่ิน ซ่ึงมีภาคีเครือขายภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนชวยเหลือกระตุนใหเกิดการดําเนินงานอยางตอเนื่องยั่งยืนและเปนแหลงเรียนรูแกชุมชน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 52: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๘

อ่ืนๆ และสมัครเขารวมโครงการในป ๒๕๕๗ ประเมินรับรองโดยคณะกรรมการระดับจังหวัด หลักเกณฑ การขอรับการประเมินรับรอง ประกอบดวย 1. ข้ันตอนการประเมินระดับจังหวัดและระดับเขต 1. ตําบลท่ีเขารวมโครงการฯ ดําเนินการตามมาตรฐานเกณฑตําบลนมแม 2. ดําเนินการตามมาตรฐานเกณฑตําบลนมแมและเม่ือพรอมแจงทีมประเมินระดับจังหวัดขอรับประเมินรับรอง 3. ระยะเวลาการขอประเมินรับรอง เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 3.1 แจงการขอรับการประเมิน 3.2 ปรับปรุงแกไขครั้งท่ี 1 (ปรับปรุงแกไขภายในเวลา 1 เดือน) หลังไดรับผลการประเมิน 3.3 ปรับปรุงแกไขครั้งท่ี 2 (ปรับปรุงแกไขภายในเวลา 1 เดือน) หลังไดรับผลการประเมิน 4. ทีมศูนยอนามัย สุมประเมินตําบลท่ีผานการรับรองโดยจังหวัด 5. ตําบลท่ีผานการรับรองจะไดรับใบประกาศนียบัตรเกียรติคุณจากศูนยอนามัยท่ี 7 อุบลราชธานี 2. เกณฑประเมินตําบลนมแมฯ ตําบลนมแมเพ่ือสายใยรักแหงครอบครัว หมายถึง ตําบลเปาหมายท่ีผานเกณฑการประเมิน 6 ขอคือ

1. ตําบลหรือชุมชนท่ีมีแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตรเพ่ือสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแมและพัฒนาการเด็ก 2. ตําบลหรือชุมชนมีขอมูลและการเฝาระวังเพ่ือการสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแมฝากทองเร็วและ

พัฒนาการเด็ก 3. ตําบลหรือชุมชนประกาศกติกาสังคมเพ่ือการ “สงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแมและพัฒนาการเด็ก 4. อัตราการเลี้ยงลูกดวยนมแมเพ่ิมเปนรอยละ 60 และพัฒนาการเด็กรอยละ 90 5. มีกรรมการ/คณะทํางานในการดําเนินงานของตําบล/ มีกองทุนจัดกิจกรรมและชวยเหลือ 6. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กผานเกณฑประเมินศูนยเด็กเล็กคุณภาพ

3. ยุทธศาสตร “ตําบลนมแม” เพ่ือสายใยรักแหงครอบครัว 1. พัฒนาความรูการเลี้ยงลูกดวยนมแมแกภาคีเครือขายท่ีเก่ียวของทุกระดับ

2. พัฒนาระบบบริการฯ ขอมูลและการสงตอเพ่ือการสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแม 3. สรางการมีสวนรวมของทองถ่ินและชุมชน 4. สรางกระแสสังคม เผยแพรประชาสัมพันธความรู “นมแม” 5. สรางและพัฒนาระบบ ควบคุม กํากับ ติดตามและประเมินผลโครงการฯ

เกณฑการใหคะแนน :

กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 7 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 53: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๔๙

ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone)

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 3

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 5

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 7

0.2 0.4 0.6 0.8 1

กระบวนการข้ันตอนการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี กระบวนการดําเนินงาน เกณฑการประเมิน

1 ความสําเร็จของการทํางานอนามัยแมและเด็ก - มีคณะกรรมการดําเนินงาน MCH Board ระดับอําเภอ - มีแผนการดําเนินงาน - มีการดําเนินงานตามแผน - สรุปผล/วิเคราะหการดําเนินงาน - นําสวนขาด/ทําแผนพัฒนาในปตอไป

2 ตําบลหรือชุมชนท่ีมีแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตรเพ่ือสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแมและพัฒนาการเดก็

3 ตําบลหรือชุมชนมีขอมูลและการเฝาระวังเพ่ือการสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแมฝากทองเร็วและพัฒนาการเด็ก

ผานเกณฑ 3 ขอ คะแนน 0.2

4 ตําบลหรือชุมชนประกาศกติกาสังคมเพ่ือการ “สงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแมและพัฒนาการเด็ก

ผานเกณฑ 4 ขอ คะแนน 0.4

5 อัตราการเลี้ยงลูกดวยนมแมเพ่ิมเปนรอยละ 60 และพัฒนาการเด็กรอยละ 90

ผานเกณฑ 5 ขอ คะแนน 0.6

6 มีกรรมการ/คณะทํางานในการดําเนินงานของตําบล/ มีกองทุนจัดกิจกรรมและชวยเหลือ

ผานเกณฑ 6 ขอ คะแนน 0.8

7 ศูนยพัฒนาเด็กเล็กผานเกณฑประเมินศูนยเด็กเล็กคุณภาพ ผานเกณฑ 7 ขอ คะแนน 1

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล

1 แบบประเมินตําบลนมแมเพ่ือสายใยรักแหงครอบครัว 2 สรุปผลการดําเนินงานตําบลนมแมเพ่ือสายใยรักแหงครอบครัว 3 รวบรวมจากผลการพิจารณาตัดสินของทีมประเมิน ระดับจังหวัด ระดับเขต

2. รอยละของหญิงตั้งครรภไดรับการฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุครรภ ≤ 12 สัปดาห (ไมนอยกวารอยละ 60)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 54: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๐

คํานิยาม หญิงตั้งครรภ หมายถึง หญิงตั้งครรภทุกรายท่ีอาศัยในเขตรับผิดชอบ และนอกเขตรับผิดชอบท่ีมาใช

บริการในสถานบริการสาธารณสุขนั้นๆ หญิงตั้งครรภ ฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุ ≤ 12 สัปดาห หมายถึง หญิงตั้งครรภท่ีมาฝากครรภครั้งแรก

เม่ืออายุครรภกอนหรือเทากับ 12 สัปดาห ณ สถานบริการนั้นๆ ในชวงระยะท่ีกําหนด (บันทึกท่ีหองฝากครรภ)

เกณฑการใหคะแนน : พิจารณาผลการดําเนินงานจากขอมูลในโปรแกรม 43 แฟม และ Data Center สํานักงาน

สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดังนี้

ระดับคะแนน ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

0.2 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุ ≤ 12 สัปดาห < รอยละ 45 0.4 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุ ≤ 12 สัปดาห รอยละ 45 – 49.9 0.6 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุ ≤ 12 สัปดาห รอยละ 50 – 54.9 0.8 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุ ≤ 12 สัปดาห รอยละ 55 – 59.9 1 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุ ≤ 12 สัปดาห ≥ รอยละ 60

หมายเหตุ แหลงขอมูล รพท./รพช./รพสต. ท่ีใชฐานขอมูล 21 หรือ 43 แฟม สูตรคํานวณตัวช้ีวัด

(A/B) x 100 A = จํานวนหญิงตั้งครรภ ท่ีผานเกณฑการฝากครรภครั้งแรกเม่ืออายุครรภ ≤ 12 สัปดาห (นับท่ี ANC) ในป 2557 B = จํานวนหญิงตั้งครรภ ท่ีมาฝากครรภครั้งแรกท้ังหมดท่ีสถานบริการนั้นๆ (นับท่ี ANC) ป 2557 3. รอยละของหญิงตั้งครรภไดรับบริการฝากครรภคุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ (ไมนอยกวารอยละ 60 ) คํานิยาม

หญิงตั้งครรภ หมายถึง หญิงตั้งครรภทุกราย ท่ีมาฝากครรภท่ีสถานบริการสาธารณสุขนั้นๆ การฝากครรภคุณภาพ หมายถึง การบริการฝากครรภในหญิงตั้งครรภรายปกติ ท่ีไมมีความเสี่ยง โดย

ผานการคัดกรองและประเมินความเสี่ยง พรอมไดรับความรูตามมาตรฐานโรงเรียนพอแม ซักประวัติ ตรวจรางกาย ตรวจทางหองปฏิบัติการ ไดรับวิตามินตามสิทธิประโยชน และหญิงตั้งครรภท่ีไดรับการประเมินไมอยูในกลุมเสี่ยงไดมาฝากครรภตามนัด จํานวน ๕ ครั้งดังนี้

การนัดครั้งท่ี 1 เม่ืออายุครรภ ≤ 12 สัปดาห การนัดครั้งท่ี 2 เม่ืออายุครรภ 18 สัปดาห ± 2 สัปดาห การนัดครั้งท่ี 3 เม่ืออายุครรภ 26 สัปดาห ± 2 สัปดาห การนัดครั้งท่ี 4 เม่ืออายุครรภ 32 สัปดาห ± 2 สัปดาห

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 55: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๑

การนัดครั้งท่ี 5 เม่ืออายุครรภ 38 สัปดาห ± 2 สัปดาห เกณฑการใหคะแนน :

พิจารณาผลการดําเนินงานจากขอมูลในโปรแกรม 43 แฟม และ Data Center สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดังนี้

ระดับคะแนน ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

0.4 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภคุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ < รอยละ 45 0.8 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภคุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ รอยละ 45 – 49.9 1.2 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภคุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ รอยละ 50 – 54.9 1.6 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภคุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ รอยละ 55 – 59.9 2 หญิงตั้งครรภ ฝากครรภคุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ ≥ รอยละ 60

หมายเหตุ แหลงขอมูล รพท./รพช./รพสต. ท่ีใชฐานขอมูล 21 หรือ 43 แฟม สูตรคํานวณตัวช้ีวัด

(A/B) x 100 A = จํานวนหญิงตั้งครรภท่ีไดรับการประเมินไมอยูในกลุมเสี่ยง ท่ีมาฝากครรภคุณภาพ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ (นับท่ีหองคลอด) ในป ๒๕๕๗ B = จํานวนหญิงตั้งครรภท่ีไมอยูในกลุมเสี่ยงท้ังหมด ท่ีมาฝากครรภท่ีสถานบริการนั้นๆ (นับท่ีหองคลอด) ในป 2557 4. รอยละของเด็ก 0-5 ปมีพัฒนาการสมวัย ( ไมนอยกวารอยละ 85 )

คํานิยาม เด็กท่ีมีพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กแรกเกิด – 5 ป ท่ีไดรับประเมินพัฒนาการตามเกณฑกรมอนามัย

และผานทุกขอ แบบประเมินอนามัย 55 หมายถึง แบบคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยท่ีใชเพ่ือเฝาระวังติดตาม

พัฒนาการเด็กและใหคําแนะนําแกครอบครัว สงเสริมใหเด็กท่ีมีพัฒนาการสมวัย สามารถ download แบบประเมินไดท่ีเวปไซตโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว http://www.saiyairakhospital.comสถานบริการฯ ท่ีประเมินเด็กคือ รพ.สต., รพช.,รพท., และศูนยเด็กเล็ก เกณฑการใหคะแนน :

พิจารณาผลการดําเนินงานจากขอมูลในโปรแกรม 43 แฟม และ Data Center สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดังนี้

ระดับคะแนน ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

0.2 เด็กแรกเกิด – 5 ป มีพัฒนาการสมวัย < รอยละ 70 0.4 เด็กแรกเกิด – 5 ป มีพัฒนาการสมวัย รอยละ 70 – 74.9 0.6 เด็กแรกเกิด – 5 ป มีพัฒนาการสมวัย รอยละ 75 – 79.9 0.8 เด็กแรกเกิด – 5 ป มีพัฒนาการสมวัย รอยละ 80– 84.9 1 เด็กแรกเกิด – 5 ป มีพัฒนาการสมวัย รอยละ 85

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 56: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๒

หมายเหตุ แหลงขอมูล รพท./รพช./รพสต. ท่ีใชฐานขอมูล 21 หรือ 43 แฟม ประชากรกลุมเปาหมาย เด็กแรกเกิด – 5 ป (5 ป 11 เดือน 29 วัน) ท่ีมารับบริการท่ีคลินิกเด็ก และศูนยเด็กเล็ก สูตรคํานวณตัวช้ีวัด

(A/B) x 100 A = จํานวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ป ท่ีไดรับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ B = จํานวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ป ในเขตรับผิดชอบท้ังหมด 5. รอยละของเด็กตั้งแตทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือนแรก มีคาเฉล่ียกินนมแมอยางเดียว (ไมนอยกวา รอยละ 50 ) คํานิยาม

ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือน หมายถึง ทารกแรกเกิดจนถึง 5 เดือน 29 วัน ในเขตรับผิดชอบท้ังหมด

กินนมแมอยางเดียว 6 เดือน หมายถึง เด็กแรกเกิด ต่ํากวา 6 เดือน (แรกเกิดจนถึง 5 เดือน 29 วัน) ใน 24 ชั่วโมงท่ีผานมากินนมแมอยางเดียว (ถามดวยคําถาม 24 ชั่วโมง ท่ีผานมาใหลูกกินอะไรบาง แลวนับเฉพาะแมท่ีตอบวากินนมแมอยางเดียว) เกณฑการใหคะแนน :

พิจารณาผลการดําเนินงานจากขอมูลในโปรแกรม 43 แฟม และ Data Center สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดังนี้

ระดับคะแนน ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

0.2 ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือน มีคาเฉลี่ยกินนมแมอยางเดียว < รอยละ 35 0.4 ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือน มีคาเฉลี่ยกินนมแมอยางเดียว รอยละ 35 – 39.9 0.6 ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือน มีคาเฉลี่ยกินนมแมอยางเดียว รอยละ 40 – 44.9 0.8 ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือน มีคาเฉลี่ยกินนมแมอยางเดียว รอยละ 45 – 49.9 1 ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือน มีคาเฉลี่ยกินนมแมอยางเดียว ≥ รอยละ 50

หมายเหตุ แหลงขอมูล รพท./รพช./รพสต. ท่ีใชฐานขอมูล 21 หรือ 43 แฟม ประชากรกลุมเปาหมาย ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือนในเขตรับผิดชอบท้ังหมด สูตรคํานวณตัวช้ีวัด

(A/B) x 100 A = จํานวนทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือน ในเขตรับผิดชอบท้ังหมดท่ีกินนมแมอยางเดียวภายใน 24 ชั่วโมง ในชวงเวลาท่ีกําหนด B = จํานวนทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ํากวา 6 เดือนในเขตรับผิดชอบท้ังหมดในชวงเวลาเดียวกัน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 57: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๓

6. รอยละของ รพ.สต.ใหบริการคลินิกเด็กดี (WCC) คุณภาพ ( ไมนอยกวารอยละ 50 )

คํานิยาม คลินิกเด็กดี (WCC) คุณภาพ หมายถึง การบริการท่ีจัดใหแกเด็ก 0-5 ป ตามขอกําหนดของกรม

อนามัยจัดทําข้ึนโดยขอเสนอแนะของคณะทํางานวิชาการโครงการสายใยรักแหงครอบครัว ใน 10 กิจกรรมท่ีจะสงเสริมพัฒนาใหเด็กมีการเจริญเติบโตพัฒนาการสมวัย คือ

1. มีการซักประวัติเก่ียวกับการตั้งครรภ การคลอดและการเลี้ยงดูเด็ก 2. มีการประเมินการเจริญเติบโต ชั่งน้ําหนัก วัดสวนสูง วัดรอบศีรษะ ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แจงและอธิบายผลการประเมินท้ังภาวะการเจริญเติบโต แนวโนมตามวัย และจายยาน้ําเสริมธาตุเหล็กสําหรับทารกอายุ 6 เดือนถึง 3 ป 3. ประเมินความเสี่ยงของมารดาในโรคพันธุกรรม TSH, Thal, ดาวนซินโดรม,โรคหัวใจ การตั้งครรภไมพรอม 4. ประเมินความพรอมของมารดาในการเลี้ยงลูกดวยนมแมและการเลี้ยงดูเด็ก 5. การคัดกรองและสงเสริมพัฒนาการเด็กโดยอนามัย 55 และแนะนําการเลี้ยงดูเด็ก ดวยสมุดบันทึกสุขภาพ แมและเด็ก 6. เด็กท่ีมีพัฒนาการลาชาใหประเมินโดยเครื่องมือ TDSI พรอมสอนผูเลี้ยงดูใหกระตุนพัฒนาการ และนัดประเมินซํ้าภายใน 1 เดือน หากภายใน 3 เดือนเด็กยังมีพัฒนาการลาชา ใหสงตอกุมารแพทยและแพทยผูเชี่ยวชาญ เพ่ือวินิจฉัยและรักษา 7. มีการตรวจรางกายและตรวจทางหองปฏิบัติการตามชวงอายุ 8. มีการตรวจพิเศษตามชวงอายุ เชน การวัดความดันโลหิต ภาวะซีด 9. ใหวัคซีนตามชวงอายุและสังเกตอาการผิดปกติหลังการให 30 นาที 10. ใหความรูตามแนวทางโรงเรียนพอแมและการใชสมุดบันทึกสุขภาพในการดูแลตนเองและบุตรพรอมบันทึก

เกณฑการใหคะแนน :

ระดับคะแนน

ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

0.2 รพ.สต.ใหบริการตามมาตรฐาน WCC คุณภาพ < รอยละ 20 0.4 รพ.สต.ใหบริการตามมาตรฐาน WCC คุณภาพ รอยละ 20 – 29.9 0.6 รพ.สต.ใหบริการตามมาตรฐาน WCC คุณภาพ รอยละ 30 – 39.9 0.8 รพ.สต.ใหบริการตามมาตรฐาน WCC คุณภาพ รอยละ 40 – 49.9 1 รพ.สต.ใหบริการตามมาตรฐาน WCC คุณภาพ ≥ รอยละ 50

หมายเหตุ เกณฑเปาหมาย ไมนอยกวารอยละ 50 ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลท้ังหมดของแตละอําเภอ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 58: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๔

สูตรคํานวณตัวช้ีวัด

(A/B) x 100 A = จํานวนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลท่ีใหบริการตามมาตรฐาน WCC คุณภาพ B = จํานวนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลท้ังหมดในอําเภอ

ตัวช้ีวัดที่ ๔ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาวัยเรียนและวัยรุน

รหัสตัวช้ีวัด ช่ือตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไข

ปญหาวัยเรียนและวัยรุน

ระดับตัวช้ีวัด คปสอ. หนวยวัด ระดับ น้ําหนักความสําคัญ ผูกํากับดูแลตัวช้ีวัด : 1.นางจินตนา รอดออน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 2.นางรจนา ภูมิแสน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ 3.นางกันตกนิษฐ ศรีวิเศษ ตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ

คําอธิบาย : ระดับความสาํเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาวัยเรียนและวัยรุน มี 2 ตัวช้ีวัดยอย ดังนี้

1.โรงเรียนผานเกณฑมาตรฐานในโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร คํานิยาม โรงเรียนผานเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร หมายถึง โรงเรียนสงเสริมสุขภาพ ระดับทองท่ีเขารวมโครงการและผานการประเมินรับรองตามเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับ เพชรจากทีมประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชรตามคําสั่งแตงตั้งของกรมอนามัย ประกอบดวย บุคลากรฝายสาธารณสุข บุคลากรฝายการศึกษา และบุคลากรท่ีเก่ียวของท่ีผานการอบรมพัฒนาศักยภาพ ทีมประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร เกณฑการใหคะแนน :

กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 4 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี ้

ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone)

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 3

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5

0.2 0.4

0.6

0.8

1

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 59: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๕

กระบวนการข้ันตอนการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี กระบวนการดําเนินงาน เกณฑการประเมิน

1 มีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับอําเภอ

1.สําเนาคําสั่งแตงตั้งคณะกรรม การประเมินโรงเรยีนสงเสรมิสุข ภาพระดับอําเภอ 2.สรุปการประชุมคณะกรรมการฯ

2 บุคลากรฝายสาธารณสุข และฝายการศึกษาผานการอบรมการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ

1.มีทะเบียนรายชื่อผูเขารับการ อบรม

3 มีการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับทองแดง ระดับเงิน และระดับทอง ( อําเภอ ) ท่ีเขารวมโครงการฯ

1.มีสรุปผลการประเมินโรงเรียน สงเสริมสุขภาพระดับทองแดง ระดับเงิน และ ระดับทอง ( อําเภอ) 2.ใบประกาศโรงเรยีนสงเสริม สุขภาพ ระดับทองแดง ระดับ เงินและระดับทอง

4 มีโรงเรียนผานเกณฑประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร ในระดับจังหวัด อยางนอยอําเภอละ จํานวน 1 แหง ( ในปงบประมาณ )

1.มีสรุปผลการประเมินโรงเรียน สงเสริมสุขภาพระดับเพชร (จังหวัด) 2..ใบประกาศโรงเรยีนสงเสริม สุขภาพระดับเพชร (จังหวัด) 3.รูปภาพประกอบ

5 มีโรงเรียนผานเกณฑประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ ระดบัเพชร ในระดับเขต /กรม ( ในปงบประมาณ )

1.มีสรุปผลการประเมินโรงเรียน สงเสริมสุขภาพระดับเพชร (เขต/กรม) 2.ใบประกาศโรงเรยีนสงเสริม สุขภาพระดับเพชร (เขต/กรม) 3.รูปภาพประกอบ

2. รอยละอําเภอท่ีผานการประเมินมาตรฐานอําเภออนามัยการเจริญพันธุ คํานิยาม อําเภออนามัยการเจริญพันธุ หมายถึง อําเภอท่ีดําเนินงานเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ ในวัยรุนและเยาวชน โดยบูรณาการเสริมสรางความเขมแข็งขององคกรพ้ืนท่ีท้ังสถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษา ครอบครัวและชุมชน โดยมีแนวทางการดําเนินงานท่ีสอดคลองและมีเอกภาพ เพ่ือสงเสริม ใหวัยรุนและเยาวชน มีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุท่ีเหมาะสมและปองกันการตั้งครรภในวัยรุนและ เยาวชนอยางครอบคลุม

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 60: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๖

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้

ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone)

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 3

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5

0.2 0.4

0.6

0.8

1

กระบวนการข้ันตอนการดําเนินงาน

ข้ันตอนท่ี

กระบวนการดําเนินงาน เกณฑการประเมิน

1 มีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานอําเภออนามัย

เจริญพันธุระดับอําเภอ

1.เอกสาร คําสั่งแตงตั้งทีม 2.มีการประชุมและบันทึกการประชุม

2 บุคลากรฝายสาธารณสุข และฝายการศึกษาผานการ

อบรมการอนามัยเจริญพันธุ

1.มีทะเบียนผูผานการอบรม การการอนามัยเจริญพันธุ

3 โรงพยาบาลผานการรับรองโรงพยาบาลท่ีจัดบริการท่ีเปน

มิตรสําหรับวัยรุนและเยาวชน ( YFHS )

1.สรุปผลการประเมินรับรองโรงพยาบาลท่ีจัดบริการท่ีเปน มิตรสําหรับวัยรุนและเยาวชน ( YFHS)

4 มีการสงตอขอมูลการใหบริการระหวางเครือขายบริการ

โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

1.มีทะเบียนการสงตอ 2.มีทะเบียนการติดตามเยี่ยม บาน

5 มีกิจกรรมกิจกรรมการดําเนินงานอําเภออนามัยวัยเจริญ

พันธุตามเกณฑ

1.มีแผนงาน/โครงการฯ 2.สรุปผลการดําเนินงาน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 61: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๗

ตัวช้ีวัดที่ ๕ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาสุขภาพจิต

รหัสตัวช้ีวัด ช่ือตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาสุขภาพจิต

ระดับตัวช้ีวัด คปสอ. หนวยวัด ระดับ น้ําหนักความสําคัญ ผูกํากับดูแลตัวช้ีวัด : 1.นางจินตนา รอดออน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 2.นางจินตนา พลมีศักดิ์ ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ

คําอธิบาย : ระดับความสาํเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาสุขภาพจิต มี 3 ตัวช้ีวัดยอย ดังนี้

1. มีศูนยใหคําปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเช่ือมโยงกับระบบชวยเหลือ คํานิยาม ศูนยใหคําปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หมายถึง หนวยบริการระดับโรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชนท่ีมีการจัดบริการดูแลชวยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุมวัย ครบท้ัง 4 ดานดังตอไปนี้ 1. ดานบุคลากร: มีผูรับผิดชอบการดูแลสังคมจิตใจ ท่ีไดรับการพัฒนาศักยภาพตามประเด็นสําคัญ 2. ดานบริการ: มีการใชกระบวนการใหการดูแลดานสังคมจิตใจ และ/หรือการใหคําปรึกษาในประเด็น สุรา/ ยาเสพติด ทองไมพรอม ความรุนแรง โรคเรื้อรัง/เอดส มีการสงตอบริการและการติดตาม 3. ดานบูรณาการ: มีการเชื่อมโยงระบบดูแลชวยเหลือในภาคสวนท่ีเก่ียวของ ไดแก การดูแลชวยเหลือนักเรียน ในโรงเรียน (OHOS) , ระบบการชวยเหลือทางสังคมในผูไดรับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัว (OSCC) และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในคลินิกโรคเรื้อรัง 4. ดานสงเสริมปองกัน: มีการจัดการงานสงเสริมปองกันดานสุขภาพจิต สําหรับกลุมปกติ กลุมเสี่ยงตอปญหา เฉพาะ เกณฑการใหคะแนน :

กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี ้

ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone)

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1 2 3 4 5

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 62: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๘

กระบวนการข้ันตอนการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี กระบวนการดําเนินงาน เกณฑการประเมิน

1 บริการการใหคําปรึกษาปญหาท่ัวไป 1.มีทะเบียนการใหคําปรึกษา 2 สถานท่ีใหคําปรึกษาเปนสัดสวน

ผูรับผิดชอบการดูแลสังคมจิตใจท่ีไดรับการพัฒนาศักยภาพ ตามประเด็นสําคัญ

1.มีหองใหคําปรึกษาท่ีเปนสัดสวน 2.มีปายประชาสัมพันธ 3.ผูรับผิดชอบงานผานการอบรมการใหคําปรึกษาเบื้องตน และ/หรือ การใหคําปรึกษาเฉพาะทาง

3 การใชกระบวนการใหการดูแลดานสังคมจิตใจ และ/หรือการใหคําปรึกษาในประเด็น สุรา/ยาเสพติด ทองไมพรอม ความรุนแรง โรคเรื้อรัง/เอดส มีการสงตอบริการและการติดตาม

1.มีคําสั่งแตงตั้งผูใหคําปรึกษา แตละดาน 2.มีทะเบียนและการจดบันทึกการใหการชวยเหลือ 3.มีหนังสือ/บันทึกการสงตอภายในและภายนอก 4.มีบันทึกการติดตาม และรูปภาพ 5.มีการประชุมและบันทึกการประชุมทีมสหวิชาชีพในการใหการชวยเหลือ

