นโยบาย digital economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายdigital economy...

37
1 นโยบาย Digital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 17 กันยายน 2558 Digital Economy

Upload: others

Post on 12-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

11

นโยบาย Digital Economy

ไอรดา เหลืองวิไล

รองผู้อํานวยการสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)

17 กันยายน 2558

Digital Economy

Page 2: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

22

Topic

Digital Economy

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ VS รัฐบาลดิจิทัล

การผลักดันสู่ Digital Government

Page 3: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

33

Digital EconomyDigital Economy

Page 4: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

44

หลักการในการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล

1. ภาคเอกชนจะต้องเป็นผู้นําการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม รัฐเป็นผู้อํานวยความสะดวก

(facilitator) และส่งเสริมสนับสนุน (promoter) โดยการสร้างแรงจูงใจแก่เอกชน อย่างเป็นระบบ

และปรับปรุงประสิทธิภาพของภาครัฐเอง ด้วยดิจิทัล ให้โปร่งใส และลดคอรัปชั่น

2. มีคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ชี้นําทิศทางของการพัฒนาให้แก่

หน่วยงานทั้งภาคเอกชนและภาครฐั และกําหนดนโยบายสนับสนุนด้านการสร้างแรงจูงใจ (Incentive)

นวัตกรรม (Innovation) จัดหาตลาด ให้แก่เอกชน เพื่อร่วมกันสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็ง และ

พัฒนาคนไทยที่มีความสามารถ

3. นโยบายเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล กําหนดแนวทางการพัฒนาประเทศบนพื้นฐานของการพัฒนาและ

ใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีดิจิทัล ร่วมกันอย่างมีเอกภาพ ที่ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจ ของ

หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทุกภาคส่วน ในการขับเคลื่อนให้เกิดสัมฤทธิผล

4. รัฐจะกํากับดูแลระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ ให้มีธรรมาภิบาลเข้มและความมั่นคงปลอดภัย

รวมทั้งต้องมกีารคุม้ครองผู้บริโภคและข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อไม่ให้มีการละเมิดกัน

5. รัฐจะปรับปรุงบทบาท อํานาจหน้าที่ และแนวทางการลงทุนในองค์กรที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์กร

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ส่งเสริมธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ และการกํากับ

ดูแลกิจการโทรคมนาคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นองคาพยพของการทํางานเกี่ยวกับเศรษฐกิจดิจิทัลที่

เสริมซึ่งกันและกัน

เอกชนนํา

รัฐสนับสนุน

เอกชนนํา

รัฐสนับสนุน

กรรมการ

ระดับชาติ

กรรมการ

ระดับชาติ

ขับเคลื่อน

ไปด้วยกัน

ขับเคลื่อน

ไปด้วยกัน

คุ้มครอง

ป้องกัน

คุ้มครอง

ป้องกัน

มีองค์กร

ส่งเสริม

มีองค์กร

ส่งเสริม

ที่มา: การเสวนา “ทิศทาง Digital Economy ทิศทาง Digital Government สําหรับประเทศไทย”

โดย ดร.กษิติธร ภูภราดัย ผู้อํานวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวิจัยนโยบาย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 6 กรกฎาคม 2558

Page 5: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

55แนวทางการขับเคลื่อน

การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสํานักงานเลขานุการ

ศูนย์การเรียนรู้การบริหารโครงการ

โครงสรา้งพื้นฐานด้านการบรกิาร

ลอจิสติกส์อิเล็กทรอนิกส์

รัฐบาลดิจิทัล

นวัตกรรมบริการข้อมูล

แพลตฟอร์มการบริการ

โครงสรา้งพื้นฐานด้านกายภาพ

บรอดแบนด์แห่งชาติ

NationalBroadcast

การสื่อสารผ่านดาวเทียม

การจัดการความถี่คลื่นวิทยุ

วงจรสื่อสารระหวา่งประเทศ

ศูนย์ข้อมูล

ส่งเสริมการพฒันาเศรษฐกิจดิจิทัล

การส่งเสริมธุรกิจเกิดใหม่ด้านดิจิทัล

นวัตกรรมดิจิทัล

การส่งเสริมการค้าผ่านสื่อดิจิทัล

สื่อสาระ ดิจิทัล

ส่งเสริมการพฒันาสงัคมดิจิทัล

การเรียนรู้ตลอดชีวิต

การออกแบบเพื่อทุกคน

หอจดหมายเหตุ/ ห้องสมุดดิจิทัล

การรู้เท่าทันสื่อ

โครงสรา้งพื้นฐานด้านมาตรฐาน

การอํานวยความสะดวก

ทําเนียบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

CERTReadiness

กฎหมาย

ที่มา: การเสวนา “ทิศทาง Digital Economy ทิศทาง Digital Government สําหรับประเทศไทย”