4 การบูรณาการเชื่อมโยงระบบดูแลชวยเหลือในภาคสวนท่ีเก่ียวของ ไดแก การดูแลชวยเหลือนักเรียนในโรงเรียน (OHOS) ระบบการชวยเหลือทางสังคมในผูไดรับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัว (OSCC) และการปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมสุขภาพในคลินกิโรคเรื้อรัง

1.มีคําสั่งแตงตั้งคณะทํางานบูรณาการเชื่อมโยงระบบการดูแลชวยเหลือในโรงเรียน (OHOS) ความรุนแรงในครอบครัว (OSCC) และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในคลินิกโรคเรื้อรัง 2.มีบันทึกการประชุม และสรุปผล 3.มีทะเบียนรายงานการใหบริการ 4.มีบันทึกการสงตอภายในและนอก

5 การจัดกิจกรรมดานการสงเสริมปองกันปญหาสุขภาพจิต สําหรับกลุมปกติ กลุมเสี่ยงตอปญหาเฉพาะ

1.มีแผนงาน/กิจกรรมดานการสงเสริมปองกันปญหาสุขภาพจิตสําหรับกลุมปกติ กลุมเสี่ยงตอปญหาเฉพาะ 2.เอกสารสรุปผลการดําเนินงานและรูปภาพ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 63: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๕๙

2.อําเภอที่มีทีม MCATT คุณภาพ

คํานิยาม ทีม MCATT : Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (ทีมใหการชวยเหลือ เยียวยาจิตใจผูประสบภาวะวิกฤต) หมายถึง ทีมสหวิชาชีพท่ีใหการชวยเหลือทางดานจิตใจผูประสบภาวะวิกฤต ไดแก แพทย พยาบาลจิตเวช เภสัชกร นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห นักวิชาการสาธารณสุข ผูรับผิดชอบงาน ดานสุขภาพจิต และผูท่ีเก่ียวของ ทีม MCATT ในระดับอําเภอ หมายถึง ทีม MCATT ประจาพ้ืนท่ีในระดับอําเภอ ประกอบดวย สานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลทีม MCATT ท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน หมายถึง ทีม MCATT ท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน ตามคูมือ “มาตรฐานทีมใหการชวยเหลือ เยียวยาจิตใจผูประสบภาวะวิกฤต” วิกฤตสุขภาพจิต หมายถึง ภาวะเสียสมดุลทางอารมณและจิตใจจาก สถานการณหรือเหตุการณวิกฤตท่ีเกิดข้ึน ทําใหเกิดความวาวุน สับสน และความผิดปกติท่ีคนเราไมสามารถจะ ใชวิธีคิดและการปฏิบัติท่ีเคยใชไดในภาวะปกติ โดยเกิดจากภัยพิบัติท้ังท่ีเกิดจากภัยธรรมชาติและเกิดจากการ กระทําของมนุษย ภัยพิบัติ หมายถึง เหตุการณหรือปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนอยางฉับพลันท่ีกอใหเกิดผลกระทบท่ีมีอันตรายรุนแรงตอบุคคล ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับประเทศชาติ ซ่ึงตองการความชวยเหลือโดยความรวมมือ จากหลายหนวยงานเพ่ือ ใหกลับฟนคืนสูสภาพปกติ ภัยพิบัติ แบงเปน 2 ประเภท คือ 1) ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ไดแก อุทกภัย โคลนถลม วาตภัย คลื่นสึนามิ การเกิดไฟปา แผนดินไหว และโรคระบาด เปนตน 2) ภัยพิบัติจาก การกระทําของมนุษย ไดแก การเกิดอุปทานหมู อุบัติเหตุหมู ไฟไหม สถานการณความไมสงบในพ้ืนท่ีจังหวัด ชายแดนใต สถานการณวิกฤตทางการเมือง กรณีจับตัวประกัน กรณีการพยายามทํารายตัวเอง การรั่วไหลของ สารเคมี เปนตน เกณฑการใหคะแนน :

กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ

พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี ้

ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone)

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1 2

3

4

5

กระบวนการข้ันตอนการดําเนินงาน ข้ันตอนท่ี กระบวนการดําเนินงาน เกณฑการประเมิน

1 โครงสรางการบังคับบัญชา ไดแก มีคําสั่งแตงตั้งทีม หมายถึง

มีคําสั่งแตงตั้งทีมพรอมกําหนดบทบาทหนาท่ีท่ีชัดเจน

1.เอกสาร คําสั่งแตงตั้งทีม 2.มีการประชุมและบันทึก

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 64: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๖๐

การประชุม 2 บุคลากรผานการอบรม หมายถึง มีสมาชิกในทีม MCATT ผาน

การอบรมผานการอบรมความรูเรื่องการพัฒนาศักยภาพทีม

ชวยเหลือเยียวยาจิตใจ (MCATT) อยางนอย 1 คน

1.มีทะเบียนผูผานการอบรมการชวยเหลือเยี่ยวยาจิตใจ

3 แผนปฏิบัติงาน (บทบาท/ Action Plan ) และการปฏิบัติงาน

ตามแผน หมายถึง การมีแผนปฏิบัติงานเพ่ือรองรับสถานการณ

วิกฤตและเม่ือมีสถานการณ สามารถปฏิบัติงานไดตามแผนท่ี

กําหนด

1.มีเอกสาร แผนการปฏิบัติงานเพ่ือรองรับสถานการณวิกฤตและเม่ือมีสถานการณจริง 2.,มีแผนผังแสดงข้ันตอนการใหการชวยเหลือเยียวยาจิตใจผูประสบภาวะวิกฤต สําหรับทีม MCATT ระดับอําเภอ

4 การซอมแผน (บูรณาการรวมกับ DMAT/EMS) หมายถึง การ

ซอมแผนรับมือสถานการณวิกฤต ในรูปแบบการซอมบนโตะ

(Tabletop Exercise) การฝกซอมแผนภาคสนาม (Field

Training Exercise) ท้ังนี้อาจเปนการซอมของเฉพาะทีม

MCATT หรือบูรณาการรวมกับทีมใหการชวยเหลืออ่ืน เชน

DMAT/EMS

1.มีการประชุมทบทวนบทบาทหนาท่ีของทีม 2.มีเอกสารบันทึกการซอมแผน และสรุปผล พรอมรปูภาพ 3.มีหลักฐานแสดงวาไดมีการบูรณาการซอมแผนกับทีมชวยเหลืออ่ืน

5 การรายงานผลและติดตามผูท่ีมีความเส่ียงตอการเกิดปญหา

สุขภาพจิต หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติงานของทีม

และการติดตามดูแลตอเนื่องผูประสบภาวะวิฤตท่ีมีความเสี่ยง

ตอการเกิดปญหาสุขภาพจิตตามแบบฟอรมท่ีกําหนด (ในกรณีท่ี

มีสถานการณวิกฤต)

1.มีรายงานผลการปฏิบัติงานของทีมเม่ือเกิดเห็นการณจริง ภายใน 24 ชม. 2.มีบันทึกการใหการชวยเหลือและการติดตามผล 3.สรุปรายงานตามแบบฟอรมท่ีกําหนด

3.รอยละของผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการ คํานิยาม การเขาถึงบริการ หมายถึง การท่ีประชาชนผูซ่ึงไดรับการวินิจฉัยวา เปนโรคซึมเศรา ไดรับการดูแลรักษาดวย วิธีทางการแพทย ท่ีมีหลักฐานทางวิชาการท่ีพิสูจนวา ไดผลชัดเจน เชน จิตบําบัด เภสัชบําบัด การรักษาดวย ไฟฟาฯลฯ หรือไดรับการชวยเหลือตามแนวทางอยางเหมาะสมจากหนวยบริการทุกสถานบริการของประเทศไทย

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 65: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๖๑

ผูปวยโรคซึมเศรา หมายถึง ประชาชนท่ีเจ็บปวยดวยโรคจิตเวชท่ีมีอาการสอดคลองกับ Depressive Disorder ตามมาตรฐานการจําแนกโรคระหวางประเทศขององคกรอนามัยโลกฉบับท่ี 10 ฉบับปรับปรุงโดยประเทศไทย (ICD-10-TM: International Classification of Diseases and Health Related Problems-10-Thailand Modification) หมวด F32, F33,F34.1,F38, F39 หรือเทียบเคียงในกลุมโรคเดียวกันกับการวินิจฉัยตาม เกณฑวินิจฉัยโรคของสมาคมจิตแพทยอเมริกัน ฉบับท่ี 4 (DSM-IV: Diagnostic and Statistical Manual of Mental disorders IV) ท่ีมารับบรกิารในปงบประมาณ 2557 ท้ังรายเกาและรายใหม เกณฑการใหคะแนน :

ระดับคะแนน ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

1 ผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการ < รอยละ 31

2 ผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการ รอยละ 31 - 40

3 ผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการ รอยละ 41 - 50

4 ผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการ รอยละ 51- 60

5 ผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการ มากกวารอยละ 60

หมายเหตุ แหลงขอมูล รพศ./รพท./รพช./รพสต. ท่ีใชฐานขอมูล 21 หรือ 43 แฟม สูตรคํานวณตัวช้ีวัด

( A/B) x 100 ) A = จํานวนผูปวยโรคซึมเศราท่ีเขาถึงบริการปงบประมาณ 2557 B = จํานวนผูปวยโรคซึมเศราคาดประมาณจากความชุกท่ีไดจากการสํารวจ

วิธีการคํานวณผลการประเมินผลสัมฤทธิ์

ตัวช้ีวัด : ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาสุขภาพจิต (น้ําหนักรวม 3 )

ตัวชี้วัดยอย

น้ําหนัก (Wi )

ระดับการใหคะแนน ( Mi ) คะแนนท่ีได

(Mi )

คะแนน ถวงน้ําหนัก (Wi x Mi )

1 2 3 4 5 1. มีศูนยใหคําปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบชวยเหลือ

1

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 66: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๖๒

2.อําเภอท่ีมีทีม MCATT คุณภาพ

1

3.รอยละของผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการ

1

รวม 3 ∑(Wi x Mi )

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 67: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๔

งานควบคุมโรคไมติดตอ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 68: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๖๓

ประเด็นหลักที่ ๔ : งานควบคมุโรคไมติดตอ

ตัวช้ีวัดท่ี ๖ ระดับความสําเร็จในการควบคุมระดับน้ําตาลในผูปวยโรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิต

ในผูปวยความดันโลหิตสูง ใหอยูในเกณฑท่ีควบคุมได ตามเกณฑท่ีกําหนด น้ําหนักคะแนน ๖

ตัวช้ีวัดท่ี ๗ ระดับความสําเร็จการปองกัน ควบคุม และรักษามะเร็งตับและมะเร็งทอน้ําด ี

น้ําหนักคะแนน ๔

ตัวช้ีวัดท่ี ๖ ระดับความสําเร็จในการควบคุมระดับน้ําตาลในผูปวยโรคเบาหวาน และระดับความดัน

โลหิตในผูปวยความดันโลหิตสูง ใหอยูในเกณฑท่ีควบคุมได ตามเกณฑท่ีกําหนด ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จในการ ควบคุมระดับนํ้าตาลในผูปวยโรคเบาหวาน

และระดับความดันโลหิตในผูปวยความดันโลหิตสูง ใหอยูในเกณฑท่ีควบคุมได ตามเกณฑท่ีกําหนด ( นํ้าหนักคะแนน = 6 คะแนน )

คํานิยาม ระดับคานํ้าตาลอยูในเกณฑท่ีควบคุมได หมายถึง 1.1 คาระดับ HbA1c ครั้งสุดทาย นอยกวารอยละ 7 หรือ 1.2 คาระดับ Fasting Plasma Glucose (FPG) 2 ครั้งสุดทายตดิตอกัน 70 - 130 มก./ดล. โดยเปนคาระดับนาตาลของผูปวยเบาหวานท่ีมารับการตรวจติดตามในคลินิกเบาหวานตามนัดในปงบประมาณ 2557 หมายเหตุ ในการตรวจติดตาม อาจใช Fasting Capillary Glucose แทน FPG ได ควบคุมระดับความดันโลหิตไดตามเปาหมาย หมายถึง 1.1 ในผูปวยความดันโลหิตสูงท่ัวไป ท่ีไมมีเบาหวานรวม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดทายติดตอกัน <140/90 มม.ปรอท. 1.2. ในผูปวยความดันโลหิตสงูท่ีมีเบาหวานรวม มีระดับความดนัโลหิต 2 ครั้งสุดทายติดตอกัน <140/80 มม.ปรอท หมายเหตุ : ป 2557 คาระดบัความดันโลหิตท่ีควบคมุไดในผูปวยเบาหวาน ปรับจาก <130/80 มม.ปรอท เปน<140/80 มม.ปรอท

วิธีการจัดเก็บ บันทึกขอมูลผานระบบโปรแกรมของหนวยบริการ

แหลงขอมลู จากรายงาน 21/43 แฟม หรือระบบคลังขอมูลโรคไมติดตอเรื้อรัง จังหวัดยโสธร

การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคํานวณ)

จากคะแนนท่ีได

เกณฑการใหคะแนน

ระดับความสําเรจ็ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 มีการดําเนินงาน ขอ 1-3 ขอ 1-5 ขอ 1-6 ขอ 1-9 ขอ 1-11

หมายเหตุ รายละเอียดตามแบบประเมิน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวัดยโสธร

Page 69: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๖๔

หนวยงานท่ีประเมิน คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอ

วิธีรายงาน/ความถี่ท่ีจัดเก็บ ทุกเดือน

ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวชี้วัด ชื่อ-สกลุ : นางสงศรี มูลสาร ตําแหนง : นักวิชาการสาธารณสขุชํานาญการ

กลุมงาน/งาน : ควบคุมโรคไมตดิตอ มือถือ : 088 - 5845828 โทร : 045 – 712233 ตอ 130

โทรสาร : 045 - 724718 e-mail : [email protected]

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวัดยโสธร

Page 70: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

65

ระดับความสําเรจ็การควบคุมระดับนํ้าตาลและความดันโลหิตในผูปวยDM /HT ใหอยูในเกณฑท่ีควบคุมได

กลุมงานควบคุมโรคไมติดตอ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ระดับ

ความสําเร็จ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5

รายละเอียด การประเมิน

1.มีคณะกรรมการ/ผูรับผิดชอบงานเพ่ือแกไขปญหา และมีคณะทํางานปองกัน ควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง (NCD Board) 2. มีการกําหนดเปนนโยบายและวางแผนการแกไขปญหาผูปวยDM/HT ท่ีควบคุมระ ดับ น้ําตาล/ระดับความดันโล หิตใหอยูในเกณฑท่ีควบคุมได 3.มีการประชุมคณะกรรมการการดําเนินงานการแกไขปญหาการควบคุมระดับน้ําตาล /ระดับความดันโลหิต อยางนอย 3 ครั้ง/ป

ขอ 1-3 และ 4. มีระบบการจัดการขอมูลกลุมปวยโรคDM/HT ท่ีเปนปจจุบนั สามารถตรวจสอบได 5. กลุมปวย DM/HT มีการประเมินความรุนแรงตามแนวทางการดําเนินงานปงปองจราจรชีวิต 7 ส ี

ขอ 1-5 และ 6.มีการจัดบริการ และสรางความตระหนักในการควบคุมระดับน้ําตาล/ระดับความดันโลหิต ในกลุมปวย DM/HT ตามแนวทางเวชปฏิบัติ( CPG)

ขอ 1-6 และ 7.กลุมปวยโรค DM/HT ไดรับการตรวจทางหองปฏิบัติตามกําหนด ไมนอยกวารอยละ 60 - HbA1c - LDL หรือ Lipid Profile - Microalbuminuria 8. กลุมปวย DM/HT ไดรับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซอน ไมนอยกวา รอยละ 60 (ตา ไต เทา) 9. ผูปวย DM/HT ท่ีมีภาวะแทรกซอนไดรับการรักษา/สงตอ ทุกราย

ขอ 1-9 และ 10. ผูปวยเบาหวานท่ีควบคุมระดับน้ําตาลไดดี ไมนอยกวารอยละ 40 11. ผูปวยความดันโลหิตสูงท่ีควบคุมระดับน้ําตาลไดดี ไมนอยกวารอยละ 50

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวัดยโสธร

Page 71: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

66

งานตรวจคัดกรองมะเร็งตับและมะเร็งทอน้ําดี สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธรประจําป 2557

ช่ือตัวช้ีวัด (เขตและQOF) ระดับความสําเร็จในการปองกัน ควบคุมและรักษามะเร็งตับ และมะเร็งทอน้ําดี (น้ําหนักคะแนน =4)

คํานิยาม ประชาชนกลุมเส่ียงตอมะเร็งตับและทอน้ําดีหมายถึง ประชาชนท่ีมีอายุ40 ป ข้ึนไป( person 1,3 )ท่ีมีประวัติดังตอไปนี้อยางนอย 1ขอ คือ 1.มีประวัติการตรวจอุจจาระพบไขพยาธิใบไมตับ (OV+) 2.มีบุคคลในครอบครัวท่ีมีประวัติปวยหรือเสียชีวิตดวยมะเร็งตับหรือมะเร็งทอน้ําดี 3. มีประวัติปวยเปนไวรัสตับอักเสบบี 4.เปนผูปวยกลุมพิษสุราเรื้อรัง หรือ ตับแข็ง

ผูท่ีผานการคัดกรองมะเร็งทอน้ําดีและมีผลผิดปกติ หมายถึง กลุมเสี่ยงตอมะเร็งตับและทอน้ําดีท่ีไดรับการตรวจอัลตราซาวดโดยแพทยท่ัวไป แลวพบความผิดปกติท่ีสัมพันธตอการเกิดมะเร็งตับและทอน้ําดี คือ dilate duct และ/หรือ Liver mass หมายเหตุ KPI เขตและQOF มี 2 ตัว ดังนี้ 1. ประชาชนกลุมเสี่ยงตอมะเร็งตับและทอน้ําดีไดรับการตรวจ

อัลตราซาวดไมนอยกวารอยละ 60

2. ผูท่ีผานการคัดกรองมะเร็งตับและมะเร็งทอน้ําดีมีผลผิดปกติไดรับการรักษาตอทุกราย

ประชากร กลุมเปาหมาย

ประชาชนอายุ 40 ป ข้ึนไปทุกคน(นับตั้งแตป พ.ศ.2517เปนตนไป)ตองผานการคัดกรองโดยการสัมภาษณกลุมเสี่ยงตามท่ีกําหนดใน คํานิยาม

วิธีเก็บขอมูล

1.จัดเก็บขอมูลตามแบบCCA01,CCA02, CCA05และบันทึกผล การเนินงานในไฟลอิเลคทรอนิคตามระบบขอมูล CASCAP 2.รวบรวมขอมูลดวยไฟลexcel จําแนกรายอําเภอสงจังหวัด

แหลงขอมูล

แบบรายงานตามแบบCCA01,CCA02, CCA05 และระบบ CASCAP

เกณฑการใหคะแนน ระดับความสําเร็จ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 มีการดําเนินงาน ขอ 1-2 ขอ 1-4 ขอ 1-5 ขอ 1-6 ขอ 1-8

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร หนา้

66

Page 72: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

67

หนวยงานท่ีประเมิน

คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอ

วิธีรายงาน/ความถี่ท่ีจัดเก็บ สรุปผลการดําเนินงานรายเดือนทุกเดือน

ผูรับผิดชอบ/ผูประสานงานตัวช้ีวัด ช่ือ-สกุล : นางเกสินี มีชัย ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมงาน: ควบคุมโรคไมติดตอ มือถือ:089-7224543 โทร: 045 - 712233-4 ตอ 130 โทรสาร : 045 – 724718

e – mail : [email protected] ระดับความสําเร็จในการปองกัน ควบคุมและรักษามะเร็งตับและมะเร็งทอน้ําดี

ในประชาชนกลุมเส่ียงตอมะเร็งตับและทอน้ําดีตามเกณฑท่ีกําหนด กลุมงานควบคุมโรคไมติดตอ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

ระดับความสําเร็จ

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5

รายละเอียด การประเมิน

1.มีนโยบายและแนวทางการดําเนินงานท่ีชัดเจน 2.มีแผนงาน/โครงการปองกัน ควบคุมและรักษามะเร็งตับและมะเร็งทอน้ําดี

ขอ 1 - 2และ 3.มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนกลุมเปาหมาย(40ปข้ึนไปทุกคนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ) 4.มีการตรวจคัดกรองกลุมเปาหมายโดยใชเกณฑตามท่ีกําหนดในคํานิยามและจัดเก็บขอมูลตามแบบCCA01,CCA02และCCA05

ขอ 1 –4และ 5.มีการสงรายงานทันตามกําหนด(ทุกเดือนโดยรวบรวมขอมูลดวยไฟลexcel จําแนกรายอําเภอ)และบันทึกผลการเนินงานในไฟลอิเลคทรอนิคตามระบบขอมูล CASCAP

ขอ 1 – 5 และ 6.มีการประชาสัมพันธ รณรงคใหความรูการปองกัน ควบคุมและรักษามะเร็งตับและมะเร็งทอน้ําดี

ขอ 1 – 6และ 7.กลุมเสี่ยงไดรับการคัดกรองมะเร็งตับและมะเร็งทอน้ําดีโดยการอัลตราซาวดไมนอยกวารอยละ 60 8.ผูท่ีผานการคัดกรองมะเร็งทอน้ําดีและมีผลผิดปกติไดรับการรักษาตอ ทุกราย

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร หนา้

67

Page 73: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๕

งานยาเสพติด

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 74: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๖๙

ประเด็นหลักที่ ๕ : งานยาเสพติด

ตัวช้ีวัดท่ี ๘ ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานโครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดระดับอําเภอ

น้ําหนักคะแนน ๕

คําอธิบาย: ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานโครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดระดับอําเภอ หมายถึง ความสามารถในการดําเนินงานปองกันและแก ไขปญหายาเสพติดแบบบูรณาการอยาง มีประสิทธิภาพในภาพรวมอําเภอ ความสําคัญของตัวชี้วัด คือ

1. เปนตัวชี้วัดเฉพาะของยุทธศาสตรหลักกระทรวงสาธารณสุข ประกอบดวย 3 ยุทธศาสตรหลัก ท้ังในดานยุทธศาสตรการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูเสพผูติด ยาเสพติด ยุทธศาสตรการปลุกพลังแผนดินและการปองกัน และ ยุทธศาสตรการควบคุมตัวยาและสารเคมี มีกระบวนการการดําเนินงานท่ีตอบสนองตอการมีสวนรวมของประชาชน มีผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธท่ีกําหนดไวในแผนปฏิบัติการฯ และ มีระบบการบริหารจัดการการแกไขปญหาตามประเด็นความเสี่ยงของการดําเนินงานปญหายาเสพติดตองอยูในระดับท่ีไมสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตของประชาชน และ มีผลสํารวจความพึงพอใจของประชาชน หรือผูรับบริการ โดยเม่ือสิ้นปงบประมาณ สถานการณยาเสพติดจะตองอยูในระดับท่ีไมสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตของประชาชน และมีผลปฏิบัติงานผานเกณฑชี้วัดของงานยาเสพติดและดีข้ึนกวาปท่ีผานมา โดยกําหนดแนวทางการดําเนินงานเปนระดับข้ันตอนของความสําเร็จ (Milestone) และ ประเมินผลสําเร็จจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายในแตละระดับ นิยาม ๑. หนวยงานท่ีเก่ียวของมีการบูรณาการการดําเนินงานในเชิงยุทธศาสตร โดยการบูรณาการแผนงาน/งบประมาณ รวมกันครบตาม 3 ยุทธศาสตรหลักของโครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข ป 2557 คือ 1.1 ยุทธศาสตรการบําบัด รักษา และฟนฟูสมรรถภาพ โดยรวมบูรณาการแผนงาน งบประมาณและการดําเนินงาน ตั้งแตข้ันตอนการคนหา การจําแนกคัดกรอง การบําบัดฟนฟู เนนการติดตามหลังการบําบัดรักษาผลงานตองไมนอยกวารอยละ80 1.2 ยุทธศาสตรการปลุกพลังแผนดินและการปองกัน โดยรวมบูรณาการแผนงาน งบประมาณและการดําเนินงานตามโครงการ TO BE NUMBER ONE รวมกับหนวยงานเจาภาพหลักอ่ืนๆ ครอบคลุมกลุมเปาหมายวัยรุน และ เยาวชนในพ้ืนท่ี 1.3 ยุทธศาสตรการควบคุมตัวยาและสารเคมี โดยหนวยงานท่ีเก่ียวของสามารถบูรณาการ การปฏิบัติในเชิงระบบ ในการควบคุม กํากับ การรั่วไหล และ แพรระบาดออกนอกระบบของวัตถุเสพติดท่ีเปนตัวยาท่ีใชในทางการแพทย ทางดานวิทยาศาสตร และ อุตสาหกรรม 2. หนวยงานท่ีเก่ียวของมีกระบวนการการดําเนินงานท่ีตอบสนองตอการมีสวนรวมของประชาชน ผูรับบริการ หรือผูมีสวนไดสวนเสีย ความหมาย คือ ให ครอบครัว ชุมชน มีสวนรวมในการใหการดูแล ชวยเหลือเสพผูติดยาเสพติด ขณะเขารับการรักษา และ หลังผานการบําบัดรักษา

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 75: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๐

3. ผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธท่ีกําหนดไวในแผนปฏิบัติการฯ ท้ังหมดเปนไปตามเปาหมายและขอมูลสําคัญท่ีเก่ียวกับสถานการณยาเสพติดระดับอําเภอไดรับการปรับปรุงใหเปนปจจุบันอยางครบถวนหนวยงานมีผลงานเชิงปริมาณตามตัวชี้วัดสําคัญ ดังนี้ - รอยละ 80 ของผูปวยยาเสพติดท่ีไดรับการจําหนายแบบครบกําหนดไดรับการติดตามตามระยะเวลาท่ีกําหนด สิ้นสุดการติดตาม สรุปวาหยุด/เลิกได เกณฑการใหคะแนน:

กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้

ระดับคะแนน ระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone)

ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันตอนท่ี 4 ข้ันตอนท่ี 5 1 2 3 4 5

โดยท่ี :

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน

0.5 จัดทําสรุปทบทวน สถานการณปญหายาเสพติดในจังหวัด ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 โดยระบุขอมูลสําคัญท่ีเก่ียวกับสถานการณยาเสพติด ในจังหวัด ลงถึงระดับหมูบาน/ชุมชนใหครบถวน เพ่ือใชประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของหนวยงาน

0.5 จัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดประจําปงบประมาณ 2557 ท่ีสอดคลองกับผลการวิเคราะหและสรุปสถานการณปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ี และกําหนดตัวชี้วัดผลสําเร็จท่ีเปนผลผลิต/ผลลัพธท่ีวัดผลไดชัดเจน เปนรูปธรรม โดยต้ังเปาหมายสอดคลองตามตัวชี้วัดงานยาเสพติดของกระทรวงสาธารณสุข