โดย ดร.กษิติธร ภูภราดัย ผู้อํานวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวิจัยนโยบาย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 6 กรกฎาคม 2558

Page 6: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

66

เป้าหมายของกรอบยุทธศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลเป้าหมายของกรอบยุทธศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล

1. ประเทศไทยมีโครงสร้างพื้นฐานดจิิทัล ที่ทันสมัยมีขนาดเพียงพอ

และมีค่าบริการไม่สูงกว่าประเทศอื่นในภูมิภาค

2. เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นเครื่องมือสําคญัในการยกระดับคุณภาพ

ชีวิต และการเข้าถึงบริการสาธารณะของประชาชนทุกคน ทุกกลุ่ม

ทุกท้องถิ่น อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม

3. สร้างผู้ประกอบการและธุรกิจดิจิทัลให้เป็นกําลังสําคัญในการ

สร้างผลิตภาพ(Productivity) ของประเทศ

4. สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจโดยใช้เทคโนโลยี

ดิจิทัลเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ

5. สร้างความมั่นใจใหก้ับผู้ใช้และผู้ทํางานในระบบเศรษฐกจิดิจิทัล

6. มีการพัฒนากําลังคน การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมรวมทั้ง

ระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล

7. ประเทศไทยมีสภาพแวดล้อมทีเ่อื้อตอ่การลงทนุและประยุกต์ใช้

เทคโนโลยีดิจิทัล

8. สร้างความพร้อมดา้นไอซีทีโดยรวมของประเทศไทยเพื่อยก

อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศ

ตัวอย่างเป้าหมายในปี พ.ศ. 2560

• เครือข่าย Broadband ถึง 60%

• ใช้โทรศัพท์มือถือได้ทั่วถึง

•ถึงทุกโรงเรียน/สถานีอนามัย 100%

• ผู้ประกอบการใช้ ICT ถึง 30%

• เลิกถ่ายสําเนาบัตรประชาชน เมื่อ

ติดต่อกับภาครัฐด้วยตนเอง

• บริการประชาชนผ่านระบบ

ออนไลน์ได้กว่า 100 เรื่อง

• ติดต่อกับภาครัฐจุดเดียวได้บริการ

หลายชนิด

• ประชาชนเดินทางสะดวก เพราะใช้

ตั๋วร่วมกับบริการขนส่งมวลชนทุก

ชนิด

• ฯลฯที่มา: การเสวนา “ทิศทาง Digital Economy ทิศทาง Digital Government สําหรับประเทศไทย”

โดย ดร.กษิติธร ภูภราดัย ผู้อํานวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวิจัยนโยบาย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 6 กรกฎาคม 2558

Page 7: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

77

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ VS รัฐบาลดิจิทัลรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ VS รัฐบาลดิจิทัล

Page 8: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

88

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ VS รัฐบาลดิจิทัลรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ VS รัฐบาลดิจิทัล

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)

รัฐบาลดิจิทัล (Digital Government)การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นส่วนบูรณาการของกลยุทธ์ การทําให้รัฐบาลมีความทันสมัย และเกิด

คุณค่าสาธารณะ โดยจําเป็นต้องอาศัยระบบนิเวศของรัฐบาลดิจิทัล (Digital Government Ecosystem) ใน

การสร้างและเข้าถึงข้อมูล (Data) บริการ (Service) และเนื้อหาต่าง ๆ (Content) ผ่านการปฏิสัมพันธ์

กับรัฐบาล โดยผู้เล่นหลักประกอบไปด้วย องค์กรรัฐ องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการ (NGOs) ภาคเอกชน

ระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร ประยุกต์ใช้ในองค์กรประยุกต์ใช้ในองค์กรระบบบริหารจัดการ /

ระบบการให้บริการ

Efficiency

TransparencyVerify

Page 9: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

99

ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการบริการ (Service Infrastructure)