2 ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของพ้ืนท่ี ประจํา ปงบประมาณ 2557 ไดแลวเสร็จครบถวนเปนปจจุบัน พรอมท้ังสรุปผลสําเร็จตามตัวชี้วัดสําคัญท่ีกําหนดไวตามแผนปฏิบัติการฯ ดังนี้ - รอยละ 80 ของผูปวยยาเสพติดท่ีไดรับการจําหนายแบบครบกําหนดไดรับการติดตามตามระยะเวลาท่ีกําหนด สิ้นสุดการติดตาม สรุปวาหยุด/เลิกได

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 76: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๑

0.5 ผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธท่ีกําหนดไวในแผนปฏิบัติการฯ ท้ังหมดเปนไปตาม เป าหมายและข อ มูลสํ า คัญ ท่ี เ ก่ี ยว กับสถานการณ ยา เ สพติ ด ใน พ้ืน ท่ี ได รั บ การปรับปรุงใหเปนปจจุบันอยางครบถวน มีระบบการบริหารจัดการการแกไขปญหาตามประเด็นความเสี่ยงของการดําเนินงานตามโครงการปองกันแกไขปญหายาเสพติดอยางเปนระบบ มีประเด็นการแกไขปญหา การควบคุมกํากับ และการติดตามผลอยางชัดเจน

0.5 ผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธท่ีกําหนดไวในแผนปฏิบัติการฯ ท้ังหมดดีกวาเปาหมายท่ีกําหนด และปญหายาเสพติดตองอยูในระดับท่ีไมสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตของประชาชนในพ้ืนท่ี

1 กระบวนการขับเคลื่อนกิจกรรม นโยบายผูบริหารหนวยงาน ความยากงายของพ้ืนท่ีในการปฏิบัติงานอิงพ้ืนท่ีเสี่ยงตามขอมูลหนวยงาน ปปส. และ การบูรณาการรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของอ่ืนๆ

รายละเอียดขอมูลพ้ืนฐาน: (พ้ืนท่ีกรอก) ขอมูลพ้ืนฐานประกอบ

ตัวช้ีวัด หนวยวัด

ผลการดําเนินงานท่ีผานมา 2553 2554 2555 2556 2557

จํานวนผูเขารับการบําบัดรักษายาเสพติดทุกระบบ

ราย

จํานวนผูเขารับการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ

ราย

ผูผานการบําบัดรักษาท้ังหมด ราย ผูผานการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ

ราย

ผูผานการบําบัดรักษาไดรับการเยี่ยมติดตามครบ 4 ครั้งภายใน 1 ปและไมกลับไปเสพซํ้า

ราย

ผูผานการบําบัดท่ีบําบัดฯไมครบตามเกณฑ

ราย

ผูผานการบําบัดฯท่ีมีอาชีพเปนหลักแหลง

ราย

ขอมูลประกอบตัวช้ีวัด: (จังหวัดกรอก) ขอมูล หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

ระดับความสําเร็จของอําเภอท่ีมีการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหายาเสพติด

ระดับความสําเร็จ

๒๕๕4 -

๒๕๕5 -

๒๕๕6 -

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 77: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๒

เง่ือนไข และ แนวทางการประเมินผล: ประเด็นเง่ือนไข แนวทางประเมินผล

หนวยงานท่ีเก่ียวของมีการบูรณาการการดําเนินงานในเชิงยุทธศาสตร โดยการ บูรณาการแผนงาน/งบประมาณรวมกัน

ประเมินผลจากการสัมภาษณ สอบถามบุคคล หรือ หนวยงานท่ีเก่ียวของอ่ืนๆ และ จากการตรวจสอบขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ ท่ีเก่ียวของ ดังนี้ - โครงการ และ แผนการปฏิบัติการท่ีระบุรายละเอียดกิจกรรม แผนการดําเนินงาน ระยะเวลา เปาหมาย งบประมาณและ แหลง งบประมาณ ผูรับผิดชอบท่ีชัดเจน - นโยบายผูบริหารทุกพ้ืนท่ี ท่ียึดแนวนโยบายของรัฐบาลและนํานโยบายสูการปฏิบัติ โดยยึดหลัก "ผูเสพผูติด คือผูปวยตองนําเขาสูระบบการบําบัดรักษา โดยเนนสมัครใจกอน" และ บูรณาการการทํางานทุกหนวยงาน

- การคนหาผูเสพ ผูติดเพ่ือเขาสูระบบการบําบัดฟนฟู มีทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน ฝายปกครอง ตํารวจ สาธารณสุข ตองบูรณาการงานรวมกัน - ทุกอําเภอตองกําหนดใหมี “1 อําเภอ 1 ศูนยจําแนกคัดกรอง” ใหเกิดศูนยจําแนกคัดกรองประจําอําเภอข้ึน เพ่ือจําแนกคัดกรองผูเสพ ผูติดยาเสพติดและนําเขาสูกระบวนการบําบัดอยางเหมาะสมตามระดับความรุนแรงของการติดยา มีคําสั่งจัดตั้งศูนยคัดกรองและคําสั่งคณะทํางานในศูนยฯ - ทุกอําเภอตองจัดหาสถานท่ีรองรับกลุมผูเสพผูติดท่ีจะเขาสูการบําบัดในรูปแบบตางๆ ท่ีเหมาะสมกับสภาพความรุนแรงของการ เสพติดและจัดหาบุคลากรสําหรับการดําเนินงานบําบัดรักษาในพ้ืนท่ีอยางเปนรูปธรรม (คาย ผูปวยนอก การสงตอ) - มีศูนยติดตามดูแลชวยเหลือในหมูบาน/ชุมชน โดยเชื่อมโยง กับศูนยขอมูลดาน Demand ของอําเภอ กําหนดทีมติดตาม ใหชัดเจน อสม. จนท - มีการประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินงานโครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ทุกหนวยงานรับทราบ - มีกิจกรรมบูรณาการรวมกันท้ังโครงการปองกันแกไขปญหา ยาเสพติด และ โครงการ TO BE NUMBER ONE

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 78: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๓

ประเด็นเง่ือนไข แนวทางประเมินผล

หนวยงานท่ีเก่ียวของมีกระบวนการการดําเนินงานท่ีตอบสนองตอการมีสวนรวมของประชาชน ผูรับบริการ หรือผูมีสวนไดสวนเสีย โดยมีมาตรการท่ีชัดเจนในการให ครอบครัว ชุมชน ไดมีสวนรวมในการใหการดูแล ชวยเหลือผูปวยยาเสพติด ขณะเข ารับการรั กษา และ หลั งผ านการบําบัดรักษา

ประเมินผลจากการสัมภาษณ สอบถามบุคคล หรือ หนวยงานท่ีเก่ียวของอ่ืนๆ และ จากการตรวจสอบขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ ท่ีเก่ียวของ ตามประเด็นตอไปนี้ - การบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพมีการกําหนดมาตรการใหครอบครัวตองมีสวนรวมหรือไม อยางไร? มีการประเมินผลครอบครัวกอน – หลังผูเสพ ผูติดเขารับการบําบัดฟนฟูหรือไม ผลเปนอยางไร? (เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ) - การประชาสัมพันธเพ่ือสรางความรูความเขาใจแกครอบครัว ชุมชน สังคม เพ่ือสรางเจตคติท่ีดีโดยการใหความรู/ผานสื่อ มีการดําเนินการอยางไรบาง? มีการประเมินผลกอน – หลังการประชาสัมพันธหรือไม ผลเปนอยางไร? (เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ)

มีผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธที่ กํ าหนดไว ในแผนปฏิบัติการฯ ทั้งหมดเปนไปตามเปาหมายและขอมูลสําคัญที่เก่ียวกับสถานการณยาเสพติดระดับอําเภอได รับการปรับปรุงให เปนปจจุบันอยางครบถวนหนวยงานมีผลงานเชิงปริมาณตามตัวชี้วัดสําคัญ ดังนี้ - รอยละ 80 ของผูปวยยาเสพติดที่ไดรับการจําหนายแบบครบกําหนดไดรับการติดตามตามระยะเวลาที่กําหนด สิ้นสุดการติดตาม สรุปวาหยุด/เลิกได

ประเมินผลจากการตรวจสอบขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ ที่เก่ียวของ ตามประเด็นที่ระบุใน -โปรแกรมจัดเก็บขอมูล บสต. -แบบรายงานการเยี่ยมติดตาม -หลักฐานการเบิกจายงบประมาณเยี่ยมติดตามฯ

มีระบบการบริหารจัดการการแกไขปญหาตามประเด็นความเสี่ยงของการดําเนินงานตามโครงการปองกันแกไขปญหายาเสพติดอยางเปนระบบ มีประเด็นการแกไขปญหา การควบคุมกํากับ และการติดตามผลอยางชัดเจน

ประเมินผลจากการสัมภาษณ สอบถามบุคคล หรือ หนวยงานที่เก่ียวของอ่ืนๆ และ จากการตรวจสอบขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ ที่เก่ียวของ ตามประเด็นยุทธศาสตรที่ระบุโดยจะตรวจสอบรายกิจกรรมตามประเด็นความเสี่ยง

มีผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธที่ กํ าหนดไว ในแผนปฏิบัติการฯ ทั้งหมดดีกวาเปาหมายที่กําหนด และปญหายาเสพติดตองอยูในระดับที่ไมสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตของประชาชน

ประเมินผลจากการตรวจสอบขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ ที่เก่ียวของ แบบสรุป ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด และ ตรวจสอบยืนยันกับสภาพปญหาที่คงอยูจริงในพื้นที่

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 79: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๔

กระบวนการขับเคลื่อนกิจกรรม นโยบายผูบริหารหนวยงาน ความยากงายของพ้ืนท่ีในการปฏิบัติงานอิงพ้ืนท่ีเสี่ยงตามขอมูลหนวยงาน ปปส. และ การบูรณาการรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของอ่ืนๆ

การประเมินโดยผูนิเทศอิงฐานขอมูลและสถานการณการแพรระบาดจริง

เกณฑการใหคะแนน : ชวงปรับเกณฑการใหคะแนน +/- รอยละ 5 ตอ 1 โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน 1 รอยละ 65 2 รอยละ 70 3 รอยละ 75 4 รอยละ 80 5 รอยละ 85

เง่ือนไข : 1) การดําเนินการในแตละระดับข้ันของความสําเร็จ จะพิจารณาถึงคุณภาพของการดําเนินการ

เพ่ือนํามาเปนประเด็นปรับคะแนนเชิงคุณภาพ 2) ใชขอสังเกตของผูประเมินอิสระมาประกอบการใหคะแนน

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด หัวหนากลุมงานยาเสพติด : นางนิภาภรณ ภาคพรหม เบอรติดตอ : 045 – 712233-4 ตอ 148 ผูรับผิดชอบตัวชี้วัด/จัดเก็บขอมูล : นางพิศมัย รัตนเดช นายนพพร รากวงค

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 80: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๖

งานการแพทยฉุกเฉินและพัฒนาระบบสงตอ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 81: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๕

ประเด็นหลักที่ ๖ : งานการแพทยฉุกเฉินและพัฒนาระบบสงตอ

ตัวช้ีวัดท่ี ๙ ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานการแพทยฉุกเฉิน และงานพัฒนาระบบสงตอ

น้ําหนักคะแนน ๕

คํานิยาม การสงตอ หมายถึง การสงตอผูปวยเพ่ือไปรับการรักษาตอในสถานบริการระดับเดียวกัน หรือสถานบริการท่ีมีศักยภาพสูงกวา เชนกรณีขาดแพทยเฉพาะทาง ขาดเครื่องมืออุปกรณ จําเปนตองสงตอผูปวยเพ่ือการวินิจฉัย รักษา ผาตัด ชันสูตร เปนตน และทําใหผูปวยไดรับการสงตอไปยังสถานพยาบาลปลายทางนั้นๆ (การสงตอรวมท้ังฉุกเฉินและไมฉุกเฉิน และทุกสิทธิการรักษา) การพัฒนาระบบสงตอ หมายถึง การนําโปรแกรมสําเร็จรูป Refer online (ท่ีปรับใชในระบบ HOSxP/HOSxP PCU ) มาใชในการทําหนาท่ีในการรับสงตอ โดยจัดใหมีระบบบริการครอบคลมุฯ 4 ดาน คือ การสงตอ (refer out) การรับการสงตอ (refer in) การสงกลับ(refer back) การรับกลับ (refer receive) กลาวคือ มีการรับชวงประสานหาโรงพยาบาลปลายทาง เพ่ือรับผูปวยจากโรงพยาบาลตนทางใหสําเร็จ โดยทําหนาท่ีแทน โรงพยาบาลตนทางท่ีรองขอจนเกิดผลสําเร็จ เพ่ือแสดงถึงการจัดระบบสงตอท่ีมีประสิทธิภาพและสรางความ-นาเชื่อถือใหแกผูรับบริการและผูใหบริการท่ีโรงพยาบาลตนทาง โดยโรงพยาบาลแมขายระดับอําเภอทําบทบาทหนาท่ีในการรับสงตอ มีการจัดทําระบบขอมูลการสงตอผูปวย เพ่ือใชในการวิเคราะหขอมูลและการจัดทําเครือขายผูเชี่ยวชาญสาขาท่ีมีการสงตอผูปวยจํานวนมาก และเปนปญหาของอําเภอ/จังหวัดท่ีสอดคลองกับแผน พัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan และประสานโรงพยาบาลปลายทางเพ่ือรับผูปวยจากโรงพยาบาลตน และมีระบบติดตามผลการดําเนินงาน การสงตอผูปวยท้ังหมดของตําบล/อําเภอ เปรียบเทียบกับการสงตอผูปวยออกนอกเขตบริการท่ี 10 เขตบริการ หมายถึง เครือขายบริการภายในระดับอําเภอ ระดับจังหวัด และเขตเครือขายบริการท่ี 10 (ภายใน 5 จังหวัด: ยโสธร อํานาจเจรญิ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ และมุกดาหาร) นอกเขตบริการ หมายถึง การสงตอไปจังหวัดท่ีอยูนอกเขตเครือขายบริการท่ี 10 รวมถึงสถานบริการท่ีอยูสวนกลาง ระบบบการแพทยฉุกเฉิน หมายถึง การใหบริการรักษาพยาบาลผูเจ็บปวยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ โดยมีบุคลากรท่ีมีความรูออกปฏิบัติการพรอมรถพยาบาลท่ีมีเครื่องมือในการรักษาพยาบาลข้ันพ้ืนฐานและข้ันสูง หลังการรักษา แลว มีการนําสงโรงพยาบาลโดยมีการประสานงานอยางเปนระบบใหบริการ 24 ชัว่โมง ซ่ึงกิจกรรมท้ังหมดอยูภายใตการกํากับของแพทย การพัฒนางานการแพทยฉุกเฉิน หมายถึง ปรับปรุงระบบการแพทยฉุกเฉินใหครอบคลุมทุกมิติท้ังดานการปองกันการเจ็บปวยฉุกเฉินใหเกิดข้ึนนอยท่ีสุด ท้ังในภาวะปกติและภัยพิบัติ เพ่ือให“ประชาชนไดรับบริการท่ีไดมาตรฐานและมีประสิทธิภาพอยางท่ัวถึงและเทาเทียม” เพ่ือบรรลุเปาประสงคหลักท่ีสําคัญ 2 ประการ คือ 1) การปองกันใหการเจ็บปวยฉุกเฉินเกิดข้ึนนอยท่ีสุด 2) การจัดการใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินท่ีไดมาตรฐานจนพนภาวะฉุกเฉินหรือไดรับการบําบัดรักษาเฉพาะอยางทันทวงที

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 82: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๖

เกณฑการประเมิน :

รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

ข้ันตอนท่ี 1

ข้ันตอนท่ี 1-3

ข้ันตอนท่ี 1-4

ข้ันตอนท่ี 1-5

วิธีการประเมินผล : ข้ันตอน 1 มีศูนยปฏิบัติการพัฒนางาน EMS & Refer ของเครือขาย(CUP) ข้ันตอน 2 มีการประชุมวิเคราะหความเสี่ยงของพ้ืนท่ี เพ่ือวางแผน นิเทศติดตามและประเมินผลรวมกันสมํ่าเสมอ ข้ันตอน 3 มีดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ข้ันตอน 4 มีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานในเครือขาย และมีการสรุปบทเรียน ข้ันตอน 5 ผลลัพธการดําเนินงาน

- มีการใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการสงตอผูปวย(HOSxP/HOSxP PCU)ท่ีมีระบบบริการครอบคลุมฯ 4 ดาน - คือ การสงตอ (refer out)การรับการสงตอ (refer in)การสงกลับ(refer back)การรับกลับ(refer receive) - มีผลงานการใหบริการดานการแพทยฉุกเฉินครอบคลุมประชากรในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ(เครือขายระดับ อําเภอ) มากกวารอยละ 3 ของประชากรท้ังหมดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

เอกสารสนับสนุน : 1. คําสั่งแตงตั้งคณะทํางาน/กรรมการของเครือขาย 2. ทําเนียบเครือขาย 3. แผนงานโครงการ,งบประมาณ 4. สรุปรายงานการประชุม 5. สรุปผลการซอมแผน, ภาพกิจกรรมการปฏิบัติงาน 6. สรุปบทเรียน จดุออน-จุดแข็งของเครือขายเพ่ือวางแผนพัฒนาตอไป

เกณฑการใหคะแนน : ระดับ ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone)

คะแนน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5

1 3 2 3 3

3 3 3 3 4 3 3 3 3

5 3 3 3 3 3

ระดับ 1 ตองปรับปรุง หมายถึง ผลงานท่ีไดมีปริมาณต่ํากวาเกณฑ ข้ันต่ํา ระดับ 2 พอใช หมายถึง ผลงานท่ีไดมีปริมาณตามเกณฑข้ันต่ําเกิน ระดับ 3 ด ี หมายถึง ผลงานท่ีไดมีปริมาณสูงตามเกณฑท่ีกําหนดไว ระดับ 4 ดีมาก หมายถึง ผลงานท่ีไดมีปริมาณสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดอยูระหวาง 20-30%

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 83: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๗

ประชากรกลุมเปาหมาย

- ศูนยสงตอระดับอําเภอ

- เครือขายการดําเนินงานการแพทยฉุกเฉินระดับอําเภอ

วิธีการจัดเก็บขอมูล จากการรวบรวมขอมูลการเขาถึงบริการจากสถานบริการสาธารณสุขดังตอไปนี้

1. ขอมูลจากการบันทึกจากมาตรฐานขอมูล 43 แฟม

2. ขอมูลจากการบันทึกกิจกรรมทาง program online (Refer online)

3. จากการรายงานทางเอกสารดวยแบบฟอรมท่ีกําหนด

๔. ขอมูลจาก file ขอมูลแบบ excel หรือ word แหลงขอมูล ฐานขอมูลกลาง (HOSxP/HOSxP PCU)

: การรายงานของ รพท./รพช./รพสต. ท่ีใชฐานขอมูล 43 แฟม

กลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

ผูใหขอมูลทางวิชาการ/ผูประสานงานตัวช้ีวัด

1. นางเบญจรัตน ผิวเรืองนนท โทรศัพทสํานักงาน : 0 4571 4526 โทรศัพทมือถือ : 08 5417 6185 โทรสาร : 0 4571 4526 E-mail : [email protected] กลุมงานการแพทยฉุกเฉินและพัฒนาระบบสงตอ สํานกังานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 2. นางนวลจันทร บุญธรรม โทรศัพทสํานักงาน : 0 4571 4526 โทรศัพทมือถือ : 08 4472 1515 โทรสาร : 0 4571 4526 E-mail : [email protected]

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 84: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๗

งานทันตสาธารณสุขและหนวยบริการ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 85: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๗๙

ประเด็นหลักที่ ๗ : งานทันตสาธารณสุขและหนวยบริการ

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๐ รอยละของ รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปากท่ีมีคุณภาพ (≥ รอยละ 45) น้ําหนัก

คะแนน ๑.๕

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๑ รอยละของนักเรยีนชั้น ป.1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก (≥ รอยละ 85)

น้ําหนักคะแนน ๑

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๒ รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับการทาฟลูออไรดวารนิช (≥ รอยละ 50)

น้ําหนักคะแนน ๑

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๓ รอยละของเด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟนน้ํานมผุ ( ≤ รอยละ 57 หรอืลดลงรอยละ 1 ตอป)

น้ําหนักคะแนน ๑

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๔ ระดับความสําเร็จของการจัดทําขอมูลทันตสาธารณสุข

น้ําหนักคะแนน ๐.๕

คําอธิบาย : ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานสงเสริมปองกันดานทันตสาธารณสุขพิจารณาจากตัวชี้วัดยอย 5 ตัวชี้วัด ดังนี้

1.1 รอยละของ รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปากท่ีมีคุณภาพ (เปาหมาย ≥ รอยละ 45) คํานิยาม

- รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปาก หมายถึง รพ.สต. และ ศสม. ท่ีมีทันตาภิบาลใหบริการประจํา หรือ มีการจัดบริการสุขภาพชองปากหมุนเวียนใหบริการอยางนอยสัปดาหละ 1 วัน - บริการสุขภาพชองปากท่ีมีคุณภาพ หมายถึง การใหบริการสงเสริมทันตสุขภาพ ทันตกรรมปองกัน และ บริการทันตกรรมพ้ืนฐาน ท้ังในสถานบริการสุขภาพ และ นอกสถานบริการสุขภาพ ไดตามเกณฑ

กิจกรรมบริการสุขภาพชองปากในกลุมเปาหมายตาง ๆ ตามเกณฑ คือ 1) คลินิกฝากครรภ (ANC) คือ การตรวจสุขภาพชองปากอยางนอย 1 ครั้ง บริการขูดหินน้ําลาย ทํา ความสะอาดฟนและ บริการทันตกรรมหรือสงตอในรายท่ีจําเปน 2) คลินิกสงเสริมสุขภาพเด็กดี (WCC) มีการใหแปรงสีฟนและยาสีฟนใหกับเด็กทุกคนท่ีมารับบริการ มีการตรวจความสะอาดชองปาก และประเมินความเสี่ยงตอโรคฟนผุของเด็ก การฝกพอแม/ผูดูแลเด็กแปรงฟน แบบลงมือปฏิบัติจัดระบบเฝาระวัง ติดตาม ดูแลตอเนื่องในเด็กกลุมเสี่ยง (เด็กกลุมเสี่ยง คือ เด็กท่ีฟนไมสะอาด/ ฟนมีรอยขาวขุน/มีฟนผุ)ใหบริการเด็กท่ีมีภาวะเสี่ยงดวยการทาฟลูออไรดวารนิชทุก 6 เดือน 3) ศูนยพัฒนาเด็ก คือ การตรวจสุขภาพชองปากเด็กในศูนยเด็กเล็กทุกคนปละ 1 ครั้ง และ แจงผล การตรวจใหกับพอแมหรือผูปกครองพรอมท้ังใหคําแนะนํา เด็กกลุมเสี่ยงไดรับการทาฟลูออไรดวานิช ภาคเรียน ละ 1 ครั้ง โดยทันตบุคลากรหรือเจาหนาท่ีสาธารณสุขท่ีผานการอบรม สนับสนุนใหศูนยเด็กจัดกิจกรรมแปรงฟน หลังอาหารกลางวันและครูผูดูแลเด็กตรวจความสะอาดในการแปรงฟนของเด็ก สนับสนุนการใหศูนยเด็กเล็กจัด กิจกรรมดานอาหารและอาหารวางใหเอ้ือตอสุขภาพชองปากท่ีดี 4) โรงเรียนประถมศึกษา คือ การตรวจสุขภาพชองปากนักเรียนประถมศึกษาทุกคนปละ 1 ครั้ง ให บริการเคลือบหลุมรองฟนกรามแทซ่ีท่ี 1 แกเด็กนักเรียนประถมศึกษา การใหบริการทันตกรรมแกนักเรียนประถม

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 86: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๐

ศึกษาตามความจําเปน สนับสนุนใหโรงเรียนจัดกิจกรรมใหเด็กแปรงฟนหลังอาหารกลางวันอยางถูกตองทุกวันท่ี โรงเรียน สนับสนุนใหโรงเรียนจัดกิจกรรมดานอาหารและอาหารวางใหเอ้ือตอสุขภาพชองปากท่ีดี 5) กลุมผูสูงอายุ คือ การตรวจสุขภาพชองปากผูสูงอายุในชมรมผูสูงอายุปละ 1 ครั้ง สนับสนุนการจัด กิจกรรมสงเสริมสุขภาพชองปากในชมรมผูสูงอายุ

ระดับคะแนน ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

1 จํานวน รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปาก < รอยละ 20

2 จํานวน รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปาก รอยละ 20-29

3 จํานวน รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปาก รอยละ 30-39

4 จํานวน รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปาก รอยละ 40-49

5 จํานวน รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปาก ≥ รอยละ 50

1.2 รอยละของเด็กนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก(เปาหมาย ≥ รอยละ 85)

ระดับคะแนน

ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

1 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก < รอยละ 60

2 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก รอยละ 60 -69

3 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก รอยละ 70 -79

4 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก รอยละ 80 -89

5 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก ≥ รอยละ 90

1.3 รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับการทาฟลูออไรดวารนิช (เปาหมาย ≥ รอยละ 50)

ระดับคะแนน

ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

1 เด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับการทาฟลูออไรดวารนิช < รอยละ 30

2 เด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับการทาฟลูออไรดวารนิช รอยละ 30 -39

3 เด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับการทาฟลูออไรดวารนิช รอยละ 40 -49

4 เด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับการทาฟลูออไรดวารนิช รอยละ 50 -59

5 เด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับการทาฟลูออไรดวารนิช ≥ รอยละ 60

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 87: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๑

1.4 รอยละของเด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟนน้ํานมผุ (เปาหมาย ≤ รอยละ 57)

ระดับคะแนน ผลการดําเนินงาน (คิดเปนรอยละ)

1 เด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟนน้ํานมผ ุ > รอยละ 70

2 เด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟนน้ํานมผุ รอยละ 66 -70

3 เด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟนน้ํานมผ ุ รอยละ 61 -65

4 เด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟนน้ํานมผุ รอยละ 56 -60

5 เด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟนน้ํานมผุ ≤ รอยละ 55

1.5 ระดับความสําเร็จของการจัดทําขอมูลทันตสาธารณสุข มีระดับการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน

กระบวนการดําเนินงาน/กิจกรรม

1 มีขอมูลพ้ืนฐานท่ีเก่ียวของกับการดําเนินงานทันตสาธารณสุขในระดับอําเภอ

2 มีระดับ 1 และมีขอมูลสรุปผลสภาวะทันตสุขภาพในกลุมอายุหลักระดับอําเภอ

3 มีระดับ 1,2 และมีขอมูลตามแบบรายงาน ท.01 ท.02 ทส.003 และแบบรายงานหลักของจังหวัด

4 มีระดับ 1,2,3 และมีขอมูลสรุปผลสภาวะทันตสุขภาพในกลุมอายุหลัก ในตําบลท่ีมี ทันตาภิบาลประจําการ

5 มีระดับ 1,2,3,4 และมีขอมูลสรุปผลสภาวะทันตสุขภาพในกลุมอายุหลัก ในตําบล ทุกแหง

วิธีการคํานวณผลการประเมินผลสัมฤทธิ์

ตัวช้ีวัด : ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานสงเสริมปองกันดานทันตสาธารณสุข (น้ําหนักรวม………..)

ตัวชี้วัดยอย

น้ําหนัก % (Wi )

ระดับการใหคะแนน ( Mi ) คะแนน ถวงน้ําหนัก (Wi x Mi ) 1 2 3 4 5

1.1 รอยละของรพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปากท่ีมีคุณภาพ

1.2 รอยละของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก

1.3 รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 3 ป ไดรับ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 88: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๒

การทาฟลูออไรดวารนิช 1.4 รอยละของเด็กปฐมวัย (3 ป) มีปญหาฟน น้ํานมผ ุ

1.5 ระดับความสําเร็จของการจัดทําขอมูลทันตสาธารณสุข

รวม ∑ Wi = ∑(Wi x Mi ) ผูกํากับดูแลตัวช้ีวัด : นายปรัชญ ขวัญคํา ทันตแพทย ชํานาญการพิเศษ นางสาวปยนุช สิงหกุล ทันตแพทย ชํานาญการ นางชิดหทัย สาระบูรณ นักวิชาการสาธารณสุข ปฏิบัติการ นางวนิดา เผากันทะ จพ.ทันตสาธารณสุข ชํานาญงาน นางกาญจนี ศุภผลา จพ.ทันตสาธารณสุข ปฏิบัติงาน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 89: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๘

งานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิง่แวดลอม

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 90: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๓

ประเด็นหลักที่ ๘ : งานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม ตัวช้ีวัดท่ี ๑๕ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานเมืองนาอยูระดับอําเภอ

น้ําหนักคะแนน ๕

คําอธิบาย :

• พิจารณาความสําเร็จของการดําเนินงานเมืองนาอยูระดับอําเภอ อําเภอดําเนินการรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือสงเสริม/ปองกัน/แกไขปญหาดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู โดยเนนการดําเนินงานภายใตแผนงานและโครงการท่ีสําคัญคือ 1) การสงเสริมการพัฒนาตลาดใหเขาสูเกณฑมาตรฐานตลาดสด นาซ้ือ และตลาดนัด นาซ้ือ 2) การสงเสริมการพัฒนายกระดับสถานประกอบการดานอาหารประเภทรานอาหารและแผงลอย โรงครัวโรงพยาบาล และโรงอาหารในโรงเรียน ใหเขาสูเกณฑมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอรอย 3) การสงเสริมใหสวมสาธารณะมีการพัฒนายกระดับเขาสูเกณฑมาตรฐานสุขา นาใช 4) การสงเสริมใหหนวยงานสาธารณสุขเปนตนแบบในการดําเนินกิจกรรมตามโครงการลดภาวะโลกรอน 5) การสงเสริม ใหหนวยงานสาธารณสุขเปนตนแบบสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน 6) การสงเสริมการพัฒนาศูนยเด็กเล็กเขาสูเกณฑมาตรฐานศูนยเด็กเล็กคุณภาพ

• แผนงานดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู หมายถึง แผนงานและ/หรือโครงการท่ี คปสอ.จัดทําข้ึน โดยเนื้อหาประกอบดวยโครงการ/กิจกรรม/มาตรการ และอ่ืนๆ ท่ีจําเปน เพ่ือสงเสริม สนับสนุนการดําเนินงานดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม เพ่ือเปนการสงเสริม/ปองกัน/แกไขปญหาดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอมในพ้ืนท่ี ใหเขาสูเกณฑมาตรฐานท่ีเก่ียวของ

เกณฑการใหคะแนน :

กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้

ระดับคะแนน ระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone)

ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันตอนท่ี 4 ข้ันตอนท่ี 5 1 2 3 4 5

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 91: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๔

โดยท่ี :

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน

1

คปสอ.สรุปทบทวนผลการดําเนินงานดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 เพ่ือใชประกอบการจัดทําแผนงานดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดยตองมี - ผลการดําเนินงานตลาดสด นาซ้ือ (0.1) - ผลการดําเนินงานอาหารสะอาด รสชาติอรอย ในรานอาหารและแผงลอย โรงครัวโรงพยาบาล โรงอาหารในโรงเรียน (0.1)

- ผลการดําเนินงานสุขา นาใช (0.1) - ผลการดําเนินงานโครงการลดภาวะโลกรอน (0.05) - ผลการดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน (0.05) - ผลการดําเนินงานสงเสริมการพัฒนาศูนยเด็กเล็กนาอยู (0.1)

จัดทําแผนงานดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 และไดรับความเห็นชอบจากหัวหนาหนวยงานท่ีไดรับมอบหมาย โดยตองมี

- การดําเนินงานตลาดสด นาซ้ือ และ งานตลาดนัด นาซ้ือ (0.1) - การดําเนินงานอาหารสะอาด รสชาติอรอย ในรานอาหารและแผงลอย โรงครัวโรงพยาบาล โรงอาหารในโรงเรียน (0.1) - การดําเนินงานสุขา นาใช (0.05) - การดําเนินงานโครงการลดภาวะโลกรอน (0.05) - การดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน (0.1) - การดําเนินงานสงเสริมการพัฒนาศูนยเด็กเล็ก (0.1)

2 มีการดําเนินการตรวจแนะนํา / ตรวจประเมินรับรอง ตามแผนการสงเสริม ตรวจสอบ และ การเฝาระวังความปลอดภัยดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอมอาหาร ตามแผนงานในข้ันท่ี 1 (1.0)

3 มีการวิเคราะหสถานการณการดําเนินงาน โดยระบปุจจัยสนับสนุน ปญหา อุปสรรคในการดําเนินงาน พรอมท้ังระบุแนวทางหรือขอเสนอแนะในการปรับปรุงการดําเนินงานในครั้งตอไป (1.0)

4 มีผลการดําเนินงานท่ีครบถวนและเปนปจจุบัน ดังนี้ - ผลการตรวจแนะนํา/ตรวจประเมินตลาดสดประเภทท่ี 1 และ 2 (0.15)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 92: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๕

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน

- ผลการตรวจแนะนํา/ตรวจประเมินเปาหมายการดําเนินงานอาหารสะอาด รสชาติอรอย ในรานอาหารและแผงลอย โรงครัวโรงพยาบาล โรงอาหารในโรงเรียน (0.15) - ผลการตรวจแนะนํา/ตรวจประเมินสวมสาธารณะตามเกณฑมาตรฐานสุขานาใช (0.15) - ผลการดําเนินงานโครงการลดภาวะโลกรอน (0.15) - ผลการดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน ใน สสอ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. (0.2) - ผลการดําเนินงานสงเสริมการพัฒนาศูนยเด็กเล็กตามเกณฑมาตรฐาน ศูนยเด็กเล็ก

คุณภาพ (0.2)

5 มีผลสัมฤทธิ์ของงาน ดังนี้ - ตลาดสดประเภทท่ี 1 ผานเกณฑตลาดสด นาซ้ือ รอยละ 100 (0.1) - ตลาดประเภทท่ี 2 ผานเกณฑตลาดนัด นาซ้ือ ข้ันพ้ืนฐาน อยางนอยอําเภอละ 1 แหง (0.05) - รานอาหารและแผงลอยผานเกณฑอาหารสะอาด รสชาติอรอย รอยละ 85 (0.1) - โรงครัวโรงพยาบาล ผานเกณฑอาหารสะอาด รสชาติอรอย รอยละ 100 (0.05) - โรงอาหารในโรงเรียน ผานเกณฑอาหารสะอาด รสชาติอรอย รอยละ 60 (0.1) - สวมสาธารณะผานเกณฑมาตรฐานสุขา นาใช รอยละ 70 (0.1) - หนวยงานสาธารณสุขทุกระดับท่ีเขารวมโครงการลดภาวะโลกรอนมีการนําเขาขอมูลตาม โปรแกรมฟุตปริน้ รอยละ 100 (0.1) - สสอ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. ผานเกณฑมาตรฐานสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน รอยละ 50 (0.2)

- ศูนยเด็กเล็กผานเกณฑมาตรฐานศูนยเด็กเล็กคุณภาพ รอยละ 70 (0.2)

ผูรับผิดชอบ : กลุมงานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยส่ิงแวดลอม สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

ช่ือ-นามสกุล หนวยงาน เบอรโทรศัพท 1. นางสุนทรี รัศมิทัต สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ122 2. นางอัญชลี ชคัตตรัย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ122 3. นางนฤดี กุลวิเศษณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ122 4. นายอํานาจ เหมลา สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ122 5. นส.สมจิต แซลิ้ม สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ122

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 93: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๖

แนวทางการประเมิน : ระดับ

คะแนน เกณฑการใหคะแนน แนวทางการประเมินผล

1

ข้ันตอนท่ี 1 1.1 คปสอ.สรุปทบทวน ผลการดําเนินงานดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 เพ่ือใชประกอบการจัดทําแผนงานดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดยตองมี - ผลการดําเนินงานตลาดสด นาซ้ือ (0.1) - ผลการดําเนินงานอาหารสะอาด รสชาติอรอย ในรานอาหารและแผงลอย โรงครัวโรงพยาบาล โรงอาหารในโรงเรียน (0.1) - ผลการดําเนินงานสุขา นาใช (0.1) - ผลการดําเนินงานโครงการลดภาวะโลกรอน (0.05) - ผลการดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน (0.05) - ผลการดําเนินงานสงเสริมการพัฒนาศูนยเด็กเล็กคุณภาพ (0.1)

ประเมินผลจากขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดงถึงการดําเนินงาน

ดังนี้ 1.1 รายงานสรุปผล หรือ บันทึกการประชุม

ทบทวนการดําเนินงานดานสุขาภิบาลอาหารแลอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู ป 2556 ท่ีผานมา โดยมีเนื้อหาประกอบดวย

- ผลการดําเนินงานตลาดสด นาซ้ือ - ผลการดําเนินงานอาหารสะอาด รสชาติอรอย ในรานอาหารและแผงลอย โรงครัวโรงพยาบาล โรงอาหารในโรงเรียน - ผลการดําเนินงานสุขา นาใช - ผลการดําเนินงานโครงการลดภาวะโลกรอน - ผลการดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน - ผลการดําเนินงานสงเสริมการพัฒนา ศูนยเด็กเล็กคุณภาพ - สรุปปญหาอุปสรรค ,ขอเสนอ เพ่ือนําไปสู การแกไขปญหาในป 2557

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 94: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๗

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน แนวทางการประเมินผล

1.2 จัดทําแผนงานดาน สุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยู ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. 2557 และไดรับความเห็นชอบจากหัวหนาหนวยงานท่ีไดรับมอบหมาย โดยตองมี - การดําเนินงานตลาดสด นาซ้ือ และ งานตลาดนัด นาซ้ือ (0.1) - การดําเนินงานอาหารสะอาด รสชาติอรอย ในรานอาหารและแผงลอย โรงครัวโรงพยาบาล โรงอาหารในโรงเรียน (0.1) - การดําเนินงานสุขา นาใช (0.05) - การดําเนินงานโครงการลดภาวะโลกรอน (0.05) - การดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน (0.1) - การดําเนินงานสงเสริมการพัฒนาศูนยเด็กเล็ก (0.1)

1.2 แผนปฏิบัติการดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอม สนับสนุนการสงเสริมใหพ้ืนท่ีเขาสูการเปนเมืองนาอยูประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 เพ่ือเปนการสงเสริม/ปองกัน/แกไขปญหาดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอมในพ้ืนท่ี ใหเขาสูเกณฑมาตรฐานท่ีเก่ียวของ โดยตองมีเนื้อหาดังนี้

- วัตถุประสงคของการจัดทําแผน - รายละเอียดโครงการ/กิจกรรมและข้ันตอน

การดําเนินงาน/ระยะเวลาดําเนินการ - แผนการออกตรวจแนะนํา/การประเมินรับรองมาตรฐาน

- เปาหมาย/ผลสําเร็จ/ตัวชี้วัด - ผูรับผิดชอบ - หนวยงานท่ีเก่ียวของ - งบประมาณ - วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/การติดตาม

ประเมินผล

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 95: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๘

2

ข้ันตอนท่ี 2 มีการดําเนินการตรวจแนะนํา / ตรวจประเมินรับรอง ตามแผนการสงเสริม ตรวจสอบ และ การเฝาระวังความปลอดภัยดานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดลอมอาหาร ตามแผนงานในข้ันตอนท่ี 1 (1.0)

ประเมินผลจากขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ เอกสาร หลักฐาน ท่ีแสดงใหเห็นวามีการขอ

อนุญาต และไดรับการอนุญาตใหออกปฏิบัติงานตรวจแนะนํา /ตรวจประเมินรับรอง (0.25)

เอกสาร หลักฐานท่ีแสดงใหเห็นวามีการดําเนินการของกิจกรรมดังกลาวเปนไปตามเปาหมายท่ีกําหนดไวในแผนฯ เชน (0.25) ภาพถาย รายงานการประชุม บันทึกผลการดําเนินงานเก่ียวกับกิจกรรม

ตามแผน มีเอกสาร หลักฐาน ท่ีแสดงใหเห็นเก่ียวกับการ

ประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ หรือสถานประกอบการท่ีเปนเปาหมายในการดําเนินงาน (0.25)

มีคําสั่งคณะกรรมการ และคณะทํางาน ท่ีเก่ียวของในการดําเนินงานตามแผน (0.25)

เอกสารอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวกับการดําเนินงานของกิจกรรม

ระดับ

คะแนน เกณฑการใหคะแนน แนวทางการประเมินผล

3 ข้ันตอนท่ี 3 มีการวิเคราะหสถานการณการดําเนินงาน โดยระบุปจจัยสนับสนุน ปญหา อุปสรรคในการดําเนินงาน พรอมท้ังระบุแนวทางหรือขอเสนอแนะในการปรบัปรุงการดําเนินงานในครั้งตอไป (1.0)

ประเมินผลจากขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ เอกสารหลักฐานท่ีแสดงใหเห็นวามีการวิเคราะห

สถานการณการดําเนินงาน โดยพิจารณาจาก บันทึก/รายงานการประชุมท่ีแสดง

ความกาวหนาของการดําเนินงานตามแผน (0.25)

บันทึก/รายงานท่ีระบุถึงปจจัยสนับสนุน ปญหา อุปสรรคในการดําเนินงาน พรอมท้ังระบุแนวทางหรือขอเสนอแนะในการปรับปรุงการดําเนินงานในครั้งตอไป (0.25)

เอกสารชี้แจงหรือเอกสารในการประสานงานเพ่ือแจงคําแนะนําหรือขอเสนอแนะหรือขอความรวมมือในการแกไขปญหาหรืออุปสรรคท่ีพบในข้ันตอนการดําเนินงานในข้ันท่ี 2 (0.5)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 96: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๘๙

4

ข้ันตอนท่ี 4 มีผลการดําเนินงานท่ีครบถวนและเปนปจจุบัน ดังนี้ - ผลการตรวจแนะนํา/ตรวจประเมินตลาดสดประเภทท่ี 1 และ 2 (0.15) - ผลการตรวจแนะนํา/ตรวจประเมินเปาหมายการดําเนินงานอาหารสะอาด รสชาติอรอย ในรานอาหารและแผงลอย โรงครัวโรงพยาบาล โรงอาหารในโรงเรียน (0.15) - ผลการตรวจแนะนาํ/ตรวจประเมินสวมสาธารณะตามเกณฑมาตรฐานสุขา นาใช (0.15) - ผลการดําเนินงานโครงการลดภาวะโลกรอน (0.15)

เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดงถึงผลการดําเนินงาน ดังนี ้1. ผลการสาํรวจตลาดประเภท 1 ตามแบบตรวจ

แนะนําตามเกณฑตลาดสด นาซ้ือ (0.1) 2. ผลการสาํรวจตลาดประเภท 2 ตามแบบสํารวจตลาดนัด และแบบตรวจแนะนําตามเกณฑตลาดนัด นาซ้ือ (0.05)

3. ผลการตรวจแนะนํารานอาหารและแผงลอย ตามแบบตรวจแนะนํารานอาหาร และแผงลอย (0.05) 4. ผลการตรวจแนะนําโรงครัวโรงพยาบาล ตามแบบ สอรพ.7 (0.05) 5. ผลการตรวจแนะนําโรงอาหารในโรงเรียน ตามแบบ สอรร.7 (0.05) 6. ผลการตรวจประเมินสวมสาธารณะ ตามแบบประเมินรับรองสุขา นาใช - มีผลงานสวม 13 setting เดิม (0.1) - มีผลงานสวมผูสูงอายุ (0.05) 7. ผลสาํรวจการดําเนินกิจกรรมลดโลกรอนของหนวยงานสาธารณสุข - มีผลสํารวจครบทุก รพ.สต. (0.15) - มีผลสํารวจ ≥ รอยละ 50 (0.1) - มีผลสํารวจ < รอยละ 50 (0.05) - ไมมีผลสํารวจ (0)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 97: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๐

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน แนวทางการประเมินผล

4

ข้ันตอนท่ี 4 (ตอ) - ผลการดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยู นาทํางาน ใน สสอ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. (0.2) - ผลการดําเนินงานสงเสริมการพัฒนาศูนยเด็กเล็กตามเกณฑมาตรฐาน ศูนยเด็กเล็กคุณภาพ (0.2)

เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดงถึงผลการดําเนินงาน ดังนี้ 8. ผลการตรวจประเมินตนเองตามเกณฑสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน - มีผลการตรวจประเมินครบทุกแหง (0.2) - มีผลการตรวจประเมิน ≥ รอยละ 50 (0.15) - มีผลการตรวจประเมิน < รอยละ 50 (0.1) - ไมมีผลการตรวจประเมิน (0) 9. ผลการตรวจประเมินรับรองศูนยเด็กเล็กตามเกณฑมาตรฐาน ศูนยเด็กเล็กคุณภาพ - มีผลการตรวจประเมินครบทุกศูนย (0.2) - มีผลการตรวจประเมิน ≥ รอยละ 50 (0.15) - มีผลการตรวจประเมิน < รอยละ 50 (0.1) - ไมมีผลการตรวจประเมิน (0)

5 ข้ันตอนท่ี 5 มีผลสัมฤทธิ์ของงาน ดังนี้ - ตลาดสดประเภทท่ี 1 ผานเกณฑตลาดสด นาซ้ือ รอยละ 100 (0.1) - ตลาดประเภทท่ี 2 ผานเกณฑตลาดนัด นาซ้ือ ข้ันพ้ืนฐาน อยางนอยอําเภอละ 1 แหง (0.05) - รานอาหารและแผงลอยผานเกณฑอาหารสะอาด รสชาติอรอย รอยละ 85 (0.1) - โรงครัวโรงพยาบาล ผานเกณฑอาหารสะอาด รสชาติอรอย รอยละ 100 (0.05) - โรงอาหารในโรงเรียน ผานเกณฑอาหารสะอาด รสชาติอรอย รอยละ 60 (0.1) - สวมสาธารณะผานเกณฑมาตรฐานสุขา นาใช รอยละ 70 (0.1) - หนวยงานสาธารณสุขทุกระดับท่ีเขารวมโครงการลดภาวะโลกรอนมีการนําเขาขอมูลตาม

เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดงถึงผลการดําเนินงาน ดังนี้

1. รายงานสรุปผลการดําเนินงานดานสุขาภิบาลอาหารรายไตรมาส 2. รายงานสรุปผลการดําเนินงานสงเสริมการพัฒนาสวมสาธารณะเขาสูเกณฑมาตรฐานสุขา นาใช รายไตรมาส 3. สรุปผลการลงขอมูลในโปรแกรมคารบอนฟุตปริ้น 4. รายงานผลการดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยู นาทํางาน 5. รายงานผลการสํารวจการพัฒนาศูนยเด็กเล็กตามเกณฑมาตรฐานศูนยเด็กเล็กคุณภาพ หมายเหตุ ใหอําเภอ copy file ผลงานลาสุดท้ัง 5 หัวขอขางตนใหดวย

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 98: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๑

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน แนวทางการประเมินผล

4

ข้ันตอนท่ี 4 (ตอ) - ผลการดําเนินงานสถานท่ีทํางานนาอยู นาทํางาน ใน สสอ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. (0.2) - ผลการดําเนินงานสงเสริมการพัฒนาศูนยเด็กเล็กตามเกณฑมาตรฐาน ศูนยเด็กเล็กคุณภาพ (0.2)

เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดงถึงผลการดําเนินงาน ดังนี้ 8. ผลการตรวจประเมินตนเองตามเกณฑสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน - มีผลการตรวจประเมินครบทุกแหง (0.2) - มีผลการตรวจประเมิน ≥ รอยละ 50 (0.15) - มีผลการตรวจประเมิน < รอยละ 50 (0.1) - ไมมีผลการตรวจประเมิน (0) 9. ผลการตรวจประเมินรับรองศูนยเด็กเล็กตามเกณฑมาตรฐาน ศูนยเด็กเล็กคุณภาพ - มีผลการตรวจประเมินครบทุกศูนย (0.2) - มีผลการตรวจประเมิน ≥ รอยละ 50 (0.15) - มีผลการตรวจประเมิน < รอยละ 50 (0.1) - ไมมีผลการตรวจประเมิน (0)

โปรแกรมฟุตปริน้ รอยละ 100 (0.1) - สสอ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. ผานเกณฑมาตรฐานสถานท่ีทํางานนาอยูนาทํางาน รอยละ 50 (0.2) - ศูนยเด็กเล็กผานเกณฑมาตรฐาน ศูนยเด็กเล็กคุณภาพ รอยละ 70 (0.2)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 99: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๙

งานคุมครองผูบริโภค

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 100: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๓

ประเด็นหลักที่ ๙ : งานคุมครองผูบริโภค

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๖ การเกิดทีม Primary GMP ระดับอําเภอ ในอําเภอท่ีมีสถานประกอบการอาหาร แปรรูปท่ี

บรรจุในภาชนะพรอมจําหนายของจังหวัด (100 %) น้ําหนักคะแนน ๒

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๗ ลดตนทุนของยา เวชภัณฑ และเวชภัณฑท่ีไมใชยา

1. ตนทุนคาเวชภัณฑฯของหนวยงาน (รอยละ 10 เม่ือเทียบกับปงบประมาณ 2555 ) 2. มูลคาการจัดซ้ือรวมยาและเวชภัณฑฯ ของหนวยงาน

(≥ รอยละ 20 ของมูลคาการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑฯท้ังหมด น้ําหนักคะแนน ๔

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๘ ผูปวยนอกไดรับบริการการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกท่ีไดมาตรฐาน

(≥ รอยละ 16) น้ําหนักคะแนน ๒

ช่ือตัวช้ีวัด รอยละการเกิดทีมPrimary GMP ระดับอําเภอ ในอําเภอท่ีมีสถานประกอบการอาหาร แปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายของจังหวัด

คํานิยาม ทีม Primary GMP ระดับอําเภอ จะประกอบดวย ทีมเจาหนาท่ีสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ เจาหนาท่ีสํานักงานเกษตรอําเภอ และเจาหนาท่ีสํานักงานพัฒนาการอําเภอ ท่ีจะชวยอํานวยความสะดวกแกผูผลิตผลิตภัณฑอาหารแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนาย อาทิ ผลิตภัณฑอาหารตามนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ(OTOP) ผลิตภัณฑจากกลุมแมบานเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน ท่ีตองปฏิบัติตามมาตรฐาน Primary GMP โดยการลงพ้ืนท่ีใหคําแนะนําและพัฒนาสถานท่ีผลิตอาหาร 878 อําเภอ ท่ัวประเทศ

ทีมพ่ีเลี้ยง จะประกอบดวย ทีมเจาหนาท่ีสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด เจาหนาท่ีสํานักงานเกษตรจังหวัดและเจาหนาท่ีสํานักงานพัฒนาการจังหวัด ท่ีจะชวยดูแลแนะนําดานวิชาการ ใหคําปรึกษาดานการขออนุญาตและพัฒนาสถานท่ีผลิตใหกับทีม Primary GMP ระดับอําเภอ รวมท้ังประสานงานกับ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานของทีม Primary GMP ระดับอําเภอใหมีประสิทธิภาพ

เกณฑเปาหมาย รอยละ 100 ประชากรกลุมเปาหมาย

ทีม Primary GMP ระดับอําเภอ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 101: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๔

วิธีการจัดเก็บขอมูล 1.คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานระดับจังหวัดและระดับอําเภอ เพ่ือจัดตั้งทีม Primary GMP ระดับอําเภอ ในอําเภอท่ีมีสถานประกอบการอาหารแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนาย ในการพัฒนามาตรฐานการผลิตอาหารแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนาย โดยมีองคประกอบหลักท่ีของ 3 หนวยงาน ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงกระเกษตรและสหกรณ สอดคลองตามเจตนารมณขอตกลงความรวมมือ (MOU) ดําเนินโครงการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดทีม Primary GMP ระดับอําเภอ ท่ัวประเทศ 2.แผนการดําเนินงานและเปาหมายการพัฒนาสถานประกอบการอาหารแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายรวมกันของทีม Primary GMP ระดับอําเภอ และภาคีเครือขายท่ีเก่ียวของ

แหลงขอมูล สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด รายการขอมูล 1 A= จํานวนการเกิดทีม Primary GMP ระดับอําเภอ ในอําเภอท่ีมีสถาน

ประกอบการอาหารแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายของจังหวัด รายการขอมูล 2 B= จํานวนอําเภอท้ังหมดในจังหวัดท่ีมีสถานประกอบการอาหารแปรรูปท่ีบรรจุใน

ภาชนะพรอมจําหนายท่ีไดรับอนุญาต สูตรคํานวณตัวชี้วัด รอยละของการเกิดทีม PrimaryGMP ระดับอําเภอในอําเภอท่ีมีสถานประกอบ

การอาหารแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายของจังหวดั =(B/A) x 100 การรายงานผลการดําเนินงาน

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด รายงานผลการเกิดทีม Primary GMP ระดับอําเภอ ในอําเภอท่ีมีสถานประกอบการอาหารแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายของจังหวัด ใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

หนวยงานจัดเก็บขอมูล สํานักอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา วิธีการรายงาน/ความถ่ีในการรายงาน

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด รายงานผลทาง http://iodinethailand.fda.moph.go.th/Primary_GMP/index.php

หนวยงานท่ีรายงาน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด หนวยงานรับผิดชอบตัวชี้วัด

กลุมงานคุมครองผูบริโภค

ผูกํากับตัวชี้วัด ภก.ประวุฒิ ละครราช โทร 045-712233 ตอ 131 กลุมงานคุมครองผูบริโภค

ช่ือตัวช้ีวัด รอยละการเกิดทีมPrimary GMP ระดับอําเภอ ในอําเภอท่ีมีสถานประกอบการอาหาร แปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายของจังหวัด

ผูประสานงาน/จัดทํารายงานตัวช้ีวัด

ภก.เชษฐา กุลสุวรรณ โทร 045-712233 ตอ 131 กลุมงานคุมครองผูบริโภค

แบบประเมินความสําเร็จ (Ranking) ตัวชี้วัด:รอยละการเกิดทีม Primary GMP ระดับอําเภอในอําเภอท่ีมีสถาน

ประกอบการอาหารแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนาย

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 102: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๕

ประจําหนวยงาน...............................................................วนัท่ีประเมิน......................................................... ท่ี ขอกําหนด/ประเด็น เกณฑชี้วัด คะแนน ได 1 ดําเนินการแตงตั้งคณะทํางานระดับ

อําเภอ เพ่ือจัดตั้งทีม primary GMP ระดับอําเภอ โดยมี องคประกอบหลักของ 3 หนวยงาน ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตรและสหกรณ สอดคลองตามเจตนารมณขอตกลงความรวมมือ (MOU) ดําเนินโครงการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดทีม Primary GMP ระดับอําเภอ

1.มีคําสั่งแตงตั้งคณะทํางานระดับอําเภอ เพ่ือจัดตั้งทีม primary GMP ระดับอําเภอ โดยคําสั่งฯมีองคประกอบหลักของ 3 หนวยงาน ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงกระเกษตรและสหกรณ และมีการประชุมคณะทํางานระดับอําเภอ

5

2 กําหนดเปาหมายและวางแผนการดําเนินงาน เพ่ือพัฒนาสถานประกอบการแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายรวมกันของทีม primary GMP ระดับอําเภอ และภาคีเครือขายท่ีเก่ียวของ

1.มีการกําหนดเปาหมายและวางแผนการดําเนินงาน เพ่ือพัฒนาสถานประกอบการแปรรูปท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายรวมกันของทีม primary GMP ระดับอําเภอ และภาคีเครือขายท่ีเก่ียวของ 2.ดําเนินการตามแผนครบทุกกิจกรรม (คะแนนใหตาม รอยละของกิจกรรมท่ีทําสําเร็จตามแผน เชน ทํา5กิจกรรม จากท้ังหมด 10กิจกรรม ได 5 คะแนน)

5

0-10

3 รวบรวมและจัดทําฐานขอมูลสถานท่ีผลิตอาหารแปรรปูท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายของอําเภอ และจัดสงใหสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

1.รวบรวมและจัดทําฐานขอมูลสถานท่ีผลิตอาหารแปรรปูท่ีบรรจุในภาชนะพรอมจําหนายของอําเภอและจัดสงใหสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

5

4 การตรวจประเมินสถานท่ีและใหคําแนะนํา

1.มีบันทึกการตรวจประเมินสถานท่ี ใหแนะนําทุกแหง (คะแนนใหตาม รอยละของสถานท่ีท่ีดําเนินการตรวจ ใหคําแนะนํา เชน ตรวจ5แหง จากท้ังหมด 10แหงได 5 คะแนน) 2.มีการสรุปผลการตรวจประเมินท้ังหมด

0-10

5

รวมคะแนน 40 คิดเปนคะแนน 2 คะแนน ..............