9

รัฐบาลดิจิทัล

แพลตฟอร์มการบริการ

นวัตกรรมบริการ

ข้อมูล

ปรับปรงุบรกิารภาครฐัไปสู่ Smart Service ที่ประชาชนสามารถ ขอรับบริการโดยไม่จาเป็นต้อง

ยื่นสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนหรือ สาเนาทะเบยีนบ้าน

ใช้ประโยชน์จากเลขประจาตัวประชาชน 13 หลักหรือบตัร Smart Card โดยข้อมูลบุคคลที่

เกี่ยวข้องจะถูกบันทึกลงแบบฟอรม์ขอ ใช้บริการเพือ่ลดการกรอกแบบฟอรม์กระดาษอีกด้วย

ลดเวลาในการรบับรกิารของประชาชน

มีแพลตฟอร์มการใหบ้รกิาร (Service Platform) พื้นฐานเช่น บริการแปลภาษา บริการ

เชื่อมโยงข้อมูลผ่าน API เพื่อรองรบัการสรา้งบรกิารรปูแบบใหม่ในด้านที่สําคัญเรง่ด่วน เช่น e-

Commerce e-Logistics การท่องเที่ยว และบริการสาธารณสขุสําหรบัประชาชน รวมทั้งการ

บริการข้อมูลสารสนเทศสําหรบัชุมชน เป็นต้น

ส่งเสรมิให้หน่วยงานภาครฐั เปิดเผย จัดเก็บ และแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ ตามมาตรฐาน Open

Data เพื่ออํานวยความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลผ่าน API และนํามาซึ่งการพัฒนาสินค้าและบรกิาร

รูปแบบใหม่ เชิงนวัตกรรม จากภาครฐัและเอกชน

ที่มา: การเสวนา “ทิศทาง Digital Economy ทิศทาง Digital Government สําหรับประเทศไทย”

โดย ดร.กษิติธร ภูภราดัย ผู้อํานวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวิจัยนโยบาย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 6 กรกฎาคม 2558

Page 10: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1010

Soft Infrastructure

Service Infrastructure

Hard Infrastructure

Regulator

Operators

Public Private

Digital Economy Promotion Digital Society

Regulators

ETC BOT

TISI (สมอ.)

NBTC

Facilitators

ETDA Customs etc.

DE Ecosystem (Example)

Facilitators

EGA

NBTC

Regulator

OPDC (กพร.)

Players

ราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรในกํากบั

Sectoral Policy

makers/

Regulators and

Facilitators

(DEPA)

Traditional&SMEs

Manufacturing, Agriculture,

Services

ICT: HW, SW, Telecom,

Broadcast, DC

Sectoral Policy

makers/

Regulators

Social-related Ministries

Social enterprises

NGOs

DE

Policy

Maker

RDI

Human capital

develop

ment

C

U

S

T

O

M

E

R

S

ที่มา: การเสวนา “ทิศทาง Digital Economy ทิศทาง Digital Government สําหรับประเทศไทย”

โดย ดร.กษิติธร ภูภราดัย ผู้อํานวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวิจัยนโยบาย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 6 กรกฎาคม 2558

Page 11: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1111

การผลักดันสู่ Digital Governmentการผลักดันสู่ Digital Government

Page 12: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1212

รัฐบาลดิจิทัล

การผลักดันสู่ Digital Governmentการผลักดันสู่ Digital Government

งาน/โครงการ ที่รองรับการผลักดันสู่ Digital Governmentงาน/โครงการ ที่รองรับการผลักดันสู่ Digital Government

1) การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อรองรับพระราชบัญญัติการอํานวยความ

สะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

3) โครงการลดสําเนากระดาษเพื่อบริการประชาชน (Smart Service) นําร่อง 7

กระทรวงด้านเศรษฐกิจ

2) ช่องทางการเข้าถึงข้อมูลและบริการ e-Services ของภาครัฐ (Government

Access Channels)

Page 13: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1313

1) ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณา

อนุญาตของทางราชการ

1) ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณา

อนุญาตของทางราชการ

- สถาปัตยกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสารสนเทศ แบ่งเป็น 4 ชั้น (Layers) ดังนี้

1. ช่องทางในการเข้าถึงบริการ (Digital Government Channels)

2. ระบบบริการของหน่วยงาน (Government Service)

3. โครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนงานบริการ (Digital Government Service Platform)

4. ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการให้บริการ (Core Government Data)

- พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานคู่มือประชาชน ภายใต้ พรบ. การอํานวย

ความสะดวกฯ

- การจัดทําศูนย์บริการร่วม (G-Point) เพื่อเป็นศูนย์ One Stop Service สําหรับอํานวยความ

สะดวกในการติดต่อกับราชการ

Page 14: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1414

Page 15: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1515

เป็นศูนย์กลางการเข้าถึงข้อมูลและบริการอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่างๆ ของ

ภาครัฐจากจุดเดียว

ศูนย์รวมข้อมูลเพื่อติดต่อราชการ (info.go.th)

Government e-Portal

Government Application Center (GAC) ตู้บริการเอนกประสงค์ (Smart Kiosk ) ผ่านศูนย์บริการร่วม

OPEN GOVERNMENT DATA (data.go.th)

2) ช่องทางการเข้าถึงข้อมูลและบริการ e-Services ของภาครัฐ (Government Access Channels) 2) ช่องทางการเข้าถึงข้อมูลและบริการ e-Services ของภาครัฐ (Government Access Channels)

Page 16: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1616

ทะเบียนราษฎร์

การขนส่ง

สาธารณสุข

การศึกษา

สรรพากร

ฐานข้อมูลต่างๆ

Citizen InboxCitizen Inbox

Profile

- การศึกษา

- ภาษี

- หลักประกันสุขภาพ 30 บาท

- เกษตร

-ประวัติการขับขี่

- เบี้ยผู้สูงอายุ

ศูนย์บริการรว่มศูนย์บริการรว่ม

KioskKiosk

HomeHome

Access

e-Gov Portale-Gov Portal

GACGAC

เว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนกิส์ภาครัฐ

(e-Government Portal)

www.egov.go.th

https://apps.go.th/

Mobile Application:

Government Access Channels

ศูนย์รวมข้อมูลเพื่อติดต่อ

ราชการ

ศูนย์รวมข้อมูลเพื่อติดต่อ

ราชการ

www.info.go.th

Page 17: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1717

www.info.go.thwww.info.go.th

Government Access Channels

Page 18: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1818

e-Government Portale-Government Portal ประตูสู่ e-Services ทั้งหมดของภาครัฐจากจุดเดียวผ่านเว็บไซต์

- เปิดให้บริการแล้ว ผ่าน www.egov.go.th

โดยมี e-Service/website ของหน่วยงานที่

เชื่อมโยงเข้าสู่ e-Government Portal

ประมาณ 912 บริการ/เว็บ

- ปรับปรุงบริการให้อยู่ในรูปแบบที่ประชาชน

สามารถเข้าใช้บริการได้แบบ Single Sign-on

ซึ่งปัจจุบันมีบริการที่รองรับการเข้าใช้บริการ

แบบ Single Sign-on แล้วจํานวน 38 บริการ

www.egov.go.th

Government Access Channels

Page 19: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

1919

Government Application Center (GAC) Government Application Center (GAC)

เป็นศูนย์กลางของแอปพลิเคชันภาครัฐ ทําหน้าที่ในการรวบรวม Mobile Application ของ

หน่วยงานภาครัฐที่มีความน่าเชื่อถือ มีข้อมูลและบริการที่เป็นประโยชน์สําหรับให้บริการภาค

ประชาชน โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ อีกทั้งยังช่วยในการสืบค้นข้อมูลและบริการที่เป็นประโยชน์ของ

ภาครัฐ โดยสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชันผ่าน iTunes, Google Play และ Window Phone Store

ผู้ใช้บริการสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชันได้ทุกที่ ทุกเวลาจาก Mobile Devices

ผ่าน URL: https://apps.go.th/ หรือ GAC Application for iOS / Android

Mobile Application

Application ที่พัฒนาสําหรับใช้บนอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ เช่น Mobile Devices และ Tablet เพื่อช่วยตอบสนองความต้องการใช้งานในชีวิตประจําวันของผู้บริโภคได้มากขึ้น