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 103: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๖

เอกสารแนบประกอบ 1………………………………………………………………………………………………………………………………… 2……………………………………………………………………………………………………………………………….. 3………………………………………………………………………………………………………………………………… 4……………………………………………………………………………………………………………………………….. บันทึกขอสังเกต 1................................................................................................................................................. 2.................................................................................................................................................. 3................................................................................................................................................

1)......................................................ผูรับการประเมิน 2)......................................................ผูรับการประเมิน 3)......................................................ผูรับการประเมิน

.........................................................ผูประเมิน

KPI TEMPLATE ยาและเวชภัณฑ ตัวช้ีวัดยาและเวชภัณฑ 1. ลดตนทุนของยา เวชภัณฑ และเวชภัณฑท่ีไมใชยา

1.1 ตนทุนคาเวชภัณฑฯของหนวยงาน ลดลงรอยละ 10 1.2 มูลคาการจัดซ้ือรวมยาและเวชภัณฑฯ ของหนวยงาน ≥ รอยละ 20

คํานิยาม ลดตนทุนของยา เวชภัณฑ และเวชภัณฑท่ีไมใชยา หมายถึง มูลคาการจัดซ้ือยา เวชภัณฑ และเวชภัณฑท่ีไมใชยา ลดลงเม่ือเปรียบเทียบกับปงบประมาณ 2556 ณ หวงเวลาเดียวกัน การจัดซ้ือรวมของยาและเวชภัณฑฯ หมายถึง การจัดซ้ือรวมระดับจังหวัด/กรมและระดับเขต ของยาและเวชภัณฑท่ีนอกเหนือจากยา ตามมาตรการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ นโยบาย Good Health at Low Cost และตามมาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดซ้ือยาของกระทรวงสาธารณสุข เวชภัณฑฯ หมายถึง เวชภัณฑท่ีมิใชยาอ่ืนท่ีใชในทางการแพทย ซ่ึงรวมถึง วัสดุการแพทย วัสดุวิทยาศาสตรการแพทย วัสดุเอ็กซเรย วัสดุทันตกรรม

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 104: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๗

เกณฑเปาหมาย 1.1 ลดลงรอยละ 10 เม่ือเทียบกับปงบประมาณ 2556 1.2 เทากับหรือมากกวารอยละ 20 ของมูลคาการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑฯท้ังหมด

ประชากรกลุมเปาหมาย โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน วิธีการจัดเก็บขอมูล ขอมูลผลการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑฯ ของหนวยงาน

แยกประเภทจัดซ้ือเองและจัดซ้ือรวม แหลงขอมูล โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน รายการขอมูล 1 1.1 A=มูลคาการจัดซ้ือยา เวชภัณฑฯ ปงบประมาณ

2556 1.2 A=มูลคาการจัดซ้ือรวมของยาและเวชภัณฑท่ีนอกเหนือจากยาของหนวยงาน

รายการขอมูล 2 1.1 B=มูลคาการจัดซ้ือเวชภัณฑฯ ปงบประมาณ 2557 1.2 B=มูลคาการจัดซ้ือท้ังหมดของยาและเวชภัณฑท่ีนอกเหนือจากยาของหนวยงาน ปงบประมาณ 2557

สูตรการคํานวณตัวช้ีวัด 1.1 (B-A)X100/A 1.2 (A/B)X100 ระยะเวลาประเมินผล ทุก 6 เดือน หนวยงานรับผิดชอบตัวชี้วัด กลุมงานคุมครองผูบริโภค ผูกํากับตัวชี้วัด ภก.ประวุฒิ ละครราช โทร 045-712233

ตอ 131กลุมงานคุมครองผูบริโภค ช่ือตัวช้ีวัด 1. ลดตนทุนของยา เวชภัณฑ และเวชภัณฑท่ีไมใชยา

1.1 ตนทุนคาเวชภัณฑฯของหนวยงาน ลดลงรอยละ 10 1.2 มูลคาการจัดซ้ือรวมยาและเวชภัณฑฯ ของหนวยงาน ≥ รอยละ 20

ผูประสานงาน/จัดทํารายงานตัวช้ีวัด ภญ.เสาวนีย แสนคาร โทร 045-712233 ตอ 131 กลุมงานคุมครองผูบริโภค

แบบประเมินการดําเนินงานบริหารเวชภัณฑจังหวัดยโสธร ประจําป 2557

หัวขอประเมิน ผลคะแนน คะแนน

10 40 70 100 1 ตนทุนคาเวชภัณฑฯของ

หนวยงาน ลดลงรอยละ 10 <4 4-6 7-9 ≥10

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 105: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๘

2 มูลคาการจัดซ้ือยารวมและเวชภัณฑฯของหนวยงาน ≥

รอยละ 20

<10 10-14 15-19 ≥20

รวม

หมายเหตุ คะแนนเต็มขอละ 100 คะแนน น้ําหนักคะแนนขอละ 1.5

แบบรายงานการดําเนินการบริหารเวชภัณฑ ( ตามมาตรการฯ 9 ขอของกระทรวง )

โรงพยาบาล............................................... ๑. ระบบบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ

ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557 1 คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด (PTC) ไมมี

มี ประชุม...............ครั้ง 2 แผนจัดซ้ือยาและเวชภัณฑประจําป ไมมี

มี จาํนวน...............รายการ ๒. การคัดเลือก

ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557 3 มีการกําหนดเกณฑการคัดเลือกรายการยาและ

เวชภัณฑ เขา/ออกจากบัญชีโรงพยาบาลท่ีชัดเจน ไมมี มี

4 มีการจัดทํา/ทบทวนบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ ของหนวยงานใหเปนปจจุบนัทุกป

ไมมี มี

๓. การจัดซ้ือ/จัดหา

ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557 5 มีการจัดซ้ือตามแผนการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑประจําป/กรณีไม

เปนไปตามแผนมีการขออนุมัติปรับแผน ไมมี มี

6 มีรายการยาและเวชภัณฑท่ีมีการจัดซ้ือรวมระดับจังหวัดหรือระดับเขต

ไมมี มี

7 ขออนุมัติจัดซ้ือกอนดําเนินการสั่งซ้ือ ไมมีการขออนุมัติกอน ขออนุมัติกอน

8 การจัดซ้ือใหดําเนินการตามท่ีกําหนดในระเบียบพัสดุฯ และไมแบงซ้ือแบงจาง

ถูกตองตามระเบียบ มีการแบงซ้ือแบงจาง

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 106: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๙๙

๔. การตรวจรับ ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557

9 มีกรรมการตรวจรับยาและเวชภัณฑทําการตรวจรับถูกตองตามระเบียบฯพัสดุ

ไมมี มี

10 มีหลักฐานกรรมการตรวจรับสงมอบยาและเวชภัณฑใหคลังเวชภัณฑท่ีเปนลายลักษณอักษร

ไมมี มี

11 รายการท่ีไมมีใบสั่งซ้ือหรือคําสั่งซ้ือ มีการแจงบริษัทและสงคืนทันที โดยมีการลงบัญชีไวและมีการลงนามชื่อผูแทนบริษัทท่ีมารับสินคาคืนทุกครั้ง

ไมมี มี

๕. การควบคุม/เก็บรักษา ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557

12 ประตูคลังเวชภัณฑหรือประตูหองจายยา ใสกุญแจอยางนอย ๒ ชุด และมีผูจัดเก็บกุญแจแยกจากกันคนละดอก ไมเปดประตูคลังเวชภัณฑไวตลอดเวลา

ไมมี มี

13 มีการจัดทําทะเบียนควบคุมเวชภัณฑ (Stock card) ๒ ชุดโดยสามารถตรวจสอบซ่ึงกันและกันได

ไมมี มี

14 สํารองยาในคลังไมเกิน ๓ เดือน ไมเกิน (สํารองเฉล่ีย.........เดือน) เกิน (สํารองเฉล่ีย.........เดือน)

15 มีระบบ เฝาระวังวันหมดอายุ และการเสื่อมสภาพของยา ไมมี มี

16 มีระบบการรักษาความปลอดภัยของหองจายยา และคลังเวชภัณฑ เชนกลองวงจรปด ในจุดสําคัญ

ไมมี มี

17 มีระบบการควบคุมท่ีเขมงวดในยาเสพติดใหโทษ วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทหรือยาอ่ืนท่ีอาจถูกนําไปใชในทางท่ีผิด

ไมมี มี

๖. การเบิกจาย ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557 18 มีผูรับผิดชอบการเบิก-จาย หนวยเบิก แบบฟอรมการขอเบิก และเวลา

การเบิกท่ีชัดเจน ไมมี มี

19 มีระบบการตรวจสอบซ่ึงกันและกันในการเบิกจายยาและเวชภัณฑโดยใหเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบเปนคนละคนกัน ในเรื่อง การรับใบเบิก/จัดยาตามใบเบิก และการจายของ/ลงบัญชีรับจาย หรือระบบท่ีสามารถตรวจสอบการเบิกการจายยาและเวชภัณฑไดระบบอ่ืน กรณีมีบุคลากรนอย

ไมมี มี

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 107: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๐

๗. การใช ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557 20 มีการกําหนดหลักเกณฑการสั่งใชยาอยางสมเหตุสมผล ในรายการยาท่ีมี

ความสําคัญหรือมีมูลคาสูง ไมมี มี

21 มีระบบการติดตาม ประเมินการใชยา (Drug Utilization Evaluation) ในกลุมยาท่ีตองเฝาระวังหรือมีมูลคาสูง

ไมมี มี

๘. ระบบรายงาน ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557 22 มีระบบการตรวจสอบภายใน คลังเวชภัณฑ และหองจายยา โดยใหมีการ

ตรวจสอบการรับ-จาย ทะเบียนควบคุม และนับจํานวนท่ีเหลือจริงเปนระยะ ๆ โดยสุมเลือกตรวจเปนบางรายการ เฉพาะท่ีมีราคาแพงหรือรายการท่ีมีการเบิกจาย มากหรือรายการท่ีอาจถูกนําไปใชในทางท่ีผิด และเสนอผลการตรวจสอบตอผูบังคับบัญชา

ไมมี มี

23 มีรายงานสรุปการรับจายยาและเวชภัณฑ รายเดือน/ป เสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับข้ัน

ไมมี มี

24 มีรายงานการตรวจสอบพัสดุประจําป (ตามระเบียบพัสดุ) และขออนุมัติจําหนายรายการท่ีหมดอายุหรือเสื่อมสภาพ

๙. การตรวจสอบและรายงาน ขอ รายการ ปงบประมาณ 2557 25 มีรายงานการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑประจําเดือนใหสวนกลาง (ศูนย

ขอมูลขาวสารดานเวชภัณฑ กระทรวงสาธารณสุข,สําเนาให สสจ.บก) ไมมี มี

หมายเหตุ เกณฑคะแนน ขอละ 1 คะแนน รวม 25 คะแนน นําหนักคะแนน 1 คะแนน

ยุทธศาสตรท่ี 2 พัฒนาและจัดระบบบริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเขาถึงบริการได

ตัวช้ีวัดการเขาถึงบริการ

1.รอยละของผูปวยนอกไดรับบริการการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ท่ีไดมาตรฐาน (เทากับ 16)

คํานิยาม 1. ผูปวยนอก หมายถึงผูปวยท่ีมารับบริการการตรวจรักษาพยาบาลสงเสริม สุขภาพปองกันโรคและฟนฟูสภาพท่ีโรงพยาบาล แตไมได นอนพักรักษาตัวใน โรงพยาบาล 2. การบริการดานการแพทยแผนไทยหมายถึงบริการรักษาพยาบาลสงเสริม

รวมคะแนน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 108: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๑

สุขภาพปองกันโรคและฟนฟูสภาพดังนี้ -การรักษาดวยยาสมุนไพร -การนวดเพ่ือรักษา-ฟนฟูสภาพ -การอบไอน้ําสมุนไพรเพ่ือรักษา-ฟนฟูสภาพ -การประคบสมุนไพรเพ่ือรักษา-ฟนฟูสภาพ -การทับหมอเกลือ -การนวดเพ่ือสงเสริมสุขภาพ -การอบไอน้ําสมุนไพรเพ่ือสงเสริมสุขภาพ -การประคบสมุนไพรเพ่ือสงเสริมสุขภาพ -การใหคําแนะนําการสอน สาธิตดานการแพทยแผนไทย -การฝกกายบริหารดวยทาฤๅษีดัดตน 3. การบริการดานการแพทยทางเลือกหมายถึงบริการรักษาพยาบาลสงเสริม สุขภาพและฟนฟูสภาพดังนี้ -การฝกสมาธิบําบัด - ฝงเข็ม 4. บริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกท่ีไดมาตรฐาน หมายถึงบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอืกในสถานบริการ สาธารณสุขของรัฐ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 5. สถานบริการสาธารณสุขของรัฐหมายถึง โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

เกณฑเปาหมาย รอยละ 16 ประชากรกลุมเปาหมาย ประชาชนผูมารับบริการผูปวยนอกในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สังกัด

กระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ

วิธีการจัดเก็บขอมูล -บันทึกขอมูลในระบบรายงาน 43 แฟมมาตรฐาน -รายงานจากจังหวัด

แหลงขอมูล -43 แฟม (Service/Person ) -E-Inspection -จากรายงานของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

รายการขอมูล 1 A= จํานวนผูปวยนอกท่ีมารับบริการการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกท่ีไดมาตรฐานในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ

รายการขอมูล 2 B= จํานวนผูปวยนอกท่ีมารับบริการท้ังหมดในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สูตรคํานวณตัวช้ีวัด (A/B)X100 ระยะเวลาประเมินผล การตรวจราชการและนิเทศงานปละ 2 ครั้ง หนวยงานรับผิดชอบตัวชี้วัด

กลุมงานคุมครองผูบริโภค

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 109: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๒

ผูกํากับตัวชี้วัด ภก.ประวุฒิ ละครราช โทร 045-712233 ตอ 131กลุมงานคุมครองผูบริโภค

ช่ือตัวช้ีวัด 1. ลดตนทุนของยา เวชภัณฑ และเวชภัณฑท่ีไมใชยา 1.1 ตนทุนคาเวชภัณฑฯของหนวยงาน ลดลงรอยละ 10 1.2 มูลคาการจัดซ้ือรวมยาและเวชภัณฑฯ ของหนวยงาน ≥ รอยละ 20

ผูประสานงาน/จัดทํารายงานตัวช้ีวัด

ภญ.จิตรทิพย ชนาเทพาภรณ โทร 045-712233 ตอ 131 กลุมงานคุมครองผูบริโภค

แบบประเมินตัวช้ีวัดประเมินความสําเร็จ (Ranking)

ของงานแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก จังหวัดยโสธร ปงบประมาณ 2557

ประจาํหนวยงาน…………………………………………วันท่ีออกประเมินใหคะแนน....................................................

(ประเมินรอบท่ี 1 ใชขอมูล ตค.56-กพ57 , ประเมินรอบท่ี 2 ใชขอมูล มีค.-มิย.57) ลํา ดับ

ยุทธศาสตร/ตัวช้ีวัด คะแนน ได หมายเหตุ

1 มีผูรับบริการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ในสถานบริการ (บริการแพทยแผนไทย หมายถึง นวด,อบ, ประคบ,บริการการแพทยทางเลือก หมายถึงการฝงเข็ม อ่ืนๆ) จํานวนครั้งผูรับบริการท้ังหมด (รพ............................ครั้ง) (รพ.สต......................ครั้ง) ผลงาน.รพ................................ครั้ง รอยละ ........................ ผลงาน.ร.สต................................ครั้ง รอยละ ........................ ผลงานรวมท้ังหมด.....................ครั้ง รอยละ ...................... (ใชขอมูล Data center)

5 1) ครอบคลุมรอยละ 16 ข้ึนไป ได 5 คะแนน 2)ครอบคลุมรอยละ 12.0-15.99 ได 4 คะแนน 3)ครอบคลุมรอยละ 8.0-11.99 ได 3 คะแนน 4)ครอบคลุมรอยละ 4.0-7.99 ได 2 คะแนน 5)ครอบคลุมรอยละ 0-3.99 ได 1 คะแนน เปาหมาย สํานักงานตรวจ รอยละ 16 (รอยละของผูปวยนอกไดรับบริการการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือก ป 2556=12.39)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 110: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๓

2

มูลคาการใชยาสมุนไพรในสถานพยาบาล รอยละมูลคาการใชยาสมุนไพรตอยาท้ังหมดท้ังอําเภอ ของปท่ีผานมา.................................... มูลคาการใชยาสมุนไพรท้ังอําเภอ................................บาท มูลคาการใชยาท้ังหมดท้ังอําเภอ...................................บาท คิดเปนรอยละ............................... ดังนั้นเพ่ิมข้ึนคิดเปนรอยละ.................................... (ใชขอมูล Data center)

5

รอยละของมูลคาการใชยาสมุนไพรท่ีเพ่ิมจากป 2556 1) รอยละ 5.0 ข้ึนไป ได 5 คะแนน 2) รอยละ 4.0-4.99 ได 4 คะแนน 3) รอยละ 3.0-3.99 ได 3 คะแนน 4) รอยละ 2.0-2.99 ได 2 คะแนน 5) รอยละ 0-1.99 ได 1 คะแนน (รอยละของมูลคาการใชยาสมุนไพร ตอยาท้ังหมด (ต.ค.55-พ.ค.56) = 6.25)

3 หนวยบริการมีผูใหบริการแพทยแผนไทย ตามเกณฑการใหบริการสปสช.

3 1) มีผูประกอบโรคศิลปะ (≥1 คน) และผูชวยแพทยแผนไทย (≥1 คน) อยางนอย 330 ชม. ได 3 คะแนน 2) มีผูประกอบโรคศิลปะ แพทยแผนไทย (≥1 คน) ได 2 คะแนน 3) มีผูชวยแพทยแผนไทย อยางนอย 330 ชม. (≥1 คน) ได 1 คะแนน

คะแนนรวม 13 คิดเปนคะแนน 2

บันทึกขอสังเกต 1............................................................................................................................................................................. 2............................................................................................................................................................................. 3.............................................................................................................................................................................

1).....................................................................................................ผูรับการประเมินและใหขอมูล 2).....................................................................................................ผูรับการประเมินและใหขอมูล 3).....................................................................................................ผูรับการประเมินและใหขอมูล

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 111: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๑๐

งานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 112: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๕

ประเด็นหลักที่ ๑๐ : งานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๙ ระดับความสําเร็จของระบบฐานขอมูลของหนวยบริการ

น้ําหนักคะแนน ๗

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๐ ระดับระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ

น้ําหนักคะแนน ๓

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๙ ระดับความสําเร็จของระบบฐานขอมูลของหนวยบริการ

คําอธิบายความหมายของตัวช้ีวัด ระบบฐานขอมูลของหนวยบริการ หมายถึง ระบบที่ใชในการบันทึกขอมูลผูปวยและการบริการตางๆ ของแต

ละหนวยบริการ เชน ในระดบัโรงพยาบาลใชโปรแกรม HOSxP ในการบันทึกบริการ ระดบัโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(รพ.สต) หรือศูนยสุขภาพชุมชน(PCU) ใชโปรแกรม HOSxP PCU ในการบนัทึกบริการ โดยมีการจัดเก็บขอมูลผูปวย ผูมารับมาบริการ เชิงรายการ รายบุคคล รายหนวยบริการ(Individual Data) โดยใชโปรแกรมจัดการฐานขอมูล

ภายใตโครงสรางชุดขอมูลที่มีมาตรฐานเดียวกันทุกหนวยบริการ(Standard Data Set) และมีการเชื่อมโยงแบบรวมศูนย(Data Center) เปนคลังขอมูลสุขภาพกลาง(Data Warehouse) ในระดับจังหวัด

สูตรการคํานวณตัวช้ีวัด : -

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการให คะแนนเปน ๕ ระดับพิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone)

ข้ันตอนท่ี ๑ ข้ันตอนท่ี ๒ ข้ันตอนท่ี ๓ ข้ันตอนท่ี ๔ ข้ันตอนท่ี ๕ ๑ √

๒ √ √

๓ √ √ √

๔ √ √ √ √

๕ √ √ √ √ √

โดยในแตละข้ันตอนของการดําเนินการมีเกณฑการใหคะแนน ดังตอไปนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน ๑ การติดตั้งและใชระบบฐานขอมูลในการบันทึกขอมูลผูปวยและการบริการของหนวยงาน

- ระดับโรงพยาบาลใชโปรแกรม HOSxP - ระดับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(รพ.สต)หรือศูนยสุขภาพชุมชน(PCU)ใช

โปรแกรม HOSxP PCU ๒ มีการดําเนินงานตามระดับความสําเร็จท่ี ๑ และขอตอไปนี้

๑.มีการกําหนดภารกิจใหมีผูดูแลระบบฐานขอมูลของหนวยบริการ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 113: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๖

๒.จนท.หนวยบริการไดรบัการฝกอบรมใหม/ฟนฟูเก่ียวกับการใชงานโปรแกรมบันทึกขอมูล บริการ อยางนอยปละ ๑ ครั้ง ๓.มีการจัดระบบเครือขายคอมพิวเตอรในการใหบริการในสถานบริการ ๔.เครื่องคอมพิวเตอรท่ีใชในงานบริการสามารถเชื่อมตอกับระบบ Internet ได ๕.มีระบบ Backup ฐานขอมูลการบริการทุกวัน ๖.มีระบบการจัดเก็บขอมูล Backup ในหลายสื่อ หลายสถานท่ี ๗.มีการจัดระบบใหบุคลากรสาธารณสุขเทานั้นเปนผูใหรหัสโรค และรหัสหัตถการ ๘. มีระบบการตรวจสอบ/แกไขปรับปรุงขอมูลบรกิาร

๓ มีการดําเนินงานตามระดับความสําเร็จท่ี ๑,๒ และขอตอไปนี้ ๑.ระบบฐานขอมูลของหนวยบริการมีการเชื่อมโยงเขาสูคลังขอมูลสุขภาพกลาง (Data Warehouse) ระดับจังหวัด ๒.มีการ Synchronized ฐานขอมูลของหนวยบริการเขาสูระบบ Data Center ทุกวัน ไมนอยกวารอยละ ๙๐ 3.มีการจัดสงขอมูล 21 แฟม สมํ่าเสมอไมนอยกวารอยละ ๙๐ (รพ.สต./ศสช. สงทุกวันจันทร-พุธ-ศุกร รพ.สงเดือนละ 1 ครั้ง ภายในวันสิ้นเดือน ของเดือนถัดไป) 4.มีการจัดสงขอมูล 43 แฟมสมํ่าเสมอไมนอยกวารอยละ ๙๐ (รพ.สต./ศสช. สงทุกวันจันทร-พุธ-ศุกร รพ.สงเดือนละ 1 ครั้ง ภายในวันสิ้นเดือน ของเดือนถัดไป)

๔ มีการดําเนินงานตามระดับความสําเร็จท่ี ๑,๒,๓ และคะแนนรวมในขอตอไปนี้ไมนอยกวารอยละ 80 (วิธีตรวจสอบตามภาคผนวก) ๑.มีระบบฐานขอมูลท่ี ขอมูลมีความถูกตอง ครบถวน และเปนปจจุบัน 1.1 ระบบงานบัญชี 1 ประขากรทุกกลุมอายุ 1.2 ระบบงานบัญชี 2 หญิงตั้งครรภและหญิงหลังคลอด 6 สัปดาห 1.3 ระบบงานบัญชี 3 งานโภชนาการ EPI อนามัยเด็ก กลุมอายุต่ํากวา 1 ป 1.4 ระบบงานบัญชี 4 งานโภชนาการ EPI พัฒนาการ กลุมอายุ 1-5 ป 1.5 ระบบงานบัญชี 5 งานอนามัยเด็กวัยเรียน กลุมเด็กนักเรียน 1.6 ระบบงานบัญชี 6 งาน FP EPI มะเร็ง กลุมหญิง 15-60 ป 1.7 ระบบงานบัญชี 7 งานสุขาภิบาล สํารวจบาน 1.8 ระบบงานบัญชี 8 องคประกอบพ้ืนฐานชุมชน 1.9 ทะเบียนคลินิกพิเศษเบาหวาน/ความดัน ๒.มีการบันทึกบริการอยางตอเนื่อง ขอมูล ครบถวน และเปนปจจุบัน 3.ไมมีขอมูลคนตายไปรับบริการ 4.ไมมีขอมูลผูรับบริการในระหวาง Admit ท่ีโรงพยาบาล

๕ มีการดําเนินงานตามระดับความสําเร็จท่ี ๑,๒,๓,๔ และขอตอไปนี้ 1.คุณภาพของระบบขอมูล 21 แฟม มีความถูกตองไมนอยกวารอยละ ๙๕ 2.คุณภาพของระบบขอมูล 43 แฟม มีความถูกตองไมนอยกวารอยละ ๙๕

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 114: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๗

แหลงขอมูล / วิธีการจัดเก็บขอมูล : ๑ โปรแกรม HOSxP ในระดับโรงพยาบาล

โปรแกรม HOSxP PCU ในระดับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล หรือ PCU ๒ ระบบ Data Center HOSxP ๓ ระบบขอมูล PROVIS (21 แฟม : http://203.157.181.6/provis/)

4 ระบบขอมูล HDC (43 แฟม : http://203.157.181.21:8080/hdc/)

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : นายบรรจบ แสนสขุ เบอรติดตอ : ๐๘๑-๔๗๐๖๙๕๕

นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการพิเศษ

กลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข

ผูจัดเก็บขอมูล : นายอาคม มูลสาร เบอรติดตอ : ๐๘๑-๗๙๐๑๓๓๒

นักวิชาการสาธารณสุข ชํานาญการ กลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข

วิธีตรวจสอบระดับความสําเร็จของระบบฐานขอมูลของหนวยบริการ

ประเด็นท่ีประเมิน

น้ําหนัก คะแนน

เกณฑการใหคะแนน คะแนนท่ีได คะแนนเต็ม

สวนท่ี 1 ความครบถวนของระบบขอมูล

1.1 บัญชี 1 หมูบาน หลังคาเรือน ประชากร

1. หมูบานมีขอมูลครบถวนถูกตอง

1.00 ไมมีหรือไมครบ=0 , มีและครบ=2

2

-มีครบทุกหมู

-village_code ถูกตอง

2. บาน(หลังคาเรือน) มีขอมูลครบถวนถูกตอง

1.25 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

5

-มีเจาบาน

-บุคลากรสาธารณสุขประจําบาน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 115: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๘

-อสม

-เลขทะเบียนบาน(house_id)

-ลักษณะของท่ีอยู(housetype)

-latitude

-longitude

-location(เขตเทศบาล อบต.)