Government Access Channels

Page 20: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2020

GAC Web-Based Application : https://apps.go.th/

Page 21: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2121

Page 22: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2222

รูปแบบการให้บริการของ GAC

เรียกดู

ค้นหา แสดงความคิดเห็น

โหวต จัดการข้อมูลส่วนตัว

จัดการแอปพลิเคชันส่วนตัว

ดาวน์โหลด

แบ่งปัน

จัดแบ่งตามอุปกรณ์ จัดแบ่งหมวดหมู่ การ Login เข้าระบบ

Mail Go Thai

Citizen ID

Page 23: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2323

กลุ่มผู้ใช้งาน GAC

ข้อมูลสาธารณะ

ข้อมูลที่ใช้ภายในราชการ

Page 24: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2424

ตัวอย่าง GOVERNMENT MOBILE APPLICATION การให้บริการตามภารกิจของหน่วยงาน

สํานักงานหลกัประกนัสขุภาพแห่งชาติ

องค์การขนส่งมวลชนกรงุเทพ การไฟฟา้นครหลวง

Page 25: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2525

Nectec จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

สํานักงานสลากกินแบ่งรฐับาล

ตัวอย่าง GOVERNMENT MOBILE APPLICATION บริการข้อมูลทั่วไปที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน

Page 26: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2626

ตัวอย่าง GOVERNMENT MOBILE APPLICATION เครื่องมือเพื่อช่วยในการสื่อสารสร้างความเข้าใจระหว่างประชาชนในประชาคมอาเซียน โดยนําร่องในเรื่องการสื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์สําหรับบริการด้านสุขภาพ

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

Page 27: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2727

เป็นช่องทางในการเข้าถึง e-Services ของภาครัฐแบบ Self-Service ที่ใช้ประโยชน์จากเลขบัตร

ประจําตัวประชาชน 13 หลัก หรือบัตร Smart Card ผ่าน Smart KIOSK

Smart KIOSK Smart KIOSK

Government Access Channels

Page 28: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2828

Open Government DataOpen Government Data

Government Access Channels

เป็นช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลที่ภาครัฐเปิดเผยตามมาตรฐานการ

เปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (OPEN GOVERNMENT DATA) ได้อย่างสะดวกจาก

จุดเดียว โดยประชาชนหรือผู้ที่สนใจสามารถนําข้อมูลที่เปิดเผยไปพัฒนาต่อ

ยอดหรือใช้ประโยชน์ได้ตามที่ต้องการ

Page 29: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

2929อย่างไรจึงเรียกว่า “เปิด”

สมบูรณ์ (Complete) : ข้อมูลสาธารณะ

ทั้งหมดถูกเปิดให้ใช้ได้ (ข้อมูลสาธารณะ

หมายถึง ข้อมูลที่ได้ไม่ขัดกับข้อกําหนดความ

เป็นส่วนตัว ความมั่นคง หรือเอกสทิธิ์ที่ชอบ

ด้วยเหตุผล)