-ไมมีบานเลขท่ี xหรือวาง

3. คน มีขอมูลครบถวนถูกตอง

1.75 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

7

-มี cid ถูกตอง

-cid ไมซํ้ากับสถานบริการอ่ืน

-ชื่อ

-นามสกุล

-เพศ

-วันเกิด (ไมวาง คํานวณอายุได ไมเกิน 120ป)

-สถานภาพสมรส

-อาชีพ (มี และ map อาชีพทุกรหัส)

-เชื้อชาติ

-สัญชาติ

-ศาสนา

-ระดับการศึกษา

-typearea (0-4)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 116: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๐๙

-สถานะปจจุบัน(Update การตาย+วันจําหนาย)

-สิทธิการรักษา

-เลขบัตรสิทธิรักษา

-สถานบริการหลัก

-สถานบริการรอง (update เปรียบเทียบกับ DBPop)

-กรณีคนในเขตอายุไมเกิน 5 ปตองมี CID บิดาและมารดา

-ความพิการ(กรณีสิทธิ 74 หรือเปนคนพิการ)

1.2 บัญชี 2 หญิงตั้งครรภและหญิงหลังคลอด 6 สัปดาห

4. หญิงมีครรภในบัญชี 2 มีขอมูลถูกตอง

0.75 0-69% =0 ,70-79%= 1, 80-89%=2, 90-99%=3, 100%=4

3

-อายุครรภ(ตองไมเกิน 46 สัปดาห)

-สถานะปจจุบัน(จะตองสัมพันธกับขอมูลการฝากครรภ และขอมูลการคลอด โดยอายุครรภ 42 สัปดาหสถานะ = คลอดแลว)

-การตรวจกอนคลอดสัมพันธกับอายุครรภอยางมีคุณภาพ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 117: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑๐

5. ผูมีสถานะคลอดแลว มีขอมูลการบริการกอนคลอดครบถวน ไดแก

0.75 0-69% =0 ,70-79%= 1, 80-89%=2, 90-99%=3, 100%=4

3

-ครรภท่ี

-LMP

-EDC

-ผลการตรวจ VDRL_RS

-ผลการตรวจ HB_RS

-ผลการตรวจ HIV_RS

-วันท่ีตรวจ HCT.

-ผลการตรวจ HCT

-ผลการตรวจ THALASSAEMIA

6. ผูมีสถานะคลอดแลว มีขอมูลการคลอดครบถวน ไดแก

0.50 0-69% =0 ,70-79%= 1, 80-89%=2, 90-99%=3, 100%=4

2

-วันคลอด / วันสิ้นสุดการตั้งครรภ

-ผลวินิจฉัยการคลอด

-สถานท่ีคลอด

-รหัสสถานพยาบาลท่ีคลอด

-วิธีการคลอด / สิ้นสุดการตั้งครรภ

-ประเภทของผูทําคลอด

-จํานวนเกิดมีชีพ

-จํานวนตายคลอด

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 118: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑๑

7. การตรวจหลังคลอดสัมพันธกับระยะเวลาหลังคลอดอยางมีคุณภาพ

0.25 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

1

1.3 บัญชี 3 งานโภชนาการ EPI อนามัยเด็ก กลุมอายุต่ํากวา 1 ป

8. เด็กในบัญชี 3 มีอายุนอยกวา 1 ป

0.25 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

1

9. เด็กอายุครบ 1 ปแลวมีขอมูลไดรับวัคซีนตามโปรแกรม (BCG,HB1, DTPHB1-3,OPV1-3,MMR)

0.75 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

3

10. มีขอมูลการตรวจพัฒนาการ

0.25 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

1

1.4 บัญชี 4 งานโภชนาการ EPI พัฒนาการ กลุมอายุ 1-5 ป

11. เด็กในบัญชี มีอายุ 1–5 ป 11 เดือน 29 วัน

0.25 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

1

12. เด็กอายุครบ 6 ปแลวมีขอมูลไดรับวัคซีนตามโปรแกรม (DTP4-5,OPV4-5,JE1-3)

0.50 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

2

13. มีขอมูลภาวะโภชนาการ(น้ําหนัก,สวนสูง งวดลาสุด)

0.25 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

1

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 119: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑๒

14. มีขอมูลการตรวจพัฒนาการ (ในปงบประมาณ)

0.25 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

1

1.5 บัญชี 5 งานอนามัยเด็กวัยเรียน กลุมเด็กนักเรียน

15. นักเรียน มีขอมูล น้ําหนัก,สวนสูง (งวดลาสุด)

0.25 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

1

16. นักเรียน ป.1 มีขอมูลรับวัคซีน dTs2 (หากยังไมถึงกําหนดฉีด dTs2 วัดท่ี dTs1 )

0.50 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

2

17. นักเรียน ป.6 มีขอมูลรับวัคซีน dTs4 (หากยังไมถึงกําหนดฉีด dTs4 วัดท่ี dTs3 )

0.50 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

2

1.6 บัญชี 6 งาน FP EPI มะเร็ง กลุมหญิง 15-60 ป

18. หญิงสถานะคู ระบุวิธีการคุมกําเนิด (ตองไมเปนชองวาง)

0.25 0-69% =0 ,70-79%= 1, 80-89%=2, 90-99%=3, 100%=4

1

1.7 บัญชี 7 งานสุขาภิบาล สํารวจบาน

19. มีขอมูลประวัติการสํารวจบานในปงบประมาณ

0.25 0-69% =0 ,70-79%= 1, 80-89%=2, 90-99%=3, 100%=4

1

1.8 บัญชี 8 องคประกอบพ้ืนฐานชุมชน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 120: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑๓

20. มีองคกรชุมชนในหมูบาน ไมนอยกวา 2 ประเภท

0.25 0-69% =0 ,70-79%= 1, 80-89%=2, 90-99%=3, 100%=4

1

21. มี อสม. และ ไดระบุหลังคาเรือนท่ีรับผิดชอบทุกคน

0.25 0-69% =0 ,70-79%= 1, 80-89%=2, 90-99%=3, 100%=4

1

1.9 ทะเบียนคลินิกพิเศษเบาหวาน/ความดัน

22. มีรายชื่อคนในเขตท่ีมีโรคประจําตัวเบาหวานอยูในทะเบียนผูปวยเบาหวาน

0.50 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

2

23. รายชื่อคนในเขตท่ีมีโรคประจําตัวความดันโลหิตสูงอยูในทะเบียนผูปวยความดันโลหิตสูง

0.50 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

2

1.10 ขอมูลการรับบริการ

24. ขอมูลผูปวยนอก(OP) ปงบประมาณ 2557 มีหัวขอ(Item) ครบท้ังหมด 6 หัวขอ ดังนี้ น้ําหนัก,สวนสูง,ชีพจร, วินิจฉัย,CC,BP

0.75 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

3

25. ขอมูลผูปวยนอก(OP) ปงบประมาณ 2557 มี Principle diagnosis

0.75 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

3

สวนท่ี 2 ความทันเวลาของระบบขอมูล

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 121: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑๔

26. มีการ Synchronized ฐานขอมูลของหนวยบริการเขาสูระบบ Data Center ทันเวลา(ชาไมเกิน 3 วัน)

0.50 0-59% =0 ,60-69%= 1, 70-79%=2, 80-89%=3, 90%ข้ึนไป=4

2

27. มีการจัดสงขอมูล 21 แฟม สมํ่าเสมอ (รพ.สต./ศสช. สงทุกวันจันทร-พุธ-ศุกร รพ.สงเดือนละ 1 ครั้ง ภายในวันสิ้นเดือน ของเดือนถัดไป)

0.50 0-59% =0 ,60-69%= 1, 70-79%=2, 80-89%=3, 90%ข้ึนไป=4

2

28. มีการจัดสงขอมูล 43 แฟมสมํ่าเสมอ (รพ.สต./ศสช. สงทุกวันจันทร-พุธ-ศุกร รพ.สงเดือนละ 1 ครั้ง ภายในวันท่ี 10 ของเดือนถัดไป)

0.50 0-59% =0 ,60-69%= 1, 70-79%=2, 80-89%=3, 90%ข้ึนไป=4

2

สวนท่ี 3 ถูกตองและความนาเช่ือถือของ

ขอมูล

29. ไมมีขอมูลคนตายไปรับบริการ

1.00 มี=0 , ไมมี=4 4

30. ไมมีขอมูลผูรับบริการในระหวาง Admit ท่ีโรงพยาบาล

1.00 มี=0 , ไมมี=4 4

31. ความถูกตองของขอมูล 21 แฟม (ดูจากผลการตรวจสอบของ สปสช.)

1.00 0-64% =0 ,65-74%= 1, 75-84%=2, 85-94%=3, 95%ข้ึนไป=4

4

รวมคะแนน 70

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 122: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑๕

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๐ ระดับระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ

ความสอดคลองและเช่ือมโยง : แผนยุทธศาสตรเขตบริการสุขภาพท่ี ๑๐ ยุทธศาสตรท่ี ๓ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพ่ือสนับสนุน การจัดบริการ

ตัวชี้วัด G๙ I๔๘ มีแผนยุทธศาสตรพัฒนาระบบสุขภาพ ระดับเครือขายบริการและระดับจังหวัด และมีการปฏิบัติตามแผน (ทุกแหง) : แผนยุทธศาสตรสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

เปาประสงคท่ี ๗ การบริหารแผนงานและการติดตามประเมินผล มีประสิทธิภาพ กลยุทธ ท่ี ก .๖ พัฒนาการบริหารแผนและติดตามประเ มินผล ใหมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจําป วัตถุประสงค ๑ เพ่ือประเมินผลการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป ๒๕๕๗ ของ

เครือขายสุขภาพอําเภอ ๒ เพ่ือติดตามการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการประจําป ๒๕๕๗ ของเครือขายสุขภาพอําเภอ

คํานิยาม แผนปฏิบัติการประจาํป หมายถึง แผนระยะ ๑ ป ท่ีมุงแกไขปญหาดานสาธารณสุขท่ีมีการกําหนดเปาหมายในการแกปญหาไวอยางชัดเจน ภายใตกระบวนการบูรณาการและมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

เกณฑเปาหมาย ๑ เครือขายสุขภาพอําเภอมีแผนปฏิบัติราชการประจําปแบบหนึ่งอําเภอหนึ่งแผน (single plan) ๒ เครือขายสุขภาพอําเภอดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจําปและตอบสนองตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพ และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด อยางนอยรอยละ ๙๐

ประชากรกลุมเปาหมาย โรงพยาบาล สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

แนวทางการดําเนินการ ๑. เครือขายสุขภาพอําเภอสรุปผลการดําเนินงานประจําป วิเคราะหสภาพ

ปญหาสาธารณสุข เพ่ือประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 123: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑๖

๒. หนวยบริการสาธารณสุขทุกแหงจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป และเครือขายสุขภาพอําเภอจัดแผนปฏิบัติราชการประจําปในภาพรวมของเครือขาย โดยการมีสวนรวมตามประเด็นท่ีเปนปญหาของพ้ืนท่ี และไมบรรลุตัวชี้วัดตามการสรุปผลการดําเนินเงินประจําป ๓. จัดหาทรัพยากรจากแหลงอ่ืน เชน กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถ่ินหรือพ้ืนท่ีมาใชในการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจําป๔. เครือขายสุขภาพอําเภอนิเทศติดตามการดําเนินตามแผนปฏิบัติราชการประจาํปของหนวยงานบริหารในเครือขายอยางนอยปละ ๒ ครั้ง

วิธีการจัดเก็บขอมูล สัมภาษณ สอบถาม แหลงขอมูล ๑. แผนปฏิบัติราชการประจําป

๒. ปญหาสาธารณสุขหรือปญหาสุขภาพในพ้ืนท่ี ๓. คําสั่ง หนังสือราชการ หรือเอกสารเก่ียวกับการจัดทําแผนปฏิบัติ ราชการประจําป

ระยะเวลาการประเมินผล ปละ ๒ ครั้ง

แนวทางการประเมิน กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการให คะแนนเปน ๕ ระดับพิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน

ระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) ข้ันตอนท่ี ๑ ข้ันตอนท่ี ๒ ข้ันตอนท่ี ๓ ข้ันตอนท่ี ๔ ข้ันตอนท่ี ๕

๑ √

๒ √ √

๓ √ √ √

๔ √ √ √ √

๕ √ √ √ √ √ โดยในแตละข้ันตอนของการดําเนินการมีเกณฑการประเมิน ดังตอไปนี้

ระดับคะแนน เกณฑการประเมิน ๑ ๑.๑ มีการวิเคราะหปญหาสาธารณสุขหรือปญหาสุขภาพในพ้ืนท่ี

๑.๒ มีการสรุปผลการดําเนินในรอบปท่ีผานมา เพ่ือหาสวนขาดหรือปญหาท่ีไมผานตัวชี้วัดเพ่ือประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป

๒ หนวยบริการสาธารณสุขทุกแหงจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป และเครือขายสุขภาพอําเภอจัดแผนปฏิบัติราชการประจําปในภาพรวมของเครือขาย โดยการมีสวนรวมตามตัวชี้วัด ประเด็นท่ีเปนปญหาของพ้ืนท่ี และไมบรรลุตัวชี้วัดตามการสรุปผลการดําเนินเงิน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 124: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๑๗

ประจาํป ๓ แผนปฏิบัติราชการประจําป ตอบสนองตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพ

และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด อยางนอยรอยละ ๙๐ ๔ มีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจําป รอยละ ๙๐ ๕ แผนปฏิบัติราชการประจําปดําเนินการแลวเสร็จตามระยะเวลา รอยละ ๘๐

สูตรการคํานวณ การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคํานวณ)

๑ รอยละของแผนปฏิบัติราชการประจําป ตอบสนองตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพ และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

= จํานวนแผนปฏิบัติราชการประจําปท่ีตอบสนองตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพ และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดx ๑๐๐

จํานวนแผนปฏิบัติราชการประจําปท้ังหมดท่ีไดรับอนุมัติ

๒ รอยละของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจําป = จํานวนแผนปฏิบัติราชการประจําปท่ีตอบสนองตัวชี้วัดกระทรวง

สาธารณสุข เขตบริการสุขภาพ และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และมีการดําเนินการตามแผน x๑๐๐

จํานวนแผนปฏิบัติราชการประจําปท้ังหมดท่ีไดรับอนุมัติ

๓ รอยละของแผนปฏิบัติราชการประจําปท่ีดําเนินการแลวเสร็จ = จํานวนแผนปฏิบัติราชการประจําปท่ีตอบสนองตัวชี้วัดกระทรวง

สาธารณสุข เขตบริการสุขภาพ และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และมีการดําเนินการแลวเสร็จ x๑๐๐

จํานวนแผนปฏิบัติราชการประจําปท้ังหมดท่ีไดรับอนุมัติและมีระยะเวลาดําเนินการกอนการประเมิน

๘.ผูประสานงานตัวชี้วัด

๘.๑ ชื่อ-สกุล นายบรรจบ แสนสุข ตําแหนง : นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการพิเศษ

หนวยงาน : กลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

โทรศัพท. ๐๔๕-๗๑๒๒๓๓-๔ ตอ ๑๒๓. E-Mail : [email protected]

๘.๒ ชื่อ-สกุล นายสงวน บุญธรรม ตําแหนง : นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ

หนวยงาน : กลุมงานพัฒนายุทธศาสตรสาธารณสุข สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

โทรศัพท. ๐๔๕-๗๑๒๒๓๓-๔ ตอ ๑๒๓. E-Mail : [email protected]

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 125: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

118

เอกสารประกอบการนิเทศงานผสมผสานและการจัดลําดับเครือขายบริการ

ตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจําป ระ ดับ

เกณฑการประเมิน แนวทาง/แหลงขอมูล การประเมิน

1 มีการวิเคราะหปญหาสาธารณสุข

1.1 หนังสือหรือคําสั่ง แตงตั้งหรือมอบหมาย เลือกตอบขอใดขอหนึ่ง ดังนี ้

หรือสภาพปญหาในพ้ืนท่ี

ใหเจาหนาท่ีวิเคราะหปญหาสาธารณสุขหรือปญหา

( ) 1. ไมมี

สุขภาพในพ้ืนท่ี ( ) 2. มี

1.2 มีการวิเคราะหปญหาสาธารณสุขในพ้ืนท่ี เลือกตอบขอใดขอหนึ่ง ดังนี ้

ตามหลักทางวิชาการและขอมูลยืนยันได

( ) 1. ไมสามารถแสดงหรือระบุปญหาสาธารณสุขหรือปญหาสุขภาพในพ้ืนท่ีได

( ) 2. ปญหาสาธารณสุขยึดตามรายงานการใหบริการผูปวยนอก (21 กลุมโรค) หรือรายงานทางระบาดวิทยา (รง.506)

( ) 3. มีการวิเคราะหปญหาโดยยึดหลักทางวิชาการมีขอมูลสนับสนุนอยางชัดเจน

1.3 เอกสารสรุปผลงานประจําปของเครือขายบริการ (ปงบประมาณท่ีผานมา) เลือกตอบขอใดขอหนึ่ง ดังนี ้

( ) 1. ไมมีการสรุปผลการดําเนินงานประจาํป

( ) 2.มีเอกสารสรุปผลการดําเนินงานประจาํป แยกสวน

( ) 2.1 โรงพยาบาล

( ) 2.2 สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ

( ). มีเอกสารสรุปผลการดําเนินงานประจาํปของเครือขายบริการ

2

หนวยบริการสาธารณสุขทุกแหงจัดทําแผนปฏิบัติการ

2.1 การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป ดําเนินการโดยมีสวนรวม เลือกตอบขอใดขอหนึ่ง ดังนี ้

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 126: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

119

ประจาํป

( ) 1. ไมมีคําสั่งคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติการ

และเครือขายบริการสุขภาพอําเภอจัดทําแผนปฏิบัติการในภาพรวม

( ) 2. มีคําสั่งแตงตั้งคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปของเครือขายบริการ

เครือขาย(single plan)โดยการมีสวนรวม

2.2 แผนปฏิบัติการประจาํปของ รพ.สต. / เลือกตอบขอใดขอหนึ่ง ดังนี ้

สสอ./ รพ. และเครือขายบริการ

( ) 1. ไมมีแผน

( ) 2. มีแผนปฏิบัติการประจําป แตไมรวมเปนแผนเครือขาย(singplan) โดยแยกเปน

จํานวนหนวยงานในเครือขายอําเภอ( รพ.สต. /สสอ./รพ.).............แหง มีแผนปฏิบัติการประจําป ...........แหง

( ) 3. มีแผนปฏิบัติการครบทุกหนวยงานและรวบรวมเปนภาพรวมเครือขาย

2.3 แผนปฏิบัติการประจาํป ผานการอนุมัตจิากเครือขาย เลือกตอบขอใดขอหนึ่ง ดังนี ้

บริการ ( ) 1. แผนปฏิบัติการประจําไมมีการกลั่นกรองและอนุมัติจากเครือขาย

( ) 2. แผนปฏิบัติการประจําป ผานการอนุมัติจากเครือขาย

(มีหลักฐาน เชน รายงานการประชุม คปสอ.)

3 แผนปฏิบัติราชการประจาํป ตอบสนอง

3.1 แผนปฏิบัติการประจาํปของเครือขายฯมีโครงการ

ตอบทุกขอ ถามี ใหทําเครื่องหมาย (/) ไมมีใหทําเครื่องหมาย (X)

ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข/เขตบริการ

การดูแลสุขภาพของประชาชนตามกลุมอายุ

( ) 1. มีโครงการ/กิจกรรม ดูแลกลุมเด็กปฐมวัย(0-5ป)/สตร ี

สุขภาพ และสํานักงาน

( ) เด็กปฐมวัย(0-5ป)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 127: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

120

สาธารณสุข

จังหวัด อยางนอยรอยละ 90 ( ) สตร ี

( ) 2. มีโครงการ/กิจกรรม ดูแลกลุมวัยเรียน(5-14ป)

( ) 3. มีโครงการ/กิจกรรม ดูแลกลุมวัยรุน/นักศึกษา(15-21ป)

( ) 4. มีโครงการ/กิจกรรม ดูแลกลุมวัยทํางาน(15-59ป)

( ) 5. มีโครงการ/กิจกรรม ดูแลกลุมผูสูงอายุ(60 ปข้ึนไป)/พิการ

( ) ผูสูงอายุ

( ) ผูพิการ

3.2 แผนปฏิบัติการประจาํปของเครือขายฯ

ตอบทุกขอ ถามี ใหทําเครื่องหมาย (/) ไมมีใหทําเครื่องหมาย (X)

ขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาและจัด

( ) 1. มีโครงการ/กิจกรรม การเขาถึงบริการ

ระบบบริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม

( ) 2. มีโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาคุณภาพบริการ

ประชาชนสามารถเขาถึงบริการได

( ) 3. มีโครงการ/กิจกรรม การบรกิารเฉพาะ

( ) 4. มีโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาคุณภาพการบําบัดรักษา

( ) 5. มีโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาระบบบริการ

3.3 แผนปฏิบัติการประจาํปของเครือขายฯ

ตอบทุกขอ ถามี ใหทําเครื่องหมาย (/) ไมมีใหทําเครื่องหมาย (X)

ขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบ

( ) 1. มีโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาบุคลากร

บริหารจัดการเพ่ือสนับสนุนการจัดบริการ

( ) 2. มีโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาระบบการเงินการคลัง

( ) 3. มีโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาระบบยาและเวชภณัฑ

( ) 4. มีโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาระบบขอมูล

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 128: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

121

( ) 5. มีโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

3.4 แผนปฏิบัติการประจาํปของเครือขายฯ เลือกตอบขอใดขอหนึ่ง ดังนี ้

มีโครงการ/กิจกรรม ท่ีแกปญหาสาธารณสุข

( ) 1. ไมมีโครงการ/กิจกรรม แกปญหาสาธารณสุข

ในพ้ืนท่ี หรือตามประเด็นสุขภาพอําเภอ

( ) 2. มีโครงการ/กิจกรรม แกปญหาสาธารณสุข

(ปญหาท่ีไดจากการวิเคราะหตามขอ 1.2)

จํานวนปญหาท้ังหมด ................ปญหา

จํานวนปญหาท่ีมีโครงการ/กิจกรรมแกไข......................ปญหา

4 มีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ

แผนปฏิบัติการประจาํปของเครือขายถูกนําไปปฏิบัติ ตอบทุกขอ ดังนี้

ประจาํป

1. จํานวนโครงการท้ังหมดตามแผนปฏิบัติประจําป......................โครงการ

(นับรวมโครงการจากขอ 3.1 - 3.4)

2.จํานวนโครงการปฏิบัติประจําป ท่ีมีงบประมาณหรือถูกนําไปปฏิบัติ..........โครงการ

5 แผนปฏิบัติราชการประจําปดําเนินการ

มีการดําเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจาํป ตอบทุกขอ ดังนี้

แลวเสร็จตามระยะเวลา ของเครือขาย

1. จํานวนโครงการตามแผนปฏบิัติประจําป ท่ีกําหนดระยะเวลาดําเนินการ

(นับรวมโครงการจากขอ 3.1 - 3.4) กอนเดือนท่ีออกประเมิน...............โครงการ

2.จํานวนโครงการตามขอ 1 ท่ีดําเนินการเสร็จสิ้น..........โครงการ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 129: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๑๑

งานประกันสุขภาพ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 130: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๒๓

ประเด็นหลักที่ ๑๑ : งานประกันสุขภาพ

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๑ หนวยบริการมีแผนการเงินการคลัง และดาํเนินการตามแผนฯ

น้ําหนักคะแนน ๒

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๒ หนวยบริการมีประสิทธิภาพการบรหิารการเงินสามารถควบคุมใหหนวยบริการไมมปีญหาการเงินในระดับ 7

น้ําหนักคะแนน ๒

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๓ หนวยบริการในพ้ืนท่ีมีตนทุนตอหนวยไมเกินเกณฑเฉลี่ยกลุมระดับบริการ

น้ําหนักคะแนน ๒

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๔ หนวยบริการมีการเฝาระวังสถานการณการเงินการคลังหนวยบริการตามโปรแกรมเฝาระวังสถานการณการเงิน

การคลังของจังหวัด

น้ําหนักคะแนน ๒

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๕ ดัชนีผูปวยใน (CMI ) ของแตละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service Plan ผานเกณฑท่ีกําหนด

น้ําหนักคะแนน ๒

คําอธิบาย ตัวช้ีวัด หนวยบริการมีแผนการการเงินการคลังและดําเนินการตามแผนฯ

คํานิยาม หนวยบริการมีแผนการเงินการคลัง (เงินบํารุง ) และดําเนินการตามแผนฯ

เกณฑเปาหมาย หนวยบริการ (รพ. ,รพ.สต.) มีการดําเนินการดังนี้

๑. มีคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังในการประมาณการรายรับ-รายจาย

เพ่ือจัดทําแผนการเงินการคลัง (เงินบํารุง) ประจําป

๒. มีแผนการเงินการคลัง (เงินบํารุง) ท่ีผานการอนุมัติ จากผูบริหาร

๓. มีการเสนอขอมูลสถานการณทางการเงินหนวยบริการ ทุกเดือน (รายงาน

การประชุมกรรมการบริหาร รพ./ประชุม ผอ.รพ.สต. หรือประชุม คปสอ.)