ชั้นแรก (Primary): ข้อมูลถูกรวบรวมที่ต้นทาง

มีความละเอียดข้อมูลถึงระดบัสูงสุดที่เป็นไปได้

ไม่ได้อยู่ในรูปแบบผลรวมหรือรูปแบบที่ถูก

แก้ไข

ทันการณ์ (Timely): ข้อมูลถูกเปิดให้ใช้อย่าง

รวดเร็วที่สุดตามความจาํเป็น เพื่อรักษาคุณค่า

ของข้อมูลดังกล่าว

เข้าถึงได้ (Accessible): ข้อมูลถูกเปิดให้ใช้ได้

โดยประเภทต่างๆ ของผู้ใช้ที่กว้างที่สุดเพื่อ

วัตถุประสงค์ที่กว่างที่สุด

ประมวลได้โดยเครื่อง (Machine

processable): ข้อมูลถูกจัดโครงสร้างอย่างสม

เหตุผล เพื่อให้ประมวลผลอัตโนมัติได้

ไม่เลือกปฏิบัติ (Non-discriminatory): ข้อมูล

ถูกเปิดแก่ทุกคน โดยไม่ต้องลงทะเบียนเพื่อใช้

ปลอดกรรมสิทธิ ์(Non-proprietary): ข้อมูล

ถูกเปิดให้ใช้ในรูปแบบข้อมูลที่ไม่มีองค์กรใดมี

สิทธิขาดในการควบคุมแต่ผู้เดียว

ไม่ต้องขออนุญาต (License-free): ข้อมูลไม่

ตกอยู่ภายใต้กฎระเบียบใดๆ ด้านลิขสิทธิ์

สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า หรือความลับทาง

การค้า การกําหนดขอบเขตความเป็นส่วนตัว

ความมั่นคง และเอกสทิธิ์ที่ชอบด้วยเหตผุล นั้น

อาจอนุญาตให้ทําได้

หลัก 8 ประการแห่งการเป็นฐานข้อมูลเปิดจาก Resource.org

Page 30: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

3030

US : DATA.GOV

Page 31: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

3131

UK : DATA.GOV.UK

Page 32: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

3232

Australia : DATA.GOV.AU

Page 33: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

3333

Data.go.thศูนย์กลางข้อมูลเปิด

ภาครัฐ เพื่อประโยชน์

ต่อสาธารณะชนและ

หน่วยงานทั้งภาครัฐ

และเอกชน

Page 34: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

3434

Page 35: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

3535

ระดับความสําเร็จในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) ให้ประชาชนและภาคธุรกิจ สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้

แนวทางการประเมิน :

1. ส่วนราชการมีการจัดตั้งคณะกรรมการ หรือคณะทํางาน หรือผู้รับผิดชอบในการดําเนินการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ

2. มีการคัดเลือกชุดข้อมูลที่ต้องการเปิดเผย

3. มีกระบวนการปรับปรุงและจัดรูปแบบข้อมูลภาครัฐให้พร้อมที่จะเปิดเผยได้

4. มีการเปิดเผยข้อมูลได้อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล

5. มีการเปิดเผยข้อมูลได้อย่างน้อย 2 ชุดข้อมูล

ตัวชี้วัดสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการของหน่วยงานราชการ

ข้อมูลภาครัฐ (Open Data) หมายถึง ข้อมูลของภาครัฐที่สามารถนํามาใช้ได้โดยอิสระ สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้และแจกจ่ายได้

โดยใครก็ตาม แต่ต้องระบุแหล่งที่มาหรือเจ้าของงานและต้องใช้สัญญาหรือเงื่อนไขเดียวกันกับที่มาหรือตามเจ้าของงานกําหนด

ชุดข้อมูล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลมาจัดรวมเป็นชุด ให้แสดงถึงความถูกต้องตามลักษณะโครงสร้างข้อมูล และ

พอเพียงที่จะมีการนําไปใช้ประมวลผลต่อได้

โครงสร้างข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้นๆ รวมทั้งกระบวนการในการจัดการข้อมูลใน

โครงสร้าง

Page 36: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

3636

• คืออะไร ?

การที่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการภาครัฐได้ โดยไม่ต้องใช้สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนา

ทะเบียนบ้าน หรือเอกสารราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง/หรือการที่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้วยตนเอง

(Self-Service) ผ่านช่องทางออนไลน์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Smart Phones) หรือตู้บริการเอนกประสงค์ (Kiosk)

เพื่อให้เกิดรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นรูปธรรม

• เป้าหมายสําคัญ

การปรับปรุงบริการภาครัฐไปสู่ Smart Service ที่ประชาชนสามารถขอรับบริการโดยไม่จําเป็นต้องยื่นสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนหรือสําเนาทะเบียนบ้าน เพื่อเป็นการใช้ประโยชน์จากเลขประจําตัวประชาชน 13 หลักหรือบัตร Smart Card โดยข้อมูลบุคคลที่เกี่ยวข้องจะถูกบันทึกลงแบบ ฟอร์มขอใช้บริการเพื่อลดการกรอกแบบฟอร์มกระดาษอีกด้วย

• การดําเนินการ

สรอ. ได้ร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ส่งแบบสํารวจเพื่อรวบรวมรายชื่อบริการจาก 7 กระทรวงนําร่องที่สนใจเข้าร่วมโครงการดังกล่าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ภายใต้ 7 กระทรวงนําร่องได้มีการเสนอชื่อบริการที่จะเข้าร่วมโครงการมาแล้วทั้งสิ้น 394 บริการ

3) โครงการลดสําเนากระดาษเพื่อบริการประชาชน (Smart Service)3) โครงการลดสําเนากระดาษเพื่อบริการประชาชน (Smart Service)

Page 37: นโยบาย Digital Economy · 2015-09-18 · 1 นโยบายDigital Economy ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการส

3737

Q&A

www.ega.or.th

EGANews

https://www.facebook.com/EGAThailand