๔. มีกระบวนการควบคุมกํากับรายรับ-รายจายใหเปนไปตามแผนการเงินการ

คลัง (เงินบํารุง) คือรายรับไมต่ํากวาแผน รายจายไมเกินแผน

๕. มีการแกปญหาและติดตามแผนบริหารทางการเงินอยางตอเนื่องในทุกไตร

มาส (มีแผนงาน แนวทางการแกปญหาทางการเงินการคลัง)

ประชากรกลุมเปาหมาย หนวยบริการ (รพ. ,รพ.สต.)

วิธีการจัดเก็บขอมูล จากรายงานแผนการเงินการคลังในโปรแกรมเฝาระวังสถานการณการเงินการ

คลัง/เอกสารแผนการเงินการคลังท่ีผานการอนุมัติ

แหลงขอมูล โปรแกรมเฝาระวังสถานการณการเงินการคลัง จังหวัดยโสธร/เอกสารแผนของ

หนวยบริการ

รายการขอมูล ๑ จํานวนขอท่ีดําเนินการได

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 131: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๒๔

รายการขอมูล ๒

สูตรคํานวณตัวชี้วัด การใหคะแนน :โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนดังนี้ รพ. สสอ.(รพ.สต.ทุกแหง) ดําเนินการ จํานวน ๑ ขอ คะแนน 0.5 0.5 ดําเนินการ จํานวน 2 ขอ คะแนน 1 1 ดําเนินการ จํานวน 3 ขอ คะแนน 1.5 1.5 ดําเนินการ จํานวน 4 ขอ คะแนน 2 2 ดําเนินการ จํานวน 5 ขอ คะแนน 2.5 2.5

คะแนนท่ีไดจากผลรวมคะแนน รพ.และ สสอ.(รพ.สต.) ระยะเวลาการประเมินผล ทุก ๓ เดือน

ผูใหขอมูลทางวิชาการ/ผู

ประสานงานตัวชี้วัด

นางชฎาภรณ ชื่นตา เบอรติดตอ : ๐ ๘๕๖๓ ๐๒๙๒๙

นางเพ็ญแข สอาดยิ่ง เบอรติดตอ : ๐ ๘๙๗๐ ๙๖๗๘๒

ผูรายงานผลการ

ดําเนินงาน

นางเพ็ญแข สอาดยิ่ง เบอรติดตอ : ๐ ๘๙๗๐ ๙๖๗๘๒

ตัวช้ีวัด หนวยบริการมีประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมใหหนวย

บริการไมมีปญหาการเงิน ในระดับ ๗

คํานิยาม หนวยบริการมีประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมใหหนวยบริการ

ไมมีปญหาการเงิน ในระดับ ๗

เกณฑเปาหมาย หนวยบริการ (รพ.) มีการดําเนินการโดยมีระดับคะแนนความเสี่ยงตามเกณฑ

เฝาระวังทางการเงินในระดับสูงสุด ๗ คะแนน ดังนี้

๑. Current Ratio < ๑.๕ = ๑ คะแนน

๒. Quick Ratio < ๑.๐ = ๑ คะแนน

๓. Cash Ratio < ๐.๘ = ๑ คะแนน

๔. ทุนสํารองสุทธิติดลบ = ๑ คะแนน

๕. ผลประกอบการขาดทุน = ๑ คะแนน

๖. ระยะเวลาทุนสํารองเพียงพอใชจาย < ๓ เดือน = ๒ คะแนน

ประชากรกลุมเปาหมาย หนวยบริการ (รพ.)

วิธีการจัดเก็บขอมูล จัดเก็บจากขอมูลเผยแพรทางเว็บไซด (http://hfo.cfo.in.th)

แหลงขอมูล http://hfo57.cfo.in.th/

รายการขอมูล ๑ จํานวนคะแนนท่ีได

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 132: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๒๕

รายการขอมูล ๒

สูตรคํานวณตัวชี้วัด การใหคะแนน : โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนดังนี้ ดําเนินการ ไดคะแนนความเสี่ยง ๗ ระดับคะแนนท่ีได ๐ ดําเนินการ ไดคะแนนความเสี่ยง ๖ ระดับคะแนนท่ีได ๑ ดําเนินการ ไดคะแนนความเสี่ยง ๕ ระดับคะแนนท่ีได ๒ ดําเนินการ ไดคะแนนความเสี่ยง ๔ ระดับคะแนนท่ีได ๓ ดําเนินการ ไดคะแนนความเสี่ยง ๓ ระดับคะแนนท่ีได ๔ ดําเนินการ ไดคะแนนความเสี่ยง ๐-๒ ระดับคะแนนท่ีได ๕

ระยะเวลาการประเมินผล ทุก ๓ เดือน

ผูใหขอมูลทางวิชาการ/ผู

ประสานงานตัวชี้วัด

นางชฎาภรณ ชื่นตา เบอรติดตอ : ๐ ๘๕๖๓ ๐๒๙๒๙

นางเพ็ญแข สอาดยิ่ง เบอรติดตอ : ๐ ๘๙๗๐ ๙๖๗๘๒

ผูรายงานผลการ

ดําเนินงาน

นางเพ็ญแข สอาดยิ่ง เบอรติดตอ : ๐ ๘๙๗๐ ๙๖๗๘๒

ตัวช้ีวัด หนวยบริการในพ้ืนท่ีมีตนทุนตอหนวยไมเกินเกณฑเฉล่ียกลุมระดับบริการ

คํานิยาม หนวยบริการในพ้ืนท่ีมีตนทุนตอหนวยไมเกินเกณฑเฉลี่ยกลุมระดับบริการ

เกณฑเปาหมาย หนวยบริการ (รพ.) มีการดําเนินการดังนี้

๑. มีคณะทํางานรับผิดชอบการจัดทําตนทุนหนวยบริการ

๒. มีขอมูลท้ังสวนการเงินและสวนบริการเพ่ือจัดทําตนทุนหนวยบริการ

๓. มีการจัดทําตนทุนหนวยบริการ และสงขอมูลใหกลุมประกันสุขภาพ

กระทรวงสาธารณสุข

๔. มีขอมูลตนทุนผูปวยนอก และผูปวยใน รวมทุกสิทธิ (Total cost)

๕. มีขอมูลตนทุนตอหนวยไมเกินเกณฑเฉลี่ยกลุมระดบับริการ

(เกณฑเฉลี่ยกลุมระดับบริการ หมายถึง คาเฉลี่ยเลขคณิตรวมคาสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน (mean+1SD) โดยกําหนดตนทุนผูปวยนอก และผูปวยใน หากคาใด

คาหนึ่งเกินเกณฑจะถือวามีปญหาประสิทธิภาพ )

ประชากรกลุมเปาหมาย หนวยบริการ (รพ.)

วิธีการจัดเก็บขอมูล 1.จัดเก็บจากรายงานผลการวิเคราะหตนทุนบริการ 2. จัดเก็บจากขอมูลท่ีเผยแพรทางเว็บไซด (http://hfo.cfo.in.th)

แหลงขอมูล กลุมงานพัฒนาระบบการเงินการคลัง กลุมประกันสุขภาพ

รายการขอมูล ๑ จํานวนขอท่ีดําเนินการได

รายการขอมูล ๒

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 133: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๒๖

สูตรคํานวณตัวชี้วัด การใหคะแนน : โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนดังนี ้

ดําเนินการ ๑ ขอ ระดับคะแนนท่ีได ๑

ดําเนินการ ๒ ขอ ระดับคะแนนท่ีได ๒

ดําเนินการ ๓ ขอ ระดับคะแนนท่ีได ๓

ดําเนินการ ๔ ขอ ระดับคะแนนท่ีได ๔

ดําเนินการ ๕ ขอ ระดับคะแนนท่ีได ๕

ระยะเวลาการประเมินผล ทุก 6 เดือน

ผูใหขอมูลทางวิชาการ/ผู

ประสานงานตัวชี้วัด

นางชฎาภรณ ชื่นตา เบอรติดตอ : ๐ ๘๕๖๓ ๐๒๙๒๙

นางเพ็ญแข สอาดยิ่ง เบอรติดตอ : ๐ ๘๙๗๐ ๙๖๗๘๒

ผูรายงานผลการ

ดําเนินงาน

นางเพ็ญแข สอาดยิ่ง เบอรติดตอ : ๐ ๘๙๗๐ ๙๖๗๘๒

ตัวช้ีวัด หนวยบริการมีการเฝาระวังสถานการณการเงินการคลังหนวยบริการตาม

โปรแกรมเฝาระวังสถานการณการเงินการคลังของจังหวัด

คํานิยาม มีการเฝาระวังสถานการณการเงินการคลัง หนวยบริการ (รพ.=แมขาย , รพ.

สต.=ลูกขาย)

เกณฑเปาหมาย หนวยบริการ(รพ.=แมขาย , รพ.สต.=ลูกขาย) มีการดําเนินการดังนี้

๑. มีแผนการเงินการคลัง(เงินบํารุง) ท่ีผานการอนุมัติ ท้ังแมขายและลูกขายครบ

ทุกแหง (๑ คะแนน) แมขาย ๐.๕ คะแนน ลูกขาย ๐.๕ คะแนน

๒. มีการบันทึกขอมูลในโปรแกรมเฝาระวังสถานการณการเงินการคลังของ

จังหวัด ท้ังแมขายและลูกขาย ครบทุกเดือน และเปนปจจุบัน (๒ คะแนน)

๒.๑ แมขาย (๑ คะแนน) แตละขอยอย จะตองบันทึกทุกเดือน แตละไตรมาส

๒.๑.๑ แผนการเงินการคลัง และรายรับ รายจายรายเดือน (๐.๔๐

คะแนน)

๒.๑.๒ เงินบํารุง วัสดุคงคลัง ลูกหนี้ หนี้สินหนวยบริการ (๐.๒๐ คะแนน)

๒.๑.๓ หนี้สินเกา (๐.๒๐ คะแนน)

๒.๑.๔ การบริหารการเงินการคลัง FAI (๐.๒๐ คะแนน)

๒.๒ ลูกขาย (๑ คะแนน) แตละ รพ.สต.ตองบันทึกครบทุกแหง ทุกเดือน

๒.๒.๑ แผนการเงินการคลัง และรายรับ รายจายรายเดือน (๐.๗๐

คะแนน)

๒.๒.๒ เงินบํารุง หนวยบริการ (๐.๓๐ คะแนน)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 134: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๒๗

๓. มีการนําขอมูลรายงานในโปรแกรมฯ นําเสนอในท่ีประชุมเพ่ือติดตาม กํากับ

สถานการณการเงินการคลังหนวยบริการ (๒ คะแนน)

๓.๑ คณะกรรมการบริหาร รพ. ทุกเดือน (โดยมีรายงานการประชุม) (๑

คะแนน)

๓.๒ คณะกรรมการบริหาร รพ.สต. หรือ คปสอ. ทุกเดือน (โดยมีรายงานการ

ประชุม) (๑ คะแนน)

ประชากรกลุมเปาหมาย หนวยบริการ(รพ.=แมขาย , รพ.สต.=ลูกขาย)

วิธีการจัดเก็บขอมูล จากรายงานแผนการเงินการคลังในโปรแกรมเฝาระวังสถานการณการเงินการ

คลัง

แหลงขอมูล โปรแกรมเฝาระวังสถานการณการเงินการคลัง จังหวัดยโสธร

รายการขอมูล ๑ จํานวนขอท่ีดําเนินการได

รายการขอมูล ๒

สูตรคํานวณตัวชี้วัด การใหคะแนน : โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนดังนี ้

ระดับคะแนนท่ีไดตามผลรวมคะแนนท่ีทําไดตามเกณฑเปาหมาย

ระยะเวลาการ

ประเมินผล

ทุก ๓ เดือน

ผูใหขอมูลทางวิชาการ/ผู

ประสานงานตัวชี้วัด

นางชฎาภรณ ชื่นตา เบอรติดตอ : ๐ ๘๕๖๓ ๐๒๙๒๙

นางเพ็ญแข สอาดยิ่ง เบอรติดตอ : ๐ ๘๙๗๐ ๙๖๗๘๒

ผูรายงานผลการ

ดําเนินงาน

นางเพ็ญแข สอาดยิ่ง เบอรติดตอ : ๐ ๘๙๗๐ ๙๖๗๘๒

ตัวช้ีวัด ดัชนีผูปวยใน (CMI ) ของแตละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service

Plan ผานเกณฑท่ีกําหนด

คํานิยาม ดัชนีผูปวยใน (CMI ) ของแตละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service Plan

ผานเกณฑท่ีกําหนด

เกณฑเปาหมาย หนวยบริการ (รพ.) มีดัชนีผูปวยใน ดังนี ้

๑. รพท. ( S )

๑.๑ คา CMI มากกวา ๑.๒ = ๕ คะแนน

๑.๒ คา CMI เทากับหรือนอยกวา ๑.๒ -มากกวาหรือเทากับ ๑.๐ = ๔

คะแนน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 135: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๒๘

๑.๓ คา CMI นอยกวา ๑.๐ มากกวาหรือเทากับ ๐.๘ = ๓ คะแนน

๑.๔ คา CMI นอยกวา ๐.๘ มากกวาหรือเทากับ ๐.๖ = ๒ คะแนน

๑.๕ คา CMI นอยกวา ๐.๖ = ๑ คะแนน

๒. รพช. ( F๑ - F๓ )

๒.๑ คา CMI มากกวา ๐.๖ = ๕ คะแนน

๒.๒ คา CMI เทากับหรือนอยกวา ๐.๖ - มากกวาหรือเทากับ ๐.๕ = ๔

คะแนน

๒.๓ คา CMI นอยกวา ๐.๕ มากกวาหรือเทากับ ๐.๔ = ๓ คะแนน

๒.๔ คา CMI นอยกวา ๐.๔ มากกวาหรือเทากับ ๐.๓ = ๒ คะแนน

๒.๕ คา CMI นอยกวา ๐.๓ = ๑ คะแนน

ประชากรกลุมเปาหมาย หนวยบริการ (รพ.)

วิธีการจัดเก็บขอมูล รพ.ทุกแหง วิเคราะหขอมูลผูปวยใน รวมทุกคน

แหลงขอมูล โปรแกรม Hos XP ของหนวยบริการ และอ่ืนๆท่ีเก่ียวของ

รายการขอมูล ๑ A = ผลรวมน้ําหนักสัมพัทธท่ีปรับคาแลว (AdjRw)

รายการขอมูล ๒ B = จํานวนผูปวยในท้ังหมด

สูตรคํานวณตัวชี้วัด คา CMI = (A/C)

การใหคะแนน : โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนดังนี้

ดําเนินการ ไดคะแนน ๑ ระดับคะแนนท่ีได ๑

ดําเนินการ ไดคะแนน ๒ ระดับคะแนนท่ีได ๒

ดําเนินการ ไดคะแนน ๓ ระดับคะแนนท่ีได ๓

ดําเนินการ ไดคะแนน ๔ ระดับคะแนนท่ีได ๔

ดําเนินการ ไดคะแนน ๕ ระดับคะแนนท่ีได ๕

ระยะเวลาการประเมินผล ทุก ๓ เดือน

ผูใหขอมูลทางวิชาการ/ผู

ประสานงานตัวชี้วัด

นางชฎาภรณ ชื่นตา เบอรติดตอ : ๐ ๘๕๖๓ ๐๒๙๒๙

นางจุฑารัตน แกวคูณ เบอรติดตอ : ๐ ๘๖๘๖ ๘๖๖๖๐

ผูรายงานผลการ

ดําเนินงาน

นางจุฑารัตน แกวคูณ เบอรติดตอ : ๐ ๘๖๘๖ ๘๖๖๖๐

ผูรับผิดชอบงานของโรงพยาบาลทุกแหง

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 136: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๑๒

งานบริหารทั่วไป

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 137: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๒๙

ประเด็นหลักที่ ๑๒ : งานบริหารทั่วไป ตัวช้ีวัดท่ี ๒๖ ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายใน น้ําหนักคะแนน ๓ ตัวช้ีวัดท่ี ๒๗ ระดับคุณภาพบัญชีเกณฑคงคางหนวยบริการและการจัดสงรายงานทางการเงิน น้ําหนักคะแนน ๔ ตัวช้ีวัดท่ี ๒๖ ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายใน ๑. ช่ือตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จตามระบบการควบคุมภายใน ๒. เกณฑ ระดับความสําเร็จของการใหคะแนน แบงเปน 5 ระดับ ดังนี้

ระดับท่ี 1 มีการกําหนดผูรับผิดชอบในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน

ของหนวยงาน

ระดับท่ี 2 ดําเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐาน

การควบคุมภายในสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน

ระดับท่ี 3 มีการนําระบบการควบคุมภายในท่ีกําหนดไปสูการปฏิบัต ิ

ระดับท่ี 4 การจัดทํารายงานระดับองคกร แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3 กรณีหนวยงานยอย แบบ ปย.1 แบบ ปย.2 และแลวเสร็จ

ภายในระยะเวลาท่ีระเบียบกําหนด

ระดบัท่ี 5 มีการประเมินผลระบบการควบคุมภายในและการปรับปรุง

ระบบการควบคุมภายในใหเปนปจจบุันอยูเสมอ

การผานเกณฑประเมินหนวยงานตองดําเนินการตามระบบควบคุมภายใน

ตั้งแตระดับท่ี 1 – 4 จึงจะถือวาผาน

- ระดับความสําเร็จระดับท่ี 1 – 4 (ระดับท่ี 4 ตรวจผลการรายงานของ

ป 255๖ ระดับท่ี 1 – 3 ตรวจการดําเนินงานป 255๗) ในการติดตามรอบ

ท่ี 1 (รอบ 6 เดือน) - ระดับความสําเร็จระดับท่ี 3 และ 5 ตรวจการดําเนินงานในป 255๗ ในการติดตามรอบท่ี 2 (รอบ 12 เดือน)

๓. ผลงาน ๓.1 รายการขอมูล สสอ. สงรายงานให สสจ. และ รพท./รพช. สงหนังสือรับรองการประเมินผลการ

ควบคุมภายในใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ๓.2 นิยาม ความหมายและวัตถุประสงคของการควบคุมภายใน

การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการท่ีผูกํากับดูแลฝายบริหารและบุคลากรทุกระดับของหนวยรับตรวจ กําหนดใหมีข้ึนเพ่ือใหมีความม่ันใจอยางสมเหตุสมผลวาการดําเนินงานจะบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงค ดังตอไปนี ้ 1) การดําเนินงาน (Operation : O) หมายถึง การบริหารจัดการ การใชทรัพยากรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงการดูแลรักษา

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 138: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๐

ทรัพยสิน การปองกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลืองหรือการทุจริตของหนวยรับตรวจ

2) การรายงานทางการเงิน (Financial : F) หมายถึง รายงานทางการเงินท่ีจัดทําข้ึนเพ่ือใชภายในและภายนอกหนวยรับตรวจ เปนไปอยางถูกตอง เชื่อถือได และทันเวลา

3) การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับท่ีเก่ียวของ (Compliance :

C) ไดแกการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวของกับการดําเนินงานของหนวยรับตรวจ รวมท้ังการปฏิบัติตามนโยบายและวิธีการปฏิบัติงานท่ีองคกรไดกําหนดข้ึน

แนวคิดของการควบคุมภายใน

1) การควบคุมภายในเปนกระบวนการท่ีรวมไวหรือเปนสวนหนึ่งในการปฏิบัติงานตามปกติการควบคุมภายในมิใชเหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง และมิใชผลสุดทายของกรกระทําแตเปนกระบวนการ (Process) ท่ีมีการปฏิบัติอยางตอเนื่อง ซ่ึงกําหนดไวในกระบวนการปฏิบัติงาน (Built in) ประจําวันตามปกติของหนวยรับตรวจ ดังนั้นฝายบริหารจึงควรนําการควบคุมภายในมาใชโดยรวมเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารงาน ซ่ึงไดแก การวางแผน (Planning) การดําเนินการ (Executing) และการติดตามผล (Monitoring) (ระดับท่ี 3) 2) การควบคุมภายในเกิดข้ึนไดโดยบุคลากรของหนวยรับตรวจ บุคลากรทุกระดับเปนผูมีบทบาทสําคัญในการใหความสนับสนุนระบบการควบคุมภายในของหนวยรับตรวจใหมีประสิทธิผล ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบในการกําหนดและจัดใหมีระบบการควบคุมภายในท่ีมีประสิทธิผลดวยการสรางบรรยากาศ สภาพแวดลอมการควบคุม กําหนดทิศทาง กลไกการควบคุมและกิจกรรมตาง ๆ รวมท้ังการติดตามผลการควบคุมภายใน สวนบุคลากรอ่ืนของหนวยรับตรวจมีหนาท่ีรับผิดชอบโดยการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในท่ีฝายบริหารกําหนดข้ึน

(ระดับท่ี 1) 3) การควบคุมภายในใหความม่ันใจอยางสมเหตุสมผลวาการปฏิบัติงานจะบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดถึงแมวาการควบคุมภายในจะออกแบบไวใหมีประสิทธิผลเพียงใดก็ตามก็ไมสามารถใหความม่ันใจวาจะทําใหการดําเนินงานบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคไดอยางสมบูรณตามท่ีตั้งใจไว ท้ังนี้เพราะการควบคุมภายในมีขอจํากัด เชน โอกาสท่ีจะเกิดขอผิดพลาดจากบุคลากร เนื่องจากความไมระมัดระวัง ไมเขาใจคําสั่ง หรือการใชดุลยพินิจผิดพลาด การสมรูรวมคิด การปฏิบัติผิดกฎหมายระเบียบและกฎเกณฑท่ีกําหนดไว ท่ีสําคัญท่ีสุด คือ การท่ีผูบริหารหลีกเลี่ยงข้ันตอนของระบบการควบคุมภายในหรือใชอํานาจในทางท่ีผิด นอกจากนี้การวางระบบการควบคุมภายในจะตองคํานึงถึงตนทุนและผลประโยชนท่ีเก่ียวของกันวาผลประโยชนท่ีไดรับจากการควบคุมภายในจะคุมคา

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 139: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๑

กับตนทุนท่ีเกิดข้ึน

ความรับผิดชอบของฝายบริหารตอการควบคุมภายใน

“การควบคุมภายในเปนเครื่องมือท่ีผูบริหารนํามาใชเพ่ือใหความม่ันใจอยางสมเหตุสมผลวาการดําเนินงานจะบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีกําหนด”

คําวา “การควบคุมภายใน” หรือ “ระบบการควบคุมภายใน” เปนสิ่งท่ีผูบริหารระดับสูงของหนวยรับตรวจทุกคนควรใหความสําคัญเพราะเปนพันธกรณีท่ีสําคัญ ซ่ึงจะชวยใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางสําเร็จลุลวงตามนโยบายและวัตถุประสงคของหนวยรับตรวจ ดังนั้นการออกแบบการควบคุมภายในอยางเหมาะสม และการติดตามผลการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในท่ีฝายบริหารกําหนด รวมท้ังการประเมินผลอยางตอเนื่อง จะชวยใหผูบริหารไดรับทราบจุดออนตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเพ่ือนํามาปรับปรุงแกไขใหหนวยรับตรวจสามารถปฏิบัติงานไดสําเร็จตามนโยบายและวัตถุประสงคอยางตอเนื่อง

มาตรฐานการควบคุมภายใน

มาตรฐานการควบคุมภายในท่ีคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินกําหนด มี 5 องคประกอบ ดังนี้ 1. สภาพแวดลอมของการควบคุม (Control Environment)

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)

4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications)

5. การติดตามประเมินผล (Monitoring) (ระดับท่ี 2)

องคประกอบท้ัง 5 ประการ มีความเนื่องสัมพันธกันโดยมีสภาพแวดลอมของการควบคุมเปนรากฐานท่ีสําคัญขององคประกอบอ่ืน ๆ องคประกอบท้ัง 5 นี้ เปนสิ่งจําเปนท่ีมีอยูในการดําเนินงานตามภารกิจของหนวยรับตรวจเพ่ือใหการปฏิบัติงานบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคของหนวยรับตรวจ 3 ประการ คือ

- การดําเนินงานเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

- รายงานทางการเงินนาเชื่อถือ

- มีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและขอบังคับท่ีเก่ียวของ

การรายงานตอคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินและคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ประจําประทรวงสาธารณสุข (สวนกลาง) หรือคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจําจังหวัด (สวนภูมิภาค) ภายในวันท่ี 30 ธันวาคม โดยใหหนวยรับตรวจจัดสงเฉพาะหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายในเพียงฉบับเดียว สําหรับรายงานอ่ืนใหจัดเก็บไวท่ีหนวยรับตรวจเพ่ือใหหัวหนาสวนราชการและเจาหนาท่ีสํานักงานการตรวจเงินแผนดินและบุคคลอ่ืนท่ีเก่ียวของ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 140: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๒

เรียกดูและสอบทานตอไป (ระดับท่ี 4)

การติดตามประเมินผล

การติดตามประเมินผล เปนวิธีการท่ีชวยใหฝายบริหารมีความม่ันใจวาระบบการควบคุมภายในมีการปฏิบัติตาม ฝายบริหารตองจัดใหมีการติดตามประเมินผล โดยการติดตามผลในระหวางการปฏิบัติงานและการประเมินผลเปนรายครั้ง อยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ เพ่ือใหความม่ันใจวาระบบการควบคุมภายในท่ีกําหนดหรือออกแบบไวเพียงพอ เหมาะสม มีประสิทธิผลหรือตองปรับปรุง

การติดตามประเมินผล หมายถึง การะบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานและประเมินประสิทธิผลของกาควบคุมภายในท่ีกําหนดไวอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ เพ่ือใหเกิดความม่ันใจวาระบบการควบคุมภายในท่ีกําหนดไวมีความเพียงพอและเหมาะสม มีการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในจริง ขอบกพรองท่ีพบไดรับการแกไขอยางเหมาะสมและทันเวลา (ระดับท่ี 5) ความรับผิดชอบของผูบริหารตอการติดตามประเมินผล

ผูบริหารตองกําหนดใหมีผูรับผิดชอบการติดตามประเมินผลเก่ียวกับความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุมภายในอยางตอเนื่อง และกําหนดใหการติดตามประเมินผลเปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงานและจัดทํารายงานเสนอตอผูบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบหรือคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการโดยตรง ผูบริหารไดรับรายงานการติดตามการประเมินผล ควรดําเนินการดังนี ้ - พิจารณาวิธีการปรับปรุงแกไขการควบคุมจากผลการประเมินฯ

- กําหนดมาตรการท่ีเหมาะสมสําหรับการดําเนินการตามขอเสนอแนะ

- สั่งการใหผูท่ีเก่ียวของดําเนินการแกไขขอบกพรอง

- ชี้แจงถึงเหตุผลท่ีไมจําเปนตองดําเนินการใด ๆ ตามขอเสนอแนะ(ระดับท่ี 1,5)

ผูรับผิดชอบ : งานควบคุมภายใน กลุมบริหารงานทั่วไป สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

ชื่อ-นามสกุล หนวยงาน เบอรโทรศัพท

1. นางทัศนีย บญุลน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ109,126

2. นายสาธิต สวางแสง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ 1๑0

3. นาอุดมศักดิ์ แกวจันทรวงษ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ 1๑0

๔. น.ส.พิศมัย แกวสุข สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ 1๑0

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 141: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๓

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๗ ระดับคุณภาพบัญชีคงคางหนวยบริการและการจัดสงรายงานทางการเงิน คําอธิบาย : พิจารณาความสําเร็จของรอยละของหนวยบริการที่มีการจัดการดานบัญชีถูกตอง ครบถวน เปนไปตามนโยบายบัญช ีของกระทรวงสาธารณสุข และมีการจัดสงงบทดลองในระบบพัฒนาคุณภาพทางบัญชี (สพค.) โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้

1) มีคําสั่งแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบงานการเงินและบัญชี 2) การจัดทําบัญชีตามระบบบัญชีเกณฑคงคางเปนปจจุบัน 3) การบันทึกบัญชีมีเอกสารประกอบครบถวน สมบูรณ 4) การจัดทํารายงานทางการเงินเปนปจจุบัน ประกอบดวย

4.1)รายเงินสดคงเหลือประจาํวัน 4.2)รายงานงบทดลองประจําเดือน เกณฑการใหคะแนน :

กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้

ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone)

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5

1

1

2

3

4

โดยที่ :

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน

1

หนวยบริการทุกแหงในสังกัด คปสอ. - มีคําสั่งแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบงานการเงินและบัญชี ทีช่ัดเจน และปฏิบตัิตามคําสั่ง (0.2)

- มีคําสั่งแตงตัง้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน (0.2) - มีการบันทึกบัญชีตามระบบบญัชีเกณฑคงคาง นโยบายผังบัญชีภาคสุขภาพป 2557

กระทรวงสาธารณสุข (0.6)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 142: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๔

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน

2 หนวยบริการทุกแหงในสังกัด คปสอ. - มีการบันทึกบัญชีเปนปจจุบนั (1.0)

3 มีเอกสารประกอบการบันทกึบญัชี ดังนี ้ - เอกสารมีความครบถวน สมบูรณ โดยหลักฐานการจายเงิน (บค.) จะตองมีการขออนุมัติเบิกจาย โดยผูมีอํานาจ และประทับตราจายเงนิแลวพรอมลงลายมือชื่อผูจายเงนิและวัน เดือน ป ที่จายเงิน (0.8) - จะตองออกใบเสร็จรับเงินทุกคร้ังที่มีการรับเงนิ (0.2)

4 มีการจัดทํารายงานทางการเงินเปนปจจุบนัและจดัสงในระบบพฒันาคุณภาพทางบญัชี (สพค.) ดังนี ้

- รายงานเงินสดคงเหลือประจําวนั (0.1) - รายงานงบทดลองประจําเดอืน (0.1) - สงรายงานงบทดลองภายในวนัที่ 20 ของเดือนถัดไป รอยละ 100 (0.2) - งบตองดุล (0.1) - คาสุทธไิมผิดดาน (0.1) - งบจะตองสัมพันธกันทุกเดือน (0.1) - มีการปรับปรุงวสัดุ และยาใชไป ทุกเดือน (0.1) - มีการปรับปรุงคาเสือ่มราคา/คาตัดจาํหนายทุกเดือน (0.1)

- คาเสื่อมราคานอยกวาสินทรัพย (0.1)

ผูรับผิดชอบ : งานการเงินและบัญชี กลุมบริหารงานทั่วไป สาํนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

ชื่อ-นามสกุล หนวยงาน เบอรโทรศัพท

1. นางทัศนีย บญุลน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ109,126

2. นางจารุนนัท คุณมาศ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ109,126

3. นางรุงรัตนา แสนวงษ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 0-45712233-4 ตอ109,126

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 143: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๕

แนวทางการประเมิน :

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน แนวทางการประเมินผล

1

ขั้นตอนที่ 1 หนวยบริการ ( รพช. และ รพ.สต.ทุกแหง) ตองมี - คําสั่งแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบงาน

การเงินและบญัชี ทีช่ัดเจน และปฏิบัติตาม คําสั่ง (0.2)

- คําสั่งแตงตัง้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน (0.2)

ขั้นตอนที่ 2

- ตรวจสอบการบันทึกบัญชีของหนวยบริการวามีการดําเนินการตามระบบบัญชีเกณฑคงคาง นโยบายผังบญัชีภาคสุขภาพป 2557 กระทรวงสาธารณสุข (0.6)

ประเมินผลจากขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ

เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดําเนินงาน ดังนี ้ - คําสั่งแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบงานการเงินและ

บัญชี ทีช่ัดเจน และปฏิบัติตามคําสั่ง

- คําสั่งแตงตัง้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน

โปรแกรมบัญชีที่ใชบนัทึกบัญชีเกณฑคงคาง - รายงานงบทดลองประจาํเดือน

- บัญชีแยกประเภทรายตัว -เงินสด -เงินฝากธนาคาร -ลูกหน้ีเงินยืมฯ

- งบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร (ถามี)

2 ขั้นตอนที่ 3

- ตรวจสอบการบันทึกบัญชีของหนวยบริการวามีการบันทึกบัญชีถูกตอง และเปนปจจุบนั (1.0)

โปรแกรมบัญชีที่ใชบนัทึกบัญชีเกณฑคงคาง - รายงานงบทดลองประจาํเดือน

- บัญชีแยกประเภทรายตัว -เงินสด -เงินฝากธนาคาร -ลูกหน้ีเงินยืมฯ

- งบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร (ถามี)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 144: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๖

ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน แนวทางการประเมินผล

3

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบเอกสารประกอบการบันทึกบญัชี

รายละเอียดดังนี ้

- เอกสารมีความครบถวน สมบูรณ โดยหลักฐานการจายเงิน (บค.) จะตองมีการขออนุมัติเบิกจาย โดยผูมีอํานาจ และประทับตราจายเงินแลวพรอมลงลายมือชื่อผูจายเงินและวนั เดือน ป ที่จายเงนิ (0.8) - จะตองออกใบเสร็จรับเงินทุกคร้ังที่มีการรับเงิน (0.2)

ประเมินผลจากขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ

เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงผลการดําเนินงาน ดังนี ้ 1. หลักฐานการจายเงนิ (บค.) เดือน ตค.๕๖-มีค.5๗ 2. แบบรายงาน 407. 3. ใบเสร็จรับเงิน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 145: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๗

ขั้นตอนที่ 5

ตรวจสอบการจัดทาํรายงานทางการเงินเปน

ปจจุบนัและจดัสงในระบบพัฒนาคุณภาพทาง

บัญชี (สพค.) ดังนี ้

- รายงานเงินสดคงเหลือประจําวนั (0.1) - รายงานงบทดลองประจําเดอืน (0.1) - สงรายงานงบทดลองภายในวนัที่ 20 ของเดือนถัดไป รอยละ 100 (0.2) - งบตองดุล (0.1) - คาสุทธไิมผิดดาน (0.1) - งบจะตองสัมพันธกันทุกเดือน (0.1) - มีการปรับปรุงวสัดุ และยาใชไป ทุกเดือน (0.1) - มีการปรับปรุงคาเสือ่มราคา/คาตัด จําหนายทุกเดือน (0.1)

- คาเสื่อมราคานอยกวาสินทรัพย

(0.1)

ตรวจสอบโดยการดึงขอมูลการสงงบทดลองของหนวยบริการจากระบบพัฒนาคุณภาพ ทางบัญชี (สพค.) เพ่ือสอบยันกับงบทดลอง ของหนวยบริการ

ประเมินผลจากขอมูล เอกสาร หลักฐานตางๆ

เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงผลการดําเนินงาน ดังนี ้- รายงานงบทดลองประจาํเดือน

- งบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร (ถามี)

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 146: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

ประเด็นหลักที่ ๑๓

Service Plan

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 147: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๓๙

ประเด็นหลักที่ ๑๓ : งาน Service Plan

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๘ ระดับความสําเร็จของการลดอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ

น้ําหนักคะแนน ๐.๖

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๙ ระดับความสําเร็จของการดูแลผูปวยมะเร็ง

น้ําหนักคะแนน ๐.๖

ตัวช้ีวัดท่ี ๓๐ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานลดอัตราตายผูปวยบาดเจ็บตอสมอง

น้ําหนักคะแนน ๐.๖

ตัวช้ีวัดท่ี ๓๑ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงาน การดูแลทารกแรกเกิด

น้ําหนักคะแนน ๐.๖

ตัวช้ีวัดท่ี ๓๒ ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานคลินิก DPAC

น้ําหนักคะแนน ๐.๖

ตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จของการลดอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ คํานิยาม อัตราการตายดวยโรคหลอดเลือดหัวใจ หมายถึง จํานวนตายดวยโรคหลอด

เลือดหัวใจในชวงเวลาเดียวกันตอประชากรแสนคนในชวงปนั้น (รหัส ICD-10-TM = I20-I25)

ผูรับผิดชอบ 1. นายแพทยจักราวุธ จุฑาสงฆ โทรศัพทมือถือ : 085-766-9166 นายแพทยเชี่ยวชาญ (ดานเวชกรรมปองกัน)

เกณฑการประเมินผล น้ําหนักคะแนน = 0.6 คะแนน

คะแนน = 1 คะแนน = 2 คะแนน = 3 คะแนน = 4 คะแนน = 5

ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันตอนท่ี 1- 2 ข้ันตอนท่ี 1- 3 ข้ันตอนท่ี 1-4 ข้ันตอนท่ี 1-5

วิธีการประเมินผล ข้ันตอน ข้ันตอนท่ี 1 มีการวิเคราะหและประเมินสถานการณโรค ปจจัยเสี่ยง การดําเนินงานเพ่ือลดอัตราตายจาก

โรคหลอดเลือดหัวใจ ข้ันตอนท่ี 2 แผนงาน/แผนปฏิบัติการลดอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจระดับจังหวัด ครอบคลุม 4

มาตรการหลัก 2.1 สื่อสารเตือนภัยสนับสนุนการลดปจจัยเสี่ยงในประชากรท่ัวไปและชุมชน

- 3อ 2ส เนนลดบริโภคอาหารท่ีเกลือและไขมันสูง เพ่ิมผัก หยุดบุหรี่ - สนับสนุนการสรางสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอสุขภาพ ในหมูบาน ตําบล ชุมชน สถานประกอบการ สถานท่ีทํางาน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 148: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๔๐

2.2 ใหบริการประเมินและจัดการปจจัยเสี่ยงของโรคไมติดตอรายบุคคล ไดแก คลินิก DPAC คลินิกอดบุหรี่ คลินิกคลายเครียด เปนตน

2.3 ผูปวย DM HT ไดรับการประเมินความเสี่ยง CVD - รูอาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง - ปรับพฤติกรรมและไดยาท่ีเหมาะสมตามขอบงชี้ เปาหมายเพ่ือใหหยุดบุหรี่ควบคุมระดับน้ําตาล

ไขมันในเลือด ความดันโลหิตได 2.4 พัฒนาคุณภาพระบบบริการ ไดแก

- คลินิก NCD คุณภาพ - STEMI fast track - รพ.ระดบั F2 สามารถใหยาละลายลิ่มเลือดไดมากกวารอยละ 70

- รพ. S,F1,F2 สามารถใหการขยายหลอดเลือด (ยาละลายลิ่มเลือด /PCI) ผูปวย โรคหลอดเลือดหัวใจได

- ผูปวยโรคหัวใจไดรับการฟนฟูหัวใจ ตามมาตรฐาน Cardiac Rehabilitation เพ่ือปองกัน การเกิดโรคซํ้า (secondary prevention)

ข้ันตอนท่ี 3 ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ข้ันตอนท่ี 4 ติดตามประเมินผล ข้ันตอนท่ี 5 ผลลัพธการดําเนินงานแบบสะสม

- ผูปวย DM ควบคุมระดับน้ําตาล ไดดี ไมนอยกวารอยละ 40 - ผูปวย HT ควบคุมระดับความดันโลหิตไดดี ไมนอยกวารอยละ 50

- ผูปวย DM,HT ไดรับการประเมินความเสี่ยง CVD ไมนอยกวารอยละ 50 - ผูปวย DM,HT ท่ีสูบบุหรี่ เลิกสูบบุหรี่ไดไมนอยกวารอยละ 50 - ผูปวย DM,HT ปรับพฤติกรรมและจัดการตนเองเพ่ือลดเสี่ยงตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ

- ผูปวย STEMI ไดรับการรักษาขยายหลอดเลือดหัวใจ (ยาละลายลิ่มเลือด /PCI) มากกวารอยละ 50 - ผูปวย โรคหลอดเลือดหัวใจ ไดรับการรักษาขยายหลอดเลือดหัวใจ (ยาละลายลิ่มเลือด/PCI) มากกวารอยละ 70

-อัตราตายในโรงพยาบาลจาก STEMI นอยกวา รอยละ 10 -อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ นอยกวา 23 ตอแสนประชากร

ช่ือตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จของการดูแลผูปวยมะเร็งระยะสุดทาย คํานิยาม ผูปวยมะเร็งระยะสุดทาย

หมายถึง ผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยวาเปนมะเร็งระยะท่ี ๔ หรือ ผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยวาเปนมะเร็งและไดรับการรักษาจนถึงท่ีสุดแลวแตโรคยังมีการแพรกระจายอยูซ่ึงคาดวาจะมีชีวิตไดประมาณ ๖ – ๑๒ เดือน

เกณฑการใหคะแนน น้ําหนักคะแนน = 0.6 คะแนน

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 149: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๔๑

ระดับความสําเร็จ

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5

มีการดําเนินงาน

ขอ 1-2 ขอ 1-4 ขอ 1-6 ขอ 1-7 ขอ 1-8

1. นายแพทยจักราวุธ จุฑาสงฆ โทรศัพทมือถือ : 085-766-9166 นายแพทยเชี่ยวชาญ (ดานเวชกรรมปองกัน)

ผูรับผิดชอบ นายแพทยจักราวุธ จุฑาสงฆ โทรศัพทมือถือ : 085-766-9166 นายแพทยเชี่ยวชาญ (ดานเวชกรรมปองกัน)

วิธีการประเมินผล ระดับความสําเร็จระดับ 1 ขอ 1. มีนโยบายและแนวทางการดําเนินงานท่ีชัดเจน ขอ 2. มีทีมงานสหสาขาวิชาชีพท่ีสามารถรวมกันดูแลผูปวยมะเร็งระยะสุดทายได ระดับความสําเร็จระดับ 2 ขอ 1 + 2 และ ขอ 3. มีแพทยและพยาบาลท่ีสามารถใหการดูแลผูปวยมะเร็งระยะสุดทายไดรวมกับมียาแกปวดมอรฟนท่ีใชในการรักษาอาการปวดเรื้อรัง ขอ 4. มี OPD ตรวจผูปวยเฉพาะโรคมะเร็งระยะสุดทาย ระดับความสําเร็จระดับ 3 ขอ 1 + 2 + 3 และ 4 ขอ 5. ผูปวยมะเร็งระยะสุดทายอยางนอยรอยละ 80 ไดรับการรักษาเพ่ือบรรเทาอาการปวด ขอ 6. ผูปวยมะเร็งระยะสุดทายอยางนอยรอยละ 80 ไดรับการเยี่ยมบาน ระดับความสําเร็จระดับ 4 ขอ 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 และ ขอ 7. มี Guideline , Nursing care ในการดูแลรักษาผูปวยมะเร็งระยะสุดทาย ระดับความสําเร็จระดับ 5 ขอ 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 และ ขอ 8. มีการพัฒนาระบบ แมขาย – ลูกขายไปยัง สถานบริการทุกระดับครบทุกอําเภอ

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 150: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๔๒

ตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานลดอัตราตายผูปวยบาดเจ็บตอสมอง คํานิยาม บาดเจ็บท่ีศีรษะ (Head Injury) หมายถึง การบาดเจ็บท่ีเกิดจากแรงท่ีเขามา

กระทบตอศีรษะและรางกายแลวกอใหเกิดความบาดเจ็บตอหนังศีรษะ กะโหลกศีรษะ และ สมอง กับเสนประสาทสมอง (Head injury mean complex mechanical loading to the head and / or the body that cause the injuries to the scalp and skull and brain and cranial nerve) การแบงระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บท่ีศีรษะ (severity of head injury) โดยใช คะแนน Glasgow Coma Score) ดังนี้ การบาดเจ็บท่ีศีรษะระดับเล็กนอย (Mild or minor head injury) GCS = 13-15 การบาดเจ็บท่ีศีรษะระดับปานกลาง (Moderate head injury) GCS = 9-12 การบาดเจ็บท่ีศีรษะระดับรุนแรง (Severe head injury) GCS < 9 (ตามรหัส ICD-10 S06.0-S06.9 ) ตัวช้ีวัดนี้ เจาะจงเฉพาะ ผูปวยบาดเจ็บตอสมอง หมายถึง เฉพาะผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัย ตามรหัส ICD-10 S06.0 - S06.9 เฉพาะผูปวยใน (IPD) (อางอิงนิยาม จากแนวทางการรักษาพยาบาลผูปวยทางศัลยกรรม จัดทําโดยราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย โดยความรวมมือจากสมาคมประสาทศัลยศาสตรแหงประเทศไทย)

เกณฑเปาหมาย ผูปวยบาดเจ็บตอสมองมีอัตราการเสียชีวิตลดลง ใชวิธีเปรยีบเทียบขอมูลของตนเองในเขตสุขภาพ จากป 2556 เทียบกับ ป 2557

ประชากรกลุมเปาหมาย ผูปวยบาดเจ็บท่ีศีรษะ ตาม รหัส ICD-10 ( S06.0-S06.9)

ผูรับผิดชอบ 1. นายแพทยจักราวุธ จุฑาสงฆ โทรศัพทมือถือ : 085-766-9166 นายแพทยเชี่ยวชาญ (ดานเวชกรรมปองกัน)

เกณฑการประเมิน : น้ําหนักคะแนน = 0.6 คะแนน

คะแนน = 1 คะแนน = 2 คะแนน = 3 คะแนน = 4 คะแนน = 5

ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันตอนท่ี1- 2 ข้ันตอนท่ี1- 3 ข้ันตอนท่ี 1-4 ข้ันตอนท่ี 1-5

วิธีการประเมินผล : จัดระดับความสําเร็จเปน 5 ข้ันตอน ข้ันตอนท่ี 1 แตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาและจัดบริการการดูแลผูปวยบาดเจ็บตอสมองในระดับอําเภอ ข้ันตอนท่ี 2 จัดทําคูมือและแนวทางการสงตอผูปวยบาดเจ็บตอสมองในรูปแบบเครือขายท้ังจังหวัด ข้ันตอนท่ี 3 จัดทําคูมือและแนวทางการสงตอผูปวยบาดเจ็บตอสมองขอกเขตสุขภาพ ข้ันตอนท่ี 4 มีระบบการสงตอผูปวยบาดเจ็บตอสมองระหวางสถานบริการ ( ท้ัง refer in และ refer out ) ไดรวดเร็วและมีคุณภาพ ข้ันตอนท่ี 5 อัตราตายผูปวยบาดเจ็บตอสมองลดลง

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 151: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๔๓

ตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จในการลดอัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด

คํานิยาม ทารกแรกเกิด หมายถึงทารกตั้งแตแรกเกิดถึง 1 เดือน เกณฑเปาหมาย ลดอัตราตายของทารกแรกเกิดถึง 1 เดือน ประชากรกลุมเปาหมาย ประชากรทารกไทยอายุ ทารกแรกเกิดถึง 1 เดือน ผูรับผิดชอบ 1. นายแพทยจักราวุธ จุฑาสงฆ โทรศัพทมือถือ : 085-766-9166

นายแพทยเชี่ยวชาญ (ดานเวชกรรมปองกัน)

ตัวช้ีวัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานคลินิก DPAC คํานิยาม คลินิก DPAC เปนคลินิกดูแลสุขภาพแบบองครวมท่ีบูรณาการองคความรู

หลากหลาย ตามกรรมวิธีตางๆ อยางกลมกลืนกับธรรมชาติ เพ่ือการดูแลสุขภาพในเชิงรุกแบบปองกันมากกวาจะเปนเชิงรับแบบรับการรักษาโรค เปนการดูแลสุขภาพท่ีมองใหเห็นความสําคัญท้ังภายในและภายนอกของมนุษย คือการดูแลและสรางความแข็งแกรงใหแกกาย จิตใจ และจิตวิญญาณไปพรอมๆกัน บริการหองคลินิกหุนดี มุงเนนการใหคําปรึกษาและแนะนํา ๓ อ. ท้ังรายบุคคลและรายกลุม ๑.ออกกําลังกาย - เพ่ือสงเสริมสุขภาพ - ความแข็งแรง - เพ่ือลดความอวน

เกณฑการประเมิน : น้ําหนักคะแนน = 0.6 คะแนน

คะแนน = 1 คะแนน = 2 คะแนน = 3 คะแนน = 4 คะแนน = 5

ข้ันตอนท่ี 1-2 ข้ันตอนท่ี1- 3 ข้ันตอนท่ี1- 4 ข้ันตอนท่ี 1-5 ข้ันตอนท่ี 1-7

วิธีการประเมินผล : ข้ันตอนท่ี 1 มีคณะกรรมการอนามัยแมและเด็ก ข้ันตอนท่ี 2 มีแผนดําเนินงานและแผนพัฒนาศักยภาพในการดูแลผูปวยทารกแรกเกิด ข้ันตอนท่ี 3 มีมาตรฐานการดูแลทารกแรกเกิดในภาวะปกติและน้ําหนักนอย ข้ันตอนท่ี 4 มีการจัดการความรูเก่ียวกับการดูแลทารกแรกเกิดใหไดมาตรฐาน ข้ันตอนท่ี 5 มีการพัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีในการชวยฟนคืนชีพทารกแรกเกิด ข้ันตอนท่ี 6 มีมาตรฐานดําเนินงานการสงตอและคูมือการสงตอทารกแรกเกิดท่ีมีภาวะแทรกซอน ข้ันตอนท่ี 7 มีการนิเทศติดตาม ประเมินผลงาน ตรวจสอบขอมูลเก่ียวกับปญหาทารกแรกเกิด หมายเหตุ : เนน การดูแล high risk และ hypothermia

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร

Page 152: คํานํา · โรคเบาหวาน และระดับความดันโลหิตในผู ป วยความดัน โลหิตสูง

๑๔๔

- เพ่ือเพ่ิมความกระชับกลามเนื้อเฉพาะสวน - เพ่ือปองกันและบําบัดโรค ๒. อาหาร - เพ่ือสงเสริมสุขภาพ - เพ่ือลดความอวน - เพ่ือฟนฟูสุขภาพ - เพ่ือปองกันโรค ๓. อารมณ - เพ่ือตระหนักรูจักตัวเอง - เพ่ือรูเปาหมายการเดินทางของชีวิต - เพ่ือการสรางสมคุณธรรม - เรียนรูการออกกําลังกายทางจิต - เรียนรูพลังและการใชพลัง - การคนพบความงดงามของชีวิต - กิจกรรม เชน การจับบัตรคุณธรรมนําชีวิต การวาดภาพ สมาธิสรางสรรคฯลฯ

ประชากรกลุมเปาหมาย โรงพยาบาลศูนย, โรงพยาบาลท่ัวไป, โรงพยาบาลชุมชน ผูรับผิดชอบ 1. นายแพทยจักราวุธ จุฑาสงฆ โทรศัพทมือถือ : 085-766-9166

นายแพทยเชี่ยวชาญ (ดานเวชกรรมปองกัน) เกณฑการประเมิน น้ําหนักคะแนน = 0.6 คะแนน

คะแนน = 1 คะแนน = 2 คะแนน = 3 คะแนน = 4 คะแนน = 5

ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันตอนท่ี 1- 2 ข้ันตอนท่ี1- 3 ข้ันตอนท่ี 1-4 ข้ันตอนท่ี 1- 5

วิธีการประเมินผลสถานบริการสาธารณสุข ข้ันตอนท่ี 1 สถานบริการสาธารณสุขมีการจัดตั้งคลินิก DPAC (รพท. , รพช. , รพ.สต.) ข้ันตอนท่ี 2 สถานบริการสาธารณสุขมีขอมูลประชากรกลุมเสี่ยง โรคอวน โรคเรื้อรัง ข้ันตอนท่ี 3 สถานบริการสาธารณสุขมีการใหบริการแกประชากรกลุมเสี่ยง โรคอวน โรคเรื้อรัง ข้ันตอนท่ี 4 มีการสรุปประเมินผลการใหบริการประชากรกลุมเสี่ยง โรคอวน โรคเรือ้รัง ข้ันตอนท่ี 5 มีผลลัพธการดําเนินงานโดยกลุมเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรอยละ 80

คูมือประเมินประสิทธิผลการปฏิบตัิงานหนวยงานสาธารณสุขระดับอําเภอและจัดลําดับหนวยงาน (Ranking) ป ๒๕๕๗ จังหวดัยโสธร